1
พระปรติ รธรรม
องค์การพุทธศาสนกิ สัมพันธ์แหง่ โลก
พทุ ธสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ยวุ พุทธิกสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์
สมาคมพุทธบริษทั ไทย-จีนประชา
และ มูลนธิ ิตามรอยบาทพระศาสดา
พรอ้ มกับประชาชนชาวไทย ชาวจนี และชาวโลก
รว่ มกบั คณะสงฆ์ ได้จดั ใหม้ ีการเจรญิ พระพทุ ธมนตพ์ ระปริตร
โดยมพี ระสงฆ์ร่วมในพิธีเจรญิ พระพทุ ธมนต์ จำ�นวน ๑,๐๐๐ รปู
เพ่ือขจดั ปัดเป่าภยั พิบตั ิต่างๆ และเพือ่ ความเป็นสวัสดิมงคล
แก่ประชาชนชาวไทย ชาวจนี และชาวโลก ทป่ี ระสบภยั จากเช้อื ไวรัสโคโรนา่
เพ่ือการกลับมาใชช้ วี ิตได้อย่างปกตสิ ขุ ต่อไป
2
3
4
อนโุ มทนากถา
ดว้ ยสงั คมโลกในปจั จบุ นั ตลอดถงึ ประเทศไทย ก�ำ ลงั ประสบปญั หาดา้ นสขุ ภาวะ
ทางกายอันเกิดจากการแพร่ระบาดของไวรัสอูฮ่ น่ั อยา่ งตอ่ เน่อื ง ประชาชนชาวไทย
ทุกหมู่เหล่าต่างตระหนักถึงการป้องกันดูแลรักษาสุขภาพพลานามัยให้สมบูรณ์
แข็งแรง เพื่อบ�ำ บัดปญั หาดา้ นสขุ ภาวะอนั เกดิ จากการแพร่ระบาดของไวรสั อฮู่ ัน่
โดยปรารภถงึ เหตนุ ้ี นายแผน วรรณเมธี ประธาน พ.ส.ล. และคณะด�ำ เนนิ งาน
การจดั งาน รว่ มกบั องคก์ ารยวุ พทุ ธกิ สมั พนั ธแ์ หง่ โลก ยวุ พทุ ธกิ สมาคม พทุ ธสมาคม
และมลู นธิ ติ ามรอยบาทพระศาสดา ไดต้ ระหนกั ถงึ ปญั หาสขุ ภาวะเชน่ น้ี จงึ ไดร้ ายงาน
ปัญหาให้ทราบ และขอคำ�ปรึกษา เพื่อให้มีการจัดพิธีสวดเจริญพระพุทธมนต์ข้ึน
โดยเฉพาะบทรัตนปริตรหรือรตั นสูตร ที่ปรากฏในพระสตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย
ขทุ ทกปาฐะ ถงึ เรอื่ งราวปญั หาดา้ นสขุ ภาวะทางกายเกยี่ วกบั ทพุ ภกิ ขภยั และฝนแลง้
ที่เกิดข้ึนแก่ชาวเมืองไพศาลีในคร้ังอดีตน้ัน ซ่ึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ไดม้ ีพระพุทธด�ำ รัสให้พระภิกษสุ งฆส์ วดเจริญพระพุทธมนต์ สาธยายรตั นสูตรนี้เปน็
พิเศษ
ฉะนั้น ทางคณะดำ�เนินงานการจัดงาน ซ่ึงได้มีความดำ�ริชอบกอปรด้วย
มหากุศลเจตนารมณ์อันประเสริฐร่วมกันตามหลักอัปปมัญญาธรรมข้อกรุณาอันมี
ทุกขิตสัตว์เป็นอารมณ์เป็นท่ีต้ัง ประสงค์จะจัดให้มีการสวดเจริญพระพุทธมนต์เป็น
พิเศษ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะทางใจอันจะเป็นพลวปัจจัยที่สำ�คัญในการช่วยบำ�บัด
ทุกข์บำ�รุงสุขให้แก่ประชาชนชาวไทยและนานาอารยประเทศท่ัวโลกอีกส่วนหนึ่ง
จึงได้อาราธนานิมนต์พระสงฆ์ จำ�นวน ๑,๐๐๐ รูป ร่วมสวดเจริญพระพุทธมนต์
สาธยายพระปรติ ร ในวนั ที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ณ บรเิ วณลาน
ประดิษฐาน พระศรศี กั ยทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ พุทธมณฑล
จังหวดั นครปฐม และไดจ้ ัดพิมพ์หนงั สอื บทสวดมนต์ สำ�หรบั ใชใ้ นการพธิ สี วดเจรญิ
พระพทุ ธมนตเ์ ปน็ การเฉพาะกรณี ซง่ึ ประกอบดว้ ยบทหลกั ๆ ๓ บท คอื บทรตั นสตู ร
บทเมตตาสูตร บทธชัคคสูตร และบทอืน่ ๆ อกี ร่วม ๘ บท สาธยายใหเ้ กิดเป็น
5
พลานุภาพพระปริตรแห่งพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ เพ่ือเป็นการบำ�บัดทุกข์ให้
ขา้ มพน้ และปอ้ งกนั เหตอุ นั จะน�ำ มาซงึ่ ปญั หาดา้ นสขุ ภาวะตอ่ ชวี ติ ใหส้ ามารถด�ำ เนนิ
ชีวิตได้อย่างสันติสุขร่มเย็นปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและอุปสรรคอันตรายนานัป
ประการ
ในการนี้ อาตมภาพจงึ ขออนโุ มทนาในมหากศุ ลเจตนารมณอ์ นั ประเสรฐิ และ
งดงามย่งิ ของ นายแผน วรรณเมธี และคณะด�ำ เนนิ งานการจัดงาน รวมถงึ องคก์ าร
ยุวพุทธิกสัมพนั ธแ์ หง่ โลก ยวุ พทุ ธกิ สมาคม พทุ ธสมาคม และมูลนิธติ ามรอยบาท
พระศาสดา ตลอดถึงผู้มีศรัทธา ท่ีได้มีฉันทะร่วมกันจัดพิมพ์หนังสือบทสวดมนต์
ในคร้ังนี้ ด้วยอานุภาพแห่งคุณพระศรีรัตนตรัยและอานิสงส์ผลบุญแห่งพระปริตร
พุทธมนต์นี้ จงอำ�นวยให้ท่านท้ังหลายประสบความสุขความเจริญในชีวิตตลอด
กาลนานเปน็ นติ ยเ์ ทอญ ฯ
ขอเจรญิ พร
(พระธรรมปัญญาบดี)
อธิบดีสงฆ์วดั มหาธาตยุ ุวราชรังสฤษฎ์ิ
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓
6
สารบญั
อนโุ มทนากถา ๔ ๕. ตำ�นานธชคั คปรติ ร ๓๙......................................................................
.................................
ประวตั พิ ระปรติ ร ๗ - บทขดั ธชคั คปรติ ร ๔๐.............................................................
............................
อานสิ งสพ์ ระปริตร ๙ - ธชคั คปรติ ร ๔๐.......................................................
.....................................................
มหานมกั การ ๑๐........................................................................ ๖. ต�ำ นานอาฏานาฏยิ ปรติ ร............๕๐
ไตรสรณคมน์ ๑๑..................................................................... - บทขดั อาฏานาฏยิ ปรติ ร.......๕๑
สมาทานศลี ๕ ๑๒................................................................. - อาฏานาฏยิ ปรติ ร ๕๑...............................
ต�ำ นานชมุ นมุ เทวดา ๑๓......................................... ๗. ต�ำ นานองั คลุ มิ าลปรติ ร....................๕๗
ชมุ นมุ เทวดา ๑๔...................................................................... - บทขดั องั คลุ มิ าลปรติ ร.............๕๗
พระปริตร - องั คลุ มิ าลปรติ ร ๕๘.......................................
๑. ตำ�นานรตั นปริตร ๑๖........................................
- บทขดั รตั นปรติ ร ๑๗ ๘. ต�ำ นานโพชฌงั คปรติ ร ๕๘...................................
.....................
- รัตนปรติ ร ๑๘ - บทขดั โพชฌงั คปรติ ร ๖๐...........................................................
..................
๒. ตำ�นานเมตตปริตร ๒๖ - โพชฌงั คปรติ ร ๖๐.................................. ..........................................
- บทขัดเมตตปริตร ๒๘ ต�ำ นานเทวตาอยุ โยชนคาถา ๖๒............................ ..........
- เมตตปรติ ร ๒๘ ต �ำ น-า นเทปวตั ตตาทิ อายุ นโยคชาถนาคาถา ๖๖๔๒......................................................
................
...................................
๓. ต�ำ นานขนั ธปรติ ร ๓๒ - ปตั ตทิ านคาถา ๖๔........................................
........................................
- บทขดั ขนั ธปรติ ร ๓๒ รายนามผรู้ ว่ มจดั พมิ พ์ ๖๖...................................
- ขนั ธปรติ ร ๓๓ ........................................................... ...................................
๔. ต�ำ นานโมรปรติ ร ๓๕ ..........................................
- บทขดั โมรปรติ ร ๓๗ ..................................
- โมรปรติ ร ๓๗...............................................................
7
ประวตั พิ ระปรติ ร
พระปริตร แปลวา่ เครอ่ื งคุ้มครอง คอื คุ้มครองปอ้ งกันอันตราย
ภายนอก เช่น โจร ยกั ษ์ สตั ว์เดรัจฉาน และปอ้ งกันอันตรายภายในคือ
โรคภัยไข้เจ็บ อานิสงส์ท่ีได้รับจากการสวดพระปริตรนี้เกิดจากอานุภาพของ
พระรัตนตรัยและเมตตา เพราะพระปริตรกล่าวถึงคุณของพระรัตนตรัยและ
การเจรญิ เมตตาภาวนา ฉะน้นั ผู้หม่นั สาธยายพระปริตรจงึ ไดร้ ับผลานิสงส์
ต่างๆ เช่น ประสบความสวสั ดี ความเจรญิ รุง่ เรือง ไดร้ บั ชัยชนะ แคล้วคลาด
จากอุปสรรคอนั ตราย มีสุขภาพอนามยั ดี และมีอายุยืน ดงั พระพุทธด�ำ รสั ว่า
“เธอจงเจรญิ พทุ ธานสุ สติ ภาวนาทย่ี อดเยย่ี มในภาวนาธรรม เพราะ
ผ้เู จริญภาวนาน้ีจะสมหวงั ดงั มโนรถ” (ข.ุ อป. ๓๒/๓๖/๙๘)
“อมนษุ ยท์ ตี่ อ้ งการจะท�ำ รา้ ยผเู้ จรญิ เมตตา ยอ่ มประสบภยั พบิ ตั เิ อง
เปรียบเหมือนคนที่ใช้มือจับหอกคม จะได้รับอันตรายจากการจับหอกนั้น”
(ส.ํ นิ. ๑๖/๒๒๗/๒๕๑)
ประโยชนใ์ นปจั จบุ นั
ในคัมภีร์อรรถกถา มีปรากฏเรื่องอานุภาพพระปริตรคุ้มครองผู้สวด
เช่นเรื่องพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นนกยูกทอง พระองค์ได้หมั่นสาธยาย
โมรปริตรท่ีกล่าวถึงคุณของพระพุทธเจ้าเป็นประจำ� ทำ�ให้แคล้วคลาดจาก
บว่ งทีน่ ายพรานดกั ไว้ (ชา. อฏฺ. ๒/๓๕) และเรอ่ื งในสมยั พุทธกาล มภี ิกษุ
หา้ รอ้ ยรปู ไปเจรญิ ภาวนาในปา่ ไดถ้ กู เทวดารบกวนจนกระทง่ั ปฏบิ ตั ธิ รรมไมไ่ ด้
ตอ้ งเดนิ ทางกลบั เมอื งสาวัตถี ในขณะนัน้ พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รัสสอนเมตตปรติ ร
ทกี่ ลา่ วถงึ การเจรญิ เมตตา ครน้ั ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ หมน่ั เจรญิ เมตตาภาวนา เทวดา
จึงมีไมตรีจิตตอบด้วย และช่วยพิทักษ์คุ้มครองให้ภิกษุหมู่นั้นปฏิบัติธรรมได้
โดยสะดวก (สตุ ตฺ นิ. อฏฺ. ๑/๒๒๑, ขุททฺ ก. อฏฺ. ๒๒๕)
8
นอกจากนี้ อานุภาพพระปริตรยังสามารถคุ้มครองผู้ฟงั ได้อกี ด้วย
ดงั ทม่ี ปี รากฏในคมั ภรี อ์ รรถกถาวา่ ในสมยั พทุ ธกาล เมอ่ื เมอื งเวสาลปี ระสบภยั
๓ อย่าง คอื ความอดอยากแรน้ แค้น การเบยี ดเบียนจากอมนษุ ย์ และการแพร่
ของโรคระบาด พระพทุ ธเจา้ ไดร้ บั นมิ นตเ์ สดจ็ ไปโปรด พระองคร์ บั ใหพ้ ระอานนท์
สวดรตั นปรติ รทก่ี ลา่ วถงึ คณุ ของพระรตั นตรยั ภยั ดงั กลา่ วในเมอื งนน้ั จงึ ไดส้ งบลง
(ขทุ ทฺ ก. อฏ.ฺ ๑๔๑-๔) ในอรรถกถาอกี คมั ภรี ห์ นง่ึ มปี รากฏวา่ ในสมยั พทุ ธกาล
มเี ดก็ คนหนง่ึ จะถกู ยกั ษจ์ บั กนิ ภายใน ๗ วนั พระพทุ ธเจา้ จงึ ทรงแนะน�ำ ใหภ้ กิ ษุ
สวดพระปริตรตลอดเจ็ดคืน และพระองค์ได้เสด็จไปสวดด้วยพระองค์เองใน
คนื ที่แปด เดก็ นัน้ ก็สามารถรอดพน้ จากภัยพบิ ตั ิของอมนษุ ย์นนั้ ได้ มอี ายุยนื
๑๒๐ ปี บดิ ามารดาจงึ ตงั้ ชอ่ื เดก็ วา่ อายวุ ฑั ฒนกมุ าร แปลวา่ เดก็ ผมู้ อี ายยุ นื
เพราะรอดพน้ จากอนั ตรายดังกลา่ ว (อรรถกถาธรรมบท ๔/๑๑๓/๖)
ประโยชนใ์ นอนาคต
เมอ่ื พระพทุ ธเจา้ พระนามวา่ ปทมุ ตุ ตระ เสดจ็ ไปโปรดโกสยิ ชฎลิ ที่
ภเู ขานสิ กะ ชฎลิ ตนนนั้ ไดพ้ บพระองคแ์ ลว้ เกดิ โสมนสั ปราโมทย์ น�ำ ดอกไมม้ า
ประดับเป็นอาสนะที่ประทับ พระพุทธเจ้าได้ประทับน่ังเข้าผลสมาบัติในท่ีนั้น
ตลอดเจด็ วนั โกสยิ ชฎลิ ไดย้ นื ประณมมอื ระลกึ ถงึ พระพทุ ธคณุ ตลอดเจด็ วนั เชน่ กนั
กศุ ลทเ่ี กดิ จากการระลกึ ถงึ พระพทุ ธคณุ น้ี ท�ำ ใหโ้ กสยิ ชฎลิ เกดิ เปน็ เทพบตุ รใน
สวรรค์ช้นั ดาวดึงส์ ๓ หมื่นกปั เป็นทา้ วสักกะจอมเทพ ๘๐ ชาติ เปน็ พระเจา้
จกั รพรรดิ ๑,๐๐๐ ชาติ เปน็ พระราชานับชาติไม่ถ้วน ในระหวา่ งนี้เม่อื เกดิ เป็น
มนุษย์ก็เป็นเศรษฐีมีทรัพย์ และไม่เคยไปเกิดในอบายภูมิ ในภพสุดท้ายได้
ออกบวชเปน็ พระภกิ ษุ ทา่ นปรากฏนามวา่ พระสภุ ตู เิ ถระ ไดร้ บั ต�ำ แหนง่ เอตทคั คะ
ผเู้ ปน็ เลศิ ในการเจรญิ ฌานประกอบดว้ ยเมตตาและเปน็ ทกั ขไิ ณยบคุ คล (ข.ุ อป.
