48
สถานศึกษาได้ดำเนินเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรยี น เพ่ือใหใ้ ช้ชีวิตประจำวันและอยู่ในสังคมได้
อย่างสงบสุข เน้นพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมเหมาะกับวัยของผู้เรียน และตามนโยบายของผู้บริหาร
โดยนำหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการเสรมิ สร้างคนดีสู่โรงเรียนสจุ ริต เน้นให้ผูเ้ รียน ซ่อื สตั ย์ สุจริต
มีวนิ ยั รับผิดชอบ และจิตสาธารณะ โครงการโรงเรียนวิถีพทุ ธ ดำเนินการใหน้ ักเรยี นเขา้ คา่ ยอบรมคณุ ธรรม
ร่วมกันรับผิดชอบเขตพ้ืนที่ให้สะอาด ยิ้มไหว้ทักทายซ่ึงกันและกัน นิมนต์พระมาสอนธรรมศึกษาให้แก่
นักเรียน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยแบ่งครูที่ปรึกษาให้ดูแลนักเรียน และออกเยี่ยมบ้าน
นักเรียนเพ่ือรจู้ ักนักเรียน ทราบปัญหาเป็นรายบุคคล ดำเนินการคัดกรองนักเรียน จัดการช่วยเหลือแก้ไข
พัฒนา สรา้ งเครอื ขา่ ยผู้ปกครองชุมชนเพือ่ ร่วมมอื ชว่ ยเหลือและแกไ้ ขปญั หา
2. ผลทเ่ี กิดจากการพัฒนา
2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ
ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80 มีความสามารถในการอ่าน เขียน การส่อื สาร ภาษาไทยอยใู่ นระดบั ผา่ นเกณฑ์
การประเมนิ ตามที่สถานศึกษากำหนด โดยมกี ารทดสอบ การอ่าน การเขียน ในระดับชัน้ ป.1 – ม. 3
ภาคเรียนละ 2 ครั้ง และผเู้ รียนสามารถอธบิ ายและนำเสนอผลงานของผู้เรยี นได้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
ตามที่สถานศึกษากำหนด
ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 68.64 ดะดับผลการเรียนเฉลย่ี ในกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ระดับ 2.5 ขนึ้ ไป
ซึง่ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
2) ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคิดจำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณาอย่างรอบคอบ
โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ มีการอภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และแก้ปญั หาอยา่ งมเี หตผุ ล
เป็นไปตามเป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษากำหนด โดยทางโรงเรยี นไดจ้ ัดทำการเรยี นการสอนแบบโครงงาน ใน
รายวชิ าการงานอาชพี โครงงานกลุม่ สาระวิชาวทิ ยาศาสตร์ โครงการการอา่ น คิด วิเคราะห์เขยี น และ
กจิ กรรมการเรยี นการสอน STEM ศกึ ษาบูรณาการกับวทิ ยาการคำนวณ
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
ผู้เรียนมีความสมารถในการรวบรวมความรไู้ ดท้ ้งั ตวั เองและการทำงานเปน็ ทีม เชือ่ มโยงองค์ความรู้
และประสบการณ์มาใชใ้ นการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ เชน่ การทำโครงงานอาชีพตะกรา้ จากเชอื กมัดฟาง
กิจกรรมตีลายปดิ ทอง กิจกรรมนาฏศิลป์ไทย ส่ิงประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ การจัดการเรยี นการสอนใน
ทกั ษะอาชีพห้องเรียนกาแฟ ผลงานนักเรยี นในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และการสรุปแผนผงั ความคดิ ท่ไี ด้
จากความรู้ทไี่ ดร้ บั
4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาตนเองและ
สังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรคแ์ ละมีคุณธรรม โดยในการเรียนการสอน
49
ผู้เรยี นมกี ารใช้เทคโนโลยีในการสืบคน้ หาความรู้ตามความตอ้ งการของผู้เรยี น บูรณาการวิทยาการคำนวณ
และผู้เรียนไดใ้ ช้ DLTV เขา้ มาช่วยในกิจกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื เป็นการเพมิ่ ความรมู้ ากย่ิงข้นึ
5) มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
ผเู้ รยี นบรรลุและมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและสามารถนำความรู้ที่
ไดร้ ับมาสร้างสรรคผ์ ลงานตา่ งๆได้ พรอ้ มท้งั สามารถทดสอบการอ่านการเขียนระดบั เขตพื้นทผ่ี ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ อยใู่ นระดบั ดี
6) มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและเจตคติทีด่ ีตอ่ งานอาชีพ
ผ้เู รยี นมีความรู้ ทกั ษะพื้นฐานและสามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ พร้อมท้ังมเี จตคติท่ีดตี ่องาน
อาชพี และผู้เรียนมคี วามมงุ่ มน่ั ในการทำงานและการศึกษาตอ่ ในระดับช้ันท่ีสงู ข้ึน
2.2 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของผู้เรยี น
โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) มีกระบวนการพัฒนานักเรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย
ประชุมผู้เก่ียวข้องเพ่ือหาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และจัดกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพ่ือให้
นกั เรยี นบรรลตุ ามประเดน็ พจิ ารณาของมาตรฐาน โดยมีวธิ กี ารพฒั นาดังนี้
จากการดำเนนิ งานตามโครงการโรงเรียนสจุ รติ โครงการคุณธรรมจรยิ ธรรม โครงการลกู เสอื -เนตร
นารี โครงการธนาคารขยะ และโครงการอ่นื ๆ ส่งผลใหน้ ักเรียนมวี นิ ัย มีความกตญั ญู มีความประหยัด และ
ปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมเบือ้ งตน้ ได้ ส่งเสริมใหน้ กั เรียนภูมิใจในความเป็นไทย เนน้ คุณค่านยิ มไทย และดำรง
ไว้ซ่ึงความเป็นไทย สร้างเสริม พฒั นาบรรยากาศของสงิ่ แวดล้อมภายในโรงเรียนให้สวยงามรม่ รนื่ สร้าง
ความสมั พนั ธอ์ นั ดงี ามระหวา่ งชมุ ชน วัด กับโรงเรียน สรา้ งเครือขา่ ยรว่ มกันระหว่าง ครู ผปู้ กครอง และ
ชุมชนในการดแู ลบุตรหลานของตนเอง นกั เรยี นไดร้ ับการดแู ลช่วยเหลืออย่างท่ัวถึงทุกด้าน จึงสง่ ผลให้
นกั เรียนมีคณุ ลกั ษณะอนั พง่ึ ประสงค์ มีคณุ ภาพ ตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากำหนด
3.จุดเด่น
3.1 ผ้เู รยี นอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมทงั้ สามารถเขยี นเพ่อื การสือ่ สารไดท้ ุกคน สามารถ
นำเทคโนโลยมี าใช้แสวงหาความรู้ได้ทุกคน สง่ ผลให้มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนอยใู่ นระดบั ดี
3.2 ผเู้ รียนมีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสมรรถนะทางกาย มีนำ้ หนัก และส่วนสงู ตามเกณฑ์ มี
ระเบียบวนิ ัย แต่งกายสะอาดเรียบรอ้ ย ถือเป็นเอกลักษณข์ องสถานศึกษา จนไดร้ ับการยอมรบั จาก
ผู้ปกครองชมุ ชนโดยรอบโรงเรยี นด้านความมีวนิ ยั เคารพกฎระเบยี บของโรงเรียน และสังคม เช่น การเข้า
แถวซื้ออาหาร เปน็ ตน้
50
4, จดุ ควรพัฒนา
4.1 ผู้เรียนในระดบั ป.1 – ป.3 ยังต้องเร่งพัฒนาด้านการนำเสนอ อภิปราย แลกเปลี่ยนเรยี นรู้
ซึง่ กันและกนั ตอ้ งพัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
4.2 ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้มีพฤติกรรม ทัศนคติท่ีดีต่อความเป็นไทย ไม่หลงใหลกับ
คา่ นยิ มต่างชาติเกิดการลอกเลียนแบบจนลืมวัฒนธรรมอันดงี ามของไทย
ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
ความสามารถใน การอ่าน การสอื่ สาร คดิ คำนวณ และคิดวเิ คราะห์ (ระดบั ดี)
รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นท่มี คี วามสามารถใน การอา่ น การสอื่ สาร
คดิ คำนวณ และคดิ วิเคราะห์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6
จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ
51
รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทมี่ ีความสามารถใน การอา่ น การสื่อสาร
คดิ คำนวณ และคดิ วเิ คราะห์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3
จำแนกตามระดบั คุณภาพ
39
40
35 71.79 28
30 26
25 64.28 65.38
20
15
10
5
0
รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนที่มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6 จำแนกตามระดับคุณภาพ
52
ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี83.87
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 จำแนกตามระดับคณุ ภาพ
15.63 38.46
90.00 31.25 38.46
80.00 28.13
16.1370.00 7.69
0.0060.00 25.00 15.38
0.0050.00
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00
ผลการทดสอบระดบั ชาติ
ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นที่มผี ลการประเมนิ การทดสอบความ
