The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tintuluk, 2021-10-08 04:59:35

คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามมาตรา๙๐

คูมือ






มาตรการพิเศษ




แทนการดำเนินคดีอาญา



ตามมาตรา ๙๐






คูมือมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐



คำ�นำ�













คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ เล่มน้ ศาลเยาวชนและครอบครัว

กลางประสงค์ให้เป็นคู่มือท่ได้มาตรฐานและมีเน้อหาสาระถูกต้องครบถ้วนตามเจตนารมณ์ของ

พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓
ซ่งมีบทบัญญัติท่เก่ยวกับมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาอันเป็นกระบวนยุติธรรมทางเลือก





ใหม่ในการเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมปกติ ในขณะเดียวกันก็มีวิธีการ
เยียวยาบรรเทาความเสียหายให้แก่เด็กและเหย่ออาชญากรรม ตามหลักความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์


(Restorative Justice) โดยศาลเยาวชนและครอบครวกลางม่งหวงให้เป็นค่มอท่เป็นแนวทางให้แก่








ศาลเยาวชนและครอบครัวท่วประเทศสามารถนาไปศึกษาค้นคว้าและทาความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
ต่อไปได้
คู่มือเล่มน้ได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีเก่ยวกับการเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจาก



กระบวนการยุติธรรมทางอาญา จากหลักกฎหมายสากล ไม่ว่าจะเป็นอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
กฎแห่งกรงปักกง ยทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชงปฏบตของสหประชาชาตว่าด้วยการ











ขจัดความรุนแรงต่อเด็กฯ การเบ่ยงเบนคดีของประเทศสหรัฐอเมริกา รวมท้งได้อธิบายถึงหลัก

เกณฑ์ในการใช้มาตรการพิเศษ (ช้นก่อนฟ้องคดี) ตามมาตรา ๘๖ ถึง ๘๙ พร้อมอธิบายข้นตอน




โดยละเอียดเพ่อให้เข้าใจถึงกระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูช้นก่อนฟ้องคดี ในส่วนของ

หลักเกณฑ์และแนวทางการใช้มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ นี้ คณะท�างาน

จัดทาคู่มือมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ ได้อธิบายข้นตอนและรวบรวม


ตัวอย่างคาส่งของศาลในการพิจารณาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูและรายงานกระบวนพิจารณาใน






รูปแบบต่าง ๆ เพ่อให้เป็นแนวทางแก่ผู้พิพากษาและผู้ปฏิบัติเพ่อนาไปใช้ มีคาอธิบายในส่วน


ของบทบาทหน้าท่ของผู้ประสานการประชุมโดยละเอียด อีกท้งในส่วนท้าย ได้รวบรวมคัดเลือก

ตัวอย่างของการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูและการเขียนแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามมาตรา



๙๐ ท่มาจากคดีจริงของศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง และผ่านการตรวจสอบและคัดเลือก

จากทีมงานนักจิตวิทยาว่าเป็นตัวอย่างที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์รวมอยู่ด้วย










ในการจดทาค่มอมาตรการพเศษแทนการดาเนนคดอาญาตามมาตรา ๙๐ เล่มน ผมต้อง

ขอขอบคุณท่านปารณี มงคลศิริภัทรา รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
วาระปี ๒๕๖๐-๒๕๖๒ และท่านปิยนันท์ พันธุ์ชนะวาณิช รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชน


และครอบครัวกลาง วาระปี ๒๕๖๓ ในฐานะประธานคณะทางานจัดทาคู่มือมาตรการพิเศษ

แทนการดาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ ท่เป็นแรงผลักดันขับเคล่อนให้การจัดทาคู่มือสาเร็จได้





และขอขอบคุณคณะทางานทุก ๆ ท่าน ไม่ว่าจะเป็นท่านเนตรดาว มโนธรรมกิจ ผู้พิพากษาหัวหน้า
คณะในศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง และท่านพนิดา งามอักษร ผู้พิพากษาอาวุโสในศาล
เยาวชนและครอบครัวกลาง ซ่งเป็นผู้พิพากษาดูแลศูนย์ให้คาปรึกษาฯ ของศาลเยาวชนและ


ครอบครวกลาง ทเสียสละเวลาช่วยเรยบเรียงเนอหาและคดเลอกตวอย่างต่าง ๆ ในหลาย ๆ บท









และต้องขอขอบคุณท่านวิโรจน์ จิวะวิทูรกิจ ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลเยาวชนและ







ครอบครวกลาง และท่านธนะ สุจริตกุล ผ้พพากษาศาลเยาวชนและครอบครวกลาง ทเรยบเรยง


เน้อหาตัวอย่างคาส่งและรายงานกระบวนพิจารณาต่าง ๆ ให้ รวมท้งขอขอบคุณ ดร. สุภาภรณ์






ทองน่ม นักจิตวิทยาชานาญการพิเศษ และนายธนะเดช เหล่ารุ่งกาญจน์ นักจิตวิทยา รวมท้ง







ทีมงานนักจิตวิทยาทุกท่านท่อุทิศทุ่มเทในการจดพมพ์และรวบรวมเนอหาตวอย่างต่าง ๆ จน
คู่มือเล่มน้สาเร็จลุล่วงได้ และบุคคลสาคัญอีกท่านหน่งท่ต้องขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ คือ







ดร. นิลุบล ล่มพงศ์พันธุ์ ประธานผู้พิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง วาระปี
๒๕๖๐-๒๕๖๓ ท่ได้สนับสนุนงบประมาณท้งหมดในการจัดพิมพ์คู่มือน้ ให้เป็นรูปเล่มท่สวยงาม




และเผยแพร่ไปยังศาลเยาวชนและครอบครัวทั่วราชอาณาจักร

ท้ายที่สุดนี้ ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์
ต่อผู้ที่สนใจหาข้อมูลเกี่ยวกับมาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐





(นายสทธศกด วนะชกจ)



อธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

ส�รบัญ














บทที่ ๑ บทน�า


๑.๑ ความเป็นมาและความส�าคัญ ๙
๑.๒ โครงการศาลเยาวชนและครอบครัวน�าร่องในการใช้มาตรการพิเศษ
แทนการด�าเนินคดีอาญา (มาตรา ๙๐) ๑๑



บทที่ ๒ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชน
ออกจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญาโดยใช้มาตรการพิเศษ ๑๓
แทนการด�าเนินคดีอาญา


๒.๑ หลักกฎหมายและแนวคิดตามหลักกฎหมายสากล ๑๓

๒.๑.๑ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child) ๑๓
๒.๑.๒ กฎอันเป็นมาตรฐานขั้นต�่าของสหประชาชาติว่าด้วยการบริหารงาน

ยุติธรรมเกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชน (กฎแห่งกรุงปักกิ่ง (Beijing Rules)) ๑๔
๒.๑.๓ ยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วย
การขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการ

ยุติธรรมทางอาญา (UN EVAC) ๑๕
• การเบี่ยงเบนคดีออกจากการใช้มาตรการทางอาญา (Diversion) ๑๖

• การเบี่ยงเบนคดีในประเทศสหรัฐอเมริกา ๑๖
(๑) การเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชนที่กระท�าความผิดออกจาก
กระบวนการยุติธรรมก่อนชั้นศาล ๑๗

(๒) การเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชนที่กระท�าความผิดออกจาก
กระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล ๑๗

(๓) รูปแบบการเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรม ๑๗

๒.๑.๔ แนวความคิดเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรม

เชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice (RJ)) ๑๗
๑) ความหมายของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ๑๘

๒) กระบวนทัศน์ของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ๑๙
๓) ข้อตกลงในการชดใช้ความเสียหาย ๑๙
๔) วัตถุประสงค์ของความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ๑๙

๕) สรุปความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ๒๐

บทที่ ๓ มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาก่อนฟ้องคดี ๒๑
(มาตรา ๘๖ ถึงมาตรา ๘๙)


๓.๑ หลักเกณฑ์ในการใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา ๘๖ ๒๑

๓.๒ ขั้นตอนการด�าเนินการของศาล ๒๑
๑) เมื่อศาลได้รับรายงานจากสถานพินิจในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๒๑

๒) ผลของการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟู ๒๒
๓) แนวทางพิจารณากระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๒๒
๔) ศาลพิจารณาเห็นชอบกระบวนการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟู พร้อมตัวอย่างค�าสั่ง ๒๓

๕) ศาลพิจารณาว่ากระบวนการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟูไม่ชอบด้วยกฎหมาย
พร้อมตัวอย่างค�าสั่ง ๒๓

๖) กรณีมีข้อสงสัยในกระบวนการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟู พร้อมตัวอย่างค�าสั่ง ๒๔
๗) กรณีศาลเห็นชอบในกระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
และมีการปฏิบัติตามแผนฯ ครบถ้วน พร้อมตัวอย่างค�าสั่ง ๒๔



หลังฟ้องคดี (มาตรา ๙๐ ถึงมาตรา ๙๔) ๒๖
บทที่ ๔ มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา



๔.๑ หลักเกณฑ์ในการใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา ๙๐ ๒๖
๔.๒ ขั้นตอนการด�าเนินการของศาล ๒๗

๔.๒.๑ ขั้นตอนที่ศาลมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๒๗
๑) การจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ ในวันสอบค�าให้การ ๒๘

(๑) กรณีผู้เสียหายมาศาล ๒๘
(๒) กรณีผู้เสียหายไม่มาศาล ๒๘
๒) ศาลสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูหลังสอบค�าให้การ ๒๘

๓) ในวันนัดพร้อมเพื่อสอบถามผู้เสียหาย ๒๙
(๑) กรณีผู้เสียหายมาศาล ๒๙

(๒) กรณีผู้เสียหายไม่มาศาล ๒๙
(๓) เมื่อผู้เสียหายยินยอม ควรนัดพิจารณาแผนก่อนค�าสั่งจ�าหน่ายคดี ๒๙
๔) กรณีผู้เสียหายมีเหตุจ�าเป็นไม่สามารถมาศาลในวันประสานการประชุม ๒๙

๔.๒.๒ ขั้นตอนหลังจากศาลมีค�าสั่งและ
กระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๒๙

๑) ขั้นตอนหลังจากศาลมีค�าสั่ง ๒๙
(๑) ให้ศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ ตั้งส�านวนมาตรการพิเศษ ๒๙
(๒) ผู้รับผิดชอบราชการศาลแต่งตั้งผู้ประสานการประชุม

และแจ้งค�าสั่งแก่ผู้ได้รับการแต่งตั้ง ๒๙

(๓) ผู้ประสานการประชุมก�าหนดวันและสถานที่ประชุม ๓๐

๒) ขั้นตอนกระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๓๐
๔.๒.๓ ขั้นตอนการพิจารณาแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๓๐
๑) แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต้องเป็นไปตามมาตรา ๙๑

ประกอบข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๑ ๓๐
๒) มาตรการในแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต้องมีความเหมาะสม ๓๑

๓) รูปแบบแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๓๑
๔) วิธีการสั่งแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๓๒
(๑) กรณีเห็นชอบ ๓๒

(๒) กรณีศาลเห็นว่าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูยังไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุด
หรือมีข้อผิดหลง ๓๒

(๓) กรณีไม่เห็นชอบ ๓๒
๔.๒.๔ ขั้นตอนหลังศาลมีค�าสั่งเห็นชอบกับแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๓๓
๑) ให้ศาลพิจารณาสั่งแก้ไข ๓๓

๒) ในกรณีที่ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๓๓
๔.๒.๕ ขั้นตอนการพิจารณาผลของการด�าเนินการตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ๓๓

๑) ในกรณีที่ศาลเห็นชอบ ๓๓
๒) ในกรณีที่ศาลไม่เห็นชอบ ๓๓
๓) ในกรณีที่ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูได้ ๓๔

ตัวอย่างรายงานกระบวนพิจารณา ๓๕
๕๑

บทที่ ๕ บทบาทและหน้าที่ของผู้ประสานการประชุม

๕.๑ เป้าหมายของการประชุม ๕๑

๕.๑.๑ ความต้องการ (need) ของผู้เสียหาย ๕๑
๕.๑.๒ ความรับผิดชอบในการกระท�าของผู้กระท�าผิด (offender accountability) ๕๑

๕.๑.๓ ความรับผิดชอบในการกระท�าอย่างแท้จริง (real accountability) ๕๒
๕.๒ หลักการส�าคัญที่ต้องค�านึงเพื่อให้การประชุมได้ผลส�าเร็จ ๕๒
๕.๒.๑ การให้ความเคารพกับทุกฝ่าย ๕๒

