The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิตปี66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Fms.lru2017, 2023-11-20 00:54:48

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิตปี66

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิตปี66

ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน น้องพี่ ปี การศึกษา 2565 คณาจารย์ รุ่นพี่ของ คณะวิทยาการจัดการ 3) โครงการ วจ. จิตอาสาพัฒนา ท้องถิ่น "รักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นกิจกรรมที่ดีควรมี การจัดในพื้นที่ต่าง และ มีกิจกรรมหี่หลากหลาย -ให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมใน การเลือกพื้นที่ในการทำ กิจกรรม 4) โครงการ อบรมปรับ พื้นฐานทางการ เรียนในระดับ อุดม ศึกษา -ควรเพิ่มเวลาในการจัด กิจกรรม -วิทยากรถ่ายทอด ความรู้ได้ดีมาก สอนดี แต่เน้นเนื้อหามากไป -เพิ่มระยะเวลาในการจัด กิจกรรม -หาวิทยากรที่สามารถถ่ายทอด ความรู้ได้เป็นอย่างดี 5) โครงการ แข่งขันทักษะ วิชาการ FMS LRU Academic Challenge -ควรให้นักศึกษาได้มี การแข่งขันร่วมด้วย -รู้จักวิธีการทำงานมาก ขึ้น -ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ร่วมการ แข่งขัน 6) โครงการ ปัจฉิมนิเทศ นักศึกษาสู่ ตลาดแรงงาน และสถาน ประกอบการ อยากให้จัดกิจกรรม อย่างนี้ทุกปี -มีกิจกรรมอื่น ๆ เพิ่มเติม 7) โครงการ ปัจฉิมนิเทศและ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ทำให้ นศ.ได้แนวคิด จากการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกัน -มีกิจกรรมอื่น ๆ เพิ่มเติม 8) โครงการสร้าง เครือข่าย สถานศึกษาและ สถานประกอบการ - สร้างเครือข่ายทั้งสถานศึกษา และสถานประกอบการ 9) โครงการ วิทยาการจัดการ สัมพันธ์ ครั้งที่ 29 ควรมีการแข่งขันกีฬา เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ ระหว่างกัน -เพิ่มกิจกรรมที่สามารถแสดง ศักยภาพของนักศึกษาได้อย่าง เต็มที่ 10) โครงการ จันทน์ผาเกมส์ ครั้งที่ 47 ระยะเวลาในการจัด กิจกรรมควรมีความ เหมาะสมมากกว่านี้ -เลือกระยะเวลาที่เหมาะสม 11) โครงการฝึก ทักษะการสร้าง สมรรถนะ ทางด้าน วิทยากรบรรยายได้ดี มาก สนุก และสามารถ ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองได้ -มีกิจกรรมอื่น ๆ เพิ่มเติม


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน คอมพิวเตอร์และ ดิจิทัล 12) โครงการ สร้างสมรรถนะ การสื่อสาร ภาษาจีนทาง ธุรกิจ วิทยากรสอนได้ดี มาก -มีกิจกรรมอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกการ สื่อสาร จากประเด็นปัญหาต่าง ๆ ได้นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการฝ่าย พัฒนานักศึกษา เพื่อหาแนวทางในการจัดกิจกรรมที่ลดปัญหาในการ จัดกิจกรรม และวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป เช่น พิจารณาการตั้ง งบประมาณที่ครอบคลุมในทุกเรื่อง พิจารณากิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้มี ความเหมาะสม เป็นต้น นอกจากการประเมินความพึงพอใจในแต่ละ กิจกรรมแล้ว คณะได้ให้นักศึกษาทำแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา เพื่อนำผลจากแบบสำรวจมาพิจารณา วางแผนการจัดกิจกรรมในรอบปีการศึกษาต่อไป


ตัวบ่งชี้ 1.6 : การส่งเสริมสรรถนะและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 ข้อ มีการดำเนินการ 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินการส่งเสริมสรรถนะและ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 มีระบบและกลไกใน การส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการพัฒนา นักศึกษาด้าน ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้มีประกาศเรื่องเกณฑ์ มาตรฐานภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี [เอกสาร 1.6.1(1)] โดยได้มีการเผยแพร่นโยบายดังกล่าวลงสู่หน่วยงาน คณะ ฯ ในมหาวิทยาลัยรับทราบ เพื่อการมีส่วนร่วมในการนำไป วางแผนปฏิบัติเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ความสามารถด้านทักษะ ภาษาอังกฤษแก่นักศึกษา ดังนี้ 1.มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้มีการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษมีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสมรรถนะและ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ โดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหารจาก มหาวิทยาลัยฯ ร่วมกันกำหนดนโยบายและวางแนวทางใน การพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษา 2. คณะฯ นำนโยบายด้านการส่งเสริมภาษาอังกฤษของ มหาวิทยาลัยฯ มาใช้ในการดำเนินการ และแต่งตั้งคณะกรรมการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะ ด้านภาษาอังกฤษแก่นักศึกษาของคณะ [เอกสาร 1.6.1(2)] โดยคณะกรรมการการดังกล่าวมีหน้าที่ในการขับเคลื่อน การดำเนินการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านภาษาอังกฤษแก่ นักศึกษามีการจัดประชุมคณะกรรมการเพื่อทบทวน วางแผน ติดตามแผนและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 3. คณะวิทยาการจัดการได้จัดทำระบบและกลไกใน การส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ ภายในแผนพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษประจำปีการศึกษา 2565 [เอกสาร 1.6.1(3)] โดยประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจ และ 1.6.1(1) ประกาศ เรื่องเกณฑ์มาตรฐาน ภาษาอังกฤษของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี 1.6.1(2) คำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ ส่งเสริมสมรรถนะและ ทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ 1.6.1(3) แผนพัฒนา นักศึกษาด้าน ภาษาอังกฤษประจำปี การศึกษา 2565 1.6.1(4) คู่มือ เอกสารการอบรม และ แนวข้อสอบมาตรฐาน CEFR


