The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือทำวัตรสวดมนต์ วัดหนองป่าพง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-24 22:40:41

คู่มือทำวัตรสวดมนต์ วัดหนองป่าพง

คู่มือทำวัตรสวดมนต์ วัดหนองป่าพง

Keywords: คู่มือทำวัตรสวดมนต์ วัดหนองป่าพง



 

คําทําวัตรเชา
คาํ บูชาพระรัตนตรยั

โย โส ภะคะวา อะระหัง สมั มาสมั พทุ โธ
พระผูมีพระภาคเจา นนั้ พระองคใ ด, เปนพระอรหนั ต,
ดับเพลงิ กิเลสเพลิงทกุ ขส้นิ เชงิ , ตรสั รูชอบไดโดยพระองคเ อง
สว๎ ากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม อานวา สะ-หวาก-ขา-โต (สะ
ออกเสียงแตน อ ยไมเ ต็มคาํ )
พระธรรม เปน ธรรมอันพระผมู ีพระภาคเจา พระองคใ ด, ตรสั ไวดแี ลว
สุปะฏิปน โน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆสาวกของพระผูมพี ระภาคเจา พระองคใ ด, ปฏิบตั ิดีแลว
ตมั มะยงั ภะคะวันตงั สะธัมมงั สะสังฆัง
อเิ มหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเ ตหิ อะภปิ ูชะยามะ
ขา พเจา ทง้ั หลาย, ขอบูชาอยา งยงิ่ ซึ่งพระผูม ีพระภาคเจา พระองคน ั้น
,พรอ มท้ังพระธรรมและพระสงฆ,
ดว ยเครอ่ื งสักการะทง้ั หลายเหลาน,้ี อันยกข้ึนตามสมควรแลวอยา งไร
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินพิ พโุ ตป
ขาแตพระองคผ เู จรญิ , พระผมู ีพระภาคเจา แมป รนิ พิ พานนานแลว ,
ทรงสรางคุณอนั สาํ เร็จประโยชนไวแกขา พเจา ทงั้ หลาย.
ปจ ฉมิ าชะนะตานกุ มั ปะมานะสา
ทรงมีพระหฤทยั อนุเคราะหแ กพ วกขาพเจา อนั เปน ชนรนุ หลัง



 

อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณ ณาการะภเู ต ปะฏิคคัณหาตุ
ขอพระผูมพี ระภาคเจา จงรบั เคร่อื งสกั การะ อนั เปน บรรณาการของคน
ยากทั้งหลายเหลาน้ี
อัมหากัง ทีฆะรตั ตัง หติ ายะ สุขายะ
เพอื่ ประโยชนและความสขุ แกขาพเจา ทง้ั หลาย ตลอดกาลนาน เทอญฯ
อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ ภะคะวา
พระผูม ีพระภาคเจา , เปน พระอรหันต, ดับเพลิงกเิ ลสเพลงิ ทุกขส ้ินเชงิ ,
ตรสั รูช อบไดโ ดยพระองคเ อง
พทุ ธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
ขาพเจาอภวิ าทพระผมู พี ระภาคเจา, ผรู ู ผตู ื่น ผูเบกิ บาน (กราบ)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม อา นวา สะ-หวาก-ขา-โต (สะออกเสียง
แตน อยไมเต็มคาํ )
พระธรรมเปน ธรรมทีพ่ ระผมู พี ระภาคเจา , ตรัสไวด ีแลว
ธัมมงั นะมสั สามิ
ขาพเจานมสั การพระธรรม (กราบ)

สุปะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆส าวกของพระผมู ีพระภาคเจา, ปฏบิ ัตดิ แี ลว
สังฆัง นะมามิ.
ขา พเจา นอบนอมพระสงฆ (กราบ)



 

ปพุ พภาคนมการ
(หนั ทะ มะยงั พทุ ธสั สะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการัง กะโร

มะ เส)
เชญิ เถิด เราทงั้ หลาย ทาํ ความนอบนอ มอนั เปนสวนเบอ้ื งตน แดพ ระผมู ี

พระภาคเจาเถิด

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต,
ขอนอบนอ มแดพระผมู พี ระภาคเจา พระองคนนั้
อะระหะโต,
ซ่งึ เปน ผูไ กลจากกเิ ลส
สมั มาสมั พทุ ธสั สะ.
ตรัสรชู อบไดโดยพระองคเอง.
(กลา ว ๓ คร้ัง)

พทุ ธาภิถตุ ิ
(หนั ทะ มะยัง พทุ ธาภิถุตงิ กะโรมะ เส)
เชญิ เถดิ เราท้งั หลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระพุทธเจาเถดิ

โย โส ตะถาคะโต
พระตถาคตเจานน้ั พระองคใ ด
อะระหัง
เปน ผไู กลจากกเิ ลส



 

สัมมาสมั พทุ โธ
เปนผตู รัสรชู อบไดโดยพระองคเ อง
วิชชาจะระณะสมั ปนโน
เปนผถู งึ พรอ มดวยวิชชาและจรณะ
สคุ ะโต
เปน ผูไปแลว ดวยดี
โลกะวิท
เปน ผูรโู ลกอยา งแจม แจง
อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทมั มะสาระถิ
เปน ผสู ามารถฝก บุรษุ ทส่ี มควรฝกไดอ ยางไมม ใี ครยงิ่ กวา
สตั ถา เทวะมะนุสสานงั
เปน ครูผูสอนของเทวดาและมนษุ ยท งั้ หลาย
พทุ โธ
เปนผูร ู ผูต่ืน ผเู บกิ บานดว ยธรรม
ภะคะวา
เปน ผมู คี วามจาํ เรญิ จําแนกธรรมสั่งสอนสตั ว

โย อมิ งั โลกงั สะเทวะกงั สะมาระกัง สะพร๎ หั ๎มะกงั , สัสสะ
มะณะพ๎ราห๎มะณิง
ปะชัง สะเทวะมะนุสสงั สะยงั อะภญิ ญา สัจฉิกตั ว๎ า ปะเวเทสิ
พระผูมีพระภาคเจา พระองคใด, ไดทรงทําความดบั ทุกขใ หแ จง ดว ย
พระปญญาอนั ย่ิงเองแลว ,



 

ทรงสอนโลกนพ้ี รอมทัง้ เทวดา มาร พรหม และหมูส ัตว พรอมทงั้ สมณ
พราหมณ,
พรอ มทั้งเทวดาและมนุษยใ หรตู าม
โย ธัมมงั เทเสสิ
พระผมู พี ระภาคเจา พระองคใด ทรงแสดงธรรมแลว
อาทกิ ัล๎ยาณัง
ไพเราะในเบื้องตน
มัชเฌกลั ย๎ าณงั
ไพเราะในทามกลาง
ปะรโิ ยสานะกลั ย๎ าณงั
ไพเราะในทส่ี ดุ
สาตถงั สะพ๎ยัญชะนงั เกวะละปะริปุณณัง ปะรสิ ุทธัง พร๎ หั ๎มะจะริ
ยัง ปะกาเสสิ
ทรงประกาศพรหมจรรย คอื แบบแหงการปฏบิ ัตอิ ันประเสริฐ บริสุทธิ์
บริบูรณ สิน้ เชิง,
พรอ มทงั้ อรรถะ (คาํ อธิบาย) พรอมทั้งพยญั ชนะ (หวั ขอ)
ตะมะหัง ภะคะวันตงั อะภิปูชะยามิ
ขา พเจาบูชาอยา งยิง่ เฉพาะพระผมู พี ระภาคเจา พระองคนั้น
ตะมะหงั ภะคะวันตงั สริ ะสา นะมามิ
ขาพเจานอบนอ มพระผูมีพระภาคเจา พระองคน ัน้ ดว ยเศียรเกลา
(กราบระลึกพระพทุ ธคุณ)



 

ธัมมาภิถตุ ิ
(หันทะ มะยงั ธมั มาภถิ ตุ ิง กะโรมะ เส)
เชิญเถดิ เราทง้ั หลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถิด

โย โส สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม
พระธรรมนน้ั ใด, เปน สงิ่ ทพ่ี ระผมู ีพระภาคเจาไดต รัสไวดแี ลว
สนั ทฏิ ฐโิ ก
เปนสิง่ ที่ผศู ึกษาและปฏบิ ัติพงึ เห็นไดด ว ยตนเอง
อะกาลโิ ก
เปนสิ่งท่ปี ฏิบัตไิ ด และใหผ ลไดไ มจาํ กัดกาล
เอหิปส สโิ ก
เปน สงิ่ ที่ควรกลา วกะผูอ น่ื วา ทา นจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก
เปนสิ่งทค่ี วรนอมเขามาใสต วั
ปจ จตั ตงั เวทิตัพโพ วิญูหิ
เปน สงิ่ ทผ่ี รู ูก ร็ ไู ดเ ฉพาะตน
ตะมะหงั ธมั มัง อะภิปชู ะยามิ
ขา พเจาบูชาอยางยิง่ เฉพาะพระธรรมนนั้
ตะมะหัง ธัมมัง สริ ะสา นะมามิ
ขาพเจานอบนอมพระธรรมนั้น ดว ยเศยี รเกลา
(กราบระลกึ พระธรรมคุณ)



 

สังฆาภิถตุ ิ
หนั ทะ มะยงั สงั ฆาภิถุตงิ กะโรมะ เส
เชิญเถดิ เราทงั้ หลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระสงฆเถิด

โย โส สปุ ะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆส าวกของพระผมู ีพระภาคเจานั้นหมูใด ปฏิบตั ิดีแลว
อุชปุ ะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
สงฆส าวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด ปฏบิ ัติตรงแลว
ญายะปะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆส าวกของพระผมู ีพระภาคเจาหมูใ ด, ปฏิบัตเิ พ่อื รูธรรมเปนเคร่ือง
ออกจากทกุ ขแลว
สามีจปิ ะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
สงฆส าวกของพระผูม พี ระภาคเจาหมูใ ด, ปฏบิ ตั สิ มควรแลว
ยะททิ ัง
ไดแ กบคุ คลเหลานีค้ ือ
จตั ตาริ ปุรสิ ะยคุ านิ อฏั ฐะ ปรุ ิสะปุคคะลา
คแู หงบรุ ุษ ๔ ค,ู นับเรยี งตัวบุรุษได ๘ บุรุษ*
* สี่คคู อื โสดาปตติมรรค โสดาปตติผล, สกิทาคามิมรรค สกิทาคามผิ ล,
อนาคามมิ รรค อนาคามผิ ล, อรหัตตมรรค อรหัตตผล.
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
นัน่ แหละสงฆส าวกของพระผูมีพระภาคเจา



 

อาหเุ นยโย
เปนสงฆควรแกสกั การะทเี่ ขานาํ มาบูชา
ปาหเุ นยโย
เปนสงฆค วรแกส กั การะทเี่ ขาจดั ไวตอ นรับ
ทักขเิ ณยโย
เปนผคู วรรบั ทักษิณาทาน
อญั ชะลกิ ะระณีโย
เปนผูท ่บี ุคคลทวั่ ไปควรทาํ อญั ชลี
อะนตุ ตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ
เปน เนื้อนาบุญของโลก, ไมมนี าบญุ อืน่ ยิ่งกวา
ตะมะหงั สงั ฆัง อะภิปูชะยามิ
ขา พเจาบูชาอยางยงิ่ เฉพาะพระสงฆห มนู นั้
ตะมะหัง สงั ฆัง สริ ะสา นะมามิ
ขาพเจา นอบนอมพระสงฆห มนู นั้ ดว ยเศยี รเกลา
(กราบระลึกพระสงั ฆคณุ )

รตนตั ตยปั ปณามคาถา
(หนั ทะ มะยัง ระตะนตั ตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ
สงั เวคะวัตถุปะริกิตตะนะปาฐญั จะ ภะณามะ เส)
เชญิ เถดิ เราท้ังหลาย กลาวคาํ นอบนอ มพระรัตนตรัยและบาลที ก่ี าํ หนด

วัตถเุ ครอ่ื งแสดงความสงั เวชเถิด



 

พุทโธ สุสทุ โธ กะรุณามะหัณณะโว
พระพุทธเจา ผูบริสทุ ธิ์ มีพระกรณุ าดุจหว งมหรรณพ
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน
พระองคใ ด มตี าคอื ญาณอนั ประเสรฐิ หมดจดถงึ ทสี่ ุด
โลกสั สะ ปาปปู ะกเิ ลสะฆาตะโก
เปนผูฆ าเสียซง่ึ บาปและอุปกิเลสของโลก
วนั ทามิ พทุ ธงั อะหะมาทะเรนะ ตงั
ขา พเจา ไหวพ ระพทุ ธเจา พระองคนนั้ โดยใจเคารพเออ้ื เฟอ
ธมั โม ปะทโี ป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน
พระธรรมของพระศาสดา สวางรงุ เรอื งเปรยี บดวงประทีป
โย มัคคะปากามะตะเภทะภนิ นะโก
จําแนกประเภท คอื มรรค ผล นพิ พาน, สว นใด
โลกุตตะโร โย จะ ตะทตั ถะทปี ะโน
ซงึ่ เปน ตวั โลกตุ ตระ, และสว นใดท่ีชี้แนวแหง โลกุตตระนนั้
วันทามิ ธมั มงั อะหะมาทะเรนะ ตัง
ขา พเจา ไหวพ ระธรรมน้ัน โดยใจเคารพเอ้อื เฟอ
สงั โฆ สุเขตตาภ๎ยะตเิ ขตตะสญั ญิโต
พระสงฆเ ปนนาบุญอันยง่ิ ใหญกวานาบญุ อันดที ้งั หลาย
โย ทฏิ ฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก
เปน ผูเห็นพระนพิ พาน, ตรสั รูตามพระสคุ ต, หมใู ด
โลลปั ปะหีโน อะรโิ ย สุเมธะโส

10 

 

เปน ผลู ะกิเลสเครือ่ งโลเลเปน พระอริยเจา มปี ญญาดี
วันทามิ สังฆงั อะหะมาทะเรนะ ตัง
ขาพเจาไหวพระสงฆห มูนน้ั โดยใจเคารพเอือ้ เฟอ
อิจเจวะเมกันตะภิปชู ะเนยยะกงั , วัตถตุ ตะยงั วันทะยะตาภิสังขะ
ตัง,
ปุญญงั มะยา ยงั มะมะ สัพพปุ ททะวา,มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะ
ภาวะสิทธิยา
บุญใดท่ีขาพเจา ผไู หวอยซู งึ่ วตั ถุสาม, คอื พระรัตนตรยั อนั ควรบชู าย่ิง
โดยสวนเดยี ว,
ไดกระทําแลว เปน อยางยิ่งเชน น,้ี ขออปุ ท วะ(ความชั่ว) ทงั้ หลาย,
จงอยา มแี กขา พเจา เลย, ดวยอาํ นาจความสาํ เร็จอนั เกดิ จากบุญนั้น

สังเวคปริกติ ตนปาฐะ

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อปุ ปนโน
พระตถาคตเจาเกดิ ขนึ้ แลวในโลกน้ี
อะระหัง สัมมาสมั พทุ โธ
เปน ผไู กลจากกิเลส ตรัสรชู อบไดโ ดยพระองคเอง
ธัมโม จะ เทสิโต นยิ ยานิโก
และพระธรรมทที่ รงแสดงเปนธรรมเครอื่ งออกจากทกุ ข
อุปะสะมโิ ก ปะรนิ ิพพานโิ ก
เปน เครือ่ งสงบกิเลส, เปนไปเพอื่ ปรนิ ิพพาน

11 

 

สัมโพธะคามี สคุ ะตปั ปะเวทโิ ต
เปน ไปเพ่ือความรพู รอ ม, เปนธรรมท่ีพระสุคตประกาศ
มะยนั ตัง ธมั มงั สตุ ว๎ า เอวงั ชานามะ
พวกเราเมอ่ื ไดฟง ธรรมนน้ั แลว , จึงไดร อู ยางนว้ี า
ชาติป ทุกขา
แมความเกดิ ก็เปน ทุกข
ชะราป ทุกขา
แมความแกก็เปนทกุ ข
มะระณมั ป ทุกขงั
แมความตายก็เปน ทกุ ข
โสกะปะรเิ ทวะทุกขะโทมะนัสสปุ ายาสาป ทกุ ขา
แมค วามโศก ความราํ่ ไรราํ พัน ความไมส บายกาย
ความไมส บายใจ ความคบั แคน ใจ ก็เปน ทกุ ข
อปั ปเ ยหิ สัมปะโยโค ทกุ โข
ความประสบกบั ส่งิ ไมเปนทรี่ ักท่ีพอใจ ก็เปนทกุ ข
ปเ ยหิ วปิ ปะโยโค ทุกโข
ความพลดั พรากจากสิ่งเปน ทรี่ กั ทพ่ี อใจ กเ็ ปน ทกุ ข
ยมั ปจฉงั นะ ละภะติ ตัมป ทุกขงั
มคี วามปรารถนาสง่ิ ใดไมไดสิง่ นน้ั นนั่ กเ็ ปนทุกข
สงั ขติ เตนะ ปญ จปุ าทานักขันธา ทุกขา
วาโดยยอ อปุ าทานขันธท ง้ั ๕ เปนตวั ทกุ ข

12 

 

เสยยะถที งั
ไดแกส ง่ิ เหลานีค้ อื
รูปปู าทานักขนั โธ
ขันธ อนั เปนที่ตั้งแหงความยึดมน่ั คอื รูป
เวทะนปู าทานักขันโธ
ขนั ธ อันเปน ท่ตี ัง้ แหง ความยดึ มน่ั คือเวทนา
สญั ูปาทานักขันโธ
ขนั ธ อนั เปน ท่ีตงั้ แหง ความยึดมน่ั คอื สญั ญา
สงั ขารปู าทานักขันโธ
ขนั ธ อันเปนทตี่ ง้ั แหง ความยึดม่นั คอื สงั ขาร
วญิ ญาณปู าทานักขนั โธ
ขันธ อนั เปน ท่ตี ้งั แหงความยึดมน่ั คอื วิญญาณ
เยสงั ปะริญญายะ
เพือ่ ใหสาวกกําหนดรอบรอู ุปาทานขนั ธเ หลา นี้เอง
ธะระมาโน โส ภะคะวา
จึงพระผมู ีพระภาคเจา นน้ั เมอื่ ยังทรงพระชนมอยู
เอวงั พะหุลงั สาวะเก วเิ นติ
ยอมทรงแนะนําสาวกทง้ั หลาย, เชนนเ้ี ปนสวนมาก
เอวงั ภาคา จะ ปะนสั สะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุ
ลา ปะวัตตะติ
อนึ่งคาํ สงั่ สอนของพระผูมีพระภาคเจานั้นยอ มเปนไปในสาวกทง้ั หลาย,

13 

 

สวนมากมสี ว นคอื การจาํ แนกอยา งน้วี า
รปู ง อะนิจจงั
รปู ไมเ ทยี่ ง
เวทะนา อะนิจจา
เวทนาไมเ ทยี่ ง
สัญญา อะนิจจา
สัญญาไมเทย่ี ง
สังขารา อะนิจจา
สังขารไมเที่ยง
วญิ ญาณัง อะนจิ จงั
วิญญาณไมเ ที่ยง
รูปง อะนัตตา
รปู ไมใชตวั ตน
เวทะนา อะนตั ตา
เวทนาไมใ ชต ัวตน
สัญญา อะนตั ตา
สญั ญาไมใชต ัวตน
สังขารา อะนัตตา
สงั ขารไมใ ชตวั ตน
วญิ ญาณงั อะนัตตา
วญิ ญาณไมใ ชต วั ตน

