The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-06-11 11:32:27

พระปริตรธรรม

พระปริตรธรรม

Keywords: พระปริตรธรรม

51

บทขัดอาฏานาฏยิ ปรติ ร

๑. อปั ปะสนั เนหิ นาถสั สะ สาสะเน สาธุสมั มะเต
อะมะนุสเสหิ จัณเฑหิ สะทา กิพพิสะการิภิ.
๒. ปะรสิ านงั จะตัสสนั นงั อะหิงสายะ จะ คตุ ตยิ า
ยงั เทเสสิ มะหาวีโร ปะรติ ตงั ตงั ภะณามะ เห.
พระมหาวรี เจา้ ทรงแสดงพระปรติ รใด เพอื่ คมุ้ ครองพทุ ธบรษิ ทั สี่

มิให้ถูกเบียดเบียนจากเหล่าอมนุษย์ผู้ดุร้าย หยาบกระด้างอยู่เสมอ
ไมเ่ ลื่อมใสค�ำ สอนของพระโลกนาถ อนั บณั ฑิตยกยอ่ งวา่ เปน็ ค�ำ สอน
ท่ดี ี ขอเราท้งั หลายจงรว่ มกันสวดพระปริตรนัน้ เถิด

อาฏานาฏยิ ปรติ ร

๑. วิปสั สิสสะ จะ นะมตั ถ ุ จักขมุ ันตสั สะ สริ มี ะโต
สิขิสสะปิ จะ๑ นะมัตถ ุ สัพพะภูตานกุ ัมปโิ น.

ขอนอบนอ้ มพระวปิ ัสสีพทุ ธเจ้า ผู้ทรงพระจกั ษุ ทรงพระสริ ิ
ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระสขิ พี ุทธเจา้ ผ้ทู รงอนุเคราะหส์ ตั วท์ ั้งปวง

๒. เวสสะภสุ สะ จะ๑ นะมตั ถ ุ นหฺ าตะกสั สะ ตะปสั สโิ น
นะมตั ถุ กะกุสนั ธัสสะ มาระเสนาปะมทั ทโิ น.

ขอนอบนอ้ มพระเวสสภพู ุทธเจ้า ผูช้ ำ�ระกิเลสไดแ้ ล้ว มีตบะ
ขอนอบน้อมพระกกุสันธพุทธเจา้ ผู้ทรงเอาชนะมารและกองทพั ได้

๑ บางฉบบั ไมม่ ี จ ศัพท์ ทำ�ให้ไมค่ รบ ๘ พยางค์ ถือวา่ ไมต่ รงตามฉันทลกั ษณ์ในทนี่ ี้

52

๓. โกณาคะมะนสั สะ นะมตั ถ ุ พรฺ าหมฺ ะณสั สะ วสุ มี ะโต
กสั สะปสั สะ จะ๑ นะมตั ถ ุ วปิ ปะมตุ ตสั สะ สพั พะธ.ิ

ขอนอบน้อมพระโกณาคมนพทุ ธเจา้ ผู้ลอยบาปแล้ว อยจู่ บ
พรหมจรรย์ ขอนอบน้อมพระกัสสปพุทธเจ้า ผู้หลุดพ้นแล้วจาก
กิเลสท้งั ปวง

๔. อังคีระสสั สะ นะมตั ถุ สกั ยฺ ะปตุ ตสั สะ สริ มี ะโต
โย อมิ ัง ธัมมงั เทเสส ิ สัพพะทุกขาปะนูทะนงั .

ขอนอบน้อมพระศากยบุตรพุทธเจ้า ผู้ทรงพระฉัพพัณณรังสี
ผทู้ รงสิริ ผู้ทรงแสดงธรรมขจัดทุกข์ทั้งปวง

๕. เย จาปิ นพิ พตุ า โลเก ยะถาภตู ัง วิปสั สสิ ุง
เต ชะนา อะปสิ ณุ าถะ มะหนั ตา วตี ะสาระทา.

อน่ึง พระอรหันต์เหล่าใดในโลก ดับกิเลสได้แล้ว รู้แจ้งตาม
ความเป็นจริง พระอรหันต์เหล่านั้น ปราศจากวาจามุ่งร้าย เป็นผู้
ยิ่งใหญ่ ไม่สะทกสะท้าน

๖. หิตัง เทวะมะนสุ สานงั ยงั นะมสั สันติ โคตะมงั
วชิ ชาจะระณะสมั ปนั นงั มะหันตงั วีตะสาระทัง.

