The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinawat.n, 2019-01-18 00:13:05

Local Promotion and Development Center

สรุปผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

Keywords: Local Promotion and Development Center

ส รุ ป ผ ล ก า ร ดา เ นิ น ง า น

โครงการยุทธศาสตรร์ าชภัฏเพือ่ การพฒั นาท้องถิ่น

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

ไตรมาสที่ ๑
(๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๑)

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิน่

073-299699 ตอ่ 10007

คำนำ

เอกสารสรุปผลการดาเนินงานของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น ไตรมาสท่ี ๑ จัดทาข้ึนโดยมี
วตั ถปุ ระสงค์เพอื่ นาเสนอข้อมูลการดาเนินงาน ๕ โครงการภายใต้พระราโชบาย ประกอบด้วย ๑) โครงการ
บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพ่ือแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถ่ิน ๒) โครงการยกระดับ
ผลิตภัณฑช์ ุมชน OTOP ๓) โครงการ สง่ เสรมิ ความรักความสามคั คี ความมีระเบยี บวนิ ัยเข้าใจในสิทธิหน้าที่
ของตนเองและผู้อ่ืน ๔) โครงการพัฒนา ทักษะภาษาอังกฤษศตวรรษที่ ๒๑ สาหรับนักศึกษาครูใน
มหาวิทยาลัยราชภัฏ และ ๕) โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการ
คดิ วเิ คราะหข์ องนกั เรยี นในระดับการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ในการน้ี ฐานข้อมูลดังกล่าวที่จัดทาข้ึนสามารถนาไปต่อยอดการพัฒนาในไตรมาสต่อไป รวมทั้ง
เป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งด้านการพัฒนาท้องถิ่นในพื้นท่ีสามจงั หวัดชายแดนภาคใต้ หากรายละเอียดท่ี
นาเสนอผดประการใด ทางศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาท้องถ่นิ ตอ้ งขออภยั มา ณ ที่นดี้ ว้ ย

ธนั วาคม ๒๕๖๑
ชินเี พ็ญ มะลสิ วุ รรณ
ผู้อานวยการศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น



สารบญั

หน้า

คานา.....................................................................................................................................................ก
สารบญั ..................................................................................................................................................ข
สว่ นที่ ๑ การดาเนนิ งานของศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาทอ้ งถ่นิ ..................................................................1

1. ช้ีแจงรายละเอียดโครงการกับผ้วู า่ ราชการจังหวดั ยะลา ปตั ตานี นราธิวาส…………………………..1
2. ประชุมเพื่อรบั ฟังประเด็นปญั หาจากพน้ื ทีใ่ นการพัฒนาพ้ืนท่ีอาเภอ จานวน 5 อาเภอ……….…2

อาเภอธารโต จงั หวดั ยะลา………………………………………………………………………………………2
อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา………………………………………………………………………………………..4
อาเภอหนองจกิ จงั หวัดปัตตานี………………………………………………………………………………..8
อาเภอแมล่ าน จังหวัดปตั ตานี………………………………………………………………………….…….11
อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส………………………………………………………………….…….…..14
สว่ นท่ี ๒ โครงการบูรณาการพนั ธกิจสมั พนั ธเ์ พ่ือแกป้ ัญหาความยากจนของ
ประชาชนในท้องถน่ิ .............................................................................................................17
1. แนวทางการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งาน……………………………………………………………………….….17
2. แผนการขบั เคล่อื นการดาเนนิ งาน…………………………………………………………………………….….18
ส่วนท่ี ๓ โครงการยกระดับผลติ ภณั ฑ์ชุมชน OTOP………………………………………………………….………..20
1. ลงพน้ื ทส่ี ารวจศักยภาพข้อมลู กลมุ่ OTOP อาเภอธารโต จังหวดั ยะลา………………….……..…...20
2. ลงพ้ืนทีส่ ารวจศกั ยภาพข้อมูลกลมุ่ OTOP อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา……………………………….23
3. ลงพื้นที่สารวจศักยภาพข้อมลู กล่มุ OTOP อาเภอหนองจิก จงั หวัดปตั ตานี……………………….36
4. ลงพน้ื ที่สารวจศกั ยภาพข้อมูลกลมุ่ OTOP อาเภอแม่ลาน จังหวดั ปัตตานี……………….………..42
5. ลงพน้ื ท่ีสารวจศกั ยภาพข้อมูลกลุ่ม OTOP อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส……………………..48
6. ลงพ้ืนที่สารวจศกั ยภาพข้อมูลกล่มุ OTOP อาเภอยง่ี อ จงั หวดั นราธวิ าส……………………………55
ส่วนที่ ๔ โครงการสง่ เสรมิ ความรกั ความสามคั คี ความมีระเบยี บวนิ ยั
เข้าใจในสทิ ธหิ นา้ ท่ีของตนเองและผู้อืน่ ………………………………………………………………………60
1. แนวทางการขบั เคล่ือนการดาเนนิ งาน…………………………………………………………………………..60
2. พ้ืนท่ีเปา้ หมาย……………………………………………………………………………………………………………60
3. ตวั ชี้วัด………………………………………………………………………………………………………………………60



สารบญั

หน้า

ส่วนท่ี ๕ โครงการพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษศตวรรษท่ี ๒๑ สาหรบั นกั ศึกษาครู
ในมหาวิทยาลัยราชภฏั ………………………………………………………………………………………………62

1. การคัดเลือกนกั ศกึ ษากลุ่มเป้าหมาย………………………………………………………………………………62
2. การดาเนนิ กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ………………………………………………………………..62
3. แนวทางการติวเข้พฒั นาทักษะภาษาองั กฤษ…………………………………………………………………..62
4. ตัวชวี้ ดั และเป้าหมายผลผลิต………………………………………………………………………………………..63
สว่ นท่ี ๖ โครงการยกระดับคุณภาพการเรยี นรดู้ า้ นการอา่ นการเขยี น
และการคิดวเิ คราะหข์ องนักเรียนในระดับการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน………………………………64
กิจกรรมท่ี 1………………………………………………………………………………………………………………….….64
กิจกรรมท่ี 2………………………………………………………………………………………………………………….….64
กิจกรรมท่ี 3………………………………………………………………………………………………………………….….65
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………………66
- คาสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการขับเคลอื่ นการดาเนินงานโครงการยทุ ธศาสตรร์ าชภฏั

เพอื่ พัฒนาท้องถน่ิ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา…………………………………………………………………66
- คาสั่งแต่งตั้งคณะทางานขับเคลือ่ นการดาเนนิ โครงการยุทธศาสตรร์ าชภฏั

เพอ่ื การพัฒนาท้องถนิ่ มนพื้นทเี่ ปา้ หมาย มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา……………………………….…70

สว่ นท่ี ๑
การดาเนินงานของศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาทอ้ งถิ่น

๑. ชี้แจงรายละเอียดโครงการกับผู้วา่ ราชการจังหวดั ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นาโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมกับคณะกรรมการดาเนิน

โครงการส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน เข้าพบผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส เพื่อช้ีแจงรายละเอียด
โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน สนองตอบพระราโชบายด้าน
การศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๑๐ ตามแผนยุทธศาสตร์ ๔ ด้าน ได้แก่ การพัฒนาท้องถ่ิน
การผลิตบัณฑิตและพัฒนาครู การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อยกระดับ
ชวี ิตและพฒั นาท้องถิ่นอยา่ งย่ังยืน

ภาพกิจกรรม



๒. ประชุมเพ่อื รับฟงั ประเดน็ ปัญหาจากพื้นที่ในการพฒั นาพื้นทอี่ าเภอ จานวน ๕ อาเภอ ดังนี้

2.1 อาเภอธารโต จังหวดั ยะลา

การประชุมเพื่อรับฟังประเด็นปัญหาจากพื้นท่ีในการพัฒนาพ้ืนที่อาเภอธารโต จังหวัดยะลา มี

รายละเอยี ดดังน้ี

1. โครงการแกไ้ ขปัญหาความยากจน

จปฐ. ดังนี้ ผู้แทนจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอธารโต ชี้แจงรายละเอียดครัวเรือนที่ตกเกณฑ์
1.1 ในปี 2561 ครวั เรอื นท่ตี กเกณฑ์ทง้ั หมด 11 ราย ไดแ้ ก่

1) ตาบลบา้ นแหล 10 ครวั เรอื น
2) ตาบลครี ีเขต 1 ครัวเรอื น
3) ใน 11 ครัวเรือน แบ่งออกเป็นครัวเรือนที่มีคนผู้สูงอายุ 1 ราย ครัวเรือนที่ตก
เกณฑ์ซา้ ซาก 1 ราย สว่ นท่เี หลือ 8 ครัวเรือน สามารถพัฒนาได้
4) สาเหตขุ องปัญหาความยากจนในพ้ืนที่ คอื ประชาชนบางครวั เรือนมีที่อยู่อาศัย

ไมเ่ หมาะสม ขาดอาชพี รายได้ทเ่ี พยี งพอแก่การดารงชวี ติ และขาดท่ีดินทากนิ
1.2 การแก้ไขปัญหาโดยมีการจัดอาจารย์และนักศึกษาลงพื้นที่ดาเนินโครงการ

ช่วยเหลือ ส่งเสริมความรู้ในการสร้างอาชีพและรายได้ท้ังครวั เรือนทง้ั 8 ครัวเรือนให้สามารถพ่ึงได้ โดยเข้าไป

ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ท้ัง 8 ครัวเรือน สามารถผ่านเกณฑ์ จปฐ.มีรายได้ไม่น้อยกว่า 38,000 บาท/คน/ปี
เปา้ หมายคือ การถอดบทเรียนมาสร้างโมเดลตน้ แบบการแกไ้ ขปัญหาความยากจนในพ้ืนที่ 1 โมเดล

2. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและทอ้ งถิน่ (OTOP)

2.1 จุดเดน่ และจุดอ่อนของผลิตภัณฑอ์ าเภอธารโต
ผลติ ภณั ฑ์ชุมชนอาเภอธารโตมจี ุดเด่นของพ้ืนท่ีอุดมสมบูรณ์ด้านแหล่งน้า ทะเลสาบ

ขนาดใหญ่ใกล้เขื่อนบางลาง ที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาท่ีเป็นวัตถุดิบสาคัญของกลุ่มผลิตภัณฑ์ปลาส้ม ปัญหา

ของกลุ่มปลาส้มคือ ปลาในพื้นท่ีมีจานวนนอ้ ยกว่ากาลังการผลิตและความตอ้ งการของตลาดมาก จึงต้องรับซื้อ
ปลาในพ้นื ท่ภี าคกลาง 1-2 ตันต่อเดอื นให้เพยี งพอตอ่ การผลิต

2.2 ปัญหากล้วยหินมีโรคระบาด ทาให้พื้นท่ีปลูกกล้วยลดลง ส่งผลต่อการทาผลิตภัณฑ์

ชุมชนกล้วยฉาบ จึงมีการแก้ไขปัญหาโรคระบาดในกล้วยหินจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องด้านการเกษตร ส่วนการ
ทาผลิตภัณฑ์กล้วยฉาบรับซื้อกล้วยจากภายนอกประมาณ 300 กโิ ลกรัมต่อสัปดาห์

2.3 ในพื้นทอ่ี าเภอธารโตมีการสง่ เสริมการปลกู กาแฟในระหว่างท่ดี ินปลูกยางพารา ไดน้ า

พันธุ์กาแฟมาแจกให้ชาวบ้านปลูก 3,000 ต้น โดยผลผลิตกาแฟเร่ิมออกผลแลว้ บางส่วน และนาเมล็ดกาแฟที่
ปลูกในพ้ืนที่ไปวิจัยพบสารสกัดท่ีเป็นจุดเด่นของการสร้างผลิตภัณฑ์กาแฟให้เป็นสินค้าใหม่ ตรงตาม
ความต้องการของตลาดภายนอก

2.4 ผลผลิตทุเรียนในอาเภอธารโตมีห้องเย็นไว้แช่ทุเรียน เพ่ือรองรับผลผลิตกระจายสู่
ตลาดภายนอก โดยทางหน่วยงานของจังหวัดยะลาเข้ามาให้การสนับสนุน และจะมีการเปิดใช้ห้องเย็นในเร็วๆ
น้ี เป็นการชว่ ยเหลือเกษตรกรมีพ้นื ทีเ่ ก็บสินคา้ เกษตรในชุมชนการต่อรองกับตลาดภายนอก

กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนในอาเภอธารโต ได้แลกเปล่ียนปัญหาและความต้องการของกลุ่มท่ีใช้
เป็นข้อมูลการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ กลุ่มทาเครื่องแกง กลุ่มน้ามันมะพร้าว กลุ่มผลิต
กล้วยฉาบ และกลุ่มน้าพริกส้มแขก พบว่าปัญหาของกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน คือ การออกแบบบรรจุภัณฑ์



(Packaging) ให้เหมาะสมกับประเภทสินค้าและดึงดูดความสนใจจากผู้บรโิ ภค ผลผลิตทางการเกษตรในพื้นท่ีมี
นอ้ ยไมเ่ พยี งพอตอ่ กาลงั การผลติ และด้านโรงเรือนในการผลติ สินคา้ ที่มีความพร้อมถูกตอ้ งตามมาตรฐาน

ดังน้ัน กลุ่มเป้าหมายของผลิตภัณฑ์ชุมชนอาเภอธารโตที่สามารถพัฒนาและยกระดับสินค้า
คือ ผลิตภัณฑ์จากกาแฟที่ปลูกในพ้ืนท่ี เน่ืองจากเป็นพ้ืนเศรษฐกิจใหม่ที่ส่งเสริมการปลูกให้แก่เกษตรกร โดยมี
การขยายพื้นท่ีเพาะปลูกในสวนยางพารา เพ่ือให้ได้ผลผลิตเพียงพอต่อตลาดภายนอก และพัฒนาผลิตภัณฑ์
กาแฟสร้างจุดเด่นสินค้าส่งจาหน่ายสู่ตลาดภายนอก รวมท้ังพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ในอาเภอธารโตเป็นสวนทุเรียนและ
การมีห้องเย็นแช่แข็งทุเรียนขนาดใหญ่ เพ่ือรองรับผลผลิตทางการเกษตรที่เหมาะแก่การส่งเสริมการรวมกลุ่ม
เกษตรกรรับซื้อและประมูลราคาทุเรียนส่งจาหน่ายต่างประเทศให้ได้ราคาเหมาะสมตามความต้องการของ
ตลาดภายนอก และให้เกษตรกรมีการกาหนดราคาผลผลติ เอง ลดปญั หาพอ่ คา้ คนกลาง

3. โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเข้ามาส่งเสริมให้องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม โดยเลือก

โรงเรียนเป้าหมาย คือ โรงเรียนบ้านเยาะในการทากิจกรรมจิตอาสา มีนักศึกษาจิตอาสาลงพื้นที่ทากิจกรรม
ร่วมกับชุมชน และการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน เช่น การแสดงลิเกฮูลู อนาซีด ท่ีมุ่งส่งเสริมความรักความ
สามัคคีให้ประชาชน เยาวชนอย่รู ว่ มกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรมได้อยา่ งสันติสุข เน่อื งจากอาเภอธารโตเป็นสังคม
พหุลักษณ์ทมี่ ีประชากรชาวไทยพทุ ธ 50% ชาวไทยมุสลิม 50% และมหี ม่บู า้ นโจรจีนคอมมวิ นสิ ต์ ชนเผา่ ซาไก
ทีย่ ังคงอตั ลกั ษณ์ของวิถีการดารงชีวิตและวิถปี ฏบิ ัตดิ ้ังเดิมเอาไว้ ทัง้ น้ีการจดั งานมหกรรมส่งเสรมิ ความรักความ
สามคั คี ไดแ้ ก่

1) เวทีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิท่ีเน้นความรู้รักสามัคคี เช่น ลิเกฮูลู อนาซีด โดย
ส่อื สารได้ 5 ภาษา

2) การประกวดภาพศลิ ปะท่ีแสดงถงึ ความร้รู ักสามัคคีของประชาชน
3) การจัดตัง้ ศูนย์รู้ความรกั ความสามัคคปี ระจาตาบล
4) นักศึกษาจิตอาสาลงพื้นท่ีทากิจกรรม “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ร่วมการพัฒนา
ชุมชนท้องถนิ่
ดังน้ัน เป้าหมายของการดาเนินโครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี จึงเน้นการสร้าง

ความเขา้ ใจต่อการอยู่รว่ มกนั ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม ยึดโรงเรยี นบา้ นเยาะเป็นศนู ย์กลางการดาเนินงานและเป็น

การทากจิ กรรมรว่ มกบั เดก็ นักเรียน ครู ผ้ปู กครอง นกั ศกึ ษาและบุคลากรของมหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา

4. โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการคิดวิเคราะห์ของ
นกั เรยี นในระดับ การจดั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน แกไ้ ขปัญหา (O-net) ตา่

โรงเรียนบ้านเยาะ ตาบลแม่หวาด อาเภอธารโต มีนักเรียนส่วนใหญ่เป็นมุสลิม 90% ท่ี
เหลือเป็นนักเรียนชาวไทยพุทธ 10% การแก้ไขปัญหา (O-net) ต่า อาจารย์และนกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
ยะลาต้องมีการลงพื้นทโี่ รงเรียนเพื่อเก็บข้อมูลนักเรียน และทางานร่วมกับครูประจาช้ันในการสังเกตพฤติกรรม
การเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล ฐานข้อมูลในการทางานร่วมกับทางโรงเรียน Big Data เพ่ือเก็บข้อมูล
นักเรียนแต่ละคนขาดทักษะทางด้านไหนแล้วเสริมทักษะได้อย่างถูกต้อง การสร้างนวตั กรรมแกป้ ัญหา (O-net)
ต่า โดยมีคณาจารย์และวิทยากรร่วมจัดโครงการติวทักษะในรายวิชาและเสริมความรู้ให้นักเรียนสามารถอ่าน
ออกเขียนได้ การทากิจกรรมแก้ไขปัญหาจึงเน้นการลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลาเรยี นรู้ในทาการแก้ไขปัญหาจากการ
ลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลและเช่ือมโยงข้อมูลกับทางโรงเรียนบ้านเยาะ ทางานร่วมกับอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาท่ีเข้าไปเสริมสร้างทักษะความรู้ร่วมกับครูนักเรียนโรงเรียนบ้านเยาะและเครื อข่าย
ผปู้ กครอง



เปา้ หมาย คือ การอา่ นออกเขยี นได้ ส่งเสรมิ การใช้ภาษาของนักเรยี น และตัวชี้วัดนกั เรียน
มีผลการสอบ (O-net) ให้ได้คะแนนเพิ่มข้ึน 3 คะแนน ภายใน 5ปี จะได้โมเดลโรงเรียนบ้านเยาะเป็นต้นแบบ
การแกป้ ัญหายกระดบั คุณภาพการศกึ ษา โดยการดาเนนิ กจิ กรรม ได้แก่

1) การลงพืน้ ทเี่ กบ็ ขอ้ มลู ในโรงเรยี นบา้ นเยาะสร้างฐานขอ้ มูล Big Data
2) การจัดการเรียน การสอนร่วมกับครูทางโรงเรียนบ้านเยาะและอาจารย์ นักศึกษา
บุคลากรของทางมหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา
3) การสอนทักษะการส่ือสารโดยใช้ภาษาไทย และเรียนรู้ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
เนน้ การใชภ้ าษาไทยให้นักเรยี นอา่ นออกเขยี นได้
4) การจัดอาจารย/์ วิทยากรตวิ เขม้ ทกั ษะทางวชิ าการ
5) การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ประสานขอ้ มูลรว่ มกับคุณครูประจาช้นั
6) การประเมินทักษะของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย โดยนักเรียนมีผลการสอบ (O-net)
เพมิ่ ขึน้ 3 คะแนน

ภาพกจิ กรรม

ประชุมเพือ่ รับฟังประเดน็ ปญั หาจากพ้นื ที่ในการพฒั นาพืน้ ทีอ่ าเภอธารโต จังหวัดยะลา
เม่ือวันท่ี 21 พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมดาหลา ชั้น 2 ที่ว่าการอาเภอธารโต อาเภอธารโต จังหวัด
ยะลา

๒.๒ อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา
การประชุมเพ่ือรับฟังประเด็นปัญหาจากพ้ืนท่ีในการพัฒนาพ้ืนท่ีอาเภอเบตง จังหวัดยะลา มี

รายละเอียดดงั น้ี
1. โครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเบตง ให้ข้อมูลครัวเรือนท่ีตกเกณฑ์ จปฐ. ในปี 2561 มี

ครัวเรอื นที่ตกเกณฑ์ทง้ั หมด 142 ครัวเรอื น ได้แก่
1) ครวั เรือนสงเคราะห์ 17 ครัวเรือน
2) ครัวเรอื นที่ไม่ขอรับความช่วยเหลือ 24 ครัวเรอื น
3) ครวั เรอื นท่ีตอ้ งการฝกึ อาชพี 101 ครวั เรือน

โดยแบ่งพื้นท่ีเป็นครัวเรือนในเขตเทศบาลเมืองเบตง 112 ครัวเรอื น และครวั เรือนนอกเขต
เทศบาลเมืองเบตง 30 ครัวเรอื น ตาบลธารนา้ ทพิ ย์มคี รัวเรือนเป้าหมายเร่ิมแรก 11 ครัวเรือน เป็นครวั เรือนที่



สามารถพัฒนาได้และมีความต้องการฝึกอาชีพ 8 ครัวเรือน และครัวเรือนท่ีรับการสงเคราะห์
3 ครวั เรอื น

คณบดี คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หวั หน้าโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน เสนอ
แนวทางการแก้ไขปญั หาครัวเรือนยากจนที่ตาบลธารนา้ ทิพย์ 8 ครวั เรอื นทส่ี ามารถพัฒนาได้ตามเกณฑ์ จปฐ.มี
รายได้ไม่เกิน 38,000 บาท/คน/ปี ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพ้ืนท่ี Flagship อาเภอเบตงสู่การพัฒนา
เมืองท่องเท่ียวชายแดน และมองว่าหากมีการเปิดใช้งานสนามบินเบตงในอนาคตแล้วในพ้ืนที่และบริเวณ
ใกลเ้ คียง ทาให้ประชาชนในพื้นท่ีมงี านทาสรา้ งรายได้มากข้ึน สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี ้ึน จึงตอ้ งประสานงานและ
ทางานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นที่ อาเภอเบตงทั้ง 5 แห่ง ได้แก่ ตาบลยะรม
ตาบลตาเนาะแมเราะ ตาบลอยั เยอร์เวง เทศบาลตาบลธารน้าทิพย์ เทศบาลเมอื งเบตง ในการลงพน้ื ท่เี กบ็ ข้อมูล
ครัวเรือนเป้าหมายและดาเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามศักยภาพต่อไป เพื่อให้ครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. มี
ความสามารถพัฒนาอาชีพ สร้างรายได้เพ่ิมขึ้นตามเป้าหมายและตัวชี้วัดของโครงการที่ช่วยแก้ไขปัญหา
ความยากจนทกุ ครวั เรอื น

2. โครงการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ชุมชนและทอ้ งถิ่น (OTOP)
ผู้แทนโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ชี้แจงเป้าหมายการดาเนินโครงการ

ยกระดบั ผลิตภัณฑใ์ นอาเภอเบตงมีผลิตภัณฑ์ท้องถ่นิ ท่ีต้องไปสารวจและวิเคราะห์ศักยภาพ 15 ผลติ ภัณฑ์ โดยได้
มีการจัดตารางและประสานกลุ่มผลิตภัณฑ์ในพ้ืนท่ีเพ่ือลงพ้ืนท่ีประกอบการวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มผลิตภัณฑ์
ชุมชน (OTOP) นาไปสู่การคัดเลือกเป้าหมายให้สามารถพัฒนายกระดับเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่เข้มแข็งเพื่อสร้าง
ธุรกิจ SME 1 กลุ่ม และถอดบทเรียนการสร้างโมเดลต้นแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนในอาเภอเบตง โดยวันที่
7-9 ธันวาคม 2561 มีอาจารย์หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หลักสูตรการออกแบบ
ศิลปกรรม หลกั สตู รออกแบบนวัตกรรมทัศนศลิ ป์ รว่ มลงพนื้ ท่ีเก็บข้อมลู ศักยภาพกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน

2.1 ผลิตภณั ฑ์ชุมชน OTOP ในอาเภอเบตง จงั หวัดยะลา ไดแ้ ก่
1) Pizza หน้าปลานิล
2) เครือ่ งแกง (HANTANA)
3) กลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกรนารพี ฒั นา
4) โกช้างฟารม์ ไก่เบตงพนั ธ์ุแท้ 100%
5) กลมุ่ ปลานลิ สายนา้ ไหล
6) กล่มุ สมนุ ไพรปยิ ะมติ ร
7) กลุ่มมดตะนอย
8) วิสาหกิจชุมชนกลมุ่ เลยี้ งผ้ึงจิ๋วชนั โรงครรู วิน
9) หอเจย๊ี ะ
10) กุย่ ช่ายเหมย่ เว่ย
11) กล่มุ บี.ท.ี นวิ สตาร์
12) เจป้ ู กยุ ชา่ ยเบตง
13) เจรญิ ขา้ วมันไกเ่ บตงพนั ธ์แุ ท้
14) วสิ าหกจิ ชมุ ชนกล่มุ รบั ซื้อผลและแปรรปู ผลไม้ผลผลิตเกษตรบา้ นวัง
15) ภัตตาคารอาหารต้าเหยิ่น



2.2 จุดเด่นของผลิตภัณฑ์เมืองเบตง มีอัตลักษณ์ของอาหารและเครื่องดื่มบ่งบอกความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมของชาวไทยเช้ือสายจนี และชาวไทยมสุ ลิม เป็นการนาเอาพชื ผัก ผลไมแ้ ละสตั วพ์ น้ื เมือง
ในท้องถ่ินมาใช้ประกอบอาหาร อาจมีผลต่อการขอมาตรฐานรองรับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดยผลิตภัณฑ์ท่ีส่งเข้า

คัดสรรต้องได้รับรองมาตรฐานท่ีกาหนด ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์
ชุมชน (มผช.) และฮาลาล บางกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนยังไม่ได้รับรองมาตรฐานคุณภาพเน่ืองจากเป็นผลิตภัณฑ์
ประเภทอาหาร ทาให้มผี ลต่อการพัฒนายกระดบั ผลิตภัณฑ์ชุมชน จากการสารวจกลุ่มผลิตภัณฑ์โดยการคัดเลือก

ตามหลักเกณฑ์ของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กระบวนการผลิต กาลังการผลิต รูปแบบบรรจุภัณฑ์ และการส่งขายตลาด
ภายนอก

2.3 ปัญหาทีพ่ บในการพฒั นาผลติ ภัณฑช์ ุมชน (OTOP) คอื

ดึงดดู ความสนใจ 1) การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์สินคา้ Packaging ให้เหมาะสมกบั ประเภทสนิ ค้าและ
2) ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารส่วนใหญ่มีโรงเรือนท่ีใช้ในการผลิตไม่ผ่านเกณฑ์

มาตรฐาน

3) ขาดการประชาสมั พนั ธส์ ู่กลุ่มตลาดภายนอกให้เปน็ ที่รจู้ ัก
4) ขาดการบอกเล่าเรื่องราว (Story) และอัตลักษณ์ (Identity) ท่ีเปน็ จดุ เด่นของ

ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน

5) ขาดความร้ดู า้ นการทาบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย และความรู้การตลาด

3. โครงการสง่ เสรมิ ความรักความสามคั คี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา พิทักษ์ธรรม ผู้อานวยการกองพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ได้ชี้แจง การดาเนินโครงการเสริมสร้างความรักความสามัคคีเพื่อสร้างความมีระเบียบวินัยเข้าใจในสิทธิหน้าท่ี

ของตนเอง และความเป็นพลเมืองที่ดี รวมท้ังการสร้างค่านิยมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวันธรรมอย่างสันตสิ ขุ

ซึ่งการดาเนินโครงการที่เน้นพ้ืนท่ีเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาเสริมสร้างความรักความเข้าใจ ลดความ
หวาดระแวงในพน้ื ที่ชายแดนภาคใต้โครงการที่กล่าวมาขา้ งตน้