๕.๒.๒ การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ๕๒
๕.๒.๓ ความปลอดภัยของผู้เสียหายและชุมชน ๕๒

๕.๒.๔ ผู้ประสานการประชุมให้ความสะดวกในการประชุม ๕๒
๕.๒.๕ วิธีปฏิบัติที่จะช่วยให้การประชุมราบรื่น ๕๓
๕.๒.๖ ผู้ประสานการประชุมควรให้การประชุมเป็นไปตามวัตถุประสงค์

ของการประสานการประชุม ๕๓

๕.๒.๗ ควบคุมกระบวนการก�าหนดกฎกติกา ๕๓

๕.๒.๘ หาทางแก้ไขปัญหาที่เป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่ายโดยไม่ต้องชี้น�า
เสนอแนะหรือให้ความเห็น เว้นแต่คู่ความอนุญาต ๕๓
๕.๓ บทบาทหน้าที่ของผู้ประสานการประชุม ๕๓

๕.๓.๑ บทบาทก่อนการประชุม ๕๓
๕.๓.๒ บทบาทระหว่างการประชุม ๕๔

๕.๓.๓ บทบาทภายหลังการประชุม ๕๔
๕.๓.๔ หลักเกณฑ์ของการประชุม ๕๔
๕.๓.๕ กฎเหล็กที่ทุกคนต้องปฏิบัติในระหว่างประสานการประชุม ๕๔

๕.๔ บุคคลที่เชิญเข้าร่วมประชุมฯ ๕๕
๕.๕ ขั้นตอนการประชุม ๕๖

ขั้นตอนที่ ๑ ก่อนการประชุม ๕๖
ขั้นตอนที่ ๒ การประชุม ๕๖
๒.๑ ขั้นเปิดประชุม ๕๖

๒.๒ ขั้นส�ารวจและค้นหาความต้องการ ๕๘
๒.๓ ขั้นจัดท�าแผน สรุป และปิดประชุม ๕๘

ขั้นตอนที่ ๓ การบริหารแผนฯ และรายงานผลการปฏิบัติตามแผนฯ ๕๙
๓.๑ ทักษะที่ส�าคัญที่ควรฝึกเพิ่มเติมหรือน�ามาใช้ ๕๙
๓.๒ การเตรียมความพร้อมโดยการแยกประชุมทีละฝ่าย

ก่อนการประชุมจริง ๕๙
จริยธรรมของผู้ประสานการประชุม ๖๐

ตัวอย่างการท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูและการเขียนแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ ๖๐
๘๒
บรรณานุกรม



บทที่ ๑ บทน�า














๑.๑ ความเป็นมาและความส�าคัญ







ประเทศไทยได้รับแนวคิดเก่ยวกับกระบวนการยุติธรรมสาหรับเด็กและเยาวชนท่กระทาผิด อันนามาสู่การ

ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในปี ๒๔๙๔ ภายใต้พระราชบัญญัติจัดต้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ. ๒๔๙๔ และ


พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ. ๒๔๙๔ ในปีเดียวกันน้นได้มีการจัดต้งศาลคดีเด็กและเยาวชนข้น

เป็นคร้งแรก โดยมีหน่วยงานสาหรับพิเคราะห์ ฝึกอบรม และสงเคราะห์เด็ก เรียกว่า “สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ




เยาวชนกลาง” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อเป็นเคร่องมือของศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางในการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชน


หลังจากน้นได้มีการแก้ไขเป็นพระราชบัญญัติจัดต้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. ๒๕๓๔ เร่มมีการวางหลักในกระบวนการยุติธรรมเก่ยวกับคดีเด็กและเยาวชนท่กระทาผิดแยกออกจากคดีผู้ใหญ่









กระทาผิด โดยมีวิธีการพิเศษสาหรับเด็กและเยาวชนกระทาผิดแทนการลงโทษทางอาญา เน่องจากมิได้ประสงค์ท่จะ




พิจารณาพิพากษาลงโทษเด็กและเยาวชนเท่าน้น แต่มุ่งเน้นท่จะค้นหาสาเหตุแห่งการกระทาผิดเพ่อแก้ไขปรับปรุง
ลักษณะนิสัยความประพฤติของเด็กและเยาวชนแต่ละคนแตกต่างกันออกไปตามสภาพปัญหา ต่อมามีการปรับปรุงแก้ไข
กฎหมายใหม่ คือ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓
มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ๑
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้วาง


หลักการใหม่เก่ยวกับการดาเนินคดีอาญากับเด็กและเยาวชนและยังได้มีการปรับปรุงแก้ไขวางกลไกและวางมาตรฐาน
ในการคุ้มครองสิทธ สวัสดิภาพและวิธีปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชน เพ่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ อนุสัญญาว่าด้วย



สิทธิเด็กและหลักการคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชนเป็นสาคัญ โดยเฉพาะอย่างย่งได้มีการใช้มาตรการ




พิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาอันเป็นกระบวนการยุติธรรมทางเลือกใหม่ โดยเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจาก
กระบวนการยุติธรรมทางตุลาการ (Diversion) ควบคู่กับกระบวนการยุติธรรมปกติของศาลเยาวชนและครอบครัว ทั้งนี้

เพ่อไม่ให้เด็กหรือเยาวชนมีตราบาปต่อการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับสังคมโดยต้องคาพิพากษา การเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชน





ออกจากกระบวนการยุติธรรมอาจเกิดข้นท้งในช้นก่อนฟ้องคดีและหลังฟ้องคด หลักการของกฎหมายดังกล่าวเป็นการ

อนุวัติกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child) และกฎอันเป็น
มาตรฐานข้นตาของสหประชาชาติว่าด้วยการบริหารงานยุติธรรมเก่ยวกับเด็กและเยาวชน (กฎแห่งกรุงปักก่ง (Beijing





Rules)) การใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาน้เป็นกระบวนการอันมีวัตถุประสงค์ท่จะนาผู้กระทาความผิด








เป็นคร้งแรกและผู้กระทาผิดท่ไม่เป็นอันตรายออกจากกระบวนการยุติธรรมของเด็กและเยาวชนตามแบบพิธ (Traditional

Juvenile Justice System) เพื่อป้องกันไม่ให้มีการกระท�าความผิดซ�้าอีก โดยน�าเด็กและเยาวชนเหล่านี้ไปสู่โครงการเพื่อ
แก้ไขฟื้นฟูที่มีลักษณะการเน้นชุมชนเป็นพื้นฐานเนื่องจากเชื่อว่าการด�าเนินคดีอาญาอย่างเป็นทางการแก่เด็กและเยาวชน



๑ คู่มือการปฏิบัติงาน การดาเนินการตามมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาหลังฟ้องคด และมาตรการแทนการพิพากษาคดีของ
ศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตอ�านาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๒, ๒-๓.
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 9

เป็นการสร้างตราบาปให้แก่เด็กว่าเคยเป็นผู้กระท�าความผิดมาก่อน ซึ่งจะน�าไปสู่พฤติกรรมการกระท�าความผิดในอนาคต

ได้ นอกจากนี้การแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต้องด�าเนินการแบบองค์รวมสามารถเชื่อมโยงให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีบทบาท


ในการแก้ไขและต้องมีการฟื้นฟูให้เหย่ออาชญากรรมกลับคืนสู่สภาพปกติและให้ผู้กระทาความผิดได้แสดงความ


รับผิดชอบและบรรเทาความเสียหายท่ตนเองเป็นผู้ก่อโดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมหรือท่เรียกว่า กระบวนการยุติธรรม

เชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) การใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาจึงเป็นการเบ่ยงเบนเด็กและ

เยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมทางตุลาการ (Diversion) เข้ากับแนวความคิดในเรื่องการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและ

เยาวชนโดยเน้นชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในขณะเดียวกันก็ต้องเยียวยาและบรรเทาความเสียหายแก่เด็กและให้แก่เหย่อ


อาชญากรรม ซ่งนับว่าเป็นมาตรการท่แก้ไขเด็กและเยาวชนได้ตรงกับสภาพปัญหาและคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็ก


และเยาวชนเป็นส�าคัญ
ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice หรือ RJ) เป็นแนวความคิดใหม่ของกระบวนการยุติธรรม
ทางอาญา โดยมีวัตถุประสงค์จะแก้ไขหรือยุติปัญหาความขัดแย้งหรือข้อพิพาทระหว่างผู้เสียหายกับผู้กระทาความผิด



เพ่อให้มีความเข้าใจซ่งกันและกันท้งในเหตุผลและปัจจัยท่ทาให้เกิดการกระทาความผิด ผู้เสียหายเข้าใจสาเหตุการ




กระทาความผิด ผู้กระทาความผิดได้ตระหนักถึงความเสียหายและผลกระทบท่เกิดจากการกระทาความผิดของตนท่เกิด










แก่ผู้เสียหาย ชุมชน หรือผู้อ่นท่ได้รับผลกระทบจึงนาไปสู่ความเข้าอกเข้าใจกัน อันจะนามาซ่งการยุติข้อขัดแย้ง และร่วมกัน
หาทางออกในปัญหาท่เกิดข้นด้วยกัน กระบวนการจะทาให้ผู้กระทาความผิดได้บอกเล่าความจริงและเหตุผลท่กระทา








ความผิด ผู้เสียหายได้บอกเล่าถึงอารมณ์ความรู้สึกและผลกระทบท่ได้รับอันเกิดจากการกระทาของผู้กระทาความผิด




ผู้กระทาความผิดเกิดความละอายและมีความสานึกผิดอย่างจริงใจ พร้อมรับผิดชดใช้เยียวยาความเสียหายและต้งใจ















ทจะทาในสงทถกตองเพอไมใหเกดการกระทาความผดเชนน้ขนอีกในอนาคต ผเสยหายใหอภยและมความเขาใจไดมากขน















ไม่มีความคิดที่จะแก้แค้นอีกต่อไป ทั้งสองฝ่ายสามารถกลับไปอยู่ร่วมกันในชุมชนและสังคมได้อย่างสันติสุข ๓
การใช้เคร่องมือในการเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชน




และครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มีท้งในช้นก่อนฟ้องคดีและหลังฟ้องคด โดยใน

ชั้นก่อนฟ้องคดีตามมาตรา ๘๖ บัญญัติว่า ในคดีที่เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระท�าความผิดอาญาซึ่งมีอัตราโทษอย่างสูง



ตามท่กฎหมายกาหนดไว้ให้จาคุกไม่เกินห้าปีไม่ว่าจะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม ถ้าปรากฏว่าเด็กหรือเยาวชนไม่เคย







ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่สุดให้จาคุกเว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดท่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิด















ลหโทษ และเดกหรอเยาวชนสานกในการกระทากอนฟองคด เมอคานงถงอาย ประวต ความประพฤต สตปญญา การศกษา







อบรม สภาพร่างกาย สภาพจิตใจ อาชีพ ฐานะ และเหตุแห่งการกระทาความผิดแล้ว หากผู้อานวยการสถานพินิจฯ พิจารณา

เห็นว่าเด็กหรือเยาวชนน้นอาจกลับตัวเป็นคนดีได้โดยไม่ต้องฟ้องให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูให้เด็กหรือเยาวชนปฏิบัติและ



หากจาเป็นเพ่อประโยชน์ในการคุ้มครองเด็กและเยาวชนอาจกาหนดให้บิดามารดาผู้ปกครองหรือบุคคลหรือผู้แทนองค์การ



ซ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยู่ด้วยปฏิบัติด้วยก็ได้ ท้งน เพ่อแก้ไขปรับเปล่ยนความประพฤติของเด็กและเยาวชนบรรเทา

















ทดแทนหรอชดเชยความเสยหายแก่ผ้เสยหายหรอเพอให้เกดความปลอดภยแก่ชมชนและสงคมแล้วเสนอความเหน

ประกอบแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต่อพนักงานอัยการเพ่อพิจารณาว่าจะเห็นชอบด้วยกับแผนหรือไม่ หากแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู







ประสบความสาเร็จพนกงานอยการจะมคาสงไม่ฟ้องและทาให้สทธินาคดอาญามาฟ้องเป็นอนระงบไป ส่วนกระบวนการ











๒ สิทธิศักด วนะชกจ, การประชุมคณะกรรมการการจัดทาโครงการศาลเยาวชนและครอบครวนาร่องในการใช้มาตรการพเศษแทนการ





