The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SARโรงเรียนวัดดอนตลุง ปีการศึกษา64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by any, 2022-04-28 09:41:54

SARโรงเรียนวัดดอนตลุง ปีการศึกษา64

SARโรงเรียนวัดดอนตลุง ปีการศึกษา64



รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
(Self Assessment Report : SAR)

โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏรศ์ รัทธาทาน)
ปกี ารศกึ ษา 2564

สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำนำ

การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทำให้คนมีความรู้และคุณสมบัติต่างๆ ที่ช่วยให้คนน้ันอยู่รอดใน
สังคมได้ เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคมโดยรวม ดังน้ันคุณภาพการศึกษาจึงสะท้อนถึง
คุณภาพของคนท่ีเป็นผลผลิตของการจัดการศึกษา ในบรบิ ทของสังคมไทย รูปแบบการจัดการศึกษาส่วน
ใหญ่จะเป็นการศึกษาในระบบ ดังนั้น สถานศึกษาจึงเป็นหน่วยงานหลักท่ีมีหน้าที่ในการจัดการศึกษา
โดยเฉพาะในระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ปจั จุบัน สถานศึกษาส่วนใหญ่มีความ
เหลื่อมล้ำแตกต่างกัน ทั้งในด้าน งบประมาณ คุณภาพ บุคลากร หรือจากชุมชน หน่วยงานองค์กรที่อยู่
ใกล้เคียงสถานศกึ ษา และการติดตามชว่ ยเหลือจากหน่วยงานต้นสงั กัด สิ่งเหล่าน้ีสง่ ผลกระทบต่อคุณภาพ
การจัดการศึกษาท้ังส้ิน อีกทั้งสถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการศึกษาด้วยตนเอง มีการพัฒนา
หลักสูตรตามบริบทและความตอ้ งการของตนเอง คุณภาพการจัดการศกึ ษาจงึ แตกตา่ งกัน พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2545 จึงได้กำหนดให้สถานศึกษา จัดให้มีการ
ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษา เพื่อให้มีการประกันคณุ ภาพของการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและเป็นไป
ตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาท่ไี ด้กำหนดไว้

โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) ได้ตระหนักถงึ ความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดการศึกษา
ท่ามกลางทรัพยากรทจ่ี ำกัด แต่ก็มเี ปา้ หมายที่ชัดเจนในการจัดการศึกษา และได้มุ่งเน้นในการใช้ทรัพยากร
ให้เต็มศักยภาพเพื่อปรบั ปรงุ ให้การศึกษาของโรงเรียนเป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาท่ีโรงเรียนได้กำหนด
ดังนั้นเมื่อส้ินปีการศึกษาจึงได้ทำการวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ของโรงเรียนท่ีได้จัดทำในรอบปี
การศึกษา เพื่อประเมินผลการจัดการศึกษา และได้เขียนรายงานนี้ข้ึนเพื่อรายงานให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ได้รับทราบถึงผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน อันจะสะท้อนถึงผลงาน และนำไปวางแผนงานในการจะ
ร่วมมอื กนั ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) ตอ่ ไป

สารบัญ ข

คำนำ หน้า
สารบญั
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐาน 1
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
30
บทสรุปผลของผู้บริหารสถานศึกษา
40
สรปุ ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั 40
ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน ระดับปฐมวยั 42
44
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 47
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สำคัญ 47
57
สรุปผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 63
ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 67
71
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น 78
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพการจดั การศกึ ษา

สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการชว่ ยเหลือ

ภาคผนวก

1

ส่วนที่ 1
ข้อมลู พ้ืนฐาน

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา

1.1 ข้อมลู ทั่วไป
ช่ือโรงเรียนวดั ดอนตลุง(ราษฎรศ์ รัทธาทาน) ทอ่ี ยู่ 104 หมู่ 2 ตำบล เกาะพลบั พลา อำเภอเมือง
ราชบุรี จังหวดั ราชบรุ ี สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
โทรศพั ท์ 032391127 โทรสาร 032391127 e-mail [email protected]
website www.dontalung.ac.th เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 1 ถงึ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3

ประวัตโิ รงเรียนโดยยอ่
โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฎรศ์ รัทธาทาน) ต้ังอยู่เลขท่ี 104 หมู่ 2 ถนน – ตำบล เกาะพลบั พลา

อำเภอ เมอื ง จงั หวัด ราชบุรี รหสั ไปรษณีย์ 70000 โทรศัพท์ 032- 391127 กอ่ ตั้งเม่ือวนั ท่ี 27 สิงหาคม
พ.ศ. 2466 โดยระยะแรก เปดิ สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 และขยายเป็น
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โดย มีการพัฒนาตามลำดับ ดงั นี้

1) ปีการศกึ ษา 2526 เรมิ่ เปิดสอนช้ันเดก็ เล็ก
2) ปีการศึกษา 2528 เปลย่ี นการสอนช้ันเดก็ เล็กเป็นช้ันอนุบาลปีท่ี 1-2 ตามโครงการอนบุ าล

ชนบท
3) ปีการศึกษา 2532 โรงเรยี นมปี ริมาณนักเรยี นเพมิ่ มากข้ึน จนสามารถปรบั ขยายโครงสร้าง

ตำแหน่งผ้บู ริหารโรงเรียนเป็นตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรียน
4) ปกี ารศึกษา 2535 เปิดสอนระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ตามโครงการขยายโอกาสทาง

การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
5) ปัจจุบัน เปดิ สอนระดับอนบุ าลปที ี่ 1 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3

2

ชือ่ ผู้อำนวยการโรงเรยี น ชื่อ-สกุล นางสาวชนัดดา ทองประเสริฐ
โทรศพั ท์ 096-2959989 e-mail [email protected]
วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ปรญิ ญาโท สาขา การบริหารการศกึ ษา
ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนตี้ งั้ แต่ 5 พฤศจกิ ายน 2563 จนถงึ ปัจจบุ ัน เป็นเวลา 1 ปี 5 เดือน

ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม

1. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลกั ษณะเป็นชุมชนชานเมือง มปี ระชากรประมาณ 8,453
คน บริเวณใกล้เคยี งโดยรอบโรงเรยี น ไดแ้ ก่ วัดและบ้าน อาชีพหลกั ของชมุ ชน คอื รบั จ้าง ส่วนใหญน่ ับถอื

ศาสนาพุทธ ประเพณี/ ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถนิ่ ที่เป็นทร่ี ูจ้ ักโดยทั่วไป คือ งานปดิ ทองประจำปี ถำ้ ฤาษเี ขางู

2. ผ้ปู กครองสว่ นใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย อาชีพหลกั คือ รับจา้ ง ส่วน
ใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลีย่ ต่อครอบครัวต่อปี 48,000 บาท จำนวนคน

เฉล่ียต่อครอบครัว / คน
1.2 แนวทางการจดั การศกึ ษา

คติพจนข์ องโรงเรยี น
“ ประพฤติดี มีความรู้ สู้งาน”

วสิ ยั ทัศน์
โรงเรยี นวดั ดอนตลงุ (ราษฏรศ์ รัทธาทาน) เปน็ สถานศึกษาท่จี ดั การศกึ ษาไดม้ าตราฐานอย่างมี

คณุ ภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

พนั ธกจิ
โรงเรยี นวดั ดอนตลุง(ราษฏรศ์ รทั ธาทาน) มุ่งมั่นจัดการศึกษาให้นักเรียนเปน็ คนดี มีคณุ ภาพ ได้

มาตรฐาน มที ักษะในการดำรงชีวิต ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. พัฒนาและเตรียมความพรอ้ มเดก็ ปฐมวัย อายุ 4-5 ปี
2. จดั การศกึ ษาระดับประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี 3

เปา้ หมาย
1. นักเรียนมคี ุณธรรมตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. นกั เรียนได้รับการพฒั นาด้านวิชาการ เทคโนโลยีและพื้นฐานงานวชิ าชีพอยา่ งเตม็ ศักยภาพ
3. นกั เรยี นมีความสุขกบั การเรยี น

3

อตั ลักษณ์ของโรงเรียนวดั ดอนตลุง(ราษฏรศ์ รัทธาทาน)

“คุณธรรมเด่น เนน้ ความรู้ สู่อาชีพ”

เอกลักษณข์ องโรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏรศ์ รัทธาทาน)

“อาชีพในฝนั มุ่งมั่นพฒั นา”

กลยทุ ธ์
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นในระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
1. เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ให้กับการพฒั นาผเู้ รียนอย่างมีคณุ ภาพ
2. สรา้ งการมสี ่วนรว่ มพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การเพมิ่ โอกาสใหผ้ ู้เรียนเข้าถึงบริการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
1. เพ่มิ โอกาสการเขา้ ถงึ การศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพ
2. ลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาคณุ ภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1. ลดภาระงานอืน่ ทนี่ อกเหนือจากงานที่เกยี่ วขอ้ งกับการจัดการเรียนร้ขู องครูและบคุ ลากร

ทางการศกึ ษา
2. ส่งเสริม สนบั สนุนการพัฒนาองค์ความร้คู รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะดา้ นการ

จดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และทักษะในการส่ือสารของครู ให้มีสมรรถนะด้านการสอนอย่างมี
ประสิทธภิ าพ

3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศึกษาให้มีความสามารถทกุ ดา้ นอยา่ งมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

4. เสริมสร้างระบบแรงจูงใจให้ครู และบุคลากรทางการศึกษามีขวัญกำลังใจในการทำงาน เกดิ ผล
การปฏิบตั ิงานเชงิ ประจกั ษ์

5. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู การเป็นครู
มอื อาชีพ และยึดมั่นในจรรยาบรรณของวชิ าชพี

6. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหอ้ งค์กร องคค์ ณะบุคคล และผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย วางแผน สรรหา ย้าย โอน
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของโรงเรยี นและชมุ ชน

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ
1. กระจายอำนาจและความรบั ผิดชอบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
2. ส่งเสริมเครือข่ายและการมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการ

4

3. ส่งเสริมการนำผลการวจิ ัยไปใช้เพื่อพัฒนานโยบายและเป็นฐานในการพัฒนาการจัดการศึกษา
ของเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษา

4. ส่งเสริมสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษา และองค์คณะบุคคลให้มคี วามรับผิดชอบต่อ
ผลการดำเนนิ งาน

5. ส่งเสริมการบรหิ ารจดั การศกึ ษาในพน้ื ที่พิเศษและระดบั ตำบล

5

1.3 ขอ้ มลู บคุ ลากร

1) จำนวนบคุ ลากรจำแนกตามตำแหนง่ เพศ ระดบั การศกึ ษา และประสบการณ์

ในตำแหน่ง

เพศ (คน) ระดบั การศึกษา (คน) ประสบการณ์

ประเภทบุคลากร ชาย หญิง รวม ตำ่ กวา่ ป. ป. ป. ในตำแหน่ง(เฉลี่ย)
ป.ตรี ตรี โท เอก (ปี)

ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา -1 1 - -1- 21
- --- -
รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา - - - - 94- 10
- 1-- 5
ข้าราชการครู 1 12 13 - 1-- 11
- --- -
ครอู ัตราจา้ ง 1- 1 - --- -
1 --- 26
พนักงานราชการ -1 1 - 5-- 2
1 16 5 -
พีเ่ ลี้ยงเดก็ พิการ -- -

ธรุ การ - - -

นักการภารโรง 1- 1

บุคลากรทางการศกึ ษาอ่ืน 3 2 5

รวมท้ังหมด 6 16 22

- จำนวนครทู ี่สอนวิชาตรงเอก 18 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 90.00
- จำนวนครทู สี่ อนตรงความถนัด 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00
- สาขาทข่ี าดแคลนครูวชิ าสุขศึกษาพละศึกษา จำนวน 1 คน สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ จำนวน 1 คน
- สาขาที่ขาดแคลนครูวชิ าวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 คน

6

2) จำนวนครูผู้สอนแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้และค่าเฉล่ียจำนวนชั่วโมง

ในการสอนของครู 1 คน

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ จำนวน (คน) ชว่ั โมงสอนเฉล่ยี / หมายเหตุ
-ภาษาไทย 5 คน/สปั ดาห์
18

-คณติ ศาสตร์ 5 18

-วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 18

-สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2 15
-สุขศกึ ษาพลศกึ ษา 1 19
-ศลิ ปะ 1 19
-การงานอาชีพ 2 18

-ภาษาตา่ งประเทศ 2 19

ขอ้ มลู นกั เรียน
1) จำนวนนกั เรยี นจำแนกตามระดับช้นั เรยี น เพศ

จำนวนนักเรียนปกี ารศกึ ษา 2564 รวม 340 คน ( ณ วันท่ี 10 มถิ ุนายน 2564 )