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ถ่ายทอดแนวทางในการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษให้แก่บุคลากรระดับหลักสูตร คณบดี / รองคณบดี/ ประธานหลักสูตร จัดทำแผนปฏิบัติการ จัดสรรงบประมาณ กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรมและทดสอบทักษะการ ใช้ภาษาอังกฤษ โดยกำหนดนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย และจัดทำคู่มือ เอกสารการอบรม และแนวข้อสอบมาตรฐาน CEFR และได้มีการ จัดทำระบบและกลไกที่เกี่ยวข้องแบ่งออกเป็น 1. ระบบและกลไกในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ของนักศึกษา โดยตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน กำกับติดตาม ประเมินผลในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษา 2. ระบบและกลไกในการเตรียมความพร้อมก่อนสอบ วัดระดับภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดยจัดโครงการอบรมเตรียม ความพร้อมสำหรับนักศึกษาในชั้นปีสุดท้าย 3. ร ะ บ บ แ ละ กลไ กลใน ก าร ทด สอ บค วามรู้ ภาษาอังกฤษก่อนสำเร็จการศึกษา โดยมีการประสานกับ มหาวิทยาลัยเพื่อจัดสอบวัดระดับ หรือมีการจัดศูนย์ทดสอบวัด ระดับภาษาอังกฤษที่ได้มาตรฐานให้กับนักศึกษาภายในคณะ จัดระบบพัฒนานักศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์เพื่อพัฒนาภาษาอังกฤษ ก่อนสำเร็จการศึกษา 2 มีการจัดทำแผน พัฒนานักศึกษาด้าน ภาษาอังกฤษ จาก การมีส่วนร่วมของ หลักสูตร โดยผ่าน ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ ประจำคณะ คณะวิทยาการจัดการ มีการจัดประชุมคณะกรรมการ ขับเคลื่อนการดำเนินการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้าน ภาษาอังกฤษ โดยนำแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษา ซึ่งแผนดังกล่าวมีคณบดี คณะวิทยาการจัดการเป็นกรรมการอำนวยการ และมีรองคณบดี ฝ่ายวิชาการและวิจัย รองคณบดีฝ่ายบริหารและศิลปวัฒนธรรม และรองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและประกันคุณภาพ เป็น คณะกรรมการอำนวยการ และคณะกรรมการดำเนินงานในการ จัดทำแผนดังกล่าว และนำแผนดังกล่าวเข้าที่ประชุมเพื่อพิจารณา ในคณะกรรมการวิชาการคณะ โดยมีประธานหลักสูตรทุกหลักสูตร เข้าร่วมประชุม และนำแผนดังกล่าวเข้าที่ประชุมเพื่อพิจารณาใน คณะกรรมการประจำคณะวิทยาการจัดการ เพื่อพิจารณาเห็นชอบ ในการประชุมครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 และ เผยแพร่แผนดังกล่าวให้บุคลากรในคณะฯ นำไปใช้เป็นแนวทาง สำหรับการดำเนินการต่อไป 1.6.2 (1) แผนพัฒนานักศึกษา ด้านภาษาอังกฤษ ประจำปีการศึกษา 2565 1.6.2(2) รายงาน การประชุม คณะกรรมการประจำ คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 3 มีการจัดสรร งบประมาณและ สิ่งสนับสนุนการ ดำเนินการตาม แผนพัฒนานักศึกษา ด้านภาษาอังกฤษ คณะวิทยาการจัดการมีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดหาสิ่งสนับสนุนในการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษของ นักศึกษา โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 [เอกสาร 1.6.3(1)]โดย ร่วมกับมหาวิทยาลัย จัดทำโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพ การศึกษา ภายใต้โครงการ พัฒนาความรู้ ทักษะภาษาอังกฤษใน ศตวรรษที่ 21 ฯ คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 200,000 บาท ในการส่งนักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการเข้ารับการอบรม เตรียมความพร้อม ด้านภาษาอังกฤษ ในการสอบวัดมาตรฐาน ภาษาอังกฤษ (CEFR) และการเข้าร่วมโครงการการสอบวัดความรู้ พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษก่อนสำเร็จการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1.6.3(1) แผนการใช้ จ่ายงบประมาณของ คณะวิทยาการจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4 มีการประเมิน ความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของ แผนฯ และมีการนำ ผลจากการประเมิน มาปรับปรุงในปี ถัดไป คณะวิทยาการจัดการ มีการประเมินความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษา ดังนี้ 1. นักศึกษา อาจารย์และบุคลากรมีความรู้และทักษะทาง ภาษาตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. จัดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะภาษอังกฤษอย่างมี ประสิทธิภาพ 3. นักศึกษา อาจารย์และบุคลากรได้รับการอบรมและ ทดสอบทักษะภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาศักยภาพในการทำงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนฯ ตัวชี้วัด หน่วย นับ เป้าหมาย 1. นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่เข้าทดสอบ ภาษาอังกฤษมีผลการทดสอบตาม มาตรฐาน CEFR ระดับ B1 หรือ เทียบเท่า ตามประกาศมหาวิทยาลัย กำหนด ร้อยละ 20 2. นักศึกษาที่เข้ารับการพัฒนา ศักยภาพทักษะทางภาษาอังกฤษมีผล การประเมินทักษะทางภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 คณะกรรมการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ ได้มีการประชุมคณะกรรมการ และนำข้อมูลการ ประเมินผลสำเร็จของแผน ฯ ตามตัวชี้วัดเข้าที่ประชุมของ 1.6.4(1) รายงาน การประชุม คณะกรรมการประจำ คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 2/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 1.6.4(2) รายงานโครงการเตรียม ความพร้อมพัฒนา ศักยภาพด้านภาษาอังกฤษ และการสอบวัดมาตรฐาน ภาษาอังกฤษตาม มาตรฐาน CEFR สำหรับ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 1.6.4(3) ประกาศ ผลการทดสอบความรู้ ทางภาษาอังกฤษของ นักศึกษาคณะวิทยาการ จัดการ