ด�าเนินคดี, ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง, ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๑.
๓ สุริยนต์ โสตถิทัต, การประชุมเพื่อจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูหลังฟ้องคดี (ตามมาตรา ๙๐) แบบเน้นกระบวนวิธียุติธรรมเชิงสมานฉันท์
(Restrorative Justice), ๑.
10 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐











เบยงเบนเดกหรอเยาวชนออกจากกระบวนการยตธรรมหลงฟ้องคด คอ มาตรการพเศษแทนการดาเนนคดอาญาตาม



มาตรา ๙๐ แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓


บัญญัติว่า เด็กหรือเยาวชนจะสามารถเข้าสู่กระบวนการดังกล่าว จะต้องเป็นคดีท่เด็กและเยาวชนต้องหาว่ากระทา
ความผิดซ่งมีอัตราโทษอย่างสูงให้จาคุกไม่เกินย่สิบปี เด็กหรือเยาวชนไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่สุดให้











จาคุก ในเวลาใด ๆ ก่อนมีคาพิพากษา เด็กหรือเยาวชนน้นสานึกในการกระทา และผู้เสียหายยินยอม โจทก์ไม่คัดค้าน
พฤติการณ์แห่งคดีไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อสังคมเกินสมควร ศาลเห็นว่าเด็กหรือเยาวชนอาจจะเป็นคนดีได้ และผู้เสียหาย


อาจได้รับการชดเชยเยียวยาตามสมควร ศาลอาจมีคาส่งให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูให้เด็กและเยาวชนและบุคคลท ่ ี


เกี่ยวข้องปฏิบัติเสนอต่อศาล หากศาลเห็นชอบกับแผนให้มีค�าสั่งจ�าหน่ายคดีไว้ชั่วคราว กรณีมีการปฏิบัติตามแผนแก้ไข

บาบัดฟื้นฟูครบถ้วน ศาลจะมีคาส่งจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ โดยกฎหมายกาหนดให้สิทธินาคดีอาญามาฟ้อง







เป็นอันส้นไป เด็กหรือเยาวชนก็ไม่ต้องเข้าสู่กระบวนการพิจารณาในช้นศาลอีกต่อไป นอกจากน ตามพระราชบัญญัต ิ


ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มีบทบัญญัติในเรื่องมาตรการแทนการ
พิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ ซึ่งเป็นกรณีคดียังอยู่ในกระบวนพิจารณาของศาล แต่ศาลเห็นว่าไม่ควรมีค�าพิพากษาจึงใช้
มาตรการแทนการพิพากษาคดีแบ่งเป็นสองวรรค ดังนี้ คือ ตามมาตรา ๑๓๒ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า ในกรณีที่ศาลเห็นว่า


ตามพฤติการณ์แห่งคดียังไม่สมควรจะมีคาพิพากษา หรือบิดา มารดา ผู้ปกครองหรือบุคคลท่จาเลยอาศัยอยู่ด้วยร้องขอ

ศาลอาจสอบถามผู้เสียหายแล้ว ศาลมีคาส่งให้ปล่อยตัวช่วคราวจาเลยและมอบจาเลยให้บุคคลดังกล่าวโดยไม่มีประกัน





หรือมีประกันหรือมีประกันและหลักประกันด้วยก็ได้ โดยกาหนดเง่อนไข เช่น ให้จาเลยรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤต ิ



หรือเจ้าพนักงานอื่นหรือบุคคลใดหรือองค์การด้านเด็ก เข้ารับการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู รับค�าแนะน�า ปรึกษาเข้าร่วมกิจกรรม















บาบดหรอกจกรรมทางเลอก หรอให้ใช้วธการเพอความปลอดภยในระยะเวลาทศาลเหนสมควรแต่ต้องไม่เกนกว่าจาเลย






มีอายุย่สิบส่ปีบริบูรณ์ ในการน้ศาลมีอานาจส่งให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลท่จาเลยอาศัยอยู่ด้วยเข้าร่วม


กิจกรรมหรือรับค�าปรึกษาแนะน�าด้วยก็ได้ ซึ่งเป็นมาตรการแบบไม่จ�ากัดเสรีภาพ ถ้าศาลพิจารณาเห็นว่าเด็กหรือเยาวชน


ไม่อาจกลับไปอยู่กับบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือครอบครัวได้แต่ยังมีพฤติการณ์ท่ไม่สมควรจะมีคาพิพากษาและอยู่ใน


เง่อนไขท่จะใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีกับเด็กหรือเยาวชนได้ ก็จะเลือกใช้มาตรการตามวิธีการตามมาตรา ๑๓๒


วรรคสอง ท่บัญญัติว่า ในกรณีท่ศาลเห็นว่าจาเลยไม่สมควรใช้วิธีการตามวรรคหน่งศาลจะส่งตัวจาเลยไปยังสถานพินิจฯ







หรอสถานทอนทจดตงขนตามกฎหมายและตามทเหนสมควรทยนยอมรบตวจาเลยไว้ดแลชวคราวหรอจะให้ใช้วธการ



























สาหรับเด็กและเยาวชนไปพลางก่อนก็ได้แต่ต้องไม่เกินกว่าจาเลยน้นมีอายุครบย่สิบส่ปีบริบูรณ์ ซ่งเป็นมาตรการแบบ


จ�ากัดเสรีภาพ อย่างไรก็ตาม มาตรา ๑๓๒ นี้ ไม่ใช่มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา อีกทั้งไม่ใช่มาตรการเบี่ยงเบน

คดีออกจากศาล เพราะคดียังอยู่ในอานาจศาล เพียงแต่ศาลเห็นว่าคดียังไม่สมควรมีคาพิพากษาเพราะจะเป็นโทษ




แก่เด็กและเยาวชนมากกว่าการท่ศาลจะกาหนดเง่อนไขวิธีการหรือแผนมาแก้ไขบาบัดฟื้นฟูจาเลย ซ่งเป็นไปเพ่อประโยชน์




แก่จาเลยเช่นเดียวกัน แต่ตามคู่มือฉบับน้มีความมุ่งหมายท่จะพิจารณากระบวนการเบ่ยงเบนคดีตามมาตรา ๘๖ และ




มาตรา ๙๐ เพื่อจัดท�าคู่มือในการปฏิบัติการ รวมทั้งตัวอย่างรายงานกระบวนพิจารณาของผู้พิพากษา ผู้พิพากษาสมทบ
และผู้ประสานการประชุม โดยจะได้น�ามาตรการแทนการพิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ มาศึกษาเปรียบเทียบด้วย
๑.๒ โครงการศาลเยาวชนและครอบครัวน�าร่องในการใช้มาตรการพิเศษ
แทนการด�าเนินคดีอาญา (มาตรา ๙๐)

ในปี ๒๕๖๑ ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางได้กาหนดเป็นนโยบายให้ศาลเยาวชนและครอบครัวท่วประเทศ





นาคดีท่เข้าหลักเกณฑ์เง่อนไขท่จะทามาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ มาพิจารณาจัดทาทุกเร่อง





เพ่อให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามกฎหมายและเพ่อประโยชน์ของผู้เสียหายและจาเลยด้วยโดยได้จัดทาโครงการ



คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 11



ศาลเยาวชนและครอบครัวนาร่องในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (มาตรา ๙๐) ภาค ๑ ถึงภาค ๙






จานวน ๒๖ ศาล โดยคัดเลือกศาลท่เป็นตัวแทนของแต่ละภาคท่มีความพร้อมท้งจานวนคด นักจิตวิทยา และผู้ประสานการ


ประชุม และมีความเข้มแข็งในการรับผิดชอบและกระตุ้นให้เกิดการจัดทาแผนตามมาตรา ๙๐ ตามคาส่งศาลได้ ภาค ๑ คือ



ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปทุมธาน ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนนทบุร ศาลเยาวชนและครอบครัว
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลพบุรี และศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสมุทรปราการ
ภาค ๒ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดจันทบุรีและศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดชลบุร ภาค ๓ คือ ศาล

เยาวชนและครอบครัวจังหวัดบุรีรัมย์ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา และศาลเยาวชนและครอบครัว

จังหวัดสุรินทร์ ภาค ๔ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุดรธาน ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดขอนแก่น
และศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสกลนคร ภาค ๕ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเชียงรายและศาลเยาวชน
และครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ ภาค ๖ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครสวรรค์และศาลเยาวชนและครอบครัว
จังหวัดพิษณุโลก ภาค ๗ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสมุทรสงคราม ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด

สมุทรสาคร และศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดราชบุร ภาค ๘ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดภูเก็ต



ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุราษฎร์ธาน ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดกระบ และศาลเยาวชนและครอบครัว
จังหวัดนครศรีธรรมราช และภาค ๙ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดตรังและศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
สงขลา

ศาลเยาวชนและครอบครัวท้ง ๒๖ ศาลท่อยู่ในโครงการศาลเยาวชนและครอบครัวนาร่องในการใช้มาตรการ


พิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา ต้องจัดทาสถิติความคืบหน้าในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (มาตรา




๙๐) และต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาผ่านระบบการประชุม


ทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference) มาท่ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง เป็นการกระตุ้นให้มีการนามาตรการพิเศษ
แทนการด�าเนินคดีอาญาไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง










































12 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

บทที่ ๒ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเบี่ยงเบนเด็กและ
เยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

โดยใช้มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดี










การเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนท่กระทาความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมโดยใช้มาตรการพิเศษแทน




การดาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๘๖ และมาตรา ๙๐ มีแนวคิดทฤษฎ หลักกฎหมาย อนุสัญญา รวมท้งหลักกฎหมาย

ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
๒.๑ หลักกฎหมายและแนวคิดตามหลักกฎหมายสากล


๒.๑.๑ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child) เป็นอนุสัญญาด้านสิทธ ิ

มนุษยชนระหว่างประเทศท่ได้รับความเห็นชอบจากเกือบทุกประเทศในโลกได้ให้สัตยาบัน ส่วนประเทศไทยได้ลงนาม



เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กเม่อวันท ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๒ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก มีอารัมภบทว่า

สหประชาชาติได้ประกาศปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า เด็กมีสิทธิท่จะได้รับการดูแลและการช่วยเหลือเป็นพิเศษ





และเช่อว่าครอบครัวในฐานะเป็นกลุ่มพ้นฐานของสังคมและเป็นส่งแวดล้อมทางธรรมชาติสาหรับการเจริญเติบโตและ

ความอยู่ดีกินดีของสมาชิกทุกคน โดยเฉพาะเด็กควรได้รับการคุ้มครองและช่วยเหลือเทาที่จ�าเป็นเพื่อที่จะสามารถมีความ

รับผิดชอบในชุมชนของตนได้อย่างเต็มท่เพ่อให้เด็กพัฒนาบุคลิกภาพได้อย่างกลมกลืน เด็กควรจะเติบโตในส่งแวดล้อมของ


ครอบครัวในบรรยากาศแห่งความผาสุก ความรัก และความเข้าใจ โดยต้องค�านึงตามที่ได้ระบุไว้ในปฏิญญาสากลว่าด้วย


สิทธิเด็ก โดยเหตุท่เด็กยังไม่เติบโตเต็มท่ท้งทางร่างกายและจิตใจจึงต้องการการพิทักษ์และการดูแลเป็นพิเศษรวมถึง

ต้องการการคุ้มครองทางกฎหมายที่เหมาะสมทั้งก่อนและหลังการเกิด

อนุสัญญาดังกล่าวมีบางข้อที่ก�าหนดเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมส�าหรับเด็ก เช่น







ขอ ๑ เพ่อความมุ่งหมายแห่งอนุสัญญาน เด็กหมายถึงมนุษย์ทุกคนท่อายุตากว่า ๑๘ ปี เว้นแต่จะบรรล ุ
นิติภาวะก่อนหน้านั้นตามกฎหมายที่ใช้บังคับแก่เด็กนั้น


ขอ ๒ รัฐภาคีจะดาเนินการตามมาตรการท่เหมาะสมท้งปวง เพ่อท่จะประกันว่าเด็กได้รับการคุ้มครองจาก




การเลือกปฏิบัติหรือการลงโทษในทุกรูปแบบบนพ้นฐานของสถานภาพกิจกรรมความคิดเห็นท่แสดงออกหรือความเช่อ



ของบิดามารดา ผู้ปกครองตามกฎหมาย หรือสมาชิกในครอบครัวเด็ก





ขอ ๓ ในการกระทาท้งปวงท่เก่ยวกับเด็กไม่ว่าจะกระทาโดยสถาบันสังคมสงเคราะห์ของรัฐหรือเอกชน





ศาลยุติธรรม หน่วยงานฝ่ายบริหาร หรือองค์การนิติบัญญัต ผลประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นส่งท่ต้องคานึงถึงเป็น
ล�าดับแรก คือ หลัก The Best Interest of the Child

ซ่งแม้จะไม่มีการให้คานิยามในเร่องประโยชน์สูงสุดของเด็กไว้อย่างชัดเจน แต่จะเห็นได้ว่า อนุสัญญาว่าด้วย


สิทธิเด็กได้ให้ความส�าคัญกับสถาบันครอบครัว โดยถือว่าสภาพของความเป็นครอบครัว ซึ่งในที่นี้หมายถึง การที่เด็กต้อง




ได้อยู่ในความปกครองดูแลของท้งบิดาและมารดาร่วมกัน เพราะเป็นส่งจาเป็นอย่างย่งสาหรับการให้ความคุ้มครองและ

การพัฒนาเติบโตของเด็ก โดยพิจารณาได้จากอารัมภบทของอนุสัญญาที่ระบุไว้ว่า
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 13





“...เช่อว่าครอบครัวในฐานะเป็นกลุ่มพ้นฐานของสังคมและเป็นส่งแวดล้อมทางธรรมชาติสาหรับ
การเจริญเติบโตและความอยู่ดีกินดีของสมาชิกทุกคน โดยเฉพาะเด็กควรจะได้รับการคุ้มครองและการ
ช่วยเหลือที่จ�าเป็นเพื่อที่จะสามารถมีความรับผิดชอบในชุมชนของตนได้อย่างเต็มที่ ยอมรับว่าเพื่อให้เด็ก



พฒนาบคลกภาพไดอยางกลมกลนและเตมท เดกควรจะเตบโตในสงแวดลอมของครอบครวในบรรยากาศ












แห่งความผาสุก ความรัก และความเข้าใจ...”

