The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinawat.n, 2019-01-18 00:13:05

Local Promotion and Development Center

สรุปผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น

Keywords: Local Promotion and Development Center

๔๗

6. กลุ่ม : ปลูกผกั ,ผลไมอ้ ินทรยี ์ บ้านวังกว้าง

กลุ่มปลูกผัก,ผลไม้อินทรีย์ บ้านวังกว้าง มีที่ตั้งกลุ่ม หมู่ท่ี 5 ตาบลป่าไร่ อาเภอแม่ลาน
จงั หวัดปตั ตานี ประธานกลุ่มคือ นายอาหามะ เจะมะ ยังไมม่ ีมาตรฐานการรับรองผลิตภณั ฑ์ ท้ังน้ีพบว่า ปัญหา
และความต้องการในการพฒั นา มีดังน้ี

6.1 ปญั หา
- บรรจภุ ัณฑ์ยงั ขาดความนา่ สนใจ
- ขาดเครอื่ งวัดความช่ืน
- ขาดบรรจุภณั ฑท์ ม่ี ีขนาดเล็ก

6.2 ความตอ้ งการในการพฒั นา
- มีความต้องการทางด้านการตลาด
- มีความตอ้ งการพฒั นาบรรจภุ ัณฑ์
- มีความต้องการการตลาดเพ่ิมขน้ึ
ภาพกิจกรรมท่ีลงพน้ื ท่ี

๔๘

๕. ลงพ้นื ท่สี ารวจศกั ยภาพข้อมลู กลุ่ม OTOP อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

คณะกรรมการดาเนินโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ลงพ้ืนท่ีอาเภอศรีสาคร
จังหวัดนราธิวาส เพอื่ สารวจศกั ยภาพข้อมลู กลมุ่ OTOP จานวน 6 กลมุ่ วนั ที่ 18 ธนั วาคม ๒๕๖๑ สรุปผลการ
ดาเนนิ งานตามรายละเอียดดังน้ี

1. กลมุ่ : เกา้ อ้ีปูนไม้เทียม

กลุ่มเก้าอี้ปูนไม้เทียม มีท่ีตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 34/6 หมู่ท่ี 4 ตาบลเชิงศีรี อาเภอศรีสาคร
จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นายสีรือมัน เจ๊ะนะ จานวนสมาชิก 20 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรอง
มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.) ทัง้ น้ีพบว่า ปญั หาและความต้องการในการพฒั นา มีดงั นี้

1.1 ปัญหา
- ขาดบรรจุภัณฑท์ ไี่ ดร้ บั มาตรฐาน
- วัตถดุ บิ มีไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการของลูกคา้

1.2 ความตอ้ งการในการพฒั นา
- มคี วามตอ้ งการให้พฒั นาการออกแบบลวดลายใหม่ๆ
- มคี วามต้องการปริมาณของการตลาดเพ่ิมข้นึ
- มีความต้องการบรรจุภณั ฑ์ที่ได้รับมาตรฐาน
- มีความต้องการส่งเสริมการอบรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ลวดลายใหม่ๆ

เพม่ิ ขน้ึ

ภาพกจิ กรรมท่ีลงพนื้ ท่ี

๔๙

2. กลมุ่ : LAWA Leng (ผา้ คลมุ ผมงานปักทกุ ชนดิ )

กลุ่ม LAWA Leng (ผ้าคลุมผมงานปักทุกชนิด) มีที่ตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 28/2 หมู่ที่ 3
ตาบลเชิงศีรี อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ เจะนาตีปะ มะหิและ จานวนสมาชิก 20 คน
ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) ท้ังน้ีพบว่า ปัญหาและความต้องการในการพัฒนา
มีดังน้ี

2.1 ปญั หา
- ขาดบรรจภุ ณั ฑ์ท่ไี ด้รบั มาตรฐาน
- วตั ถุดิบมไี ม่เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของลกู ค้า

2.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มีความตอ้ งการให้พัฒนาการออกแบบลวดลายใหม่ๆ
- มีความต้องการปรมิ าณของการตลาดเพ่ิมขึน้
- มีความต้องการบรรจภุ ณั ฑท์ ไี่ ด้รับมาตรฐาน
ภาพกจิ กรรมที่ลงพื้นที่