14 

 

สัพเพ สงั ขารา อะนิจจา
สังขารท้งั หลายทัง้ ปวง ไมเ ที่ยง
สพั เพ ธมั มา อะนตั ตาติ
ธรรมทั้งหลายท้ังปวง ไมใชต ัวตน, ดังน้ี

เต (ตา) คําในวงเลบ็ สาํ หรบั ผหู ญงิ วา มะยงั โอตณิ ณามหะ
พวกเราทงั้ หลายเปนผูถูกครอบงาํ แลว
ชาติยา
โดยความเกดิ
ชะรามะระเณนะ
โดยความแกแ ละความตาย
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนสั เสหิ อปุ ายาเสหิ
โดยความโศก ความรํา่ ไรรําพัน ความไมสบายกาย
ความไมส บายใจ ความคบั แคนใจทงั้ หลาย
ทุกโขติณณา
เปน ผถู ูกความทกุ ขห ย่ังเอาแลว
ทกุ ขะปะเรตา
เปนผมู ีความทกุ ขเ ปน เบอ้ื งหนาแลว
อปั เปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทกุ ขักขนั ธัสสะ
อันตะกิริยา ปญ ญาเยถาติ
ทําไฉนการทาํ ทส่ี ดุ แหงกองทุกขทัง้ ส้นิ น,ี้ จะพึงปรากฏชดั แกเ ราได

สาํ หรับ พระภกิ ษุ - สามเณรสวด

15 

 

จิระปะรินิพพุตัมป ตงั ภะคะวันตัง อทุ ทสิ สะ อะระหนั ตงั
สมั มาสมั พุทธงั
เราท้งั หลาย อทุ ศิ เฉพาะพระผูมีพระภาคเจา , ผูไกลจากกิเลส
ตรสั รชู อบไดโดยพระองคเอง, แมปรินิพพานนานแลว, พระองคน นั้
สัทธา อะคารสั ๎มา อะนะคารยิ งั ปพพะชติ า
เปนผูมศี รทั ธา ออกบวชจากเรือน ไมเกย่ี วของดวยเรอื นแลว
ตัส๎มิง ภะคะวะติ พร๎ ห๎มะจะริยงั จะรามะ
ประพฤตอิ ยซู ง่ึ พรหมจรรย ในพระผูม ีพระภาคเจา พระองคนนั้
ภกิ ขนู ัง สิกขาสาชีวะสะมาปน นา
ถงึ พรอ มดว ยสกิ ขาและธรรมเปน เครอื่ งเล้ียงชีวิตของภกิ ษุทง้ั หลาย
ตงั โน พ๎รห๎มะจะรยิ ัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะ
กิรยิ ายะ สังวตั ตะตุ
ขอใหพรหมจรรยข องเราทงั้ หลายนน้ั , จงเปน ไปเพ่อื การทําท่ีสดุ แหง กอง
ทกุ ขท ัง้ สนิ้ นี้ เทอญ

สาํ หรบั อบุ าสก, อุบาสกิ า

จิระปะรินพิ พุตมั ป ตัง ภะคะวันตัง สะระณังคะตา
เราทงั้ หลาย ผูถึงแลวซง่ึ พระผมู ีพระภาคเจา ,
แมป รนิ พิ พานนานแลวพระองคนั้น เปนสรณะ
ธมั มญั จะ สังฆัญจะ
ถงึ พระธรรมดวย ถึงพระสงฆด ว ย

16 

 

ตสั สะ ภะคะวะโต สาสะนงั , ยะถาสะติ, ยะถาพะลัง
มะนะสิกะโรมะ อะนปุ ะฏิปชชามะ
จกั ทําในใจอยู ปฏบิ ัตติ ามอยู ซึ่งคําสง่ั สอนของพระผูมพี ระภาคเจาน้นั
ตามสตกิ าํ ลัง
สา สา โน ปะฏปิ ตติ
ขอใหความปฏบิ ัติน้ันๆ ของเราทัง้ หลาย
อิมสั สะ เกวะลสั สะ ทกุ ขกั ขนั ธสั สะ อนั ตะกริ ยิ ายะ สงั วตั ตะตุ
จงเปน ไปเพอ่ื การทาํ ท่สี ดุ แหง กองทกุ ขท ้ังสิน้ น้ี เทอญ

(จบคาํ ทาํ วัตรเชา)

คาํ แผเมตตา
(หนั ทะ มะยัง เมตตาผะระณงั กะโรมะ เส)

อะหัง สุขิโต โหมิ
ขอใหขา พเจา จงเปน ผถู ึงสุข
นิททกุ โข โหมิ
จงเปน ผไู รทุกข
อะเวโร โหมิ
จงเปนผูไ มม เี วร
อัพฺยาปชโฌ โหมิ (อานวา อบั -พะ-ยา)

17 

 

จงเปนผไู มเ บียดเบยี นซง่ึ กันและกนั
อะนีโฆ โหมิ
จงเปน ผไู มม ที ุกข
สขุ ี อัตตานัง ปะริหะรามิ
จงรกั ษาตนอยูเปน สุขเถดิ
สพั เพ สตั ตา สุขิตา โหนตุ
ขอสตั วทง้ั หลายทง้ั ปวงจงเปน ผูถ ึงความสุข
สัพเพ สตั ตา อะเวรา โหนตุ
ขอสัตวทง้ั หลายทง้ั ปวงจงเปนผูไมมเี วร
สพั เพ สตั ตา อพั ฺยาปช ฌา โหนตุ
ขอสัตวท งั้ หลายทงั้ ปวงจงอยา ไดเ บียดเบียนซง่ึ กนั และกัน
สพั เพ สตั ตา อะนีฆา โหนตุ
ขอสัตวท ง้ั หลายทง้ั ปวงจงเปนผไู มม ที กุ ข
สพั เพ สตั ตา สขุ ี อัตตานัง ปะรหิ ะรนั ตุ
ขอสัตวท งั้ หลายทงั้ ปวงจงรักษาตนอยูเ ปนสขุ เถดิ
สพั เพ สตั ตา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
ขอสตั วท งั้ หลายทง้ั ปวงจงพนจากทกุ ขท ั้งมวล
สัพเพ สตั ตา ลทั ธะสมั ปต ติโต มา วิคัจฉันตุ
ขอสตั วท งั้ หลายทง้ั ปวงจงอยาไดพ รากจากสมบัตอิ ันตนไดแ ลว
สพั เพ สตั ตา กมั มสั สะกา กมั มะทายาทา
กัมมะโยนิ กมั มะพนั ธุ กมั มะปะฏิสะระณา

18 

 

สัตวทง้ั หลายทงั้ ปวงมีกรรมเปนของของตน, มีกรรมเปนผูใหผ ล,
มกี รรมเปน แดนเกดิ , มีกรรมเปน ผูต ดิ ตาม,มีกรรมเปนที่พึง่ อาศย
ยงั กมั มงั กะรัสสันต,ิ กลั ฺยาณงั วา ปาปะกัง วา,
ตัสสะ ทายาทา ภาวสิ สนั ติ
จักทาํ กรรมอนั ใดไว, เปนบุญหรือเปน บาป,
จกั ตองเปน ผไู ดร บั ผลกรรมนั้นๆ สืบไป

ท๎วัตติงสาการปาฐะ
(หันทะ มะยัง ท๎วัตตงิ สาการะปาฐงั ภะณามะ เส)
เชิญเถดิ เราทั้งหลาย จงกลา วคาถาแสดงอาการ ๓๒ ในรา งกายเถิด

อะยัง โข เม กาโย
กายของเรานแ้ี ล
อุทธัง ปาทะตะลา
เบ้อื งบนแตพ นื้ เทา ข้นึ มา
อะโธ เกสะมตั ถะกา
เบือ้ งต่าํ แตปลายผมลงไป
ตะจะปะรยิ นั โต
มีหนงั หมุ อยเู ปน ทส่ี ุดรอบ
ปูโรนานัปปะการัสสะ อะสุจโิ น

19 

 

เตม็ ไปดว ยของไมสะอาด มปี ระการตา งๆ

อัตถิ อมิ ัสมงิ กาเย มอี ยใู นกายน้ี

เกสา คือผมท้ังหลาย

โลมา คอื ขนทัง้ หลาย

นะขา คอื เล็บทง้ั หลาย

ทันตา คือฟนทง้ั หลาย

ตะโจ หนงั

มังสงั เนอ้ื

นะหารู เอน็ ทง้ั หลาย

อัฏฐี กระดูกท้ังหลาย

อฏั ฐิมิญชัง เยื่อในกระดูก

วกั กัง ไต

หะทะยัง หัวใจ

ยะกะนัง ตับ

กิโลมะกัง พังผดื

ปหะกงั มา ม

ปปผาสงั ปอด

อนั ตัง ไสใหญ

อนั ตะคุณัง สายรัดไส

20 

  อาหารใหม
อาหารเกา
อทุ ะรยิ งั น้าํ ดี
กะรีสงั นาํ้ เสลด
ปตตัง น้ําเหลอื ง
เสมหงั น้าํ เลือด
ปพุ โพ นํ้าเหงอ่ื
โลหติ งั นา้ํ มันขน
เสโท นาํ้ ตา
เมโท น้ํามันเหลว
อัสสุ นํ้าลาย
วะสา น้ํามกู
เขโฬ น้าํ มันไขขอ
สิงฆาณกิ า นํา้ มูตร
ละสกิ า เย่ือในสมอง
มตุ ตัง กายของเรานี้อยา งนี้
มัตถะเกมัตถะลงุ คัง
เอวะมะยงั เม กาโย เบือ้ งบนแตพ้ืนเทา ขึน้ มา
อุทธงั ปาทะตะลา เบอ้ื งต่าํ แตปลายผมลงไป
อะโธเกสะมัตถะกา มหี นังหมุ อยูเ ปน ทส่ี ดุ รอบ
ตะจะปะรยิ นั โต