ท่านเหล่านั้นย่อมนมัสการพระโคตมะ ผู้ทรงเกื้อกูลเทวดาและ
มนษุ ย์ทัง้ หลาย ผูถ้ ึงพรอ้ มดว้ ยความรแู้ ละความประพฤติ ผ้ยู ิง่ ใหญ่
ผู้ไมส่ ะทกสะทา้ น

๗. เอเต จญั เญ จะ สมั พทุ ธา อะเนกะสะตะโกฏโิ ย
สพั เพ พทุ ธาสะมะสะมา สพั เพ พทุ ธา มะหทิ ธกิ า.

พระสมั พทุ ธเจา้ เจด็ พระองคเ์ หลา่ นน้ั และพระสมั พทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย

53
รอ้ ยโกฏเิ หลา่ อน่ื ทกุ พระองค์ เสมอดว้ ยพระพทุ ธเจา้ ผไู้ มม่ ใี ครเปรยี บ
ทุกพระองคล์ ้วนทรงฤทธย์ิ ิง่ ใหญ่

๘. สัพเพ ทะสะพะลเู ปตา เวสารชั เชหปุ าคะตา
สัพเพ เต ปะฏิชานนั ติ อาสะภงั ฐานะมตุ ตะมงั .

พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ทรงพระทศพลญาณ และพระเวสา-
รชั ชญาณ ทรงยืนยันความตรสั รู้อันประเสรฐิ แกลว้ กล้าของพระองค์

๙. สหี ะนาทงั นะทนั เตเต ปะรสิ าสุ วสิ าระทา
พรฺ หั มฺ ะจกั กงั ปะวตั เตนต ิ โลเก อปั ปะฏวิ ตั ตยิ งั .

พระพทุ ธเจา้ เหลา่ น้ี ทรงปราศจากความครน่ั ครา้ ม บนั ลอื สหี นาท
ในท่ามกลางพุทธบริษัท ประกาศธรรมจักรอันประเสริฐในโลก ไม่มี
ผ้ใู ดจะคัดค้านได้

๑๐. อุเปตา พทุ ธะธัมเมห ิ อัฏฐาระสะหิ นายะกา
พาตติงสะลักขะณูเปตา สตี านุพยฺ ญั ชะนาธะรา.

พระองคท์ รงเปน็ ผนู้ �ำ ทรงคณุ สมบตั ขิ องพระพทุ ธเจา้ ๑๘ ประการ
ทรงประกอบดว้ ยพระพุทธลกั ษณะ ๓๒ และพระอนลุ กั ษณะ ๘๐

๑๑. พยฺ ามปั ปะภายะ สปั ปะภา สพั เพ เต มนุ กิ ญุ ชะรา
พทุ ธา สพั พญั ญโุ น เอเต สพั เพ ขณี าสะวา ชนิ า.

พระพทุ ธเจา้ ทกุ พระองค์ ทรงพระฉพั พณั ณรงั สโี ดยรอบหนงึ่ วา
ทรงเปน็ มุนผี ้ปู ระเสรฐิ รู้แจ้งธรรมทงั้ ปวง สน้ิ อาสวะ และเป็นผูช้ นะ

๑๒. มะหัปปะภา มะหาเตชา มะหาปญั ญา มะหพั พะลา
มะหาการุณิกา ธรี า สัพเพสานัง สุขาวะหา.

พระองคท์ รงมพี ระรศั มสี วา่ งไสว มเี ดชมาก มปี ญั ญามาก มกี �ำ ลงั

54
มาก มคี วามกรณุ าใหญห่ ลวง มนั่ คง ประทานความสุขแก่ชนทงั้ ปวง

๑๓. ทปี า นาถา ปะตฏิ ฐา จะ ตาณา เลณา จะ ปาณนิ งั
คะตี พนั ธู มะหสั สาสา สะระณา จะ หเิ ตสโิ น.

พระองคท์ รงเป็นทีพ่ กั ทพ่ี ่ึง ที่พำ�นกั คุม้ ครอง หลบภัยของ
เหล่าสัตว์ ทรงเป็นท่ีไป เป็นญาติ เป็นผู้อุปถัมภ์ เป็นผู้ขจัดทุกข์
และกระทำ�ประโยชน์

๑๔. สะเทวะกสั สะ โลกัสสะ สัพเพ เอเต ปะรายะณา
เตสาหงั สิระสา ปาเท วันทามิ ปรุ สิ ตุ ตะเม.

พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ทรงเป็นท่ีพ่ึงของชาวโลกและเทวดา
ข้าพระองค์ขอน้อมไหว้พระบาทยุคลของพระพุทธเจ้าเหล่านั้นด้วย
เศียรเกลา้ ขอนอ้ มไหวพ้ ระพุทธเจา้ ผู้เปน็ บุรุษประเสรฐิ

๑๕. วะจะสา มะนะสา เจวะ วนั ทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สพั พะทา.