๕๐
3. กลุม่ : SN Design (กระเปา๋ ผ้า)

กลมุ่ : SN Design (กระเป๋าผ้า) มที ่ีตงั้ กล่มุ บ้านเลขท่ี 66/1 หมู่ 1 ตาบลศรสี าคร อาเภอ
ศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นางสาวซัลวานี ราซิ จานวนสมาชิก 10 คน ผลิตภัณฑ์ผ่านการ
รบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) ทง้ั น้พี บว่า ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนา มีดังน้ี

3.1 ปัญหา
- บรรจุภณั ฑ์ยงั ขาดความน่าสนใจ

3.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มีความตอ้ งการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์
- มีความตอ้ งการพฒั นารปู แบบผลติ ภัณฑ์ใหม้ ากย่งิ ขนึ้

ภาพกิจกรรมทล่ี งพ้นื ท่ี

๕๑

4. กลุ่ม : วสิ าหกจิ เกษตรอินทรยี ์และสมนุ ไพร บา้ นประชานมิ ิต (ชาดาวอินคา)

กลุ่มวิสาหกิจเกษตรอินทรีย์และสมุนไพรบ้านประชานิมิต (ชาดาวอินคา) มีที่ต้ังกลุ่มบ้าน
ประชานิมิต หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นายเอกพง เพ็ชรพวง
จานวนสมาชิก 7 คน ผลิตภัณฑ์ยังไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ท้ังน้ีพบว่า ปัญหาและ
ความต้องการในการพฒั นา มีดังนี้

4.1 ปัญหา
- บรรจุภัณฑย์ งั ไม่ไดม้ าตรฐาน

4.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มคี วามตอ้ งการผา่ นมาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.)
- มีความตอ้ งการผ่านมาตรฐานฮาลาล

ภาพกจิ กรรมทล่ี งพื้นที่

๕๒
5. กลมุ่ : ไมก้ วาดดอกหญา้ บ้านประชานมิ ิต

กลมุ่ ไม้กวาดดอกหญา้ บา้ นประชานมิ ิต มีที่ตง้ั กลุ่ม บา้ นประชานมิ ิต หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง
อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นางสุทิพย์ คงขวัญ จานวนสมาชิก 12 คน ผลิตภัณฑ์ผ่าน
การรับรองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน (มผช.) ท้งั น้ีพบวา่ ปญั หาและความต้องการในการพัฒนา มดี งั น้ี

5.1 ปญั หา
- บรรจภุ ณั ฑย์ งั ขาดความนา่ สนใจ

5.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีความตอ้ งการขยายการตลาดให้มากย่ิงข้ึน

ภาพกิจกรรมทลี่ งพ้ืนท่ี

๕๓
6. กลุม่ : ศิลปะจากเศษไม้บา้ นไอร์กาแช

กลุ่มศิลปะจากเศษไม้บ้านไอร์กาแช มีที่ตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 9/1 หมู่ท่ี 6 ตาบลศรีสาคร
อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส ประธานกล่มุ คือ นายอาสะแมง็ สะรี จานวนสมาชกิ 9 คน ผลิตภัณฑผ์ า่ นการ
รบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชน (มผช.) ท้ังนพ้ี บว่า ปัญหาและความตอ้ งการในการพฒั นา มีดงั น้ี

6.1 ปัญหา
- ขาดเครือ่ งกลึงไม้
- ยงั ไม่มตี ลาดต่างประเทศท่มี ากพอ

6.2 ความตอ้ งการในการพฒั นา
- มคี วามตอ้ งการให้เพ่ิมการตลาดให้มากย่ิงข้ึน
- มีความต้องการด้านบรรจุภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานและเป็นเอกลักษณ์ของ

ผลติ ภณั ฑ์

ภาพกจิ กรรมท่ลี งพื้นท่ี

๕๔

7. กลุ่ม : แม่บ้านไอร์กาแช HALAWA (โดนดั )

กลุ่มแม่บ้านไอร์กาแช HALAWA (โดนัด) มีที่ตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 9/1 หมู่ท่ี 6
ตาบลศรีสาคร อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นางมายีดะ สะรี จานวนสมาชิก 8 คน
ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) และมาตรฐานอาหาร
และยา (อ.ย.) ท้ังนีพ้ บวา่ ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนา มดี งั นี้