ระดับช้ันเรยี น จำนวนหอ้ ง เพศ รวม เฉลีย่
ชาย หญงิ ตอ่ หอ้ ง

อ.2 1 14 16 20 20

อ.3 1 13 12 25 23

รวม 2 27 18 45

ป.1 1 20 9 29 29

ป.2 1 21 10 31 31

ป.3 2 14 13 27 27
ป.4 1 29 15 44 44

ป.5 1 21 17 38 38

ป.6 1 12 21 33 33

รวม 7 117 85 202

7

ม.1 1 22 17 39 39
ม.2 1 12 16 28 28
ม.3 1 10 16 26 26
รวม 3 44 49 93
รวมท้ังหมด 12 188 152 340 28

2) จำนวนนกั เรยี นลกั ษณะพเิ ศษ จำแนกตามคุณลักษณะ

ระดบั ชั้น นักเรียนเรียนรวม คุณลักษณะ นักเรียนท่ีมี
- ความสามารถพิเศษ
-ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - นักเรยี นดอ้ ยโอกาส
-ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 - 3 -
-ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 4 9 -
-ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 5 37 -
-ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 - 14 -
-ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 9 22 -
- 19 -
รวม 1 104 -
-ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 8 19 -
-ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 18 12 -
-ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 18 7 -
38 -
รวม 142 -
รวมทง้ั สิ้น

8

3) จำนวนนักเรียนในแต่ละระดับช้ันเรียนที่ผ่าน/ไม่ผ่าน การประเมินความสามารถ
ด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะตามหลักสูตร

และมีสุขภาพตามเกณฑ์

การอา่ น เขยี นฯ คุณลักษณะ ฯ สมรรถนะ

ระดับช้ัน จำนวน 0 1 2 3 0 1 2 3 0 1 2 3
เต็ม

ป.1 29 3 6 13 7 3 - 13 13 3 5 11 10

ป.2 31 - 7 22 2 - 7 24 - - 7 24 -

ป.3 27 2 9 18 18 2 - 30 15 - 16 17 -

ป.4/1 21 - - 14 7 - 1 11 9 - - 18 3

ป.4/2 23 - - 16 7 - - 16 7 - - 16 7

ป.5 38 - 10 17 1 - 3 10 25 - 28 - 10

ป.6 33 2 - 18 13 2 - 18 13 2 - 18 13

ม.1 39 3 6 16 12 3 6 16 12 3 1 11 12

ม.2 28 - 10 10 8 - 10 10 8 2 5 6 15

ม.3 26 2 3 10 11 2 4 3 17 2 4 10 10

รวมทง้ั หมด 295 14 51 154 86 12 31 151 119 12 66 131 80

นกั เรยี นทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษ จำนวน (คน)
18
นกั เรยี นทมี่ ลี กั ษณะพิเศษ 93
นกั เรยี นทม่ี ีความบกพรอ่ งเรียนรว่ ม -
นกั เรียนท่ีมภี าวะทุพโภชนาการ 142
นักเรยี นปัญญาเลศิ 3
นกั เรยี นยากจน, ดอ้ ยโอกาส -
นักเรยี นตกซ้ำช้นั 10
นักเรยี นออกกลางคนั -
นักเรียนท่ีทำชื่อเสยี งใหก้ บั โรงเรยี นระดับเขตขึ้นไป
นักเรียนทอี่ ยู่ในภาวะเสี่ยง

9

1.4 จำนวนเครือ่ งคอมพิวเตอร์
- เครื่องคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ในการจดั การเรยี นการสอน 45 เครือ่ ง
- เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ที่ใช้ในการบรหิ ารจัดการ 4 เคร่อื ง

1.5 หอ้ งสมดุ

สถานศึกษาที่มีพืน้ ที่หอ้ งสมดุ จำนวนหนงั สือที่
จัดซ้อื ปีน้ี (เลม่ )
ขนาดเลก็ ขนาด 2-5 (กรอกเป็นจำนวน จำนวน จำนวนหนังสอื เฉล่ีย :
กว่า 1 ห้องเรยี น หนงั สอื นกั เรียน (เลม่ )
ห้องเรยี น หนงั สือ) (รวมท้งั หมด)
56
-1 - 19,044

1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET)
ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปีที่ 6 ซ่ึงในปกี ารศึกษาน้ีไม่มีนักเรียนที่สมัครเข้าสอบรวมถงึ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เช่นกนั ไม่มี
นกั เรยี นสมัครเขา้ สอบ O-NET

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET)

ปกี ารศึกษา 2564 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
-
คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี น -- - -
-
คะแนนเฉล่ยี ระดบั จงั หวัด -- - -

คะแนนเฉลยี่ สงั กดั สพฐ.ทั้งหมด - - -

คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ -- -

สรปุ ไม่สามารถสรุปคะแนนเฉลีย่ ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และ ระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
ได้เพราะไมม่ ีนกั เรยี นเข้ารับทำการทดสอบ O-Net ในปกี ารศกึ ษานี้

10

1.7 ผลการทดสอบระดบั ชาติ NT

คะแนนเฉลยี่ ร้อยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (NT)

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลีย่

ความสามารถ (ประเทศ) (เขตพื้นท่ี) (โรงเรียน)

ดา้ นภาษาไทย 56.14 58.21 76.66

ด้านคณิตศาสตร์ 49.44 52.53 73.16

รวมความสามารถ 2 ดา้ น 52.80 55.37 74.91

รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐาน

องผ้เู รยี นระดบั ชาติ (NT) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564

จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ

ความสามารถ ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก

ด้านภาษาไทย 0.00 0.00 16.66 83.33

ดา้ นคณติ ศาสตร์ 0.00 0.00 16.66 83.33

รวมความสามารถ 2 ดา้ น 0.00 0.00 0.00 100.00

100.00 83.33
90.00 83.33
80.00
70.00 100.00
60.00
50.00 0.00
40.00 0.00
30.00
20.00 16.66
10.00 0.00
0.00 0.00

16.66
0.00
0.00
0.00

11

2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษา
ปีที่ 3 ประจำปีการศกึ ษา 2563 - 2564

2.1) เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผ้เู รียน
ระดับชาติ (NT) และรอ้ ยละของผลต่างระหว่างปีการศกึ ษา 2563 - 2564

ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ร้อยละของผลต่างระหวา่ งปี
ดา้ นภาษาไทย 2563 2564 การศกึ ษา
ด้านคณิตศาสตร์ 38.33 76.66 + 38.33
รวมความสามารถ 2 ดา้ น 29.12 73.16 + 44.04
33.73 74.91 + 41.18

2.2) เปรียบเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ประจำปีการศึกษา 2563 - 2564 จำแนกตามรอ้ ยละของระดับคุณภาพ

คะแนนเฉล่ยี ร้อยละของโรงเรยี นย้อนหลัง 3 ปี จำแนกรายด้าน

ข้อมลู ความสามารถด้านภาษาไทย ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ รวมความสามารถ 2 ดา้ น
จำนวนผเู้ ข้าสอบ
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

32 42 6 32 42 6 32 42 6

คะแนนเฉลีย่ โรงเรยี น 37.90 38.33 76.66 33.25 29.12 73.16 35.57 33.73 74.91

คะแนนเฉลยี่ สพฐ. 46.00 47.76 55.48 45.64 41.30 48.73 45.82 44.53 52.11

คะแนนเฉลีย่ ประเทศ 46.46 47.46 56.14 44.94 40.47 49.44 45.70 43.97 52.80

80
70
60
50
40
30
20
10

0

80
60
40
20

0

80
70
60
50
40
30
20
10

0

35.57 33.25 33.25
33.73 29.12 29.12

74.91 73.16 76.66

45.82 45.64 45.64
44.53 41.3 41.30

52.11 48.73 55.48

45.7 44.94 44.94
43.97 40.47 40.47

52.80 49.44 56.14

12

13

1.8 ผลการประเมินการอ่านการเขยี น RT

คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (RT)

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลี่ย

ความสามารถ (โรงเรียน) (เขตพื้นที)่ ( ประเทศ)

ด้านการอา่ นออกเสียง 74.00 67.69 69.95

ด้านการอ่านรู้เร่อื ง 79.81 72.67 72.79

รวมท้ังสองด้าน 76.90 70.18 71.38

ร้อยละของจำนวนนักเรยี นท่ีมีผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐาน
ของผู้เรียนระดบั ชาติ (RT) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

จำแนกตามระดับคณุ ภาพ

ความสามารถ ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก

ด้านการอา่ นออกเสยี ง 0.00 9.09 36.36 54.54

ด้านการอ่านรูเ้ ร่อื ง 0.00 0.00 36.36 63.63

รวมท้งั สองด้าน 0.00 9.09 36.36 54.54

70.00 63.63
60.00
50.00 54.54 54.54
40.00
30.00 36.36 36.36 36.36
20.00
10.00 0.00
9.09
0.00
0.00
0.00
0.00

9.09

14

2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (RT) ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 1 ประจำปกี ารศึกษา 2563 - 2564

2.1) เปรียบเทยี บภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียน
ระดบั ชาติ (RT) และร้อยละของผลต่างระหว่างปกี ารศกึ ษา 2563 - 2564

ความสามารถ ปีการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ร้อยละของผลต่างระหวา่ งปี
ดา้ นการอา่ นออกเสยี ง 2563 2564 การศึกษา
ด้านการอ่านรูเ้ ร่อื ง 74.00 - 4.08
รวมทัง้ สองดา้ น 78.08 79.81 +15.29
64.52 76.90 +5.60
71.30

2.2) เปรียบเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (RT)
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ประจำปีการศึกษา 2562 - 2564 จำแนกตามรอ้ ยละของระดับคุณภาพ

คะแนนเฉล่ียร้อยละของโรงเรยี นย้อนหลัง 3 ปี จำแนกรายด้าน

ขอ้ มลู ด้านการอา่ นออกเสียง ด้านการอ่านรู้เร่ือง รวมความสามารถ 2 ดา้ น
จำนวนผเู้ ขา้ สอบ
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

28 33 11 28 33 11 28 33 11

คะแนนเฉลี่ยโรงเรียน 63.28 78.08 74.00 59.91 64.52 79.81 61.59 71.30 76.90

คะแนนเฉลยี่ เขตพื้นท่ี 70.12 72.39 67.69 73.24 68.20 72.67 71.68 70.32 70.18

คะแนนเฉลยี่ ประเทศ 68.50 74.14 69.95 72.81 71.86 72.79 70.66 73.02 71.38

80
70
60
50
40
30
20
10

0

80
60
40
20
0

80
70
60
50
40
30
20
10

0
61.59
71.30 2 59.91 63.28
76.90 64.52 78.08
79.81
71.68 74.00
70.32 73.24
70.18 68.2 70.12
72.39
70.66 72.67 67.69
73.02
71.38 72.81 68.50
71.86 74.14
72.79
69.95

15

16
1.9 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน

สรปุ ผลการเรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564

กลุ่มสาระวชิ า/ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4/1 ป4/2 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 เฉลี่ย
ช้ัน 68.23 72.35 68.52 71.14 75.14 65.75 67.25 60.97 รร.