๓๒/๑-๕๑/๙๔-๙)
9
อานสิ งสพ์ ระปรติ ร
โบราณาจารยไ์ ดร้ วบรวมอานสิ งส์ของพระปริตรไวด้ งั นี้ คอื
๑. รตั นปริตร ท�ำ ให้ไดร้ บั ความสวัสดี
และพน้ จากอุปสรรคอนั ตราย
๒. เมตตปรติ ร ท�ำ ใหห้ ลบั เปน็ สขุ , ตน่ื เปน็ สขุ , ไมฝ่ นั รา้ ย,
เปน็ ทร่ี ักของมนุษยแ์ ละอมนษุ ยท์ ัง้ หลาย, เทพพิทกั ษร์ กั ษา, ไม่มภี ยนั ตราย,
จติ เกดิ สมาธงิ า่ ย, ใบหนา้ ผอ่ งใส, มสี ริ มิ งคล, ไมห่ ลงสตใิ นเวลาเสยี ชวี ติ และ
เกดิ เปน็ พรหมเมื่อบรรลุเมตตาฌาน
๓. ขนั ธปริตร ป้องกันภยั จากอสรพษิ และสัตวร์ ้ายอนื่ ๆ
๔. โมรปรติ ร ป้องกันภัยจากผู้คิดรา้ ย
๕. ธชัคคปริตร ท�ำ ใหพ้ น้ จากอปุ สรรคอนั ตราย และการ
ตกจากท่สี งู
๖. อาฏานาฏิยปรติ ร ป้องกนั ภัยจากอมนษุ ย์ ท�ำ ใหม้ ีสุขภาพดี
และมีความสขุ
๗. อังคุลมิ าลปรติ ร ท�ำ ใหค้ ลอดบตุ รงา่ ย และปอ้ งกนั อปุ สรรค
อันตราย
๘. โพชฌังคปรติ ร ทำ�ให้มสี ุขภาพดี มอี ายุยนื และพ้นจาก
อปุ สรรคทง้ั ปวง
10
พระปริตรธรรม
มหานมักการ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธัสสะ.
ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พี ระภาค ผูไ้ กลจากกิเลส
ตรัสรชู้ อบดว้ ยพระองค์เอง พระองค์น้นั
[๓ ครั้ง]
โบราณาจารย์เรยี กบทน้วี ่า มหานมกั การ คือ บทนอบน้อมที่สำ�คญั ย่ิง
(สทั ทนีติ ปทมาลา หน้า ๒๑๗) เน่ืองจากเปน็ บทแรกทีช่ าวพุทธนิยมสวด
นอบน้อม พระพทุ ธเจา้ อนั ท่ีจริง บทนี้เปน็ ค�ำ อทุ านทีเ่ ปลง่ ออกด้วยปีติอัน
ด่ืมดํ่าในพระพุทธคุณ ในสมัยพุทธกาลมีบุคคลหลายคนท่ีเปล่งอุทานคำ�น้ี
เพ่ือนอบน้อมพระพทุ ธเจ้า เชน่ ท้าวสักกะ, พราหมณ์พรัหมาย,ุ พราหมณ์
อารามทัณฑะ และนางธนัญชานี เปน็ ตน้ ,
บางอาจารยม์ มี ตวิ ่า เทพ ๕ ตนกล่าวบทนเี้ ป็นเบื้องแรก คอื สาตาคิริ-
เทพกล่าววา่ นโม, อสุรนิ ทราหกู ลา่ วว่า ตสสฺ , ทา้ วจาตุมหาราชกลา่ วว่า
ภควโต, ทา้ วสักกเทวราชกล่าวว่า อรหโต, ท้าวมหาพรหมกล่าวว่า สมมฺ า-
สมฺพทุ ฺธสฺส ดังที่คมั ภีร์กจั จายนเภทนวฎกี า (หนา้ ๑๐๔) กลา่ ววา่
สาตาคิริ นโม ยกฺโข ตสฺส จ อสรุ ินทฺ โก
ภควโต มหาราชา สกฺโก จ อรหโต ตถา
สมฺมาสมฺพุทธฺ พฺรหมฺ า จ เอเต ปญจฺ ปตฏิ ติ า.
อยา่ งไรกต็ าม บณั ฑติ ทง้ั หลายไมย่ อมรบั มตนิ ี้ เพราะไมม่ หี ลกั ฐานอา้ งองิ
ในพระบาลแี ละอรรถกถา ท้ังในพระบาลกี ็ปรากฏวา่ เปน็ คำ�อทุ านทบ่ี คุ คลคน
เดยี ว เปล่งออก (พระปริตรแปลใหม่ ฉบับพม่า หนา้ ๓๙)
11
ไตรสรณคมน์
พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉาม.ิ
ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นทีพ่ ่ึง
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ.
ข้าพเจ้าขอถงึ พระธรรมเป็นทพี่ ึง่
สงั ฆัง สะระณงั คจั ฉาม.ิ
ข้าพเจ้าขอถงึ พระสงฆ์เปน็ ที่พงึ่
ทตุ ยิ มั ปิ พทุ ธงั สะระณัง คัจฉาม.ิ
แมค้ ร้ังท่ี ๒ ขา้ พเจ้าขอถึงพระพทุ ธเจา้ เป็นท่ีพงึ่
ทุตยิ ัมปิ ธมั มัง สะระณงั คจั ฉามิ.
แมค้ รัง้ ที่ ๒ ขา้ พเจา้ ขอถงึ พระธรรมเปน็ ท่พี ง่ึ
ทตุ ยิ มั ปิ สงั ฆัง สะระณงั คัจฉามิ.
แม้ครั้งที่ ๒ ขา้ พเจา้ ขอถึงพระสงฆเ์ ป็นท่พี ่งึ
ตะติยัมปิ พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามิ.
แมค้ รั้งที่ ๓ ขา้ พเจ้าขอถงึ พระพุทธเจา้ เปน็ ทีพ่ งึ่
ตะติยมั ปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉาม.ิ
แมค้ รงั้ ที่ ๓ ข้าพเจา้ ขอถงึ พระธรรมเปน็ ท่พี งึ่
ตะตยิ มั ปิ สงั ฆงั สะระณัง คัจฉามิ.
แมค้ รง้ั ท่ี ๓ ข้าพเจา้ ขอถึงพระสงฆเ์ ป็นทพ่ี ่ึง
12
ไตรสรณคมน์ คอื การเขา้ ถงึ พระรตั นตรยั วา่ เปน็ ทพ่ี ง่ึ ผทู้ จี่ ะปฏญิ าณตน
วา่ เปน็ ชาวพทุ ธต้องกลา่ วคำ�นี้ การกลา่ วสามคร้งั ในที่นเี้ ปน็ การยาํ้ ความซงึ่ เปน็
ประเพณขี องชาวอนิ เดยี ในสมยั กอ่ น เปรยี บเหมอื นการกลา่ วบทวา่ นะโม สามครง้ั
บางท่านมมี ตวิ ่า “การกลา่ วบทว่า นะโม สามครัง้ นั้นเพือ่ ให้บรรลุขณกิ สมาธ,ิ
อปุ จารสมาธแิ ละอปั ปนาสมาธติ ามล�ำ ดบั ” ความเหน็ นไ้ี มต่ รงตามคมั ภรี ว์ สิ ทุ ธมิ รรค
(เลม่ ๑ หนา้ ๑๑๙) ทแ่ี สดงวา่ พทุ ธานสุ ตกิ รรมฐานกอ่ ใหเ้ กดิ อปุ จารสมาธเิ ทา่ นน้ั
การสมาทานศีลที่กล่าวในที่นี้ เป็นการสมาทานแยกทีละสิกขาบท แต่ผู้
สมาทานอาจสมาทานรวมว่า ปัญจงั คะสะมันนาคะตงั สลี ัง สะมาทยิ ามิ
(ขา้ พเจา้ ขอสมาทานศลี ทถ่ี งึ พรอ้ มดว้ ยองคห์ า้ ) พระอรรถกถาจารยไ์ ดแ้ สดงมติ
ของอาจารยบ์ างท่านว่า “ในการสมาทานรวมนี้ ถา้ ผดิ ศลี ข้อใดขอ้ หนง่ึ นับว่า
ศีลข้ออ่ืนไดข้ าดด้วย เพราะเจตนางดเวน้ เกดิ ครงั้ เดียวในเวลาสมาทาน แตใ่ น
การสมาทานแยกกนั ถา้ ผดิ ศลี ขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ นบั วา่ ศลี ขอ้ นน้ั ขาด ศลี ขอ้ อนื่ ไมข่ าด
เพราะเจตนางดเว้นเกิดหา้ ครัง้ ในเวลาสมาทาน” (ขทุ ทฺ ก. อฏฺ. ๒๐)
ผู้เข้าถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นท่ีพ่ึงโดยกล่าวว่า พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
เปน็ ตน้ แลว้ อาจไมต่ อ้ งสมาทานศลี อกี เพราะจดั วา่ ถอื ศลี แลว้ ดว้ ยความเลอ่ื มใส
ทเี่ กิดในขณะนน้ั เนอ่ื งจากศีลมี ๕ ประเภทคอื ปกตศิ ลี (ศีลโดยปรกต)ิ , สมา-
ทานศีล (ศีลที่เกิดจากการสมาทาน), จิตตปสาทะ (ศีลท่ีเกิดจากจิตเล่ือมใส),
สมถะ (ศีลที่เกิดจากสมถะ) และวปิ สั สนา (ศลี ทีเ่ กดิ จากวปิ สั สนา) ตามทก่ี ลา่ ว
ในเนตตปิ กรณ์ (หนา้ ๑๙๐)
สมาทานศีล ๕
ปาณาติปาตา เวระมะณิสกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ.
ข้าพเจา้ ขอสมาทานสกิ ขาบท ทง่ี ดเวน้ จากการฆา่ สัตว์
13
อะทินนาทานา เวระมะณิสิกขาปะทงั สะมาทยิ าม.ิ
ข้าพเจา้ ขอสมาทานสิกขาบท ทง่ี ดเว้นจากการลักทรพั ย์
กาเมสมุ ิจฉาจารา เวระมะณสิ กิ ขาปะทงั สะมาทยิ าม.ิ
ขา้ พเจ้าขอสมาทานสิกขาบท
ท่งี ดเวน้ จากประพฤตผิ ิดในกาม
มุสาวาทา เวระมะณิสิกขาปะทงั สะมาทิยาม.ิ
ขา้ พเจ้าขอสมาทานสกิ ขาบท ทีง่ ดเวน้ จากการพูดเท็จ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณสิ กิ ขาปะทัง
สะมาทิยาม.ิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท ท่ีงดเว้นจากการดิ่ืมของเมา
คือสุราเมรัย อนั เปน็ เหตุแหง่ ความประมาท
ต�ำ นานชมุ นมุ เทวดา
บทสวดชมุ นมุ เทวดา กลา่ วถงึ การอญั เชญิ เทวดามาประชมุ ฟงั พระปรติ ร
ที่จะสวด แสดงไมตรีจิตหวังให้เทวดามีสุข ปราศจากทุกข์ และขอให้เทวดา
คมุ้ ครองชาวโลกใหพ้ น้ ภยั บทสวดนเี้ ปน็ บททโ่ี บราณาจารยป์ ระพนั ธข์ น้ึ คาถา
ที่ ๑ ไมม่ ปี รากฏในคมั ภรี ป์ รติ ตฎกี าทพี่ ระเตโชทปี เถระรจนาในสมยั องั วะ พ.ศ.