7.1 ปญั หา
- ขนมดอกจอกแตกง่าย อยากให้หาวธิ ีทไ่ี ม่สามารถแตกงา่ ย

7.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มคี วามตอ้ งการใหข้ นมดอกจอกไมแ่ ตกงา่ ย
- มีความต้องการใหเ้ พิ่มการตลาดใหม้ ากยิง่ ขึ้น

ภาพกจิ กรรมทล่ี งพน้ื ท่ี

๕๕

๖. ลงพืน้ ท่สี ารวจศกั ยภาพข้อมูลกลมุ่ OTOP อาเภอย่ีงอ จงั หวดั นราธิวาส

คณะกรรมการดาเนินโครงการยกระดับผลติ ภัณฑ์ชุมชน OTOP ลงพ้ืนท่ีอาเภอย่ีงอ จังหวัดนราธิวาส
เพื่อสารวจศักยภาพข้อมูลกลุ่ม OTOP จานวน 5 กลุ่ม ในวันที่ 19 ธันวาคม ๒๕๖๑ สรุปผลการดาเนินงาน
ตามรายละเอียดดงั น้ี

1. กลุม่ : พบั ดว้ ยรักมุสลมิ ตะลาฆอสะโต (ขนมทองม้วน)

กลุ่มพับด้วยรักมุสลิมตะลาฆอสะโต (ขนมทองม้วน) มีท่ีต้ังกลุ่ม บ้านเลขที่ 15 หมู่ท่ี 8
ตาบลจอเบาะ อาเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นางกูดะ นิเซ็ง จานวนสมาชิก 9 คน ผลิตภัณฑ์
อยู่ในระหว่างการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ทั้งนี้พบว่า ปัญหาและความต้องการในการ
พฒั นา มดี ังนี้

1.1 ปัญหา
- ขาดโรงเรอื น
- บรรจภุ ัณฑ์ไมไ่ ดร้ ับมาตรฐาน

1.2 ความต้องการในการพฒั นา
- มีความตอ้ งการเพม่ิ การตลาดให้มากยิง่ ขนึ้
- มีความตอ้ งการพฒั นาบรรจภุ ัณฑใ์ หไ้ ด้รบั มาตรฐาน
- มีความต้องการโรงเรอื น

ภาพกจิ กรรมทีล่ งพืน้ ที่

๕๖

2. กลุ่ม : คุณลาเบเกอร่ี

กลุ่มคุณลาเบเกอร่ี มีที่ตั้งกลุ่ม หมู่ท่ี 3 ตาบลย่ีงอ อาเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ประธาน
กลมุ่ คือ นางสไุ ฮลา แสงจนั ทร์ จานวนสมาชิก 9 คน ผลติ ภัณฑอ์ ยูใ่ นระหว่างการขอรบั รองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชมุ ชน (มผช.) ทัง้ น้ีพบว่า ปญั หาและความตอ้ งการในการพฒั นา มดี งั นี้

2.1 ปญั หา
- อยากให้ตกแต่งหน้าร้าน
- บรรจุภณั ฑไ์ มไ่ ด้รบั มาตรฐาน

2.2 ความตอ้ งการในการพฒั นา
- มคี วามตอ้ งการเพม่ิ การตลาดใหม้ ากย่ิงขึน้
- มคี วามตอ้ งการพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ให้ไดร้ บั มาตรฐาน

ภาพกจิ กรรมทลี่ งพ้ืนที่

๕๗

3. กลุ่ม : ดอกไม้ใบยางพารา – ผา้ ใยบัว

กลุ่มดอกไม้ใบยางพารา – ผ้าใยบัว มีท่ีต้ังกลุ่ม บ้านเลขท่ี 23 หมู่ท่ี 7 ตาบลยี่งอ
อาเภอย่ีงอ จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นางคะนึงนิจ วิไลพันธ์ จานวนสมาชิก 10 คน ผลิตภัณฑ์เคย
ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) เมื่อปี พ.ศ. 2548 ท้ังน้ีพบว่า ปัญหาและความต้องการใน
การพฒั นา มีดังนี้