สามารถพื้นฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3
ประจำปีการศึกษา 2564 จำแนกตามระดับคณุ ภาพ
100.00
90.00
80.00
70.00
60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00
83.33
83.33
100.00
0.00
0.00
16.66
0.00
0.00
16.66
0.00
0.00
0.00
5363.63
สรปุ ร้อยละของจำนวนนักเรยี นท่ีมีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รียน54.5454.54
ระดับชาติ(NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
จำแนกตามระดับคุณภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดีมาก36.3636.36 36.36
รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทมี่ ีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐาน0.00
องผเู้ รียนระดับชาติ (RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ประจำปีการศกึ ษา 25649.09
จำแนกตามระดับคณุ ภาพ
0.00
70.00 0.00
60.00 0.00
50.00
40.00 9.09
30.00
55.88 20.0063.83 68.75 65.63
38.24 10.00
8.00 31.91 0.00 28.13 28.13
0.0012.00 16.67
5.88 28.00 4.26 30.56 3.13 6.25
0.00 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่มี ผี ลการประเมนิ ด้านคณุ ลักษะอนั พึ่งประสงค์52.000.0052.780.000.00
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 6 จำแนกตามระดบั คุณภาพ
70.00
60.00
50.00
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00
54
รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทม่ี ผี ลการประเมินดา้ นคุณลกั ษะอนั พึ่งประสงค์83.87
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 จำแนกตามระดบั คุณภาพ
65.38
90.00
16.1380.00 15.63 7.69
0.0070.00 21.88 15.38
0.0060.00 37.50
50.00 25.00 11.54
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00
ร้อยละของจำนวนนกั เรียนทีเ่ ข้ารว่ มโครงการส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรม
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1- 6
100.00
80.00
60.00
40.00
20.00
0.00
92.86
97.67
91.89
100.00
96.67
96.88
00..0000
7.14
0.00
0.2.0303
0.00
0.00
8.11
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
3.33
0.00
0.00
3.13
55
รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนที่เข้ารว่ มโครงการส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรม
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1- 3
100.00 93.55 78.790.00 95.83
80.00 0.00 0.006.45 0.00
60.00
40.00 0.00
20.00 21.21
0.00
0.00
4.17
แผนพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับอย่างยงั่ ยืน
แผนงานวิชาการ
- โครงการพฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (ทกุ กล่มุ สาระ)
- กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพวชิ าคณิตศาสตร์ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯลฯ
- โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ สอ่ื และนวตั กรรม
- กิจกรรมการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่
- กิจกรรมการสง่ เสริมการใช้ส่อื และนวตั กรรมในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
- กิจกรรมพฒั นาแหลง่ เรียนรูท้ างอนิ เตอรเ์ น็ต
- กิจกรรมการส่งเสรมิ หอ้ งสมดุ มมชี ีวิต (ห้องสมุด 3 D)
- โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
- กจิ กรรมการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 , 2 , 3
- กิจกรรมเพ่มิ ผลสมั ฤทธิ์ o-net กลมุ่ สาระ ......................... ชั้น ป.6 , ม.3
- โครงการวัดผลและประเมินผล
- โครงการสง่ เสรมิ การแข่งขันทกั ษะทางวิชาการ
- โครงการพฒั นาศักยภาพผ้เู รยี น (เปล่ียนมาจากโครงการลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลาร)ู้
แผนงานบริหารงบประมาณ
- โครงการพัฒนาระบบบการบริหารงบประมาณ
- โครงการจดั ซ้ือ-จัดหาพัสดุ ครุภณั ฑข์ องโรงเรยี น
56
แผนพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั อย่างยง่ั ยืน
แผนงานบริหารงานบุคคล
- โครงการจดั องค์กรและมอบหมายงานและประกนั คณุ ภาพภายใน
- โครงการนิเทศภายใน
แผนงานบริหารงานท่ัวไป
- โครงการการจัดบริการแนะแนวลูกดอนตลุง
- โครงการพัฒนาสถานศึกษาสวยงามและปลอดภัย
- โครงการบริหารงานธรุ การ
- โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศและเวบ็ ไซตโ์ รงเรียน
- โครงการสมั พนั ธช์ ุมชน (เปล่ยี นมาจากโครงการสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นชุมชน)
- โครงการโรงเรียนคุณธรรม
- กจิ กรรมการเทดิ ทนู 3 สถาบัน ชาติ ศาสนา กษัตริย์
- กิจกรรมสถานศกึ ษาสขี าว
- กจิ กรรมสถานศกึ ษาแห่งความดี
- กิจกรรมเสรมิ สรา้ งคนดีสูโ่ รงเรียนสุจรติ
- กิจกรรมออมทรพั ย์นักเรียน
- โครงการสง่ เสรมิ ประชาธติ ไตยและวนิ ยั นกั เรียน
- โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น
- โครงการอนามัยโรงเรียน
- โครงการอาหารกลางวัน
- โครงการปฐมนิเทศนกั เรยี น ปจั ฉมิ นเิ ทศ ป.6 และ ม.3
- โครงการงานปกครองนักเรียน
- โครงการสืบสานวัฒนธรรมไทย (ดา้ นนาฏศลิ ป์
57
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. ระดบั คุณภาพ ดี
2. วิธีการพัฒนา/ผลทีเ่ กิดจากการพัฒนา ข้อมูลหลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทีส่ นบั สนุนผลการประเมิน
ตนเอง
โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน) มีกระบวนการพัฒนานักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ประชุมผู้เก่ียวข้องเพ่ือหาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และจัดกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อให้
นักเรียนบรรลุตามประเดน็ พิจารณาของมาตรฐาน โดยมวี ธิ ีการพฒั นาดังนี้
1.วิธกี ารพัฒนา
โรงเรยี นวดั ดอนตลุง(ราษฎร์ศรทั ธาทาน) จดั การศึกษา โดยยึดหลกั การบรหิ ารจัดการบ้านเมืองทีด่ ี
มกี ฎหมายระเบยี บต่างๆทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เพอื่ ความโปรง่ ใสในการบริหารงาน ยึดนโยบายรัฐบาลต้นสังกดั และ
นโยบายของโรงเรยี น ใช้หลกั การบรหิ ารงานทง้ั ระบบ ระบบวงจรคณุ ภาพ PDCA และการทำงานทั้งระบบ
มกี ารจดั ทำคมู่ ือการปฏบิ ัติงานไวอ้ ยา่ งชัดเจนเพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ านต่างๆ ของบุคลากรและ
ผู้เก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย โดยยึดหลกั การทำงานเป็นทีมแบบมีส่วนรว่ มในทกุ กระบวนการ ทกุ กิจกรรม ต้ังแตก่ าร
วางแผนการทำงาน การปฏบิ ัตติ ามแผน และสรปุ ผลการทำงานโดยยดึ หลักการทำงานแบบพ่ีแบบน้อง เนน้
ความเป็นกันเองให้ทุกคนมปี ฏสิ มั พันธ์ทีด่ ีต่อกนั ยึดหลกั จิตอาสาในการพฒั นางาน พัฒนานกั เรียน รวมถงึ
ยึดหลักการเปล่ียนแปลงของสภาพสงั คม สง่ิ แวดล้อม กฎระเบียบต่างๆ
การปฏบิ ัตงิ านตา่ งๆ มกี ารกำหนดแนวทางในการปฏบิ ัติงานที่ชดั เจน และมีส่วนรว่ มทกุ ภาคสว่ น
ต้ังแตก่ ารกำหนดวิสยั ทัศน์ เปา้ หมาย พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ โครงการ และกจิ กรรมตา่ งๆ ในโครงการ มกี าร
กำหนดและจัดทำข้อมลู สารสนเทศที่เที่ยงตรงครอบคลมุ ทกุ งาน มกี ารนิเทศ กำกับ ติดตามงานอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง โดยวิทยาการนิเทศผลผลิต ซึ่งเป็นการนเิ ทศติดตามทม่ี งุ่ ตรงไปยงั ผลผลิต ไดแ้ ก่นักเรยี น ผลงาน
ตา่ งๆ ของครู ของผู้บรหิ าร ทง้ั นี้ ได้นิเทศกำกับตดิ ตาม ทั้งดา้ นการเรียนการสอน การปฏิบัตติ นและการ
ปฏบิ ัติงานอน่ื ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ทัง้ น้ีมีการปรบั เปลย่ี นใหเ้ หมาะสมกับสภาพปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ
2. ผลทีเ่ กดิ จากการพฒั นา
2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
จากการตรวจสอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4 ปี แผนปฏิบัติการประจำปี 2564 และ 2563
หลกั สตู รสถานศกึ ษา รายงานประจำปี 2563 โรงเรียนมีการกำหนดเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ท่ี
58
สอดคลอ้ งกัน ข้อมูลสารสนเทศชัดเจน คำส่งั มอบหมายงาน บันทกึ การประชมุ ครูและกรรมการสถานศกึ ษา