3.1 โรงเรยี นในสามจงั หวัดชายแดนภาคใต้เป็นฐานการทากิจกรรม ได้แก่

1) โรงเรียนบ้านธารมะลิ ตาบลอัเยอรเ์ วง อาเภอเบตง จังหวดั ยะลา
2) โรงเรียนบา้ นเยาะ ตาบลแม่หวาด อาเภอธารโต จังหวัดยะลา

3) โรงเรยี นชุมชนบา้ นซากอ ตาบลซากอ อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธิวาส

4) โรงเรียนบา้ นนา้ ดา ตาบลปุโละปโุ ย อาเภอหนองจิก จังหวดั ปัตตานี
3.2 การจดั งานมหกรรม โดยมกี ารดาเนนิ กิจกรรม ไดแ้ ก่

1) เวทีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เน้นความรู้รักสามัคคี เช่น ลิเกฮูลู

อนาซดี โดยสือ่ สารได้ 5 ภาษา
2) การเรยี นรู้เรอ่ื งกฎหมายท่ใี ช้ชีวติ ประจาวันทป่ี ระชาชนควรรู้

3) การประกวดภาพศิลปะทแ่ี สดงถึงความร้รู กั สามคั คีของประชาชน

4) การจดั ตง้ั ศูนยร์ ูร้ กั สามัคคปี ระจาตาบล
5) นกั ศกึ ษาจิตอาสา “เราทาความดีดว้ ยหวั ใจ” รว่ มการพัฒนาชุมชน
โดยมีการทากิจกรรมท่ีใช้โรงเรียนในพื้นท่ีเป็นฐานการพัฒนาร่วมกับนักเรียน ประชาชน

และอาจารย์ บุคลากร นักศึกษาของทางมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในอาเภอเบตงมีโรงเรียนธารมะลิเป็นฐาน

การดาเนินโครงการ เน้นการจัดกิจกรรรมจิตอาสาเสริมสร้างความรักความสามัคคีในสังคม พหุวัฒนธรรมท่ีให้



ทุกคมมีส่วนรว่ มทากิจกรรมทาความสะอาด พัฒนา ฟ้ืนฟวู ดั มัสยดิ ตาดกี า และโรงเรยี นในทอ้ งถิ่น ซ่ึงอาเภอเบ

ตงเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมให้ประชาชนท่ีแตกต่างทางศาสนาได้ทากิจกรรม พูดคุยแลกเปล่ียนความรู้ การจัด

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่นเกิดการสานความสัมพันธ์ระหว่างชาวไทยเชื้อสายจีน ชาวไทยพุทธ และชาว

ไทยมุสลิมให้มีเป้าหมายการพัฒนาเมืองเบตงอย่างมีส่วนร่วมทากิจกรรมทางพหุวัฒนธรรม นาไปสู่การอยู่

ร่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข

4. โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการคิดวิเคราะห์ของ
นกั เรียนในระดับ การจดั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน แก้ไขปัญหา (O-net) ตา่

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โรงเรยี นในพื้นท่ีอาเภอเบตงเป็นฐานการพัฒนา คือ
โรงเรยี นบา้ นธารมะลิ ตาบลอัยเยอรเ์ วง ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นพหวุ ัฒนธรรมท่นี กั เรยี นชาวไทยมุสลิม ชาวไทยเชือ้ สาย
จีนอยู่เรียนร่วมกัน จากเดิมที่นักเรียนมีปัญหาเรียนการเรียนรู้ในการสอนให้สอดคล้องกับสังคม พหุวัฒนธรรม
จึงต้องเน้นการพัฒนาหลักสูตรท้องถ่ินศึกษา โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีอาจารย์ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและมี
พ้ืนฐานข้อมูลของโรงเรียนเป้าหมายเพื่อเก็บข้อมูลนักเรียน และทางานร่วมกับครูประจาช้ันในโรงเรียน
เป้าหมายร่วมสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล ฐานข้อมูลในการทางานร่วมกับทาง
โรงเรียน Big Data เพือ่ เกบ็ ข้อมูลนักเรียนแต่ละคนขาดทักษะทางด้านไหนแลว้ เสริมทักษะได้อย่างถูกต้อง เพ่ือ
ใชเ้ ชือ่ มโยงฐานข้อมลู เดยี วกันในการสร้างนวตั กรรมแก้ปญั หา (O-net) ตา่ โดยมคี ณาจารย์และวิทยากรร่วมจัด
โครงการติวทักษะในรายวิชาและเสริมความรู้ให้นักเรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ ซึ่งต้องเสริมสร้างทักษะการ
อ่านออก – เขียนได้ด้วยการใช้ภาษาไทยเป็นภาษากลางในการสื่อสารร่วมกัน มุ่งให้เด็กนักเรียนท่ีมีความ
แตกตา่ งทางศาสนาสามารถส่ือสารด้วยภาษาไทย

4.1 โดยการดาเนินกจิ กรรม ได้แก่
๑) การลงพนื้ ทเี่ กบ็ ขอ้ มูลในโรงเรียนบา้ นธารมะลสิ รา้ งฐานขอ้ มูล Big Data

๒) การจัดการเรียน การสอนร่วมกับครูทางโรงเรียนบ้านธารมะลิและ อาจารย์

นักศกึ ษา บคุ ลากรของทางมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา

๓) การสอนทักษะการส่ือสารโดยใช้ภาษาไทย และเรียนรู้ภาษาท่ีใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั เนน้ การใช้ภาษาไทยเปน็ ภาษาหลักให้นกั เรยี นสามารถอา่ นออกเขยี นได้

๔) การจดั อาจารย์ วิทยากรตวิ เขม้ ทักษะทางวชิ าการ
๕) การสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรูป้ ระสานขอ้ มลู ร่วมกบั คุณครูประจาชน้ั
๖) การประเมินทักษะของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย โดยนักเรียนมีผลการสอบ
(O-net) เพ่มิ ขน้ึ 3 คะแนน
สานักงานพื้นที่การศึกษาเขต 3 อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ได้เสนอแนวทางการจัดการ

เ รี ย น รู้ ใ น อ า เ ภ อ เ บ ต ง ท่ี มี ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม อ ยู่ แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น คือ ทุกโรงเรียนมีการจัดทาหลักสูตรท้องถิ่นศึกษา และการสร้าง

การเรียนรู้นอกห้องเรียน โครงการ 1 โรงเรียน 1 ผลิตภัณฑ์ เน้นการสร้างความรู้และพัฒนาทักษะการนา

ทรัพยากรในท้องถิ่นมาสร้างผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมูลค่าเพิ่ม ต่อยอดพัฒนาสินค้าให้นักเรียนมีความรู้พัฒนา

ผลติ ภณั ฑท์ ส่ี ร้างรายได้ให้แก่ นกั เรยี น โดยเนน้ การเรียนรู้ 8 ชัว่ โมงของนักเรยี นและ 8 ชวั่ โมงการเรียนรู้ของ

ผู้ปกครองสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ทาให้เกิดความเข้าใจตรงกันและสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง

คุณครู นักเรียน และผ้ปู กครอง



ภาพกิจกรรม

ประชุมเพือ่ รบั ฟงั ประเด็นปญั หาจากพนื้ ที่ในการพฒั นาพนื้ ท่ีอาเภอเบตง จงั หวัดยะลา
เมื่อวันท่ี 7 ธันวาคม ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมไกรราช ชัน้ 2 ท่วี า่ การอาเภอเบตง อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา

๒.๓ อาเภอหนองจกิ จังหวดั ปัตตานี
การประชุมเพ่ือรับฟังประเด็นปัญหาจากพ้ืนที่ในการพัฒนาพื้นท่ีอาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

มีรายละเอยี ดดงั นี้
1. โครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน
ผู้แทนจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอหนองจิก เสนอประเด็นปัญหาโครงการแก้ไข

ปัญหาความยากจน ข้อมูลครัวเรือนตกเกณฑ์ (จปฐ.) ท่ีลดลงเรื่อยๆ ต้ังแต่ปี 2559 ครัวเรือนตกเกณฑ์
จานวน 864 ครวั เรอื น โดยในปี 2560 ลดลงเหลือจานวน 400 ครวั เรือน

1.1 ปี 2561 มีครวั เรือนตกเกณฑ์ จปฐ. จานวน 284 ครวั เรือน โดยแยกเปน็
1) ครัวเรือนทีต่ ้องสงเคราะห์ 60 ครวั เรอื น
2) ครัวเรือนท่ีพัฒนาได้ 212 ครัวเรือน (ในพ้ืนท่ีชนบท 127 ครัวเรือน/เขต

เทศบาล 85 ครัวเรอื น)
3) ครัวเรอื นที่เสยี ชีวิต ยา้ ยออก 3 ครวั เรือน
4) ครวั เรอื นที่ไมข่ อรับความช่วยเหลือ 9 ครวั เรือน สาเหตเุ พราะครวั เรอื นมี

ศกั ยภาพในการพฒั นา
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา กล่าวชี้แจง ตัวช้ีวัดและเป้าหมายความสาเร็จของ

โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน มีการเก็บข้อมูลสภาพปัญา/ความต้องการ ต้องนาครัวเรือนท่ีตกเกณฑ์ มา
ทากิจกรรมการพฒั นารว่ มกัน โดยมพี ่เี ลี้ยงลงพื้นท่เี ข้าไปดูแลครวั เรอื นเป้าหมาย

1.2 การคลป่ี ่มปัญหาแก้ไขโดยแยกครวั เรือนออกเป็น 3 กลุม่
กลมุ่ ที่ 1 เกณฑ์รายได้ 35,000-38,000 บาท/ปี
กล่มุ ที่ 2 เกณฑ์รายได้ 30,000-35,000 บาท/ปี
กลุ่มที่ 3 เกณฑ์รายได้ต่ากว่า 30,000 บาท/ปี

แนวทางแก้ไขปัญหาในการนาหลักวิชาการในหลายองค์ความรู้ลงพื้นที่ทางานร่วมกับ
ประชาชนในการแก้ไขปัญหาความยากจนให้บรรลุเป้าหมาย นาไปสู่การสร้างโมเดลการพัฒนาพื้นท่ี
อาเภอหนอกจิก ในการถอดบทเรียนองค์ความรทู้ ี่ได้รับจากการพัฒนาในพ้ืนท่ีมาถ่ายทอดสชู่ ุมชนอน่ื



2. โครงการยกระดับคณุ ภาพการเรยี นรูด้ า้ นการอ่านการเขยี นและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน
ในระดับการจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานแก้ไขปัญหา (O-net) ตา่

อาจารย์ซอและ เกปัน กรรมการโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการ
เขียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานแก้ไขปัญหา (O-net) ต่า กล่าวว่า
การแก้ไขปัญหาท่ีเน้นโรงเรียนเป้าหมาย คือ โรงเรียนบ้านน้าดา อาเภอหนองจิก พบว่าโรงเรียนบ้านน้าดามี
ปัญหาเด็กนักเรียนมีผลการสอบ (O-net) ต่าอยู่ในอันดับ 10 โรงเรียนสุดท้ายของจังหวัดปัตตานี โดยมี
เป้าหมาย คือ การอ่านออกเขียนได้ ส่งเสริมการใช้ภาษาของนักเรียน และตัวช้ีวัดนักเรียนมีผลการสอบ
(O-net) ให้ได้คะแนนเพิม่ ข้นึ 3 คะแนน ภายใน 5 ปี จะไดโ้ มเดลโรงเรยี นบา้ นนา้ ดาเปน็ ต้นแบบการแก้ปัญหา
ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีทีมงานอาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาลงพ้ืนท่ีทางานร่วมกับโรงเรียน
บา้ นนา้ ดา

2.1 แนวทางการแก้ไขปัญหา (O-net) ตา่
๑) การลงพ้นื ทเ่ี กบ็ ข้อมลู ในโรงเรียนบ้านน้าดาสร้างฐานขอ้ มลู Big Data

๒) การจัดการเรียน การสอนร่วมกับครูทางโรงเรียนบ้านธารมะลิและอาจารย์

นักศกึ ษา บุคลากรของทางมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

๓) การสอนทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาไทย และ เรียนรู้ภาษาที่ใช้ใน

ชวี ติ ประจาวัน เน้นการใช้ภาษาไทยเป็นภาษาหลกั ใหน้ กั เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้
๔) การจัดอาจารย์ วทิ ยากรตวิ เขม้ ทกั ษะทางวชิ าการ

๕) การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ประสานขอ้ มูลรว่ มกับคุณครปู ระจาชั้น

๖) การประเมินทักษะของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย โดยนักเรียนมีผลการสอบ
(O-net) เพ่มิ ข้นึ 3 คะแนน

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านน้าดา กล่าวว่า โรงเรียนของเราได้ประสบกับปัญหาผลการสอบ
(O-net) ต่า มีนักเรียนทั้งหมด 183 คน จัดการศึกษา 3 ระดับ คือ ปฐมวัย ปฐมศึกษา และมัธยมศึกษา มี
บคุ ลากร 27 คน และพืน้ ทภี่ ายในโรงเรียนมีโครงการอาหารกลางวนั ให้แก่นักเรียน ทาแปลงเกษตรในโรงเรียน
เช่น ปลูกพชื เล้ยี งไก่

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา กล่าวว่า การลงพื้นท่ีโรงเรียนบ้านน้าดาเป็นฐาน
center แก้ไขปัญหาให้อาจารย์และนักศึกษาเข้าไปทากิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกับทางโรงเรียน เน้นการ
อ่านออกเขียนได้ เป็นโรงเรียนตน้ แบบศาสนาตาดีกาได้สามารถสอนใหน้ ักเรยี นมีคุณธรรมจริยธรรมเรยี นรกู้ าร
อย่รู ว่ มกันในสังคมพหุวฒั นธรรม รวมทัง้ การจัดการสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นบ้านนา้ ดาทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้

3. โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ชุมชนและทอ้ งถน่ิ (OTOP)
ผู้แทนจากสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอหนองจิก ใหข้ ้อมูลวา่ ผลิตภัณฑช์ มุ ชน (OTOP) ใน

อาเภอหนองจิกมีท้ังหมด 63 กลุ่ม รวม 124 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร 73 ราย ผ้าเคร่ือง
แต่งกาย 13 ราย สมุนไพรที่ไม่ใช้อาหาร 12 ราย การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น กลุ่มผลิตปลาเกร็ดขาว
ระดับ ๕ ดาว กลุ่มผ้าแต่งกายมุสลิม ระดับ ๔ ดาว กลุ่มขนมเปี๊ยะ ระดับ ๔ ดาว และกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
บ้านน้าพริก ระดับ ๔ ดาว โดยได้ดาเนินโครงการพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ และโครงการจัดแสดงสินค้า
ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชนในภาคใต้