ด้วยเหตุนี้ ในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก จึงมีการก�าหนดหลักการที่ว่า การจะพรากเด็กจากความเป็นครอบครัว




เช่นว่าน้นจะกระทาโดยขัดกับความประสงค์ของบิดามารดาไม่ได เว้นแต่เป็นการกระทาของหน่วยงานท่มีอานาจ และต้อง


กระท�าโดยค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นส�าคัญ (ข้อ ๙) นอกจากนี้ ในอนุสัญญาฯ ยังได้ก�าหนดให้บิดามารดาเป็น














ผ้มีหน้าท่รับผดชอบร่วมกันในการเล้ยงดและพฒนาเดก ซงการจะกาหนดความรับผิดชอบดงกล่าวเป็นประการอนนนจะ

ต้องกระท�าโดยค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นพื้นฐาน (ข้อ ๑๘) และท้ายที่สุดเมื่อเด็กถูกพรากจากสภาพครอบครัว
แล้ว รัฐมีหน้าที่ที่จะต้องให้ความคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กเหล่านั้นเป็นพิเศษด้วย (ข้อ ๒๐)
ดังนั้น หลักประโยชน์สูงสุดของเด็กจึงมีความสัมพันธ์กับสถาบันครอบครัวใน ๒ ลักษณะที่ส�าคัญ กล่าวคือ


๑) เป็นหลักท่ใช้รักษาสถาบันครอบครัว โดยเป็นข้อสันนิษฐานเบ้องต้นว่า การมีอยู่ของสถาบันครอบครัวน้น

คือ สิ่งที่มีความจ�าเป็นอย่างยิ่งในการให้ความคุ้มครองดูแล และการพัฒนาเติบโตของเด็ก ซึ่งการจะพรากเด็กจากสภาพ
ความเป็นครอบครัวได้นั้น จะกระท�าได้ต่อเมื่อได้พิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้วว่าเป็นประโยชน์สูงสุดของเด็กเท่านั้น
๒) เป็นข้อยกเว้นของหลักการรักษาสถาบันครอบครัว เม่อพิจารณาหลักประโยชน์สูงสุดของเด็กในอีกแง่


มุมหน่ง ย่อมเห็นได้ว่า สภาพความเป็นครอบครัวน้นจะถูกพรากไปจากเด็กได้ก็แต่เฉพาะในกรณีท่จาเป็นเพ่อประโยชน์








สูงสุดของเด็กเท่าน้น (ข้อ ๒๑) ด้วยเหตุน หลักการดังกล่าวจึงทาหน้าท่เป็นข้อยกเว้นของหลักการรักษาสถาบัน

ครอบครัวด้วย



๒.๑.๒ กฎอันเป็นมาตรฐานข้นตาของสหประชาชาติว่าด้วยการบริหารงานยุติธรรมเก่ยวกับคดีเด็กและเยาวชน



(กฎแห่งกรุงปักกิ่ง (The Beijing Rules United Nations Standard Minimum Rules for the Administration of
Juvenile Justice))
กฎแห่งกรุงปักก่งกาหนดสิทธิของเด็กและเยาวชนท่เก่ยวข้องกับการดาเนินการในกระบวนการยุติธรรมในการ





พัฒนาคดีและวางข้อก�าหนดดังนี้

ข้อ ๑๑ การเบี่ยงเบนคดี (Diversion)

๑๑.๑ เม่อมีความเหมาะสม ควรพิจารณาดาเนินการผู้กระทาผิดท่เป็นเด็กและเยาวชน โดยไม่ต้องใช้



วิธีด�าเนินคดีอย่างเป็นทางการจากผู้มีอ�านาจตามที่อ้างถึงในกฎข้อ ๑๔.๑
๑๑.๒ ตารวจ อัยการ หรือหน่วยงานท่ดาเนินคดีของเด็กและเยาวชนควรมีอานาจจัดการกับคด ี





โดยใช้ดุลพินิจ ซ่งไม่ต้องกลับไปใช้วิธีพิจารณาคดีอย่างเป็นทางการ โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ได้วางไว้สาหรับ


วัตถุประสงค์นั้น ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และให้เป็นไปตามหลักการที่มีอยู่ในกฎนี้
๑ มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล, โครงการวิจัย เรื่อง หลักการคุ้มครองสิทธิเด็กภายใต้แนวคิดเกี่ยวกับประโยชน์สูงสุดของเด็ก, (ม.ป.ท.: บริษัท
โรงพิมพ์เดือนตุลา จ�ากัด, ๒๕๖๒), ๒๐๒-๒๐๔.
14 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐








๑๑.๓ การเบ่ยงเบนคด ในกรณีท่เก่ยวกับการส่งให้ชุมชนท่เหมาะสม หรือมีการให้บริการอ่นน้น
ควรได้รับความยินยอมจากเด็กและเยาวชน หรือบิดามารดา หรือผู้ปกครอง โดยมีข้อแม้ว่าการตัดสินใจส่งให้ชุมชนน ้ ี
จะต้องได้รับการพิจารณาจากผู้มีอ�านาจ ก่อนมีการปฏิบัติ
๑๑.๔ เพื่อความสะดวกในการใช้ดุลพินิจกับคดีของเด็กและเยาวชน ควรจัดให้มีโครงการต่าง ๆ ใน
ชุมชน เช่น การสอดส่องและให้ค�าแนะน�าเป็นครั้งคราว การชดใช้ความเสียหาย และการเยียวยาให้แก่เหยื่อผู้เคราะห์ร้าย


ข้อ ๑๒ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในงานของต�ารวจ




๑๒.๑ ตารวจซ่งทางานกับเด็กและเยาวชนหรือได้รับมอบหมายเป็นพิเศษให้ทางานกับเดกและเยาวชน


หรือเป็นผู้มีหน้าท่หลักด้านป้องกันอาชญากรรมเก่ยวแก่เด็กและเยาวชนควรได้รับการสอนหรือฝึกอบรมพิเศษเพ่อให้




ทาหน้าท่ของตนได้อย่างสมบูรณ์ท่สุดและในเมืองใหญ่ ๆ ควรได้จัดต้งหน่วยตารวจพิเศษเพ่อทางานตามวัตถุประสงค์





ดังกล่าว
ข้อ ๑๔ ผู้มีอ�านาจในการพิจารณาพิพากษา
๑๔.๑ ในกรณีที่ไม่มีการเบี่ยงเบนคดีของผู้กระท�าความผิดที่เป็นเด็กและเยาวชน (ภายใต้กฎข้อ ๑๑)
เธอหรือเขาจะต้องถูกด�าเนินการโดยหน่วยงานที่มีอ�านาจ (ศาล คณะกรรมการสภา ฯลฯ) ตามหลักการของความยุติธรรม
และเที่ยงธรรม


๑๔.๒ การดาเนินคดีจะต้องเอ้อต่อประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชนและจะต้องดาเนินการใน

บรรยากาศของความเข้าใจซึ่งจะท�าให้เยาวชนมีส่วนร่วมในนั้นและแสดงตัวตนได้อย่างอิสระ

๒.๑.๓ ยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็ก
ในด้านป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ๒


ประเทศไทยได้มีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้มีการยกร่างมาตรฐานสหประชาชาติฉบับใหม่ล่าสุดด้านการ
คุ้มครองเด็กทุกกลุ่มจากความรุนแรงทุกรูปแบบ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติของสหประชาชาต ิ
ว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (United

Nations Model Strategies and Practical Measures on the Elimination of Violence against Children in
the Field of Crime Prevention and Criminal Justice - ซึ่งต่อไปจะเรียกโดยย่อว่า ยุทธศาสตร์ต้นแบบ UN EVAC)








จนได้รับการรับรองจากท่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติสมัยท ๖๙ เม่อวันท ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ ท้งน ด้วย


พระวิสัยทัศน์และพระกรุณาธิคุณในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา (พระอิสริยยศในขณะน้น) ท่ทรงเห็น





ความสาคญของปัญหาดงกล่าว และได้ทรงทุ่มเทเข้าร่วมกระบวนการเจรจา เพ่อยกร่างเอกสารดังกล่าวอย่างต่อเนอง





มาต้งแต่ต้น ส่งผลให้ยุทธศาสตร์ต้นแบบ UN EVAC เป็นท่ยอมรับว่าเป็นกรอบอ้างอิงท่เป็นประโยชน์สาหรับนานาประเทศ


ในการนาไปปรับใช้เป็นต้นแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและพัฒนากระบวนการยุติธรรม

ส�าหรับเด็กในประเทศของตน
๒ สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ, โครงการจัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายส�าหรับประเทศไทยในการอนุวัตยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติ
ของสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, ๑๐.
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 15

การเบี่ยงเบนคดีออกจากการใช้มาตรการทางอาญา (Diversion) ๓




ตามกฎแห่งกรุงปักก่ง (The Beijing Rules) ข้อ ๑๑.๑ ได้กาหนดว่า ในกรณีท่สมควรอาจมีการจัดการกับ








ผู้กระทาผิดท่เป็นเด็กและเยาวชนโดยวิธีการอ่นท่เหมาะสมซ่งไม่ต้องนาเด็กและเยาวชนน้นไปดาเนินการตามกระบวนการ




ยุติธรรมทางอาญาในรูปแบบปกต ในข้อ ๑๔.๑ ข้อ ๑๑.๒ เจ้าพนักงานตารวจ พนักงานอัยการ หรือหน่วยงานอ่นท่มีอานาจ

หน้าท่เก่ยวข้องกับคดีเด็กและเยาวชนอาจจัดการกับคดีเด็กและเยาวชนโดยใช้ดุลยพินิจ ไม่ต้องนาเอาเด็กและเยาวชน







ท่กระทาความผิดน้นไปดาเนินคดีอาญา ท้งน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของระบบกฎหมายในประเทศน้น ๆ และโดยให้





สอดคล้องกับกฎมาตรฐานฉบับน ข้อ ๑๑.๓ การนาเอาผู้กระทาผิดท่เป็นเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรม




ทางอาญา โดยใช้มาตรการอื่น ๆ อันได้แก่ การแก้ไขปัญหาโดยชุมชนหรือโดยหน่วยงานอื่น ๆ แทนนั้น จ�าเป็นจะต้องได้
รับความยินยอมจากเด็กและเยาวชนหรือพ่อแม่หรือผู้ปกครองของเด็กและเยาวชนนั้น ค�าสั่งหรือค�าวินิจฉัยใด ๆ เกี่ยวกับ








การน้อาจถูกทบทวนหรือตรวจสอบได้โดยองค์กรท่มีอานาจหน้าท่ในกรณีท่มีคาร้องขอให้ทบทวนคาส่งหรือคาวินิจฉัย