รอ่ งรอยการดำเนนิ งานโครงการการกำกบั นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล การส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมผ่าน
การจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี และโครงการของโรงเรยี น
โรงเรียนมีเปา้ หมายและทิศทางของการปฏิบัติงานทช่ี ัดเจน สามารถนำไปปฏบิ ัตใิ นการบริหาร
จดั การองค์กรได้อยา่ งครบถ้วนและไดร้ บั ความร่วมมือจากองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ชมุ ชน และ
หน่วยงานอื่นๆในการบริหารจดั การศกึ ษา
2.2 การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
1) การวางแผนและดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพของผ้เู รยี นรอบด้านทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
และดำเนนิ การอย่างเป็นรูปธรรม จากการศกึ ษาขอ้ มูล สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล
การจดั การศกึ ษาตามนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา และจดั ประชมุ ระดมความคิดเหน็ จากบคุ ลากรใน
สถานศึกษา เพือ่ วางแผนรว่ มกันกำหนดเป้าหมาย ปรบั วสิ ัยทัศน์ กำหนดพนั ธกจิ กลยุทธ์ ในการจดั
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน มีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัติ
การประจำปี ใหส้ อดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา มีคำสั่ง
แตง่ ตั้ง หวั หนา้ กลุ่มงาน หัวหนา้ ระดบั และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพือ่ ให้ทุกฝ่ายสามารถปฏิบัตงิ าน
อย่างมีประสทิ ธิภาพและตรงกบั หนา้ ที่ ทร่ี ับผดิ ชอบพรอ้ มทัง้ จัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ
มอบหมายงานให้ผู้รบั ผิดชอบ ดำเนินการพฒั นาตามแผนงานให้บรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ มีการ
ดำเนินการนิเทศ กำกับ ตดิ ตามประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนนิ งานโดยการสำรวจความ
พงึ พอใจผลการบริหารจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาโดยทโี่ ดยผทู้ ่มี ีส่วนเกย่ี วข้อง ไดแ้ ก่นักเรยี น ผ้ปู กครอง
ชุมชน และคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนภาคี 4 ฝา่ ยเพื่อใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ในการ
บริหารจัดการศึกษาพบวา่ โรงเรียนมีแผนการดำเนินงานดา้ นวิชาการ เช่นหลกั สตู รสถานศึกษา แผนงาน
โครงการ กิจกรรมทางดา้ นการพัฒนาผูเ้ รยี น
2) การวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีความเชย่ี วชาญทาง
วิชาชพี จากข้อมูลสถิติการพฒั นาครบู คุ ลากรของโรงเรียน พบวา่ โรงเรยี นได้ดำเนินการพัฒนาครู และ
บุคลากรโดยจัดให้มีโครงการและกิจกรรมต่างๆ ไดแ้ ก่ ได้ทำกิจกรรมกล่มุ ในการพัฒนาการจัดการเรยี นการ
สอน PLC การเขา้ ร่วมอบรมพัฒนาครรู ปู แบบครบวงจร นำคณะครูศึกษาดูงานภาคเรยี นละ 1 คร้ัง ส่งครู
และบคุ ลากรเข้าร่วมอบรมสัมมนากบั หน่วยงานตา่ งๆทีจ่ ัดขึ้นตลอดปกี ารศึกษา
3) การวางแผนการบริหารและพัฒนาวชิ าการจดั ทำข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ การจัดการ
เรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ มกี ารจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ และมกี ารสอนตามแผนการจดั การ
เรยี นรู้ มกี ารนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอน
59
3. จดุ เด่น
มีการวางแผนการทำงานอยา่ งเป็นระบบ โดยใชก้ ระบวนการบริหารงานแบบ PDCA บรหิ ารงานโดย
ใช้ผ้เู รียนเป็นฐาน
4. จุดทีค่ วรพฒั นา
4.1 ดา้ นบุคลากร พฒั นาครูใหม้ ีความรคู้ วามสามารถ ตามมาตรฐานการศึกษา และส่งเสริมการจดั ทำ
วิทยฐานะ
4.2 ดา้ นวชิ าการ พฒั นางานวชิ าการให้เป็นระบบมากย่งิ ขึ้น ทำการนิเทศ การจัดการเรยี นการสอน
อย่างเป็นระบบ
ขอ้ มูลหลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
60
การนเิ ทศ กำกับ ติดตามและประเมนิ ผล
การจัดหาทรพั ยากร
ผู้บริหารไดร้ ะดมทนุ ทรพั ยากรสำหรบั การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศึกษาทงั้ ในรปู แบบ
ของงบประมาณและบุคคลที่เปน็ ภมู ปิ ญั ญาจากท้องถ่ินมาชว่ ยในการสนับสนนุ การเรียนการสอน
การนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
0%
22%
43%
35%
61
แผนพฒั นาคุณภาพเพือ่ ยกระดับอย่างยั่งยนื
โครงการปฐมวัย
- การสง่ เสริมพฒั นาการทักษะขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวยั
- คาราวานเสริมสร้างเด็ก
- บ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย
- ส่งเสริมสขุ ภาพ และพลานามยั เด็กปฐมวยั
- หนนู ้อยวัยใส ใสใ่ จรักการอา่ น
- ส่งเสริมความเปน็ เลิศทางวิชาการ ระดบั ปฐมวยั
- ศึกษาแหล่งเรียนรูใ้ นทอ้ งถ่ิน
- วันสำคัญสำหรับเด็กปฐมวัย
- วันภาคภูมใิ จของเดก็ ปฐมวัย
แผนงานวชิ าการ
- โครงการพฒั นาคุณภาพวิชาการ (ทกุ กลมุ่ สาระ)
- กิจกรรมพัฒนาคุณภาพวชิ าคณติ ศาสตร์ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ฯลฯ
- โครงการพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ สอ่ื และนวตั กรรม
- กจิ กรรมการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้และภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ
- กจิ กรรมการส่งเสรมิ การใช้ส่อื และนวตั กรรมในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
- กจิ กรรมพัฒนาแหล่งเรียนร้ทู างอนิ เตอรเ์ นต็
- กจิ กรรมการสง่ เสรมิ หอ้ งสมุดมมีชีวติ (หอ้ งสมดุ 3 D)
- โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
- กจิ กรรมการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 , 2 , 3
- กจิ กรรมเพิ่มผลสัมฤทธิ์ o-net กลุ่มสาระ ......................... ชน้ั ป.6 , ม.3
- โครงการวดั ผลและประเมินผล
- โครงการส่งเสริมการแขง่ ขันทักษะทางวชิ าการ
- โครงการพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียน (เปลยี่ นมาจากโครงการลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลาร)ู้
แผนงานบรหิ ารงบประมาณ
- โครงการพฒั นาระบบบการบรหิ ารงบประมาณ
- โครงการจดั ซ้ือ-จัดหาพัสดุ ครภุ ัณฑ์ของโรงเรียน
- โครงการควบคมุ ภาพในโรงเรียน
62
แผนพฒั นาคณุ ภาพเพื่อยกระดับอยา่ งยง่ั ยนื
แผนงานบรหิ ารงานบุคคล
- โครงการจัดองค์กรและมอบหมายงานและประกนั คุณภาพภายใน
- โครงการนิเทศภายใน
แผนงานบริหารงานท่ัวไป
- โครงการการจัดบริการแนะแนวลูกดอนตลุง
- โครงการพัฒนาสถานศกึ ษาสวยงามและปลอดภัย
- โครงการบรหิ ารงานธรุ การ
- โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศและเวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น
- โครงการสัมพนั ธ์ชมุ ชน (เปลยี่ นมาจากโครงการสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นชุมชน)
- โครงการโรงเรียนคุณธรรม
- กิจกรรมการเทิดทูน 3 สถาบัน ชาติ ศาสนา กษัตริย์
- กิจกรรมสถานศึกษาสีขาว
- กจิ กรรมสถานศกึ ษาแหง่ ความดี
- กจิ กรรมเสริมสร้างคนดีส่โู รงเรียนสุจริต
- กจิ กรรมออมทรพั ยน์ ักเรียน
- โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยและวนิ ัยนักเรียน
- โครงการระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น
- โครงการอนามยั โรงเรยี น
- โครงการอาหารกลางวนั
- โครงการปฐมนิเทศนกั เรยี น ปจั ฉิมนิเทศ ป.6 และ ม.3
- โครงการงานปกครองนกั เรียน
- โครงการสืบสานวฒั นธรรมไทย (ด้านนาฏศลิ ป์)
63
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
1. ระดับคณุ ภาพ ดี
2. วิธกี ารพัฒนา/ผลทีเ่ กดิ จากการพฒั นา ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการ
ประเมนิ ตนเอง
โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรัทธาทาน)มีกระบวนการพัฒนานักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ประชุมผู้เก่ียวข้องเพื่อหาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และจัดกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพ่ือให้
นกั เรยี นบรรลตุ ามประเด็นพจิ ารณาของมาตรฐาน โดยมีวิธีการพัฒนาดังนี้
1. วิธีการพัฒนา
ครูผู้สอนมกี ารจดั กิจกรรมการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตรงตามตัวช้วี ัดของหลกั สูตร