3.1 ปญั หา
- ขาดการตลาดทางเทคโนโลยี
- บรรจุภัณฑไ์ ม่ได้รบั มาตรฐาน

3.2 ความตอ้ งการในการพัฒนา
- มคี วามต้องการเพ่ิมการตลาดให้มากยง่ิ ขน้ึ
- มคี วามตอ้ งการพัฒนาบรรจภุ ัณฑใ์ หไ้ ดร้ บั มาตรฐาน
- มีความต้องการวตั ถุดบิ เพ่ิม

ภาพกิจกรรมทล่ี งพ้นื ท่ี

๕๘

4. กลมุ่ : ปักจักรผา้ คลุมผม

กลุ่มปักจักรผ้าคลุมผม มีที่ตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 39/2 หมู่ท่ี 4 ตาบลจอเบาะ อาเภอย่ีงอ
จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นางบีเดาะ ดือเราะ จานวนสมาชิก 10 คน ผลิตภัณฑ์อยู่ในระหว่างการขอ
รับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) ท้ังนีพ้ บว่า ปญั หาและความตอ้ งการในการพัฒนา มดี งั น้ี

4.1 ปัญหา
- บรรจุภณั ฑ์ไม่ได้รบั มาตรฐาน

4.2 ความตอ้ งการในการพฒั นา
- มีความตอ้ งการเพม่ิ การตลาดให้มากยง่ิ ข้ึน
- มคี วามตอ้ งการพัฒนาบรรจุภณั ฑใ์ หไ้ ดร้ บั มาตรฐาน

ภาพกจิ กรรมทล่ี งพน้ื ท่ี

๕๙

5. กลุ่ม : กระเป๋าเอนกประสงค์

กลุ่มกระเป๋าเอนกประสงค์ มีท่ีตั้งกลุ่ม บ้านเลขท่ี 83 หมู่ท่ี 4 ตาบลจอเบาะ อาเภอยี่งอ
จังหวัดนราธิวาส ประธานกลุ่มคือ นางสุไลนะ บือราเฮง จานวนสมาชิก 5 คน ผลิตภัณฑ์อยู่ในระหว่างการขอ
รับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชน (มผช.) ทงั้ น้พี บวา่ ปญั หาและความตอ้ งการในการพฒั นา มีดงั น้ี

5.1 ปญั หา
- บรรจภุ ณั ฑไ์ มไ่ ด้รบั มาตรฐาน
- ตลาดของผลิตภัณฑ์ยงั นอ้ ย

5.2 ความต้องการในการพัฒนา
- มีความตอ้ งการเพ่ิมการตลาดให้มากยิ่งข้นึ
- มคี วามต้องการพฒั นาบรรจุภัณฑใ์ หไ้ ดร้ บั มาตรฐาน

ภาพกจิ กรรมทลี่ งพ้ืนที่

๖๐

ส่วนท่ี ๔

โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี ความมีระเบยี บวินยั เข้าใจในสทิ ธิ

หน้าท่ีของตนเองและผู้อื่น

๑. แนวทางการขับเคลอื่ นการดาเนินงาน
การดาเนินโครงการเสริมสร้างความรักความสามัคคีเพ่ือสร้างความมีระเบียบวินัยเข้าใจในสิทธิหน้าท่ี

ของตนเอง และความเป็นพลเมืองท่ีดี รวมท้ังการสร้างค่านิยมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวันธรรมอย่างสันติสขุ
ซ่ึงการดาเนินโครงการท่ีเน้นพ้ืนท่ีเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาเสริมสร้างความรักความเข้าใ จ ลดความ
หวาดระแวงในพ้ืนที่ชายแดนภาคใต้โครงการท่ีกล่าวมาข้างต้น ทั้งนี้การจัดงานมหกรรม โดยมีการดาเนิน
กิจกรรม ได้แก่

1) เวทีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีเน้นความรู้รักสามัคคี เช่น ลิเกฮูลู อนาซีด โดย
ส่ือสารได้ 5 ภาษา