ขา้ พระองค์ขอนอ้ มไหวพ้ ระตถาคตเจ้าเหล่าน้นั ในเวลายนื เดนิ
นั่ง นอน ด้วยวาจา ด้วยใจเสมอ

๑๖. สะทา สเุ ขนะ รกั ขนั ต ุ พทุ ธา สนั ตกิ ะรา ตวุ งั
เตหิ ตวฺ งั รกั ขโิ ต สนั โต มตุ โต สพั พะภะเยหิ จะ.

ขอพระพุทธเจา้ ท้งั หลายผ้ปู ระทานพระนพิ พาน จงคมุ้ ครองทา่ น
ใหม้ คี วามสขุ เสมอ เมอื่ พระองคค์ ุ้มครองทา่ นแล้ว ขอใหท้ า่ นปลอดจาก
ภยั ท้งั ปวงเถดิ

๑๗. สพั พะโรคา วนิ ิมุตโต สัพพะสันตาปะวัชชโิ ต
สัพพะเวระมะตกิ กนั โต นิพพโุ ต จะ ตุวัง ภะวะ.

55
ขอทา่ นจงปลอดจากโรคทง้ั ปวง ปราศจากความเดอื ดรอ้ นทกุ อยา่ ง
ไม่มใี ครๆ ปองร้าย เปน็ ผูส้ งบ

๑๘. เตสงั สจั เจนะ สเี ลนะ ขนั ติเมตตาพะเลนะ จะ
เตปิ อัมเหนรุ ักขนั ต ุ อะโรเคนะ สุเขนะ จะ.

ขอพระพุทธเจ้าเหล่านั้นจงคุ้มครองข้าพเจ้าให้เป็นผู้ปราศจาก
โรค มีความสุข ด้วยพลานุภาพแห่งความสัตย์ ศีล ขันติ และ
เมตตาธรรม

๑๙. ปรุ ตั ถมิ สั ฺมิง ทสิ าภาเค สันติ ภูตา มะหิทธกิ า
เตปิ อมั เหนรุ ักขันตุ อะโรเคนะ สเุ ขนะ จะ.

เหล่าคนธรรพ์ผู้มีฤทธิ์มากในทิศบูรพา จงคุ้มครองข้าพเจ้าให้
เปน็ ผู้ไมม่ ีโรค มีความสุข

๒๐. ทักขณิ สั มฺ ิง ทสิ าภาเค สันติ เทวา มะหิทธกิ า
เตปิ อมั เหนรุ กั ขันต ุ อะโรเคนะ สุเขนะ จะ.

เหล่ากมุ ภณั ฑ์ผูม้ ฤี ทธิ์มากในทศิ ทักษณิ จงคุ้มครองข้าพเจา้ ให้
เป็นผู้ไม่มีโรค มคี วามสขุ

๒๑. ปัจฉมิ ัสมฺ ิง ทิสาภาเค สนั ติ นาคา มะหทิ ธกิ า
เตปิ อมั เหนุรกั ขันตุ อะโรเคนะ สุเขนะ จะ.

เหลา่ นาคผูม้ ฤี ทธ์ิมากในทศิ ประจิม จงคมุ้ ครองข้าพเจา้ ใหเ้ ปน็
ผูไ้ มม่ โี รค มคี วามสขุ

๒๒. อตุ ตะรสั มฺ งิ ทสิ าภาเค สนั ติ ยกั ขา มะหทิ ธกิ า
เตปิ อมั เหนรุ กั ขนั ต ุ อะโรเคนะ สเุ ขนะ จะ.

เหล่ายักษ์ผู้มีฤทธ์ิมากในทิศอุดร จงคุ้มครองข้าพเจ้าให้เป็น

56
ผ้ไู ม่มีโรค มคี วามสขุ

๒๓. ปุรัตถิเมนะ ธะตะรัฏโฐ ทกั ขเิ ณนะ วิรฬู หะโก
ปจั ฉิเมนะ วิรูปักโข กเุ วโร อุตตะรงั ทสิ งั .

ทา้ วธตรฐเปน็ ผรู้ กั ษาโลกทศิ บรู พา ทา้ ววริ ฬุ หกรกั ษาโลกทศิ ทกั ษณิ
ทา้ วรปู กั ษร์ ักษาโลกทศิ ประจมิ ทา้ วกุเวรรักษาโรคทศิ อดุ ร

๒๔. จัตตาโร เต มะหาราชา โลกะปาลา ยะสสั สิโน
เตปิ อมั เหนุรกั ขนั ต ุ อะโรเคนะ สเุ ขนะ จะ.