สถานศึกษา โดยเนน้ ใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง มแี ผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง ผเู้ รยี นได้รบั การฝกึ ทกั ษะ กลา้ แสดงความคิดเหน็ มีการใช้สอ่ื และ
เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถิน่ มาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ โดยให้ผเู้ รียนแสวงหาความรู้
ดว้ ยตนเองและสามารถสรปุ องค์ความรูข้ องตนเอง นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ น
ชีวติ ประจำวัน มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชิงบวก สร้างปฏิสัมพนั ธ์ทีด่ ี ครูรจู้ กั ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล
ดำเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผ้เู รยี น รวมทัง้ มกี าร
แลกเปล่ียนเรียนรู้และนำผลท่ีไดม้ าให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั เพ่ือใช้ในการพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียน
การสอน โดยมกี ารดำเนินงานและกิจกรรมทีห่ ลากหลาย เช่น โครงการนิเทศภายใน โครงการพัฒนา
วชิ าการ โครงการส่งเสรมิ การแข่งขันทักษะทางวิชาการ โครงการใช้แหลง่ เรียนรู้และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น
โครงการส่งเสริมดนตรีไทยและนาฏศลิ ป์ไทย โครงการสง่ เสริมการใช้สื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรยี น
การสอน โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น โครงงานอาชีพจากตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง การประดิษฐ์
ของชำรว่ ยสวยดว้ ยมือเรา งานตีลายปิดทองจากวัสดุในทอ้ งถิน่ กิจกรรมการเรยี นการสอน STEM ศึกษา
บรู ณาการกบั วิทยาการคำนวณ
2. ผลที่เกดิ จากการพฒั นา
2.1 จัดการเรียนร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้
2.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ เ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้
2.3 มีการบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
2.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผลผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบและนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
2.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนย้อนกลับ เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้
64
จากการดำเนินงานและกิจกรรมตามโครงการนเิ ทศภายใน โครงการพฒั นาวิชาการ โครงการ
สง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ทักษะทางวชิ าการ โครงการใช้แหล่งเรียนรแู้ ละภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน โครงการสง่ เสริม
ดนตรีไทยและนาฏศลิ ปไ์ ทย โครงการส่งเสริมการใช้สื่อและนวตั กรรมในการจัดการเรียนการสอน โครงการ
ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น โครงงานอาชีพจากตะกร้าจากเชอื กมัดฟาง การประดิษฐ์ของชำรว่ ยสวยดว้ ย
มอื เรา งานตีลายปิดทองจากวัสดใุ นท้องถนิ่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน STEM ศกึ ษาบูรณาการกับ
วิทยาการคำนวณ ทำให้ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด
3. จุดเด่น
ครูมีความมงุ่ มัน่ ต้งั ใจ เอาใจใส แสวงหาความรู้เพ่ิมเตมิ เพ่อื ใช้ ในการพัฒนาการเรยี นการสอน
โดยจดั กจิ กรรมให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและลงมือปฏบิ ตั ิจริง ส่งเสริมให้ผเู้ รียนใชแ้ หลง่ เรียนรู้
ทีม่ อี ยูอ่ ย่างหลากหลาย ผเู้ รียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยที ีม่ ีทงั้ ในและนอกห้องเรยี นดว้ ยตนเอง
รวมท้งั ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการสรา้ งบรรยากาศและสงิ่ แวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้
4. จุดควรพฒั นา
ควรนำภมู ิปญั ญาท้องถ่ินเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัดการเรยี นการสอนเพม่ิ มากข้ึนและการใหข้ อ้ มลู
ย้อนกลบั แกน่ กั เรยี นทันที เพอ่ื นกั เรียนจะไดไ้ ปปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองใหด้ ีข้ึน
65
แผนพัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดับอย่างยั่งยนื
แผนงานบรหิ ารงานบุคคล
- โครงการจดั องคก์ รและมอบหมายงานและประกันคุณภาพภายใน
- โครงการนเิ ทศภายใน
แผนงานบริหารงานท่ัวไป
- โครงการการจัดบริการแนะแนวลกู ดอนตลงุ
- โครงการพัฒนาสถานศกึ ษาสวยงามและปลอดภยั
- โครงการบรหิ ารงานธรุ การ
- โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศและเว็บไซตโ์ รงเรยี น
- โครงการสัมพนั ธ์ชมุ ชน (เปลี่ยนมาจากโครงการสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหว่างโรงเรียนชมุ ชน)
- โครงการโรงเรียนคุณธรรม
- กจิ กรรมการเทิดทูน 3 สถาบนั ชาติ ศาสนา กษัตรยิ ์
- กิจกรรมสถานศึกษาสขี าว
- กิจกรรมสถานศกึ ษาแหง่ ความดี
- กจิ กรรมเสรมิ สร้างคนดีสู่โรงเรยี นสจุ ริต
- กิจกรรมออมทรพั ยน์ ักเรียน
- โครงการสง่ เสริมประชาธิตไตยและวนิ ัยนักเรยี น
- โครงการระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น
- โครงการอนามัยโรงเรยี น
- โครงการอาหารกลางวนั
- โครงการปฐมนิเทศนักเรยี น ปัจฉมิ นเิ ทศ ป.6 และ ม.3
- โครงการงานปกครองนักเรยี น
โครงการสืบสานวฒั นธรรมไทย (ด้านนาฏศิลป์)
แผนงานบรหิ ารงานบุคคล
- โครงการจัดองคก์ รและมอบหมายงานและประกนั คณุ ภาพภายใน
- โครงการนเิ ทศภายใน
แผนงานบรหิ ารงานท่ัวไป
- โครงการการจัดบรกิ ารแนะแนวลกู ดอนตลุง
- โครงการพัฒนาสถานศกึ ษาสวยงามและปลอดภยั
- โครงการบริหารงานธรุ การ
66
แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั อย่างย่งั ยนื
- โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศและเวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น
- โครงการสมั พนั ธ์ชุมชน (เปล่ียนมาจากโครงการสร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโรงเรียนชมุ ชน)
- โครงการโรงเรยี นคุณธรรม
- กิจกรรมการเทิดทูน 3 สถาบัน ชาติ ศาสนา กษัตรยิ ์
- กิจกรรมสถานศกึ ษาสีขาว
- กจิ กรรมสถานศึกษาแห่งความดี
- กจิ กรรมเสรมิ สร้างคนดีส่โู รงเรยี นสจุ ริต
- กจิ กรรมออมทรพั ยน์ กั เรยี น
- โครงการส่งเสริมประชาธิตไตยและวินยั นกั เรียน
- โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
- โครงการอนามยั โรงเรยี น
- โครงการอาหารกลางวัน
- โครงการปฐมนเิ ทศนักเรยี น ปัจฉิมนเิ ทศ ป.6 และ ม.3
- โครงการงานปกครองนักเรียน
- โครงการสบื สานวฒั นธรรมไทย (ดา้ นนาฏศลิ ป)์
67
สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพการจดั การศึกษา ระดบั ปฐมวยั
ผลการประเมิน
มาตรฐาน / ประเดน็ การประเมนิ 1 2345
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ กำลัง ปาน ดี ดเี ลศิ ยอด
1.1 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มนี ิสัยทดี่ ี พัฒนา กลาง เย่ียม
และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ดเี ลศิ
1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทาง
อารมณ์ได้ /
1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ีดี
ของสงั คม /
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สอื่ สารได้
/
มีทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ /
2.1 มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4 ด้าน ดเี ลิศ
สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถิน่ /
2.2 จัดครูใหพ้ อเพยี งกับชน้ั เรยี น /
2.3 สง่ เสรมิ ให้ครมู คี วามเช่ียวชาญด้านการจดั ประสบการณ์ /
2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่อื เพอ่ื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั /
และเพยี งพอ /
2.5 ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรียนรเู้ พื่อ
/
สนับสนนุ การจัดประสบการณ์ ดีเลิศ
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกีย่ วข้องทุกฝา่ ยมี
ส่วนรว่ ม /
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสำคัญ
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมพี ัฒนาการทกุ ท้านอย่าง /
สมดุลเต็มศักยภาพ /