21 

 

ปูโรนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน
เตม็ ไปดวยของไมสะอาด มปี ระการตา งๆ อยา งน้แี ลฯ

อภณิ หปจ จเวกขณปาฐะ
(หนั ทะ มะยัง อะภิณหะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)
เชิญเถิดเราทัง้ หลาย มาสวดอภณิ หปจ จเวกขณะปาฐะกนั เถดิ

ชะราธมั โมมหิ ชะรัง อะนะตโี ต (อะนะตีตา) คาํ ในวงเล็บสาํ หรับ
ผหู ญงิ วา
เรามคี วามแกเปน ธรรมดาจะลว งพนความแกไ ปไมไ ด
พย๎ าธิธัมโมมหิ พ๎ยาธิง อะนะตโี ต (อะนะตีตา) คําในวงเล็บสาํ หรบั
ผูหญิงวา
เรามคี วามเจ็บไขเปนธรรมดา จะลวงพน ความเจบ็ ไขไ ปไมไ ด
มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตโี ต (อะนะตีตา) คาํ ในวงเล็บ
สาํ หรบั ผูหญงิ วา
เรามคี วามตายเปน ธรรมดาจะลวงพนความตายไปไมได
สัพเพหิ เม ปเ ยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วนิ าภาโว
เราจะละเวนเปนตา งๆ, คอื วา จะตองพลดั พรากจากของรกั ของเจริญใจ
ทงั้ หลายทัง้ ปวง
กมั มัสสะโกมหิ กมั มะทายาโท กัมมะโยนิ

22 

 

กมั มะพันธุ กมั มะปะฏสิ ะระโณ (ณา) คาํ ในวงเล็บสําหรับผูห ญงิ วา
เราเปนผูมกี รรมเปน ของๆตน, มีกรรมเปน ผใู หผ ล,
มีกรรมเปนแดนเกดิ , มีกรรมเปนผตู ดิ ตาม, มกี รรมเปนท่ีพ่ึงอาศยั
ยงั กมั มงั กะริสสามิ, กลั ยาณัง วา ปาปะกงั วา,
ตัสสะ ทายาโท (ทา) คาํ ในวงเลบ็ สําหรบั ผูห ญิงวา ภะวสิ สาม
เราทาํ กรรมอันใดไว, เปนบุญหรอื เปน บาป,
เราจะเปน ทายาท, คอื วา เราจะตองไดร ับผลของกรรมนน้ั ๆ สบื ไป
เอวัง อมั เหหิ อะภณิ หงั ปจ จะเวกขติ พั พัง
เราทั้งหลายควรพิจารณาอยางนที้ ุกวนั ๆ เถดิ

บทพจิ ารณาสงั ขาร
(ทกุ เวลาทําวัตรเชา และเวลาเขานอน)

(หนั ทะ มะยงั ธัมมะสงั เวคะปจ จะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)
เชญิ เถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพจิ ารณาธรรมสงั เวชเถดิ

สัพเพ สงั ขารา อะนจิ จา
สงั ขารคอื รางกายจติ ใจ, แลรูปธรรมนามธรรมทัง้ หมดทงั้ ส้ิน,
มนั ไมเทยี่ ง, เกดิ ขึ้นแลวดบั ไปมแี ลว หายไป
สัพเพ สงั ขารา ทุกขา

23 

 

สังขารคือรางกายจติ ใจ, แลรูปธรรมนามธรรมท้งั หมดทงั้ ส้นิ ,
มันเปน ทกุ ขทนยาก, เพราะเกิดขนึ้ แลว แกเ จบ็ ตายไป
สัพเพ ธมั มา อะนัตตา
สิ่งท้งั หลายทั้งปวง, ท้ังทีเ่ ปน สงั ขารแลมใิ ชส งั ขารทงั้ หมดทงั้ สนิ้ ,
ไมใ ชตัวไมใชตน, ไมค วรถือวาเราวาของเราวา ตวั วาตนของเรา
อะธุวัง ชวี ิตัง
ชวี ติ เปน ของไมยง่ั ยืน
ธวุ งั มะระณงั
ความตายเปนของยั่งยนื
อะวัสสัง มะยา มะริตพั พัง
อนั เราจะพงึ ตายเปนแท
มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตงั
ชวี ติ ของเรามีความตายเปน ทส่ี ุดรอบ
ชวี ติ ัง เม อะนยิ ะตัง
ชีวิตของเราเปนของไมเที่ยง
มะระณัง เม นยิ ะตงั
ความตายของเราเปนของเที่ยง
วะตะ
ควรทจี่ ะสงั เวช
อะยงั กาโย อะจิรงั
รางกายน้ีมไิ ดต้ังอยนู าน

24 

 

อะเปตะวญิ ญาโณ
ครนั้ ปราศจากวญิ ญาณ
ฉฑุ โฑ
อนั เขาทิง้ เสยี แลว
อธิเสสสะติ
จักนอนทบั
ปะฐะวงิ
ซ่งึ แผน ดนิ
กะลงิ คะรงั อวิ ะ
ประดจุ ดังวา ทอนไมและทอนฟน
นิรตั ถงั
หาประโยชนม ิได
อะนิจจา วะตะ สังขารา
สงั ขารทงั้ หลายไมเ ทีย่ งหนอ
อุปปาทะวะยะธัมมโิ น
มคี วามเกิดขึน้ แลวมคี วามเสือ่ มไปเปนธรรมดา
อุปปช ชติ ฺวา นริ ชุ ฌนั ติ
ครั้นเกดิ ขึน้ แลวยอมดับไป
เตสัง วปู ะสะโม สุโข
ความเขา ไปสงบระงับสงั ขารท้ังหลาย, เปน สุขอยา งย่งิ , ดงั น้ี

25 

 

สัพพปต ติทานคาถา
(หนั ทะ มะยัง สพั พะปตตทิ านะคาถาโย ภะณามะ เส)
เชญิ เถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแผส วนบญุ ใหแ กสรรพสตั วท งั้ หลาย

เถิด

ปุญญสั สิทานิ กะตสั สะ ยานัญญานิ กะตานิ เม,
เตสัญจะ ภาคโิ น โหนตุ สตั ตานันตาปปะมาณะกา
สัตวท้ังหลาย ไมม ที สี่ ดุ ไมม ปี ระมาณ, จงมสี ว นแหง บญุ ที่ขา พเจาไดทํา
ในบัดนี้,
และแหง บญุ อน่ื ทไ่ี ดท าํ ไวกอ นแลว
เย ปยา คณุ ะวนั ตา จะ มัยหงั มาตาปต าทะโย,
ทฏิ ฐา เม จาป๎ยะทิฏฐา วา อญั เญ มัชฌตั ตะเวรโิ น
คือจะเปน สตั วเหลาใด, ซ่ึงเปนที่รักใครและมีบญุ คณุ ,
เชน มารดาบดิ าของขาพเจา เปน ตน กด็ ี ทข่ี า พเจา เหน็ แลว หรือไมไดเ หน็
กด็ ี,
สตั วเ หลา อืน่ ท่ีเปน กลางๆหรือเปน คูเวรกัน กด็ ี
สตั ตา ตฏิ ฐันติ โลกสั ๎มิง เตภุมมา จะตุโยนิกา,
ปญเจกะจะตโุ วการา สงั สะรันตา ภะวาภะเว
สตั วท งั้ หลายตั้งอยูในโลก, อยใู นภูมทิ งั้ สาม, อยใู นกาํ เนิดท้งั ส,ี่
มีขันธหา ขนั ธ มขี นั ธขนั ธเ ดียว มขี นั ธส ีข่ ันธ, กาํ ลงั ทอ งเทย่ี วอยใู นภพ
นอ ยภพใหญ กด็ ี

26 

 

ญาตัง เย ปตติทานมั เม อะนโุ มทันตุ เต สะยัง,
เย จมิ ัง นปั ปะชานนั ติ เทวา เตสงั นิเวทะยงุ ,
สตั วเ หลา ใด รสู ว นบุญทข่ี า พเจา แผใหแลว , สัตวเหลานัน้ จงอนโุ มทนา
เองเถิด,
สวนสัตวเหลา ใดยงั ไมรสู วนบญุ น,้ี ขอเทวดาท้ังหลาย, จงบอกสตั ว
เหลานน้ั ใหร ู
มะยา ทนิ นานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะเหตุนา,
สพั เพ สตั ตา สะทา โหนตุ อะเวรา สขุ ะชวี ิโน,
เขมัปปะทัญจะ ปป โปนตุ เตสาสา สชิ ฌะตัง สภุ า
เพราะเหตุทีไ่ ดอ นโุ มทนาสว นบญุ ทข่ี าพเจา แผใหแ ลว ,
สตั วท ัง้ หลายท้งั ปวง, จงเปนผไู มม ีเวร, อยูเปนสขุ ทกุ เมอ่ื , จงถึงบทอัน
เกษม,
กลา วคือพระนิพพาน, ความปรารถนาทดี่ ีงามของสตั วเหลา นนั้ จงสําเร็จ
เถิด

คาํ ทําวัตรเย็น
คาํ บชู าพระรตั นตรยั

โย โส ภะคะวา อะระหงั สมั มาสมั พุทโธ,
พระผมู ีพระภาคเจา นน้ั พระองคใด, เปนพระอรหันต,

27 

 