เช่นว่าน้น สาหรับการเบยงเบนคดออกจากการใช้มาตรการทางอาญาตงแต่เร่มต้นและโดยไม่ใช้มาตรการบังคับอน


เป็นการปฏบัติท่พึงปรารถนาโดยเฉพาะกรณความผิดทไม่ร้ายแรงซงครอบครว โรงเรียน และองค์กรทางสังคมซ่งเป็น










รูปแบบท่ไม่เป็นทางการได้แก้ไขปัญหาน้นแทนแล้ว หรืออยู่ในฐานะท่เหมาะสมและสามารถดาเนินการได้ผลดีกว่า ซ่งในข้อ



๑๑.๒ ข้างต้นการเบ่ยงเบนคดีออกจากการใช้มาตรการทางอาญา อาจนามาใช้ในช่วงเวลาใด ๆ ของการวินิจฉัยดาเนินการ



ของเจ้าพนักงานต�ารวจ พนักงานอัยการ หรือหน่วยงานอื่น เช่น ศาล คณะกรรมการหรือสภาก็ได้ โดยอาจเป็นการใช้








โดยองค์กรเดยวหรอหลายองค์กรตามแต่หลกเกณฑ์และนโยบายของระบบทยอมรบกนนน และโดยสอดคล้องกบ


กฎมาตรฐานโดยไม่จ�าเป็นว่าจะต้องจ�ากัดให้ใช้เฉพาะคดีเล็ก ๆ น้อย ๆ เท่านั้น ดังนั้น การเบี่ยงเบนคดีออกจากการใช้






มาตรการทางอาญาจึงเป็นวิธีการท่มีความสาคัญ และข้อ ๑๒.๑ กาหนดว่า เพ่อให้การดาเนินภารกิจเป็นไปอย่างดีท่สุด




เจ้าพนักงานตารวจท่มีหน้าท่ต้องเก่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนอยู่เสมอหรือโดยเฉพาะหรือเจ้าพนักงานตารวจท่มีหน้าท ่ ี



หลักในการป้องกันการกระทาความผิดของเด็กและเยาวชนพึงได้รับการฝึกอบรมและมีความรู้เป็นพิเศษในการปฏิบัต ิ

ต่อเด็กและเยาวชนน้น ในกรณีท่เป็นมหานครควรมีการจัดต้งหน่วยงานพิเศษของสานักงานตารวจแห่งชาติเพ่อ





ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนโดยเฉพาะตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวด้วย

การเบี่ยงเบนคดีในประเทศสหรัฐอเมริกา ๔
การดาเนินคดีอาญากับเด็กและเยาวชนท่กระทาความผิดในประเทศสหรัฐอเมริกาเปล่ยนแปลงไปในทิศทาง




ที่ว่า การด�าเนินคดีเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาแบบปกติ หรือการด�าเนินคดีในชั้นศาลนั้น นอกจาก

ก่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความหวาดกลัวแล้ว ยังไม่ป้องกันการกระทาความผิดซาของเด็กเยาวชนด้วย ประเทศ


สหรัฐอเมริกาจึงมีแนวความคิดในการเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรม โดยให้ชุมชนหรือครอบครัว

ของเด็กเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระท�าความผิดที่เรียกว่า Diversion โดยการเบี่ยงเบน

เด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมน้น ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบท้งในข้นตอนก่อนดาเนินคดีในช้นศาล




และหลังจากด�าเนินคดีในชั้นศาล
๓ สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ, โครงการจัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายส�าหรับประเทศไทยในการอนุวัตยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติ
ของสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการป้องกันอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา, ๒๕-๒๖.


๔ ปารณ มงคลศิริภัทรา, แนวทางในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีตามมาตรา ๙๐ และมาตรการแทนการพิพากษาคด ี
ตามมาตรา ๑๓๒ แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓, เอกสารวิชาการ




ส่วนบุคคลน้เป็นส่วนหน่งของการอบรมหลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นท ๒๓” วิทยาลัยการยุติธรรม สานักงาน

ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๑, ๑๖-๑๗.
16 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

(๑) การเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชนที่กระท�าความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมก่อนชั้นศาล







เม่อเด็กและเยาวชนกระทาความผิดและถูกเจ้าพนักงานตารวจจับกุมตัวเพ่อดาเนินคด เจ้าพนักงานตารวจก ็




จะสอบปากคาเด็กและเยาวชนดังกล่าว หากเด็กและเยาวชนดงกล่าวให้การรับสารภาพ เป็นกรณีการกระทาความผิด



ไม่ร้ายแรง เจ้าพนักงานตารวจอาจใช้ดุลพินิจไม่ส่งเด็กและเยาวชนท่กระทาความผิดดังกล่าวไปดาเนินคดีท่ศาล แต่







เจ้าพนักงานตารวจอาจนาเด็กและเยาวชนเข้ารับการประเมินปัจจัยต่าง ๆ เพ่อกาหนดโปรแกรมแก้ไขบาบัดฟื้นฟ แล้ว

ปล่อยตัวเด็กและเยาวชนให้ปฏิบัติตามโปรแกรมโดยมีผู้ดูแลโปรแกรมเป็นคนคอยสอดส่องดูแล หากเด็กและเยาวชน
สามารถปฏิบัติตามโปรแกรมได้ครบถ้วน ถือว่าคดีดังกล่าวยุติไป เด็กและเยาวชนดังกล่าวก็จะไม่เคยปรากฏประวัติว่าเคย


ถูกจับกุมดาเนินคดีมาก่อน แต่หากไม่สามารถปฏิบัติตามโปรแกรมได้ครบถ้วน เจ้าพนักงานตารวจก็อาจนาตัวและเยาวชน

กลับไปดาเนินการตามระบบปกติต่อไป หรืออาจทดลองใช้วิธีการเบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนวิธีการอ่นก็ได้ นอกจากน้น







หากเป็นกรณีท่เด็กและเยาวชนท่กระทาความผิดแล้วถูกควบคุมตัวในสถานพินิจ เด็กและเยาวชนพบกับพนักงาน


คุมประพฤต แล้วพนักงานคุมประพฤติเห็นว่าเด็กและเยาวชนมีโอกาสแก้ไขบาบัดฟื้นฟูได้ พนักงานคุมประพฤติอาจ

กาหนดแผนให้เด็กและเยาวชนดังกล่าวปฏิบัติตาม หากเด็กหรือเยาวชนปฏิบัติตามแผนดังกล่าวครบถ้วน ก็จะยุติการ
ดาเนินคดีกับเด็กและเยาวชนดังกล่าว แต่หากไม่สามารถปฏิบัติตามแผนได้ก็จะนาตัวเด็กและเยาวชนดังกล่าวส่งฟ้อง


ต่อศาลต่อไป
(๒) การเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชนที่กระท�าความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล




นอกจากการเบ่ยงเบนคดีก่อนท่จะนาตัวเด็กและเยาวชนมาฟ้องต่อศาลยังมีกระบวนการเบ่ยงเบนเด็กและ

เยาวชนออกจากกระบวนการในช้นศาล ท้งในระหว่างท่ศาลดาเนินคดีอยู่หรือหลังจากท่ศาลพิจารณาคดีเสร็จส้นแล้ว






โดยหลังจากท่มีการย่นฟ้องคดีต่อศาลแล้ว หากเด็กและเยาวชนดังกล่าวยอมรับในการกระทาความผิด พนักงานอัยการ











หรอผ้พพากษาอาจส่งเดกและเยาวชนดงกล่าวเข้าโปรแกรมแก้ไขบาบดฟื้นฟ ซงหากเดกและเยาวชนดงกล่าวสามารถ








ปฏิบตตามโปรแกรมได้ครบถ้วนกจะยติการดาเนินคด นอกจากนนแม้เดกและเยาวชนถกดาเนินคดีในช้นศาลแบบปกตแล้ว








หากศาลไม่ต้องการควบคุมตัวเด็กและเยาวชนไว้ ศาลก็อาจมีคาส่งให้เด็กและเยาวชนปฏิบัติตามแผนท่ศาลกาหนดข้น





หรือให้เด็กและเยาวชนเข้าโปรแกรมอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ศาลเห็นสมควรก็ได้
(๓) รูปแบบการเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรม

ในประเทศสหรัฐอเมริกาน้น มีรูปแบบท่เบ่ยงเบนเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมหลายรูปแบบ


โดยมีทั้งรูปแบบที่รัฐเป็นคนจัดท�าขึ้น และรูปแบบที่เอกชนเป็นคนจัดท�าขึ้น โดยแต่ละรูปแบบก็จะมีลักษณะการด�าเนิน


การท่เหมาะสมกับเด็กและเยาวชนแตกต่างกันออกไป ดังน้น การท่จะมีคาส่งให้เด็กและเยาวชนเข้าปฏิบัติตามรูปแบบ



ใดน้นก็ต้องมีการประเมินปัจจัยต่าง ๆ เช่น สาเหตุของการกระทาความผิด ความต้องการของเด็กและเยาวชน ปัญหา










ของเด็กและเยาวชน เป้าหมายในการแก้ไขบาบดฟื้นฟ หรือบุคคลท่ต้องการให้เข้ามามส่วนเกยวข้องในการแก้ไขบาบด

ฟื้นฟู ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะเป็นตัวก�าหนดว่าเด็กและเยาวชนที่กระท�าความผิดควรเข้าร่วมโปรแกรมหรือแผนแบบใด



จึงเหมาะสมเพ่อให้การแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนประสบความสาเร็จ โดยรูปแบบการเบ่ยงเบนคดีท่พบในประเทศ


สหรัฐอเมริกาหลายประเภท เช่น ศาลยุวชน (Teen Court), การท�างานบริการสังคม (Community Service), การมี
ส่วนร่วมของชุมชน (Community Involvement) และกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restrorative Justice (RJ))
๒.๑.๔. แนวความคิดเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice (RJ))

แนวความคิดในเร่องความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์เป็นทฤษฎีเก่ยวกับความยุติธรรมท่เน้นการจัดการให้ผู้ได้


รบผลกระทบโดยตรงจากการกระทาความผดทางอาญา ซงได้แก่ผ้เสยหายหรอเหยอ ชมชน และผ้กระทาความผดได้















ร่วมมือกันในการจัดการและแก้ไขผลกระทบท่เกิดข้นจากการกระทาความผิด รวมท้งการฟื้นฟูหรือเยียวยาความสูญเสีย



คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 17








หรือความเสียหายท่เกิดข้นกับเหย่อ โดยมองว่าอาชญากรรมท่เกิดข้นส่งผลโดยตรงต่อเหย่อ ซ่งเป็นปัจเจกชนมากกว่า




เป็นความเสียหายท่เกิดข้นกับรัฐ เป็นแนวคิดงานด้านยติธรรมท่ถือได้ว่าเป็นการพัฒนาคร้งใหญ่ในด้านอาชญาวทยาและ


งานยุติธรรมซึ่งมีรากฐานมาจากการพัฒนาจากกระบวนการยุติธรรมที่เก่าแก่


๑) ความหมายของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ไม่มีการให้คานิยามไว้ แต่มีนักวิชาการได้ให้ทัศนะไว้
ดังนี้


นายสิทธิศักด วนะชกิจ อธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ได้ให้ความหมายของกระบวนยุติธรรม
เชิงสมานฉันท์ว่า เป็นกระบวนการหรือโอสถทิพย์ ท่ช่วยลบเลือน สมาน และเยียวยาบาดแผลท้งร่างกายและทางจิตใจ



ของคู่พิพาทให้ลบเลือนจางหาย เป็นเสมือนหน่งบาทวิถีหรือถนนท่ทอดไปสู่การถักทอความสัมพันธภาพท้งสองฝ่าย


ให้ฟื้นกลับคืนสู่ความเป็นปกติดังเดิมหรือดีขึ้นกว่าเดิม เป็นการคืนคุณค่า ศักดิ์ศรี ความภาคภูมิใจ และความเป็นมนุษย์






ของผู้เสียหาย ผู้เสียหายจะมีนาหนักมาก และเป็นกระบวนการสร้างสานึกท่ด สร้างความรับผิดชอบของผู้กระทาผิดท่มีต่อ









ผ้เสยหายและสงคมชุมชนให้กลบคนมา โดยมเป้าหมายให้ผู้กระทาความผิดไม่กระทาความผิดซาเพอนาความสงบสุข





สมานฉันท์อบอุ่นร่มเย็นกลับคืนสู่คู่กรณีทุกฝ่ายและสังคมชุมชนอย่างยั่งยืน ๕

ในทัศนะของซูซาน Susan Sharp ๖
กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์เป็นแนวความคิดท่มีรากฐานแตกต่างจากการอานวยความยุติธรรมเชิง