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณต์ รง
เลน่ และปฏิบัตอิ ย่างมีความสุข
3.3 จดั บรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรยี นรใู้ ช้สอื่ และเทคโนโลยี
ทีเ่ หมาะสมกับวัย 68
3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมิน /
พัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก
สรปุ ผลการประเมนิ ทกุ มาตรฐาน อยูใ่ นระดับ ดีเลศิ
69
สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ผลการประเมิน
มาตรฐาน / ประเด็นการประเมนิ กำลงั ปาน ดี ดเี ลศิ ยอด
พฒั นา กลาง เย่ยี ม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดี
1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รียน
1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สาร
และการคิดคำนวณ /
2. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ /
อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็น และแก้ปัญหา
3. มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม /
4. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ /
ส่อื สาร
5. มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา /
6. มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีตอ่ การงานอาชีพ /
1.2 ด้านคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรียน
1. การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดีตามท่ีสถานศกึ ษา /
กำหนด
2. ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย /
3. การยอมรับท่ีจะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและ /
หลากหลาย
4. สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม /
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
2.1 มเี ปา้ หมายวิสัยทศั น์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนด /
ชดั เจน
2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา /
2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้าน /
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี /
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือต่อการ 70
จัดการเรยี นรู้
/
อย่างมคี ุณภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ าร /
จดั การและ
ดี
การจดั การเรยี นรู้ /
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอน /
/
ท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั /
3.1 จัดการเรียนร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และ /
สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ ในชีวติ ได้
3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทเ่ี อ้ือต่อการ
เรยี นรู้
3.3 มีการบริหารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ
และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือ
พัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้
สรปุ ผลการประเมนิ ทกุ มาตรฐาน ระดับ ดี
71
ส่วนท่ี 3
สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการช่วยเหลอื
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาจึงเป็นขอ้ มูลสารสนเทศท่สี ำคัญของสถานศึกษา เพื่อนำไป
วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือสรุปผลนำไปสู่การเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ัน
จากผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา สามารถสรุปผลการประเมินภาพรวมของจดุ เด่น จุดควรพัฒนาของ
แต่ละมาตรฐาน พรอ้ มท้ังหาแนวทางการพัฒนาในอนาคต และความต้องการชว่ ยเหลอื ไดด้ ังนี้
ระดับปฐมวัย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเดก็ ข้อเสนอแนะ
จุดเดน่ จุดควรพัฒนา สถานศึกษาควรนำผล
การประเมนิ ด้าน
เดก็ ปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย การพฒั นาเด็กปฐมวัยด้าน สติปญั ญามาเป็นขอ้ มูลใน
ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สตปิ ญั ญา เช่น กิจกรรมสง่ เสริม การพัฒนาเดก็ ปฐมวัยวา่
สตปิ ัญญาสมวยั มสี ุขภาพรา่ งกายแข็งแรง การเล่านทิ าน การสร้างสงั คม เดก็ แตล่ ะคน แตล่ ะช้ันท่ี
สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่าง แห่งการเรียนรู้ใหแ้ กเ่ ด็กปฐมวัย จะตอ้ งเติมเต็มในการ
คลอ่ งแคล่ว มีทกั ษะในการเคลือ่ นไหวตาม ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ในแขนงวชิ าการ พัฒนาทีย่ งั ขาดอยู่ เช่น
วยั มีการใช้มือและตาประสานสัมพันธ์กัน ต่างๆ โดยเฉพาะคณิตศาสตร์ กจิ กรรมการเลา่ นิทาน
ได้ดี มีสุขนิสัยท่ีดีในการดูแลสุขภาพของ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ การสร้างสังคมแหง่ การ
ตนเองได้ เช่น ล้างมือก่อนรับประทาน เรยี น มแี นวทางในการ
อาหาร ล้างมอื หลังออกหอ้ งน้ำ รู้จักรกั ษา พัฒนาอย่างไร ใครมสี ่วน
สุขภาพอนามัยตนเอง เลือกรับประทาน รว่ มบ้าง ทำทไ่ี หน อย่างไร
อาหารท่ีมีประโยชน์ มีอารมณ์ร่าเริง ให้ชดั เจน
แจ่มใส มีความรู้สึกท่ีดีต่อตนเองและผู้อ่ิน
มีความม่ันใจ กล้าคิด กล้าแสดงออกได้
เหมาะสมวัย มีวินัยรับผิดชอบต่อหน้าที่
ตนเอง เชื่อฟังคำส่ังสอนของพ่อแม่ ครู
และผู้ใหญ่ มีความซ่ือสัตย์ รู้จักแบ่งปัน
และสามารถสนทนากับผอู้ น่ื ได้
72
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา ขอ้ เสนอแนะ
สถานศกึ ษามกี ารบริหารและการจดั การ .การใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือ สถานศกึ ษาควรนำผล
อย่างเปน็ ระบบ เน้นการมสี ่วนของ การวิจัยเป็นฐานคิดทางด้าน การประเมิน และการวจิ ัย
ผเู้ กี่ยวข้องทุกฝา่ ย โดยผบู้ รหิ าร วิชาการ ควรนำมาใช้ให้มากข้ึน มาใชใ้ นการบริหารจัดการ
สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการ ในการบริหารจัดการศึกษาระดับ ใหเ้ ปน็ รูปธรรม โดยลงมือ
ศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาได้ ปฐมวัย เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ปฏบิ ตั จิ รงิ ในทกุ กจิ กรรม
รว่ มกันวเิ คราะห์ วางแผน กำหนด ต า ม แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ อย่างต่อเน่อื ง ย่งั ยนื
เปา้ หมาย วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ สอดคลอ้ ง การศึกษา ควรสร้างการมีส่วน สามารถตรวจสอบผลได้
กบั บรบิ ทสถานศกึ ษา ความต้องการของ ร่วม และแสวงหาความร่วมมือ อย่างชัดเจน
ผู้ปกครองและชมุ ชน จัดทำหลักสูตร กับผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถ่ิน
สถานศึกษาทสี่ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตร จัดส่ิงอำนวยความสะดวกเพ่ือ
การศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ จดั ครูทมี่ ี พัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง โดย
วุฒิการศกึ ษาปฐมวัยครบทกุ ชนั้ ครมู ี ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากร
ความรู้ความสามารถในการจดั ทำแผนการ ทางการศึกษา ร่วมกันทุกภาค
จัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สำคญั ตรง ส่วน ปรับปรุงการจัดระบบข้อมูล
ตามมาตรฐาน ตัวชวี้ ดั และสอดคลอ้ ง สารสนเทศในการบริหารจัดการ
สมั พนั ธ์กบั กิจกรรมประจำวนั ๖ กิจกรรม ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ
ครูทกุ คนได้รับการพัฒนาการจัด ประเมินผลการดำเนินงาน อย่าง
ประสบการณ์ให้แกเ่ ดก็ อย่างหลากหลาย ตอ่ เน่อื ง
ตอ่ เนือ่ ง รวมทั้งการทำ PLC ในระดบั
ปฐมวยั สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมท่ี
สะอาด ร่มรื่น สวยงาน ปลอดภยั มีส่ือ
และอปุ กรณต์ า่ งอยา่ งครบถ้วนเอ้อื ตอ่ การ
เรียนรูข้ องเดก็
73
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคญั
จดุ เด่น จุดควรพัฒนา ขอ้ เสนอแนะ
ครูปฐมวัยทุกคนให้ความสำคัญของการ ควรส่งเสริมการสร้างสังคมแห่ง สถานศึกษาควรส่งเสริม
พัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคนท่ีครอบคลุมท้ัง ก า ร เรี ย น รู้ ท้ั ง ใน แ ล ะ น อ ก การสร้างสังคมแห่งการ
ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้าน ห้องเรียน รวมท้ังการใฝ่เรียนรู้ เรียน รู้ท้ั งใน แ ละ น อ ก
สังคม และด้านสติปัญญา มีความรู้คู่ ของเด็ก ห้องเรียน รวมท้ังการใฝ่