๒๑๕๓ เพราะคมั ภรี น์ นั้ ไดอ้ ธบิ ายความตงั้ แตป่ ระโยคที่ ๒ ดงั นนั้ จงึ สนั นษิ ฐาน
วา่ คาถาแรกไดร้ บั การประพนั ธข์ น้ึ หลงั พ.ศ. ๒๑๕๓ ผรู้ บู้ างทา่ นกลา่ ววา่ คาถา
เหลา่ นป้ี ระพนั ธท์ ป่ี ระเทศศรลี งั กา โดยพระอรหนั ตผ์ พู้ �ำ นกั อยใู่ นนกิ ายมหาวหิ าร
(พระปรติ รแปลใหม่ ฉบับพมา่ หน้า ๔๑)
14
ชุมนุมเทวดา
๑. สะมนั ตา จักกะวาเฬส ุ อตั ฺราคจั ฉันตุ เทวะตา
สทั ธมั มงั มุนริ าชสั สะ สุณันตุ สัคคะโมกขะทงั .
ขออัญเชิญเทวดาในจักรวาลท้ังหลายโดยรอบมาสู่สถานที่น้ี
ฟงั พระสทั ธรรมของพระจอมมนุ ี ซ่ึงช้ีทางสวรรค์และนพิ พาน
๒. ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัง ภะทันตา.
ท่านผ้เู จรญิ ทัง้ หลาย กาลนเ้ี ป็นกาลฟังธรรม
[๓ คร้งั ]
๓. สพั เพสุ จักกะวาเฬสุ ยกั ขา เทวา จะ พรฺ หั มฺ ะโน
ยงั อมั เหหิ กะตงั ปญุ ญงั สพั พะสัมปัตติสาธะกงั .
๔. สัพเพ ตัง อะนโุ มทิตฺวา สะมัคคา สาสะเน ระตา
ปะมาทะระหิตา โหนต ุ อารกั ขาสุ วเิ สสะโต.
ขออัญเชญิ ยกั ษ์ เทวดา พรหมท่วั ทกุ จักรวาล ร่วมอนุโมทนา
บญุ ทเี่ ราไดก้ ระท�ำ ทสี่ ามารถยงั สงิ่ ทง้ั ปวงใหส้ �ำ เรจ็ ได้ ขอทา่ นเหลา่ นน้ั
จงเป็นผู้สมานฉันท์ยินดีในพระศาสนา และเป็นผู้ไม่ประมาท ต้ังใจ
ปกปกั รักษา [ชาวโลก] เถิด
๕. สาสะนสั สะ จะ โลกัสสะ วฑุ ฒิ ภะวะตุ สัพพะทา
สาสะนมั ปิ จะ โลกัญจะ เทวา รักขันตุ สพั พะทา.
ขอความเจรญิ จงมแี กพ่ ระศาสนาและชาวโลกเสมอ ขอเทวดาจง
รกั ษาพระศาสนาและชาวโลกเสมอเถดิ
15
๖. สัทธงิ โหนตุ สขุ ี สัพเพ ปะริวาเรหิ อัตตะโน
อะนฆี า สุมะนา โหนต ุ สะหะ สพั เพหิ ญาตภิ ิ.
ขอท่านทั้งปวงเหล่าน้ันพร้อมหมู่ญาติทั้งหมดและบริวารของตน
จงเปน็ ผมู้ ีความสุข ปราศจากทกุ ข์ และมใี จเบิกบานเถิด
๗. ราชะโต วา โจระโต วา มะนสุ สะโต วา อะมะนสุ สะโต
วา อัคคิโต วา อุทะกะโต วา ปิสาจะโต วา ขาณุกะโต วา
กณั ฏะกะโต วา นกั ขตั ตะโต วา ชะนะปะทะโรคะโต วา
อะสทั ธมั มะโต วา อะสทั ทฏิ ฐโิ ต วา อะสปั ปรุ สิ ะโต วา จณั ฑะ
หัตถิ อัสสะ มิคะ โคณะ กุกกุระ อะหิ วิจฉิกะ มะณิสัปปะ
ทีปิ อจั ฉะ ตะรจั ฉะ สกู ะระ มะหิงสะ ยักขะ รกั ขะสาทีหิ
นานาภะยะโต วา นานาโรคะโต วา นานาอปุ ทั ทะวะโต วา
อารักขงั คณั หันต.ุ
ขอชาวโลกจงไดร้ บั การคมุ้ ครองจากอนั ตรายทเ่ี กดิ จากพระราชา
โจร มนษุ ย์ อมนษุ ย์ ไฟ นาํ้ ปีศาจ ตอไม้ หนาม เคราะหร์ า้ ย
โรคระบาดในถิ่นมนุษย์ ความประพฤติของคนทราม ความเห็นผิด
คนร้าย ช้าง มา้ กวาง วัว สุนขั งู แมงปอ่ ง งูเขียว เสือดาว หมี
หมาป่า หมู กระบือ ยกั ษ์ รากษสเปน็ ต้น ท่ดี รุ ้าย ภยันตราย โรค
และอุปทั วะต่างๆ
16
ตำ�นานรตั นปรติ ร
รตั นปรติ ร คอื ปรติ รทกี่ ลา่ วถงึ คณุ ของพระรตั นตรยั แลว้ อา้ งคณุ นนั้ มา
พิทกั ษค์ ุ้มครองใหม้ ีความสวสั ดี มีประวตั ิเลา่ วา่ ในสมยั หนึง่ เมืองเวสาลีเกดิ
ฝนแล้ง ขาดแคลนอาหาร มคี นอดอยากลม้ ตายมากมาย ซากศพถกู โยนทงิ้
นอกเมือง พวกอมนุษย์ได้กลิ่นศพก็พากันเข้ามาในเมือง ท�ำ อันตรายคนให้
ตายมากขนึ้ และยงั เกดิ อหวิ าตกโรคระบาดอกี ดว้ ย ท�ำ ใหเ้ มอื งเวสาลปี ระสบภยั
๓ อย่าง ไดแ้ ก่ ทพุ ภกิ ขภัย คือ ขา้ วยากหมากแพง, อมนุสสภัย คอื อมนษุ ย์
และโรคภยั คอื โรคระบาด
ในขณะนน้ั ชาวเมอื งด�ำ รวิ า่ เมอื งนไ้ี มเ่ คยเกดิ ภยั พบิ ตั เิ ชน่ นถี้ งึ ๗ รชั สมยั
จึงกราบทูลเจ้าผู้ครองนครว่า ภัยนี้อาจเกิดจากการท่ีพระองค์ไม่ทรงธรรม
เจ้าผู้ครองนครจึงมีรับสั่งให้ชาวเมืองประชุมกันพิจารณาหาโทษของพระองค์
แต่ชาวเมืองไม่สามารถพิจารณาหาโทษได้ ทั้งหมดจึงปรึกษากันว่าควรจะ
นิมนต์ศาสดาองค์หน่ึงมาดับทุกข์ภัยน้ี บางคนกล่าวว่าควรนิมนต์เดียรถีย์
บางคนกล่าวว่าควรนิมนต์พระพุทธเจ้า ในที่สุดทุกฝ่ายมีความเห็นตรงกันว่า
ควรนมิ นตพ์ ระพทุ ธเจา้ ใหเ้ สดจ็ มาโปรด ดงั นน้ั จงึ ไดส้ ง่ เจา้ ลจิ ฉวสี องพระองค์
มาทูลนมิ นตเ์ พ่ือระงับภยั พบิ ตั ินนั้
เม่อื พระพุทธองคเ์ สดจ็ ถึงเมืองเวสาลี พระอนิ ทรพ์ ร้อมดว้ ยเทพบรวิ าร
เปน็ อนั มากไดม้ าเฝา้ ในสถานทน่ี น้ั ท�ำ ใหพ้ วกอมนษุ ยต์ อ้ งหลบหนอี อกจากเมอื ง
จากนน้ั พระพทุ ธองคท์ รงสอนพระปรติ รนแ้ี กพ่ ระอานนท์ และรบั สง่ั ใหท้ า่ นสาธยาย
รอบเมอื งทมี่ กี �ำ แพงสามชน้ั ตลอดสามยาม พวกอมนษุ ยท์ ยี่ งั เหลอื อยไู่ ดห้ ลบหนี
ไปหมด เพราะกลวั อานภุ าพพระปรติ ร คร้ันอมนุษย์หนีไปและโรคระบาดสงบ
ลงแลว้ ชาวเมอื งไดม้ าประชมุ กนั ทศ่ี าลากลางเมอื ง และไดน้ มิ นตพ์ ระพทุ ธองค์
เสด็จมายังเมืองนี้ ในเวลานั้นพระพุทธองค์ได้ตรัสรัตนปริตรน้ีแก่พุทธบริษัท
ที่มาประชมุ กันในทนี่ ัน้ (ขุทฺทก. อฏ.ฺ ๑๔๑-๔)
อนง่ึ สามคาถาสดุ ทา้ ย คอื คาถา ๑๖, ๑๗, ๑๘ เปน็ คาถาทพี่ ระอนิ ทรต์ รสั
17
ขน้ึ เองโดยด�ำ รวิ า่ พระพทุ ธเจา้ ทรงกระท�ำ ใหช้ าวเมอื งประสบสขุ โดยอา้ งสจั วาจา
ทีก่ ล่าวถงึ คุณของพระรัตนตรัย เรากค็ วรจะกระทำ�ใหช้ าวเมืองประสบสุข โดย
อา้ งคณุ ของพระรตั นตรยั เชน่ กนั ฉะนน้ั พระอนิ ทรจ์ งึ ไดต้ รสั สามคาถาเหลา่ นน้ั
(ขทุ ฺทก. อฏ.ฺ ๑๗๒)
บทขัดรตั นปรติ ร
ปะณิธานะโต ปัฏฐายะ ตะถาคะตสั สะ ทะสะปาระมิโย,
ทะสะ อุปะปาระมิโย, ทะสะ ปะระมัตถะปาระมิโย, ปัญจะ
มะหาปะรจิ จาเค, โลกัตถะจะรยิ า ญาตัตถะจะริยา พทุ ธัตถ-
จะรยิ าติ ติสโส จะรยิ าโย, ปัจฉมิ ะภะเว คัพภะโวกกนั ติง,
ชาตงิ , อะภนิ กิ ขะมะนงั , ปะธานะจะรยิ งั , โพธปิ ลั ลงั เก มาระ-
วชิ ะยงั , สพั พญั ญตุ ญั ญาณปั ปะฏเิ วธงั , ธมั มะจกั กปั ปะวตั ตะนงั ,
นะวะ โลกตุ ตะระธมั เมติ สพั เพปเิ ม พทุ ธะคเุ ณ อาวชั เชตวฺ า
เวสาลยิ า ตสี ุ ปาการนั ตะเรสุ ตยิ ามะรตั ตงิ ปะรติ ตงั กะโรนโต
อายสั มฺ า อานนั ทตั เถโร วยิ ะ การญุ ญะจติ ตงั อปุ ฏั ฐะเปตวฺ า
๑. โกฏสิ ะตะสะหสั เสส ุ จกั กะวาเฬสุ เทวะตา
ยสั สาณงั ปะฏคิ ณั หนั ต ิ ยญั จะ เวสาลยิ า ปเุ ร.
๒. โรคามะนสุ สะทพุ ภกิ ขะ สมั ภตู งั ตวิ ธิ งั ภะยงั
ขปิ ปะมนั ตะระธาเปส ิ ปะรติ ตงั ตงั ภะณามะเห.
เหล่าเทวดาในแสนโกฏิจักรวาลยอมรับอำ�นาจของพระปริตรท่ี
สามารถขจัดภัย ๓ ประการ คือ ความเจ็บป่วย อมนุษย์ และ
ข้าวยากหมากแพง ให้หมดไปโดยพลัน ขอเราท้ังหลายจงต้ังอยู่
18
ในการุณยจิตร่วมกันสวดพระปริตร เหมือนท่านพระอานนท์เจริญ
พระพุทธคุณที่พระตถาคตทรงบำ�เพ็ญนับแต่ทรงตั้งปณิธานทั้งปวง
เหล่านี้ คอื บารมี ๑๐, อุปบารมี ๑๐, ปรมตั ถบารมี ๑๐, การบรจิ าค
ใหญท่ ง้ั ๕, จริยาวตั ร ๓ อันจ�ำ แนกเปน็ การบำ�เพญ็ ประโยชน์เพอ่ื
โลก ญาติ และความเปน็ พระพทุ ธเจ้า, การเสดจ็ ลงสู่พระครรโภทร
ในภพสุดท้าย, การประสูติ, การเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์, การ
บ�ำ เพญ็ เพยี ร, การเอาชนะพญามารเหนอื พระโพธบิ ลั ลงั ก,์ การตรสั รู้
พระสัพพัญญตุ ญาณ, การหมุนกงล้อธรรม และพระโลกตุ รธรรม ๙
เมื่อพระอานนท์เจริญพระพุทธคุณดังนี้แล้ว ได้สาธยายพระปริตร
ภายในกำ�แพงทั้ง ๓ ชน้ั ของเมอื งเวสาลี ตลอดยามทัง้ ๓ แห่งราตรี
รตั นปริตร
๑. ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลิกเข
สัพเพวะ ภูตา สุมะนา ภะวนั ตุ
อะโถปิ สักกจั จะ สณุ นั ตุ ภาสิตงั .
ขอเทวดาบนพ้ืนดินและในอากาศท้ังหลาย ผู้มาประชุมกันอยู่
ในทน่ี ที้ ง้ั หมด จงเป็นผ้เู บิกบานใจ รับฟังถ้อยค�ำ ด้วยความเคารพเถิด
๒. ตสั ฺมา หิ ภูตา นสิ าเมถะ สัพเพ
เมตตงั กะโรถะ มานสุ ิยา ปะชายะ
ทวิ า จะ รตั โต จะ หะรนั ติ เย พะลิง
ตสั มฺ า หิ เน รกั ขะถะ อปั ปะมตั ตา.
19
ดังนั้น ขอเทวดาทั้งปวงจงฟังข้าพเจ้า จงมีเมตตาจิตใน
หมู่มนุษย์ เพราะเขาเซ่นพลีกรรมท้ังกลางวันและกลางคืน ท่านจง
อยา่ ประมาท คุม้ ครองพวกเขาด้วยเถิด
๓. ยังกิญจิ วติ ตงั อิธะ วา หรุ ัง วา
สคั เคสุ วา ยงั ระตะนัง ปะณตี ัง
นะ โน สะมงั อตั ถิ ตะถาตะเตนะ
อิทมั ปิ พทุ เธ ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ.