ภาษาไทย 70.25 60.15 76.22

คณติ ศาสตร์ 71.31 73.39 68.72 69.29 66.48 61.44 66.75 55.77 59.35 66.69 58.96

วทิ ยาศาสตร์ 70.85 76.55 65.26 72.81 76.83 70.47 71.44 68.43 59.68 65.15 67.65

สังคมศึกษา ฯ 69.00 79.97 66.56 73.48 73.00 70.00 71.03 63.97 68.73 71.40 73.64

ประวัตศิ าสตร์ 65.92 73.23 69.20 72.95 72.83 69.37 68.42 66.61 78.58 71.29 89.61

สุขศกึ ษาฯ 77.73 76.09 79.04 75.00 77.00 74.75 83.00 70.34 76.21 75.03 78.00

ศิลปะ 69.38 73.68 73.04 76.86 73.35 69.86 79.00 68.20 76.29 71.78 76.44

การงานอาชีพฯ 69.38 76.84 66.11 74.89 72.00 70.88 80.30 72.29 74.03 70.26 71.38

ภาษาอังกฤษ 74.39 71.62 78.37 61.46 81.00 64.00 67.00 58.89 60.78 60.35 60.37

หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง 68.69 76.77 67.77 77.19 76.39 77.18 74.36 73.23 74.18 73.92 77.25

คอมพิวเตอร/์ 70.50 74.45 73.08 75.38 72.61 68.53 67.06 69.58 72.59 77.19 95.93

วิทยาการคำนวณ

ต้านทุจริตฯ - - - - - - - 56.74 78.73 77.38 75.08

เฉล่ยี ระดับชัน้ - ------ - - --

สรปุ ผลการเรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 ผเู้ รียนบรรลุ
และมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรยี นรู้ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา และสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้รบั มาสร้างสรรค์
ผลงานต่างๆได้ พรอ้ มทัง้ สามารถทดสอบความรู้ความสามารถที่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ค่าเฉล่ียท้งั โรงเรยี น
อยใู่ นระดบั ดี คิดเป็นร้อยละ 81.61

17

จำนวนและร้อยละของนักเรยี นที่มเี กรดเฉลยี่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป

ร้อยละของนกั เรยี นทีม่ ีผลการประเมนิ พฒั นาการแต่ละดา้ น ระดบั ๓ ขึน้ ไป ปีการศกึ ษา 2564

ระดับปฐมวัย

ผลการประเมนิ พฒั นาการนักเรียนดา้ น ครบท้ัง 4

ระดับช้ัน ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปญั ญา ด้าน
จิตใจ

ช้ันอนบุ าลปีที่ 1 ---- -

ชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 17 17 16 19 19

ชน้ั อนุบาลปีท่ี 3 23 24 24 25 26

รวม 40 41 40 44 45

คดิ เป็นร้อยละ 88.88 91.11 88.88 97.77 45

ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปกี ารศึกษา 2564

ระดบั ช้ันประถมศกึ ษา

จำนวนนักเรยี นทั้งหมดแตล่ ะชนั้ 29 31 27 21 23 38 33 202

วิชา จำนวนนกั เรียนที่ไดเ้ กรด 3 ข้ึนไป
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4/1 ป.4/2 ป.5 ป.6 ร้อยละ

ภาษาไทย 10 21 16 11 16 12 11 48.02

คณติ ศาสตร์ 16 21 14 11 7 8 14 45.05

วิทยาศาสตร์ 17 20 14 14 19 14 22 59.41

สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 17 24 12 13 16 23 21 62.38

ประวัตศิ าสตร์ 11 20 14 12 15 22 19 55.94

สุขศึกษาและพลศกึ ษา 24 31 20 15 21 31 31 85.64

ศิลปะ 15 20 18 17 15 18 29 65.35

การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 14 23 12 17 16 12 24 58.42

ภาษาอังกฤษ 16 11 15 15 21 14 14 52.48

วิทยาการคำนวณ 15 16 18 12 14 24 17 57.43

หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง 17 23 17 16 18 32 19 70.30

18

แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของนกั เรียนที่มเี กรดเฉลย่ี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3 ข้ึนไป
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปีการศึกษา 2564

90 85.64

80 70.30
57.43
70 59.41 62.38 55.94 65.35 58.42
60 48.02 45.05
50 52.48

40

30

20

10

0

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษา 39 28 26 93
จำนวนนกั เรียนทีไ่ ดเ้ กรด 3 ข้ึนไป
จำนวนนกั เรียนทัง้ หมดแต่ละชน้ั ม.1 ม.2 ม.3 ร้อยละ

วชิ า 14 15 17 49.46
774 19.35
ภาษาไทย 8 14 16 40.86
คณิตศาสตร์ 15 11 14 43.01
วิทยาศาสตร์ 22 13 14 52.69
สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 25 19 20 68.82
ประวัติศาสตร์ 21 17 23 65.59
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 27 11 14 55.91
ศลิ ปะ 7 3 13 24.73
การงานอาชพี และ เทคโนโลยี
ภาษาองั กฤษ

หนา้ ท่พี ลเมอื ง 19
วิทยาการคำนวณ
ต้านทุจริตศึกษา 23 15 12 53.76
12 14 12 40.86
26 23 17 70.97

แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของนกั เรียนทม่ี เี กรดเฉลย่ี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นแตล่ ะรายวิชาในระดับ 3 ข้ึนไป
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1- 3 ปีการศึกษา 2564

80
70
60
50
40
30
20
10

0
49.46
19.35

40.86
43.01

52.69
68.82

65.59
55.91
24.73
53.76
40.86

70.97

20

1.10คณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน

รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนท่มี ผี ลการประเมนิ ดา้ นคณุ ลักษะอนั พึง่ ประสงค์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 6 จำแนกตามระดบั คุณภาพ

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมนิ ด้านคุณลกั ษะอันพ่ึงประสงค์
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ

43.24 39.47
16

14 32.43

12 35.71

10 28.64

8 16.2211.42 13.15
7.14
6 8.10 15.38 7.69
4

2

0

3 6 16 12
8 6 10 2
4 2 15 5

2150.0052.0051.0650.0053.1356.25
44.12 40.43 36.11 40.63
สรปุ ระดับคณุ ภาพผลการประเมินด้านคุณลักษะอันพงึ่ ประสงค์ของผเู้ รยี นอย่รู ะดับคณุ ภาพ ดี
จากการดำเนินงานตามโครงการต่างๆ สง่ ผลให้นักเรยี นมีวินยั มีความกตญั ญู มีความประหยดั และปฏบิ ตั ิ8.0028.13
ตนตามหลักธรรมเบ้ืองตน้ ได้ สง่ เสรมิ ให้นักเรียนภมู ิใจในความเปน็ ไทย เนน้ คณุ ค่านิยมไทย และดำรงไวซ้ งึ่12.00
ความเปน็ ไทย สร้างเสริม พัฒนาบรรยากาศของสิง่ แวดลอ้ มภายในโรงเรียนใหส้ วยงามร่มรื่น5.8828.004.260.003.136.25
สร้างความสมั พนั ธอ์ ันดงี ามระหว่างชุมชน วดั กบั โรงเรียน สร้างเครอื ข่ายร่วมกันระหวา่ ง ครู ผปู้ กครอง0.004.2613.893.139.38
และชมุ ชนในการดแู ลบุตรหลานของตนเอง นกั เรยี นไดร้ ับการดูแลช่วยเหลอื อย่างทั่วถึงทุกด้าน

1.11 สมรรถนะที่สำคญั ของผู้เรยี น
รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีสมรรถนะที่สำคญั ขอผูเ้ รยี น
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 จำแนกตามระดับคุณภาพ

60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00

0.00

รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นทม่ี สี มรรถนะทสี ำคญั ขอผ้เู รยี น
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 จำแนกตามระดบั คุณภาพ

22

สรุป ระดับคุณภาพผลการประเมนิ ดา้ นสมรรถนะทีสำคัญขอผเู้ รียนอยู่ระดับคณุ ภาพ ดี
1.12 การประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน
ความสามารถใน การอา่ น การสื่อสาร คดิ คำนวณ และคิดวเิ คราะห์ (ระดับดี)

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นท่มี คี วามสามารถใน การอา่ น การสือ่ สาร
คิดคำนวณ และคดิ วเิ คราะห์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 – 6
จำแนกตามระดับคุณภาพ

25 77.41

20 51.51 69.56 73.91
48.48 76.19
15 46.42 43.47 45.45
23.80 30.43 36.36
10 25.00 22.58
17.85 18.18

5 10.71 0 0 0 0 0 0 0 4.30 0
00

0

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนที่มีความสามารถใน การอา่ น การสื่อสาร
คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 3
จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ

18 43.24
55..55
16
31.25
14 32.43

12 25.00
18.51
10
25.00

8
16.2118.75

6
14.81
4 8.10
7.40

2

0

23

สรุป ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 80 มีความสามารถในการอา่ น เขียน การสือ่ สาร ภาษาไทยอยใู่ น
ระดับผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด โดยมกี ารทดสอบ การอา่ น การเขยี น ในระดบั ช้นั
ป.1 – ม. 3 ภาคเรียนละ 2 คร้งั และผู้เรยี นสามารถอธบิ ายและนำเสนอผลงานของผู้เรียนไดผ้ ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ตามทสี่ ถานศึกษากำหนด

ผู้เรียนร้อยละ 68.00 ระดับผลการเรยี นเฉลีย่ ในกลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ระดบั 2.5 ขนึ้ ไป
ซง่ึ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามเปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากำหนด

ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดจำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณาอย่างรอบคอบโดย
ใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มกี ารอภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมเี หตุผล เปน็ ไป
ตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด โดยทางโรงเรียนไดจ้ ัดทำการเรียนการสอนแบบโครงงาน ในรายวิชา
การงานอาชีพ โครงงานกลุ่มสาระวชิ าวิทยาศาสตร์ โครงการการอา่ น คิด วเิ คราะห์เขียน และกจิ กรรมการ
เรยี นการสอน STEM ศึกษาบูรณาการกับวิทยาการคำนวณ

1.13 รางวัลทีโ่ รงเรียนได้รับ
รางวลั ความสำเร็จ/ผู้บริหาร/คร/ู นักเรยี น (เฉพาะทส่ี ำคญั )

รางวลั /ความสำเร็จ หนว่ ยงาน
1. นางพิชญา กองแดง ไดร้ ับรางวลั 100,000 ครุ ุชนคนคณุ ธรรม สำหรบั จากสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษา
ครูผู้สอน ระดบั ดี โครงการ สพฐ ราชบรุ ี เขต 1
จากสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี
2. นางสาวภัชชกญั ญา เกรยี งชญาคุณ ได้รบั รางวัล 100,000 คุรชุ นคน การศกึ ษาประถมศกึ ษา
คณุ ธรรม สำหรับครผู ู้สอน ระดบั ดี โครงการ สพฐ ราชบรุ ี เขต 1
จากสำนักงานเขตพนื้ ที่
3. นางสาววราลี ม่วงสด ไดร้ ับรางวลั 100,000 ครุ ุชนคนคุณธรรม สำหรับ การศกึ ษาประถมศึกษา
ครผู ูส้ อน ระดบั ดี โครงการ สพฐ ราชบุรี เขต 1
จากสำนักงานเขตพน้ื ที่
4. นางพรพิมล คงสวุ รรณ์ ได้รบั รางวลั นวัตกรรมสรา้ งสรรค์คนดี ระดับดี การศกึ ษาประถมศึกษา
เยยี่ ม โครงการ สพฐ ราชบุรี เขต 1

24

รางวัล/ความสำเรจ็ หน่วยงาน

5. เดก็ หญงิ ธารารัตน์ ดวงคำ ไดร้ บั รางวลั ระดับดเี ยี่ยม การประกวดคลิป จากสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
วิดีโอสน้ั การท่องบทอาขยาน ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 3 การศึกษาประถมศึกษา
ราชบรุ ี เขต 1
6. เด็กหญงิ พัชรีวรรณ เทพแสงศรี ได้รบั รางวัลระดบั ดีเยี่ยม การประกวด จากสำนกั งานเขตพน้ื ที่
คลิปวิดีโอสั้นการทอ่ งบทอาขยาน ระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 การศึกษาประถมศึกษา
ราชบุรี เขต 1
7. เดก็ หญิงลภัสลดา หนนุ พรอ้ ม ไดร้ บั รางวัลระดบั ดีเยยี่ ม การประกวดคลิป จากสำนักงานเขตพื้นที่
วดิ ีโอสน้ั การท่องบทอาขยาน ระดับประถมศึกษาปที ี่ 6 การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ราชบุรี เขต 1
8. เดก็ หญิงจีรนันท์ สนุ ทรวงษ์ ได้รับรางวัลระดับดเี ยยี่ ม การประกวดคลปิ จากสำนกั งานวฒั นธรรม
วดิ ีโอสน้ั การท่องบทอาขยาน ระดบั มธั บมศกึ ษาปีที่ 6 จงั หวัดราชบรุ ี

1.14 ขอ้ มลู อาคารสถานที่
ขอ้ มูลอาคารสถานที่ ประกอบดว้ ย จำนวนอาคาร จำนวนหอ้ งประกอบ
- อาคารเรียนจำนวน 3 หลัง _- ห้องนำ้ 17 ห้อง
- อาคารประกอบจำนวน 3 หลงั - สนามฟตุ บอล 1 สนาม
- สนามเดก็ เล่น 1 สนาม - สนามบาสเก็ตบอล 1 สนาม

1.15 แหล่งเรียนรู้
ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายใน/นอกโรงเรียน จำนวนการเข้าใช้ห้องสมุดของผู้เรียนเฉล่ียต่อปี
การศึกษา ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ปราชญ์ชาวบา้ น
จำนวนนกั เรยี นท่ีใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ในโรงเรียนระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

แหลง่ /ชนั้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4/1 ป.4/2 ป.5 ป.6

หอ้ งสมุด 29 31 27 21 23 38 33

หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ 29 31 27 21 23 38 33

ห้องคอมพวิ เตอร์ 29 31 27 21 23 38 33
ห้องสหกรณ์ 29 31 27 21 23 38 33

25

ห้องอาเซียน 29 31 27 21 23 38 33

หอ้ งดนตรีนาฏศลิ ป์ 29 31 27 21 23 38 33

หอ้ งคณิตศาสตร์ 29 31 27 21 23 38 33

หอ้ งแนะแนว 29 31 27 21 23 38 33

ห้องศูนย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน 29 31 27 21 23 38 33

แปลงเกษตร 29 31 27 21 23 38 33

แผนภูมแิ สดงจำนวนนักเรยี นทีใ่ ช้แหล่งเรยี นรใู้ นโรงเรยี น
ระดบั ช้นั ประถมศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