คุณ ธรรม มีการจัดประสบการณ์ ใน เรยี นรู้ของเด็ก
รปู แบบบูรณาการการเรียนรู้ผ่านการเล่น
เพื่อให้เด็กได้รบั ประสบการณ์ตรงเกดิ การ
เรียนรู้และมีการพัฒนาท้ังด้านร่างกาย
ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้าน
สติปัญญา ซึ่งสามารถยืดหยุ่นได้อย่าง
เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรของ
สถานศึกษา มีการใช้ส่ือ จัดประสบการณ์
การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔
ด้าน
แผนพัฒนาเพอ่ื ให้ได้มาตรฐานท่ีสูงข้นึ
แผนปฏบิ ัตงิ านที่ ๑ การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยด้านสตปิ ญั ญา และปลูกฝงั ทศั นคตทิ ่ีดีตอ่ ความรู้
เกย่ี วกบั คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
แผนปฏิบตั งิ านที่ ๒ การพัฒนาหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษา
แผนปฏิบัติงานที่ ๓ การพัฒนาครูพฒั นาครูสคู่ รมู อื อาชพี
74
ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รยี น
จุดเด่น จุดควรพฒั นา ขอ้ เสนอแนะ
1 ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง 1 ผู้เรียนในระดับ ป.1 – ป.3 สถานศึกษาควรนำผล
รวมท้ังสามารถเขยี นเพื่อการส่ือสารได้ทุก ยั ง ต้ อ ง เร่ ง พั ฒ น าด้ า น ก า ร การประเมินด้านวชิ าการ
คน สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้แสวงหา นำเสนอ อภิปราย แลกเปล่ียน มาเป็นข้อมูลในการพัฒนา
ความรู้ได้ทุกคน ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ เรยี นรู้ซ่ึงกันและกัน ต้องพัฒนา ผเู้ รียนใหส้ งู มากขนึ้
ทางการเรียนของนกั เรียนอยใู่ นระดับดี ทั ก ษ ะ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ต า ม
2 ผูเ้ รียนมีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรง มี สถานการณไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
สมรรถนะทางกาย มนี ้ำหนกั และส่วนสูง 2 ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนา
ตามเกณฑ์ มรี ะเบียบวนิ ัย แต่งกายสะอาด ผู้เรียน ให้มีพฤติกรรม ทัศนคติท่ี
เรยี บรอ้ ย ถอื เปน็ เอกลักษณ์ของ ดีต่อความเป็นไทย ไม่หลงใหล
สถานศกึ ษา จนไดร้ ับการยอมรับจาก กั บ ค่านิ ยม ต่างชาติเกิ ดก าร
ผปู้ กครองชมุ ชนโดยรอบโรงเรยี นด้าน ลอกเลียนแบบจนลืมวัฒนธรรม
ความมีวนิ ยั เคารพกฎระเบยี บของ อันดีงามของไทย
โรงเรียน และสงั คม เช่น การเขา้ แถวซื้อ
อาหาร เป็นตน้
75
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา ขอ้ เสนอแนะ
สถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารและการจัดการ .การใชข้ ้อมูลการประเมินผลหรือ สถานศึกษาควรนำผล
อยา่ งเป็นระบบ เน้นการมสี ว่ นของ การวิจัยเป็นฐานคิดทางด้าน การประเมนิ และการวิจัย
ผู้เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย โดยผบู้ ริหาร วิชาการ ควรนำมาใช้ให้มากข้ึน มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ
สถานศกึ ษา ครแู ละบุคลากรทางการ ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาระดับ ใหเ้ ปน็ รูปธรรม โดยลงมอื
ศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาได้ ขั้ น พื้ น ฐ า น เพื่ อ ให้ บ ร ร ลุ ปฏบิ ัติจรงิ ในทกุ กิจกรรม
รว่ มกนั วิเคราะห์ วางแผน กำหนด เป้ า ห ม า ย ต าม แ ผ น พั ฒ น า อยา่ งต่อเนอ่ื ง ยั่งยนื
เป้าหมาย วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ สอดคลอ้ ง คุณภาพการศึกษา ควรสร้างการ สามารถตรวจสอบผลได้
กับบรบิ ทสถานศึกษา ความตอ้ งการของ มีส่วนร่วม และแสวงหาความ อย่างชดั เจน
ผูป้ กครองและชุมชน จดั ทำหลักสูตร ร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชนและ
สถานศกึ ษาท่ีสอดคล้องกบั หลกั สตู ร ท้อ งถิ่น จัดส่ิงอ ำน วยความ
การศึกษา ครูทกุ คนไดร้ ับการพฒั นาการ สะดวกเพ่ือพั ฒ น าเด็กอย่าง
จดั ประสบการณ์ให้แกเ่ ด็กอย่าง ต่อเนื่อง โดยผู้บริหาร คณะครู
หลากหลายต่อเน่ือง รวมทัง้ การทำ PLC และบุคลาก รทางการศึกษ า
ใน สถานศึกษามีสภาพแวดลอ้ มที่สะอาด รว่ มกันทกุ ภาคส่วน ปรบั ปรงุ การ
รม่ รื่น สวยงาน ปลอดภยั มีสือ่ และ จดั ระบบข้อมูลสารสนเทศในการ
อุปกรณต์ า่ งอย่างครบถว้ นเอือ้ ตอ่ การ บริหารจัดการ ติดตามตรวจสอบ
เรยี นรู้ของผู้เรียน และประเมินผลการดำเนินงาน
อยา่ งต่อเน่ือง
76
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
จุดเด่น จุดควรพฒั นา ข้อเสนอแนะ
ครูมีความม่งุ มัน่ ตง้ั ใจ เอาใจใส แสวงหา ควรนำภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ เขา้ มามี สถานศึกษาควรส่งเสริม
ความรู้เพม่ิ เติม เพอ่ื ใช้ ในการพัฒนาการ สว่ นร่วมในการจัดการเรยี นการ การสร้างสังคมแห่งการ
เรียนการสอน โดยจดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนได้ สอนเพมิ่ มากขึ้นและการให้ เรียน รู้ท้ั งใน แ ล ะ น อ ก
เรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และลงมือ ข้อมลู ย้อนกลับแก่นกั เรยี นทนั ที ห้องเรียน รวมท้ังการใฝ่
ปฏบิ ัติจรงิ สง่ เสริมให้ผู้เรยี นใชแ้ หลง่ เพื่อนกั เรยี นจะได้ไปปรับปรงุ เรียนรู้ของผู้เรยี น
เรยี นรู้ที่มีอยู่อยา่ งหลากหลาย ผเู้ รยี น และพัฒนาตนเองให้ดขี นึ้
แสวงหาความรู้จากส่อื เทคโนโลยที ีม่ ีท้ังใน
และนอกหอ้ งเรียนดว้ ยตนเอง รวมทง้ั
ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมในการสร้างบรรยากาศ
และสิ่งแวดลอ้ มที่เออื้ ต่อการเรยี นรู้
แนวทางการพัฒนาในอนาคต
1. ดา้ นบคุ ลากร พัฒนาครใู หม้ คี วามรคู้ วามสามารถ ตามมาตรฐานการศกึ ษา และสง่ เสรมิ การจดั ทำ
วทิ ยฐานะด้านวชิ าการ พัฒนางานวิชาการให้เป็นระบบมากยงิ่ ขึ้น ทำการนิเทศ การจดั การเรยี นการสอน
อยา่ งเป็นระบบ
2. ครคู วรได้รับการพฒั นาในเรื่องการใชส้ อ่ื และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั พฒั นาการของเดก็
การใช้เครือ่ งมือวดั และประเมินพัฒนาการของเดก็ อย่างหลากหลาย การวจิ ยั และพฒั นาการจดั การเรียนรู้
ที่ตนรบั ผิดชอบ และใช้ผลในการปรบั การจัดประสบการณ์
3. ผู้เรียนในระดับ ป.1 – ป.3 ยังต้องเร่งพฒั นาดา้ นการนำเสนอ อภิปราย แลกเปลย่ี นเรยี นรูซ้ ึง่ กัน
และกัน ตอ้ งพัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาตามสถานการณ์ได้อยา่ งเหมาะสม ครคู วรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
ใหม้ พี ฤติกรรม ทัศนคติท่ีดตี อ่ ความเป็นไทย ไมห่ ลงใหลกบั คา่ นยิ มต่างชาตเิ กดิ การลอกเลยี นแบบจนลืม
วฒั นธรรมอนั ดงี ามของไทย
4. ควรนำภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นเข้ามามีสว่ นร่วมในการจดั การเรียนการสอนเพ่ิมมากขนึ้ และการให้ข้อมลู
ย้อนกลับแก่นักเรียนทันที เพื่อนกั เรยี นจะไดไ้ ปปรบั ปรุงและพฒั นาตนเองให้ดขี ้ึน
77
ความต้องการชว่ ยเหลือ
1. การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการตามแผนงานโครงการ รวมท้ังส่ืออุปกรณ์ต่าง ๆ และ
เครอ่ื งเล่นสนามท่เี หมาะสมกบั พัฒนาการเดก็
2. การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่สี อดคล้องกับการพฒั นาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
3. การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ ตามแนวทางการประเมิน O-Net และ Pisa
4. การจัดสรรครผู ู้สอนให้ตรงตามวิชาเอกทีโ่ รงเรียนมคี วามต้องการและจำเปน็
78
ภาคผนวก
79
การกำหนคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา
เพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปการศกึ ษา 2564
เรอ่ื ง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั คา่ เป้าหมาย
ปีการศกึ ษา
2564
1. คณุ ภาพของเด็ก
1.1 มพี ัฒนาการดา้ นร่างกายแข็งแรง มีสุขนสิ ัยทีด่ แี ละดูแลความปลอดภัยของ ดเี ลศิ
ตนเองได้
1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ดเี ลิศ
1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกที่ดีของสงั คม ดเี ลศิ
1.4 มีพัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สื่อสารได้ มีทักษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหา ดี
ความร้ไู ด้
2. กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีหลกั สูตรควบคมุ พฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของทอ้ งถนิ่ ดเี ลศิ