ขอมหาราชผู้รักษาโลกทั้งสี่พระองค์ ผู้มีบริวารมากดังกล่าว
จงคุ้มครองขา้ พเจา้ ให้เปน็ ผไู้ มม่ โี รค มคี วามสขุ

๒๕. อากาสฏั ฐา จะ ภูมัฏฐา เทวา นาคา มะหทิ ธิกา
เตปิ อัมเหนรุ ักขันตุ อะโรเคนะ สเุ ขนะ จะ.

ขอเหล่าเทวดาและนาคผู้มีฤทธิ์มาก สถิตอยู่ในอากาศและบน
พ้นื ดิน จงคุม้ ครองขา้ พเจ้าใหเ้ ปน็ ผู้ไม่มีโรค มคี วามสุข

๒๖. อิทธิมันโต จะ เย เทวา วะสนั ตา อธิ ะ สาสะเน
เตปิ อมั เหนุรักขันต ุ อะโรเคนะ สเุ ขนะ จะ.

ขอเทวดาผมู้ ฤี ทธม์ิ ากอาศยั อยใู่ นพระศาสนาน้ี จงคมุ้ ครองขา้ พเจา้
ให้เปน็ ผู้ไม่มีโรค มีความสขุ

๒๗. สพั พตี โิ ย ววิ ชั ชนั ต ุ สัพพะโรโค วนิ สั สะตุ
มา เต ภะวัตฺวนั ตะราโย สุขี ทฆี ายุโก ภะวะ.

ขอสงิ่ รา้ ยทงั้ ปวงจงบ�ำ ราศไป ขอโรคทงั้ ปวงจงพนิ าศไป ขอทา่ น
อย่ามีอนั ตราย เป็นผมู้ ีความสขุ มีอายุยนื ยาว

57

๒๘. อะภิวาทะนะสลี สิ สะ นิจจงั วฑุ ฒาปะจายิโน
จตั ตาโร ธัมมา วัฑฒันต ิ อายุ วัณโณ สขุ ัง พะลัง.

ธรรม ๔ ประการ คอื อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจรญิ แก่บุคคล
ผู้นบไหว้ และอ่อนน้อมตอ่ ผู้ใหญเ่ ป็นนติ ย์

ตำ�นานอังคลุ ิมาลปรติ ร

องั คุลิมาลปริตร คือ ปริตรของพระองคลุ ิมาล มปี ระวัติว่า วันหนง่ึ เม่ือ

พระองคลุ มิ าลออกบณิ ฑบาตอยู่ ทา่ นไดพ้ บหญงิ มคี รรภค์ นหนงึ่ ก�ำ ลงั เปน็ ทกุ ข์
เพราะคลอดบตุ รไมไ่ ด้ จึงเกิดความสงสาร ไดก้ ลับมาวดั เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า
แล้วกราบทูลเรื่องน้ี พระพุทธองค์ได้ตรัสสอนพระปริตรนี้แก่พระองคุลิมาล
ทา่ นจงึ ไดก้ ลบั ไปสาธยายแกห่ ญงิ นนั้ เมอื่ นางไดฟ้ งั พระปรติ รนกี้ ค็ ลอดบตุ รได้
โดยสะดวก ทง้ั มารดาและบตุ รได้รับความสวสั ดี
อน่ึง ต่ังที่พระองคุลิมาลน่ังสวดพระปริตรนี้ ได้กลายเป็นตั่งศักดิ์สิทธ์ิ
ถ้าไม่สามารถนำ�หญิงท่ีคลอดบุตรยากมาน่ังท่ีตั่งน้ีได้ ก็ให้นำ�นํ้าล้างตั่งไปรด
ศรี ษะ จะทำ�ให้คลอดบุตรง่าย เปรียบดังนํา้ ไหลออกจากกระบอกกรองนํ้า แม้
กระทงั่ สัตวท์ ่ตี กลูกยาก เมื่อน�ำ มาน่งั ทีต่ งั่ นกี้ จ็ ะตกลกู ง่าย นอกจากการคลอด
บตุ รแล้ว ต่ังน้ียังสามารถรักษาโรคอน่ื ๆ ไดอ้ ีกด้วย (ม. อฏ.ฺ ๒/๒๔๕)

บทขัดองั คลุ ิมาลปรติ ร

๑. ปะรติ ตงั ยงั ภะณนั ตสั สะ นสิ นิ นฏั ฐานะโธวะนงั
อทุ ะกมั ปิ วนิ าเสต ิ สพั พะเมวะ ปะรสิ สะยงั .

นํ้าล้างท่ีน่ังของพระองคุลิมาลผู้สวดพระปริตรใด สามารถขจัด
อันตรายทั้งปวงให้หมดไปได้

58

๒. โสตถนิ า คพั ภะวฏุ ฐานงั ยญั จะ สาเธติ ตงั ขะเณ
เถรสั สงั คลุ มิ าลสั สะ โลกะนาเถนะ ภาสติ งั
กปั ปฏั ฐายงิ มะหาเตชงั ปะรติ ตงั ตงั ภะณามะ เห.