2) การเรยี นรเู้ ร่ืองกฎหมายที่ใช้ชวี ติ ประจาวันที่ประชาชนควรรู้
3) การประกวดภาพศลิ ปะทแ่ี สดงถึงความรรู้ กั สามคั คขี องประชาชน
4) การจดั ต้ังศูนยร์ ูร้ ักสามัคคปี ระจาตาบล
5) นกั ศึกษาจติ อาสา “เราทาความดีด้วยหวั ใจ” รว่ มการพฒั นาชุมชน
โดยมีการทากิจกรรมที่ใช้โรงเรียนในพื้นที่เป็นฐานการพัฒนาร่วมกับนักเรียน ประชาชน และอาจารย์
บุคลากร นักศึกษาของทางมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในอาเภอเบตงมีโรงเรียนธารมะลิเป็นฐานการดาเนิน
โครงการ เน้นการจัดกิจกรรรมจิตอาสาเสรมิ สรา้ งความรักความสามัคคีในสงั คม พหวุ ัฒนธรรมท่ีใหท้ ุกคมมีส่วน
ร่วมทากิจกรรมทาความสะอาด พัฒนา ฟ้ืนฟูวัด มัสยิด ตาดีกา และโรงเรียนในท้องถ่ิน ซ่ึงอาเภอเบตงเป็น
สังคมพหุวัฒนธรรมให้ประชาชนที่แตกต่างทางศาสนาไดท้ ากิจกรรม พุดคุยแลกเปล่ียนความรู้ การจัดกิจกรรม
จิตอาสาพัฒนาท้องถิ่นเกิดการสานความสัมพันธ์ระหว่างชาวไทยเชื้อสายจีน ชาวไทยพุทธ และชาวไทยมุสลิม
ให้มีเป้าหมายการพัฒนาเมืองเบตงอย่างมีส่วนร่วมทากิจกรรมทางพหุวัฒนธรรม นาไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่าง
สนั ตสิ ุข

๒.พืน้ ทีเ่ ปา้ หมาย
โรงเรียนในสามจงั หวัดชายแดนภาคใตเ้ ป็นฐานการทากจิ กรรม ไดแ้ ก่
1) โรงเรียนบา้ นธารมะลิ ตาบลอัเยอร์เวง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
2) โรงเรียนบา้ นเยาะ ตาบลแมห่ วาด อาเภอธารโต จังหวัดยะลา
3) โรงเรียนชุมชนบ้านซากอ ตาบลซากอ อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส
4) โรงเรียนบา้ นน้าดา ตาบลปโุ ละปุโย อาเภอหนองจิก จงั หวดั ปัตตานี

๓. ตวั ช้วี ัด
โครงการ ส่งเสริมความรักความสามัคคี ความมีระเบียบวินัยเข้าใจในสิทธิหน้าท่ีของตนเองและผู้อ่ืน

(จังหวัดละ 20 หมบู่ า้ น) ประกอบดว้ ย ๓ ตัวช้ีวัด คือ

๖๑

๓.๑ ผู้เข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ ความเข้าใจ และทศั นคติ เก่ียวกับความรกั ความสามัคคี
ความมรี ะเบียบวนิ ัย สิทธหิ นา้ ท่พี ลเมอื งและตอ่ ยอดองค์ความรไู้ ปยงั ผู้อืน่ ได้

๒๕๖๒ ค่าเปา้ หมายปีงบประมาณ ๒๕๖๖
๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕
ไมน่ ้อยกวา่ ไมน่ อ้ ยกว่า ไม่น้อยกว่า ไมน่ อ้ ยกว่า ไม่นอ้ ยกว่า
รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 80

๓.๒ จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการ

๒๕๖๒ คา่ เปา้ หมายปีงบประมาณ ๒๕๖๖

ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อย
10 ของประชากร ละ 10 ของ
หมู่บ้านเปา้ หมาย ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ประชากรหม่บู า้ น
10 ของประชากร 10 ของประชากร 10 ของประชากร เปา้ หมาย
หมบู่ ้านเป้าหมาย หมู่บา้ นเป้าหมาย หมู่บา้ นเป้าหมาย

๓.๓ จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในหมู่บ้านเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจิตอาสา “เราทา
ความดีดว้ ยหวั ใจ” เพม่ิ ขน้ึ ภายใน 5 ปี ไมน่ อ้ ยกว่า ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๒๐

ภาพกจิ กรรม

๖๒

ส่วนท่ี ๕
โครงการพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษศตวรรษท่ี ๒๑ สาหรบั นกั ศึกษาครู