ทรัพย์ในโลกน้ี หรือโลกอ่ืน หรือรัตนะอันประณีตในสวรรค์
มีส่ิงใดที่จะเสมอกับพระตถาคตน้ันไม่มีเลย ข้อนี้เป็นพระรัตนคุณอัน
ประเสรฐิ ของพระพทุ ธเจ้า ดว้ ยสจั วาจาน้ี ขอจงมคี วามสวัสดี
๔. ขะยงั วิราคัง อะมะตงั ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สกั ฺยะมนุ ี สะมาหโิ ต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมตั ถิ กิญจิ
อิทมั ปิ ธัมเม ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหต.ุ
พระศากยมุนีผู้มีพระทัยตั้งมั่น ทรงบรรลุธรรมอันส้ินกิเลส
ปราศจากราคะ ไมต่ าย และประณีต มสี ่ิงใดทจี่ ะเสมอดว้ ยพระธรรม
น้ันไม่มีเลย ข้อนี้เป็นพระรัตนคุณอันประเสริฐของพระธรรม ด้วย
สัจวาจาน้ี ขอจงมีความสวสั ดี
20
๕. ยัง พุทธะเสฏโฐ ปะริวณั ณะยี สจุ ิง
สะมาธิมานันตะริกญั ญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อทิ มั ปิ ธัมเม ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ.
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงสรรเสริญสมาธิอันผ่องแผ้ว
นักปราชญ์ท้ังหลายสรรเสริญสมาธิอันประเสริฐท่ีให้ผลทันที มีส่ิงใด
ท่ีจะเสมอดว้ ยสมาธนิ ้นั ไมม่ ีเลย ขอ้ นเี้ ป็นพระรัตนคุณอันประเสรฐิ ของ
พระธรรม ดว้ ยสัจวาจาน้ี ขอจงมีความสวสั ดี
๖. เย ปคุ คะลา อฏั ฐะ สะตงั ปะสตั ถา
จตั ตาริ เอตานิ ยคุ านิ โหนติ
เต ทกั ขิเณยยา สุคะตสั สะ สาวะกา
เอเตสุ ทนิ นานิ มะหัปผะลานิ
อทิ ัมปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณตี ัง
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหต.ุ
พระสาวกของพระสุคตเจ้า ผู้เป็นพระอริยบุคคล ๘ จำ�พวก
อันแบง่ เป็น ๔ คู่ ทส่ี ัตบรุ ุษท้ังหลายสรรเสริญ ทา่ นเหล่านั้นเปน็ ผู้
ควรแก่ทักษิณาทาน ทานท่ีถวายแก่พระอริยบุคคลเหล่านั้นมีผลมาก
ข้อนีเ้ ปน็ พระรัตนคุณอันประเสรฐิ ของพระสงฆ์ ดว้ ยสัจวาจาน้ี ขอจง
มคี วามสวัสดี
21
๗. เย สปุ ปะยุตตา มะนะสา ทฬั เหนะ
นกิ กามิโน โคตะมะสาสะนมั หิ
เต ปตั ติปตั ตา อะมะตงั วคิ ยั หะ
ลัทธา มุธา นิพพุตงิ ภุญชะมานา
อทิ มั ปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณตี งั
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหต.ุ
พระอรหันต์ผู้บำ�เพ็ญเพียรด้วยจิตอันเข้มแข็งในพระศาสนา
ของพระโคดม เปน็ ผปู้ ราศจากกเิ ลส ผ้เู ขา้ ถงึ อมตธรรม ผ้บู รรลุ
พระนพิ พาน และผเู้ สวยสนั ตสิ ขุ เอง ขอ้ นเ้ี ปน็ พระรตั นคณุ อนั ประเสรฐิ
ของพระสงฆ์ ด้วยสัจวาจานี้ ขอจงมคี วามสวสั ดี
๘. ยะถินทะขีโล ปะฐะวสิ สิโต สิยา
จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย
ตะถปู ะมัง สัปปรุ ิสงั วะทามิ
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ
อิทมั ปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณตี งั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ.
พระตถาคตตรัสเปรียบสัตบุรุษผู้เห็นแจ้ง เข้าถึงพระอริยสัจส่ี
ว่าเหมือนกับเสาใหญ่ปักลงดิน อันไม่ไหวติงเพราะแรงลมทั้งสี่ด้าน
ข้อน้ีเป็นพระรัตนคุณอันประเสริฐของพระสงฆ์ ด้วยสัจวาจาน้ี ขอจงมี
ความสวัสดี
22
๙. เย อะรยิ ะสจั จานิ วภิ าวะยนั ติ
คัมภีระปญั เญนะ สเุ ทสิตานิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัง ปะมตั ตา
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยนั ติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณตี งั
เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหต.ุ
บุคคลเหลา่ ใดเจรญิ อริยสจั ส่ี ท่พี ระพทุ ธเจา้ ผทู้ รงพระปัญญา
อนั ลกึ ซงึ้ ตรสั ไวด้ แี ลว้ แมว้ า่ ทา่ นเหลา่ นน้ั ยงั เปน็ ผหู้ ลงเพลนิ อยา่ งมากอยู่
แตท่ า่ นกจ็ ะไมเ่ กดิ ในชาตทิ ่ีแปดอีก ข้อน้ีเป็นพระรัตนคณุ อันประเสริฐ
ของพระสงฆ์ ดว้ ยสจั วาจาน้ี ขอจงมคี วามสวัสดี
๑๐. สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ
ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สกั กายะทิฏฐิ วิจิกิจฉติ ญั จะ
สลี ัพพะตงั วาปิ ยะทตั ถิ กิญจ.ิ
ท่านเหล่านั้นคือพระโสดาบันผู้ละสังโยชน์ ๓ ประการ ได้แก่
สักกายทฏิ ฐิ วิจกิ จิ ฉา และสีลัพพตปรามาส ละกเิ ลสอื่น ๆ ได้ในขณะ
ทเ่ี ห็นธรรม
๑๑. จะตหู ะปาเยหิ จะ วิปปะมตุ โต
ฉัจจาภฐิ านานิ อะภพั พะ กาตงุ
อิทมั ปิ สงั เฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหต.ุ
23
ท่านเหล่านั้นเป็นผู้พ้นแล้วจากอบายทั้ง ๔ ไม่กระทำ�กรรม
อันไมส่ มควร ๖ ประการ [คอื อนันตรยิ กรรม ๕ และการนับถือศาสดา
อื่น] ข้อนี้เป็นพระรัตนคุณอันประเสริฐของพระสงฆ์ ด้วยสัจวาจานี้
ขอจงมคี วามสวัสดี
๑๒. กิญจาปิ โส กมั มะ กะโรติ ปาปะกงั
กาเยนะ วาจา อทุ ะ เจตะสา วา
อะภัพพะ โส ตสั สะ ปะฏจิ ฉะทายะ
อะภพั พะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทัมปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
แม้ว่าท่านเหล่าน้ันยังทำ�ความผิดด้วยกาย วาจา หรือใจ
อยู่บ้างกต็ าม แตท่ า่ นก็ไม่ปกปิดความผิดน้ัน พระพุทธเจา้ ตรัสว่า
ผู้เห็นพระนิพพานเป็นผู้ไม่ปกปิดความผิด ข้อนี้เป็นพระรัตนคุณอัน
ประเสริฐของพระสงฆ์ ด้วยสจั วาจานี้ ขอจงมีความสวสั ดี
๑๓. วะนปั ปะคมุ เพ ยะถา ผสุ สติ ัคเค
คิมหานะมาเส ปะฐะมสั ฺมิง คิมเห
ตะถปู ะมงั ธัมมะวะรงั อะเทสะยิ
นิพพานะคามงิ ปะระมัง หติ ายะ
อทิ มั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณตี ัง
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ.
24
พุ่มไม้ในป่าที่แตกยอดอ่อนในเดือนต้นแห่งคิมหันตฤดู มี
ความงามฉันใด พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมให้ถึงพระนิพพาน
เพ่ือประโยชน์สูงสุด มีความงามฉันน้ัน ข้อนี้เป็นพระรัตนคุณอัน
ประเสรฐิ ของพระธรรม ดว้ ยสัจวาจาน้ี ขอจงมีความสวัสดี
๑๔. วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร
อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ทรงรู้แจ้งพระนิพพานอันเลิศ
ทรงประทานธรรมอนั ยอดเย่ียม ทรงแนะน�ำ ข้อปฏบิ ตั ิท่ีดี พระองค์
ผ้ไู มม่ ใี ครย่ิงกวา่ ทรงแสดงธรรมอนั สงู สดุ แล้ว ขอ้ น้ีเป็นพระรตั นคุณ
อันประเสริฐของพระพุทธเจ้า ด้วยสัจวาจาน้ี ขอจงมคี วามสวัสดี
๑๕. ขณี งั ปุราณงั นะวะ นตั ถิ สัมภะวงั
วริ ตั ตะจติ ตายะติเก ภะวัสมฺ ิง
เต ขีณะพีชา อะวริ ฬู หฉิ นั ทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายงั ปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณตี ัง
เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ.
พระอรหันต์ผู้สิ้นเช้ือแล้ว ไม่ยินดีภพอีก มีจิตหน่ายภพเบ้ือง
หน้า ส้ินกรรมเก่า ปราศจากกรรมใหมท่ ่ีจะสง่ ไปเกิดอีก ท่านเหลา่ นน้ั
เป็นปราชญ์ ดบั ส้ินไปเหมือนประทปี ดวงนี้ ข้อนเ้ี ปน็ พระรัตนคณุ อนั
ประเสริฐของพระสงฆ์ ดว้ ยสัจวาจาน้ี ขอจงมีความสวสั ดี
25
๑๖. ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อันตะลกิ เข
ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะปูชติ ัง
พทุ ธงั นะมัสสามะ สุวตั ถิ โหตุ.
ขอเทวดาบนพน้ื ดินและในอากาศทง้ั หลาย ผู้มาประชมุ กันอยู่
ในทน่ี ้ี จงร่วมกันนมัสการพระพุทธเจา้ ผูเ้ สดจ็ ไปอยา่ งงาม อนั เทวดา
และมนุษยท์ ้งั หลายบูชาแลว้ ขอจงมคี วามสวสั ดี
๑๗. ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปชู ติ งั
ธมั มงั นะมัสสามะ สุวตั ถิ โหต.ุ
ขอเทวดาบนพน้ื ดนิ และในอากาศทง้ั หลาย ผ้มู าประชุมกนั อยู่
ในที่น้ี จงร่วมกันนมัสการพระธรรมอันเป็นไปอย่างงาม อันเทวดา
และมนษุ ยท์ ้ังหลายบูชาแล้ว ขอจงมีความสวสั ดี
๑๘. ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะปูชิตัง
สงั ฆงั นะมัสสามะ สวุ ตั ถิ โหตุ.