2.2 จัดครูให้เพียงพอกบั ช้ันเรียน ดีเลิศ
2.3 ส่งเสริมให้ครมู ีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ดีเลศิ
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพือ่ การเรยี นรู้อย่างปลอดภยั และพอเพียง ดีเลศิ
2.5 ใหบ้ รกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรียนรูเ้ พื่อสนบั สนนุ การจดั ดีเลิศ
ประสบการณส์ ำหรับครู
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม ดีเลิศ
3. การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคญั
3.1 จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ ดีเลิศ
3.2 สรา้ งโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบตั อิ ย่างมคี วามสขุ ดเี ลศิ
3.3 จดั บรรยากาศท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ ใช้สอื่ และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวัย ดีเลศิ
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไป ดเี ลิศ
ปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็
80
เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ ระดับคุณภาพ
ระดบั กำลงั พัฒนา
ค่าร้อยละ ระดบั ปานกลาง
นอ้ ยกว่าร้อยละ 60.00
ร้อยละ 60.00 – 69.99 ระดับดี
รอ้ ยละ 70.00 – 79.99 ระดับดีเลิศ
ร้อยละ 80.00 – 89.99 ระดับยอดเย่ียม
รอ้ ยละ 90.00 ขึ้นไป
81
การกำหนคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปการศกึ ษา 2564
เร่ือง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา มาตรฐาน / ประเดน็
การพจิ ารณา
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผูเ้ รียน ดีเลิศ
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รียน ดีเลิศ
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สารและการคิดคำนวณ ดเี ลศิ
2) มีความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ดีเลศิ
ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา
3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ดีเลศิ
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร ดีเลศิ
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา ดีเลศิ
6) มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและเจตคติทดี่ ีต่องานอาชีพ ดเี ลศิ
1.2 คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผูเ้ รียน ดีเลศิ
1) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมท่ีดตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด ดเี ลศิ
2) ความภูมใิ จในท้องถิน่ และความเป็นไทย ดเี ลศิ
3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดีเลศิ
4) สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สังคม ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลศิ
2.1 การมีเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชดั เจน ดีเลศิ
2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลศิ
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเี่ นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทกุ ดีเลศิ
กลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลกรให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ ดีเลศิ
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ ดีเลศิ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเป็นสำคญั ดีเลิศ
3.1 จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยกุ ต์ในใช้ชวี ติ ได้ ดเี ลศิ
3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทเี่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้ ดีเลิศ
3.3 มกี ารบริหารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก 82
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการ ดเี ลศิ
เรยี นรู้ ดเี ลศิ
ดเี ลิศ
สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ
83
คำสัง่ โรงเรียนวัดดอนตลงุ (ราษฏร์ศรทั ธาทาน)
ท่ี 16 / 2565
เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการรวบรวมจดั เกบ็ ขอ้ มูลและจดั ทำเอกสาร
เพ่ือการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
(Self - Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564
โดยท่ีมปี ระกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วย โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2563 ที่ปรับปรุงใหม่ รวมทั้งนโยบายการปฏิรูป
การศึกษาในทศวรรษท่ีสองท่ีกำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทย
และการศึกษาไทยในอนาคต กระทรวงศึกษาธิการจึงปรับมาตรฐานการศึกษาข้ันพืน้ ฐานให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกัน เพ่ือนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9(3) มาตรา 31 และมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา
และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยให้กระทรวงมีอำนาจ
หน้าท่ีกำหนดนโยบาย/แผนและมาตรฐานการศึกษา และให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มี
ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการจัดการศึกษา ท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อ
หนว่ ยงานต้นสงั กัด หน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ ง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพอ่ื นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคณุ ภาพภายนอก
โรงเรยี นวัดดอนตลงุ (ราษฏรศ์ รัทธาทาน) จึงดำเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน โดยยึดมาตรฐาน ตัวบ่งช้ีตามประกาศขอ ง
กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 6 สิงหาคม 2561 ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนจำนวน 3 มาตรฐาน
จึงขอแตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนนิ การตามมาตรฐาน ตวั บง่ ชี้
1. คณะกรรมการอำนวยการ
1.1 นางสาวชนัดดา ทองประเสรฐิ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
1.2 นางละอองดาว รตั นวิมล ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
1.3 นางดวงกมล อุดมศรี ครูชำนาญการ กรรมการ
1.4 นายสวุ ิชา วงศ์ตัน ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
1.5 นางพชิ ญา กองแดง ครูชำนาญการ กรรมการและเลขานกุ าร
84
มหี น้าที่ ให้คำแนะนำ ปรึกษา และติดตามการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ รวบรวมและ
จดั ทำเอกสารในแตล่ ะมาตรฐาน
2. คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับปฐมวัยและระดับ
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
1.1 นางดวงกมล อุดมศรี ครูชำนาญการ ประธานกรรมการ
1.2 นางสาวศริ ิวรรณ บุญรตั น์ ครอู ัตราจ้าง รองประธานกรรมการ
1.3 นางสาวเปรมฤดี ลม้ิ ทตุ เิ นตร พนกั งานราชการ กรรมการ
1.4 นางละอองดาว รตั นวิมล ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการ
1.5 นายสวุ ชิ า วงค์ตัน ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
1.6 นางสาววราลี มว่ งสด ครูคศ.1 กรรมการ
1.7 นายชยพล ตลบั แกว้ ครูชำนาญการ กรรมการ
1.8 นางสาวภัชกัญญา เกรียงชญาคณุ ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
1.9 นางสาววรรณพร สกณุ าธวงศ์ ครูคศ.1 กรรมการ
1.10 นางเธยี รธารา อ้นน้อย ครชู ำนาญการ กรรมการ
1.11 นายกลา้ ณรงค์ วงคษ์ าโรจน์ ครอู ัตราจา้ ง กรรมการ
1.12 นางสาวแพรวผกาย แกว้ สว่าง ครอู ตั ราจา้ ง กรรมการ
1.13 นายธนพล มณโี ชติ ครอู ัตราจา้ ง กรรมการ
1.14 นายตระการ ใจหวัง ครูอัตราจา้ ง กรรมการ
1.15 นางพชิ ญา กองแดง ครูชำนาญการ กรรมการและเลขานกุ าร
มหี นา้ ที่ ประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา 2564
3. คณะกรรมการดำเนนิ งานรายมาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ผรู้ บั ผดิ ชอบ
3.1 ระดบั ปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย นางสาวศริ วิ รรณ บุญรัตน์
นางเปรมฤดี ล้ิมทุติเนตร