ในมหาวิทยาลยั ราชภฏั

1. การคดั เลอื กนกั ศกึ ษากลุ่มเปา้ หมาย คือ
นักศึกษาสายครูทุกคนท่ีสอบวัดความรู้ทักษะภาษาอังกฤษเกณฑ์ CEFR ระดับ B2 และนักศึกษาสอบ

โครงการครคู ืนถิ่น รวมทงั้ ส้นิ 4๕0 คน

2. การดาเนนิ กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษ ได้แก่
2.1 การคัดเลือกนักศึกษากลุ่มเป้าหมาย โดยมีการให้นักศึกษาทาแบบทดสอบภาษาอังกฤษ เพ่ือคัด

แยกนักศึกษาออกเป็นกลุ่มย่อย เช่น กลุ่มนักศึกษาท่ีมีทักษะความรู้ด้านภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน และกลุ่ม
นกั ศกึ ษาทีต่ อ้ งเฝ้าระวงั คดั แยกในแตล่ ะคณะ

1) กลมุ่ ท่ี 1 นกั ศึกษาชั้นปที ่ี 5
2) กลุ่มที่ 2 นักศึกษาหลักสูตร หลักสูตรภาษาอังกฤษ คบ. หลักสูตรภาษาอังกฤษ ศศบ. คณะ
มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์
3) กลมุ่ ที่ 3 หลกั สูตรภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์
เนอื่ งจากนักศึกษาชั้นท่ี 5 กลับจากการฝึกสอนในวันศุกร์ท่ี 21 ธนั วาคม 2561 จงึ มกี ารแจกแบบทดสอบ
ในการคัดแยกนักศึกษาเป็นกลุ่มๆ และประชาสัมพันธ์การสมัครติวเข้มทักษะภาษาอังกฤษ เน้นการคัดเลือก
นักศึกษา 100 คนแรกเข้าร่วมโครงการ คัดนักศึกษาที่มีโอกาสสอบผ่านก่อนในการเข้าร่วมโครงการติวเข้ม โดย
มอบหมายให้ทางศูนยภ์ าษาและอาเซียนศึกษา รบั หนา้ ที่ดาเนนิ การจัดสอบ โดยองคป์ ระกอบของข้อสอบ (การสอบ
วัดระดับความรู้) ประกอบดว้ ย

1) Grammar
2) Reading
3) Listening
โดยมกี ารพัฒนาแบบทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ ใหเ้ ปน็ ระบบซอฟแวร์ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา แยก
เป็น 2 ส่วน คือ การเขียนโปรมแกรม และตัวข้อสอบ ลงในระบบซอฟแวร์ เพ่ือให้การออกข้อสอบเป็นไปทุก
องค์ประกอบท้ังเนื้อหา ภาพ และเสียงท่ีมีความชัดเจน ประกอบกับการใช้ห้องสอบท่ีสามารถเปิดลาโพงฟังเสียงใน
part Listening

3. แนวทางการตวิ เข้มพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ
๓.๑ จัดหาติวเตอร์/สถาบันติวภาษาอังกฤษที่มีความเช่ียวชาญจากภายนอก โดยให้นักศึกษาและ

อาจารย์เดินทางไปติวท่ีอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (เนื่องจากข้อจากัดของพื้นที่) เป็นการเข้าค่ายพัฒนา
ทักษะภาษาอังกฤษ มอบหมายให้ทางศูนย์ภาษาและอาเซียนศึกษา รับหน้าที่การติดต่อ/ประชาสัมพันธ์ให้แก่
กลุ่มนักศึกษา รวมท้ังการคิดตัวเลขงบเงินงบประมาณในการสมัครสอบของนักศึกษา วงเงินไม่เกิน 8,000
บาท/ต่อ (รวมทั้งค่าลงทะเบียนและค่าท่ีพักของนักศึกษา) เป็นการจัดคอร์สติวให้กับนักศึกษาและอาจารย์ใน
มหาวทิ ยาลยั โดยเฉพาะ