ขอเทวดาบนพน้ื ดนิ และในอากาศทงั้ หลาย ผูม้ าประชุมกันอยู่
ในท่ีนี้ จงร่วมกันนมัสการพระสงฆ์ผู้ดำ�เนินไปอย่างงาม อันเทวดา
และมนษุ ยท์ ง้ั หลายบชู าแล้ว ขอจงมีความสวัสดี
26
ตำ�นานเมตตปรติ ร
เมตตปริตร คือ ปริตรท่ีกลา่ วถึงการเจริญเมตตา มีประวตั วิ ่า สมัยหนึง่
เมอื่ พระพุทธเจ้าประทบั อย่ทู ่ีวัดพระเชตวนั กรงุ สาวัตถี มภี ิกษุ ๕๐๐ รปู
เรยี นกรรมฐานจากพระพทุ ธองค์แล้ว เดนิ ทางไปแสวงหาสถานทปี่ ฏิบตั ธิ รรม
พวกท่านได้มาถึงไพรสณฑ์แห่งหน่ึง ปรึกษากนั ว่าสถานที่น้ีเหมาะสมแก่การ
เจริญสมณธรรม จงึ ตกลงใจอยู่จำ�พรรษาในที่นนั้ ชาวบา้ นก็มจี ติ ศรัทธาสรา้ ง
กุฏถิ วายให้พำ�นกั รูปละหลัง และอุปฏั ฐากดว้ ยปจั จัยสมี่ ใิ ห้ขาดแคลน
เมื่อฝนตกพวกท่านจะเจรญิ กรรมฐานที่กฏุ ิ ครัน้ ฝนไมต่ กกจ็ ะมาปฏิบัติ
ทโ่ี คนไม้ รกุ ขเทวดาทส่ี งิ สถติ อยทู่ ต่ี น้ ไมไ้ มส่ ามารถอยใู่ นวมิ านได้ เพราะผทู้ รง
ศลี มาอย่ใู ต้วิมานของตน จึงตอ้ งพาบตุ รธิดาลงมาอยู่บนพื้น เบ้ืองแรกคดิ ว่า
พวกภกิ ษคุ งจะอยชู่ ว่ั คราว กท็ นรอดอู ยชู่ ว่ั คราว แตเ่ มอ่ื รวู้ า่ มาจ�ำ พรรษาตลอด
สามเดอื น จงึ เกดิ ความไมพ่ อใจ คดิ จะขบั ไลใ่ หก้ ลบั ไปในระหวา่ งพรรษา ฉะนนั้
จงึ พยายามหลอกหลอนด้วยวธิ ีต่างๆ เช่น สำ�แดงรูปรา่ งท่นี ่ากลัว ร้องเสยี ง
โหยหวน ทำ�ให้ได้รับกลน่ิ เหม็นตา่ งๆ
พวกภิกษุหวาดหวั่นตกใจต่ออารมณ์ที่น่ากลัวเหล่าน้ัน ไม่สามารถจะ
ปฏบิ ตั ธิ รรมไดโ้ ดยสะดวก จงึ ปรกึ ษากนั วา่ ไมค่ วรจะอยใู่ นสถานทนี่ ตี้ อ่ ไป ควร
จะกลบั ไปจ�ำ พรรษาหลงั ในสถานทอี่ นื่ จากนน้ั จงึ รบี เดนิ ทางกลบั โดยไมบ่ อกลา
ชาวบ้าน เม่ือมาถึงวัดพระเชตวันได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าแล้วกราบทูลให้ทรง
ทราบเรอ่ื งน้ี แตพ่ ระพทุ ธองคท์ รงเลง็ เหน็ วา่ สถานทเ่ี ดมิ เหมาะสมกบั ภกิ ษเุ หลา่ น้ี
มากกวา่ ทอี่ นื่ จงึ ทรงแนะน�ำ ใหพ้ วกทา่ นกลบั ไปสถานทนี่ น้ั พรอ้ มกบั ตรสั สอน
เมตตปรติ รเพอื่ เจรญิ เมตตาแกร่ กุ ขเทวดา
เมอื่ พวกภกิ ษไุ ดเ้ รยี นเมตตปรติ รจากพระพทุ ธเจา้ แลว้ จงึ เดนิ ทางกลบั
ไปยงั สถานทีเ่ ดมิ ก่อนจะเข้าสรู่ าวป่า พวกทา่ นไดเ้ จริญเมตตาโดยสาธยาย
พระปริตรน้ี อานภุ าพแหง่ เมตตาทำ�ให้รุกขเทวดามจี ติ อ่อนโยน มีไมตรี จงึ
ไมเ่ บยี ดเบยี นเหมอื นก่อน ทั้งยังช่วยปรนนบิ ตั แิ ละค้มุ ครองภัยอน่ื ๆ อกี ด้วย
27
ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ ไดพ้ ากเพยี รเจรญิ เมตตาภาวนา แลว้ เจรญิ วปิ สั สนาภาวนาตอ่ มา
โดยใช้เมตตาเป็นบทแหง่ วิปสั สนา ทุกรูปได้บรรลอุ รหัตผลภายในพรรษานัน้
(สุตฺตน.ิ อฏฺ. ๑/๒๒๑, ขุทฺทก. อฏ.ฺ ๒๒๕)
เมตตปริตรในหนังสือนี้ต่างจากบทสวดมนต์ฉบับไทยกับฉบับลังกาใน
บางท่ี ผูแ้ ปลเลอื กใชฉ้ บับพมา่ ท่เี รียกวา่ ฉบับฉฏั ฐสังคตี ิ (ฉบบั สงั คายนาครง้ั
ท่ี ๖) ซึ่งเป็นฉบบั ท่พี ระภิกษุในนกิ ายเถรวาท ๕ ประเทศ คอื ไทย ลังกา พมา่
ลาว และเขมร ได้ร่วมกันสังคายนาท่ีประเทศสหภาพพม่า เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๐
และมมี ติเปน็ สมานฉันท์รว่ มกนั
เมตตปรติ รนเ้ี ปน็ คตี คิ าถาทจี่ ดั อยใู่ นหมวดมาตราพฤติ ฉบบั พมา่ เปน็ ฉบบั
ทถี่ กู ตอ้ งตามกฎนนั้ แตฉ่ บบั ไทยกบั ฉบบั ลงั กาไมต่ รงตามฉนั ทลกั ษณแ์ ละหลกั
ไวยากรณบ์ าลี (ผเู้ ขยี นจะอธบิ ายเรอ่ื งนใ้ี นบทเพม่ิ เตมิ ทา้ ยเลม่ ) อนง่ึ ทา่ นอาจารย์
ธมั มานนั ทมหาเถระ อคั รมหาบณั ฑติ เจา้ อาวาสวดั ทา่ มะโอ จงั หวดั ล�ำ ปาง ไดเ้ ลา่
ว่า แม้พระเถระชาวลังกาผู้เชยี่ วชาญภาษาบาลี คือท่านพระพทุ ธทตั ตเถระ
อคั รมหาบัณฑิต วัดอัคคาราม จงั หวัดบาลงั โกดา ประเทศศรลี ังกา ก็เคย
ปรารภเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖ กับท่านอาจารยว์ ่า เมตตปรติ รฉบับพม่าถูกต้องกว่า
ฉบบั อน่ื ๆ
28
บทขัดเมตตปริตร
๑. ยสั สานภุ าวะโต ยกั ขา เนวะ ทสั เสนติ ภงิ สะนงั
ยมั หิ เจวานยุ ญุ ชนั โต รตั ตนิ ทวิ ะมะตนั ทโิ ต.
๒. สขุ งั สปุ ะติ สตุ โต จ ปาปงั กญิ จิ นะ ปสั สะติ
เอวะมาทคิ ณุ เู ปตงั ปะรติ ตงั ตงั ภะณามะ เห.๑
เหลา่ เทวดายอ่ มไมแ่ สดงสง่ิ ทน่ี า่ กลวั เพราะอานภุ าพของพระปรติ ร
ใด อนง่ึ บคุ คลผไู้ มเ่ กยี จครา้ น เจรญิ พระปรติ รใดทง้ั กลางวนั และกลางคนื
ยอ่ มหลบั สบาย เมอ่ื หลบั ยอ่ มไมฝ่ นั รา้ ย ขอเราทง้ั หลายจงสวดพระปรติ ร
นน้ั อนั ประกอบดว้ ยคณุ อยา่ งนเ้ี ปน็ ตน้ เถดิ
เมตตปรติ ร
๑. กะระณยี ะมตั ถะกุสะเลนะ
ยนั ตะ สนั ตัง ปะทัง อะภสิ ะเมจจะ
สักโก อชุ ู จะ สหุ ุชู จะ
สูวะโจ จสั สะ มุทุ อะนะติมานี.
ภิกษุผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ประสงค์จะบรรลุแดนสงบ
พึงอบรมสกิ ขาสาม ภิกษนุ ้ันพึงเปน็ ผูอ้ าจหาญ เปน็ คนตรง แนว่ แน่
วา่ งา่ ย ออ่ นโยน ไมถ่ ือตัว
๑บางฉบับมรี ปู สนธิว่า “ปรติ ฺตนฺตมฺภณาม เห” เหมอื นค�ำ วา่ เอวมเฺ ม สตุ ํ, เอตมมฺ งฺคล-
มตุ ตฺ มํ เปน็ ตน้ ความจรงิ รปู ศพั ทใ์ นภาษาบาลไี มน่ ยิ มสนธเิ หมอื นภาษาสนั สกฤต เชน่ ค�ำ วา่
สมมฺ าอาชวี ท่ีไมเ่ ปน็ สมฺมาชวี แม้กัจจายนไวยากรณ์ (สตู ร ๒๓-๔) กป็ ฏเิ สธการเชือ่ ม
สนธิเพราะสระหรือพยญั ชนะ แตก่ ฎไวยากรณ์นไี้ ม่มีในภาษาสันสกฤตทนี่ ิยมเช่อื มคำ�
29
๒. สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ
อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตนิ ทฺรโิ ย จะ นปิ ะโก จะ
อปั ปะคพั โภ กเุ ลสฺวะนะนคุ ิทโธ.
พงึ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย มกี ิจธรุ ะนอ้ ย ดำ�เนนิ ชวี ิตเรียบงา่ ย
มีอนิ ทรียส์ งบ มปี ัญญารกั ษาตน มกี ารสำ�รวมกายวาจาใจ ไมพ่ ัวพนั
กับสกลุ ทง้ั หลาย
๓. นะ จะ ขทุ ทะมาจะเร กิญจิ
เยนะ วญิ ญู ปะเร อปุ ะวะเทยยงุ
สุขโิ น วะ เขมิโน โหนตุ
สัพพะสัตตา ภะวันตุ สุขิตตั ตา.
ไม่พึงประพฤติส่ิงเล็กน้อยอะไรๆ ที่จะเป็นเหตุให้ผู้รู้ตำ�หนิ
[พงึ แผเ่ มตตาว่า] ขอสตั วท์ ้งั ปวง จงเปน็ ผู้มคี วามสขุ กาย สุขใจ
ปลอดจากภยั ท้ังปวงเถิด
๔. เย เกจิ ปาณะภตู ัตถิ
ตะสา วา ถาวะรา วะนะวะเสสา
ทฆี า วา เย วะ มะหันตา
มัชฌมิ า รสั สะกา อะณุกะถูลา.
สัตว์ท้ังหลายท่ีมีความหวาดกลัวก็ดี ท่ีม่ันคงก็ดี ท้ังหมด
ท้ังทีม่ ีกายยาว ใหญ่ ปานกลาง ส้นั ละเอียด หรือหยาบ
30
๕. ทฏิ ฐา วา เย วะ อะทฏิ ฐา
เย วะ ทเู ร วะสันติ อะวทิ ูเร
ภูตา วะ สัมภะเวสี วะ
สพั พะสัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา.
ทง้ั ท่ีเคยเหน็ หรอื ไม่เคยเห็น อยู่ไกลหรือใกล้ ทีเ่ กิดแล้วหรือท่ี
ก�ำ ลงั แสวงหาท่เี กิด๑ สัตว์ท้งั ปวงเหลา่ นนั้ จงมคี วามสุขกายสุขใจเถิด
๖. นะ ปะโร ปะรัง นกิ ุพเพถะ
นาติมญั เญถะ กตั ถะจิ นะ กัญจิ
พยฺ าโรสะนา ปะฏฆิ ะสญั ญะ
นาญญะมญั ญสั สะ ทกุ ขะมจิ เฉยยะ.
บุคคลไม่พึงหลอกลวงกัน ไม่พึงดูหม่ินใครในที่ไหน ไม่พึง
ปรารถนาทกุ ขแ์ กก่ ันและกัน ด้วยการเบียดเบียน หรอื ด้วยใจมุ่งรา้ ย
๗. มาตา ยะถา นยิ ัง ปุตตะ
มายุสา เอกะปุตตะมะนรุ กั เข
เอวัมปิ สัพพะภเู ตสุ
มานะสงั ภาวะเย อะปะรมิ าณงั .
มารดาถนอมบุตรคนเดียวของตนด้วยชีวิต ฉันใด บุคคล
พงึ เจรญิ เมตตาจติ ไมม่ ปี ระมาณในสัตว์ทั้งปวง ฉันน้นั
๑สตั วท์ กี่ �ำ ลงั แสวงหาทเ่ี กดิ (สมั ภเวส)ี คอื ปถุ ชุ นกบั เสกขบคุ คลผเู้ วยี นตายเวยี นเกดิ อยู่
สว่ นสตั วท์ เ่ี กดิ แลว้ คอื พระอรหนั ตผ์ จู้ ะไมเ่ กดิ อกี
31
๘. เมตตัญจะ สพั พะโลกัสมฺ ิ
มานะสัง ภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ตริ ยิ ญั จะ
อะสมั พาธงั อะเวระมะสะปตั ตัง.
บุคคลพึงเจริญเมตตาจิต อันไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต
ไมม่ เี วร ไม่มศี ตั รู ในสัตว์โลกทงั้ หมด ทงั้ ในอรูปภมู เิ บอ้ื งบน รูปภมู ิ
เบือ้ งกลาง และกามาวจรภมู ิเบ้อื งตาํ่
๙. ตฏิ ฐัง จะรงั นสิ ินโน วะ
สะยาโน ยาวะตาสสะ วติ ะมทิ โธ
เอตัง สะติง อะธฏิ เฐยยะ
พฺรัหมฺ ะเมตงั วหิ าระมธิ ะ มาห.ุ
เมือ่ ยนื เดิน นง่ั หรือนอน พงึ เปน็ ผปู้ ราศจากความง่วง
ตั้งสติอย่างน้ีไว้ พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสการปฏิบัติเช่นนี้ว่าเป็น
ความประพฤติอันประเสรฐิ ในพระศาสนาน้ี
๑๐. ทิฏฐิญจะ อะนปุ ะคมั มะ
สลี ะวา ทสั สะเนนะ สมั ปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง
นะ หิ ชาตคุ คัพภะเสยยะ ปนุ ะเรติ.
บคุ คลผนู้ น้ั จะไมก่ ลา้ํ กรายความเหน็ ผดิ เปน็ ผบู้ รบิ รู ณด์ ว้ ยศลี
ถึงพรอ้ มดว้ ยความเหน็ ชอบ เม่อื ขจัดความยินดีในกามไดแ้ ล้ว ย่อม
ไม่เขา้ ถึงการเกดิ ในครรภอ์ กี อยา่ งแน่แท้
32
ตำ�นานขันธปรติ ร
ขนั ธปรติ ร คอื พระปรติ รทก่ี ลา่ วถงึ การเจรญิ เมตตาแกพ่ ญางทู ง้ั ๔ ตระกลู
และเจริญเมตตาแก่สรรพสัตว์ มีประวัติว่า เมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ท่ีวัด
พระเชตวัน กรุงสาวัตถี มีภิกษุรูปหนึ่งถูกงูกัด เหล่าภิกษุได้กราบทูลความน้ี
แด่พระพทุ ธองค์ พระพทุ ธองคต์ รสั ว่า ภิกษุนั้นถกู งูกดั เพราะไม่ได้แผเ่ มตตา
แกพ่ ญางทู งั้ ๔ ตระกลู ผแู้ ผเ่ มตตาแกพ่ ญางเู หลา่ นน้ั จะไมถ่ กู งกู ดั แลว้ ตรสั สอน
ให้แผ่เมตตาแกพ่ ญางูทง้ั ๔ ตระกลู คือ งตู ระกูลวิรูปักษ,์ งูตระกลู เอราบถ,
งตู ระกลู ฉัพยาบตุ ร และงูตระกูลกณั หาโคดม (อง.ฺ จตกุ ฺก. ๒๑/๖๗/๘๓, วิ. จฬู .
๗/๒๕๑/๘, ข.ุ ชา. (๒๗/๑๐๕/๕๖)
ในอรรถกถาชาดก (ชา. อฏฺ. ๓/๑๔๔) มปี ระวัตดิ ังนี้ เมอ่ื ภกิ ษรุ ปู หน่งึ
ถูกงูกัด พระพุทธเจ้าตรัสว่า เราตถาคตเคยสอนขันธปริตรในขณะที่ยังเป็น
พระโพธิสัตว์อยู่ คือ เม่ือพระพุทธองค์เสวยพระชาติเป็นฤาษีที่ป่าหิมพานต์
ได้พำ�นักอยู่ร่วมกับฤาษีเป็นอันมาก ขณะนั้นมีฤาษีตนหนึ่งถูกงูกัดเสียชีวิต
จึงไดส้ อนขันธปริตรแกพ่ วกฤาษเี พอ่ื ปอ้ งกนั ภัยจากอสรพษิ
บทขัดขนั ธปรติ ร
๑. สพั พาสวี สิ ะชาตนี งั ทพิ พะมนั ตาคะทงั วยิ ะ
ยงั นาเสติ วสิ งั โฆรงั เสสญั จาปิ ปะรสิ สะยงั .