๑๐

3.1 ปญั หาผลิตภัณฑช์ ุมชน (OTOP) ได้แก่
๑) ผลิตภัณฑช์ ุมชนทไ่ี ม่มมี าตรฐานรองรับและไมม่ คี ณุ ภาพ

๒) โรงเรือนการผลติ ไมไ่ ด้รบั มาตรฐาน

๓) ขาดการพัฒนาบรรจภุ ัณฑใ์ ห้ดงึ ดูดใจผูบ้ ริโภค

๔) ผลิตภัณฑ์ชุมชนไม่เปน็ ทีต่ ้องการของตลาด

อาจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ รองผู้อานวยการสถาบันวิจัย ได้เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา
ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน โดยอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีความรูใ้ นการแกป้ ัญหาด้านบรรจุภณั ฑ์ทดี่ ึงดูดใจ การ
สร้างช่องทางการตลาด และการพัฒนา คิดค้นผลิตภัณฑ์ชุมชนรูปแบบใหม่ๆที่ตอบโจทย์ความต้องการของ
ผู้บรโิ ภค

3.2 การแก้ไขปัญหาขอกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีความพร้อมในการจัดอาจารย์ผู้เช่ียวชาญ
แต่ละสาขาเขา้ มาให้ความรูแ้ ละช่วยแก้ไขปัญหา ซ่งึ เป็นการลงพ้ืนที่ไปสารวจปญั หาความต้องการของกลุ่ม และ
เก็บข้อมูลกลุ่มเพื่อให้ได้แนวทางแก้ไขปัญหา เป้าหมายในปีที่ 5 คือ โมเดลการยกระดับผลิตภัณฑ์ในพื้นท่ี
1 โมเดล และการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ใหเ้ ป็น SME จานวน ๑ กลุ่ม เพ่ือให้เป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อมในพ้ืนทีท่ ่มี ี
ประสิทธภิ าพในการผลติ สินคา้ ในทอ้ งถนิ่ ให้เปน็ ทีต่ ้องการของตลาดภายนอก

4. โครงการส่งเสรมิ ความรกั ความสามคั คี
อาจารย์ ดร.บุญสิทธิ์ ไชยชนะ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา กล่าวถึงแนวทางการ

ดาเนินโครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี เพ่อื สร้างความมีระเบยี บวนิ ัยเขา้ ใจในสิทธิหนา้ ที่ของตนเอง และ
ความเป็นพลเมืองท่ีดี รวมทั้งการสร้างค่านิยมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวันธรรมอย่างสันติสุข ซึ่งการดาเนิน
โครงการท่ีเน้นพื้นท่ีเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาโครงการท่ีกล่าวมาข้างต้น โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการพัฒนา
ในอาเภอหนองจิกมีโรงเรียนบ้านน้าดาเป็นศูนย์กลางในการทากิจกรรมเสริมสร้างความรัก ความสามัคคี
ร่วมกบั หนว่ ยงานทมี่ สี ่วนเก่ยี วขอ้ งในพน้ื ที่

4.1 การดาเนนิ กิจกรรม ไดแ้ ก่
1) การพัฒนาสื่อและเวทีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีเก่ียวข้องกับความรัก

ความสามัคคี และการอยู่รว่ มกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรม เชน่ ลิเกฮูลู อนาซีด โดยสอ่ื สารได้ 5 ภาษา
2) เรยี นรู้กฎหมายที่ใชช้ ีวิตประจาวัน สิทธหิ นา้ ทพี่ ลเมือง โดยใช้ภาษาทอ้ งถนิ่
3) การจัดมหกรรมพลังประชาชน
4) การจัดตั้งศนู ย์รูร้ กั สามัคคปี ระจาตาบล
5) นักศกึ ษาจิตอาสา “เราทาความดดี ้วยหัวใจ” รว่ มการพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน
6) การแจกแบบสอบถามให้ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งแบบสอบถามรูปแบบกระดาษให้

กรอกและใชแ้ อฟพลิเคช่ันกรอกแบบสอบถามออนไลน์

๑๑

ภาพกจิ กรรม

ประชุมเพอ่ื รับฟงั ประเด็นปัญหาจากพืน้ ท่ีในการพฒั นาพื้นท่ีอาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
เมื่อวันท่ี ๑5 พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมท่ีว่าการอาเภอหนองจิก ช้ัน 2 ที่ว่าการอาเภอหนองจิก
อาเภอหนองจิก จงั หวัดปตั ตานี

๒.๔ อาเภอแมล่ าน จังหวัดปัตตานี
การประชุมเพื่อรับฟังประเด็นปัญหาจากพื้นที่ในการพัฒนาพื้นที่อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

มรี ายละเอยี ดดังนี้
1. โครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอแม่ลาน ให้ข้อมูลครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. มีรายได้ต่ากว่า

38,000 บาท/คน/ปี ในปี พ.ศ. 2561 มคี รัวเรอื นทต่ี กเกณฑท์ ง้ั หมด 9 ครวั เรือน ไดแ้ ก่
1) ครวั เรอื นท่มี ผี ู้สงู อายุ เด็กและผู้พกิ าร 3 ครัวเรอื น
2) ครวั เรือนที่ต้องการฝึกอาชพี 6 ครัวเรอื น

ท้ังน้ี ใน 9 ครัวเรือน ท่ีได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 2 ครัวเรือน ปัญหาท่ีพบส่วนใหญ่
เกิดจากการมรี ายไดไ้ มเ่ พียงพอต่อรายจ่าย และไม่มที ี่ดนิ ทากนิ เป็นของตนเอง ในช่วงท่ีผา่ นมามีหน่วยงานท่ีเข้า
มาสนับสนุนครัวเรือนตกเกณฑ์ เช่น สานักงานประมงจังหวัดปัตตานี สนับสนุนพันธ์ุปลาน้าจืด ศูนย์วิจัยและ
พัฒนาการเกษตร สนบั สนุนเมลด็ พนั ธุพ์ ชื

นายอาเภอแม่ลานมอบหมายให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องลงพ้ืนท่ีไปเก็บข้อมูล สภาพปัญหา
ความต้องการรายครัวเรือน เพ่ือให้ทราบปัญหาความต้องการท่ีแท้จริง เช่น ปัญหาด้านการเกษตร ปัญหา
สุขภาพ เป็นต้น คาดว่าในปีน้ีน่าจะพัฒนาครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.ที่ต้องการฝึกอาชีพ 6 ครัวเรือน ให้ผ่าน
เกณฑ์ 38,000 บาท/คน/ปี

แนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนจึงต้องอาศัยการบูรณาการศาสตร์หลักสูตรต่างๆ ใน
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมกันดาเนินโครงการแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด ซึ่งมีปัญหาความต้องการที่
แตกต่างกันในแต่ละครัวเรือน เพื่อให้ทั้ง 6 ครัวเรือน ที่สามารถพัฒนาได้มีศักยภาพต่อการพัฒนาคุณภาพชวี ติ
ของตนเองได้

2. โครงการพัฒนาผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและทอ้ งถิน่ (OTOP)
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น (OTOP) ช้ีแจงเป้าหมายการดาเนินโครงการ

ยกระดับผลิตภัณฑ์ในอาเภอแม่ลานมีผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินท่ีต้องไปสารวจและวิเคราะห์ศักยภาพ 15 ผลิตภัณฑ์
โดยได้มีการจัดตารางและประสานกลุ่มผลิตภัณฑ์ในพื้นที่เพื่อลงพ้ืนท่ีประกอบการวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม

๑๒

ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) นาไปสู่การคัดเลือกเป้าหมายให้สามารถพัฒนายกระดับเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่เข้มแข็ง
เพ่ือสร้างธุรกิจ SME 1 กลุ่ม และถอดบทเรียนการสร้างโมเดลต้นแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนใน
อาเภอแมล่ าน

2.1 เม่ือวันที่ 4 ธันวาคม 2561 และวันท่ี 17 ธันวาคม 2561 มีอาจารย์และบุคลากร
ในสถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนภาคใต้ หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หลักสูตรการออก
แบบศิลปกรรม หลักสูตรออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป์ลงพ้ืนที่สารวจและวิเคราะห์ศักยภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน
รว่ มลงพน้ื ท่ีสารวจข้อมูลศักยภาพกล่มุ ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน OTOP ในอาเภอแมล่ าน จังหวดั ยะลา ไดแ้ ก่

1) กลุ่มตดั เยบ็ ผา้ ยาแลฆอ
2) กลุ่มปลกู ผกั ผลไม้ อนิ ทรีย์ บา้ นวงั กวา้ ง
3) กลุ่มสมนุ ไพรอินทรยี ์ บ้านปลักปลือ
4) กลมุ่ ปลาดกุ ร้า บา้ นจาโดะ๊
5) กลุม่ เครือ่ งแกงสาเรจ็ รูปต้นโหนด
6) กลุ่มอาชพี ทาเฟอร์นิเจอร์
2.2 ปญั หาท่ีพบในการพฒั นาผลติ ภัณฑช์ ุมชน (OTOP) คือ
1) ผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหารส่วนใหญ่มีสูตรการผลิตท่ีไม่คงท่ีมีผลต่อ
รสชาติอาหารในการผลิตแต่ละครง้ั ท่ีไมเ่ หมือนเดมิ และมโี รงเรอื นทใี่ ช้ในการผลิตไมผ่ ่านเกณฑม์ าตรฐาน
2) การออกแบบบรรจุภณั ฑส์ นิ ค้า Packaging ใหเ้ หมาะสมกบั สินคา้
3) ขาดการประชาสมั พันธ์ส่กู ลุ่มตลาดภายนอกให้เป็นทรี่ ู้จกั
4) ขาดการบอกเลา่ เร่ืองราว (Story) และอัตลักษณ์ (Identity) จดุ เด่น
5) ขาดความรู้การทาบญั ชีรายรบั -รายจ่าย การตลาด และการคานวณตน้ ทุน
3. โครงการสง่ เสรมิ ความรักความสามัคคี
อาจารย์ ดร.บุญสิทธ์ิ ไชยชนะ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา ชี้แจง แผนการดาเนิน
โครงการเสรมิ สร้างความรักความสามัคคีเพื่อสร้างความมรี ะเบียบวนิ ัยเข้าใจในสิทธิหน้าที่ของตนเอง และความ
เป็นพลเมอื งท่ีดี รวมท้งั การสรา้ งค่านิยมการอยู่ร่วมกนั ในสังคมพหวุ นั ธรรมอย่างสันตสิ ขุ ซง่ึ การดาเนนิ โครงการ
เน้นพื้นที่เป้าหมายในการเสริมสร้างความรักความเข้าใจ ลดความหวาดระแวงในพ้ืนท่ีชายแดนภาคใต้โครงการ
ท่ีกลา่ วมาข้างต้น
3.1 การดาเนนิ กิจกรรม ได้แก่
1) การพัฒนาส่ือและเวทีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีเกี่ยวข้องกับความรัก
ความสามัคคี และการอยู่ร่วมกันในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม เช่น ลเิ กฮูลู อนาซดี โดยสอ่ื สารได้ 5 ภาษา
2) เรยี นรู้กฎหมายท่ีใชช้ ีวิตประจาวัน สทิ ธิหนา้ ทพ่ี ลเมือง
3) การจดั มหกรรมพลังประชาชน
4) การจดั ต้ังศูนย์รรู้ กั สามคั คีประจาตาบล
5) นักศกึ ษาจิตอาสา “เราทาความดีดว้ ยหวั ใจ” ร่วมการพัฒนาชุมชน
6) การแจกแบบสอบถามให้ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังแบบสอบถามรูปแบบกระดาษ
ใหก้ รอกและใช้แอฟพลิเคชัน่ กรอกแบบสอบถามออนไลน์
3.2 การทากจิ กรรมทใ่ี ชโ้ รงเรยี นในพ้นื ที่เปน็ ฐานการพัฒนารว่ มกบั นกั เรียน ประชาชน และ
อาจารย์ บคุ ลากร นกั ศกึ ษาของทางมหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา เนน้ การจัดกจิ กรรรมจิตอาสาเสรมิ สรา้ งความรัก
ความสามัคคีในสังคมพหุวัฒนธรรมท่ีให้ทุกคมมีส่วนร่วมทากิจกรรมทาความสะอาด พัฒนา ฟื้นฟูวัด มัสยิด

๑๓

ตาดีกา และโรงเรียนในท้องถ่ิน ซ่ึงอาเภอแม่ลานเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมให้ประชาชนที่แตกต่างทางศาสนาได้
ทากิจกรรม พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาท้องถ่ินเกิดการสานความสมั พันธ์ระหว่าง
ชาวไทยพทุ ธ และชาวไทยมสุ ลมิ ใหม้ เี ปา้ หมายการพัฒนาพื้นท่ีอาเภอแมล่ านรว่ มกัน นาไปสกู่ ารอย่รู ว่ มกันอย่าง
สนั ติสขุ

4. โครงการยกระดับคณุ ภาพการเรียนรู้ดา้ นการอ่านการเขยี นและการคดิ วเิ คราะห์ของนักเรียน
ในระดบั การจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน แกไ้ ขปญั หา (O-net) ตา่