ดับเพลงิ กเิ ลสเพลงิ ทกุ ขส ้นิ เชิง, ตรสั รูชอบไดโดยพระองคเอง
สว๎ ากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธมั โม, อา นวา สะ-หวาก-ขา-โต (สะ
ออกเสียงแตนอ ยไมเต็มคาํ )
พระธรรม เปนธรรมอนั พระผมู พี ระภาคเจา พระองคใด, ตรสั ไวด ีแลว
สุปะฏปิ น โน ยสั สะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา พระองคใด, ปฏิบตั ิดีแลว
ตมั มะยัง ภะคะวันตงั สะธัมมัง สะสงั ฆัง,
อเิ มหิ สกั กาเรหิ ยะถาระหงั อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ,
ขาพเจาทง้ั หลาย, ขอบูชาอยา งยิง่ ซง่ึ พระผมู พี ระภาคเจา พระองคนน้ั
,พรอมทง้ั พระธรรมและพระสงฆ,
ดว ยเครือ่ งสักการะทัง้ หลายเหลาน,ี้ อันยกขน้ึ ตามสมควรแลวอยา งไร
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สจุ ิระปะรินิพพุโตป,
ขา แตพระองคผเู จริญ, พระผูมีพระภาคเจาแมป รินิพพานนานแลว ,
ทรงสรา งคุณอนั สาํ เรจ็ ประโยชนไ วแกข า พเจาทั้งหลาย.
ปจ ฉิมาชะนะตานุกมั ปะมานะสา,
ทรงมีพระหฤทยั อนเุ คราะหแ กขา พเจา อันเปนชนรนุ หลงั
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณ ณาการะภูเต ปะฏคิ คัณหาต,ุ
ขอพระผูมีพระภาคเจา จงรับเครอ่ื งสักการะ อนั เปน บรรณาการของคน
ยากท้ังหลายเหลานี้
อมั หากงั ทฆี ะรตั ตงั หิตายะ สขุ ายะ,

28 

 

เพือ่ ประโยชนและความสขุ แกพวกขาพเจาทงั้ หลาย ตลอดกาลนาน
เทอญฯ
อะระหัง สมั มาสมั พุทโธ ภะคะวา,
พระผมู พี ระภาคเจา , เปนพระอรหนั ต, ดับเพลิงกเิ ลสเพลงิ ทกุ ขส นิ้ เชงิ ,
ตรสั รูชอบไดโดยพระองคเอง
พทุ ธงั ภะคะวันตัง อะภวิ าเทม,ิ
ขา พเจาอภวิ าทพระผูมพี ระภาคเจา , ผรู ู ผตู นื่ ผเู บิกบาน (กราบ)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, อานวา สะ-หวาก-ขา-โต (สะออกเสียง
แตน อยไมเตม็ คาํ )
พระธรรมเปนธรรมทพ่ี ระผมู พี ระภาคเจา , ตรสั ไวดแี ลว
ธมั มัง นะมัสสามิ
ขาพเจา นมสั การพระธรรม (กราบ)
สปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆส าวกของพระผูมีพระภาคเจา , ปฏบิ ตั ิดแี ลว
สังฆงั นะมามิ.
ขาพเจา นอบนอมพระสงฆ (กราบ)

ปุพพภาคนมการ
(หนั ทะ มะยงั พทุ ธสั สะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโร

มะ เส)

29 

 

เชญิ เถดิ เราท้ังหลาย ทําความนอบนอ มอนั เปน สวนเบอ้ื งตน แดพ ระผมู ี
พระภาคเจาเถดิ

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต,
ขอนอบนอ มแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคน ัน้
อะระหะโต,
ซ่ึงเปน ผูไกลจากกเิ ลส
สัมมาสมั พุทธัสสะ.
ตรสั รชู อบไดโ ดยพระองคเ อง.
(กลา ว ๓ ครงั้ )

พทุ ธานุสสติ
(หันทะ มะยงั พทุ ธานสุ สะตินะยัง กะโรมะ เส)
เชญิ เถดิ เราทง้ั หลาย ทําความตามระลกึ ถึงพระพุทธเจา เถิด

ตงั โข ปะนะ ภะคะวนั ตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภคุ คะโต,
กก็ ติ ตศิ ัพทอนั งามของพระผูม พี ระภาคเจานน้ั , ไดฟ ุงไปแลว อยา งนว้ี า :-
อิติป โส ภะคะวา,
เพราะเหตุอยา งนๆ้ี , พระผูมพี ระภาคเจานน้ั
อะระหัง,
เปนผไู กลจากกิเลส
สัมมาสมั พทุ โธ,

30 

 

เปน ผตู รสั รูชอบไดโ ดยพระองคเ อง

วิชชาจะระณะสัมปน โน,
เปน ผูถ ึงพรอ มดวยวิชชาและจรณะ

สุคะโต,
เปน ผไู ปแลวดวยดี

โลกะวทิ ู,
เปนผูรูโลกอยางแจม แจง

อะนตุ ตะโร ปุรสิ ะทมั มะสาระถ,ิ
เปนผสู ามารถฝกบุรษุ ท่สี มควรฝกไดอ ยา งไมม ีใครย่ิงกวา

สตั ถา เทวะมะนุสสานัง,
เปนครูผสู อนของเทวดาและมนษุ ยท งั้ หลาย

พทุ โธ,
เปน ผูรู ผตู ่นื ผูเบิกบานดวยธรรม
ภะคะวา ติ.
เปนผูมีความจําเรญิ จาํ แนกธรรมสั่งสอนสตั ว, ดังน้ี

พทุ ธาภิคีติ
(หันทะ มะยงั พทุ ธาภิคีตงิ กะโรมะ เส)
เชญิ เถดิ เราท้งั หลาย ทําความขบั คาถา พรรณนาเฉพาะพระพุทธเจา

เถิด

31 

 

พุทธ๎ะวาระหันตะวะระตาทคิ ณุ าภิยุตโต,
พระพุทธเจา ประกอบดว ยคณุ , มีความประเสริฐแหง อรหันตคณุ เปนตน
สทุ ธาภิญาณะกะรณุ าหิ สะมาคะตัตโต,
มพี ระองคอ ันประกอบดวยพระญาณ, และพระกรณุ าอนั บริสทุ ธ์ิ
โพเธสิ โย สุชะนะตงั กะมะลงั วะ สูโร,
พระองคใดทรงกระทําชนทีด่ ใี หเ บกิ บาน, ดจุ อาทติ ยทําบวั ใหบ าน
วันทามะหงั ตะมะระณัง สริ ะสา ชิเนนทงั ,
ขา พเจาไหวพ ระชนิ สหี ผูไ มม กี ิเลสพระองคนน้ั ดว ยเศยี รเกลา
พุทโธ โย สพั พะปาณนี งั สะระณงั เขมะมุตตะมงั ,
พระพุทธเจา พระองคใ ดเปน สรณะอันเกษมสูงสุดของสัตวทั้งหลาย
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วนั ทามิ ตงั สเิ รนะหัง,
ขาพเจา ไหวพ ระพทุ ธเจา พระองคนนั้ อันเปน ทต่ี ง้ั แหง ความระลกึ องคท ี่
หนึง่ ดวยเศยี รเกลา
พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ), คาํ ในวงเล็บสําหรับผูหญิงวา
พุทโธ เม สามกิ สิ สะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระพทุ ธเจา , พระพทุ ธเจา เปนนายมอี ิสระเหนอื
ขาพเจา,
พทุ โธ ทุกขสั สะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หติ สั สะ เม,
พระพทุ ธเจาเปนเคร่อื งกําจดั ทกุ ข, และทรงไวซ งึ่ ประโยชนแ กขาพเจา
พทุ ธสั สาหัง นิยยาเทมิ สะรีรญั ชีวิตญั จทิ ัง,

32 

 

ขา พเจา มอบกายถวายชวี ิตนีแ้ ดพ ระพทุ ธเจา
วันทนั โตหัง (วันทันตีหัง) คําในวงเลบ็ สาํ หรบั ผูหญิงวา จะรสิ สามิ,
พทุ ธสั เสวะ สโุ พธิตัง,
ขาพเจา ผไู หวอ ยจู กั ประพฤติตาม, ซ่ึงความตรัสรดู ีของพระพทุ ธเจา
นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญัง, พุทโธ เม สะระณงั วะรัง,
สรณะอ่ืนของขา พเจา ไมม,ี พระพุทธเจา เปน สรณะอนั ประเสริฐของ
ขา พเจา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยงั สัตถสุ าสะเน,
ดวยการกลาวคําสตั ยน ,้ี ขาพเจา พึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา
พุทธงั เม วนั ทะมาเนนะ (วันทะมานายะ), คําในวงเลบ็ สาํ หรบั
ผหู ญิงวา
ยัง ปญุ ญงั ปะสุตงั อธิ ะ,
ขาพเจาผไู หวอ ยซู งึ่ พระพุทธเจา, ไดขวนขวายบุญใดในบดั น้ี
สพั เพป อันตะรายา เม, มาเหสุง ตสั สะ เตชะสา.
อนั ตรายทง้ั ปวงอยาไดมแี กขาพเจาดว ยเดชแหงบญุ นั้น

(หมอบกราบ)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ดว ยกายกด็ ี ดวยวาจาก็ดี ดว ยใจก็ดี
พทุ เธ กุกมั มงั ปะกะตัง มะยา ยงั ,

33 

 

กรรมนาติเตียนอนั ใด ท่ีขาพเจา กระทาํ แลว ในพระพทุ ธเจา
พทุ โธ ปะฏิคคณั ห๎ ะตุ อจั จะยนั ตัง,
ขอพระพทุ ธเจา จงงดซ่งึ โทษลวงเกินอนั น้ัน
กาลันตะเร สงั วะรติ งุ วะ พุทเธ.
เพื่อการสํารวมระวงั ในพระพทุ ธเจา ในกาลตอ ไป.(๒)
บทขอใหงดโทษน้ี มิไดเ ปน การลางบาป, เปน เพียงการเปดเผยตวั เอง;
และคาํ วา โทษในทีน่ ี้
มไิ ดห มายถงึ กรรม : หมายถงึ โทษเพียงเลก็ นอ ยซึง่ เปน“สวนตัว”
ระหวางกนั ท่พี ึงอโหสกิ นั ได.
การขอขมาชนิดนสี้ ําเร็จผลได ในเมอ่ื ผขู อตั้งใจทาํ จริงๆ, และเปนเพียง
ศีลธรรม และสง่ิ ท่ีควรประพฤต.ิ