๒. อาณาเขตตมั หิ สพั พตั ถะ สพั พะทา สพั พะปาณนิ งั
สพั พะโสปิ นวิ าเรต ิ ปะรติ ตงั ตงั ภะณามะ เห.
พระปรติ รยอ่ มปอ้ งกนั พษิ และอนั ตรายอนื่ ๆ ของสตั วท์ งั้ ปวงไดต้ ลอด
เขตแห่งอำ�นาจทุกแห่งเสมอ เหมือนทิพยมนต์และโอสถทิพย์ทข่ี จดั
พษิ รา้ ยของอสรพษิ ทง้ั ปวง ขอเราทง้ั หลายจงรว่ มกนั สวดพระปรติ รนน้ั เถดิ
33
ขันธปรติ ร
๑. วริ ปู กั เขหิ เม เมตตงั เมตตงั เอราปะเถหิ เม
ฉพั ยฺ าปตุ เตหิ เม เมตตงั เมตตงั กณั หาโคตะมะเกหิ จะ.
ขา้ พเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในงตู ระกูลวิรูปกั ษ์ ข้าพเจา้ ขอแผ่เมตตาจิต
ในงตู ระกลู เอราบถ ขา้ พเจา้ ขอแผเ่ มตตาจติ ในงตู ระกลู ฉพั ยาบตุ ร ขา้ พเจา้
ขอแผเ่ มตตาจติ ในงูตระกลู กณั หาโคดม
๒. อะปาทะเกหิ เม เมตตงั เมตตงั ทวฺ ปิ าทะเกห๑ิ เม
จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตงั เมตตงั พะหปุ ปะเทหิ เม.
ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในสัตว์ไม่มีเท้า ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิต
ในสัตวส์ องเทา้ ข้าพเจ้าขอแผเ่ มตตาจติ ในสัตวส์ ่ีเท้า ขา้ พเจา้ ขอแผ่
เมตตาจติ ในสัตวท์ ีม่ ีเท้ามาก
๓. มา มงั อะปาทะโก หงิ ส ิ มา มงั หงิ สิ ทวฺ ปิ าทะโก
มา มงั จะตปุ ปะโท หงิ ส ิ มา มงั หงิ สิ พะหปุ ปะโท.
สัตว์ที่ไม่มีเท้าอย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า สัตว์ท่ีมีสองเท้าอย่าได้
เบียดเบียนข้าพเจ้า สัตว์ท่ีมีสี่เท้าอย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า และสัตว์
ทีม่ เี ท้ามากอยา่ ได้เบียดเบียนขา้ พเจ้า
๔. สพั เพ สตั ตา สพั เพ ปาณา สพั เพ ภตู า จะ เกวะลา
สพั เพ ภทั รฺ านิ ปสั สนั ต ุ มา กญั จ๒ิ ปาปะมาคะมา.
๑บางฉบบั มรี ูปว่า ทิปาทเกหิ แตไ่ ม่มีสาธกทใี่ ห้แปลง ทวฺ ิ เป็น ทิ ทา้ ย ปาท ศัพท์
๒บางฉบับมรี ูปว่า กญิ จฺ ิ ทีเ่ ปน็ นปงุ สกลิงค์ ค�ำ วา่ กญฺจิ แปลวา่ “ใครๆ” จึงควรมีรูปเปน็
ปงุ ลงิ คว์ ่า กญจฺ ิ จงึ จะตรงตามไวยากรณ์ เหมือนในเมตตปรติ ร (คาถา ๖) ที่ว่า นาต-ิ
มญเฺ ถ กตถฺ จิ น กญจฺ ิ (ไม่พงึ ดหู ม่ินใครในท่ไี หน)
34
ขอสัตว์ทั้งปวง ปราณชาตทิ ้ังปวง สตั วท์ ี่เกดิ แล้วทง้ั ปวง ท้งั หมด
จงประสบความเจรญิ ทกุ ผู้ ขอความทกุ ขอ์ ยา่ ไดเ้ ขา้ ถึงใครๆ เลย
๕. อปั ปะมาโณ พทุ โธ, อปั ปะมาโณ ธมั โม,
อปั ปะมาโณ สงั โฆ, ปะมาณะวนั ตานิ สะรสี ะปาน,ิ
อะหิ วจิ ฉกิ า สะตะปะท ี อณุ ณะนาภี สะระพู มสู กิ า.
พระพุทธเจ้าทรงพระคุณหาประมาณมิได้ พระธรรมทรงพระคุณ
หาประมาณมไิ ด้ พระสงฆท์ รงพระคุณหาประมาณมไิ ด้ แต่สัตว์
เลอ้ื ยคลานคอื งู แมงปอ่ ง ตะขาบ แมงมุม ตกุ๊ แก และหนู เป็นสตั ว์
ท่ปี ระมาณได้
๖. กะตา เม รกั ขา. กะตงั เม ปะรติ ตงั . ปะฏกิ กะมนั ตุ
ภตู าน.ิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต, นะโม สตั ตนั นงั สัมมา-
สัมพุทธานงั .
ขา้ พเจา้ ได้ค้มุ ครองตนแลว้ ขา้ พเจ้าได้ปอ้ งกันตนแล้ว เหลา่ สัตว์
จงหลีกไป ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาค ขอนอบน้อม
พระสมั พทุ ธเจา้ ทัง้ ๗ พระองค์
35
ตำ�นานโมรปรติ ร
โมรปรติ ร คอื ปรติ รของนกยงู เปน็ พระปรติ รทก่ี ลา่ วถงึ คณุ ของพระพทุ ธเจา้
แลว้ นอ้ มพระพทุ ธคณุ มาพทิ กั ษค์ มุ้ ครองใหม้ คี วามสวสั ดี มปี ระวตั วิ า่ สมยั หนง่ึ
ครน้ั พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ นกยงู ทอง อาศยั อยบู่ นเขาทณั ฑกหริ ญั บรรพต
ในป่าหิมพานต์ พระโพธิสัตว์จะเพ่งดูพระอาทิตย์ในเวลาพระอาทิตย์อุทัย
แลว้ รา่ ยมนตส์ าธยายสองคาถาแรกวา่ อเุ ทตะยงั เปน็ ตน้ แลว้ จงึ ออกแสวงหา
อาหาร ครั้นกลับจากการแสวงหาอาหารในเวลาพระอาทิตย์อัสดง ก็เพ่งดู
พระอาทิตย์พร้อมกับร่ายมนต์สาธยายสองคาถาหลังว่า อะเปตะยัง เป็นต้น
นกยงู ทองจงึ แคล้วคลาดจากอนั ตรายทกุ อยา่ งด้วยมนตบ์ ทน้ี
วนั หนง่ึ พรานปา่ จากหมบู่ า้ นใกลเ้ มอื งพาราณสี ไดพ้ บนกยงู ทองโดยบงั เอญิ
จงึ บอกความนน้ั แกบ่ ตุ รของตน ขณะนน้ั พระนางเขมาเทวมี เหสพี ระเจา้ พาราณสี
ทรงพระสุบินว่า พระนางเห็นนกยูงทองแสดงธรรมอยู่ จึงกราบทูลพระสวามี
ว่าทรงประสงค์จะฟังธรรมของนกยูงทอง ท้าวเธอจึงรับส่ังให้พรานป่าสืบหา
พรานปา่ ทเ่ี คยไดย้ นิ ค�ำ บอกเลา่ ของบดิ าไดม้ ากราบทลู วา่ นกยงู ทองมอี ยจู่ รงิ ที่
เขาทัณฑกหริ ญั บรรพต ทา้ วเธอจึงมอบหมายใหเ้ ขาจบั นกยงู ทองมาถวาย
พรานปา่ คนนนั้ ไดเ้ ดนิ ทางไปปา่ หมิ พานต์ แลว้ วางบว่ งดกั นกยงู ทองไว้
ทุกแห่งในที่แสวงหาอาหาร แม้เวลาผ่านไปถึง ๗ ปีเขาก็ยังจับไม่ได้ เพราะ
นกยงู ทองแคลว้ คลาดบา้ ง บว่ งไมแ่ ลน่ บา้ ง จนในทสี่ ดุ ตอ้ งเสยี ชวี ติ อยใู่ นปา่ นนั้
ฝ่ายพระนางเขมาเทวีก็ทรงประชวรสิ้นพระชนม์ เพราะเสียพระทัยไม่สม
พระประสงค์ พระเจ้าพาราณสีจึงทรงพิโรธ ได้รับส่ังให้จารึกอักษรลงใน
แผ่นทองว่าผู้กินเน้ือนกยูงทองท่ีเขาทัณฑกหิรัญบรรพต จะไม่แก่ ไม่ตาย
หลงั จากนนั้ ไม่นาน พระองคก์ ส็ ้นิ พระชนม์ พระราชาองคอ์ น่ื ท่ีครองราชย์สืบ
ตอ่ มาได้พบข้อความนั้น จึงสง่ พรานปา่ ไปจบั นกยูงทอง แตไ่ ม่มใี ครสามารถ
จบั ได้ กาลเวลาไดล้ ว่ งเลยไปจนเปลย่ี นพระราชาถึง ๖ พระองค์
36
ครน้ั ถงึ สมยั พระราชาองคท์ ่ี ๗ พระองคก์ ร็ บั สง่ั ใหพ้ รานปา่ ไปจบั นกยงู ทอง
น้ันอีก พรานคนนฉ้ี ลาดหลกั แหลม สังเกตการณอ์ ยหู่ ลายวนั ก็รู้วา่ นกยูงทอง
ไม่ตดิ บว่ งเพราะมีมนต์ขลงั ก่อนออกหาอาหารจะทำ�พธิ รี ่ายมนต์ จงึ ไม่มีใคร
สามารถจบั ได้ เขาคดิ วา่ จะตอ้ งจบั นกยงู ทองกอ่ นทจ่ี ะรา่ ยมนต์ จงึ ไดน้ �ำ นาง
นกยงู ตวั หนง่ึ มาเลย้ี งใหเ้ ชือ่ ง แลว้ นำ�ไปปล่อยไวท้ เี่ ชิงเขา โดยดกั บว่ งอยูใ่ กลๆ้
จากนัน้ ได้ท�ำ สัญญาณใหน้ างนกยูงรำ�แพนส่งเสยี งร้อง พระโพธสิ ตั วเ์ ม่อื ได้ยนิ
เสยี งนางนกยงู กล็ มื สาธยายมนตค์ มุ้ ครองตน เผลอตวั บนิ ไปหานางนกยงู โดยเรว็
จงึ ตดิ บว่ งทด่ี กั ไว้ ครนั้ แลว้ พรานปา่ ไดน้ �ำ พระโพธสิ ตั วไ์ ปถวายพระเจา้ พาราณสี
เมอ่ื พระโพธสิ ตั วเ์ ขา้ เฝา้ พระเจา้ พาราณสแี ลว้ ไดท้ ลู ถามวา่ “เพราะเหตไุ ร
พระองคจ์ งึ จับหม่อมฉนั มา”
ทา้ วเธอตรสั วา่ “เพราะมจี ารกึ วา่ ผู้กินเนือ้ นกยูงทอง จะไม่แก่ ไมต่ าย”
พระโพธสิ ตั วท์ ลู วา่ “ผกู้ นิ เนอ้ื หมอ่ มฉนั จะไมต่ าย แตห่ มอ่ มฉนั จะตอ้ งตาย
มิใช่หรือ”
ท้าวเธอตรสั ว่า “ถกู แลว้ เจา้ จะตอ้ งตาย”
พระโพธิสตั วท์ ูลว่า “เมื่อหม่อมฉนั จะตอ้ งตาย แลว้ ผู้กินเนือ้ หม่อมฉัน
จะไม่ตายไดอ้ ยา่ งไร”
ทา้ วเธอตรสั ว่า “เพราะเจ้ามขี นสที อง จึงทำ�ใหผ้ กู้ ินเน้อื เจ้าไมต่ าย”
พระโพธิสัตว์ทูลว่า “หม่อมฉันมีขนสีทองก็เพราะภพก่อนเคยเกิดเป็น
พระเจา้ จกั รพรรดใิ นพระนครพาราณสนี ี้ ไดร้ กั ษาเบญจศลี เปน็ นติ ยแ์ ละชกั ชวน
ให้ราษฎรรกั ษา”
จากน้ันพระโพธิสัตว์ได้ทูลเร่ืองท่ีพระองค์เคยฝังราชรถท่ีประทับของ
พระเจา้ จักรพรรดิไว้ทสี่ ระมงคลโบกขรณี พระเจ้าพาราณสีได้รับส่งั ใหไ้ ขนา้ํ
ออกจากสระแล้วกู้ราชรถขึ้นมา จึงทรงเช่ือคำ�พระโพธิสัตว์ หลังจากน้ัน
พระโพธสิ ตั วไ์ ดถ้ วายโอวาทพระราชาใหด้ �ำ รงอยใู่ นความไมป่ ระมาท แลว้ กลบั
ไปยงั ป่าหิมพานตต์ ามเดมิ (ชา. อฏ.ฺ ๒/๓๕)
37
บทขัดโมรปริตร
๑. ปเู รนตงั โพธสิ มั ภาเร นพิ พตั ตงั โมระโยนยิ งั
เยนะ สงั วหิ ติ ารกั ขงั มะหาสตั ตงั วะเนจะรา.
๒. จริ สั สงั วายะมนั ตาป ิ เนวะ สกั ขงิ สุ คณั หติ งุ
พรฺ หั มฺ ะมนั ตนั ติ อกั ขาตงั ปะรติ ตงั ตงั ภะณามะ เห.