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน คณะกรรมการประจำคณะ ในการประชุมครั้งที่ 2/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 คณะได้ดำเนินงานตามแผน ดังนี้ ที่ โครงการ การด าเนินงาน 1 ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษสู่การเรียนใน ระดับอุดมศึกษา ดำเนินการแล้ว 2 โครงการอบรมสร้างสมรรถนะความรู้ ภาษาอังกฤษ CEFR ดำเนินการแล้ว 3 โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษเสริม ทักษะก่อนฝึกปฏิบัติการในสถาน ประกอบการ ดำเนินการแล้ว 4 โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ด้านภาษาอังกฤษ T&H Exit - Exam ดำเนินการแล้ว โครงการทั้งสิ้นจำนวน 4 โครงการ มีการดำเนินงานแล้ว ทั้งนี้มีโครงการที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผน คือ -โครงการอบรมสร้างสมรรถนะความรู้ภาษาอังกฤษ CEFR ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะการฟัง กลยุทธ์ และเทคนิคการทำข้อสอบ Listening and Reading มีการจัดอบรมทดสอบ Pre-test และ Post-test ผลที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ - นักศึกษาเกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะ ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสอบมาตรฐาน CEFR เพิ่มขึ้น - นักศึกษาได้ทดสอบวัดสมรรถนะภาษาอังกฤษ หมายเหตุ : ใช้เนื้อหาอบรมเตรียมความพร้อมและทดสอบวัดความรู้ของ นักศึกษาจากคู่มือ The Common European Framework (CEF) - ข้อจำกัดของการสอบคือ ไม่สามารถวัดทักษะการพูดและการเขียนได้ เท่าที่ควร เนื่องจากมีเวลาจำกัดและการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาต้องมี การเรียนมาแล้วอย่างน้อย 3 เดือน - 1 ปี โดยการอบรมและทดสอบในครั้งนี้ ได้ตัดเนื้อหาบางส่วนออกไป เพื่อให้เหมาะสมกับระยะเวลาของการเตรียม ความพร้อม และเวลาที่ใช้ในการทดสอบ สรุปผลการประเมินตามตัวชี้วัดความสำเร็จของ แผนพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาเป็นดังนี้ ตัวชี้วัด หน่วย นับ เป้า หมาย ผลการด าเนินงาน การ บรรลุ 1. นักศึกษาชั้นปี สุดท้ายที่เข้าทดสอบ ภาษาอังกฤษมีผลการ ทดสอบตามมาตรฐาน ร้อย ละ 20 โครงการสอบวัด ความรู้ภาษาอังกฤษ ก่อนสำเร็จการศึกษา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 บรรลุ


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน CEFR ระดับ B1 หรือ เทียบเท่า ตาม ประกาศมหาวิทยาลัย กำหนด จำนวนทั้งสิ้น 418 คน ทำแบบทดสอบผ่าน ร้อยละ 59 แต่ เนื่องจากข้อสอบยัง ไม่เป็นไปตาม มาตรฐาน CEFR 2. นักศึกษาที่เข้ารับ การพัฒนาศักยภาพ ทักษะทางภาษาอังกฤษ มีผลการประเมินทักษะ ทางภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้น ร้อย ละ 50 นักศึกษามีทักษะ ทางด้านภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้น โดยมีผลการ ทดสอบ Post-test เพิ่มขึ้น บรรลุ คณะ ได้นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการตามแผนให้ คณะกรรมการประจำคณะพิจารณา และได้รับข้อเสนอแนะว่าใน การทดสอบภาษาอังกฤษจะต้องได้รับการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอจึงจะทำให้นักศึกษามีทักษะและความรู้ทางด้าน ภาษาอังกฤษอย่างดี และปัจจุบันภาษาอังกฤษเป็นสิ่งที่สำคัญ สำหรับนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ คณะจึงควรจัดอบรมอย่าง ต่อเนื่อง คณะกรรมการจึงได้มีการประชุมวางแผนเพื่อปรับ กระบวนการ และระบบกลไกในการดำเนินงานเพื่อใช้ในปี การศึกษา 2565 แนวทางในการนำไปปรับปรุงการดำเนินงาน ดังนี้ 1. โครงการอบรมสร้างสมรรถนะความรู้ภาษาอังกฤษ CEFR ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม และอบรมทักษะด้าน ภาษาอังกฤษ ทั้งการอบรมในห้องเรียนและการใช้สื่อออนไลน์ โปรแกรมอบรมทางด้านภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักศึกษาเกิดความ เข้าใจและฝึกทักษะทางภาษาอังกฤษ คณะยังจัดทำคู่มือการสอบ มาตรฐาน CEFR ประกอบด้วย การอ่าน การฟัง การพูด และ การเขียน สำหรับการฟังได้แจกแผ่น CD เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฟัง การออกเสียง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาก่อน เข้ารับการทดสอบภาษาอังกฤษในขั้นตอนต่อไป 2. วางแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษร่วมกับ ศูนย์ภาษามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เพื่อใช้ทรัพยากรที่เป็น ประโยชน์ในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาร่วมกัน 5 มีนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีปีสุดท้าย ที่ผ่านเกณฑ์การ ตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เรื่องการทดสอบ ความรู้ภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามแบบทดสอบมาตรฐานที่ ส า ม า ร ถ เ ท ี ย บ เ ค ี ย ง ผ ล ก ั บ The Common European 1.6.5(1) รายงานผล การสอบวัดระดับ ภาษาอังกฤษตาม