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเดก็ นางดวงกมล อุดมศรี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ นายกล้าณรงค์ วงคษ์ าโรจน์
นางสาวศิริวรรณ บญุ รัตน์
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคญั
3.2 ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 85
มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผ้เู รยี น ผรู้ ับผิดชอบ
นางพิชญา กองแดง
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ นางสาวราลี มว่ งสด
นางสาวภัชชกญั ญา เกรยี งชญาคุณ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ นางละอองดาว รตั นวมิ ล
ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ นายสวุ ชิ า วงศต์ ัน
นางสาววรรณพร สกณุ าธวงศ์
นางเธยี รธารา อน้ นอ้ ย
นายชยพล ตลับแกว้
นายธนพล มณโี ชติ
นายตระการ ใจหวัง
นางสาวแพรวผกาย แก้วสว่าง
มหี น้าที่ รวบรวมเอกสารหลักฐานจากฝ่าย / งาน / กลมุ่ สาระการเรยี นร้ตู ่างๆ จดั ทำเปน็
แฟ้มข้อมูล พร้อมทงั้ รายงานให้เรยี บร้อยในแตล่ ะมาตรฐานการศกึ ษาและรวบรวมเอกสารหลักฐานจาก
ฝ่ายตา่ งของปกี ารศึกษา 2565 เพือ่ ดำเนนิ การตอ่ เน่ืองเปน็ ลำดับต่อไป
4. คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน
1.1 นางสาวชนัดดา ทองประเสนิฐ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
1.2 นางละอองดาว รตั นวิมล ครูชำนาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ
1.3 นางสาวศริ ิวรรณ บญุ รัตน์ ครูอตั ราจ้าง กรรมการ
1.4 นายชยพล ตลับแกว้ ครูชำนาญการ กรรมการ
1.5 นางพชิ ญา กองแดง ครชู ำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
1.6 นางสาวแพรวผกาย แก้วสวา่ ง ครอู ตั ราจา้ ง กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
มีหน้าที่ ตรวจสอบรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2564จาก
คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา และรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาภายในต่อ
ต้นสงั กดั
86
ใหค้ ณะกรรมการท่ีไดร้ บั การแตง่ ตั้ง ดำเนินการประเมิน ตรวจสอบตามรปู แบบการประเมินให้
ได้ข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องตามสภาพความเป็นจริง และจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ให้แล้วเสร็จ
ภายในวันท่ี 30 เมษายน 2564 เพ่ือรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด ท้ังนี้เพ่ือใหเ้ กิดความเรยี บร้อย อนั จะ
ส่งผลให้เปน็ ไปตามทิศทางและวัตถุประสงคก์ ารพัฒนาการศกึ ษาสมู่ าตรฐานการศึกษาตอ่ ไป
ท้งั นี้ ตงั้ แต่บดั นเ้ี ป็นตน้ ไป
สัง่ ณ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2565
(.นางสาวชนดั ดา ทองประเสรฐิ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั ดอนตลุง(ราษฏรศ์ รัทธาทาน)
87
ประกาศโรงเรยี นวัดดอนตลุง(ราษฏร์ศรทั ธาทาน)
เรือ่ ง การกำหนดมาตรฐานและค่าเปา้ หมายการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียน
…………………………………………………………
โดยท่มี ีการประกาศใช้กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
พ.ศ. 2553 ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน เพ่ือการประกัน
คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ประกาศคณะกรรมการ
การประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน เร่อื ง กำหนดหลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ัติ
เก่ียวกับการประกันคุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน นโยบายการปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่
สองที่ กำหนดเปา้ หมายและยทุ ธศาสตรอ์ ย่างชดั เจนในการพฒั นาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยใน
อนาคตรวมทั้งอัตลกั ษณ์ และจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนวัดดอนตลุง(ราษฏรศ์ รัทธาทาน)
จงึ ดำเนินการปรับมาตฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน และการมีส่วนรว่ มของผู้เก่ียวข้องท้ังบุคลากรทุกคนในโรงเรยี น
ผปู้ กครอง และประชาชนในชุมชน ใหเ้ หมาะและสอดคล้องกัน เพื่อนำไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพตาม
มาตรฐานการศกึ ษา การประเมินคุณภาพภายใน และเพอื่ รองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก
เพ่ือใหก้ ารพฒั นาการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โรงเรียนวัดดอนตลุง
(ราษฏรศ์ รทั ธาทาน) จงึ ได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของโรงเรยี นและค่าเปา้ หมาย
ปกี ารศกึ ษา 2563 ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้ เพื่อเปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐาน
การศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และการประกนั คณุ ภาพภายใน
ประกาศ ณ วันท่ี 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
ลงชือ่ .............................................
(นางพักตรว์ ภิ า อโณวรรณพนั ธ์)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
88
หนังสือให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ปีการศึกษา พ.ศ. 2564
……………………………………………………………..
ตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โรงเรยี นวัดดอนตลงุ (ราษฏร์ศรทั ธาทาน)
ครัง้ ท่ี 2/ 2564 เมอื่ วนั ท่ี 9 เดือน เมษายน พ.ศ 2564 ไดใ้ ห้ความเหน็ ชอบรายงานการประเมิน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ปกี ารศึกษา พ.ศ. 2564 ท้ังนี้ ใหโ้ รงเรยี นนำขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการประเมินไป
พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา และเผยแพร่ตอ่ หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งและสาธารณชน
ลงชื่อ.........................................
( นางพักตรว์ ภิ า อโณวรรณพนั ธ์ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
89
การปฏิบัตทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practices)
แนวทางการยกระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การบริหารสถานศึกษาให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน สถานศึกษาควรนำผล
การปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จมาวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถา นศึกษาให้มีความสำเร็จสูง
ย่ิงขึ้นจนเป็นการปฏิบัติท่ีดี (Good Practices) และพัฒนาสู่การปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ของ
สถานศึกษา
การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) สถานศึกษาที่มีวิธีการทำงานใหม่ๆ ที่สถานศึกษา
เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ซ่ึงนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์ที่ตอบสนองความ
คาดหวังของชุมชน ผู้ปกครอง และเปา้ หมายของสถานศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ทำใหส้ ถานศกึ ษาประสบ
ความสำเรจ็ กา้ วสู่ความเปน็ เลิศ มีแนวทางการพจิ ารณาการปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practices) ดังนี้
1. มีการดำเนินงานบรรลุผลสอดคล้องกับปัญหา ความคาดหวังของชุมชนห รือ
ผู้ปกครองที่มีต่อสถานศึกษา หรอื เป็นวธิ ีปฏิบตั ทิ ่สี รา้ งความพงึ พอใจให้กับทุกคนในสถานศกึ ษาได้
2. มีกระบวนการนำไปใช้อย่างเป็นวงจร เห็นผลอย่างชัดเจนว่า เกดิ คุณภาพสงู ข้ึนอยา่ ง
ตอ่ เนื่อง และมหี ลกั การหรอื ทฤษฎรี องรับในการปฏบิ ัติ
3. อธบิ ายวธิ ีปฏบิ ัติน้นั ได้ว่า “ทำอะไร” (what) “ทำอย่างไร” (how) และ “ทำไมจงึ ทำ
หรอื ทำไมจึงไม่ทำ” (why)
4. ระบปุ จั จยั สำคญั ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดความสำเร็จที่ชดั เจนและมีการปฏิบัติท่ีตอ่ เน่ืองและยงั่ ยืน
5. มีการเผยแพร่แลว้ ทง้ั ในและนอกโรงเรียน เปน็ ท่ยี อมรับของสงั คม
ตวั อย่างการปฏิบตั ิท่ีเป็นเลศิ (Best Practices)เชน่
1. โครงการบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย (ระดบั ปฐมวยั )
2. โครงการลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้
3. โครงการพฒั นาคุณภาพกลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
90