ธัมมานสุ สติ
(หนั ทะ มะยัง ธมั มานสุ สะตนิ ะยัง กะโรมะ เส)
เชิญเถิด เราท้ังหลาย ทาํ ความตามระลึกถงึ พระธรรมเถิด

สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมเปน สง่ิ ทพ่ี ระผูมีพระภาคเจา ไดตรสั ไวดีแลว
สันทิฏฐโิ ก,
เปน สง่ิ ทผ่ี ศู ึกษาและปฏิบตั ิพึงเห็นไดด ว ยตนเอง
อะกาลโิ ก,

34 

 

เปนส่งิ ทปี่ ฏิบตั ิได และใหผลได ไมจ าํ กัดกาล
เอหปิ สสโิ ก,
เปนสง่ิ ท่คี วรกลา วกะผอู นื่ วา ทา นจงมาดเู ถิด
โอปะนะยิโก,
เปนสิ่งทค่ี วรนอมเขามาใสต วั
ปจจตั ตงั เวทติ พั โพ วญิ หู *ี ติ. *ศัพทท่ีมคี าํ วา - หี ทุกแหง ใหอ อก
เสียงวา - ฮี
เปนสง่ิ ท่ีผูร กู ร็ ไู ดเ ฉพาะตน, ดังน.้ี

ธัมมาภิคีติ
(หนั ทะ มะยงั ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส)
เชญิ เถิด เราท้งั หลาย ทาํ ความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระธรรมเถิด

สว๎ ากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
พระธรรมเปนส่ิงท่ีประเสริฐเพราะประกอบดวยคุณ, คอื ความทพี่ ระผูมี
พระภาคเจาตรสั ไวดแี ลวเปน ตน
โย มัคคะปากะปะริยตั ตวิ ิโมกขะเภโท,
เปนธรรมอนั จาํ แนกเปน มรรคผลปรยิ ัติและนิพพาน
ธัมโม กโุ ลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
เปนธรรมทรงไวซ่ึงผทู รงธรรม จากการตกไปสูโลกทีช่ ่ัว
วันทามะหัง ตะมะหะรงั วะระธมั มะเมตัง,

35 

 

ขาพเจา ไหวพระธรรมอนั ประเสริฐนั้น อนั เปน เครอ่ื งขจดั เสยี ซึง่ ความมืด
ธัมโม โย สพั พะปาณีนัง สะระณงั เขมะมตุ ตะมัง,
พระธรรมใดเปนสรณะอนั เกษมสงู สุดของสัตวท งั้ หลาย
ทตุ ิยานุสสะติฏฐานงั วันทามิ ตัง สิเรนะหงั ,
ขาพเจาไหวพ ระธรรมนั้นอนั เปน ที่ตงั้ แหง ความระลึกองคท สี่ องดวย
เศยี รเกลา
ธมั มสั สาหสั ๎มิ ทาโสวะ (ทาสีวะ), คาํ ในวงเลบ็ สาํ หรบั ผูหญิงวา
ธัมโม เม สามกิ สิ สะโร,
ขาพเจา เปนทาสของพระธรรม, พระธรรมเปน นายมีอสิ ระเหนอื ขา พเจา
ธัมโม ทุกขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หิตสั สะ เม,
พระธรรมเปน เคร่ืองกาํ จดั ทกุ ข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกข า พเจา
ธมั มัสสาหัง นยิ ยาเทมิ สะรรี ญั ชวี ติ ัญจิทงั ,
ขาพเจา มอบกายถวายชีวิตน้ีแดพระธรรม
วนั ทนั โตหงั (วันทันตหี ัง) คําในวงเลบ็ สําหรับผหู ญิงวา จะริสสามิ,
ธัมมัสเสวะ สธุ มั มะตัง,
ขา พเจาผไู หวอยูจกั ประพฤตติ าม, ซึ่งความเปน ธรรมดขี องพระธรรม
นัตถิ เม สะระณัง อญั ญงั , ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอ่นื ของขา พเจา ไมม,ี พระธรรมเปนสรณะอันประเสรฐิ ของ
ขา พเจา
เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ, วัฑเฒยยงั สตั ถสุ าสะเน,

36 

 

ดวยการกลา วคําสตั ยน,ี้ ขาพเจาพงึ เจริญในพระศาสนาของพระศาสดา
ธัมมัง เม วนั ทะมาเนนะ (วนั ทะมานายะ), คําในวงเลบ็ สาํ หรับ
ผูห ญงิ วา
ยัง ปญุ ญัง ปะสุตงั อธิ ะ,
ขาพเจาผูไ หวอ ยูซึง่ พระธรรม, ไดข วนขวายบุญใดในบดั น้ี
สัพเพป อนั ตะรายา เม, มาเหสุง ตสั สะ เตชะสา.
อนั ตรายทัง้ ปวงอยาไดมแี กขาพเจา ดวยเดชแหงบญุ น้นั .

(หมอบกราบ)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ดว ยกายก็ดี ดว ยวาจาก็ดี ดว ยใจก็ดี
ธมั เม กกุ มั มงั ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมนา ตเิ ตียนอนั ใดท่ีขาพเจากระทาํ แลวในพระธรรม
ธัมโม ปะฏิคคณั ๎หะตุ อจั จะยนั ตัง,
ขอพระธรรมจงงดซงึ่ โทษลวงเกนิ อนั นนั้
กาลนั ตะเร สังวะริตุง วะ ธมั เม.
เพือ่ การสํารวมระวงั ในพระธรรมในกาลตอไป

สังฆานุสสติ
(หนั ทะ มะยงั สังฆานุสสะตนิ ะยัง กะโรมะ เส)
เชญิ เถดิ เราทง้ั หลาย ทาํ ความตามระลึกถึงพระสงฆเถิด

37 

 

สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบัตดิ ีแลว
อชุ ปุ ะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
สงฆสาวกของพระผมู ีพระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบัตติ รงแลว
ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆส าวกของพระผูม ีพระภาคเจา หมูใด,
ปฏิบตั เิ พือ่ รูธรรมเปนเครื่องออกจากทุกขแ ลว
สามจี ิปะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
สงฆสาวกของพระผูม พี ระภาคเจาหมใู ด, ปฏิบตั ิสมควรแลว
ยะททิ งั ,
ไดแ กบุคคลเหลา น้คี อื :-
จตั ตาริ ปุรสิ ะยคุ านิ อฏั ฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา,
คแู หงบุรุษ ๔ ค,ู นับเรียงตวั บรุ ษุ ได ๘ บรุ ุษ*
* สี่คคู ือ โสดาปต ตมิ รรค โสดาปต ติผล, สกิทาคามิมรรค สกทิ าคามิผล,
อนาคามมิ รรค อนาคามผิ ล, อรหัตตมรรค อรหตั ตผล.
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
น่นั แหละ สงฆส าวกของพระผมู พี ระภาคเจา
อาหเุ นยโย,
เปนสงฆค วรแกส ักการะ ทเี่ ขานํามาบชู า
ปาหเุ นยโย,

38 

 

เปน สงฆค วรแกส กั การะทีเ่ ขาจัดไวตอ นรบั
ทักขเิ ณยโย,
เปนผูควรรับทกั ษิณาทาน
อญั ชะลกิ ะระณโี ย,
เปนผทู บ่ี คุ คลท่วั ไปควรทําอญั ชลี
อะนตุ ตะรงั ปุญญักเขตตัง โลกสั สา ติ.
เปนเนื้อนาบญุ ของโลก, ไมม นี าบุญอ่นื ยิ่งกวา ดงั นี้.

สังฆาภิคีติ
(หันทะ มะยัง สงั ฆาภิคีติง กะโรมะ เส)
เชญิ เถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระสงฆเ ถดิ

สทั ธัมมะโช สปุ ะฏปิ ต ติคุณาทิยุตโต,
พระสงฆท ่เี กิดโดยพระสัทธรรม, ประกอบดวยคณุ มคี วามปฏิบัตดิ ีเปน
ตน

โยฏฐัพพโิ ธ อะริยะปคุ คะละสังฆะเสฏโฐ,
เปนหมูแหง พระอริยบคุ คลอนั ประเสริฐแปดจําพวก

สลี าทธิ ัมมะปะวะราสะยะกายะจติ โต,
มกี ายและจิตอนั อาศัยธรรมมีศลี เปน ตน อันบวร

วนั ทามะหงั ตะมะริยานะ คะณงั สสุ ุทธงั ,
ขาพเจาไหวหมูแหง พระอรยิ เจา เหลา นัน้ อันบริสุทธ์ิดวยดี

39 

 

สงั โฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมงั ,
พระสงฆห มูใ ดเปน สรณะอนั เกษมสงู สดุ ของสัตวท งั้ หลาย
ตะตยิ านุสสะตฏิ ฐานัง วนั ทามิ ตงั สเิ รนะหงั ,
ขา พเจา ไหวพ ระสงฆหมนู น้ั อันเปน ทตี่ ัง้ แหงความระลกึ องคทส่ี าม ดวย
เศยี รเกลา
สงั ฆสั สาหสั ๎มิ ทาโสวะ (ทาสวี ะ), คาํ ในวงเลบ็ สาํ หรบั ผูหญงิ วา
สังโฆ เม สามกิ สิ สะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ, พระสงฆเปน นายมีอิสระเหนอื ขา พเจา
สงั โฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตสั สะ เม,
พระสงฆเ ปน เคร่ืองกาํ จัดทุกข, และทรงไวซ งึ่ ประโยชนแกข าพเจา
สงั ฆสั สาหัง นยิ ยาเทมิ สะรีรญั ชีวิตญั จทิ ัง,
ขา พเจา มอบกายถวายชีวิตน้ีแดพ ระสงฆ
วันทันโตหัง (วนั ทันตหี ัง) คาํ ในวงเลบ็ สาํ หรบั ผหู ญิงวา จะริสสาม,ิ
สงั ฆัสโสปะฏปิ นนะตงั ,
ขาพเจา ผูไหวอยจู กั ประพฤติตาม, ซ่งึ ความปฏบิ ัตดิ ีของพระสงฆ
นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญงั , สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอนื่ ของขาพเจาไมม,ี พระสงฆเ ปน สรณะอนั ประเสริฐของขาพเจา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, วฑั เฒยยงั สัตถุ สาสะเน,
ดวยการกลาวคําสตั ยน ,ี้ ขาพเจาพงึ เจริญในพระศาสนาของพระศาสดา
สังฆงั เม วันทะมาเนนะ (วนั ทะมานายะ), คาํ ในวงเล็บสาํ หรบั

40 

 

ผหู ญิงวา
ยัง ปุญญัง ปะสตุ งั อิธะ,
ขาพเจาผไู หวอยูซึ่งพระสงฆ, ไดขวนขวายบญุ ใด ในบดั น้ี
สัพเพป อนั ตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
อันตรายทัง้ ปวงอยา ไดมแี กข าพเจาดว ยเดชแหง บญุ นั้น.