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โรงเรียนในพ้ืนท่ีอาเภอแม่ลานเป็นฐานการพัฒนา
ซ่ึงในอาเภอแม่ลานไม่พบโรงเรียนที่มีปัญหา (O-net) ต่า จึงเริ่มการดาเนินโครงการแก้ไขปัญหา (O-net) ต่า
ในพ้ืนท่ีโรงเรียนอื่นที่มีปัญหาการสอบ (O-net) ต่า ของนักเรียนและเป็นโรงเรียนที่ทางจังหวัดช้ีเป้าให้พัฒนา
แล้วค่อยขยายฐานการพัฒนาไปยังโรงเรียนในพ้ืนท่ีเป้าหมาย โดยมีการดาเนินโครงการจากเดิมที่นักเรียนมี
ปัญหาในการสอนให้สอดคล้องกับสังคมพหุวัฒนธรรม จึงต้องเน้นการพัฒนาหลักสูตรท้องถ่ินศึกษา
โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีอาจารย์ลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลและมีพ้ืนฐานข้อมูลของโรงเรียนเป้าหมาย เพ่ือเก็บ
ข้อมลู นักเรียน และทางานร่วมกับครปู ระจาชั้นในโรงเรียนเป้าหมายรว่ มสังเกตพฤติกรรมการเรยี นของนักเรียน
เป็นรายบุคคล ฐานข้อมูลในการทางานร่วมกับทางโรงเรียน Big Data เพื่อเก็บข้อมูลนักเรียนแต่ละคนขาด
ทักษะทางด้านไหนแล้วเสริมทักษะได้อย่างถูกต้อง เพื่อใช้เชื่อมโยงฐานข้อมูลเดียวกันในการสร้างนวัตกรรม
แก้ปัญหา (O-net) ต่า โดยมีคณาจารย์และวิทยากรร่วมจัดโครงการติวทักษะในรายวิชาและเสริมความรู้ให้
นักเรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ ซ่ึงต้องเสริมสร้างทักษะการอ่านออก – เขียนได้ด้วยการใช้ภาษาไทยเป็น
ภาษากลางในการสื่อสาร โดยการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ประสานข้อมูลร่วมกับคุณครูประจาช้ันของ
โรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะการอ่านออกเขียนได้ และมีความรู้พื้นฐานในการทาแบบทดสอบวัดผลการ
เรียนรู้ นาไปสู่การพฒั นาทักษะการสอบ (O-net) ให้ได้คะแนนเพมิ่ ขึ้น 3 คะแนน

ภาพกิจกรรม

ประชุมเพื่อรบั ฟังประเดน็ ปัญหาจากพืน้ ที่ในการพฒั นาพ้ืนท่ีอาเภอแม่ลาน จังหวดั ปตั ตานี
เม่ือวันท่ี 6 ธันวาคม ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ ที่ว่าการอาเภอแม่ลาน อาเภอแม่ลาน
จงั หวัดปตั ตานี

๑๔

๒.๕ อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธวิ าส

การประชมุ เพื่อรบั ฟังประเดน็ ปัญหาจากพื้นทใี่ นการพฒั นาพ้นื ที่อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธิวาส

มรี ายละเอียดดังน้ี

1. โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน
ผู้แทนจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ช้ีแจงประเด็นครัวเรือนท่ีตกเกณฑ์ จปฐ.

ที่มีรายได้ต่ากว่า 38,000 บาท/คน/ปี พบว่า ในปี 2561 มีครัวเรือนท่ีตกเกณฑ์ท้ังหมด จานวน

12 ครัวเรือน ไดแ้ ก่ ครวั เรือนในเขตเทศบาลตาบลศรีสาคร จานวน 11 ครวั เรอื น ทสี่ ามารถพัฒนาได้ และเขต
ตาบลเชิงคีรี จานวน 1 ครัวเรือน ที่ไม่สามารถพัฒนาได้ ทั้งน้ีการดาเนินงานมีการตรวจสอบข้อมูลซ้า เพื่อให้
ขอ้ มูลตรงกับสภาพความเปน็ จรงิ

รองอธิการบดี ฝ่ายบริหารเสนอแนะ แนวทางการเก็บข้อมูลที่ต้องสร้างเคร่ืองมือเก็บข้อมูล
ครัวเรือนตกเกณฑ์ โดยนาการทาบัญชีครัวเรือนมาใช้ให้ชาวบ้านจดบันทึกรายรับ -รายจ่าย เพ่ือให้เป็น
ฐานขอ้ มูลกับหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องใชใ้ นการวดั เกณฑแ์ ต่ละครวั เรือนทน่ี า่ เชอ่ื ถอื และตรงกบั ความเป็นจรงิ

2. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑช์ มุ ชนและท้องถน่ิ (OTOP)
อาจารย์เวคิน วุฒิวงศ์ กรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ช้ีแจง

เปา้ หมายการดาเนินโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ 15 ผลติ ภัณฑ์ ภายใน 5 ปี มีกลุ่มผลติ ภัณฑท์ ่ีเข้มแข็งเพ่ือสร้าง

ธรุ กิจ SME 1 กลมุ่
ผู้แทนจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ให้ข้อมูลกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP)

นวัตวิถี มี 35 กลุ่ม 67 ผลิตภัณฑ์ มีการรวมกลุ่มเกษตรกรในตาบลกาหลง ซากอ ศรีสาคร เป็นต้น การ

รวมกลุ่มแม่บา้ นเกษตรกร เช่น กลุ่มพัฒนาอาชพี สตรบี ้านสกูปา กลมุ่ รอ้ ยลกู ปัดผ้าคลุมสตรีมสุ ลิม กลมุ่ ไมก้ วาด
ดอกหญา้ กลุม่ แปรรปู ทเุ รยี นกวน โดยกลุม่ ทมี่ คี วามเข้มแข็งสามารถพัฒนาไดเ้ ป็น SME คือ กลมุ่ แปรรูปทุเรียน
กวน เน่ืองจากมีการไปจาหน่ายออกบูธจาหน่ายและแสดงสินค้าที่เมืองทองธานี และมียอดส่งซ้ือจากตลาด

ภายนอกจานวนมาก
ทง้ั น้ี ปญั หาทพี่ บในการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ชุมชน (OTOP) คอื
๑) ผลติ ภัณฑ์ประเภทอาหารสว่ นใหญม่ ีโรงเรือนท่ีใชใ้ นการผลติ ไม่ผ่านเกณฑ์

๒) ขาดการประชาสัมพนั ธ์ส่กู ล่มุ ตลาดภายนอกให้เปน็ ท่รี ้จู ัก
๓) การออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้า Packaging ให้เหมาะสมกับประเภทสินค้า และดึงดูด

ความสนใจ

๔) ขาดการบอกเล่าเรื่องราว Story และอัตลักษณ์ Identity ท่ีเป็นจุดเด่นของผลิตภัณฑ์
ชมุ ชน

รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาได้เสนอแนะแนวทางการพัฒนาและการ

ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยการบูรณาการความร่วมมือกับศาสตร์วิทยาการด้านต่างๆในคณะ สาขาที่
เกี่ยวข้อง โดยการจัดการเรียนการสอนท่ีให้นักศึกษาและอาจารย์ร่วมดาเนินโครงการท่ีเป็นทั้งการพัฒนาการ
เรียนของนักศึกษา สร้างองค์ความรู้แก้ไขปัญหาให้ชาวบ้านได้ เช่น คณะวิทยาการจัดการเข้ามาดูแลโครงการ

ด้านการตลาด ช่องทางกระจายสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน การประชาสัมพันธ์จัดทาสื่อ/คลิปหนังสั้นโฆษณาสนิ ค้า
การออกแบบบรรจุภัณฑ์และการใช้หลักวิทยาศาสตร์ปรับปรุงสูตรอาหาร food science นาไปสู่การสร้าง
โมเดลต้นแบบที่ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาได้ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของนักศึกษาที่มี

ประสบการณท์ างานรว่ มกบั ทอ้ งถน่ิ ถอดบทเรียน Best Practice องค์ความร้ทู ชี่ ว่ ยแกไ้ ขปัญหาของท้องถ่ินและ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน

๑๕

3. โครงการสง่ เสริมความรักความสามคั คี
ผู้ช่ว ยศาสตรา จารย์ว าสนา พิทักษ์ธ รรม ผู้อานว ยการกองพัฒนานักศึ ก ษ า

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้ช้ีแจงและแลกเปลี่ยนความรู้ในการดาเนินโครงการเสริมสร้างความรัก
ความสามัคคีร่วมกับผ้อู านวยการโรงเรียนบ้านซากอ ซึ่งมีนักเรียนจานวน 443 คน เด็กมัธยม จานวน 76 คน
ท่ีเหลอื เป็นเดก็ ชนั้ ประถม เปน็ โรงเรียนขยายโอกาส จดั การเรยี นการสอนตั้งแตร่ ะดบั อนุบาล 1 – มัธยมศกึ ษา
ปีท่ี 3 การลงพื้นท่ีของอาจารย์ บุคลากรและนักศึกษามาทากิจกรรมร่วมกับทางโรงเรียนบ้านซากอ เพื่อ
เสริมสร้างความรักความสามัคคี เน่ืองจากในพ้ืนที่มีชาวไทยมุสลิม ร้อยละ 80 ท่ีเหลือเป็นชาวไทยพุทธ มี
กิจกรรมการเสริมสร้างการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมให้เด็กเข้าใจและเคารพความแตกต่างของ
วัฒนธรรมอ่ืน การจัดอบรมให้ความรู้กฎหมายท่ีใช้ในชีวิตประจาวันให้แก่เด็กและเยาวชน รวมท้ังให้เยาวชน
ชาวไทยพุทธ ไทยมุสลิม ร่วมบูรณะและพัฒนาวัด มัสยิดให้มีความสะอาดเหมาะแก่การประกอบพิธิกรรมทาง
ศาสนา และการทาประเพณีทอ้ งถน่ิ

เดิมโรงเรียนบ้านซากอมีการทากิจกรรมเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินอยแู่ ล้วและทาอยา่ งต่อเนื่อง เชน่

การทาสีสะพานข้ามแม่นา้ สายบุรี การจัดค่ายคุณธรรมจริยธรรม และการเข้าค่ายลูกเสอื เนตรนารี เพื่อส่งเสริม

ให้เด็กนกั เรยี นมีจติ สานึกความเป็นพลเมอื งทีด่ ี และยดึ หลกั ธรรมทางศาสนาทีใ่ ช้ในการดาเนินชวี ิต

ท้ังน้ี การจดั งานมหกรรมส่งเสรมิ ความรักความสามคั คี โดยมีกจิ กรรม ไดแ้ ก่
๑) เวทกี ารแสดงศลิ ปวัฒนธรรมท้องถน่ิ ที่เน้นความรู้รักสามคั คี เชน่ ลิเกฮลู ู อนาซีด โดยใช้
ภาษาทอ้ งถิน่ ในการสือ่ สาร 5 ภาษา
๒) การประกวดภาพศิลปะท่แี สดงถึงความรู้รักสามัคคีของประชาชน
๓) การจัดตง้ั ศนู ย์ร้คู วามรักความสามคั คีประจาตาบล
๔) นักศึกษาจิตอาสาลงพ้ืนท่ีทากิจกรรม “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ร่วมการพัฒนาชุมชน
ท้องถิ่น ดังนั้น เป้าหมายของการดาเนินโครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี เป็นโครงการระยะยาวท่ีทา
อย่างต่อเนื่อง จึงเน้นการสรา้ งความเข้าใจต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรม การดาเนินโครงการร่วมกับ
เด็ก นักเรียน ครู ผู้ปกครอง นักศึกษาและบุคลากรของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา ในปีถัดไปจะขยายเป้าหมาย
ไปในโรงเรียนอื่นๆในอาเภอศรีสาครในการลงพ้ืนท่ีจัดมหกรรมเสริมสร้างความรักความสามัคคี ลดความ
แปลกแยกในสงั คมละสร้างความสัมพันธอ์ ันดตี อ่ กนั
4. โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ดา้ นการอ่านการเขียนและการคดิ วิเคราะหข์ องนักเรียน
ในระดบั การจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน แก้ไขปญั หา (O-net) ตา่
โรงเรียนเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา คือ โรงเรียนบ้านซากอ มีนักเรียนส่วนใหญ่เป็นมสุ ลิม
80% ที่เหลือเป็นนักเรียนชาวไทยพุทธ 20% เป็นโรงเรียนที่เคยทางานร่วมกันในโครงการ
Save the Children องค์กรช่วยเหลือเด็กที่ได้รับผลกระทบในพื้นท่ีชายแดนใต้ ส่วนโครงการแก้ไขปัญหา
(O-net) ต่า ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาพอจะมีพ้ืนฐานข้อมูล อาจจะมีการลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลของอาจารย์
และนกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลาตอ้ งมีการลงพ้นื ท่ีโรงเรยี นเพ่ือเก็บข้อมูลนักเรยี น และทางานรว่ มกับครู
ประจาช้ันในการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล ฐานข้อมูลในการทางานร่วมกับทาง
โรงเรียน Big Data เพ่ือเกบ็ ข้อมูลนักเรียนแต่ละคนขาดทักษะทางด้านไหนแลว้ เสริมทกั ษะได้อย่างถูกต้อง เพ่ือ
ใช้เช่อื มโยงฐานขอ้ มลู เดียวกันในการสร้างนวัตกรรมแกป้ ญั หา (O-net) ตา่ โดยมีคณาจารยแ์ ละวิทยากรร่วมจัด
โครงการติวทักษะในรายวิชาและเสริมความรู้ใหน้ ักเรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ ซึ่งการทากิจกรรมที่เน้นการ
จัดการเรียนการสอนเสริมทักษะด้านต่างๆ ทั้งความรู้ทางวิชาการและเรียนรู้ภาษาท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน เน้น
การใชภ้ าษาไทยเป็นภาษาหลกั ให้นกั เรียนสามารถอา่ นออกเขียนได้

๑๖

เป้าหมาย คือ การอ่านออกเขียนได้ ส่งเสริมการใช้ภาษาของนักเรียน และตัวชี้วัดนกั เรียนมี
ผลการสอบ (O-net) ให้ได้คะแนนเพิ่มข้ึน 3 คะแนน ภายใน 5 ปี จะได้โมเดลโรงเรียนบ้านซากอเป็นโรงเรยี น
ต้นแบบการแกป้ ัญหายกระดบั คุณภาพการศึกษา และจะขยายการทาโครงการไปสู่โรงเรียนอน่ื

คุณครูโรงเรียนศรีวารินทร์ ได้แลกเปล่ียนประสบการณ์ในการสอนของโรงเรียนระดับมัธยม
ที่มีนักเรียนชาวไทยพุทธ 1 ต่อ นักเรียนมุสลิม 3 จึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม พบว่าปัญหาการคัด
กรองเด็กนักเรียนท่ีจบประถมศึกษาท่ี 6 มาขึ้นระดับมัธยมศึกษาปีท่ี1 ไม่สามารถเขียนและอ่านภาษาไทยได้
เมอื่ มีการสอนในห้องเรียนท่ีใช้ภาษาไทยส่ือสารทาให้เด็กไม่เขา้ ใจและไม่อยากมาเรียนในทส่ี ุด เด็กบางคนจึงไม่
อยากเรียนต่อ ดังนั้น โรงเรยี นในระดบั ประถมศกึ ษาควรเฝ้าระวังและคดั กรองเดก็ ให้แบ่งเป็นกลุ่มเฝา้ ระวงั เพ่ือ
เสริมสร้างทักษะความรู้ทางด้านภาษาไทยที่เป็นรากฐานของการศึกษา ให้เด็กมีทักษะการอ่านออกเขียนได้ท่ีดี
ก่อน เมอ่ื เขา้ มาศกึ ษาตอ่ ในระดบั ชั้นมัธยมแลว้ จะไมเ่ ป็นภาระต่อคุณครผู สู้ อน เพราะเดก็ ที่เขา้ มาศกึ ษาใหม่ต้อง
ใช้เวลาในการคดั กรองและสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรอู้ าจจะช้าเกนิ ไปในการแก้ไขปัญหาท่ปี ลายทาง