นายพรานท้ังหลายเพียรพยายามอยู่นาน ก็ไม่สามารถจับ
พระมหาสัตว์ผู้เกิดเป็นนกยูงทอง ผู้บำ�เพ็ญบารมีเพื่อจะบรรลุพระ
สัพพญั ญุตญาณ ผูค้ ุ้มครองตนอยา่ งดีแลว้ ด้วยพระปริตรใด ขอเรา
ทง้ั หลายจงรว่ มกันสวดพระปรติ รทถ่ี ือว่าเป็นมนต์อันประเสริฐน้นั เถิด
โมรปริตร
๑. อเุ ทตะยงั จกั ขมุ า เอกะราชา
หะรสิ สะวณั โณ ปะถะวปิ ปะภาโส
ตงั ตงั นะมสั สามิ หะรสิ สะวณั ณงั ปะถะวปิ ปะภาสงั
ตะยาชชะ คตุ ตา วหิ ะเรมุ ทวิ ะสงั .
พระอาทิตย์ผู้เป็นดวงตาของโลก ผู้ย่ิงใหญ่พระองค์น้ี เสด็จ
อทุ ยั ขนึ้ ทรงพระรศั มสี ที องสาดสอ่ งปฐพี ดว้ ยเหตนุ ้ี ขา้ พเจา้ ขอนมสั การ
พระอาทิตย์ผู้ทรงรัศมีสีทองสาดส่องปฐพีพระองค์น้ัน พระองค์ได้
คุ้มครองข้าพระองค์ในวันน้ีแล้ว ขอให้ข้าพระองค์มีชีวิตยั่งยืนอยู่
ตลอดวนั
38
๒. เย พฺราหมฺ ะณา เวทะคู สัพพะธมั เม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยนั ตุ
นะมัตถุ พทุ ธานงั นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วมิ ุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมงั โส ปะรติ ตัง กตั วฺ า โมโร จะระติ เอสะนา.
พระพทุ ธเจา้ เหลา่ ใด ทรงรแู้ จง้ ธรรมทง้ั ปวง ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ ม
พระพุทธเจ้าเหล่าน้ัน ขอพระพุทธเจ้าเหล่านั้น จงคุ้มครองข้าพเจ้า
ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ
ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระพทุ ธเจา้ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้ ขอนอบนอ้ มแดว่ มิ ตุ ตธิ รรม
เม่อื นกยูงนั้นสาธยายพระปริตรอย่างน้ีแลว้ จึงออกแสวงหาอาหาร
๓. อะเปตะยงั จักขมุ า เอกะราชา
หะรสิ สะวัณโณ ปะถะวิปปะภาโส
ตงั ตงั นะมสั สามิ หะรสิ สะวณั ณงั ปะถะวปิ ปะภาสงั
ตะยาชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง.
พระอาทิตย์ผู้เป็นดวงตาของโลก ผู้ยิ่งใหญ่พระองค์น้ี เสด็จ
อัสดงคต ทรงพระรัศมสี ที องสาดส่องปฐพี ด้วยเหตนุ ี้ ขา้ พเจา้
ขอนมัสการพระอาทิตย์ผู้ทรงรัศมีสีทองสาดส่องปฐพีพระองค์นั้น
พระองคไ์ ดค้ ้มุ ครองข้าพระองคใ์ นวนั นีแ้ ล้ว ขอใหข้ ้าพระองคม์ ีชวี ติ
ยั่งยืนอย่ตู ลอดราตรี
39
๔. เย พรฺ าหฺมะณา เวทะคู สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยันตุ
นะมัตถุ พทุ ธานงั นะมัตถุ โพธยิ า
นะโม วิมตุ ตานัง นะโม วมิ ตุ ตยิ า
อิมัง โส ปะรติ ตงั กัตวฺ า โมโร วาสะมะกัปปะย.ิ
พระพทุ ธเจา้ เหลา่ ใด ทรงรแู้ จง้ ธรรมทง้ั ปวง ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ ม
พระพุทธเจ้าเหล่าน้นั ขอพระพุทธเจา้ เหลา่ น้นั จงคมุ้ ครองข้าพเจา้
ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ๑
ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระพทุ ธเจา้ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้ ขอนอบนอ้ มแดว่ มิ ตุ ตธิ รรม๒
เมื่อนกยูงนั้นสาธยายพระปรติ รอย่างนี้แล้ว จงึ นอน
ต�ำ นานธชคั คปรติ ร
ธชคั คปรติ ร คอื ปรติ รยอดธง เปน็ พระปรติ รทก่ี ลา่ วถงึ เรอ่ื งทเ่ี ทวดาชน้ั
ดาวดงึ ส์แหงนดูยอดธงของพระอินทร์ ฯลฯ ในสงครามระหว่างเทวดากบั อสูร
และแนะน�ำ ใหภ้ กิ ษรุ ะลกึ ถงึ คณุ ของพระพทุ ธเจา้ พระธรรม และพระสงฆใ์ นเวลา
เกดิ ความสะดงุ้ กลวั เมอื่ อยใู่ นปา่ โคนไม้ หรอื เรือนว่าง (ส.ํ ส. ๑๕/๒๔๙/๒๖๓)
พระอรรถกถาจารยไ์ ดก้ ลา่ ววา่ พระปรติ รนส้ี ามารถคมุ้ ครองผทู้ ตี่ กจาก
ที่สูงได้ และเล่าเร่ืองท่ีเกิดในประเทศศรีลังกาว่า เมื่อพระภิกษุช่วยกันโบกปูน
พระเจดีย์ท่ีชื่อทีฆวาปี มีพระรูปหนึ่งพลัดตกลงจากพระเจดีย์ พระท่ียืนอยู่
ขา้ งลา่ งไดร้ บี บอกวา่ “ทา่ นจงระลกึ ถงึ ธชคั คปรติ รเถดิ ” พระทพี่ ลดั ตกไดก้ ลา่ ว
ว่า “ขอธชัคคปริตรจงคุ้มครองข้าพเจ้า” ขณะน้ันอิฐสองก้อนในพระเจดีย์ได้
๑ โพธญิ าณคอื มรรคญาณและผลญาณของพระพทุ ธเจา้
๒ วมิ ตุ ตคิ อื ธรรมทห่ี ลดุ พน้ จากกเิ ลส ๕ อยา่ ง อนั ไดแ้ ก่ ตทงั ควมิ ตุ ติ (พน้ ชว่ั คราว) เปน็ ตน้
40
ยนื่ ออกมารองรับเท้าของทา่ น เมื่อพระรูปอนื่ พากันนำ�บนั ไดมารบั พระรูปน้นั
ลงไปแลว้ อฐิ สองกอ้ นนน้ั ได้เคลื่อนกลับไปสถานท่เี ดิม (ส.ํ อฏ.ฺ ๑/๓๒๔-๕)
บทขัดธชัคคปริตร
๑. ยสั สานสุ สะระเณนาป ิ อนั ตะลกิ เขปิ ปาณโิ น
ปะตฏิ ฐะมะธคิ จั ฉนั ต ิ ภมู ยิ งั วยิ ะ สพั พะทา.
๒. สพั พปุ ทั ทะวะชาลมั หา ยกั ขะโจราทสิ มั ภะวา
คะณะนา นะ จะ มตุ ตานงั ปะรติ ตงั ตงั ภะณามะ เห.
เหล่าสัตว์ย่อมได้ท่ีพึ่งในอากาศเหมือนบนพ้ืนดินเสมอ เพราะ
ระลกึ ถงึ พระปรติ รใด ผพู้ น้ จากวงขา่ ยแหง่ อปุ ทั วนั ตรายทง้ั มวล อนั เกดิ
จากยักษ์และโจรเป็นต้น นับจำ�นวนมิได้ ขอเราท้ังหลายจงร่วมกัน
สวดพระปริตรน้นั เถิด
ธชัคคปริตร
เอวัง เม สุตงั .
ขา้ พเจ้าได้สดับมาแล้วดังน ี้
เอกงั สะมะยัง ภะคะวา สาวตั ถยิ งั วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปิณฑกิ ัสสะ อาราเม.
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน
อารามของอนาถบิณฑกิ เศรษฐี ใกลพ้ ระนครสาวตั ถี
ตตั ฺระ โข ภะคะวา ภกิ ขู อามันเตสิ ภิกขะโวต.ิ
41
ณ ทีน่ ั้นแล พระผู้มีพระภาคตรสั เรียกภกิ ษุท้งั หลายวา่
ดกู ่อนภิกษทุ ั้งหลาย
ภะทนั เตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจสั โสสงุ .
เหลา่ ภกิ ษรุ บั พระวาจาของพระผมู้ พี ระภาควา่ พระพทุ ธเจา้ ขา้
ภะคะวา เอตะทะโวจะ.
พระผ้มู พี ระภาคไดต้ รสั ความดงั นี้วา่
ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสุระสังคาโม สะมุปัพฺยูฬโห
อะโหสิ.
ดกู ่อนภิกษทุ ง้ั หลาย นานมาแล้ว เกิดสงครามระหวา่ ง
เทวดากบั อสรู ขนึ้
อะถะ โข ภกิ ขะเว สกั โก เทวานะมนิ โท เทเว ตาวะตงิ เส
อามนั เตส.ิ
ดกู อ่ นภิกษทุ ้ังหลาย ครั้งนนั้ ทา้ วสักกะจอมเทพรบั สั่ง
กบั เทวดาชั้นดาวดึงสว์ ่า
สะเจ มารสิ า เทวานงั สงั คามะคะตานงั อปุ ปชั เชยยะ
ภะยัง วา ฉัมภติ ัตตัง วา โลมะหังโส วา.
ดูก่อนท่านผู้ปราศจากทุกข์ ถ้าท่านเข้าสงครามแล้ว มี
ความกลัว ความหวาดหว่นั หรือความขนลกุ ขนพอง
มะเมวะ ตัสฺมิง สะมะเย ธะชัคคงั อลุ โลเกยยาถะ.
ขอให้ท่านแหงนดยู อดธงของเราในขณะนน้ั เถดิ
มะมัง หิ โว ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัง ภะวิสสะติ
ภะยงั วา ฉัมภติ ตั ตัง วา โลมะหงั โส วา, โส ปะหียสิ สะติ.
42
เพราะเมือ่ ทา่ นเหน็ ยอดธงของเราแลว้ ทา่ นจะละความกลวั
ความหวาดหวั่น หรอื ความขนลกุ ขนพองเสยี ได้
โน เจ เม ธะชัคคัง อลุ โลเกยยาถะ.
ถ้าทา่ นไม่เหน็ ยอดธงของเรา
อะถะ ปะชาปะตสิ สะ เทวะราชสั สะ ธะชคั คงั อลุ โลเกยยาถะ.
กข็ อใหท้ ่านแหงนดูยอดธงของพระปชาบดีจอมเทพเถิด
ปะชาปะติสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโล-
กะยะตงั ยงั ภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภติ ตั ตัง วา โลมะหงั โส
วา, โส ปะหียิสสะต.ิ
เพราะเม่ือท่านเห็นยอดธงของพระปชาบดีจอมเทพแล้ว
ทา่ นจะละความกลัว ความหวาดหวัน่ หรอื ความขนลกุ ขนพองเสยี ได้
โน เจ ปะชาปะตสิ สะ เทวะราชสั สะ ธะชคั คงั อลุ โลเกยยาถะ.
ถ้าทา่ นไม่เหน็ ยอดธงของพระปชาบดีจอมเทพ
อะถะ วะรณุ ัสสะ เทวะราชสั สะ ธะชคั คัง อลุ โลกะยาถะ.
ก็ขอใหท้ ่านแหงนดูยอดธงของพระวรุณจอมเทพเถดิ
วะรุณัสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคงั อลุ โลกะยะตัง
ยัง ภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา, โส
ปะหยี ิสสะต.ิ
เพราะเมื่อท่านเห็นยอดธงของพระวรุณจอมเทพแล้ว ท่าน
จะละความกลวั ความหวาดหวัน่ หรือความขนลุกขนพองเสยี ได้
โน เจ วะรณุ สั สะ เทวะราชสั สะ ธะชคั คงั อลุ โลเกยยาถะ.
ถ้าท่านไม่เห็นยอดธงของพระวรุณจอมเทพ
43
อะถะ อสี านสั สะ เทวะราชสั สะ ธะชคั คงั อลุ โลเกยยาถะ.
กข็ อให้ท่านแหงนดยู อดธงของพระอสี านจอมเทพเถิด
อสี านัสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคงั อุลโลกะยะตงั
ยัง ภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภติ ัตตงั วา โลมะหงั โส วา, โส
ปะหียสิ สะต.ิ
เพราะเมอ่ื ทา่ นเหน็ ยอดธงของพระอสี านจอมเทพแลว้ ทา่ น
จะละความกลวั ความหวาดหวน่ั หรือความขนลุกขนพองเสียได้
ตัง โข ปะนะ ภกิ ขะเว สักกัสสะ วา เทวานะมินทสั สะ
ธะชัคคงั อุลโลกะยะตัง,
ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เม่ือเทวดาเห็นยอดธงของท้าวสักกะ
จอมเทพน้นั อยู่ก็ดี
ปะชาปะตสิ สะ วา เทวะราชสั สะ ธะชคั คงั อลุ โลกะยะตงั ,
เห็นยอดธงของพระปชาบดีจอมเทพอยกู่ ็ดี
วะรณุ ัสสะ วา เทวะราชสั สะ ธะชัคคงั อลุ โลกะยะตัง,
เห็นยอดธงของพระวรณุ จอมเทพอย่กู ด็ ี
อสี านัสสะ วา เทวะราชสั สะ ธะชคั คงั อลุ โลกะยะตัง,
เหน็ ยอดธงของพระอีสานจอมเทพอยกู่ ็ดี
ยัง ภะวสิ สะติ ภะยัง วา ฉมั ภิตตั ตัง วา โลมะหังโส วา,
โส ปะหเี ยถาปิ โนปิ ปะหเี ยถะ.