จำนวนนักเรียนท่ใี ชแ้ หล่งเรยี นรใู้ นโรงเรียนระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

แหลง่ /ชั้น ม.1 ม.2 ม.3
หอ้ งสมดุ 39 28 26
ห้องวิทยาศาสตร์ 39 28 26
39 28 26
ห้องคอมพวิ เตอร์ 39 28 26
หอ้ งสหกรณ์ 39 28 26
39 28 26
หอ้ งอาเซียน
หอ้ งดนตรี

ห้องสหกรณ์ 26
หอ้ งคณติ ศาสตร์
หอ้ งแนะแนว 39 28 26
หอ้ งศนู ยด์ จิ ิทัลชมุ ชน 39 28 26
แปลงเกษตร 39 28 26
39 28 26
39 28 26

แผนภูมแิ สดงจำนวนนกั เรียนทีใ่ ช้แหลง่ เรียนรู้ในโรงเรยี น
ระดับช้ันมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2564

จำนวนนักเรยี นท่ีใชแ้ หล่งเรียนร้นู อกโรงเรียนระดับประถมศึกษา

แหลง่ /ช้ัน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4/1 ป.4/2 ป.5 ป.6
วัดดอนตลงุ ฯ
วัดราชสงิ ขร 29 31 27 21 23 38 33
อทุ ยานเขางู 29 31 27 21 23 38 33
29 31 27 21 23 38 33

27

จำนวนนักเรยี นท่ีใชแ้ หล่งเรียนรู้นอกโรงเรยี นระดับมัธยมศึกษา

แหลง่ /ชัน้ ม.1 ม.2 ม.3
39 28 26
วดั ราชสิงขร 39 28 26
วัดดอนตลงุ 39 28 26
อุทยานเขางู

1.16 โอกาส
สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรยี นมีลักษณะเปน็ ชมุ ชนชานเมือง มปี ระชากรประมาณ 8,453
คน บรเิ วณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดและบา้ น อาชพี หลักของชุมชน คอื รบั จา้ ง สว่ นใหญ่นับถอื
ศาสนาพทุ ธ ประเพณ/ี ศิลปวฒั นธรรมท้องถนิ่ ทเ่ี ปน็ ที่รจู้ ักโดยท่ัวไป คอื งานปดิ ทองประจำปี ถำ้ ฤาษเี ขางู
ผปู้ กครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย อาชีพหลัก คอื รับจ้าง สว่ นใหญน่ บั ถือ
ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยตอ่ ครอบครัวตอ่ ปี 48,000 บาท จำนวนคนเฉลีย่ ต่อ
ครอบครัว / คน ที่ต้งั ของโรงเรียนอยใู่ นบริเวณวัดดอนตลงุ และมีวัดทีอ่ ยูใ่ กล้เคียงอีกหนง่ึ วัดคอื วัดราชสงิ ขร
มอี งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินคอื เทศบาลตำบลเขางู และองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะพลบั พลา อยใู่ นเขต
บรกิ ารสขุ ภาพอนามัยของเทศบาลเขางู ได้รับการสนบั สนุนจากวัด ชุมชนและผปู้ กครองเปน็ อย่างดี แต่อยู่
ใกล้แหล่งท่มี คี วามเสยี่ งตอ่ ปญั หายาเสพตดิ พอสมควร

1.17 ข้อจำกดั
ข้อกำจดั ของโรงเรียนได้แก่ ผูป้ กครองสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี รบั จา้ งท่วั ไป มีรายได้น้อยฐานะ
ยากจน ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษาทำให้ผู้ปกครองขาดความสำคัญในการส่งบุตรหลานให้
ได้รับการศกึ ษา มากกวา่ ร้อยละ 35 นักเรยี นมิได้อยูก่ ับบดิ ามารดา และบิดามารดาแยกทางกัน ร้อยละ 25
ในสภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำ อตั ราการว่างงานของผู้ปกครองสูงข้ึนทำให้เกิดปัญหาด้านสงั คมสง่ ผลกระทบกับ
ทางโรงเรียนเพอื่ ให้การชว่ ยเหลือด้านการเงินและสวัสดิการดา้ นอนื่ ๆ แกน่ ักเรยี นเพม่ิ ขนึ้
1.18 แนวทางการพฒั นาในอนาคต

1. เดก็ ปฐมวัยควรได้รบั การพฒั นาด้านสติปัญญา ในเร่ืองความคิดรวบยอดเก่ียวกบั ส่ิง
ตา่ งๆท่เี กิดจากประสบการณก์ ารเรยี นรู้จนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ และความร่วมมอื จากผู้ปกครอง
ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยเดก็ ปฐมวัยมีมารยาทแบบไทย มีทักษะสนใจเรยี นรสู้ ่ิงทอ่ี ยรู่ อบตัวรักการเรยี นรู้

28

มคี วามคดิ รวบยอด ทกั ษะทางภาษา กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ มีจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์

รวมถึงความเอาใจใส่ของผูป้ กครองของเดก็ ในการร่วมกันสง่ เสรมิ พัฒนาการท้ัง 4 ดา้ น

2. ด้านบคุ ลากร พัฒนาครูให้มคี วามรคู้ วามสามารถ ตามมาตรฐานการศึกษา

และสง่ เสรมิ การจัดทำวิทยฐานะด้านวชิ าการพัฒนางานวชิ าการให้เป็นระบบมากย่งิ ขนึ้ ทำการนิเทศ

การจดั การเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ

3. ครคู วรได้รับการพฒั นาในเร่ืองการใชส้ ือ่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมสอดคลอ้ งการ

พัฒนาการของเดก็ การใชเ้ ครื่องมือวดั และประเมินพฒั นาการของเด็กอยา่ งหลากหลายการวจิ ัย

และพัฒนาการจัดการเรยี นร้ทู ี่ตนรบั ผิดชอบ และใชผ้ ลในการปรับการจัดประสบการณ์

4. ผเู้ รียนในระดบั ป.1 – ป.3 ยังตอ้ งเรง่ พฒั นาดา้ นการนำเสนอ อภิปราย

แลกเปล่ยี นเรยี นรซู้ ง่ึ กนั และกนั ต้องพฒั นาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณไ์ ด้อย่างเหมาะสม

ครคู วรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มพี ฤติกรรมทัศนคติทดี่ ีตอ่ ความเปน็ ไทยไม่หลงใหลกับค่านิยมต่างชาติ

เกิดการลอกเลยี นแบบจนลืมวัฒนธรรมอันดีงามของไทย

5. ควรนำภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนรว่ มในการจดั การเรยี นการสอนเพม่ิ มากข้ึนและ

การให้ข้อมลู ย้อนกลบั แก่นักเรียนทันที เพื่อนักเรียนจะได้ไปปรับปรงุ และพฒั นาตนเองใหด้ ขี ึ้น

โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี
เขต 1 จดั การศึกษาระดับประถมศึกษา มีนกั เรียนต้ังแต่ระดับปฐมวัย - ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ในสว่ น
นกั เรยี นปฐมวัยเปิดสอนระดับอนุบาล 2 - อนุบาล 3 มีจำนวนนักเรียน 45 คน ครูผู้สอน 2 คน ระดับช้ัน
ประถมศึกษาปที ่ี 1- มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มจี ำนวนนักเรยี น 295 คน ครูผสู้ อน15 คน ทง้ั สามระดับ ครูมีวุฒิ
การศึกษาประกอบด้วยสาขา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา การงานอาชีพ ศิลปะดนตรี
นาฏศิลป์ ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ อย่างน้อยสาขาละ 1 คน มีวุฒิการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีถึง
ปริญญาโท และมีบุคลากรสนับสนุนอืน่ ๆ7 คน มีประสบการณ์การสอนเฉลี่ย 15 ปี มีอายขุ องครูเฉลยี่ 36
ปี มีห้องเรียนครบช้ัน และมีห้องปฏิบัติการพิเศษ 8 ห้อง คือห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์
อย่างละจำนวน 2 ห้อง ห้องคณิตศาสตร์ ห้องการงานอาชีพ ห้องดนตรีนาฏศิลป์ และห้องจริยะ
มีห้องสมุดขนาด 3 ห้องเรียนจำนวน 1 ห้อง มีห้องศูนย์ดิจิทัลชุมชน 1 ห้อง มีอาคารเรียนหลัก 3 อาคาร
33 หอ้ งเรียน ห้องน้ำ 14 หอ้ ง มีอาคารอเนกประสงคข์ นาด 120 ตารางเมตร 1 อาคาร อาคารอำนวยการ
3 หลัง พ้ืนทบี่ ริเวณโรงเรียนท้ังหมดประมาณ 14 ไร่ โดยได้เปดิ ใหบ้ ริการประชาชนในเขตพื้นท่ีให้บริการ 6
หมู่บ้าน นอกเขตบริการ 2 หมู่บ้าน รวมจำนวนประมาณ 300 ครัวเรือน มีประชากรในเขตบริการทั้งสิ้น
ประมาณ 8,453 คน จำนวนมีนักเรียนท้ังโรงเรียน 341 คน ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีอาชีพทำรับจ้างท่ัวไป
มีรายได้ประมาณ 48,000 บาทต่อปี นับถือศาสนาพุทธ นักเรียนเดินทางมาโรงเรียนด้วยการเดิน
รถจักรยาน และรถจักรยานยนต์ ผู้ปกครองมารับมาส่ง โรงเรียนอยู่ติดกับศาสนสถาน คือวัดดอนตลุง

29

ผลการประเมินตนเองในระดับปฐมวัยภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเลิศ และผลการประเมินตนเองในระดับข้ัน
พ้ืนฐานภาพรวมอยู่ในระดับ ดี เช่นเดียวกัน โดยจะสรุปภาพรวมของโรงเรียน 3 ด้านเพื่อนำเสนอใน
รายงานน้ีคือ ด้านการคุณภาพผเู้ รียน กระบวนการบริหารจดั การ และกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่
เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ

30

สว่ นที่ 2
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาของผ้บู ริหารสถานศึกษา

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ระดับปฐมวัย

มาตรฐานการศกึ ษา : ปฐมวัย (มี 5 ระดบั คือ กำลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเย่ียม)

มาตรฐานการศึกษา ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเดก็ ดเี ลศิ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลศิ

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคญั ดีเลิศ

มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก อยู่ในระดับ ดีเลิศ

ผลการพัฒนาการเด็กในด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
ดังน้ี

1.1 มพี ฒั นาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนิสยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้
สถานศึกษามีผลการดำเนินการพัฒนาดา้ นคุณภาพเด็ก ด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และ
ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โดยทางสถานศึกษาได้จัดให้มีโครงการอาหารกลางวัน ให้เด็กทุกคนได้
รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ และได้รับอาหารเสริม(นม)ฟรีทุกวัน มีการจัด
ประสบการณ์อย่างหลากหลายให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง เช่น กิจกรรมประจำวัน 6 กิจกรรม
ได้แก่ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์และการเล่นตามมุม เด็กได้ระบายสี การเป่าสี การฉีกตัดปะ การป้ันดิน
น้ำมัน กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ เด็กไดเ้ คลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอยา่ งอิสระตามจงั หวะ โดย
ใชเ้ สียงเพลง เคร่ืองเคาะจังหวะต่าง ๆ ท่องคำคลอ้ งจอง การเล่นนิ้วมือ ปรบมือ กิจกรรมการเลน่ กลางแจ้ง
โดยให้เด็กได้เล่นเคร่ืองเล่นสนาม เกมการละเล่น ต่าง ๆ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระ คล่องแคล่ว มี
ความสุขในการออกกำลังกาย และเรียนรู้การระมัดระวัง รักษาความปลอดภัยของตนเองและของผู้อ่ืน
กิจกรรมเกมการศึกษาช่วยพัฒนาสติปัญญา เด็กรู้จักสังเกต คิดหาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอด
เก่ียวกับสี รูปร่าง จำนวน ประเภท ความสมั พันธ์เกย่ี วกับพืน้ ท่ี ระยะ และรู้จักการปฏบิ ัติตนตามกฎเกณฑ์
ข้อตกลง ของการเล่นได้ และกิจกรรมเสริมประสบการณ์เด็กรู้จักช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกับวัยมี

31

ความรู้ และความคิดรวบยอดในการเรียนรู้เก่ียวกับตัวเอง บุคลคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก ธรรมชาติ
รอบตัว และส่ิงต่าง ๆ รอบตัวเด็ก ท้ังนี้ได้จัดโครงการ ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดประสบการณ์
วทิ ยาศาสตรน์ ้อยแหง่ ประเทศไทย โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น กจิ กรรม สง่ เสริมสขุ ภาพอนามัย