พระปริตรใดท่ีพระโลกนาถทรงภาษิตไว้แก่พระองคุลิมาลเถระ
สามารถยงั การคลอดบตุ รใหเ้ ปน็ ไปไดโ้ ดยสวสั ดใี นทนั ที ขอเราทง้ั หลาย
จงร่วมกนั สวดพระปรติ รซ่ึงมเี ดชใหญ่ คงอยูต่ ลอดกปั นั้นเถิด

องั คลุ ิมาลปริตร

ยะโตหงั ภะคินิ อะรยิ ายะ ชาติยา ชาโต, นาภชิ านามิ
สญั จจิ จะ ปาณงั ชวี ติ า โวโรเปตา. เตนะ สจั เจนะ โสตถิ เต
โหต,ุ โสตถิ คพั ภสั สะ.

ดกู อ่ นน้องหญิง นับแต่เราเกิดโดยอรยิ ชาตนิ แ้ี ลว้ เราไมเ่ คยคดิ
ปลงชีวิตสตั วเ์ ลย ด้วยสจั วาจานี้ ขอความสวสั ดจี งมีแกเ่ ธอ ขอความ
สวสั ดีจงมีแก่ครรภ์ของเธอ

ต�ำ นานโพชฌงั คปริตร

โพชฌังคปริตร คือ ปริตรกล่าวถึงโพชฌงค์ซ่ึงเป็นองค์แห่งการรู้แจ้ง

แล้วอ้างสจั วาจาน้ันมาพทิ ักษค์ ้มุ ครองให้มคี วามสวัสดี มีประวัติวา่ สมยั หนึง่
พระพทุ ธเจา้ ประทบั อยทู่ ว่ี ดั เวฬวุ นั กรงุ ราชคฤห์ พระมหากสั สปเถระไดอ้ าพาธ
หนักท่ีถาํ้ ปปิ ผลิคูหา พระพุทธเจา้ ได้เสด็จเยย่ี มและแสดงโพชฌงค์เจด็ เม่ือ
พระเถระสดบั โพชฌงคเ์ หลา่ นไ้ี ดเ้ กดิ ความปตี วิ า่ โพชฌงคเ์ จด็ เคยปรากฏแกเ่ รา
ในขณะรู้แจ้งสัจธรรมหลังออกบวชแล้วเจ็ดวัน คำ�สอนของพระพุทธองค์เป็น

59

ทางพ้นทกุ ขโ์ ดยแท้ ครนั้ ด�ำ รเิ ช่นน้พี ระเถระไดเ้ กดิ ปีตอิ มิ่ เอิบใจ ท�ำ ให้เลอื ดใน
กายและรูปธรรมอื่นผ่องใส โรคของพระเถระจึงอันตรธานไปเหมือนหยาดนํ้า
กลิ้งลงจากใบบัว นอกจากนั้น พระพุทธเจ้ายังตรัสโพชฌงค์เจ็ดแก่พระมหา
โมคคัลลานเถระผู้อาพาธที่ภูเขาคิชฌกูฏอีกด้วย คร้ันพระเถระสดับโพชฌงค์
นี้แล้วก็หายจากอาพาธนั้นทันที อน่ึง เม่ือพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน
นั้น ทรงพระประชวรหนกั จงึ รบั ส่งั ให้พระจนุ ทเถระสาธยายโพชฌงคเ์ จด็ ครน้ั
สดับแลว้ พระองคท์ รงหายจากพระประชวรนนั้
โพชฌงั คปรติ รทพ่ี ระพทุ ธองคต์ รสั ไวเ้ ปน็ รอ้ ยแกว้ มปี รากฏในมหาวรรค
สงั ยตุ ปฐมคิลานสูตร, ทตุ ิยคลิ านสตู ร และตติยคลิ านสูตร (สํ. มหา. ๑๙/๑๙๕-
๗/๗๑-๔) ส่วนโพชฌังคปริตรในปัจจุบัน เป็นร้อยกรองที่พระเถระชาวลังกา
รจนาขึ้น โดยนำ�ขอ้ ความจากพระสูตรมาประพันธ์เป็นรอ้ ยกรอง (พระปริตร
แปลพเิ ศษ ฉบับพมา่ หนา้ ๙)
โพชฌงค์เจ็ดมดี ังต่อไปน้ี คอื
๑. สติสัมโพชฌงค์ องค์แห่งการรแู้ จ้ง คอื สติ
๒. ธมั มวิจยสมั โพชฌงค์ องค์แห่งการรู้แจ้ง คอื การรเู้ ห็นธรรม
๓. วริ ิยสัมโพชฌงค์ องคแ์ ห่งการรู้แจง้ คอื ความเพยี ร
๔. ปตี สิ ัมโพชฌงค์ องค์แห่งการร้แู จ้ง คือความอิ่มใจ
๕. ปสั สัทธิสมั โพชฌงค์ องค์แห่งการรู้แจง้ คือความสงบใจ
๖. สมาธสิ ัมโพชฌงค์ องคแ์ หง่ การรู้แจง้ คือความตั้งมนั่
๗. อุเบกขาสัมโพชฌงค์ องค์แห่งการรูแ้ จ้ง คอื ความวางเฉย