เทวดาเหล่าน้ันย่อมละความกลัว ความหวาดหวั่น หรือ
ความขนลุกขนพองไดบ้ ้าง ไมไ่ ด้บ้าง
ตัง กิสสะ เหต.ุ ขอ้ นน้ั เพราะอะไร
44
สักโก หิ ภกิ ขะเว เทวานะมนิ โท อะวีตะราโค อะวีตะ-
โทโส อะวีตะโมโห ภรี ุ ฉมั ภี อตุ ฺราสี ปะลายีต.ิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะท้าวสักกะจอมเทพยังไม่เป็น
ผูป้ ราศจากราคะ โทสะ โมหะ ยงั เป็นผู้มีความกลวั ความหวาดหวน่ั
ความสะดงุ้ ยงั คดิ หลบหนี
อะหญั จะ โข ภิกขะเว เอวงั วะทามิ.
ดูกอ่ นภกิ ษทุ ั้งหลาย สว่ นตถาคตจะขอกลา่ วอย่างนว้ี ่า
สะเจ ตุมหากัง ภกิ ขะเว อะรัญญะคะตานงั วา รุกขะ-
มลู ะคะตานงั วา สญุ ญาคาระคะตานงั วา อปุ ปชั เชยยะ ภะยงั
วา ฉัมภติ ัตตงั วา โลมะหังโส วา.
ดกู ่อนภกิ ษทุ ้งั หลาย ถา้ เธอเขา้ ไปอยใู่ นปา่ กด็ ี อยู่โคนไม้
กด็ ี อยู่ในเรือนวา่ งก็ดี แลว้ มีความกลวั ความหวาดหวนั่ หรือความ
ขนลกุ ขนพอง
มะเมวะ ตสั มฺ งิ สะมะเย อะนุสสะเรยยาถะ.
ขอให้เธอพรํ่าระลกึ ถึงตถาคตในขณะน้ันเถิดวา่
อิตปิ ิ โส ภะคะวา
แมเ้ พราะเหตุน้ี พระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ ั้น
อะระหงั ,
เป็นผูไ้ กลจากกิเลส,
สมั มาสัมพุทโธ,
ตรัสรชู้ อบด้วยพระองคเ์ อง
45
วิชชาจะระณะสัมปนั โน,
ถึงพร้อมด้วยความร้แู ละความประพฤติ
สคุ ะโต,
เป็นผูเ้ สดจ็ ไปดีแล้ว
โลกะวทิ ,ู
ทรงรแู้ จง้ โลก
อะนตุ ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
ทรงเป็นสารถีฝึกบคุ คลท่ีควรฝกึ ไมม่ ใี ครยง่ิ กวา่
สัตถา เทวะมะนุสสานงั ,
ทรงเป็นศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท์ ้งั หลาย
พทุ โธ, ทรงเปน็ ผู้รแู้ จ้ง
ภะคะวาติ
ทรงเป็นผอู้ ธิบายธรรม
มะมงั หิ โว ภกิ ขะเว อะนสุ สะระตัง ยงั ภะวสิ สะติ
ภะยงั วา ฉัมภิตัตตงั วา โลมะหังโส วา, โส ปะหียสิ สะต.ิ
ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เพราะเมอื่ เธอพราํ่ ระลกึ ถงึ ตถาคตแลว้
เธอจะละความกลวั ความหวาดหว่ัน หรือความขนลกุ ขนพอง เสยี ได้
โน เจ มงั อะนสุ สะเรยยาถะ.
ถา้ เธอไม่พร่าํ ระลกึ ถงึ ตถาคต
อะถะ ธมั มัง อะนุสสะเรยยาถะ.
ก็พงึ พราํ่ ระลกึ ถึงพระธรรมว่า
46
สวฺ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม.
พระธรรม อันพระผมู้ พี ระภาคตรัสไว้ดแี ลว้
สันทิฏฐโิ ก,
เปน็ ธรรมท่ีเห็นไดด้ ้วยตนเอง
อะกาลโิ ก,
ไม่ขนึ้ กับกาล
เอหิปัสสโิ ก,
เป็นธรรมทค่ี วรมาดู
โอปะนะยิโก,
ควรน้อมมาปฏิบตั ิ
ปัจจตั ตัง เวทิตัพโพ วญิ ญูหีติ.
เป็นธรรมท่วี ิญญูชนพึงรู้ไดเ้ ฉพาะตน
ธมั มัง หิ โว ภกิ ขะเว อะนุสสะระตัง ยงั ภะวสิ สะติ
ภะยงั วา ฉมั ภติ ัตตัง วา โลมะหังโส วา, โส ปะหยี สิ สะติ.
ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เพราะเมื่อเธอพรํ่าระลึกถึงพระธรรม
แลว้ เธอจะละความกลัว ความหวาดหวัน่ หรอื ความขนลุกขนพอง
เสยี ได้
โน เจ ธัมมงั อะนุสสะเรยยาถะ.
ถ้าเธอไม่พราํ่ ระลึกถงึ พระธรรม
อะถะ สงั ฆงั อะนสุ สะเรยยาถะ.
กพ็ งึ พรํา่ ระลกึ ถงึ พระสงฆว์ า่
47
สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ.
พระอริยสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค เป็นผูป้ ฏบิ ตั ิดี
อชุ ปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ.
พระอรยิ สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาค เป็นผู้ปฏบิ ตั ิตรง
ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ.
พระอริยสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อ
พระนิพพาน
สามีจปิ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ.
พระอรยิ สงฆส์ าวกของพระผู้มพี ระภาค เป็นผู้ปฏิบตั ทิ คี่ วร
นับถอื
ยะทิทงั จัตตาริ ปรุ ิสะยุคานิ อฏั ฐะ ปุรสิ ะปคุ คะลา,
ทา่ นเหลา่ นัน้ คอื บรุ ษุ ๔ คู่ กล่าวคือพระอริยบคุ คล ๘
จำ�พวก
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ.
น้ีแหละพระอรยิ สงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาค
อาหเุ นยโย,
ผคู้ วรรับสกั การะ
ปาหุเนยโย,
ผ้คู วรแก่ของต้อนรบั
ทักขิเณยโย,
ผู้ควรรับทกั ษิณาทาน
48
อัญชะลกิ ะระณีโย,๑
ผูค้ วรอญั ชลกี รรม
อะนตุ ตะรัง ปญุ ญกั เขตตงั โลกัสสาต.ิ
เปน็ นาบญุ อนั ประเสริฐของโลก
สังฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตงั ยงั ภะวิสสะติ
ภะยัง วา ฉมั ภติ ตั ตงั วา โลมะหงั โส วา, โส ปะหียสิ สะติ.
ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เพราะเมอ่ื เธอพรา่ํ ระลกึ ถงึ พระสงฆแ์ ลว้
เธอจะละความกลวั ความหวาดหวนั่ หรอื ความขนลกุ ขนพองเสียได้
ตัง กิสสะ เหต.ุ
ข้อน้ันเพราะอะไร
ตะถาคะโต หิ ภกิ ขะเว อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ วตี ะราโค
วตี ะโทโส วตี ะโมโห อะภีรุ อะฉัมภี อะนุตฺราสี อะปะลายตี .ิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะตถาคตเป็นผู้ไกลจากกิเลส
ตรสั รู้ชอบดว้ ยตนเอง เปน็ ผูป้ ราศจากราคะ โทสะ โมหะ ไม่มี
ความกลวั ความหวาดหว่นั ความสะดงุ้ ไม่คดิ หลบหนี
อทิ ะมะโวจะ ภะคะวา. อทิ งั วตั วฺ านะ สคุ ะโต, อะถาปะรงั
เอตะทะโวจะ สัตถา.
เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสเร่ืองนี้แล้ว พระสุคตทรงกล่าว
อย่างนีแ้ ล้ว พระศาสดาไดต้ รสั คาถานี้ตอ่ ไปว่า
๑ ค�ำ วา่ อญชฺ ลิ เปน็ อกิ ารนั ตท์ ม่ี าจาก อญชฺ ธาตุ + อลิ ปจั จยั จงึ ไมค่ วรมรี ปู วา่ อญชฺ ล.ี ..
แมค้ �ำ วา่ เวรมณสิ กิ ขฺ าปทํ กไ็ มค่ วรมรี ปู วา่ เวรมณี เพราะท�ำ รสั สะกลางสมาส (รปู .๓๕๑)
49
๑. อะรญั เญ รกุ ขะมเู ล วา สญุ ญาคาเรวะ ภกิ ขะโว
อะนสุ สะเรถะ สมั พทุ ธงั ภะยงั ตมุ หากะ โน สยิ า.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เม่ือเธอเข้าไปอยู่ในป่าก็ดี อยู่โคนไม้ก็ดี
อยใู่ นเรือนว่างก็ดี เธอพึงหมน่ั ระลึกถึงพระสัมพุทธเจา้ แลว้ เธอจะไมม่ ี
ความกลัว
๒. โน เจ พทุ ธงั สะเรยยาถะ โลกะเชฏฐงั นะราสะภงั
อะถะ ธมั มงั สะเรยยาถะ นยิ ยานกิ งั สเุ ทสติ งั .
หากเธอไม่หมั่นระลึกถึงพระพุทธเจ้า ผู้ยิ่งใหญ่ของชาวโลก เป็น
นรชนผู้ประเสรฐิ เธอก็พึงหมัน่ ระลึกถึงพระธรรมทีเ่ ราแสดงดีแลว้ เป็น
ทางหลดุ พ้นจากสังสารวัฏ
๓. โน เจ ธมั มงั สะเรยยาถะ นยิ ยานกิ งั สเุ ทสติ งั .
อะถะ สงั ฆงั สะเรยยาถะ ปญุ ญกั เขตตงั อะนตุ ตะรงั .
หากเธอไม่หม่ันระลึกถึงพระธรรมที่เราแสดงดีแล้ว เป็นทาง
หลุดพ้นจากสังสารวัฏ เธอก็พึงหมั่นระลึกถึงพระสงฆ์ผู้เป็นนาบุญอัน
ประเสรฐิ
๔. เอวงั พทุ ธงั สะรนั ตานงั ธมั มงั สงั ฆญั จะ ภกิ ขะโว
ภะยงั วา ฉมั ภติ ตั ตงั วา โลมะหงั โส นะ เหสสะต.ิ
ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เม่ือเธอหมั่นระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
และพระสงฆอ์ ย่างนีแ้ ล้ว ความกลวั กด็ ี ความหวาดหว่ันก็ดี หรือความ
ขนลุกขนพองกด็ ี จะไมป่ รากฏเลย
50
ตำ�นานอาฏานาฏยิ ปริตร
อาฏานาฏยิ ปรติ ร คอื ปรติ รของทา้ วกเุ วรผคู้ รองนครอาฏานาฏา เพราะ
เป็นพระปริตรที่ท้าวกุเวรได้นำ�มากราบทูลพระพุทธเจ้า พระปริตรนี้กล่าวถึง
พระนามของพระพทุ ธเจา้ ๗ พระองค์ และคณุ ของพระพทุ ธเจา้ เหลา่ นนั้ รวมทงั้
อา้ งอานภุ าพพระพทุ ธเจา้ และเทวานภุ าพมาพทิ กั ษใ์ หม้ คี วามสวสั ดี มปี ระวตั วิ า่
ในสมัยหนึ่งเมอ่ื พระพุทธเจา้ ประทบั อยู่ ณ ภูเขาคิชฌกฏู แขวงกรุงราชคฤห์
ทา้ วจาตมุ หาราชทงั้ ๔ คอื ทา้ วธตรฐ, ทา้ ววริ ฬุ ก, ทา้ ววริ ปู กั ษ์ และทา้ วกเุ วร
ไดม้ าเฝา้ พระพทุ ธเจา้ ในมชั ฌมิ ยามแหง่ ราตรี ขณะนน้ั ทา้ วกเุ วรไดก้ ราบทลู วา่
อมนษุ ยบ์ างพวกเลอ่ื มใสพระองค์ บางพวกไมเ่ ลอ่ื มใส สว่ นใหญม่ กั ไมเ่ ลอ่ื มใส
เพราะพระองคต์ รัสสอนใหล้ ะเว้นจากอกศุ ลกรรมมปี าณาติปาต เป็นตน้ แต่
พวกเขาไม่สามารถจะเว้นได้ จึงไม่พอใจคำ�สอนที่ขัดแย้งกับความประพฤติ
ของตน เมอื่ ภกิ ษไุ ปปฏบิ ตั ธิ รรมในปา่ เปลยี่ ว อมนษุ ยเ์ หลา่ นน้ั อาจจะรบกวนได้
จงึ ขอใหพ้ ระองคท์ รงรบั เอาเครอื่ งคมุ้ ครองคอื อาฏานาฏยิ ปรติ รไว้ แลว้ ประทาน
แก่พุทธบริษัท เพ่ือสาธยายคุ้มครองตนและเพ่ือให้อมนุษย์เกิดความเล่ือมใส
พระศาสนา จากนน้ั ท้าวกเุ วรไดก้ ราบทลู คาถาเป็นตน้ วา่ วปิ สั สสิ สะ จะ
นะมัตถุ เมอ่ื ทา้ วมหาราชเหลา่ นน้ั เสด็จกลับแล้ว พระพทุ ธเจ้าจงึ น�ำ มาตรัสแก่
พทุ ธบรษิ ัทในภายหลงั
อาฏานาฏยิ ปรติ รทม่ี ปี รากฏในทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค (ท.ี ปา. ๑๑/๒๗๕-
๘๔/๑๖๙-๗๘) มที งั้ หมด ๕๑ คาถา แตพ่ ระปรติ รทจ่ี ะแสดงตอ่ ไปนเี้ ปน็ บทสวด
ทโี่ บราณาจารยป์ รับปรุงในภายหลงั โดยนำ�คาถาจากพระบาลี ๖ คาถาแรก
แล้วเพ่มิ คาถาอื่นท่ีอา้ งพระพทุ ธคุณและเทวานุภาพ เพื่อเป็นสัจวาจาพทิ ักษ์
คมุ้ ครองผสู้ วด ผรู้ บู้ างทา่ นกลา่ ววา่ พระเถระชาวลงั กาเปน็ ผปู้ รบั ปรงุ พระปรติ ร
น้ี (พระปรติ รแปลพิเศษ ฉบบั พมา่ หนา้ ๔-๕)