357 50 ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน วัดผล CEFR (B1) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของนักศึกษาชั้น ปีสุดท้ายที่เข้าสอบ Framework of Reference for Languages ( CEFR) ห ร ื อ มาตรฐานมาตรฐานอื่น ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อให้ทราบ ระดับความสามารถของนักศึกษาแต่ละคน ผลการดำเนินการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษให้เป็นไป ตามมาตรฐาน CEFR English Discovery Test สำหรับนักศึกษา ชั้นปีสุดท้าย ดังไปนี้ การทดสอบสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ โดยใช้ข้อสอบ Oxford Placement Test รายงานผลการทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ (CEFR) ส าหรับนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ข้อมูลพื้นฐาน ผลการ ด าเนินงาน 1.จำนวนนักศึกษาปริญญาตรีปีสุดท้ายทั้งหมด ของคณะ 391 2.จำนวนนักศึกษาปริญญาตรีปีสุดท้ายที่เข้าสอบ 357 3.ร้อยละของจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีปี สุดท้ายที่เข้าสอบ (ข้อ2x100)/ข้อ1 100 4.จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายที่ เข้าสอบ และผ่านเกณฑ์การวัดผลฯ 62 แทนค่าการค านวณ 62 x 100 = ร้อยละ 17.37 แทนค่าการแปลงคะแนน ร้อยละ 17.37 x 5 = 1.74 ในปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มีนักศึกษา ปริญญาตรีปีสุดท้ายทั้งหมด จำนวน 391คน โดยมีนักศึกษาที่เข้า สอบจำนวน 357 คน คิดเป็นร้อยละ 91.30 ทั้งนี้จากการเข้า ทดสอบความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ตามมาตรฐานการ วัดผล นักศึกษาสามารถสอบผ่านจำนวนทั้งสิ้น 62คน โดยคิดเป็น ร้อยละของจำนวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายที่เข้าสอบ และผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 17.37 โดย จำแนกข้อมูลของ นักศึกษาตามหลักสูตร ดังนี้ มาตรฐาน CEFR English Discovery Test สำหรับนักศึกษา ชั้นปีสุดท้าย ตามเกณฑ์การวัดผล CEFR ปีการศึกษา 2565


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน เกณฑ์มาตรฐาน CEFR ตั้งแต่ระดับ B1 ขึ้นไป รวม นักศึกษา คิดเป็น ร้อยละ B1 B2 C1 52 6 4 62 17.37 0 200 400 คณะวิทยาการ จัดการ กราฟแสดงจ านวนนักศึกษาที่มีผลการทดสอบ ภาษาอังกฤษ จ านวนนศ.เข้าสอบ ผลการทดสอบ B1 คิดเป็นร้อยละ


ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 : การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 ข้อ มีการดำเนินการ 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินการส่งเสริมสรรถนะและ ทักษะด้านดิจิทัล ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 มีระบบกลไกในการ ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการพัฒนา นักศึกษาให้มี ความสามารถด้าน ดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยสำนักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่ในการพัฒนาระบบเทคโน โลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย รับผิดชอบภารกิจด้านนี้ร่วมกับ คณะวิทยาการจัดการ โดยมหาวิทยาลัย แต่งตั้งคณะกรรมการ ส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล ระดับมหาวิทยาลัย โดย การมีส่วนร่วมของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ร่วมกันกำหนดนโยบาย และวางแนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ มหาวิทยาลัย ซึ่งคณะกรรมการกำหนดระบบและกลไกการ ดำเนินงานที่ส่งเสริมให้นักศึกษาให้มีทักษะด้านดิจิทัล ในประเด็น ดังนี้ ประเด็น การพัฒนาความรู้ทักษะ และความเข้าใจการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ทักษะความเข้าใจ ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและนำไปใช้ในการศึกษาหรือใช้ใน ชีวิตประจำวันได้เกิดประสิทธิภาพ คณะวิทยาการจัดการ ได้มีการนำนโยบายในการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยมาใช้ในการ ดำเนินการ และมีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนานักศึกษาด้าน การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล คณะวิทยาการจัดการ โดยมีคณบดี รองคณบดี ประธานสาขาวิชา และอาจารย์ประจำ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล เป็นคณะกรรมการ มีหน้าที่ใน การกำหนดนโยบายแนวทางในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้าน การพัฒนานักศึกษาด้านการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้าน 1.7.1(1) แผนพัฒนา นักศึกษาด้านดิจิทัล ประจำปีงบประมาณ 2566 คณะวิทยาการ จัดการ 1.7.1(2) คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดทำ แผนพัฒนานักศึกษาด้าน ดิจิทัล คณะวิทยาการ จัดการ