60

บทขดั โพชฌังคปรติ ร

๑. สงั สาเร สงั สะรนั ตานงั สพั พะทกุ ขะวนิ าสะเน
สตั ตะ ธมั เม จะ โพชฌงั เค มาระเสนาปะมทั ทะเน.
๒. พชุ ฌติ วฺ า เย จเิ ม สตั ตา ตภิ ะวา มตุ ตะกตุ ตะมา
อะชาตมิ ะชะราพยฺ าธงิ อะมะตงั นพิ ภะยงั คะตา.

บคุ คลผูป้ ระเสริฐ พน้ แล้วจากภพทัง้ สาม บรรลุพระนิพพาน
อันไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย ไม่มีอันตรายใดๆ เพราะรู้แจ้ง
โพชฌงค์เจ็ด เคร่ืองขจัดทุกข์ทั้งปวงของเหล่าสัตว์ผู้ท่องเที่ยวไปใน
วัฏสงสาร ซึ่งย่ํายมี ารและกองทพั ได้

๓. เอวะมาทคิ ณุ เู ปตงั อะเนกะคณุ ะสงั คะหงั
โอสะธญั จะ๑ อมิ งั มนั ตงั โพชฌงั คงั ตงั ภะณามะ เห.

ขอเราทง้ั หลายจงรว่ มกนั สวดโพชฌงั คปรติ รซง่ึ มคี ณุ อยา่ งนเ้ี ปน็ ตน้
อันเป็นทร่ี วมแหง่ คุณเปน็ อเนก เปน็ โอสถ และเป็นมนต์

โพชฌงั คปรติ ร

๑. โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา
วีรยิ ัง ปีติ ปัสสทั ธ ิ โพชฌงั คา จะ ตะถาปะเร.
๒. สะมาธเุ ปกขา โพชฌงั คา สตั เตเต สพั พะทสั สนิ า
มุนินา สมั มะทกั ขาตา ภาวติ า พะหลุ กี ะตา.

๑ บางฉบับมรี ูปว่า โอสถญจฺ กถ็ ูกต้องเชน่ กัน เพราะค�ำ วา่ โอสถ, โอสธ มีใช้ทง้ั สองรูป

61

๓. สงั วัตตนั ติ อะภิญญายะ นพิ พานายะ จะ โพธิยา
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เม โหตุ สพั พะทา.

โพชฌงค์เจด็ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ วิริย-
สมั โพชฌงค์ ปีตสิ ัมโพชฌงค์ ปัสสทั ธสิ ัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์
และอเุ บกขาสมั โพชฌงค์
พระมุนีผู้รู้แจ้งสภาวธรรมท้ังปวงตรัสว่า ผู้บำ�เพ็ญและกระทำ�
โพชฌงคใ์ หม้ าก ยอ่ มรแู้ จง้ บรรลถุ งึ พระนพิ พานและความตรสั รู้ ดว้ ย
สจั วาจาน้ี ขอข้าพเจ้าจงมีความสวสั ดีทกุ เมื่อเทอญ

๔. เอกัสมฺ งิ สะมะเย นาโถ โมคคลั ลานญั จะ กสั สะปงั
คลิ าเน ทกุ ขิเต ทสิ ฺวา โพชฌงั เค สตั ตะ เทสะยิ.

สมยั หนึง่ พระโลกนาถทอดพระเนตรเหน็ พระโมคคลั ลานะและ
พระมหากัสสปะ อาพาธไดร้ ับความทกุ ข์ จึงทรงแสดงโพชฌงค์เจ็ด

๕. เต จะ ตัง อะภินันทติ ฺวา โรคา มุจจงิ สุ ตังขะเณ
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เม โหตุ สพั พะทา.

พระเถระท้ังสองยินดีรับโพชฌงค์น้ัน หายจากโรคทันที ด้วย
สจั วาจานี้ ขอขา้ พเจ้าจงมคี วามสวัสดีทุกเมอ่ื เทอญ

๖. เอกะทา ธัมมะราชาปิ เคลัญเญนาภิปฬี ิโต
จุนทัตเถเรนะ ตงั เยวะ ภะณาเปตฺวานะ สาทะรัง.