ภาพกจิ กรรม

ประชุมเพื่อรับฟงั ประเด็นปญั หาจากพื้นที่ในการพัฒนาพื้นที่อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธิวาส
เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมประภัสสรสิริคุณ ช้ัน 2 ที่ว่าการอาเภอศรีสาคร
อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

๑๗

สว่ นที่ ๒

โครงการบูรณาการพันธกิจสัมพนั ธเ์ พ่อื แก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถิ่น

๑. แนวทางการขบั เคล่ือนการดาเนินงาน

๑.๑ การดาเนินโครงการพัฒนาที่ผสมผสานระหว่าง Area based + Problem based ทุกฝ่ายมีส่วน
รว่ มในการขับเคลื่อนแนวทางการแกไ้ ขปญั หาความยากจน รายละเอยี ดดังน้ี

1) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์รับผิดชอบพื้นท่ี Area based ในอาเภอศรีสาคร
จังหวดั นราธวิ าส

2) แนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจน Problem based เป็นการดาเนินโครงการในพ้ืนที่
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเลือกครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.มีรายได้น้อยกว่า 38,000 บาท/คน/ปี ท้ังนี้
คณะมนุ ษย ศ าส ต ร์ แ ล ะสั งค ม ศ าส ต ร์ ได้ รั บ ม อบ ห มา ย ใ น การ พั ฒ น าเ ชิ ง พื้ น ท่ี เป้ าห ม าย อ าเภ อ ศรี ส า ค ร
(Area Based Approach) ซึ่งผลจากการลงพ้ืนท่ีอาเภอศรีสาคร เม่ือวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2561 พบว่า
ข้อมูลครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2561 มี12 ครัวเรือน เป็นครัวเรือนที่พัฒนาได้ 11 ครัวเรือน ส่วนอีก
1 ครัวเรอื นไม่สามารถพัฒนาได้ ดงั น้ันในอาเภอศรสี าครมคี รวั เรือนเป้าหมายไม่ครบ 100 ครัวเรอื น เปา้ หมาย
ของโครงท่ีตอ้ งให้ไดจ้ ังหวดั ละ 100 ครัวเรอื น ซึง่ เปน็ การเขา้ ไปดาเนินการแก้ไขปญั หา จงึ เลอื กพน้ื ท่เี ปา้ หมาย
จากการศึกษาข้อมูลครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2561 ในอาเภอท่ีตั้งอยู่ใกล้เคียงกับอาเภอศรีสาค ร คือ
อาเภอระแงะ มีครวั เรือนตกเกณฑ์ จปฐ.จานวนมากท่ีตอ้ งการเข้ารว่ มโครงการแก้ไขปญั หาความยากจน เพ่อื ให้
ครบ 100 ครวั เรอื นเป้าหมายในจงั หวดั นราธวิ าส ดังนน้ั พ้ืนท่ีเปา้ หมายจึงประกอบด้วย

ในพน้ื ทจี่ ังหวดั ยะลา คอื อาเภอธารโต และอาเภอเบตง
ในพนื้ ทีจ่ งั หวัดปตั ตานี คอื อาเภอหนองจกิ และอาเภอแมล่ าน
ในพื้นทจ่ี ังหวัดนราธิวาส คอื อาเภอศรสี าคร และอาเภอระแงะ

๑.๒ ตัวชวี้ ัดและเปา้ หมายผลผลติ
1) ครัวเรือนท่ีเข้าร่วมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 50 ของเป้าหมายโครงการใช้หลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อลดรายจ่าย/เพ่ิมรายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จานวน
๑๕๐ ครวั เรือน)

2) ครัวเรือนเป้าหมายในพ้ืนที่ 3 จังหวัด (ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส) จังหวัดละ
100 ครวั เรือน รวมเปน็ 300 ครวั เรือน/คน/ปี

3) ในปีแรกสามารถแก้ไขปัญหาครวั เรือนยากจนพ้นเกณฑค์ วามยากจนในพนื้ ท่ี 3 จังหวัด
(ยะลา ปตั ตานี และนราธวิ าส) ร้อยละ ๕๐

4) สรุปผลการดาเนินโครงการและนามาถอดบทเรียนสร้างต้นแบบโมเดล (Model) การแก้ไข
ปญั หาความยากจนภายใน 5 ปี จังหวัดละ 1 โมเดล

๑.๓ การวางแผนการดาเนินงานเพื่อขบั เคล่ือนโครงการบรู ณาการพันธกิจสัมพันธ์เพ่ือแก้ไขปัญหา
ความยากจนของประชาชนในทอ้ งถ่ิน

1) การประสานงานกับเจ้าหน้าที่สานักงานพัฒนาชุมชนทั้ง ๖ อาเภอ ขอข้อมูลครัวเรือนตก
เกณฑ์ จปฐ.ปี 2561 ที่เป็นข้อมูลปัจจุบัน เพ่ือเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการคัดเลือกครัวเรือน ตกเกณฑ์ในพื้นที่
เปา้ หมาย

๑๘

2) การสร้างแบบฟอร์มเก็บข้อมูลครัวเรือนยากจนที่ให้อาจารย์ในหลักสูตรพัฒนาชุมชนเป็น
ผู้ออกแบบสอบถาม/แบบสมั ภาษณ์

3) การเกบ็ ข้อมูลครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ.เป็นครัวเรือนเป้าหมายในพน้ื ที่ท้ัง ๖ อาเภอในสาม
จังหวดั ชายแดนภาคใต้ โดยใหน้ ักศกึ ษาและเจา้ หน้าทโ่ี ครงการรว่ มกันเกบ็ ขอ้ มลู ครวั เรือนยากจนทุกครวั เรอื น

4) ผลการเก็บข้อมูลที่ได้จะมีการแบ่งประเภทครัวเรือนตกเกณฑ์ที่สามารถพัฒนาได้และมี
ศักยภาพพรอ้ มในการพัฒนาอาชีพต่อไป โดยให้อาจารยใ์ นแต่ละหลักสูตรเข้าไปร่วมแก้ไขปัญหาให้ครัวเรือนตก
เกณฑ์ที่ต้องการพัฒนาอาชีพ เน้นการให้ความรู้ด้านการลดรายจ่าย - เพิ่มรายได้ในครัวเรือน เพ่ือยกระดับ
คุณภาพชีวิตให้ดีขนึ้ โดยใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นหลกั ในการพฒั นา

๒. แผนการขับเคลือ่ นการดาเนินงาน

แผนการดาเนินโครงการ ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ
อ.ซูลฟีกอร์ มาโซ
1. การจัดทาเครื่องมือแบบฟอร์มการประเมิน 26 – 30 พ.ย.2561
อ.สพุ ัตรา ร่งุ รัตน์
ครัวเรือนยากจน
อ.ศรีประไพ อุดมละมนุ
2. การคัดเลอื กนักศกึ ษาเกบ็ ขอมูลครัวเรอื นยากจน 3 - 9 ธ.ค. 2561 อ.อานนท์ มุสกิ วัณณ์
ผศ.อับดลุ รอซะ วรรณอาลี
3. การอบรม/ช้ีแจงการทางาน เพ่ือเตรียมความ 10 - 12 ธ.ค. 2561 ผศ.สพุ ร สุนทรนนท์
พรอ้ มก่อนลงพน้ื ท่ีใหน้ ักศึกษา
อ.สุพัตรา รุ่งรตั น์
4.ชีแ้ จงผนู้ าทอ้ งถนิ่ /ผ้นู าชุมชนในพ้นื ทเ่ี ปา้ หมาย 13 - 14 ธ.ค. 2561 อ.ไซนี ตาภู

5. ลงพืน้ ทเ่ี ก็บขอ้ มูลครวั เรือนยากจน 15 ธ.ค.2561 – ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น
15 ม.ค. 2562 โครงการ

6. การวิเคราะหข์ อ้ มลู 15 ม.ค.- อ.ศรปี ระไพ อดุ มละมุน
25 ม.ค. 2562 อ.อานนท์ มุสิกวณั ณ์
อ.ปยิ ะดา มณีนิล
7. จดั อบรมเศรษฐกจิ พอเพียงในครวั เรอื นเปา้ หมาย 5 – 10 ก.พ. 2562

8. อบรม/พัฒนาทกั ษะการประกอบอาชพี กุมภาพันธ์ – มีนาคม คณะกรรมการขับเคลื่อน
(แบง่ เปน็ กล่มุ อาชีพ) 2562 โครงการ

9.ประเมนิ ผลตดิ ตามความคืบหน้าของโครงการ เมษายน 2562 คณะกรรมการขบั เคลือ่ น
10.ประเมนิ ผลหลงั ดาเนินโครงการ โครงการ

พฤษภาคม – มิถุนายน คณะกรรมการขับเคลื่อน
2562 โครงการ

๑๙
ภาพกจิ กรรม

ประชมุ คณะกรรมการโครงการบูรณาการพันธกจิ สัมพนั ธ์เพื่อแก้ไขปญั หาความยากจนของประชาชนในท้องถ่ิน
วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมจาปูรี ช้ัน 3 อาคารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

การประชุมคณะกรรมการโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน ใน
ท้องถ่ิน วันจันทร์ที่ 26 พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมจาปูรี ช้ัน 3 อาคารคณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

๒๐

สว่ นที่ ๓
โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP

๑. ลงพ้นื ที่สารวจศกั ยภาพขอ้ มูลกลมุ่ OTOP อาเภอธารโต จงั หวดั ยะลา

คณะกรรมการดาเนินโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ลงพื้นที่อาเภอธารโต จังหวัดยะลา
เพื่อสารวจศักยภาพข้อมูลกลุ่ม OTOP จานวน 3 กลุ่ม ระหว่างวันท่ี ๑๕ - ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๑ สรุปผลการ
ดาเนินงานตามรายละเอยี ดดงั นี้

1. กลมุ่ : ปลาส้ม (ฮาลาบาลา)

กลุ่มปลาส้ม (ฮาลาบาลา) มีที่ต้ังกลุ่มอยู่ท่ี 493 หมู่ท่ี 6 ตาบลแม่หวาด อาเภอธารโต
จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มชื่อ นายมะ ตาเยะ มีจานวนสมาชิก 14 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน
3 มาตรฐาน คือ อาหารและยา (อ.ย.) ฮาลาล และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ท้ังน้ีพบว่า ปัญหาและความ
ตอ้ งการในการพัฒนามดี งั น้ี

1.1 ปัญหา
- บรรจุภณั ฑ์ไม่ไดร้ บั มาตรฐาน

1.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มคี วามต้องการเปลีย่ นแปลงบรรจุภณั ฑใ์ ห้ไดร้ ับมาตรฐาน

ภาพในการลงพนื้ ที่

๒๑

2. กลมุ่ : วิสาหกิจชุมชนแม่บา้ นเกษตรบา้ นมายอ (บานานาวนั )

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรบ้านมายอ (บานานาวัน) มีท่ีต้ังกลุ่มอยู่ท่ี 7/4 หมู่ท่ี 6
ตาบลธารโต อาเภอธารโต จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มช่ือ ฟูซียะ มะกูวิง มีจานวนสมาชิก 13 คน ผลิตภัณฑ์
ผ่านการรับรองมาตรฐาน 2 มาตรฐาน คือ ฮาลาล และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ท้ังนี้พบว่า ปัญหา
และความต้องการในการพฒั นามดี งั นี้

2.1 ปญั หา
- ขาดโลโกท้ ีไ่ ดร่ ับมาตรฐาน
- บรรจภุ ัณฑข์ าดมาตรฐานการรองรับ

2.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีความตอ้ งการพฒั นาบรรจุภณั ฑ์ให้ไดร้ บั มาตรฐาน
- มีความตอ้ งการพัฒนาโลโกร้ ูปแบบใหม่
ภาพในการลงพ้นื ที่

๒๒

3. กลมุ่ : ผลิตและแปรรปู เห็ดแบบครบวงจร

กลุ่มผลิตและแปรรูปเห็ดแบบครบวงจร มีท่ีตั้งกลุ่มอยู่ที่ 361 หมู่ท่ี 1 ตาบลธารโต
อาเภอธารโต จงั หวัดยะลา ประธานกลมุ่ ชือ่ นางสาวจารรุ ฒั น์ สวุ รรณไตรย์ มีจานวนสมาชกิ 6 คน ผลติ ภัณฑ์
ผ่านการรับรองมาตรฐาน 2 มาตรฐาน คือ ฮาลาล และอาหารและยา ( อ.ย.) ทั้งนี้พบว่า ปัญหาและ
ความต้องการในการพัฒนามีดงั นี้

3.1 ปญั หา
- เหด็ มีไมม่ ีเพียงพอ
- ขาดการตลาดในการค้าขาย

3.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มีความตอ้ งการพัฒนาบรรจุภณั ฑใ์ หไ้ ดร้ บั มาตรฐาน
- มีความตอ้ งการพัฒนาโลโก้รปู แบบใหม่
- มคี วามต้องการให้ผลิตภณั ฑ์มีความกรอบและอยู่ได้นานๆ
ภาพในการลงพื้นที่

๒๓

๒. ลงพื้นท่ีสารวจศกั ยภาพขอ้ มลู กลุ่ม OTOP อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา

คณะกรรมการดาเนินโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ลงพื้นท่ีอาเภอธารโต จังหวัดยะลา
เพ่ือสารวจศักยภาพข้อมูลกลุ่ม OTOP จานวน 13 กลุ่ม ระหว่างวันท่ี 7 - 9 ธันวาคม ๒๕๖๑ สรุปผลการ
ดาเนนิ งานตามรายละเอยี ดดงั นี้