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ดิจิทัล คณะวิทยาการจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 [เอกสาร1.7.1(1)] แบ่งเป็น 1. ระบบและกลไกในการพัฒนาทักษะการส่งเสริมสมรรถนะ และทักษะด้านดิจิทัล โดยตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน กำกับ ติดตาม 2. ระบบและกลไกในการเตรียมความพร้อมก่อนสอบวัดทักษะ ด้านดิจิทัลของนักศึกษา โดยจัดโครงการอบรมและให้ความรู้กับ นักศึกษา 3. ระบบและกลไกลในการทดสอบความรู้ด้านดิจิทัลก่อนสำเร็จ การศึกษา คณะมีการประสานกับโดยศูนย์คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศของมหาลัยเพื่อจัดสอบวัดความรู้ให้กับ นักศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ 1-4 2 มีการจัดทำ แผนพัฒนานักศึกษา ให้มีความสามารถ ด้านดิจิทัล จากการ มีส่วนร่วมของ หลักสูตร โดยผ่าน การเห็นชอบจาก คณะกรรมการ ประจำคณะ คณะกรรมการขับเคลื่อนสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล คณะวิทยาการจัดการ จัดทำร่างแผนพัฒนานักศึกษาด้านการ ส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยแผนดังกล่าวเน้นการพัฒนานักศึกษาซึ่งอ้างอิงจากแผน ส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งกำหนดให้การพัฒนานักศึกษาให้สอดคล้องกับสมรรถนะด้าน การใช้ดิจิทัลที่มหาวิทยาลัยฯ กำหนด และนำร่างแผนฯ ดังกล่าว เข้าที่ประชุมเพื่อพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 3/2565 ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2565 [เอกสาร1.7.1(2)] ซึ่งมีคณบดีเป็นประธาน รองคณบดีฝ่าย วิชาการและวิจัย เป็นรองประธาน มีประธานสาขาวิชา 10 สาขา เป็นคณะกรรมการ และนำร่างแผนดังกล่าว เข้าประชุม คณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 1/2566 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 [เอกสาร1.7.1(3)] เพื่อพิจารณาเห็นชอบ และเผยแพร่แผน ดังกล่าวให้บุคลากรคณะวิทยาการจัดการ นำไป ใช้เป็นแนวทาง สำหรับการดำเนินการต่อไป 1.7.2(1) แผนพัฒนา นักศึกษาด้านดิจิทัล ประจำปีงบประมาณ 2566 คณะวิทยาการ จัดการ 1.7.2(2)รายงานการ ประชุมคณะกรรมการ วิชาการคณะ ครั้งที่ 1/2566 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 3 มีการจัดสรร งบประมาณ และ สิ่งสนับสนุนการ ดำเนินการตาม แผนพัฒนานักศึกษา ให้มีความสามารถ ด้านดิจิทัล คณะวิทยาการจัดการมีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดหาสิ่งสนับสนุนในการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษา โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะจัดสรรงบประมาณสำหรับ การดำเนินการตามแผนฯ [เอกสาร [1.7.3(1)] ดังนี้ โครงการ จ านวน เงิน (บาท) ผู้รับผิดชอบ 1.ฝึกทักษะการสร้างสมรรถนะ ทางด้านคอมพิวเตอร์และดิจิทัล 15,000 ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จัดการ 1.7.3(1) แผนพัฒนานักศึกษาด้าน การส่งเสริมสมรรถนะและ ทักษะด้านดิจิทัลประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 1.7.3 (2)


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 2.ฝึกทักษะการสร้างสมรรถนะ ทางด้านคอมพิวเตอร์และดิจิทัล ภาคพิเศษ 25,000 ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จัดการ รวมจ านวนทั้งสิ้น 40,000 คู่มือการจัดสรรงบประมาณ ปีงบประมาณ 2566 4 มีการประเมิน ความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของ แผนฯ และมีการนำ ผลประเมินมาใช้ใน ปีถัดไป คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาด้านดิจิทัล คณะฯ ได้ร่วมกันประชุม ทบทวนประเมินความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษา เพื่อนำมาปรับปรุงแผนในปีถัดไป ดังนี้ ตัวชี้วัดความส าเร็จของแผนฯ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 1. นักศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพ ทักษะดิจิทัล ร้อยละ 50 2. นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่เข้าทดสอบทักษะ ทางดิจิทัล มีผลการทดสอบตาม มาตรฐาน ผ่านเกณฑ์ IC3 หรือ เทียบเท่า ตามประกาศ มหาวิทยาลัยกำหนด ร้อยละ 50 ผลการประเมินตามตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนการ พัฒนาศึกษาด้านดิจิทัล ดังนี้ ตัวชี้วัด หน่วย นับ เป้า หมาย บรรลุ 1. นักศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพ ทักษะดิจิทัล พบว่า มีนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ที่สำเร็จ การศึกษา มีทั้งหมด ได้รับการพัฒนา สมรรถนะทางด้านดิจิทัล ร้อย ละ 50 บรรลุ 2. นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่เข้าทดสอบทักษะ ทางดิจิทัล มีผลการทดสอบตาม มาตรฐาน ผ่านเกณฑ์ IC3 หรือ เทียบเท่า ตามประกาศ มหาวิทยาลัยกำหนด พบว่า นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่เข้าทดสอบ ทักษะทางดิจิทัล ตามมาตรฐานผ่านเกณฑ์ IC3 และผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ร้อย ละ 50 บรรลุ คณะกรรมการได้นำข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการตาม แผนฯ เสนอที่ประชุมของคณะกรรมการประจำคณะ ในการ ประชุมครั้งที่ 2/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 ทั้งนี้ คณะกรรมการประจำคณะได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรจัดกิจกรรม เสริมทักษะทางด้านดิจิทัลให้กับนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1.7.4(1) รายงานการ ประชุมคณะกรรมการ ประจำคณะวิทยาการ จัดการ 1.7.4(2) แผนพัฒนา นักศึกษาด้านการส่งเสริม สมรรถนะและทักษะด้าน ดิจิทัลประจำปีการศึกษา 2565 1.7.4(3) รายงานการ ประเมินความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของแผนฯ


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน คณะกรรมการฯ นำผลการประเมินประเด็นปัญหาที่พบ จากการจัดกิจกรรม มาประชุมพิจารณาปรับปรุงการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนานักศึกษาด้านดิจิทัล ประเด็นปัญหา ปี 2565 ข้อเสนอแนะ 1.การเตรียมความพร้อมด้าน ดิจิทัลให้กับนักศึกษา ควรมี ก า ร จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ใ ห ้ ก ั บ นักศึกษาทุกชั้นปี ควรจัดทำโครงการเตรียม ความพร้อมด้านดิจิทัลให้ เหมาะสำหรับนักศึกษาแต่ละ ชั้นปี โดยการเรียงลำดับความ ย า ก ง่ า ย ข อ งเ นื ้อหาที่ นักศึกษาควรได้รับให้ครบ คลุมทุกด้าน 2.ทำการรวบรวมเอกสาร เนื้อหา ที่เกี่ยวกับด้านดิจิทัล เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ศึกษาข้อมูล และเตรียมความ พร้อม จัดทำคู่มือการเตรียมความ พร้อม ทักษะทางดิจิทัล ตามมาตรฐานผ่านเกณฑ์ IC3 เพื่อเผยแพร่ให้กับนักศึกษา 5 มีนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีปีสุดท้าย ที่ผ่านเกณฑ์ IC3 หรือเทียบเท่า หรือ ตามที่มหาวิทยาลัย กำหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ในปีการศึกษา 2565 มีนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านเกณฑ์ IC3 หรือเทียบเท่า หรือ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 คณะวิทยาการจัดการ มีจำนวนทั้งสิ้น 391 คน คณะวิทยาการจัดการจัดให้นักศึกษาเข้ารับการประเมินสมรรถนะ บุคคลตามมาตรฐาน สมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล ด้วยเครื่องมือคอมพิวเตอร์สากล ( IC3 Digital Literacy Certification) จำวนนักศึกษาเข้าสอบ 353 คน คิดเป็นร้อยละ 90.28 ผ่านเกณฑ์ จำนวน 201 คน คิดเป็นร้อยละ 56.94 ของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายทั้งหมด [เอกสาร 1.7.5(1)] และจำนวน นักศึกษาสอบไม่ผ่าน จำนวน 152 คน คิดเป็นร้อยละ 43.06 ดังนั้นคณะฯ มีผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ผลการทดสอบสมรรถนะด้านดิจิทัล (เทียบเท่า IC3) โดยใช้ข้อสอบ LRU - CDL ส าหรับนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย ประจ าปีการศึกษา 2565 ข้อมูลพื้นฐาน ผลการ ด าเนินงาน 1.จำนวนนักศึกษาปริญญาตรีปีสุดท้ายทั้งหมด ของคณะ 391 2.จำนวนนักศึกษาปริญญาตรีปีสุดท้ายที่เข้าสอบ 353 1.7.5(1) รายงานผล การสอบด้านดิจิทัล เพื่อ วัดระดับ IC3 ของ นักศึกษาชั้นปีสุดท้าย คณะวิทยาการจัดการ


50 353 ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 3.ร้อยละของจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีปี สุดท้ายที่เข้าสอบ (ข้อ2x100)/ข้อ1 90.28 4.จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายที่ เข้าสอบ และผ่านเกณฑ์IC3 201 แทนค่าการค านวณ 1. ค่าร้อยละของนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายที่เข้าสอบ ผ่านเกณฑ์ IC3 หรือเทียบเท่า หรือตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 201 x 100 = ร้อยละ 56.94 แทนค่าการแปลงคะแนน ร้อยละ 56.94 x 5 = 5 (5.69) คะแนน 0 200 400 คณะวิทยาการ จัดการ ผลการทดสอบสมรรถนะและทักษะดิจิทัล (เทียบเท่า IC3) จ านวนนักศึกษา จ านวนนักศึกษาที่สอบผ่าน ร้อยละนักศึกษาที่ผ่าน


ตัวบ่งชี้ 1.8 : หลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม ประเภทของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายพัฒนานักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม ที่กำหนดให้คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 100 สูตรการค านวณ 1. คำนวณค่าร้อยละของหลักสูตรที่นักศึกษาส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม จำนวนหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม X 100 จำนวนหลักสูตรทั้งหมดในคณะ 10 X 100 = 100 10 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ 100 X 5 = 5 100 คะแนนที่ได้ = 5 ร้อยละของหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม X 5 ร้อยละของหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5


ผลการด าเนินการ คณะวิทยาการจัดการ มีนโยบายให้อาจารย์ในสาขาวิชามีการผลักดันให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ ผลงาน นวัตกรรม โครงงาน หรืองานวิจัย หรือการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้ชุมชนหรือท้องถิ่นเกิด ประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียนหรือชุมชน โดยให้นักศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วม และมีการบูรณาการกับรายวิชาที่ทำการจัดการ เรียนการสอน จำนวน 10 สาขาวิชา คณะวิทยาการจัดการได้มีการส่งเสริมสนับสนุน อาจารย์และนักศึกษา โดยการจัด โครงการ อาจารย์และนักศึกษามีส่วนรวมในการสร้างนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษา อาจารย์ได้ คิดค้น สร้างสรรค์นวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง มีการพัฒนาต่อยอดผลงาน ด้วยการออกแบบและพัฒนา นวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าให้แก่ชุมชนท้องถิ่น โดยนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการคิดนวัตกรรมออกมาจำนวน 10 ผลงาน อัน ได้แก่ หลักสูตร นวัตกรรม ชื่อ - สกุล อาจารย์และ นักศึกษา ชุมชนที่น าไปใช้ ประโยชน์ ผลการแก้ไขปัญหา การน าไปใช้ ประโยชน์ 1.บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการ ชุดควบคุม ระบบน้ำ อัตโนมัติ ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ นายปราม นามวงษ์ นางสาวสกุลตรา นามวงษ์ นางสาวภครินทร์ คำผิว นางสาวสุวภัรทร ศรีบุรินทร์ ชุมชนบ้านกลาง หมู่ที่ 3 ตำบล ปลาบ่า อำเภอภู เรือ จังหวัดเลย 1. ประหยัดเวลา และลดการสูญเสีย ทรัพยากรน้ำใน กรณีที่ลืมปิดน้ำ 2. ช่วยลดต้นทุน การใช้แรงงานใน การทำการเกษตร 3. ช่วยลด ค่าใช้จ่ายในการทำ การเกษตร 1. ชุดต้นแบบ นวัตกรรมควบคุม ระบบน้ำอัตโนมัติ 2. เอกสาร เผยแพร่ชุด ต้นแบบนวัตกรรม ควบคุมระบบน้ำ อัตโนมัติ 2.บัญชี บัณฑิต โปรแกรมบัญชี สำหรับชุมชน Easyaccountlru ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีร นาถ ดร.สาธิยา กลิ่นสุคนธ์ อ.ขนิษฐา หาระคุณ นางสาวปรียานุช ศรีเรือง นายวิเชษฐ์ ปาตอง โรงเรียนผู้สูงอายุ หมู่บ้านกำเนิด เพชร ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย ชุมชนได้มีการนำ ระบบเทคโนโลยี ใหม่ ๆ มาใช้ใน การดำเนิน ชีวิตประจำวันใน การลงบัญชีรับจ่าย ของครัวเรือน 3.การจัดการ ระบบ ฐานข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ สำนักงานของ แผนก ธุรการ ดร.เมทยา อิ่มเอิบ อาจารย์เยาว์ธิดา รัตนพล แสน นายธวัชชัย เหลาสุพะ บริษัทซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอน สตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) โครงการโรงไฟฟ้า หินกอง ในเขต ตำบลหินกอง อำเภอเมือง พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ สำนักงาน ของแผนกธุรการ ลด ขั้นตอนการ เบิก-จ่ายวัสดุ อุปกรณ์ สำนักงาน และเพิ่ม ประสิทธิภาพใน การปฎิบัติงานของ