แก้แค้นทดแทนโดยมุ่งให้ความสาคัญกบส่งทจาเป็นต้องได้รบการเยยวยา (สาหรับเหย่อ) ส่วนท่ควรปรบปรุง (สาหรับ








ผู้กระทาผิด) และส่งท่ควรเรียนรู้เม่อมีอาชญากรรมเกิดข้นในสังคม (สาหรับชุมชน) แนวความคิดน้ทาให้เหย่อเป็นศูนย์กลาง






ของการให้การนิยามเก่ยวกับอันตรายและการชดเชยเยียวยา กล่าวคือ เหย่อเป็นผู้กาหนดว่าอันตรายท่จะได้รับคืออะไร
และการใช้ยาที่เหมาะสมส�าหรับตนจะมีขนาดเท่าใด ขณะที่ชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียกร้องความ


รับผิดชอบจากผู้กระทาความผิด ให้การสนับสนุนอาชญากรรม และประกันโอกาสในการแก้ไขฟื้นฟูตนเองของผู้กระทา
ความผิด

ในทัศนะของนัทธ จิตสว่าง กล่าวว่า ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์เป็นการมองว่าอาชญากรรมก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อบุคคล ซ่งจะเป็นการเยียวยาความเสียหาย โดยผู้กระทาความผิดควรรับผิดชอบโดยตรง และมีชุมชนเข้ามา


มีส่วนรับผิดชอบ
ฐิติยา เพชรมุนี และปัทมาวดี ปัทมโรจน์ ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ หมายถึง ความยุติธรรมแนวสันติ เป็น



รูปแบบและกระบวนการการแก้ไขอาชญากรรมและการกระทาความผิดท้งในระบบและนอกระบบ ท่ทุกฝ่ายต้องมีส่วนร่วม
และรับผิดชอบในการเยียวยาสิทธิ การไกล่เกลี่ย และท�าให้ทุกฝ่ายเกิดความมั่นใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม
อังคณา บุญสิทธ ได้สรุปถึงคติธรรมทางสมานฉันท์ คือ กระบวนการท่คู่ความ (ผู้กระทาความผิดและเหย่อ)





และชุมชนเป็นตัวการหลักในการร่วมกันแก้ไขปัญหาโดยดูว่าจะต้องทาอย่างไรกับผลท่เกิดข้นจากอาชญากรรมและ



ด�าเนินการต่อไปในอนาคต เป็นการสร้างสัมพันธ์เชิงบวกมากกว่าการลงโทษเพื่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน





๕ สิทธิศักด วนะชกิจ, ส่วนหน่งของบทสัมภาษณ์เพ่อการศึกษาวิจัยกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในประเทศไทย, สถาบันเพ่อการ
ยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน), ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓.

๖ ปารณ มงคลศิริภัทรา, แนวทางในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีตามมาตรา ๙๐ และมาตรการแทนการพิพากษาคดีตาม

มาตรา ๑๓๒ แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓, เอกสารวิชาการ

ส่วนบุคคลน้เป็นส่วนหน่งของการอบรมหลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นท ๒๓” วิทยาลัยการยุติธรรม สานักงาน




ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๑, ๒๑.
18 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

๒) กระบวนทัศน์ของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (RJ) ๗



Zehr อธิบายกระบวนทัศน์ RJ ว่า กระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้ทาร้ายและละเลยต่อความต้องการท้ง
ของผู้เสียหายและผู้กระท�าผิด ความยุติธรรม คือ การประณาม หยามเหยียดผู้กระท�าผิด ให้ความหมายของค�าว่า “guilt”











แคบมาก เพราะให้ผ้กระทาผดแสดงความรบผดชอบในการกระทาของเขาด้วยการลงโทษตามทกฎหมายบญญตไว้

การลงโทษเป็นตัวช้วัดความยุติธรรมตามกฎหมาย ประสิทธิภาพของการลงโทษควรให้ความสาคัญกับการลดอาชญากรรม

และการสร้างสันติสุขให้สังคม ค�าว่า “Restore” แปลว่า ฟื้นฟู ท�าให้ดีดังเดิม หรือใกล้เคียงกับของเดิมมากที่สุด เหตุที่
เรียกว่า RJ เพราะ “อาชญากรรมเป็นการท�าลายสัมพันธภาพระหว่างบุคคล” ท�าให้คนไม่รัก ไม่ชอบกัน ไม่ไว้วางใจกัน
หวาดระแวงกัน RJ จึงเป็นความยุติธรรมเพื่อ restore relationship คือ การท�าให้ความสัมพันธ์ของบุคคลที่เสียหายไป
เพราะอาชญากรรมได้กลับคืนมาให้ดีดังเดิม หรือดีใกล้เคียงกับของเดิมมากที่สุด เพื่อให้ผู้คนสามารถอยู่ร่วมกันในสังคม
เดียวกันได้อย่างสันติ
การให้ความหมายของความยุติธรรมให้ดูท่ความต้องการและการปฏิบัติตามพันธสัญญา การชดใช้ความ

เสียหาย คือ การกระท�าสิ่งที่ดี สิ่งที่ถูกต้องให้มากที่สุดหรือดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ความยุติธรรมจึงแตกต่างกันไปตาม
มุมมองของแต่ละคน
RJ ให้ความส�าคัญแก่ผู้เสียหายมากที่สุด ดังนั้น ผู้เสียหายจึงมีสิทธิที่จะบอกว่าความยุติธรรมในความหมายหรือ

ความต้องการของตนคืออะไร อย่างไร ต้องการให้ผู้กระท�าผิดชดเชยเยียวยาความเสียหายที่ตนได้รับอย่างไร
การชดใช้ความเสียหายทาได้ด้วยการกระทาใด ๆ ท่เกิดจากการเห็นพ้องและตกลงร่วมกันระหว่างผู้เสียหาย



และผู้กระท�าผิด เช่น กล่าวค�าขอโทษ ขออภัย ชดใช้เงิน การท�างานบริการผู้เสียหายหรือชุมชน

๓) ข้อตกลงในการชดใช้ความเสียหาย

(๑) จะต้องเป็นการกระท�าในสิ่งที่ดีสิ่งที่ถูกต้อง
(๒) ไม่ขัดต่อบรรทัดฐานของสังคมหรือศีลธรรม

(๓) อยู่ในวิสัยที่ผู้กระท�าความผิดสามารถท�าได้จริง
การได้มาซ่งความยุติธรรมในกระบวนทัศน์ของความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ต้องผ่านกระบวนการท่ให้ผู้เสียหายและ



ฝ่ายผู้เสียหาย (Victim’s Network) กับผู้กระทาผิดและฝ่ายผู้กระทาความผิด (Offender’s Network) มาพูดคุยกันและทา


ข้อตกลงร่วมกัน
“สมานฉันท์” หมายถึง ความพอใจร่วมกัน ดังนั้น ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์จึงหมายความถึง ความยุติธรรม
ที่ได้มาจากความเห็นพ้องต้องกัน ความพอใจร่วมกัน


๔) วัตถุประสงค์ของความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ๘
(๑) ให้ความสนใจต่อความต้องการที่จ�าเป็นของผู้เสียหายทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ การเงิน อารมณ์ สังคม

(๒) ป้องกันการกระท�าผิดซ�้าโดยการบูรณาการผู้กระท�าผิดกับชุมชน
(๓) ตั้งสมมติฐานว่าผู้กระท�าผิดสามารถรับผิดชอบการกระท�าของตนเองได้







๗ สุริยนต์ โสตถิทัต, การประชุมเพื่อจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูหลังฟ้องคดี (ตามมาตรา ๙๐) แบบเน้นกระบวนวิธียุติธรรมเชิงสมานฉันท์
(Restrorative Justice), ๔.
๘ เรื่องเดียวกัน, ๕-๖.





คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 19

(๔) เสริมสร้างการท�างานของชุมชนที่ให้การสนับสนุนในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�าและเหยื่อ/ผู้เสียหาย และ

มีกิจกรรมเพื่อป้องกันอาชญากรรม





(๕) จัดหาวิธีการเพ่อเล่ยงการดาเนินคดีโดยผ่านกระบวนการยุติธรรมและการดาเนินการท่มีค่าใช้จ่าย
และล่าช้า


๕) สรุปความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ก็คือ แนวคิดหลักท่ให้คู่ความ (ผู้กระทาผิดและผู้เสียหาย) และชุมชนในกรณ ี


ท่ชุมชนเป็นผู้เสียหายทางอ้อมและ/หรือผู้กระทาผิดทางอ้อม เป็นตัวหลักในการร่วมกันแก้ไขปัญหาว่าจะทาอย่างไรกับผล





ท่เกิดข้นจากอาชญากรรมและการดาเนินการต่อไปในอนาคต เป็นการสร้างความสัมพันธ์เชิงบวกมากกว่าการลงโทษเพ่อให้


เกิดความทุกข์ทรมาน อีกท้งเป็นความรู้ชุดใหม่ท่ให้ความหมายหรือคาจากัดความของคาว่า “ความยุติธรรม” อาชญากรรม



ผู้เสียหาย ผู้กระทาผิด ฯลฯ โดยมีรากฐานมาจากแนวคิดทางศาสนา วัฒนธรรมของชนเผ่า และการต้งคาถามกับกระบวนการ




















ยตธรรมเชงสมานฉนท์ทเราค้นเคย หลกความยตธรรมเชงสมานฉนท์ให้ความสาคญอย่างยงต่อความเสมอภาค ศกดศร ี


ของความเป็นมนุษย์ และความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่พึงมีต่อกัน
จากแนวความคิดดังกล่าวข้างต้น ผู้ประสานการประชุมในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์จึงมีหน้าที่ส�าคัญ




ในการควบคมดแลกระบวนการประชมระหว่างผ้เสียหายและผ้กระทาความผดดาเนินไปได้โดยการมส่วนร่วมของทกฝ่าย






ตามหลักการและแนวความคิดข้างต้นให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ก่อนการประชุมจะต้องมั่นใจว่าทั้งสองฝ่ายมีความ
พร้อมที่จะเผชิญหน้าเพื่อพูดคุยไปสู่เป้าหมายเพื่อหาทางออกและข้อตกลงร่วมกัน ทุกฝ่ายต้องเข้าใจวิธีการ กระบวนการ


เป้าหมาย และประโยชน์ท่จะพึงได้รับจากการประชุม รวมท้งกฎกติกาการประชุม โดยเฉพาะการรักษาความลับและ
ความปลอดภัยของทุกฝ่ายเป็นสาคัญ ในตอนเร่มต้นและระหว่างประชุมผู้ประสานการประชุมไม่ควรท่จะรีบเสนอแนะ




หรือช้นาให้แต่ละฝ่ายต้องทาตามอย่างทตนเองต้องการ ควรปล่อยให้มีการพูดคุยตามบทบาทและหน้าท่ท่แต่ละฝ่าย



















พงกระทา ซงจะตองแจงใหทราบตงแตการเตรยมความพรอมของคความหรอกอนการประชมแลว มฉะนน อาจถกกลาวหา











ว่าลาเอียง มีอคต หรือเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหน่งก็ได้ กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์เช่นน้จึงจะสมบูรณ์แบบตาม



แนวความคิดและหลักการอย่างแท้จริง
20 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

บทที่ ๓ ก่อนฟ้องคดี (มาตรา ๘๖ ถึงมาตรา ๘๙)
มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา













พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๘๖




ถึงมาตรา ๘๙ เป็นมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาก่อนฟ้องคด โดยกาหนดให้ผู้อานวยการสถานพินิจฯ




เป็นผู้พิจารณานาคดีเข้าสู่กระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนท่ต้องหาว่ากระทาความผิด ซ่งแผน





แก้ไขบาบัดฟื้นฟูต้องได้รับความเห็นชอบจากพนักงานอัยการ เม่อพนักงานอัยการให้ความเห็นชอบต่อแผนแก้ไขบาบัด



ฟื้นฟูท่ผู้อานวยการสถานพินิจฯ เสนอ ให้ผู้อานวยการสถานพินิจฯ รายงานพร้อมเสนอสาเนาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู


ต่อศาลท่มีเขตอานาจโดยเร็วตามข้อกาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยแนวทางการพิจารณากระบวนการจัดทาแผน




แก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูชั้นก่อนฟ้องคดี พ.ศ. ๒๕๕๗ ข้อ ๔