(หมอบกราบ)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ดว ยกายก็ดี ดวยวาจากด็ ี ดว ยใจก็ดี
สังเฆ กกุ มั มัง ปะกะตัง มะยา ยงั ,
กรรมนาติเตยี นอนั ใดที่ขา พเจาไดก ระทําแลว ในพระสงฆ
สงั โฆ ปะฏิคคัณห๎ ะตุ อัจจะยนั ตงั ,
ขอพระสงฆ จงงดซ่งึ โทษลว งเกินอนั นัน้
กาลนั ตะเร สังวะริตงุ วะ สังเฆ.
เพอื่ การสํารวมระวงั ในพระสงฆใ นกาลตอไป

(จบคาํ ทาํ วตั รเยน็ )

41 

 

สรณคมนปาฐะ
(หนั ทะ มะยัง ตสิ ะระณะคะมะนะปาฐัง ภะณามะ เส)
เชิญเถิด เราทง้ั หลาย จงกลา วคาถาเพื่อระลกึ ถงึ พระรตั นตรัยเถดิ

พุทธัง สะระณงั คจั ฉามิ
ขา พเจา ถือเอาพระพทุ ธเจาเปนสรณะ
ธัมมัง สะระณงั คัจฉามิ
ขา พเจา ถอื เอาพระธรรมเปน สรณะ
สงั ฆงั สะระณงั คัจฉามิ
ขาพเจา ถือเอาพระสงฆเปนสรณะ
ทุตยิ ัมป พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามิ
แมคร้ังทส่ี อง ขา พเจาถอื เอาพระพุทธเจา เปน สรณะ
ทุติยมั ป ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิ
แมค รงั้ ท่สี อง ขาพเจา ถอื เอาพระธรรมเปน สรณะ
ทุตยิ มั ป สงั ฆงั สะระณัง คจั ฉามิ
แมคร้งั ที่สอง ขา พเจาถือเอาพระสงฆเปน สรณะ
ตะติยมั ป พุทธงั สะระณัง คัจฉามิ
แมค รั้งทสี่ าม ขาพเจา ถอื เอาพระพุทธเจาเปนสรณะ
ตะติยมั ป ธัมมัง สะระณงั คจั ฉามิ
แมครัง้ ทส่ี าม ขา พเจาถือเอาพระธรรม เปน สรณะ
ตะติยัมป สงั ฆงั สะระณัง คจั ฉามิ
แมครง้ั ที่สาม ขาพเจาถอื เอาพระสงฆ เปน สรณะ

42 

 

เขมาเขมสรณทปี ก คาถา
(หนั ทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปกะคาถาโย ภะณามะ เส)
เชญิ เถดิ เราทง้ั หลาย จงกลา วคาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษม

เถิด

พะหงุ เว สะระณัง ยนั ติ ปพพะตานิ วะนานิ จะ,
อารามะรกุ ขะเจต๎ยานิ มะนุสสา ภะยะตชั ชิตา
มนษุ ยเปน อนั มาก, เมอื่ เกิดมีภัยคุกคามแลว ก็ถือเอาภเู ขาบา ง,
ปา ไมบาง, อารามและรุกขเจดยี บางเปน สรณะ
เนตัง โข สะระณงั เขมัง, เนตัง สะระณะมตุ ตะมัง,
เนตงั สะระณะมาคมั มะ สพั พะ ทกุ ขา ปะมุจจะติ
นั่น มิใชส รณะอันเกษมเลย, นน่ั มิใชส รณะอันสงู สุด,
เขาอาศยั สรณะน่ันแลว , ยอ มไมพนจากทกุ ขทง้ั ปวงได
โย จะ พทุ ธัญจะ ธมั มญั จะ สังฆัญจะ สะระณงั คะโต,
จตั ตาริ อะริยะสัจจานิ สมั มปั ปญญายะ ปสสะติ
สว นผใู ดถอื เอาพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะแลว,
เห็นอริยสจั คอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ สดี่ วยปญญาอันชอบ
ทุกขงั ทุกขะสะมุปปาทงั ทุกขสั สะ จะ อะตกิ กะมัง,
อะรยิ ญั จฏั ฐังคิกงั มัคคงั ทกุ ขปู ะสะมะคามนิ ัง
คือเหน็ ความทุกข, เหตใุ หเกดิ ทกุ ข, ความกาวลว งพนทกุ ขเ สยี ได,

43 

 

และหนทางมอี งคแ ปดอันประเสรฐิ เคร่ืองถงึ ความระงบั ทุกข
เอตงั โข สะระณงั เขมงั เอตงั สะระณะมุตตะมงั ,
เอตงั สะระณะมาคัมมะ สัพพะทกุ ขา ปะมุจจะติ
นน่ั แหละเปน สรณะอนั เกษม, นัน่ เปน สรณะอนั สงู สุด,
เขาอาศยั สรณะนัน่ แลว, ยอ มพนจากทุกขท้ังปวงได

อริยธนคาถา
(หันทะ มะยงั อะรยิ ะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส)
เชญิ เถิด เราทง้ั หลาย จงกลาวคาถาสรรเสรญิ พระอรยิ เจา เถดิ .

ยัสสะ สทั ธา ตะถาคะเต อะจะลา สปุ ะตฏิ ฐติ า
ศรัทธาในพระตถาคตของผูใดต้ังมั่นอยางดไี มห วนั่ ไหว
สลี ัญจะ ยัสสะ กัล๎ยาณงั อะรยิ ะกันตัง ปะสงั สติ ัง
และศีลของผูใดงดงาม, เปน ท่ีสรรเสริญทีพ่ อใจของพระอริยเจา
สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภตู ญั จะ ทสั สะนงั
ความเลอื่ มใสของผใู ดมีในพระสงฆ, และความเห็นของผใู ดตรง
อะทะลิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตสั สะ ชวี ติ ัง
บณั ฑติ กลาวเรยี กเขาผูน ัน้ วา คนไมจน, ชวี ิตของเขาไมเ ปนหมัน

ตสั ม๎ า สทั ธญั จะ สีลัญจะ ปะสาทงั ธมั มะทสั สะนัง,
อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะ สาสะนัง

44 

 

เพราะฉะนัน้ , เม่อื ระลึกไดถ งึ คําสั่งสอนของพระพทุ ธเจา อยู,
ผูมปี ญ ญาควรสรา งศรัทธาศลี , ความเลื่อมใส, และความเหน็ ธรรมให
เนืองๆ

ติลกั ขณาทิคาถา
(หนั ทะ มะยัง ติลักขะณาคาถาโย ภะณามะ เส)
เชิญเถดิ เราทงั้ หลาย จงกลา วคาถาแสดงพระไตรลักษณเปนเบื้องตน

เถิด

สัพเพ สงั ขารา อะนจิ จาติ ยะทา ปญ ญายะ ปส สะติ
เมอ่ื ใดบคุ คลเหน็ ดวยปญญาวา , สังขารทั้งปวงไมเ ที่ยง
อะถะ นิพพนิ ทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสทุ ธยิ า
เมือ่ นน้ั ยอ มเหนอ่ื ยหนายในส่ิงท่ีเปน ทกุ ขทีต่ นหลง,
นนั่ แหละเปนทางแหงพระนพิ พานอันเปน ธรรมหมดจด
สพั เพ สงั ขารา ทุกขาติ ยะทา ปญญายะ ปส สะติ
เมื่อใดบคุ คล เหน็ ดวยปญญาวา, สงั ขารทัง้ ปวงเปนทกุ ข
อะถะ นิพพนิ ทะติ ทกุ เข เอสะ มคั โค วิสทุ ธยิ า
เมือ่ นน้ั ยอมเหนอื่ ยหนายในสิ่งทเ่ี ปน ทุกขท ี่ตนหลง,
นัน่ แหละเปนทางแหง พระนพิ พานอันเปน ธรรมหมดจด
สพั เพ ธมั มา อะนตั ตาติ ยะทา ปญญายะ ปส สะติ

45 

 

เมอื่ ใดบคุ คลเหน็ ดว ยปญ ญาวา, ธรรมทงั้ ปวงเปนอนัตตา
อะถะ นิพพนิ ทะติ ทุกเข เอสะ มคั โค วิสุทธิยา
เมอื่ นนั้ ยอ มเหนอ่ื ยหนา ยในสงิ่ ทเี่ ปน ทุกข ทต่ี นหลง,
นนั่ แหละเปนทางแหง พระนพิ พานอนั เปน ธรรมหมดจด
อปั ปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน
ในหมูมนษุ ยท้ังหลาย, ผูทถ่ี งึ ฝง แหง พระนิพพานมนี อ ยนัก
อะถายงั อติ ะรา ปะชา ตรี ะเมวานุธาวะติ
หมูมนุษยน อกนนั้ ยอ มว่ิงเลาะอยตู ามฝง ในน่ีเอง
เย จะ โข สัมมะทกั ขาเต ธัมเม ธัมมานวุ ัตตโิ น
ก็ชนเหลา ใดประพฤติสมควรแกธรรมในธรรมทต่ี รัสรูไวชอบแลว
เต ชะนา ปาระเมสสนั ติ มัจจุเธยยงั สทุ ตุ ตะรงั
ชนเหลา ใดจักถึงฝง แหงพระนพิ พาน, ขา มพนบวงแหงมัจจุราชทข่ี ามได
ยากนกั
กณั หัง ธัมมัง วิปปะหายะ สกุ กงั ภาเวถะ ปณ ฑโิ ต
จงเปน บัณฑิตละธรรมดาํ เสีย, แลวเจรญิ ธรรมขาว

โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยตั ถะ ทูระมงั ,
ตตั ๎ราภิระติมจิ เฉยยะ หิต๎วา กาเม อะกิญจะโน
จงมาถงึ ทไ่ี มมนี ้ํา, จากทีม่ นี ้ํา, จงละกามเสีย, เปน ผไู มม ีความกงั วล,
จงยนิ ดีเฉพาะตอพระนพิ พาน, อนั เปน ท่ีสงัดซงึ่ สัตวย ินดไี ดโ ดยยาก

46 

 

ภารสตุ ตคาถา
(หันทะ มะยัง ภาระสตุ ตะคาถาโย ภะณามะ เส)
เชญิ เถดิ เราท้งั หลาย จงกลาวคาถาแสดงภารสูตรเถดิ

ภารา หะเว ปญจกั ขันธา ขนั ธทงั้ หา เปน ของหนกั เนอ
ภาระหาโร จะ ปคุ คะโล บุคคลแหละเปน ผแู บกของหนกั พาไป
ภาราทานัง ทกุ ขัง โลเก การแบกถือของหนกั เปน ความทกุ ขใน
โลก
ภาระนิกเขปะนัง สขุ งั การสลัดของหนักท้ิงลงเสยี เปนความสขุ
นกิ ขิปต ๎วา คะรุง ภารงั พระอรยิ เจา สลัดทง้ิ ของหนักลงเสียแลว
อญั ญงั ภารัง อะนาทยิ ะ ท้งั ไมหยบิ ฉวยเอาของหนักอนั อน่ื
ขึ้นมาอกี
สะมูลัง ตัณหงั อพั พุยห๎ ะ เปนผูถอนตณั หาขึ้นไดกระทั่งราก
นจิ ฉาโต ปะรนิ ิพพโุ ต เปน ผูหมดส่งิ ปรารถนาดับสนทิ ไมม สี ว น
เหลอื

ภทั เทกรัตตคาถา
(หันทะ มะยงั ภทั เทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะ เส)
เชิญเถดิ เราท้งั หลาย จงกลาวคาถาแสดงผูม ีราตรเี ดียวเจริญเถิด

47 

 

อะตีตัง นานว๎ าคะเมยยะ นปั ปะฏกิ ังเข อะนาคะตัง
บคุ คลไมค วรตามคิดถงึ สิง่ ท่ีลว งไปแลวดว ยอาลยั , และไมพงึ พะวงถึงส่งิ
ท่ยี ังไมม าถงึ
ยะทะตีตมั ปะหีนันตัง อัปปตตัญจะ อะนาคะตัง
สิ่งเปน อดตี กล็ ะไปแลว , สิ่งเปน อนาคตกย็ งั ไมมา

ปจ จปุ ปน นญั จะ โย ธัมมงั ตตั ถะ ตตั ถะ วิปส สะติ,
อะสงั หริ ัง อะสังกุปปง ตงั วิทธา มะนพุ ๎รหู ะเย
ผูใดเหน็ ธรรมอนั เกดิ ขึน้ เฉพาะหนา ทนี่ ั้นๆ อยางแจมแจง ,
ไมง อนแงนคลอนแคลน, เขาควรพอกพนู อาการเชนน้ันไว
อัชเชวะ กิจจะมาตัปปง โก ชญั ญา มะระณัง สุเว
ความเพยี รเปนกิจท่ตี องทาํ วันน,้ี ใครจะรคู วามตายแมพ รงุ นี้
นะ หิ โน สังคะรนั เตนะ มะหาเสเนนะ มจั จุนา
เพราะการผดั เพ้ยี นตอ มจั จรุ าชซ่ึงมีเสนามากยอ มไมม สี าํ หรับเรา

เอวัง วิหารมิ าตาปง อะโหรตั ตะมะตันทิตงั ,
ตงั เว ภทั เทกะรัตโตติ สนั โต อาจิกขะเต มุนิ
มุนีผสู งบยอ มกลา วเรยี กผูมคี วามเพยี รอยเู ชน นัน้ ,
ไมเกียจครานทัง้ กลางวนั กลางคนื วา , "ผูเปน อยแู มเ พยี งราตรเี ดียว ก็นา
ชม"

48 

 

ธมั มคารวาทคิ าถา
(หันทะ มะยัง ธัมมะคาระวาทิคาถาโย ภะณามะ เส)
เชญิ เถิด เราทงั้ หลาย จงกลา วคาถาแสดงความเคารพพระธรรมเถดิ

เย จะ อะตีตา สัมพุทธา เย จะ พทุ ธา อะนาคะตา,
โย เจตะระหิ สัมพทุ โธ พะหนุ นงั โสกะนาสะโน
พระพทุ ธเจาบรรดาท่ลี วงไปแลว ดว ย, ท่ียงั ไมมาตรัสรดู วย,
และพระพุทธเจา ผขู จัดโศกของมหาชนในกาลบัดน้ดี ว ย
สัพเพ สทั ธมั มะคะรโุ น วิหะริงสุ วหิ าติ จะ,
อะถาป วหิ ะรสิ สันติ เอสา พุทธานะ ธัมมะตา
พระพทุ ธเจาทง้ั ปวงนนั้ ทกุ พระองคเ คารพพระธรรม,ไดเปนมาแลว ดวย,
กําลงั เปน อยดู วย, และจักเปน ดวย, เพราะธรรมดาของพระพทุ ธเจา
ทง้ั หลายเปน เชน นน้ั เอง
ตัสม๎ า หิ อตั ตะกาเมนะ มะหตั ตะมะภกิ งั ขะตา,
สัทธมั โม คะรกุ าตพั โพ สะรัง พทุ ธานะ สาสะนงั
เพราะฉะน้นั , บุคคลผรู กั ตน, หวงั อยเู ฉพาะคณุ เบอื้ งสงู ,
เม่ือระลกึ ไดถึงคําสงั่ สอนของพระพทุ ธเจา อย,ู จงทําความเคารพพระ
ธรรม
นะ หิ ธัมโม อะธัมโม จะ อโุ ภ สะมะวิปากโิ น
ธรรมและอธรรมจะมผี ลเหมอื นกนั ทัง้ สองอยา งหามิได
อะธมั โม นิระยงั เนติ ธัมโม ปาเปติ สุคะติง

49 

 

อธรรมยอ มนาํ ไปนรก, ธรรมยอมนําใหถ งึ สุคติ
ธัมโม หะเว รักขะติ ธมั มะจาริง
ธรรมแหละยอ มรกั ษาผูประพฤตธิ รรมเปน นติ ย
ธมั โม สจุ ิณโณ สขุ ะมาวะหาติ
ธรรมทปี่ ระพฤติดีแลวยอมนาํ สุขมาใหต น
เอสานสิ ังโส ธมั เม สจุ ณิ เณ
น่ีเปนอานิสงสใ นธรรมทีต่ นประพฤติดีแลว

โอวาทปาฏิโมกขคาถา
(หนั ทะ มะยงั โอวาทะปาตโิ มกขะคาถาโย ภะณามะ เส)
เชญิ เถดิ เราทัง้ หลาย จงกลาวคาถาแสดงพระโอวาทปาตโิ มกขเถิด

สัพพะปาปสสะ อะกะระณงั
การไมทาํ บาปท้ังปวง
กสุ ะลสั สปู ะสมั ปะทา
การทาํ กศุ ลใหถงึ พรอ ม
สะจติ ตะปะริโยทะปะนงั
การชาํ ระจติ ของตนใหข าวรอบ
เอตงั พทุ ธานะ สาสะนัง
ธรรม ๓ อยา งนีเ้ ปน คําสง่ั สอนของพระพทุ ธเจา ท้งั หลาย
ขนั ตี ปะระมงั ตะโป ตตี กิ ขา

50 

 

ขันติ คอื ความอดกลน้ั เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยง่ิ
นิพพานัง ปะระมัง วะทนั ติ พทุ ธา
ผูรูทั้งหลายกลาวพระนิพพานวา เปน ธรรมอนั ย่ิง
นะ หิ ปพพะชโิ ต ปะรูปะฆาตี
ผกู ําจดั สตั วอ่นื อยไู มชอ่ื วา เปน บรรพชติ เลย
สะมะโณ โหติ ปะรงั วิเหฐะยันโต
ผูท าํ สตั วอ น่ื ใหล าํ บากอยไู มช่ือวาเปนสมณะเลย
อะนูปะวาโท อะนปู ะฆาโต
การไมพูดราย, การไมทาํ รา ย
ปาตโิ มกเข จะ สงั วะโร
การสํารวมในปาตโิ มกข
มัตตัญตุ า จะ ภตั ตัสม๎ งิ
ความเปน ผูรูประมาณในการบรโิ ภค
ปนตญั จะ สะยะนาสะนัง
การนอนการนงั่ ในท่อี ันสงัด
อะธจิ ิตเต จะ อาโยโค
ความหมนั่ ประกอบในการทําจิตใหย ง่ิ
เอตัง พุทธานะ สาสะนัง
ธรรม ๖ อยา งน้ีเปน คาํ สง่ั สอนของพระพุทธเจา ทั้งหลาย


Click to View FlipBook Version