1. กลุ่ม : HATANA นา้ แกง

กลุ่ม HATANA น้าแกง มีท่ีตั้งกลุ่มอยู่ท่ี 30/11 ตาบลเบตง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
ประธานกลุ่มช่ือ นาย วันซานดี หะยีอาแว มีจานวนสมาชิก 10 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน
3 มาตรฐาน คือ อาหารและยา ( อ.ย.) ฮาลาล และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ทั้งนี้พบว่า ปัญหาและความ
ต้องการในการพัฒนามดี ังน้ี

1.1 ปัญหา
- ยงั ไม่มตี ลาดต่างประเทศ

1.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มีความตอ้ งการในเร่ืองของการตลาด
- มีความต้องการเคร่ืองในการผลติ เพมิ่ เติม

ภาพในการลงพน้ื ที่

๒๔

2. กลุ่ม : เฉาก๋วยหอเจ๊ยี ะ

กลุ่มเฉาก๋วยหอเจี๊ยะ มีท่ีตั้งกลุ่มอยู่ที่ 183 สุขยางค์ ตาบลเบตง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
ประธานกลุ่ม นายวกุล จีเวทพงศ์ มีจานวนสมาชิก 5 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน ไม่มีมาตรฐาน
ทั้งนพี้ บว่า ปญั หาและความต้องการในการพัฒนามีดงั นี้

2.1 ปญั หา
- บรรจุภณั ฑย์ ังขาดความน่าสนใจ
- เรอื่ งของการตลาดเพ่ิมข้นึ

2.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีตอ้ งการพัฒนาบรรจภุ ณั ฑ์ที่ไดร้ บั มาตรฐานที่
- เฉากว๊ ยหลอด

ภาพในการลงพืน้ ที่

๒๕

3. กลุ่ม : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลย้ี งผงึ้ จ๋ิวชนั โรงครรู วนิ

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเลี้ยงผ้ึงจิ๋วชันโรงครูรวิน มีที่ตั้งกลุ่มอยู่ท่ี 100/7 หมู่ท่ี 7
ถนนรัตนกิจ ตาบลยะรม อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มชื่อ รวิน กัยวิกัยมาศ มีจานวนสมาชิก 22
คน ผลิตภณั ฑ์ผ่านการรบั รองมาตรฐาน 3 มาตรฐาน คอื ฮาลาล อาหารและยา (อ.ย.) และมาตรฐานผลติ ภัณฑ์
ชุมชน (มผช.) ทัง้ น้พี บวา่ ปญั หาและความตอ้ งการในการพฒั นามีดังน้ี

3.1 ปัญหา
- อยากเพ่ิมการตลาดให้มากขึ้น
- บรรจภุ ณั ฑ์ยงั ไม่ไดม้ าตรฐานท่ตี ้องการ

3.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีความต้องการในการพฒั นาบรรจภุ ัณฑใ์ ห้ไดร้ ับมาตรฐานที่ต้องการ
- มคี วามตอ้ งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม้ ีความหลากหลายมากขึ้น
ภาพในการลงพืน้ ที่

๒๖

4. กลมุ่ : แม่บา้ นร่วมใจพัฒนา ( หมี่เบตงมุสลมิ )

กลุ่มแม่บ้านร่วมใจพัฒนา ( หม่ีเบตงมุสลิม ) มีที่ตั้งกลุ่มอยู่ท่ี 105/1 หมู่ที่ 7 ตาบลเบตง
อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา ประธานกลุ่มชือ่ ยารเี ยาะ บือโต มีจานวนสมาชกิ 30 คน ผลติ ภณั ฑผ์ ่านการรับรอง
มาตรฐาน 3 มาตรฐาน คือ ฮาลาล อาหารและยา (อ.ย.) และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ทั้งนี้พบว่า
ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนามีดังน้ี

4.1 ปัญหา
- เครือ่ งในการจดั ทาการผลิต

4.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มีความต้องการในเร่ืองเครอ่ื งผลติ สนิ ค้าเพิม่ เตมิ
ภาพในการลงพนื้ ที่

๒๗

5. กลุ่ม : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มรับซื้อผลไม้และแปรรูปผลไม้ผลผลิตเกษตร บ้านวังใหม่
(ทเุ รยี นทอด)

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มรับซ้ือผลไม้และแปรรูปผลไม้ผลผลิตเกษตรบ้านวังใหม่ (ทุเรียนทอด)
มีที่ต้ังกลุ่มอยู่ท่ี 110/2 ตาบลอัยเยอร์เวง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มช่ือ วรรณา สุดาจันทร์ มี
จานวนสมาชิก 7 คน ผลติ ภัณฑ์ผา่ นการรบั รองมาตรฐาน 2 มาตรฐาน คือ อาหารและยา (อ.ย.) และมาตรฐาน
ผลิตภณั ฑช์ ุมชน (มผช.) ท้ังนี้พบวา่ ปัญหาและความตอ้ งการในการพฒั นามีดังน้ี

5.1 ปัญหา
- ขาดเครื่องมอื สาหรับการบรรจุภณั ฑ์ ทาใหม้ คี วามล่าช้าในการผลติ
- บรรจภุ ณั ฑ์ยังขาดความน่าสนใจ

5.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มคี วามต้องการทางดา้ นการตลาด
- มีความตอ้ งการพฒั นาบรรจุภณั ฑ์
- มีความตอ้ งการเคร่ืองมือชว่ ยการผลิต
ภาพในการลงพื้นท่ี

๒๘
6. กลุ่ม : เกษตรกรผู้เลยี้ งปลานลิ บอ่ ดินบ้านบ่อนา้ รอ้ น

กลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียงปลานิลบ่อดินบ้านบ่อน้าร้อน มีท่ีตั้งกลุ่มอยู่ท่ี 138 หมู่ท่ี 2
ตาบลตาเนาะแมเราะ อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มช่ือ สันติชัย จงเกียรติขจร มีจานวนสมาชิก
35 ครัวเรือน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน ไม่มี ท้ังนี้พบว่า ปัญหาและความต้องการในการพัฒนามี
ดงั น้ี

6.1 ปญั หา
- การเลีย้ งปลาไม่พอตามความตอ้ งการของตลาด

6.2 ความต้องการในการพัฒนา
- ตรวจสอบคณุ ภาพและมาตรฐานของปลา
ภาพในการลงพนื้ ท่ี

๒๙

7. กลมุ่ : แม่บ้านนารพี ฒั นา ( กาแฟเบตง)

กลุ่มแม่บ้านนารีพัฒนา (กาแฟเบตง) มีที่ตั้งกลุ่มอยู่ท่ี 27/1 ถนนกาแป๊ะฮูลู ตาบลเบตง
อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มช่ือ พอรอนี บาราเฮง มีจานวนสมาชิก 16 คน ผลิตภัณฑ์ผ่าน
การรับรองมาตรฐาน 3 มาตรฐานฮาลาล อาหารและยา (อ.ย.) และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ท้ังน้ี
พบว่า ปัญหาและความต้องการในการพัฒนามดี ังนี้

7.1 ปัญหา
- อยากเพ่ิมการตลาดใหม้ ากขึ้น

7.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- อยากพฒั นาผลิตภณั ฑ์ใหม้ ีความหลากหลาย เกยี่ วกับสตู รของกาแฟ
- อยากให้ชว่ ยเหลอื ในเรื่องของ ตกุ ะอาลี (ปลาไหลเผือก)
ภาพในการลงพื้นท่ี

๓๐

8. กล่มุ : Pizza หน้าปลานิล

กลุ่ม Pizza หน้าปลานิล มีที่ต้ังกลุ่มอยู่ท่ี 21/1 ม.2 ตาบลอัยเยอร์เวง อาเภอเบตง
จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มช่ือ ต่วนดารีนา ต่วนกอแต มีจานวนสมาชิก 3 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรอง
มาตรฐาน ยังไมม่ มี าตรฐาน ทั้งนพ้ี บวา่ ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนามดี งั นี้

8.1 ปญั หา
- ยังไมม่ แี ป้ง Pizza หนา้ ปลานลิ เป็นของตนเอง
- บรรจุภัณฑ์ยังขาดความน่าสนใจ

8.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มีความต้องการในเรื่องของการตลาดเพิ่มขน้ึ
- มีความตอ้ งการแป้งในการทา Pizza หน้าปลานิล เปน็ ของตนเอง
- มตี ้องการพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ที่ได้รบั มาตรฐานท่ดี ี

ภาพในการลงพื้นที่

๓๑

9. กลุ่ม : กุย่ ช่ายเหมย่ เวย

กลุ่มกุ่ยช่ายเหม่ยเวย มีที่ต้ังกลุ่มอยู่ท่ี 77 จันทโรทัย ตาบลเบตง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
ประธานกลุ่มช่ือ นางกนิษฐา อาชงเมรากุล มีจานวนสมาชิก 5 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน ยังไม่
มมี าตรฐาน ทัง้ นพี้ บวา่ ปัญหาและความต้องการในการพฒั นามดี งั น้ี

9.1 ปญั หา
- โรงเรอื นไม่ได้มาตรฐานอาหารและยา (อย.)

9.2 ความต้องการในการพัฒนา
- ต้องการพฒั นาโรงเรือนให้ไดม้ าตรฐานอาหารและยา (อย.)
- ตอ้ งการตลาดและบรรจภุ ัณฑท์ ่ไี ด้มาตรฐาน

ภาพในการลงพน้ื ท่ี

๓๒

10. กลุ่ม : แมบ่ า้ นมดตะนอย (น้าพริกปลานิล 3 รส)

กลุ่มแม่บ้านมดตะนอย (น้าพริกปลานิล 3 รส) มีที่ตั้งกลุ่มอยู่ที่ 49/3 ตาบลตาเนาะแมเราะ
อาเภอเบตง จังหวดั ยะลา ประธานกลุ่มช่ือ นางนพกลุ ออ่ นโยนชัย มจี านวนสมาชิก 7 คน ผลิตภัณฑ์ผา่ นการ
รบั รองมาตรฐาน ยงั ไมม่ ีมาตรฐาน ท้งั นีพ้ บว่า ปญั หาและความต้องการในการพัฒนามดี งั นี้

10.1 ปญั หา
- บรรจุภัณฑ์ยังขาดความน่าสนใจ

10.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีความต้องการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
- มคี วามตอ้ งการเครื่องมือชว่ ยการผลิต
ภาพในการลงพืน้ ที่

๓๓

11. กลุ่ม : โกชา้ งฟารม์ ไกเ่ บตงพนั ธ์แุ ท้ 100% (ขา้ วมนั ไกเ่ บตง)

กลุ่มโกช้างฟาร์มไก่เบตงพันธุ์แท้ 100% มีท่ีต้ังกลุ่มอยู่ท่ี 272 สุขยางค์ ตาบลเบตง
จังหวดั ยะลา ประธานกล่มุ ชื่อ นายหัสดี แซ่เยี่ยง มจี านวนสมาชกิ 10 คน ผลิตภัณฑผ์ า่ นการรบั รองมาตรฐาน
ยังไมม่ มี าตรฐาน ท้งั นพ้ี บวา่ ปญั หาและความต้องการในการพัฒนามีดังน้ี

11.1 ปญั หา
- ยงั ไมม่ ีตลาดต่างประเทศ

11.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีความตอ้ งการในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพ่ิมเติม
- มีความต้องการบรรจุภัณฑ์ท่ีสามารถนาพาขา้ วมนั ไก่เบตงพนั ธุ์แท้ 100%

ขน้ึ เคร่ืองบนิ และสามารถนาไปรับประทานข้าวมันไก่ทบ่ี า้ นไดโ้ ดยสะดวก (ไกต่ ม้ ฟติ )
ภาพในการลงพนื้ ท่ี

๓๔

12. กล่มุ : เจป้ ู กยุ ชา่ ยเบตง

กลุ่มเจ้ปู กุยช่ายเบตง มีที่ตั้งกลุ่มอยู่ท่ี 3/29 สุขยางค์ ตาบลเบตง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
ประธานกลุ่มชื่อ นางธนัดอร ทองทาทิพย์ มีจานวนสมาชิก 7 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน ยังไม่มี
มาตรฐาน ทั้งนพี้ บว่า ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนามดี งั นี้

12.1 ปญั หา
- ยงั ไม่มวี ัตถุดิบหลัก
- บรรจุภณั ฑ์ยังขาดความน่าสนใจ
- ขาดตลาดในการคา้ ขายเพ่ิม

12.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีความต้องการในเร่ืองของการตลาดเพิ่มขึ้น
- มีความต้องการวัตถดุ ิบหลักในการทากุย่ ชา่ ย
- มีตอ้ งการพฒั นาบรรจุภัณฑ์ทไ่ี ดร้ ับมาตรฐานทีด่ ี

ภาพในการลงพ้ืนท่ี

๓๕

13. กลุ่มสมุนไพรปิยะมิตรที่ 1 (เหด็ ลนิ จือ)

กลุ่มสมุนไพรปิยะมิตรที่ 1 (เห็ดลินจือ) มีที่ตั้งกลุ่มอยู่ที่ 282 อุโมงค์ปิยะมิตร 1 หมู่ที่ 2
ตาบลตาเนาะแมเราะ อาเภอเบตง จังหวัดยะลา ประธานกลุ่มช่ือ นายสิวพงษ์ พิทักษ์ทักษิณ มีจานวนสมาชิก
35 ครัวเรือน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน 3 คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) อาหารและยา
(อ.ย.) และ SME กล่มุ อาชีพ เพ่มิ ศักยภาพทางการแข่งขัน พ.ศ. 2561 ทั้งนี้พบวา่ ปญั หาและความต้องการใน
การพัฒนามดี ังน้ี

13.1 ปัญหา
- ไม่มี

13.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มีความตอ้ งการในเร่ืองผลการวิจัยสมุนไพรทางกลุ่มทแี่ ท้จรงิ
ภาพในการลงพ้นื ที่

๓๖

๓. ลงพน้ื ทส่ี ารวจศักยภาพขอ้ มลู กล่มุ OTOP อาเภอหนองจกิ จังหวัดปตั ตานี

คณะกรรมการดาเนินโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ลงพื้นท่ีอาเภอหนองจิก
จงั หวดั ปตั ตานี เพื่อสารวจศกั ยภาพข้อมูลกลุ่ม OTOP จานวน 6 กลมุ่ ระหวา่ งวนั ท่ี 11 - 13 ธนั วาคม ๒๕๖๑
สรุปผลการดาเนินงานตามรายละเอียดดังน้ี