ราชบุรี จังหวัด ราชบุร บริษัทซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) โครงการโรงไฟฟ้า หินกอง ในเขต ตำบลหินกอง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 4.การตลาด ดิจิทัล การพัฒนาคลิป วิดีโอสั้นเพื่อ เพิ่มการรับรู้แบ รนด์มาร์เก็ต เธียร์ผ่าน เครื่องมือ Reels บน Facebook 1.นายพงศ์พันธ์ ทองอรุณ 2.นางสาวภัคคินี นามโพธิ์ 3. นายอินทนนท์ แก้วอุดร 4. ดร.วรรณวิสา ไพศรี 1. ขยายฐาน ลูกค้าและเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ใหม่ ผ่านช่องทาง Facebook Fanpage: Marketeer Online ให้บริษัท มาร์เก็ตเธียร์ จำกัด เพื่อเพิ่ม การรับรู้แบรนด์ มาร์เก็ตเธียร์ผ่าน เครื่องมือ Reels บน Facebook 2. คลิปวิดีโอสั้น Reels บน Facebook Fanpage: Marketeer Online มีการเข้า รับชมของกลุ่ม ลูกค้าของบริษัท มาร์เก็ตเทียร์ เพิ่มขึ้นเป็น จำนวน 1,800 ครั้ง บริษัท มาร์เก็ต เธียร์ จำกัด นำไปใช้ใน Facebook Fanpage: Marketeer Online คลิปวิดีโอสั้นผ่าน Reels บนเพจ Facebook Fanpage บริษัท มาร์เก็ตเธียร์ จำกัด


5. คอมพิวเตอร์ ธุรกิจดิจิทัล การพัฒนา เว็บไซต์เพื่อ ประชาสัมพันธ์ และบริหาร จัดการร้านค้า ออนไลน์ วิสาหกิจชุมชน สวนทิพย์ อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย 1.อาจารย์ชวลิต ยศสุนทร 2.นางสาวสุนันทา รัตน สุนทร 3.นางสาวเสาวภา เนธิบุตร วิสาหกิจชุมชน สวนทิพย์250 หมู่ 9 ต.หนองผือ อ.ท่าลี่ จ.เลย 42140 เว็บไซต์สามารถ ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมข่าวสาร วิสาหกิจชุมชน สวนทิพย์ซึ่งเป็น แหล่งการเรียนรู้ และการท่องเที่ยว เชิงเกษตรช่วย กระตุ้นให้กลุ่ม นักท่องเที่ยว รวมถึง หน่วยงาน ที่สนใจได้รู้จักกัน มาก ยิ่งขึ้น และ เว็บไซต์สามารถน าเสนอ ขายสินค้า เพิ่มช่องทางการ ขาย ช่วยสร้าง รายได้ให้กับ วิสาหกิจ ชุมชน สวนทิพย์ 6.การจัดการ โลจิสติกส์ และซัพพลาย เชน การวิเคราะห์ ต้นทุนการผลิต และต้นทุนโลจิ สติกส์การผลิต ชา 7 สูตร อ.รดาศา เนตรแสงสี นางสาวกัญญาพรรณ โลขันสา ประธานวิสาหกิจ ชุมชนกลุ่ม สมุนไพรบ้าน หนองบัว 1.ลดต้นทุน 2.ช่องทาง การตลาด เล่มนวัตกรรม ความเป็นมา ข้อดี ข้อเสีย วิธีการ และผลประโยชน์ ที่ได้รับจาก นวัตกรรม 7.การจัดการ ธุรกิจการค้า สมัยใหม่ 1.ผลิตภัณฑ์ ช่วยลดการสูญ หายของสินค้า ภายในร้าน 7- 11 ชื่อ smart shelf 1.นางสาวนวพรหม อัครศรี ชัยโรจน์ 2.อาจารย์กาญจนา ศรี บุรินทร์ ร้านสะดวกซื้อ เซเว่นอีเลฟเว่น (7-11) ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและ ความสามารถใน การทำงานของ พนักงาน ลดอัตราการสูญ หายของสินค้า ลดการช็อตของ ออดิตแต่ละเดือน