ครง้ั หนง่ึ สมเด็จพระธรรมราชาทรงพระประชวรหนัก รับส่ังให้
พระจนุ ทเถระสาธยายโพชฌงค์ถวายโดยเคารพ

๗. สัมโมทติ ฺวานะ อาพาธา ตมั หา วฏุ ฐาสิ ฐานะโส
เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา.

62

พระองคท์ รงแชม่ ชน่ื พระทยั หายจากพระประชวรโดยพลนั ดว้ ย
สัจวาจาน้ี ขอข้าพเจ้าจงมคี วามสวสั ดที กุ เมือ่ เทอญ

๘. ปะหีนา เต จะ อาพาธา ตณิ ณันนมั ปิ มะเหสินัง
มคั คะหะตา กเิ ลสาวะ๑ ปตั ตานุปปัตติธมั มะตัง
เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา.

พระพุทธเจา้ และพระเถระผู้แสวงหาคุณอนั ประเสรฐิ ทงั้ สาม ได้
หายจากอาพาธแล้ว ดุจกิเลสท่ีถูกอริยมรรคประหาร ไม่กำ�เริบอีก
ด้วยสจั วาจานี้ ขอขา้ พเจา้ จงมีความสวัสดที กุ เมอ่ื เทอญ

ตำ�นานเทวตาอยุ โยชนคาถา

เทวตาอยุ โยชนคาถา คอื คาถาสง่ เทวดา คาถานกี้ ลา่ วถงึ การแผเ่ มตตา

แก่สรรพสัตว์ แล้วอัญเชิญเทวดาให้อนุโมทนาบุญและกลับไปสู่นิเวศน์ของตน
รวมทั้งผูกมนต์คุ้มครองด้วยอานุภาพของพระพุทธเจ้า, พระปัจเจกพุทธเจ้า
และพระอรหนั ต์ ทา่ นอาจารยธ์ มั มานนั ทมหาเถระ อคั รมหาบณั ฑติ สนั นษิ ฐาน
ว่าคาถาน้ีคงรจนาโดยพระเถระชาวลังกาในสมัยก่อน เพราะธรรมเนียมการ
อัญเชิญเทวดาดังท่ีได้แสดงไว้ในหน้า ๑๓ และการอัญเชิญเทวดากลับที่จะ
แสดงต่อไปน้ี ไมม่ ปี รากฏโดยตรงในพระบาลี

เทวตาอุยโยชนคาถา

๑. ทกุ ขปั ปตั ตา จะ นทิ ทกุ ขา ภะยปั ปตั ตา จะ นพิ ภะยา.
โสกปั ปตั ตา จะ นสิ โสกา โหนตุ สพั เพปิ ปาณโิ น.

๑ บางฉบบั มรี ปู วา่ มคคฺ าหตกเิ ลสาว จดั วา่ ถกู ตอ้ งตามไวยากรณแ์ ละฉนั ทลกั ษณเ์ ชน่ กนั

63
ขอสัตวท์ ้ังปวงท่ีมีทุกข์ จงไร้ทุกข์, ทมี่ ีภัย จงไร้ภยั , ท่ีมีโศก
จงไร้โศก

๒. เอตตาวะตา จะ อมั เหห ิ สมั ภะตงั ปญุ ญะสมั ปะทงั
สพั เพ เทวานโุ มทนั ต ุ สพั พะสมั ปตั ตสิ ทิ ธยิ า.

ขอเหลา่ เทวดาทงั้ ปวงจงอนโุ มทนาบญุ สมบตั ิ ทขี่ า้ พเจา้ ไดบ้ �ำ เพญ็
ดว้ ยการสวดพระปริตรเหลา่ น้ี ใหส้ ำ�เร็จสมบตั ิท้ังปวงเถิด

๓. ทานงั ทะทันตุ สทั ธายะ สีลัง รกั ขันตุ สพั พะทา
ภาวะนาภิระตา โหนต ุ คจั ฉนั ตุ เทวะตาคะตา.