1. กล่มุ : เต้าส้อคณุ เยน็

กลุ่มเต้าส้อคุณเย็น มีท่ีต้ังกลุ่ม บ้านเลขที่ 73 หมู่ท่ี 3 ตาบลปุโละปุโย อาเภอหนองจิก
จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ นางเสาวลักษณ์ แสนโรจน์ จานวนสมาชิก 5 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรอง
มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) ทง้ั น้ีพบวา่ ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนา มีดงั นี้

1.1 ปัญหา
- อายุของขนมยืดได้ไมน่ าน
- บรรจภุ ัณฑ์ไม่ได้รบั มาตรฐาน

1.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มคี วามตอ้ งการยืดอายขุ นมเต้าสอ้ คณุ เย็น
- มีความตอ้ งการพฒั นาบรรจุภัณฑใ์ หไ้ ดร้ ับมาตรฐาน

ภาพกจิ กรรมท่ีลงพื้นที่

๓๗

2. กลมุ่ : ตัดเย็บเสือ้ ผ้าสตรี

กลุ่มตัดเย็บเส้ือผ้าสตรี มีที่ต้ังกลุ่ม บ้านเลขที่ 90/1 หมู่ท่ี 5 ตาบลปุโละปุโย
อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ คอลีเยาะ วาเงาะ จานวนสมาชกิ 25 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการ
รับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชน (มผช.) ท้ังนพ้ี บว่า ปญั หาและความตอ้ งการในการพฒั นา มดี งั นี้

2.1 ปัญหา
- ขาดวตั ถดุ บิ
- บรรจภุ ณั ฑ์ยงั ไม่มาตรฐาน

2.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มีความตอ้ งการวตั ถดุ บิ ในการผลิตสินค้าเพม่ิ ขึ้น
- มีความต้องการเพิ่มช่องทางการตลาด และจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างการ

พัฒนาของกลุม่ ให้มปี ระสทิ ธิภาพ

ภาพกจิ กรรมทลี่ งพืน้ ที่

๓๘

3. กล่มุ : ปลาแห้งท่ายาลอ

กลุ่มปลาแห้งท่ายาลอ มีที่ต้ังกลุ่ม บ้านเลขท่ี 240/8 หมู่ที่ 4 ตาบลตุยง อาเภอหนองจิก
จังหวัดปัตตานี ประธานกล่มุ คอื นายฮาซนั สาและ จานวนสมาชกิ 50 คน ผลติ ภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน
3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) มาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) และมาตรฐานฮาลาล ทั้งน้ี
พบว่า ปัญหาและความตอ้ งการในการพัฒนา มดี งั นี้

3.1 ปญั หา
- ยังไม่มีตลาดต่างประเทศ
- เกล็ดปลาท่ีสดอยากให้ชว่ ยพฒั นาการแปรรูป
- ยงั ไม่มโี รงนา้ แข็งเป็นของตนเอง

3.2 ความตอ้ งการในการพฒั นา
- มคี วามต้องการในเรอ่ื งของการตลาดตา่ งประเทศ
- มีความตอ้ งการแปรรูปปลาสดๆ
- มคี วามตอ้ งการเพ่มิ โรงนา้ แข็งเปน็ ของตนเอง

ภาพกจิ กรรมทีล่ งพน้ื ที่

๓๙

4. กลมุ่ : ศลิ ปะประดษิ ฐ์บา้ นบางตาวา

กลุ่มศิลปะประดิษฐ์บ้านบางตาวา มีท่ีต้ังกลุ่ม บ้านเลขที่ 45/2 หมู่ที่ 2 ตาบลบางตาวา
อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ นางปรณี ัน การาญศึก จานวนสมาชกิ 15 คน ผลติ ภณั ฑผ์ ่าน
การรบั รองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.) ท้ังน้ีพบว่า ปัญหาและความต้องการในการพฒั นา มดี งั น้ี

4.1 ปญั หา
- ขาดวตั ถุดิบ
- วัตถุดิบมีราคาสูง

4.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มคี วามต้องการวตั ถดุ ิบในการผลติ สนิ คา้ เพมิ่ ข้นึ
- มีความตอ้ งการจดั อบรมออกแบบผลติ ภณั ฑเ์ พิ่มข้ึน

ภาพกจิ กรรมท่ีลงพ้นื ที่

๔๐

5. กล่มุ : สตรีบ้านเปีย๊ ะ (ขนมทองม้วนฟักขา้ ว, ขนมทองม้วนงาดา)

กลุ่มสตรีบ้านเปี๊ยะ (ขนมทองม้วนฟักข้าว, ขนมทองม้วนงาดา) มีที่ต้ังกลุ่ม บ้านเลขที่ 89
หมู่ที่ 1 ตาบลดาโต๊ะ อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ นางเกตุแก้ว ดาโอะ จานวนสมาชิก
14 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน 4 มาตรฐาน คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) มาตรฐาน
อาหารและยา (อ.ย.) มาตรฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ (GMP) และมาตรฐานฮาลาล ทั้งนี้พบว่า ปัญหาและความ
ตอ้ งการในการพฒั นา มดี ังน้ี

5.1 ปัญหา
- ยงั ไม่มที ่คี น่ั กะทิ
- อยากใหก้ ารอบรมเพม่ิ ในเร่อื งรสชาตใิ ห้มากย่งิ ขนึ้
- ตอ้ งการหาตลาดเพ่ิมขึน้

5.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มคี วามต้องการทค่ี ัน่ กะทิ
- มคี วามตอ้ งการเพมิ่ รสชาตใิ หม้ ากย่ิงขึ้น
- มคี วามตอ้ งการเพ่ิมตลาดมากยิ่งข้นึ

ภาพกิจกรรมท่ีลงพื้นที่

๔๑

6. กลมุ่ : สตรฮี ูแตบองอ (ไข่เค็ม)

กลุ่มสตรีฮูแตบองอ (ไข่เค็ม) มีท่ีตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 13/1 หมู่ที่ 6 ตาบลปุโละปุโย
อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ นางฮาซานะห์ สาและ จานวนสมาชิก 5 คน ผลิตภัณฑ์ผ่าน
การรบั รองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.) ทง้ั นพ้ี บวา่ ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนา มดี งั น้ี

6.1 ปญั หา
- บรรจุภณั ฑไ์ ม่ได้รับมาตรฐาน

6.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มคี วามตอ้ งการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ท่เี ล็กลง
- มคี วามตอ้ งการกลอ่ งใส
- มคี วามตอ้ งการพฒั นาบรรจุภณั ฑใ์ ห้มีอตั ลักษณเ์ ป็นของตนเอง

ภาพกิจกรรมทล่ี งพน้ื ที่

๔๒

๔. ลงพ้นื ที่สารวจศกั ยภาพขอ้ มูลกล่มุ OTOP อาเภอแม่ลาน จังหวดั ปัตตานี

คณะกรรมการดาเนินโครงการยกระดับผลติ ภัณฑ์ชุมชน OTOP ลงพื้นทอี่ าเภอแมล่ าน จังหวัดปตั ตานี
เพื่อสารวจศักยภาพข้อมูลกลุ่ม OTOP จานวน 6 กลุ่ม ระหว่างวันที่ 4 และ 6 ธันวาคม ๒๕๖๑ สรุปผลการ
ดาเนนิ งานตามรายละเอยี ดดังน้ี

1. กล่มุ : เครอื่ งแกงสาเร็จรูปบ้านตน้ โตนด

กลุ่มเครื่องแกงสาเร็จรูปบ้านต้นโตนด มีท่ีตั้งกลุ่มอยู่ท่ี 35/1 หมู่ท่ี 1 ตาบลป่าไร่
อาเภอแมล่ าน จังหวัดปตั ตานี ประธานกลุ่มคอื นางโสภิศ สุขรตั นสกลุ มีจานวนสมาชิก ๑๑ คน ผลิตภณั ฑผ์ า่ น
การรับรองมาตรฐาน 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานอาหารและยา (อย.) และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
ทัง้ น้ีพบว่า ปัญหาและความตอ้ งการในการพฒั นา มดี งั น้ี

1.1 ปญั หา
- ขาดเครื่องมือสาหรบั การบรรจุผลติ ภณั ฑ์ ทาใหม้ คี วามลา่ ช้าในการผลติ
- บรรจภุ ณั ฑย์ งั ขาดความน่าสนใจ
- รสชาติความเผ็ดของเครอ่ื งแกงยงั ไม่คงท่ี ข้นึ อยู่กับพรกิ ท่ีใชใ้ นการทา
- ไดก้ าไรจากการจาหน่ายน้อยมาก โดยได้กาไรกระปุกละ 1 บาท และไม่

สามารถเพ่ิมราคาสนิ ค้าได้ เนื่องจากตลาดจะไมซ่ ้ือเหมือนเดมิ

เกณฑ์ทคี่ ดั สรร 1.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- การพฒั นาตลาดให้มีความหลากหลาย เช่น Facebook
- การพฒั นาสูตรเครื่องแกงให้มีความเผด็ คงทใ่ี นการผลติ แต่ละรอบ
- การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม้ คี วามน่าสนใจ มภี าษาอังกฤษ และตรงตาม

- เคร่ืองมือช่วยลดแรงในการบรรจุเคร่อื งแกงลงในบรรจุภัณฑ์

๔๓
ภาพกิจกรรมที่ลงพน้ื ท่ี

2. กลมุ่ : สตรีตัดเยบ็ เสื้อผา้ และเครอ่ื งแต่งกาย

กลุ่มสตรีตัดเย็บเส้ือผ้าและเครื่องแต่งกาย มีที่ตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 3/3 หมู่ท่ี 2 ตาบลไป่ไร่
อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ นางสาวยาแลคอ แขวงบู มีจานวนสมาชิก 11 คน ผลิตภัณฑ์
ผ่านการรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน (มผช.) ท้ังนพ้ี บว่า ปญั หาและความต้องการในการพฒั นา มดี งั นี้

2.1 ปญั หา
- ขาดองคค์ วามการออกแบบชดุ เส้ือผ้าลายใหมๆ่
- พื้นทใ่ี นการผลติ (โรงเรอื น) มขี นานเลก็

2.2 ความตอ้ งการในการพฒั นา
- มีความต้องการเงนิ ทนุ หนุนเวียนจะได้ขยายโรงเรือน
- มคี วามต้องการอยากพฒั นาผลิตภัณฑ์ใหมๆ่
ภาพกิจกรรมท่ลี งพนื้ ที่

๔๔

3. กลมุ่ : อาชพี ทาเฟอร์นเิ จอร์

กลุ่มอาชีพทาเฟอร์นิเจอร์ มีท่ีตั้งกลุ่ม บ้านเลขที่ 14/5 หมู่ท่ี 2 ตาบลไป่ไร่
อาเภอแมล่ าน จงั หวัดปตั ตานี ประธานกล่มุ คือ นายมะยูโซ๊ะ อูมา มจี านวนสมาชกิ 11 คน ผลิตภัณฑผ์ ่านการ
รับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชน (มผช.) ทง้ั นพ้ี บวา่ ปญั หาและความต้องการในการพัฒนา มดี งั น้ี

3.1 ปญั หา
- โรงเรือนยังไมไ่ ด้มาตรฐานและยงั ไม่ได้รบั การพฒั นา
- ยงั ไมม่ ตี ลาดต่างประเทศที่มากพอ

3.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มคี วามต้องการทางดา้ นการตลาด
- มีความต้องการด้านบรรจุภัณฑ์ท่ีได้มาตรฐานและเป็นเอกลักษณ์ของ

ผลติ ภณั ฑ์

ภาพกจิ กรรมทล่ี งพื้นท่ี

๔๕

4. กลุม่ : ปลาดกุ ร้า

กลุ่มปลาดุกร้า มีท่ีต้ังกลุ่ม บ้านเลขท่ี 101/1 หมู่ท่ี 9 ตาบลแม่ลาน อาเภอแม่ลาน
จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ นางสาวนูรยาตี ยักดี มีจานวนสมาชิก 4 คน ยังไม่มีมาตรฐานการรับรอง
ผลิตภณั ฑ์ ทั้งนพ้ี บวา่ ปัญหาและความต้องการในการพฒั นา มีดังน้ี

4.1 ปญั หา
- โรงเรือนไมไ่ ด้มาตรฐานอาหารและยา (อย.)

4.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มคี วามต้องการทางด้านการตลาด
- มีความตอ้ งการพัฒนาโรงเรอื น เพ่อื ใหไ้ ด้รบั มาตรฐานอาหารและยา (อย.)

ภาพกิจกรรมที่ลงพืน้ ที่

๔๖

5. กลมุ่ : สมุนไพรอินทรยี ์ บา้ นปลักปรือ

กลุ่มสมุนไพรอินทรีย์ บ้านปลักปรือ มีท่ีต้ังกลุ่ม หมู่ท่ี 1 ตาบลม่วงเตี้ย อาเภอแม่ลาน
จังหวัดปัตตานี ประธานกลุ่มคือ นายสมชาย บุญปาน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
(มผช.) ท้งั น้ีพบว่า ปญั หาและความต้องการในการพฒั นา มีดงั นี้

5.1 ปญั หา
- ยังไม่มตี ลาดต่างประเทศที่มากพอ
- วัตถดุ บิ ในการผลติ มรี าคาสงู
- โรงเรือนยังไมไ่ ดม้ าตรฐานและยงั ไมไ่ ดร้ ับการพัฒนา

5.2 ความต้องการในการพัฒนา
- ตอ้ งการมาตรฐานผลิตชมุ ชน กับมาตรฐานอาหารและยา
- อุปกรณ์และเครื่องมือการผลิต เชน่ เคร่ืองจักรสาหรบั การบรรจุผลิตภัณฑ์

และโรงเรือนสาหรบั การผลิตให้ไดม้ าตรฐาน
- ตอ้ งการพฒั นาสูตรของผลติ ภัณฑ์ให้ไดม้ าตรฐาน และการรกั ษาระยะเวลา

ของผลติ ภัณฑ์
- มคี วามต้องการพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ ดา้ นสต๊ิกเกอร์ เป็นตน้
- มีความต้องการทางด้านการตลาด (อยากให้มีการจัดกิจกรรม เช่น การ

ออกงาน เป็นตน้ )

ภาพกิจกรรมท่ีลงพ้นื ท่ี


Click to View FlipBook Version