1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
สถานศึกษามีผลการดำเนินการพัฒนาด้านคุณภาพเด็ก ด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ
แสดงออกทางอารมณไ์ ด้เหมาะสมกบั วัย โดยทางโรงเรียนได้จัดกจิ กรรม ประจำวัน 6 กจิ กรรม ให้เหมาะสม
กับวัย และได้จัดให้เด็กเข้าร่วมการแสดงต่าง ๆ ในวันสำคัญ และกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษาทุก
กจิ กรรม เพื่อสง่ เสริมให้เดก็ มีส่วนร่วมในการแข่งขันนำเสนอผลงานตนเอง ฝึกให้เด็กมีความม่นั ใจในตนเอง
กล้าพูดกลา้ แสดงออก ยอมรับและพอใจในผลงานของผอู้ ่ืน เชน่ โครงการวนั สำคญั โครงการส่งเสรมิ ความ
เป็นเลิศทางวิชาการ โดยสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการ โครงการส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมและความเป็นไทยและ กิจกรรมจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์ฝึกให้เด็กปฏิบัติตน เป็นคนดี มีความ
ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ อดทน

1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ขี องสงั คม
สถานศึกษามีผลการดำเนินการพัฒนาด้านคุณภาพเด็กด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็น
สมาชิกท่ีดีของสังคม โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการจัดกิจกรรมประจำวัน 6 กิจกรรมที่สอดคล้องกับ
หลกั สูตรสถานศึกษา ทีเ่ น้นใหเ้ ดก็ ได้ปฏิบัติจริง ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกิจวตั รประจำวันได้ มีการ
ดำเนินโครงการส่งเสริมประชาธิปไตยเพื่อปลูกฝังให้เด็กทุกคนร่วมกันดำเนินกิจกรรมในการปฏิบัติตนใน
การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ภายใต้กฎระเบียบที่ตกลงร่วมกัน เด็กมีส่วนร่วมในการ
รับผิดชอบช่วยกันดูแลส่ิงแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอก โดยแบง่ หน้าที่การทำหน้าท่ีเวรประจำวนั ในการ
ช่วยกันดูแลรักษาความสะอาดในห้องเรียน และช่วยกันดูแลเก็บกวาดขยะรอบ ๆ บริเวณอาคารเรียน
อนุบาล อีกทัง้ ช่วยกันคัดแยกขยะ ลงในถังตามแต่ละของชนิดขยะ ซ่ึงเด็กทกุ คนมีส่วนร่วมในกระบวนการ
ปฏิบัติ ท้ังการแกป้ ญั หาในการทำงานร่วมกัน การรู้จักการขอโทษ การให้อภัย โดยไม่ใชค้ วามรุนแรงในการ
แก้ปัญหา เด็กทุกคนร่วมกันปฏิบัติตามข้อตกลงของห้องท่ีเด็กร่วมกันสร้างขึ้น และการปฏิบัติตนตาม
กฎระเบียบของสถานศึกษา เช่น การแต่งกายประจำวนั วันจนั ทร์ วันอังคาร วันพฤหัสบดี แต่งกายด้วย
ชุดนกั เรยี น วันพธุ แต่งกายด้วยชุดพละศึกษา และวันศกุ ร์แต่งกายดว้ ยชดุ ผ้าไทย เปน็ การฝึกใหเ้ ด็กรจู้ ักการ
ปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมประเพณีของสงั คมทตี่ นอาศยั อยู่ และการปฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลงของสถานศึกษา

32

1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา สือ่ สารได้ มีทกั ษะการคดิ พืน้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้
สถานศึกษามีผลการดำเนินการพัฒนาด้านคุณภาพเด็ก ด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการ
คิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยสถานศึกษาไดด้ ำเนินการจัดกิจกรรมให้กบั เดก็ อย่างหลากหลาย เช่น
การจัดกิจกรรมประจำวัน 6 กิจกรรมหลักท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โครงการส่งเสริม
ประสิทธิภาพการจัดประสบการณ์นักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย เป็นกิจกรรมท่ีฝึกให้เด็กมีทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ เด็กร้จู กั การสงั เกต การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ โครงการ
ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการพัฒนาห้องเรียนและส่ือการจัดประสบการณ์ เป็นกิจกรรมท่ี
ส่งเสริมและปลูกฝังในการพัฒนาด้านสติปัญญาให้เด็กรู้จักการแสวงหาความรู้ท่ีมีอยู่รอบตัวเด็ก และเด็ก
เกิดความคดิ รวบยอดในการเรยี นรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ เรยี นร้อู ย่างมีความสุข

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อย่ใู นระดับ ดีเลิศ
ผลกระบวนการบริหารและการจัดการ ดังน้ี
2.1 มหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทัง้ 4 ดา้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถนิ่
สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยพัฒนาหลักสูตร

สถานศึกษา ของระดับปฐมวัยทม่ี ีความยืดหยนุ่ สอดคล้องกับวถิ ีชวี ิตของครอบครัว ชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน ท่เี นน้ ให้
เด็กได้ลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ และคำนึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล

2.2 จดั ครูให้เพยี งพอกับช้ันเรยี น
ครูที่มีวุฒิการศึกษาปฐมวัยครบทุกชั้น มีความรู้ความาสามารถในการจัดทำแผนการจัด
ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคญั ตรงตามมาตรฐาน ตัวชวี้ ัดและสอดคลอ้ งสัมพันธ์กับกจิ กรรมประจำวนั 6
กจิ กรรม
2.3 ส่งเสริมให้ครูมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
สถานศึกษาส่งเสริมให้ครปู ฐมวัยทุกคน เข้ารับการพัฒนาตนเองตามนโยบายจากหน่วยงานต้น
สังกัด 40 ชั่วโมงต่อปี และได้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อส่งเสริมให้ครูได้ใช้
งานวจิ ัยต่าง ๆ ในการแกไ้ ขปญั หาเด็กในช้ันเรยี น โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมและพัฒนาบุคลากรสคู่ วาม
เปน็ เลิศการศกึ ษา โครงการนิเทศ พัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษา โดยครูไดน้ ำความรแู้ ละประสบการณ์
จากการอบรม พัฒนาตนเองมาปรับปรุง แก้ไขในห้องเรียนให้เป็นห้องเรียนคุณภาพ และเพ่ือพัฒนา
ความก้าวหนา้ ทางวชิ าชีพของ ตนเอง
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพือ่ การเรียนรูอ้ ยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีปลอดภัย โดยได้ดำเนินการจัด
โครงการ พัฒนาอาคารสถานท่ี เพื่อให้บริเวณรอบ ๆ ภายในสถานศึกษามีภูมิทัศน์ท่ีสวยงาม ร่มรนื่ น่าอยู่
และปลอดภัย และจัดโครงการพัฒนาห้องเรียนและสื่อการเรียนการสอน เพ่ือส่งเสริมให้เด็กเกิด

33

กระบวนการเรียนรู้เป็น รายบุคคล รายกลุ่ม และการเล่นแบบรว่ มมือร่วมใจ โดยจัดให้มีมุมประสบการณ์
ตา่ งๆ หลากหลาย พร้อมทงั้ มีสือ่ การเรียนรู้ เพยี งพอกบั เดก็ เพ่ือการสืบเสาะหาความรู้

2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
สำหรับครู

สถานศึกษาจัดให้มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ วสั ดุ อุปกรณ์ ให้บริการ ครู เด็ก เพ่ือสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์สำหรบั ครู โดยได้จัดให้มีโครงการพัฒนาหอ้ งเรยี นและส่ือการจัดประสบการณ์ และโครงการ
ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดประสบการณว์ ิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทย เพื่อจัดหางบในการจัดสรรให้
ครูได้ มีงบในการจัดหาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ นำมาจดั ประสบการณ์ให้กับเด็ก
เกิดการเรียนรูอ้ ยา่ ง หลากหลาย เดก็ มคี ุณภาพและห้องเรียนมีคุณภาพ

2.6 มรี ะบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม
สถานศึกษามีการบริหารในรูปองค์คณะบุคคล มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีมี
บทบาทในการกำหนด เป้าหมายการจัดการศึกษาทุกระดับ ระดับการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดมาตรฐาน
การศึกษา ตัวช้ีวัด จากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เช่น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผู้ปกครอง คณะครู ผู้บริหารโรงเรียน องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วม
กำหนดมาตรฐานการศึกษา ตวั ช้ีวัด มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานตาม
แผนท่ีวางไว้ การแต่งตง้ั คณะกรรมการประเมินระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพื่อนำผลการ
ประเมิน มาปรับปรุงพัฒนาการจัดประสบการณ์ของครูและสถานศึกษา ตลอดจนการจัดทำรายงาน เพ่ือ
เสนอหนว่ ยงานต้นสงั กัด หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งและสาธารณชน

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ อยใู่ นระดบั ดเี ลิศ
ผลการจดั ประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เป็นสำคญั ดังน้ี
3.1 จัดประสบการณ์ที่สง่ เสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ
ครูจัดกิจกรรมประจำวัน 6 กิจกรรมหลักที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการครบทุกด้าน เต็มตาม

ศักยภาพ ของเด็กแต่ละคน และได้จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์มาตรฐาน
ตัวช้ีวัดตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย
อารมณ์-จิตใจ สังคม และ สตปิ ัญญา เชน่ โครงการส่งเสรมิ ประสิทธิภาพการจัดประสบการณ์วทิ ยาศาสตร์
นอ้ ยแห่งประเทศไทย โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวชิ าการ โครงการพัฒนาห้องเรียนและสื่อการจัด
ประสบการณ์ โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงการวันสำคัญ โครงการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียน
โครงการห้องสมุด โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา
โครงการส่งเสรมิ ประชาธิปไตย ฯลฯ ซ่ึงโครงการเหล่านี้ เป็นโครงการท่ีมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็ก
เกดิ กระบวนการเรยี นรอู้ ย่างหลากหลาย มพี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย

34

3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมีความสุข
ครูจัดกิจกรรมประจำวัน 6 กิจกรรมหลัก ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการครบทุกด้านเต็มตาม
ศักยภาพของเด็ก ตอบสนองความสนใจ ความสามารถของเด็กเป็นรายบุคคล จัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับเด็ก
ได้เลือกเล่น ตามมุมประสบการณ์ ตามความสนใจของเด็ก เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างอิสระและสร้างสรรค์
และไดด้ ำเนนิ โครงการส่งเสริมประสิทธภิ าพการจดั ประสบการณว์ ทิ ยาศาสตรน์ ้อยแหง่ ประเทศไทย เดก็ เกิด
การเรียนร้ลู งมอื กระทำ และสร้างองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมทสี่ ่งเสรมิ ให้เดก็ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ขนั้ พ้ืนฐาน และปลูกฝงั ให้เดก็ มคี วามรู้สึกท่ีดตี อ่ การเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เด็กจะรู้จักการสังเกต การเปรียบเทียบการคาดคะเน การคิดวิเคราะห์ คิด
สังเคราะห์ และการแก้ปัญหา โดยผ่านการทดลองกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยทุกคนมีสว่ นร่วมในการ
ปฏิบตั กิ ิจกรรมทุกขนั้ ตอน เด็กเกิดการเรยี นรอู้ ย่างมีความสุข
3.3 จัดบรรยากาศทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วยั
ครูจัดห้องเรียนคุณภาพ มีพื้นท่ีแสดงผลงานเด็กอย่างชัดเจนท่ีผู้ปกครองมองเห็นได้ มีมุม
ประสบการณ์ต่างๆ ใหก้ ับเด็กได้เรียนร้อู ย่างอสิ ระ ตามความสนใจของเดก็ แตล่ ะคน โดยครูให้เด็กทุกคนใน
ห้องมีส่วนร่วมในการจัด สภาพแวดล้อมในห้องเรียนด้วยกัน เช่น การแบ่งเวรการทำหน้าท่ีเวรประจำวัน
รับผิดชอบช่วยเหลือกนั ในการดูแล รักษา สภาพแวดล้อมห้องเรียนให้สะอาด น่าอยู่ มอี ากาศถ่ายเทสะดวก
ที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ มีสภาพแวดล้อมในหอ้ งเรียนปลอดภยั มีการใช้สือ่ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวยั เด็ก
เช่น การค้นคว้าข้อมลู ข่าวสารต่างๆ จากคอมพิวเตอร์ สอ่ื ของเล่นท่ีกระตุ้น ให้คิดและหาคำตอบ เช่น เกม
ต่างๆ และการดำเนนิ โครงการพฒั นาห้องเรียนและส่ือการเรยี นการสอน โครงการส่งเสริมการเรียนการสอน
โดยใช้ ไอซีที และโครงการพัฒนาอาคารสถานที่ เพ่ือพัฒนาห้องเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ ที่น่าสนใจ น่าอยู่
ทนั สมัย อบอุน่
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง
การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก
ครมู ีการประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวตั รประจำวนั ด้วยเครือ่ งมอื การวดั และวธิ กี าร
ท่หี ลากหลาย ครอบคลุม เหมาะสมกับวัยเด็ก การประเมินพฒั นาการเด็กทุกคร้งั ให้ผู้ปกครองและผู้มีส่วน
เก่ียวข้องมีส่วนรว่ มในการ ประเมินพัฒนาการเด็ก และนำผลการประเมินที่ได้ไปพฒั นา ปรับปรุงคุณภาพ
เด็ก ให้ดยี ่ิงขน้ึ ไป เช่น แบบบนั ทกึ พฒั นาการ เด็ก (อบ.3 /1) สมดุ บันทึกเด็กเป็นรายบุคคล (อบ.3 /2) แบบ
ประเมนิ ผลงานเด็ก แบบบันทึกพฤตกิ รรมเด็กเป็นรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมเด็ก แบบสัมภาษณ์เด็ก
แฟ้มสะสมผลงานเด็ก