ขอเทวดาจงใหท้ านดว้ ยศรทั ธา จงรกั ษาศลี อยเู่ สมอ จงเปน็ ผยู้ นิ ดี
ในการภาวนา ขออัญเชญิ เทวดาทอี่ ยใู่ นท่ีนีก้ ลับสถานของตนเทอญ

๔. สพั เพ พทุ ธา พะลปั ปตั ตา ปจั เจกานญั จะ ยงั พะลงั
อะระหนั ตานญั จะ เตเชนะ รกั ขงั พนั ธามิ สพั พะโส.
ขา้ พเจา้ ขอผกู มนตค์ มุ้ ครอง ดว้ ยเดชของพระพทุ ธเจา้ ผทู้ รงพลา-

นุภาพ ด้วยเดชของพระปัจเจกพทุ ธเจา้ และดว้ ยเดชของพระอรหันต์
ทง้ั หลาย ไว้ท้งั หมด

64

ตำ�นานปตั ตทิ านคาถา

ปตั ตทิ านคาถา คอื คาถาอทุ ศิ สว่ นบญุ ผแู้ ปลสนั นษิ ฐานวา่ เปน็ คาถา

ประพันธ์ที่ประเทศไทย และคงประพันธ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยาหรือกรุงรัตน-
โกสินทร์ บางทา่ นกล่าววา่ เปน็ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี ๔ คาถานีป้ ระพันธ์
โดยองิ อาศยั ค�ำ อทุ ศิ สว่ นบญุ ของพระเจา้ จกั รพรรดติ โิ ลกวชิ ยั ทม่ี ปี รากฏในคมั ภรี ์
อปทาน (ข.ุ อป. ๓๒/๕๐-๒/๖) เพราะมีเนื้อความคลา้ ยคลึงกับคาถาเหลา่ น้ัน

ปัตติทานคาถา

๑. ปญุ ญสั สทิ านิ กะตสั สะ ยานญั ญานิ กะตานิ เม
เตสญั จะ ภาคโิ น โหนต ุ สตั ตานนั ตปั ปะมาณะกา.

ขอสัตว์ทั้งหลายหาประมาณมิได้ จงเป็นผู้ได้รับส่วนแห่งบุญที่
ขา้ พเจา้ ไดก้ ระท�ำ แลว้ ในบดั นี้ และจงเปน็ ผไู้ ดร้ บั สว่ นแหง่ บญุ ทขี่ า้ พเจา้
ได้กระทำ�แลว้ อ่นื ๆ

๒. เย ปยิ า คณุ วนั ตา จะ มยั หงั มาตาปติ าทะโย
ทฏิ ฐา เม จาปยฺ ะทฏิ ฐา วา อญั เญ มชั ฌตั ตะเวรโิ น.

บคุ คลเหล่าใดมีมารดาบดิ าเป็นต้น ผูเ้ ป็นท่ีรัก มีอปุ การะแก่
ขา้ พเจา้ และแมส้ ตั วเ์ หลา่ อนื่ ทง้ั ทเี่ คยเหน็ และไมเ่ คยเหน็ ทเี่ ปน็ กลาง
และทจี่ องเวรกันอยู่

๓. สตั ตา ตฏิ ฐนั ติ โลกสั มฺ งิ เย ภมุ มา จะตโุ ยนกิ า
ปญั เจกะจะตโุ วการา สงั สะรนั ตา ภะวาภะเว.

สัตว์ทง้ั หลายทีอ่ ยใู่ นโลก ที่เกิดในภมู ิ ไดก้ �ำ เนิดทง้ั ๔ ทีม่ ี
ขนั ธ์ ๕ ขันธ์ ๔ หรือขนั ธเ์ ดยี ว ท่องเท่ียวไปในภพน้อยภพใหญ่

65

๔. ญาตา เย ปตั ตทิ านงั เม อะนโุ มทนั ตุ เต สะยงั
เย จมิ งั นปั ปะชานนั ต ิ เทวา เตสงั นเิ วทะยงุ .

ขอสตั วเ์ หลา่ นนั้ จงเปน็ ผรู้ บั รกู้ ารแผส่ ว่ นบญุ ของขา้ พเจา้ จงรว่ ม
กนั อนโุ มทนา และขออญั เชญิ เทวดาไปแจง้ แกส่ ตั วผ์ รู้ บั รไู้ มไ่ ดด้ ว้ ยเทอญ

๕. มะยา ทนิ นานะ ปญุ ญานงั อะนโุ มทะนะเหตนุ า
สพั เพ สตั ตา สะทา โหนต ุ อะเวรา สขุ ะชวี โิ น.
เขมปั ปะทญั จะ ปปั โปนต ุ เตสาสา สชิ ฌะตงั สภุ า.

ดว้ ยการอนโุ มทนาบญุ ทขี่ า้ พเจา้ ไดก้ ระท�ำ แลว้ นี้ ขอสตั วท์ งั้ ปวง
จงเป็นผู้ปราศจากเวร มีชีวิตเป็นสุขเสมอ ขอให้บรรลุแดนเกษม และ
ขอความปรารถนาทด่ี ีงามของสตั ว์เหลา่ นนั้ จงสำ�เรจ็ เทอญ


Click to View FlipBook Version