1.แอปพลิเคชัน เกี่ยวกับการคิ เคราะห์ พฤติกรรมของ ลูกค้า แก้ไข ปัญหา ข้อ ร้องเรียนของ ลูกค้าที่มาใช้ บริการ ชื่อแอป 7 – Feed 1.นายศิวกร ตะนะสอน 2.อาจารย์กาญจนา ศรี บุรินทร์ ร้านสะดวกซื้อ เซเว่นอีเลฟเว่น (7-11) พัฒนาระบบ Application ใน ร้านสะดวกซื้อ โดย ชื่อ App 7-Feed เป็นการศึกษาถึง พฤติกรรมผู้บริโภค ภายในร้าน 7-11 พัฒนา ความสามารถใน การติดตามความ เคลื่อนไหวต่างๆ กิจกรรม และการ กระจายข่าวสาร ภายในบริษัท CP All การค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับการ ร้องเรียนและ ข้อเสนอแนะของ ลูกค้า การสั่งซื้อสินค้า ออนไลน์ การ กระตุ้นยอดขาย 8. เศรษฐศาสตร์ นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ แก้วมังกรแปร รูปเป็น 1. กิมจิแก้ว มังกร 2. ขาไก่แก้ว มังกร 1. น.ส.อลิสา สถิตย์ 2. น.ส.ญาสุมินทร์ สุชัยยะ 3. น.ส.เนตรชนก หาแก้ว 4. นายศราวุธ โสภาเลิศ 5. นายวรเมธ สวัสดิ์ภักดี 6. ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ กลุ่มวิสาหกิจ เกษตรแปลงใหญ่ แก้วมังกร ตำบล ร่องจิก อำเภอภู เรือ จังหวัดเลย 1. เพิ่มมูลค่าแก้ว มังกรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ได้ราคา แปรรูป เพื่อให้เกิดคุณค่า 2. นำเปลือกแก้ว มังกรที่เป็นขยะ หรือวัสดุเหลือทิ้ง มาทำให้เกิดมูลค่า ตามแนวคิดของ BCG Model 3. มีตลาดรองรับ จากการจับคู่ธุรกิจ


9.นิเทศ ศาสตร์ดิจิทัล การผลิตสื่อ เพื่อนำเสนอ ผลงาน ของ เทศบาลตำบล ท่าลี่ อำเภอท่า ลี่ จังหวัดเลย -อาจารย์อัญญา ภัสสร ชล พัชร์สิทธิ กุล (อาจารย์ที่ ปรึกษา) -ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.ประยุทธ วรรณ อุดม -อาจารย์พิชญา ขุน ศรี -รองศาสตราจารย์ ดร.ปฤฐฎาง จันทร์ บุญเรือง - ดร.พรหมพงษ์ มห พรพงษ์ - ดร.ณัฐฐิญา ทรัพย์ ปุญญา กุล เทศบาลตำบล ท่าลี่ การผลิตสื่อด้าน การออกแบบ โดย จัดทำ คู่มือการใช้ Adobe Photoshop CS6 เพื่อให้สามารถ ผลิตสื่อได้รวดเร็ว ทันสมัยและ สอดคล้องกับความ ต้องการ ใช้งาน บุคลากรใน หน่วยงานสามารถ นำ ความรู้ไปสู่การ ออกแบบและการ นำเสนอผลงาน ด้านต่าง ๆ ของ หน่วยงาน เทศบาลตำบลท่าลี่ เพื่อ ถ่ายทอด พัฒนานำเสนอลงสู่ แพลตฟอร์มดิจิทัล ได้อย่างมีปะสิทธิ ภาพ 10.การ ท่องเที่ยวและ การโรงแรม กระถางต้นไม้ จาก กากกาแฟ นางสาวบุณยาพร เคนคำ นางสาวศุภมาส ซื่อแท้ ดร. วรากรณ์ ใจน้อย Centara Grand Resort beach 1. ลดปริมาณของ วัตถุดิบเหลือทิ้ง และใช้ประโยชน์ ให้เกิดความคุ้มค่า ของกากกาแฟ เพื่อให้เกิด ผลิตภัณฑ์ทำให้ เกิดความ คิด สร้างสรรค์ในการ สร้างผลิตภัณฑ์ที่ แปลกใหม่และมี คุณค่า ช่วยรักษา สิ่งแวดล้อม ลด การเกิดมลภาวะ


2. กระถางต้นไม้ที่ ทำจากกากกาแฟ เป็นที่ยอมรับและ พึงพอใจต่อ ภาพรวม สามารถ ใช้ประโยชน์ได้จริง อีกทั้งยังสามารถ ช่วยดับกลิ่นเหม็น อับบริเวณห้องน้ำ กากกาแฟที่ได้มา จากการนำวัสดุที่ เหลือทิ้งกลับมาใช้ ใหม่เพื่อให้ก่อเกิด ประโยชน์ในการ ช่วยลดปัญหาการ ทิ้งกากกาแฟให้ น้อยลงและยัง สามารถนำกาก กาแฟมาแปรรูปทำ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ หลากหลายยังเป็น การใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ แต่ ทั้งหมดนี้ก็เพื่อก่อ เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อโรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ บีช รีสอร์ท ภูเก็ต การพัฒนาสูตร ค็อกเทลเพื่อ เพิ่มยอดขาย นายเขตต์ มหาเสนา นางสาวฐิตา ศรีเมือง นางสาวเปรมกมล สีชา โรงแรมอินเตอร์ คอนติเนนตัล พัทยา รีสอร์ท 1. การพัฒนาสูตร ค็อกเทลเพื่อเพิ่ม ยอดขายให้กับ โรงแรมอินเตอร์ คอนติเนนตัล พัทยา รีสอร์ท นำเสนอออกมาใน รูปแบบของ ค็อกเทล จัดทำขึ้น


เพื่อเพิ่มเมนู เครื่องดื่มใหม่ ร่วมกับการเพิ่ม รายได้และ ยอดขายให้กับ โรงแรม สามารถ นำค็อกเทลทั้ง 3 สูตรนี้ คือ Hint of love , Perfect see , Verdurous มาจัดเป็น โปรโมชั่น เช่น ส่วนลด หรือจ่าย ครึ่งราคา เพราะ เครื่องดื่ม 3 ชนิดนี้ คิดค้นขึ้นใหม่ โปรโมชั่นเหล่านี้จะ เป็นการช่วย กระตุ้นยอดขาย และกระตุ้นลูกค้า ให้หันมาสนใจได้


Click to View FlipBook Version