35

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

มาตรฐานการศกึ ษา : ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน (มี 5 ระดับ คอื กำลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม)

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน ดี

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี

มาตรฐานท่ี 3 ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ดี

มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน อยู่ในระดบั ดี

โรงเรยี นวดั ดอนตลุง(ราษฎร์ศรทั ธาทาน) มีกระบวนการพัฒนาผ้เู รียนด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย ครู
มีการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน โดยยึดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการ
ออกแบบการเรียนรู้เหมาะสมกับผู้เรียน คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยจัดการเรียนรู้โดยให้
นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการเรยี นรู้ เช่น การลงมือปฏิบัติจริง การใช้กระบวนการคดิ การระดมสมอง เน้นการ
ร่วมมือกันเรียนรู้ ใชก้ ระบวนการเพ่ือให้แก้ปัญหาเปน็ หลกั เน้นการอ่านออกเขียนได้ต้ังแต่ระดับชั้น ป.1 –
ม.3 ครูมีการพัฒนาตนเองโดยการนำส่ือเทคโนโลยี เทคนิควิธีการใหม่ ๆ มาพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็ม
ศักยภาพ มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด (E-Library) โครงการสานพลังประรัฐฯ
(true ปลูกปัญญา) เทคโนโลยี และศนู ย์การเรยี นรู้ประชาคมอาเซียน ครูในสายชนั้ เดยี วกันร่วมกันกำหนด
แผนการจัดกาเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดยบูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามอย่าง
หลากหลายเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนสถานศึกษาเน้นให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำ
ความรทู้ ี่ได้รบั มาประยุกต์ในกิจกรรมการเรยี นการสอนได้ ซ่งึ เป็นนวตั กรรมเกยี่ วกบั การเรยี นการสอน เช่น
การจัดการเรียนการสอนด้านงานอาชีพ โครงงานอาชีพตะกร้าจากเชือกมัดฟาง การประดิษฐ์ของชำร่วย
สวยด้วยมือเรา งานตีลายปิดทองจากวัสดุในท้องถ่ิน และกิจกรรมการเรียนการสอน STEM ศึกษาบูรณา
การวิทยาการคำนวณ เป็นตน้

สถานศึกษาได้ดำเนินเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อใหใ้ ช้ชีวิตประจำวันและอยู่ในสังคมได้
อย่างสงบสุข เน้นพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมเหมาะกับวัยของผู้เรียน และตามนโยบายของผู้บริหาร
โดยนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการเสริมสร้างคนดสี ู่โรงเรียนสจุ ริต เน้นให้ผเู้ รยี น ซ่อื สตั ย์ สุจริต
มวี ินยั รบั ผิดชอบ และจิตสาธารณะ โครงการโรงเรียนวถิ ีพุทธ ดำเนินการใหน้ กั เรยี นเขา้ คา่ ยอบรมคณุ ธรรม
ร่วมกันรับผิดชอบเขตพื้นที่ให้สะอาด ยิ้มไหว้ทักทายซ่ึงกันและกัน นิมนต์พระมาสอนธรรมศึกษาให้แก่

36

นักเรียน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยแบ่งครูท่ีปรึกษาให้ดูแลนักเรียน และออกเยี่ยมบ้าน
นักเรียนเพ่ือรู้จักนักเรียน ทราบปัญหาเป็นรายบุคคล ดำเนินการคัดกรองนักเรียน จัดการช่วยเหลือแก้ไข
พฒั นา สรา้ งเครือขา่ ยผู้ปกครองชุมชนเพ่ือร่วมมอื ช่วยเหลือและแกไ้ ขปัญหา

การพฒั นาคุณภาพนกั เรยี นให้มีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และสมรรถนะทสี่ ำคญั ของผเู้ รียน
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ
ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 มีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร ภาษาไทยอยู่ในระดบั ผ่านเกณฑ์
การประเมนิ ตามท่สี ถานศึกษากำหนด โดยมีการทดสอบ การอ่าน การเขยี น ในระดับชัน้ ป.1 – ม. 3 ภาค
เรียนละ 2 คร้ัง และผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายและนำเสนอผลงานของผูเ้ รยี นไดผ้ ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด
ผเู้ รียนร้อยละ 68.00 ระดับผลการเรยี นเฉล่ยี ในกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั 2.5 ขน้ึ ไป
ซ่ึงผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากำหนด
2) ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการคดิ จำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณาอย่างรอบคอบ
โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ มกี ารอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแกป้ ัญหาอยา่ งมเี หตุผล
เปน็ ไปตามเป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนด โดยทางโรงเรยี นได้จดั ทำการเรียนการสอนแบบโครงงาน ใน
รายวชิ าการงานอาชีพ โครงงานกล่มุ สาระวชิ าวทิ ยาศาสตร์ โครงการการอ่าน คิด วเิ คราะห์เขยี น และ
กจิ กรรมการเรียนการสอน STEM ศึกษาบรู ณาการกับวทิ ยาการคำนวณ
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ผู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ทั้งตวั เองและการทำงานเปน็ ทมี เช่ือมโยงองค์
ความรู้ และประสบการณม์ าใช้ในการสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ๆ เชน่ การทำโครงงานอาชพี ตะกรา้ จากเชอื กมดั ฟาง
กิจกรรมตีลายปิดทอง กิจกรรมนาฏศิลป์ไทย สิ่งประดษิ ฐ์ทางวทิ ยาศาสตร์ ผลงานนกั เรียนในแตล่ ะกลมุ่
สาระการเรียนรู้ และการสรปุ แผนผังความคิดทีไ่ ด้จากความรู้ทไ่ี ดร้ บั
4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารเพ่อื การพัฒนาตนเองและ
สังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมคี ณุ ธรรม โดยในการเรียนการสอน
ผเู้ รยี นมกี ารใชเ้ ทคโนโลยใี นการสืบคน้ หาความรู้ตามความตอ้ งการของผู้เรียน บูรณาการวทิ ยาการคำนวณ
และผู้เรยี นไดใ้ ช้ DLTV เขา้ มาช่วยในกิจกรรมการเรียนการสอนเพอ่ื เป็นการเพมิ่ ความร้มู ากยงิ่ ข้นึ
5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
ผู้เรยี นบรรลแุ ละมีความก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รสถานศึกษาและสามารถนำความรู้ที่
ไดร้ ับมาสรา้ งสรรคผ์ ลงานต่างๆได้ พร้อมทงั้ สามารถทดสอบการอา่ นการเขียนระดบั เขตพ้ืนท่ีผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ อย่ใู นระดับ ดี

37

6) มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ
ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ พร้อมทัง้ มเี จตคติทดี่ ตี ่องาน
อาชีพและผู้เรยี นมคี วามมุง่ ม่ันในการทำงานและการศึกษาต่อในระดับชัน้ ท่ีสงู ข้ึน
1.2 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผ้เู รียน
จากการดำเนนิ งานตามโครงการ สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมวี นิ ยั มคี วามกตัญญู มีความประหยดั และ
ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมเบ้อื งตน้ ได้ ส่งเสริมใหน้ กั เรียนภมู ิใจในความเป็นไทย เน้นคุณค่านิยมไทย และดำรง
ไว้ซ่งึ ความเป็นไทย สร้างเสริม พฒั นาบรรยากาศของสิ่งแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นใหส้ วยงามร่มรน่ื สร้าง
ความสัมพนั ธ์อันดีงามระหวา่ งชุมชน วดั กบั โรงเรียน สรา้ งเครอื ขา่ ยร่วมกันระหว่าง ครู ผู้ปกครอง และ
ชมุ ชนในการดูแลบุตรหลานของตนเอง นกั เรยี นไดร้ บั การดูแลชว่ ยเหลืออยา่ งท่วั ถึงทุกด้าน
มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
มาตรฐานท่ี 2 ด้านกระบวนการการบริหารและการจดั การ อยใู่ นระดับ ดี
โรงเรยี นวัดดอนตลุง(ราษฎร์ศรัทธาทาน) จัดการศกึ ษา โดยยึดหลักการบริหารจัดการบา้ นเมืองทดี่ ี
มีกฎหมายระเบยี บต่างๆทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เพอื่ ความโปร่งใสในการบริหารงาน ยึดนโยบายรฐั บาลต้นสังกดั และ
นโยบายของโรงเรียน ใช้หลกั การบริหารงานทงั้ ระบบ ระบบวงจรคุณภาพ PDCA และการทำงานท้งั ระบบ
มกี ารจดั ทำค่มู ือการปฏิบัตงิ านไว้อย่างชดั เจนเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ านตา่ งๆ ของบคุ ลากรและ
ผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย โดยยดึ หลักการทำงานเปน็ ทมี แบบมสี ว่ นรว่ มในทุกกระบวนการ ทุกกิจกรรม ตง้ั แต่การ
วางแผนการทำงาน การปฏิบตั ติ ามแผน และสรุปผลการทำงานโดยยึดหลักการทำงานแบบพ่ีแบบน้อง เน้น
ความเป็นกันเองให้ทกุ คนมปี ฏิสัมพันธ์ทดี่ ีต่อกัน ยดึ หลักจิตอาสาในการพฒั นางาน พัฒนานกั เรยี น รวมถึง
ยึดหลักการเปล่ยี นแปลงของสภาพสงั คม ส่ิงแวดล้อม กฎระเบียบต่างๆ
การปฏบิ ัติงานตา่ งๆ มีการกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานทชี่ ดั เจน และมีสว่ นรว่ มทุกภาคสว่ น
ตงั้ แต่การกำหนดวสิ ยั ทศั น์ เป้าหมาย พนั ธกิจ กลยุทธ์ โครงการ และกิจกรรมตา่ งๆ ในโครงการ มีการ
กำหนดและจดั ทำข้อมลู สารสนเทศที่เทย่ี งตรงครอบคลมุ ทกุ งาน มีการนิเทศ กำกบั ตดิ ตามงานอย่าง
ต่อเนอ่ื ง โดยวิทยาการนิเทศผลผลิต ซง่ึ เป็นการนเิ ทศติดตามทีม่ งุ่ ตรงไปยังผลผลิต ได้แก่นกั เรียน ผลงาน
ต่างๆ ของครู ของผู้บรหิ าร ท้งั น้ี ไดน้ ิเทศกำกับติดตาม ทัง้ ด้านการเรียนการสอน การปฏิบัติตนและการ
ปฏิบตั งิ านอื่น ท่ีได้รบั มอบหมาย ทง้ั นี้มีการปรับเปล่ียนใหเ้ หมาะสมกับสภาพปัจจุบันอยา่ งสม่ำเสมอ

38

มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

มาตรฐานที่ 3 ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ อยใู่ นระดบั ดี

ครูผสู้ อนมกี ารจดั กิจกรรมการเรียนร้ตู ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตรงตามตวั ชี้วัดของหลักสูตร

สถานศกึ ษา โดยเนน้ ให้ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง มีแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี

สามารถนำไปจดั กิจกรรมได้จรงิ ผูเ้ รียนได้รบั การฝกึ ทกั ษะ กลา้ แสดงความคิดเห็น มีการใช้ส่อื และ

เทคโนโลยแี ละแหล่งเรยี นรู้ รวมท้งั ภูมิปัญญาท้องถิน่ มาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ โดยให้ผู้เรยี นแสวงหาความรู้

ดว้ ยตนเองและสามารถสรปุ องค์ความรขู้ องตนเอง นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ น

ชีวิตประจำวัน มีการบริหารจัดการช้นั เรยี นเชิงบวก สรา้ งปฏิสมั พันธท์ ดี่ ี ครูรู้จกั ผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล

ดำเนนิ การตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน รวมท้งั มกี าร

แลกเปลย่ี นเรยี นรู้และนำผลที่ไดม้ าให้ข้อมูลป้อนกลับ เพอ่ื ใช้ในการพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรียน

การสอน โดยมีการดำเนินงานและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น โครงการนิเทศภายใน โครงการพฒั นา

วิชาการ โครงการส่งเสรมิ การแขง่ ขันทกั ษะทางวิชาการ โครงการใชแ้ หล่งเรยี นรู้และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ

โครงการสง่ เสริมดนตรีไทยและนาฏศลิ ป์ไทย โครงการส่งเสริมการใชส้ อื่ และนวตั กรรมในการจัดการเรยี น

การสอน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงงานอาชพี จากตะกรา้ จากเชอื กมัดฟาง การประดิษฐ์

ของชำร่วยสวยด้วยมือเรา งานตีลายปิดทองจากวัสดุในท้องถิน่ กิจกรรมการเรียนการสอน STEM ศึกษา

บรู ณาการกับวิทยาการคำนวณ

ผลจากการพฒั นาตามวธิ กี ารดังกลา่ วข้างต้นจึงส่งผลให้ โรงเรยี นวดั ดอนตลุง(ราษฏรศ์ รทั ธาทาน)

มผี ้เู รียนอา่ นหนังสือออกและอา่ นคลอ่ ง รวมทงั้ สามารถเขยี นเพื่อการส่ือสารไดท้ ุกคน สามารถนำเทคโนโลยี

มาใชแ้ สวงหาความรู้ได้ทกุ คน ส่งผลใหม้ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นอยู่ในระดบั ดี โดยมีผลทำให้

ผเู้ รียนมสี ุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถนะทางกาย มนี ำ้ หนัก และส่วนสงู ตามเกณฑ์ มีระเบยี บวนิ ยั แตง่

กายสะอาดเรียบร้อย ถอื เป็นเอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา จนได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองชุมชนโดยรอบ

โรงเรียนด้านความมวี นิ ัย เคารพกฎระเบยี บของโรงเรยี น และสงั คม เชน่ การเข้าแถวซื้ออาหาร เป็นตน้

มีเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน จากการตรวจสอบแผนพัฒนา

คณุ ภาพการศกึ ษา 4 ปี แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 2563 และ 2564 หลักสตู รสถานศกึ ษา รายงานประจำปี

2564 โรงเรียนมกี ารกำหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ทสี่ อดคล้องกัน ข้อมลู สารสนเทศชัดเจน คำสัง่

มอบหมายงาน บนั ทกึ การประชุมครแู ละกรรมการสถานศึกษา ร่องรอยการดำเนนิ งานโครงการการกำกับ

นิเทศ ติดตามและประเมินผล การสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มผ่านการจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี และ

โครงการของโรงเรียน โรงเรียนมีเปา้ หมายและทิศทางของการปฏิบตั ิงานท่ชี ัดเจน สามารถนำไปปฏิบัตใิ น

การบริหารจัดการองค์กรได้อยา่ งครบถ้วนและได้รับความรว่ มมือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ชมุ ชน

และหนว่ ยงานอื่นๆในการบริหารจัดการศกึ ษา

จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ไดใ้ ช้สอ่ื

เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรูท้ ่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้มีการบริหารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก ตรวจสอบ

39

และประเมินผลผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรยี นมีการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละใหข้ อ้ มูล
สะท้อนยอ้ นกลับ เพอื่ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ จากการดำเนนิ งานและกจิ กรรมตามโครงการ
นเิ ทศภายใน โครงการพัฒนาวิชาการ โครงการส่งเสรมิ การแขง่ ขันทกั ษะทางวชิ าการ โครงการใช้แหล่ง
เรียนรแู้ ละภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ โครงการสง่ เสริมดนตรไี ทยและนาฏศลิ ปไ์ ทย โครงการสง่ เสริมการใช้สอื่ และ
นวตั กรรมในการจัดการเรียนการสอน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน โครงงานอาชพี จากตะกรา้
จากเชือกมดั ฟาง การประดษิ ฐ์ของชำรว่ ยสวยด้วยมือเรา งานตลี ายปิดทองจากวัสดุในท้องถ่ิน กิจกรรมการ
เรียนการสอน STEM ศึกษาบรู ณาการกบั วทิ ยาการคำนวณ ทำให้ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการตามเกณฑ์
ที่สถานศกึ ษากำหนด

ดังน้ันคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) ในปีการศึกษา
2564 จึงถือได้ว่า โรงเรียนประสบผลสำเร็จทั้งในด้านการเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน และสร้าง
คุณลักษณะที่ดีให้เกิดขึ้นในตัวของนักเรียน ด้วยความทุ่มเทวิริยะอุตสาหะของครูทุกคน สะท้อนให้เห็น
คณุ ภาพของการบรหิ ารจัดการโรงเรียนได้ดี สภาพของโรงเรียนสะอาดร่มรืน่ น่าเรยี น ไดร้ ับความรว่ มมือท้ัง
บา้ น วัด โรงเรยี น และองค์กรจากชมุ ชนทุกหมู่บา้ น ผปู้ กครองรักและให้ความสนใจร่วมมือกบั โรงเรยี นเป็น
อย่างดี ถงึ แม้วา่ โรงเรยี นวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) เปน็ โรงเรยี นขนาดกลาง ทีจ่ ดั การศึกษาทา่ มกลาง
ความขาดแคลนทรัพยากร ทุกด้าน แต่ความร่วมมือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของทุกภาคส่วนส่งผลให้
คุณภาพของโรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) ในระดับปฐมวัยอยู่ในระดับ ดีเลิศ และขั้นพ้ืนฐาน
สรุปอยู่ในระดับ ดี อย่างนา่ ภาคภมู ิใจ ไดร้ ับคำชื่นชมจากสำนักงานเขตพืน้ ที่ ประธานกล่มุ โรงเรยี น ชุมชน
และผู้เขา้ เยยี่ มชมโรงเรียนอยา่ งมากมาย

40

ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน ระดบั ปฐมวัย

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก

1. ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ

2. วิธีการพัฒนา/ผลท่ีเกิดจากการพฒั นา ขอ้ มูลหลักฐานเอกสารเชงิ ประจกั ษ์ทส่ี นบั สนนุ ผลการ
ประเมนิ ตนเอง

โรงเรียนวัดดอนตลุง (ราษฎร์ศรัทธาทาน) มีกระบวนการพัฒนาเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ประชุมผู้เก่ียวข้องเพื่อหาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และจัดกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพ่ือให้เด็ก
บรรลุตามประเดน็ พจิ ารณาของมาตรฐาน โดยมีวธิ กี ารพฒั นาดังน้ี

โรงเรียนวัดดอนตลุง (ราษฎร์ศรัทธาทาน) มีโครงการส่งเสริมสุขภาพและพลานามัย โครงการ
อาหารกลางวนั และโครงการอาหารเสริม (นม) มีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของเด็กปฐมวัยทุกคนทุกเดือน
สถานศึกษาจดั อาหารกลางวันท่ีมีคุณคา่ ทางโภชนาการครบท้ัง 5 หม่ใู หก้ บั เดก็ ปฐมวัยทุกคน รวมทั้งอาหาร
เสรมิ (นม)ด้วย เพือ่ ให้เด็กปฐมวัยทุกคนมีพฒั นาการด้านรา่ งกายแขง็ แรง สมบรู ณ์เต็มตามศกั ยภาพ สง่ ผลให้
เด็กปฐมวัยโรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฎร์ศรัทธาทาน) ร้อยละ 89.13 สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี
และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ และมีโครงการส่งเสรมิ พัฒนาการขนั้ พ้ืนฐานระดับปฐมวัย โครงการ
หนูน้อยวัยใสใส่ใจรักการอ่าน โครงการเสริมสร้างคนดีสู่โรงเรียนสุจริต โครงการวันสำคัญเด็กปฐมวัย
สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการทำความดีของเด็กปฐมวัยอย่างหลากหลาย เช่น ทำบุญตักบาตรในวัน
สำคัญต่าง ๆ กิจกรรมวันแม่แหง่ ชาติ โครงการวันภาคภูมิใจ เพือ่ ส่งเสริมพฒั นาการด้านอารมณ์-จติ ใจของ
เด็กปฐมวัยอย่างรอบด้าน ส่งผลให้เด็กระดบั ปฐมวัยโรงเรียนวัดดอนตลงุ (ราษฎร์ศรัทธาทาน)รอ้ ยละ 93.48
มีพฒั นาการทางด้านอารมณ์จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมตามวัย และยังมีโครงการ
โรงเรียนปลอดขยะ สถานศึกษาดำเนินการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายในการส่งเสริมให้เด็กรู้จักเสียสละ
จิตอาสา เช่น กิจกรรมทำบุญในวันสำคัญต่าง ๆ ธนาคารขยะ บญั ชีการออมทรัพย์ และกิจกรรมพัฒนาวัด
ฯลฯ เพื่อให้เดก็ มคี วามเสียสละ มรี ะเบยี บวินัย เหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ส่วนตน ฯลฯ สง่ ผลให้เด็ก
ระดับปฐมวัยโรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฎร์ศรัทธาทาน) ร้อยละ 93.48 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือ
ตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมได้อย่างเหมาะสม อีกท้ังโครงการคาราวานเสริมสร้างเด็กปฐมวัย
โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย โครงการ
แหล่งเรียนรูใ้ นทอ้ งถิ่น สถานศกึ ษาส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้โดยผ่านกิจกรรมการเล่น และลงมือปฏิบัติจรงิ ทุก
กจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เด็กศกึ ษาคนควาเร่ืองราวต่าง ๆ
ได้ ส่งผลให้เด็กระดับปฐมวัยโรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฎร์ศรัทธาทาน) ร้อยละ 84.78 มีพัฒนาการด้าน
สตปิ ญั ญา ส่ือสารได้มที ักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม จึงส่งผลให้

41

- เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
ร้อยละ 89.13

- เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ รอ้ ยละ 93.48
- เด็กมีพฒั นาการด้านสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ขี องสงั คม รอ้ ยละ 93.48
- เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้
ร้อยละ 84.78
ผลการดำเนินงานในการพฒั นาด้านคุณภาพเด็กในภาพรวมมรี ะดับคุณภาพ ดเี ลศิ ซ่ึงเป็นไปตาม
เกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนดไว้ ตามประกาศแนบท้ายของการกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
จดุ เด่น
เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาสมวัย มี
สขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง สามารถเคล่ือนไหวร่างกายได้อย่างคลอ่ งแคล่ว มีทกั ษะในการเคล่อื นไหวตามวยั มี
การใช้มือและตาประสานสัมพันธ์กันได้ดี มีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ เช่น ล้างมือก่อน
รับประทานอาหาร ล้างมือหลังออกห้องน้ำ รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยตนเอง เลือกรับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์ มีอารมณ์รา่ เริงแจ่มใส มคี วามรู้สึกท่ีดตี อ่ ตนเองและผ้อู ่ิน มีความมนั่ ใจ กล้าคดิ กล้าแสดงออกได้
เหมาะสมวัย มีวินัยรับผิดชอบต่อหน้าท่ีตนเอง เช่ือฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูและผู้ใหญ่ มีความซ่ือสัตย์
รู้จักแบ่งปนั และสามารถสนทนากับผอู้ ่ืนได้ สามารถตัง้ คำถามเร่อื งทีต่ นเองสนใจได้

ขอ้ จำกดั ของการดำเนนิ งาน จดุ ที่ควรพัฒนา
การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ดา้ นสติปญั ญา เช่น กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเล่านทิ าน การสรา้ งสังคมแหง่ การ

เรยี นรใู้ ห้แกเ่ ด็กปฐมวยั ใฝ่เรียนใฝร่ ู้ ในแขนงวชิ าการตา่ งๆ โดยเฉพาะคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ
ภาษาองั กฤษ

42

แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดบั อยา่ งยั่งยืน
- โครงการการส่งเสริมพัฒนาการทักษะขน้ั พน้ื ฐานของเดก็ ปฐมวยั
- โครงการคาราวานเสรมิ สร้างเด็ก
- โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย
- โครงการส่งเสรมิ สุขภาพ และพลานามัยเด็กปฐมวัย
- โครงการหนูนอ้ ยวัยใส ใส่ใจรกั การอา่ น
- โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศทางวชิ าการ ระดบั ชน้ั ปฐมวยั
- โครงการศึกษาแหล่งเรียนรใู้ นท้องถิ่น
- โครงการวนั สำคญั สำหรับเดก็ ปฐมวัย
- แบบบนั ทึกพฤตกิ รรมนกั เรยี นตามตัวชี้วดั โรงเรยี นสุจรติ ตามโครงการเสรมิ สร้างตนดี
- แผนการจัดประสบการณ์ “รายวิชาเพมิ่ เติม การป้องกันการทุจรติ ”
- หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศกึ ษา

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

1. ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ

2. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูลหลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ
ประเมนิ ตนเอง

โรงเรียนวัดดอนตลุง (ราษฎร์ศรัทธาทาน) มีกระบวนการบริหารและการจัดการด้วยวิธีการที่
หลากหลาย ประชุมผู้เก่ียวข้องเพื่อหาแนวทางการบริหารสถานศึกษา และจัดโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ
เพื่อให้สถานศกึ ษาบรรลุตามประเด็นพจิ ารณาของมาตรฐาน โดยมีวธิ กี ารพัฒนาดังน้ี