๖๓

๓.๒ การซื้อซอฟแวร์แบบทดสอบภาษาอังกฤษสาเร็จรูป และแอฟพลิเคช่ันจากสถาบันการติว/
อาจารย์ที่มีความรู้และมีคุณภาพ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการทาแบบทดสอบอยู่เสมอ และสามารถนาไป
ทดสอบกบั นกั ศึกษาชั้นปีอ่ืนไดช้ ัดเจนข้ึน เนน้ ขอ้ สอบภาค Listening การมีระบบซอฟแวร์ของมหาวิทยาลัยจะ
ชว่ ยใหเ้ กิดการทดสอบก่อนเรียน และการทดสอบหลงั เรยี น ในสื่อการสอน (Pre-test / Post-test) เป็นประจา
ทาใหน้ กั ศึกษามคี วามพร้อมในการทดสอบอยู่เสมอที่มผี ลต่อคะแนนเพ่มิ ข้นึ

๓.๓ การติวทักษะภาษาอังกฤษจากอาจารย์ภายในมหาวิทยาลัย โดยมอบหมายให้อาจารย์หลักสูตร
ภาษาอังกฤษทั้ง 3 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ หลักสูตร
ภาษาอังกฤษ คบ. หลักสูตรภาษาอังกฤษ ศศบ. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยมีประธานหลักสูตร
เป็นผู้ประสานการทางานรวมกัน แต่ละหลักสูตรร่วมกันดูแลนักศึกษาเป็นกลุ่มเล็กๆ ในการจัดติวเข้มและการ
สอนทักษะภาษาอังกฤษแบบเจาะลึกรายคน (อาจารย์ 1 คนดูแลนักศึกษา 5 คน ) ทาให้เห็นพฤติกรรมการ
เรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษาแต่ละคนทข่ี าดทกั ษะการทาข้อสอบไมเ่ หมอื นกัน

๓.๔ การซื้อหนังสือติวทักษะภาษาอังกฤษไว้เป็นของส่วนกลาง เพ่ือให้นักศึกษาสามารถยืมเรียนได้
เมอื่ ทดสอบเสรจ็ แลว้ กน็ ามาคืนทางศนู ย์

๓.๕ จัดหาสถาบันติวภาษาอังกฤษท่ีมีความเช่ียวชาญจากภายนอก โดยการเข้าค่ายพัฒนาทักษะ
ภาษาอังกฤษ มอบหมายให้ทางศูนย์ภาษาและอาเซียนศึกษา รับหน้าที่การติดต่อ/ประชาสัมพันธ์ให้แก่กลุ่ม
นักศึกษา โดยในที่ประชุมได้เลือกสถาบัน OXFORD เป็นการจัดคอร์สติวให้กับนักศึกษาและอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ ในการตวิ ทกั ษะภาษาองั กฤษสอบ Toeic เจาะลึก Part Listening ใหน้ กั ศึกษา จึงต้อง
มีการคิดค่าติวที่กาหนดทางสถาบัน OXFORD รวมทั้งค่าลงทะเบียนและค่าท่ีพักของนักศึกษา (เป็นรายคน)
เพือ่ ประมาณการงบประมาณ

๓.๖ การรวบรวมคลิปวิดีโอในช่อง Youtube ที่เกี่ยวข้องกับการติวข้อสอบ TOEIC นามาเปิดช่อง
เรียนรู้ออนไลน์ของมหาวิทยาลัย เพ่ือให้นักศึกษาได้เข้าไปเปิดดูวีดีโอการสอนทักษะภาษาอังกฤษที่สามารถ
เขา้ ถึงไดง้ ่าย โดยมอี าจารย์ทง้ั 3 หลักสตู รช่วยกันคดั เลือกคลิปวดี ีโอการสอนที่มีคุณภาพ เป็นประโยชนต์ ่อการ
แนะแนวข้อสอบ และเก็บรวบรว่ มคลิปวีดโี อลงหน้าเวบ็ ไซน์

4. ตวั ชวี้ ดั และเป้าหมายผลผลติ
เพ่ือให้สอดคล้องกับ พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2561 ตัวชี้วัดโครงการพัฒนาทักษะ

ภาษาอังกฤษศตวรรษท่ี 21 สาหรับนักศึกษาครูในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คือ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
สามารถสอบภาษาองั กฤษผา่ นเกณฑ์ CEFR ระดับ B2 หรอื เทียบเท่าระดับ TOEIC (550 คะแนน) ไม่นอ้ ยกว่า
รอ้ ยละ 20 ของนกั ศึกษาที่เขา้ ร่วมโครงการ

ภาพกจิ กรรม

๖๔

สว่ นท่ี ๖
โครงการยกระดับคุณภาพการเรยี นรู้ด้านการอ่านการเขยี น
และการคิดวิเคราะห์ของนกั เรยี นในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กิจกรรมที่ 1 การประชมุ ชีแ้ จง้ ผอู้ านวนการประชมุ ชี้แจงในกลมุ่ เปา้ หมาย 60 โรงเรยี น
- วตั ถุประสงค์ ชี้แจง้ เพือ่ ทาความเข้าใจกับ ผบู้ ริหารสถานศึกษาของโรงเรยี นทีเ่ ข้ารว่ มโครงการที่

มีผลคะแนน o-net ต่า 20 อันดบั ของแตล่ ะจังหวดั
- ดาเนนิ การ วนั ท่ี 11 เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2561
- จานวนผูเ้ ข้ารว่ ม 58 โรงเรยี น จานวน 58 คน จากทง้ั หมด 60 โรงเรียน
- ผลการดาเนนิ การ
ทางผู้อานวยการโรงเรียนท่ีเข้าร่วมประชุมมีความสนใจและยินดีเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการจัด

กิจกรรมโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับ
การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานในพน้ื ทชี่ ายแดนใต้

ภาพกิจกรรม

กิจกรรมท่ี 2 ประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการ

เขียนและการคิดวเิ คราะหข์ องนกั เรยี นในระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานในพ้ืนทช่ี ายแดนใต้

- วัตถปุ ระสงค์ ประชุมช้ีแจงโครงการและวางแผนการจัดกิจกรรมของโครงการกับคณะกรรมการ

ดาเนินงาน

- ดาเนนิ การ วันท่ี 14 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561

- จานวนผู้เข้าร่วม

คณะกรรมการผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ จานวน 10 ท่าน

วทิ ยากร จานวน 2 ทา่ น

ทีมงานเจา้ หน้าท่ีดูแลโครงการ จานวน 3 ทา่ น

รวมทง้ั หมด จานวน 15 ท่าน

๖๕

- ผลการดาเนินการ
จากการประชุมคณะกรรมการผู้ดูโครงการยกระดับคุณภาพการเรยี นรู้ดา้ นการอ่านการเขียนและ

การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในพื้นท่ีชายแดนใต้ ร่วมกับคณะวิทยากร โดยมี
ข้อสรุปการดาเนนิ การจัดกจิ กรรมอยา่ งชัดเจนและพร้อมดาเนนิ การจัดกิจกรรมตามแผนการดาเนินงานทว่ี างไว้

ภาพกจิ กรรม

กจิ กรรมท่ี 3 การสรา้ งสื่อนวัตกรรมตน้ แบบ
- วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ สร้างนวตั กรรมตน้ แบบการอ่าน การเขยี น และการคิดวเิ คราะห์
- ดาเนินการ วันท่ี 15-16 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2561
- จานวนผู้เข้าร่วม คุณครูจากโรงเรียนที่มีคะแนน One-t ต่า อันดับสุดท้ายของจังหวัด

จานวน 111 คน
- ผลการดาเนินการ
คุณครูเข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจที่จะร่วมสร้างนวัตกรรมต้นแบบการอ่าน การเขียน และการ

คิดวิเคราะห์ เพื่อ เป็นส่ือนวัตกรรมช่วยให้นักเรียนของตนมีผลคะแนนสอบ one-t ท่ีดีขึ้นจากเดิม คุณครูมี
ความพร้อมในการจะนานวัตกรรมที่ตนร่วมกันพัฒนามาปรับใช้ในรายวิชาของตนท่ีได้สอนเพื่อให้ยกระดับ
คุณภาพการศกึ ษาในพ้นื ทีใ่ หด้ ขี น้ึ จากเดิม

ภาพกิจกรรม

๖๖

ภาคผนวก

- คาสั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการยุทธศาสตร์ราชภฏั เพอื่ พัฒนา
ท้องถิน่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

๖๗

๖๘

๖๙

- คาส่ังแต่งตั้งคณะทางานขับเคล่ือนการดาเนินโครงการยทุ ธศาสตรร์ าชภฏั เพ่อื การพฒั นา
ท้องถ่ินมนพื้นทเี่ ปา้ หมาย มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา

๗๐

๗๑

๗๒


Click to View FlipBook Version