โรงเรียนวัดดอนตลุง (ราษฎรศ์ รัทธาทาน) มีโครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย
โครงการนิเทศภายในระดับปฐมวัย โครงการส่งเสริมระบบประกันคุณภาพภายใน โครงการส่งเสริมให้
สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมพัฒนาแหล่งเรียนรู้และเครื่องเล่น
สนามเพอ่ื ใหส้ ถานศึกษามีสภาพแวดลอ้ มทสี่ ะอาด สวยงาม ร่มรืน่ มีการจัดบรรยากาศเอ้ือต่อการเรียนรู้ มี
การใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย ให้เด็กเรียนรู้อย่างหลากหลายและปลอดภัย จัดทำหลักสูตร
สถานศึกษาตามแนวทางหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้

43

ส่งผลให้โรงเรียนวดั ดอนตลุง(ราษฎร์ศรทั ธาทาน) มีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2561 และมี
โครงการพัฒนาบุคลากร กิจกรรม PLC โดยครูทกุ คนเข้ารว่ มประชมุ รว่ มกันพัฒนาและนำปญั หาของเดก็ มา
แลกเปล่ียนเรียนรู้ในการพัฒนาและแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยท้ัง 4 ด้าน ส่งผลให้
โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฎร์ศรัทธาทาน)มีครูเพียงพอต่อช้ันเรียน และมีความเช่ียวชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ จัดหาสื่อการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับวัย และสนองความ
แตกต่างระหว่างบุคคล ส่งผลให้โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฎร์ศรัทธาทาน)มีการจัดสภาพแวดล้อมและส่ือ
เพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและพอเพียง มีการให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือ
สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ อกี ทั้งโครงการสง่ เสริมระบบประกันคณุ ภาพภายใน สถานศกึ ษาจัดประชุม
ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายร่วมกันกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา กำหนดค่าเป้าหมายการศึกษาปฐมวัย จัดทำ
แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน ฯลฯ เพื่อพัฒนาระบบการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฎร์ศรัทธาทาน)มีระบบบริหาร
คณุ ภาพทเ่ี ปิดโอกาสให้ผู้เก่ยี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม ส่งผลให้สถานศึกษามผี ลการประเมินดังนี้

- มีหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบททอ้ งถิน่ ระดบั ดเี ลิศ
- จดั ครใู หเ้ พียงพอกับชั้นเรยี น ระดับยอดเยย่ี ม
- สง่ เสรมิ ใหค้ รูมีความเชยี่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ ระดบั ดเี ลศิ
- จัดสภาพแวดล้อมและสอื่ เพือ่ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัย และพอเพยี ง ระดบั ดีเลศิ
- การให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์
ระดับดเี ลศิ
- มรี ะบบบริหารคุณภาพท่เี ปิดโอกาสให้ผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม ระดับดีเลศิ
ผลการดำเนินงานในการพัฒนาด้านกระบวนการบริหารและการจัดการในภาพรวมมีระดับ
คุณภาพ ดีเลิศซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดไว้ ตามประกาศแนบท้ายของการกำหนดค่า
เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จุดเดน่
สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ เน้นการมีส่วนของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย โดย
ผู้บริหารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาได้รว่ มกนั วิเคราะห์ วางแผน
กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา ความต้องการของผู้ปกครองและ
ชุมชน จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ จัดครูที่มีวุฒิ
การศึกษาปฐมวัยครบทุกชั้น ครมู ีความรู้ความาสามารถในการจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เป็น
สำคัญ ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วดั และสอดคล้องสัมพันธ์กับกิจกรรมประจำวัน ๖กิจกรรม ครูทุกคนได้รับ
การพัฒนาการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กอย่างหลากหลายต่อเนื่อง รวมท้ังการทำ PLC ในระดับปฐมวัย
สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมที่สะอาดร่มร่ืน สวยงาน ปลอดภัย มีส่ือและอุปกรณ์ต่างอย่างครบถ้วนเอื้อ
ต่อการเรยี นรู้ของเด็ก

44

ข้อจำกัดของการดำเนนิ งาน จุดที่ควรพฒั นา
การใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจัยเปน็ ฐานคิดทางด้านวิชาการ ควรนำมาใช้ให้มากข้ึนในการ

บริหารจดั การศึกษาระดับปฐมวัย เพอื่ ให้บรรลุเปา้ หมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ควรสร้างการมี
สว่ นร่วม และแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชมุ ชนและท้องถ่ิน จัดสง่ิ อำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนา
เด็กอย่างต่อเนื่อง โดยผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ร่วมกันทุกภาคส่วน ปรับปรุงการ
จัดระบบข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงาน อย่าง
ต่อเนอ่ื ง

แผนพฒั นาคณุ ภาพเพือ่ ยกระดบั อย่างยง่ั ยนื
- โครงการวนั ภาคภมู ิใจของเด็กปฐมวยั
- โครงการนิเทศภายในโรงเรยี น (ระดบั ปฐมวยั )

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคญั

1. ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ

2. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูลหลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ
ประเมนิ ตนเอง
โรงเรียนวัดดอนตลุง (ราษฎร์ศรัทธาทาน) มีการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญด้วยวิธีการที่
หลากหลาย ประชุมผู้เก่ียวข้องเพื่อหาแนวทางการจัดประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเป็นสำคัญ และจดั โครงการ/
กิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่อื ใหส้ ถานศึกษาบรรลุตามประเดน็ พจิ ารณาของมาตรฐาน โดยมวี ิธกี ารพัฒนาดังน้ี

โรงเรียนวัดดอนตลุง (ราษฎร์ศรัทธาทาน) มีโครงการส่งเสริมพัฒนาการข้ันพ้ืนฐานระดับปฐมวัย
โครงการคาราวานเสริมสร้างเด็กปฐมวัย โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการบ้าน
นักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย โดยครูและเด็กร่วมกันจัดกิจกรรมตามแนวทางโครงการบ้าน
นักวิทยาศาสตร์น้อย 20 กิจกรรม เพื่อส่งเสริมการแสวงหาความรู้ให้แก่เด็ก โครงการแหล่งเรียนรู้ใน
ท้องถ่นิ ดำเนนิ การส่งเสริมครใู ห้มีความร้คู วามสามารถในการจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเด็กเปน็ สำคญั ส่งผลให้
เด็กมีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดุล โรงเรียนวดั ดอนตลุง (ราษฎร์ศรัทธาทาน) ได้มีการจัดประสบการณ์ที่
สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข และยังมีโครงการส่งเสริมให้
สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมพัฒนาแหล่งเรียนรู้และเครื่องเล่น

45

สนามเพ่ือให้สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมท่ีสะอาด สวยงาม ร่มรื่น มีการจัดบรรยากาศเอ้ือต่อการเรียนรู้
มีการใช้สอ่ื และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวยั เป็นการดำเนินงานของครูและเด็กปฐมวัยที่รว่ มกันออกแบบ
การเรียนรู้อย่างเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนวัดดอนตลุง (ราษฎร์ศรัทธาทาน)
ได้มีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด
ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก สง่ ผลให้สถานศึกษามีผลการประเมนิ ดงั นี้

- ด้านการจัดการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ มีจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็ก
มีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ ระดับดเี ลิศ

- การสรา้ งโอกาสให้เด็กไดป้ ระสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั อิ ย่างมีความสุข ระดบั ดีเลศิ
- จัดบรรยากาศทีเ่ ออ้ื ต่อการเรยี นรูใ้ ชส้ อื่ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั วัย ระดับดเี ลิศ
- ด้านการประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุง
การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ ระดบั ดเี ลศิ
ผลการดำเนินงานในการพัฒนาด้านการจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคัญในภาพรวมมรี ะดับ
คุณภาพ ดีเลิศ ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดไว้ ตามประกาศแนบท้ายของการกำหนดค่า
เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
จดุ เด่น
ครูปฐมวัยทุกคนให้ความสำคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคนที่ครอบคลุมท้ังด้านร่างกาย ด้าน
อารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา มีความรู้คู่คุณธรรม มีการจัดประสบการณ์ในรูปแบบบูรณา
การการเรียนรู้ผา่ นการเลน่ เพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณต์ รงเกดิ การเรียนรแู้ ละมีการพฒั นาทัง้ ดา้ นร่างกาย
ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ซ่ึงสามารถยืดหยุ่นได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับ
หลกั สตู รของสถานศึกษา มกี ารใช้สอ่ื จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ทีค่ รอบคลุมพัฒนาการทัง้ ๔ ดา้ น

ขอ้ จำกดั ของการดำเนนิ งาน จดุ ทีค่ วรพัฒนา
สถานศึกษาควรส่งเสริมการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรียน รวมทั้งการใฝ่เรยี นรู้

ของเด็ก

แผนพัฒนาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับอย่างย่งั ยืน
- โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวชิ าการ ระดับชัน้ ปฐมวัย
- โครงการศกึ ษาแหล่งเรียนรใู้ นทอ้ งถิน่
- โครงการวันสำคัญสำหรับเด็กปฐมวัย
- โครงการนเิ ทศภายในโรงเรียน (ระดบั ปฐมวัย)
- แบบบนั ทึกพฤติกรรมนักเรียนตามตวั ชว้ี ดั โรงเรยี นสุจริตตามโครงการเสริมสร้างตนดี

46

แผนพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั อยา่ งย่ังยืน
- แผนการจัดประสบการณ์ “รายวชิ าเพมิ่ เตมิ การป้องกันการทจุ ริต”
- หลกั สตู รต้านทุจริตศึกษา

47

ผลการประเมินรายมาตรฐาน ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น

1. ระดับคุณภาพ ดี

2. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูลหลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ที่สนับสนุนผลการ
ประเมินตนเอง

การจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา ส่วนท่ีสำคัญที่สุดท่ีจะเป็นพื้นฐานของการเรียน
การสอนในทุกกลุ่มสาระวิชาคอื วชิ าภาษาไทย เพราะเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่โรงเรียนวดั ดอนตลุง(ราษฏร์
ศรัทธาทาน) ถือเปน็ หลักการที่ต้องพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในปีการศึกษา 2564 ท่ีผ่านมา โรงเรียนจึงได้
ดำเนินการประชมุ ปรึกษาหารือและจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนดังตอ่ ไปน้ี

โรงเรยี นวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) มีกระบวนการพัฒนานักเรียนดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย
ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพ่ือหาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และจัดกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพ่ือให้
นกั เรียนบรรลตุ ามประเดน็ พิจารณาของมาตรฐาน โดยมวี ิธกี ารพัฒนาดงั นี้
1. วิธกี ารพัฒนา

สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผูเ้ รียนด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย ครมู กี ารจดั การเรยี นร้เู ปน็ ไปตาม
ศกั ยภาพของผู้เรยี น โดยยึดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการเรยี นรู้เหมาะสมกับ
ผเู้ รียน คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยจัดการเรียนรู้โดยใหน้ ักเรียนมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ เช่น
การลงมือปฏิบัติจริง การใช้กระบวนการคิด การระดมสมอง เน้นการร่วมมือกันเรียนรู้ ใช้กระบวนการ
เพื่อให้แก้ปัญหาเป็นหลัก เน้นการอ่านออกเขียนได้ตั้งแต่ระดับชั้น ป.1 – ม.3 ครูมีการพัฒนาตนเองโดย
การนำส่ือเทคโนโลยี เทคนิควธิ ีการใหม่ ๆ มาพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ มีแหล่งเรียนรู้และแหล่ง
สืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด (E-Library) โครงการสานพลังประรัฐฯ (true ปลูกปัญญา) เทคโนโลยี และ
ศนู ยก์ ารเรียนร้ปู ระชาคมอาเซียน ครูในสายชั้นเดียวกันร่วมกันกำหนดแผนการจัดกาเรียนรู้ มีการวัดและ
ประเมินผลตามสภาพจริงโดยบูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามอย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
ของผเู้ รียนสถานศกึ ษาเน้นให้ผเู้ รยี นมีความคิดสรา้ งสรรค์สามารถนำความรู้ท่ีได้รบั มาประยกุ ต์ในกิจกรรม
การเรียนการสอนได้ ซึ่งเป็นนวัตกรรมเก่ียวกับการเรียนการสอน เช่น การจัดการเรียนการสอนด้านงาน
อาชีพ โครงงานอาชีพตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง การประดิษฐ์ของชำร่วยสวยด้วยมือเรา งานตีลายปิดทอง
จากวสั ดุในท้องถนิ่ และกิจกรรมการเรียนการสอน STEM ศึกษาบรู ณาการวทิ ยาการคำนวณ เป็นตน้


Click to View FlipBook Version