๓.๑ หลักเกณฑ์ในการใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา ๘๖



(๑) คดีท่เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผิดอาญามีอัตราโทษอย่างสูงตามท่กฎหมายกาหนดไว้


ให้จ�าคุกไม่เกินห้าปี ไม่ว่าจะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม





(๒) เดกหรอเยาวชนไม่เคยได้รบโทษจาคกโดยคาพพากษาถงทสด เว้นแต่เป็นโทษสาหรบความผดทได้











กระท�าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๓) เด็กหรือเยาวชนส�านึกในการกระท�าก่อนฟ้องคดี
(๔) ผู้อานวยการสถานพินิจฯ เห็นว่าเด็กหรือเยาวชนน้นอาจกลับตนเป็นคนดีได้โดยไม่ต้องฟ้อง เม่อคานึงถึง







อาย ประวัต ความประพฤต สติปัญญา การศึกษาอบรม สภาพร่างกาย สภาพจิต อาชพ ฐานะ และเหตุแห่งการ

กระท�าความผิดแล้ว
(๕) การจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต้องได้รับความยินยอมจากเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหายด้วยหากคดีน้น



เป็นคดีที่มีผู้เสียหาย






มาตรา ๘๖ มการแก้ไขเพมเตมโดยพระราชบัญญัตศาลเยาวชนและครอบครวและวิธพิจารณาคดีเยาวชน

และครอบครัว (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ กฎหมายที่แก้ไขใหม่นี้ใช้ค�าว่า “ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เสียหาย หากคดีนั้น
เป็นคดีที่มีผู้เสียหาย” ดังนั้น คดีที่รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหาย เช่น ความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ สามารถใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา
๘๖ ได้ แต่หากเป็นคดีที่มีผู้เสียหายหากจะใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา ๘๖ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เสียหาย

๓.๒ ขั้นตอนการด�าเนินการของศาล

๑) เมื่อศาลได้รับรายงานจากสถานพินิจฯ ในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
ให้เรียกเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหายมาสอบถาม ทั้งนี้ ศาลต้องพิจารณาและมีค�าสั่งภายใน ๓๐ วัน นับแต่วัน


ได้รับรายงานตามมาตรา ๘๖ วรรคท้าย ดังน้น หากผู้อานวยการสถานพินิจฯ หรือผู้แทนนาตัวเด็กหรือเยาวชนและ

คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 21











ผ้เสียหายมาศาลเพอสอบถามในวันเดียวกบวันเสนอรายงานแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟกให้เรียกผู้อานวยการสถานพินจฯ
หรือผู้แทน เด็กหรือเยาวชน และผู้เสียหาย เข้าห้องพิจารณาเพื่อสอบในวันดังกล่าว หากผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ หรือ
ผู้แทนมีเหตุขัดข้องไม่ได้น�าตัวเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหายมาศาลในวันดังกล่าวได้ ให้ศาลมีค�าสั่งให้นัดพิจารณาโดยเร็ว
และให้ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ หรือผู้แทนน�าตัวเด็กและเยาวชนและผู้เสียหายมาศาลในวันนัดพิจารณา


ในการพิจารณากระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูศาลอาจเรียกผู้อานวยการสถานพินิจฯ พนักงาน





สอบสวน พนักงานอัยการ หรือบุคคลอ่นท่เก่ยวข้องมาสอบถามหรือมีคาส่งให้ส่งเอกสารท่เก่ยวข้องต่อศาลเพ่อ





ประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้ตามข้อกาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยแนวทางการพิจารณากระบวนการจัดทา

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูชั้นก่อนฟ้องคดี พ.ศ. ๒๕๕๗ ข้อ ๖
ตัวอย่างค�าสั่งกรณีเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหายมาศาลในวันเสนอรายงานแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
“เรียกผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ หรือผู้แทน ผู้ต้องหา พนักงานสอบสวน และผู้เสียหาย เข้าห้องพิจารณาเพื่อ
สอบถาม”

ตัวอย่างกรณีเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหายไม่มาศาลในวันเสนอรายงานแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู

“นัดพิจารณา (ควรนัดโดยเร็วโดยคานึงถึงระยะเวลาตามมาตรา ๘๖ วรรคท้าย) ให้ผู้อานวยการสถานพินิจฯ

หรือผู้แทนนาผู้ต้องหา พนักงานสอบสวน และผู้เสียหายมาศาลในวันนัดเพ่อสอบถาม/นัดพิจารณา หมายเรียกผู้ต้องหา


พนักงานสอบสวน และผู้เสียหายมาศาลในวันนัดเพื่อสอบถาม”

๒) ผลของการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟู


เม่อได้รับรายงานแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ แสดงว่าพนักงานอัยการเห็นชอบกับแผนดังกล่าวตามมาตรา ๘๖

วรรคสอง ให้ดาเนินการตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูทันท ดังน้น เม่อได้รับรายงานย่อมถือว่าอยู่ในระหว่างการปฏิบัติตาม





แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการต้องงดการสอบปากคาหรือดาเนินการใด ๆ กับเด็กและ




เยาวชนซึ่งต้องหาว่ากระท�าความผิดไว้ก่อนตามมาตรา ๘๙ ดังนั้น ให้ศาลมีค�าสั่งยุติการผัดฟ้อง (กรณียังเหลือระยะเวลา
การผัดฟ้องอยู่) หมายปล่อย (กรณีควบคุมไว้ในสถานพินิจฯ) ตรวจคืนหลักประกัน (กรณีปล่อยช่วคราว) แล้วแต่กรณ ี






และแจ้งพนักงานสอบสวนและผู้ต้องหาทราบ ท้งน เม่อมีการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๘๖ แล้ว กรณีน ้ ี



ย่อมถือว่าไม่มีความจาเป็นจะต้องให้เด็กและเยาวชนไปพบผู้ให้คาปรึกษาตามมาตรา ๗๓ วรรคท้ายอีก จึงให้ยุติการให้
ค�าปรึกษาของศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ ด้วย

๓) แนวทางพิจารณากระบวนการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟู
ศาลต้องพิจารณากระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูว่าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ โดยพิจารณาตาม




หลักเกณฑ์ในมาตรา ๘๖ และข้อกาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยแนวทางการพิจารณากระบวนการจัดทาแผน
แก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูชั้นก่อนฟ้องคดี พ.ศ. ๒๕๕๗ ข้อ ๕ ดังนี้

(๑) คดีท่เด็กหรือเยาวชนถูกกล่าวหาน้นมีอัตราโทษจาคุกอย่างสูงไม่เกินห้าปีไม่ว่าจะมีโทษปรับหรือไม่


กฎหมายให้ถือเอาอัตราโทษจ�าคุกเป็นเกณฑ์ ไม่ค�านึงถึงโทษปรับ

กรณีเป็นความผิดหลายกรรมต่างกันหรือกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ให้ถือข้อหาท่มีอัตราโทษสูงสุดเป็น
เกณฑ์คือ หากเป็นการกระทาความผิดหลายกรรม แต่ละกรรมความผิดต้องมีอัตราโทษจาคุกอย่างสูงไม่เกินห้าปีจึงจะจัด




ทาแผนได้ สาหรับการกระทากรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบทถ้าข้อหาท่มีโทษสูงสุดมีอัตราโทษจาคุกไม่เกินห้าปีทุกข้อหา



สามารถจัดท�าแผนได้
22 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐













(๒) เด็กหรอเยาวชนไมเคยได้รบโทษจาคกโดยคาพพากษาถงทสดให้จาคก เว้นแต่เป็นโทษสาหรบความผิด



ที่ได้กระท�าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๓) เด็กและเยาวชนส�านึกในการกระท�า
(๔) มีการน�าอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สภาพร่างกาย สภาพจิต อาชีพ ฐานะ
และเหตุแห่งการกระท�าความผิดมาพิจารณาแล้ว
(๕) ผู้เสียหายทุกคน (หากเป็นคดีท่มีผู้เสียหาย) และเด็กหรือเยาวชนเป็นรายบุคคลได้ให้ความยินยอม

ในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู



(๖) ในการประชุมเพ่อจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูอย่างน้อยต้องมีฝ่ายเด็กหรือเยาวชน ฝ่ายผู้เสียหาย
(หากเป็นคดีที่มีผู้เสียหาย) และนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์เข้าร่วมประชุมด้วย



(๗) มีการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูและเสนอแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูท่จัดทาแล้วเสร็จต่อพนักงาน


อัยการภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เด็กหรือเยาวชนส�านึกในการกระท�า


(๘) แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต้องไม่มีลักษณะเป็นการจากัดสิทธิหรือเสรีภาพของเด็กหรือเยาวชน เว้นแต่




เป็นการกาหนดข้นเพ่อประโยชน์ของเด็กหรือเยาวชนน้น หรือเพ่อคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ และต้องไม่มีลักษณะ

เป็นการละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของเด็กหรือเยาวชน



(๙) แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูท่กาหนดให้ทางานบริการสังคมหรือทางานสาธารณประโยชน์ต้องกาหนดเวลา



การท�างานไม่เกินสามสิบชั่วโมง

(๑๐) กาหนดระยะเวลาในการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต้องมีความเหมาะสม แต่ท้งน้ต้องไม่เกิน



หนึ่งปี
(๑๑) ผู้เสียหาย (หากเป็นคดีที่มีผู้เสียหาย) และเด็กหรือเยาวชนให้ความยินยอมที่จะปฏิบัติตามแผนแก้ไข
บ�าบัดฟื้นฟูแล้ว



(๑๒) ไม่มีกระบวนการหรือพฤติการณ์หรือข้อเท็จจริงอ่นใดท่จะเป็นเหตุให้กระบวนการจัดทาแผนแก้ไข
บ�าบัดฟื้นฟูนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย

๔) ศาลพิจารณาเห็นชอบกระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู




ให้ศาลมีคาส่งว่า กระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูชอบด้วยกฎหมาย พร้อมแจ้งคาส่งให้ผู้อานวยการ



สถานพินิจฯ และพนักงานอัยการทราบโดยเร็ว
ตัวอย่างค�าสั่ง “พิจารณาแล้วเห็นว่า กระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูชอบด้วยกฎหมาย แจ้งค�าสั่งให้
ผู้อานวยการสถานพินิจฯ และพนักงานอัยการทราบโดยเร็ว เน่องจากมีการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๘๖




จึงให้ยุติการผัดฟ้อง ยุติการให้คาปรึกษา/หมายปล่อย/ตรวจคืนหลักประกัน แจ้งพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ

และผู้ต้องหาทราบ”

๕) ศาลพิจารณาว่ากระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่อยู่ในวิสัยที่จะแก้ไขได้




ให้ศาลมีคาส่งว่ากระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยแจ้งคาส่งพร้อมเหตุผลให้





ผู้อานวยการสถานพินิจฯ ทราบเพ่อส่งคดีเข้าสู่การดาเนินคดีตามปกติต่อไป และแจ้งคาส่งให้พนักงานอัยการทราบโดยเร็ว


ตามข้อก�าหนดของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๘
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 23







ตัวอย่างคาสง “พิจารณาแล้วเห็นว่า ข้อหาท่เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผิดมีอัตราโทษจาคุก
อย่างสูงเกินห้าปี กระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย แจ้งค�าสั่งพร้อมเหตุผลให้ผู้อ�านวยการ
สถานพินิจฯ ทราบเพื่อส่งคดีเข้าสู่การด�าเนินคดีตามปกติต่อไป และแจ้งค�าสั่งให้พนักงานอัยการทราบโดยเร็ว”
“พิจารณาแล้วเห็นว่า ผู้เสียหายบางคนไม่ยินยอมในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ กระบวนการจัดทา







แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย แจ้งคาส่งพร้อมเหตุผลให้ผู้อานวยการสถานพินิจฯ ทราบเพ่อส่งคดีเข้าสู่


การด�าเนินคดีตามปกติต่อไป และแจ้งค�าสั่งให้พนักงานอัยการทราบโดยเร็ว”











อย่างไรกตาม หากเหตแห่งการไม่ชอบด้วยกฎหมายของกระบวนการจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟนนอย่ในวสย

ที่อาจแก้ไขได้ ทั้งเป็นประโยชน์แก่เด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหาย ให้ศาลสั่งตามที่เห็นสมควร แล้วแจ้งค�าสั่งพร้อมเหตุผล



ให้ผู้อานวยการสถานพินิจฯ ทราบและดาเนินการ และแจ้งคาส่งให้พนักงานอัยการทราบโดยเร็ว ตามข้อกาหนดของ


ประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๘




ตัวอย่างคาส่ง “พิจารณาแล้วเห็นว่า แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูท่กาหนดให้ผู้ต้องหาทางานบริการสังคมมีกาหนด



ระยะเวลาเกินกว่าสามสิบช่วโมงขัดต่อพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว







พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๘๗ วรรคสาม แต่เม่อผู้อานวยการสถานพินจฯ รบว่าจะแก้ไขปรบเปล่ยนช่วโมงการทางานบริการสังคม


ให้มีก�าหนดเวลาไม่เกินสามสิบชั่วโมง และจะประสานกับผู้เกี่ยวข้องต่าง ๆ โดยเร็ว ดังนั้น เพื่อประโยชน์แก่ผู้ต้องหาและ
เพื่อให้แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเป็นไปตามกฎหมาย กรณีจึงเห็นควรอนุญาตให้ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ ปรับปรุงแผนแก้ไข
บาบัดฟื้นฟูในส่วนช่วโมงการทางานบริการสังคมให้เป็นไปตามกฎหมายพร้อมแจ้งบุคคลท่เก่ยวข้องให้เล่อนไปนัดพิจารณา






กระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูวันที่................เวลา...........นาฬิกา แจ้งค�าสั่งให้พนักงานอัยการทราบโดยเร็ว”

๖) กรณีมีข้อสงสัยในกระบวนการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟู
ในการพิจารณาหลักเกณฑ์ตามข้อกาหนดของประธานศาลฎีกา หากมีข้อสงสัยหรือตามรายงานของสถาน



พินิจฯ ท่เสนอมายังไม่ชัดเจน ศาลมีอานาจออกหมายเรียกบุคคลท่เก่ยวข้องมาสอบถามหรือนัดไต่สวนบุคคลท่เก่ยวข้อง




ได้ ตามข้อก�าหนดประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๗










ตัวอย่างคาส่ง “ตามรายงานของสถานพนจฯ กรณมข้อสงสยในกระบวนการจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟ ู

เห็นควรให้นัดไต่สวนในวันที่.................. เวลา..........นาฬิกา ให้ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ หรือผู้แทนน�าผู้ต้องหา พนักงาน
สอบสวน ผู้เสียหาย ผู้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูมาศาลในวันนัด”


๗) กรณีศาลเห็นชอบในกระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูและต่อมาเด็กหรือเยาวชนปฏิบัติตามแผน

แก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูครบถ้วน
ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ จะรายงานให้พนักงานอัยการทราบ หากพนักงานอัยการเห็นชอบให้พนักงานอัยการ



ส่งไม่ฟ้องเด็กหรือเยาวชนน้น คาส่งของพนกงานอัยการเป็นทสุด และสิทธินาคดมาฟ้องเป็นอนระงับไป แต่ไม่ตัดสิทธ ิ







ผู้มีส่วนได้เสียที่จะด�าเนินคดีแพ่ง และให้ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ รายงานค�าสั่งไม่ฟ้องให้ศาลทราบ


24 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

ข้อสังเกต





ก. ในระหว่างเวลาจัดท�าและปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูมิให้นับเวลาระยะเวลาดังกล่าวรวมเข้าในก�าหนด
เวลาตามมาตรา ๗๘










ข. คาร้องและรายงานต่าง ๆ ทเสนอจากผ้อานวยการสถานพนจฯ หรอพนกงานอยการรวมไว้ในสานวน

ตรวจการจับหรือผัดฟ้อง
ค. ถ้าศาลไม่เห็นชอบกับแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ และพนักงานอัยการไม่มีสิทธิอุทธรณ์
ค�าสั่งศาลเนื่องจากเป็นอ�านาจเฉพาะของศาลชั้นต้น (เทียบเคียงค�าพิพากษาฎีกาที่ ๑๒๒๐/๒๕๕๗ และค�าพิพากษาฎีกา
ที่ ๑๒๒๓/๒๕๕๗)
ง. หากผู้มีหน้าท่ปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามแผน และผู้อานวยการสถานพินิจฯ



รายงานให้พนักงานอัยการทราบ และแจ้งให้พนักงานสอบสวนด�าเนินคดีต่อไปตามมาตรา ๘๘ วรรคหนึ่ง กรณีต้องถือว่า


เด็กและเยาวชนดังกล่าวไม่อยู่ในอานาจของศาล หากพนักงานอัยการจะย่นฟ้อง จะต้องนาตัวเด็กหรือเยาวชนมาศาล

พร้อมฟ้องด้วย (สารอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๐)






















































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 25

บทที่ ๔ มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา

หลังฟ้องคดี (มาตรา ๙๐ ถึงมาตรา ๙๔)











พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา

๙๐ ถึงมาตรา ๙๔ เป็นมาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาหลังฟ้องคดี โดยมีเจตนารมณ์เพื่อใช้เป็นวิธีการเบี่ยงเบน



คดีของเด็กและเยาวชนท่สานึกในการกระทาออกไปจากกระบวนการพิจารณาของศาลโดยเร็ว แล้วใช้วิธีการจัดทาแผน






แก้ไขบาบัดฟื้นฟูซ่งเกิดข้นจากมติร่วมกันของผู้ท่เก่ยวข้องทุกฝ่าย กล่าวคือ เด็กหรือเยาวชน ผู้ปกครอง และผู้เสียหาย
บางกรณีอาจรวมถึงผู้แทนชุมชนซึ่งได้รับผลกระทบจากการกระท�าความผิดของเด็กหรือเยาวชนดังกล่าว
ข้นตอนในการดาเนินการท่ต้องไปเก่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ศาลจาเป็นต้องปรับเปล่ยนทัศนคติในการปฏิบัต ิ










งานให้สอดคล้องกบเจตนารมณ์ของกฎหมายรวมถึงทาความเข้าใจในหลกเกณฑ์และกระบวนการใช้มาตรการพเศษแทน

การดาเนินคดีอาญาโดยละเอียด เพ่อท่จะสามารถใช้ดุลพินิจในแต่ละข้นตอนได้อย่างรอบคอบ รัดกุม และเป็นไปเพ่อ




ประโยชน์สูงสุดทั้งต่อเด็กและเยาวชน ผู้เสียหายและสังคมโดยรวมอย่างแท้จริง

วิธีด�าเนินการของศาลกรณีใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา ๙๐ สามารถแบ่งพิจารณาเป็น ๒ ส่วน คือ
๑. หลักเกณฑ์ในการใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา ๙๐
๒. ขั้นตอนการด�าเนินการของศาลตามมาตรการพิเศษ แบ่งเป็น ๕ ขั้นตอน
๒.๑ ขั้นตอนที่ศาลมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู






๒.๒ ข้นตอนหลังจากศาลมีคาส่งให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูและกระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู

๒.๓ ขั้นตอนการพิจารณาแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
๒.๔ ขั้นตอนหลังศาลมีค�าสั่งเห็นชอบกับแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
๒.๕ ขั้นตอนการพิจารณาผลของการด�าเนินการตามแผนการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู

๔.๑ หลักเกณฑ์ในการใช้มาตรการพิเศษตามมาตรา ๙๐







ในกรณีท่ศาลจะพิจารณามีคาส่งให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนน้นต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์
ของ พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ และข้อบังคับประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อนไขในการ


จัดท�าแผน แก้ไข บ�าบัดฟื้นฟูหลังฟ้องคดี พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๕ ดังต่อไปนี้




(๑) คดีท่เด็กหรือเยาวชนถูกฟ้องว่ากระทาความผิดซ่งมีอัตราโทษอย่างสูงตามท่กฎหมายกาหนดไว้ให้

จ�าคุกไม่เกินยี่สิบปี ไม่ว่าจะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม

กรณีเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน หรือกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท ให้ถือข้อหาท่มีอัตราโทษสูงสุด
เป็นเกณฑ์



๑ ข้อบังคับประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อนไขในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูหลังฟ้องคด พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ คือวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
26 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐







(๒) เด็กหรือเยาวชนไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่สุดให้จาคุกมาก่อน เว้นแต่ความผิดท่ได้กระทา
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๓) เด็กหรือเยาวชนส�านึกในการกระท�า
(๔) ผู้เสียหายยินยอมในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
(๕) โจทก์ไม่คัดค้าน
(๖) พฤติการณ์แห่งคดีไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อสังคมเกินสมควร

(๗) เด็กหรือเยาวชนมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนความประพฤติอาจกลับตนเป็นคนดีได้
(๘) มีแนวโน้มว่าผู้เสียหายจะได้รับการชดเชยเยียวยาตามสมควร

ในกรณีท่มีเด็กหรือเยาวชนหลายคนถูกฟ้องเป็นจาเลยในคดีเดียวกัน ให้พิจารณาหลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น

เป็นรายบุคคล



ข้อสังเกต
ข้อสังเกต


ก. สานึกในการกระทา หมายความว่า เด็กหรือเยาวชนตระหนักว่าการกระทาของตนก่อให้เกิดความเสียหาย











แก่ผู้อ่น เสียใจในการกระทา พร้อมท่จะแก้ไขปรับปรุงตนเอง ท้งน ไม่จาเป็นต้องรับสารภาพว่ากระทาความผิดตามท่ถูกฟ้อง
ข. การน�าวิธีการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ มาใช้แก่เด็กหรือเยาวชน สามารถกระท�าได้ไม่ว่า
เวลาใด ๆ ก่อนมีค�าพิพากษา (ข้อบังคับประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๖)
ค. เด็กหรือเยาวชนท่เคยเข้าสู่กระบวนการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๘๖ มาแล้วไม่ประสบผล



















สาเรจ หากต่อมามการฟ้องคดต่อศาลและศาลทพจารณาคดนนเหนว่าควรนาวธการจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟตาม



มาตรา ๙๐ มาใช้ ศาลจะสั่งให้ใช้วิธีการดังกล่าวอีกก็ได้ (ข้อบังคับประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๗)
ง. พฤติการณ์แห่งคดีไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อสังคมเกินสมควร ไม่พิจารณาอัตราโทษเพียงอย่างเดียว หากโทษ


จาคุกไม่เกิน ๒๐ ปี ต้องพิจารณาผลกระทบต่อสังคมโดยรวม และพฤติการณ์แห่งคดีของจาเลยมาประกอบด้วย หากม ี
ความเสียหายในวงจ�ากัด ไม่ถือว่าร้ายแรงเกินสมควร

จ. ไม่เคยได้รับโทษจาคุกจริงมาก่อน และโทษจาคุกจริงจะต้องเป็นโทษจากคาพิพากษาคดีถึงท่สุด มิใช่



จ�าคุกระหว่างอุทธรณ์ ฎีกา
ฉ. คดีที่รัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหายไม่สามารถใช้มาตรการมาตรา ๙๐ ได้


ช. คดีท่ต้องสืบพยานโจทก์ประกอบคารับสารภาพเป็นดุลยพินิจของศาลจะสืบพยานไว้ก่อนก็ได้ หากเห็นว่า
ยากต่อการติดตามพยานมาสืบพยานในภายหลังหากไม่สามารถปฏิบัติตามแผนได้ส�าเร็จ
๔.๒ ขั้นตอนการด�าเนินการของศาล

๔.๒.๑ ขั้นตอนที่ศาลมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู



เม่อศาลได้รับสานวนแล้วเห็นว่า คดีมีอัตราโทษอยู่ในหลักเกณฑ์ท่จะจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ให้ศาล





พิจารณาข้อเท็จจริงของเด็กหรือเยาวชนท่ปรากฏแก่ศาลเองจากรายงานข้อเท็จจริง และความเห็นของผู้อานวยการ
สถานพินิจฯ รายงานของศูนย์ให้ค�าปรึกษาแนะน�าฯ (หรือกลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา) หรือรายงาน


อ่น ๆ ท่เก่ยวข้องโดยละเอียด หากเห็นว่าเด็กหรือเยาวชนอาจกลับตนเป็นคนด ผู้เสียหายอาจได้รับการชดเชยเยียวยา


ตามสมควร และการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูจะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหายมากกว่า


การพิจารณาพิพากษาคดี ศาลอาจเริ่มกระบวนการที่จะมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูได้ในขั้นตอนต่อไปนี้
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 27





๑) การจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ สามารถทาได้ต้งแต่วันนัดสอบคาให้การ การนัดให้ผู้เสียหาย






มาศาลในวันนัดสอบคาให้การ อาจทาได้โดยขอข้อมูลเก่ยวกับท่อยู่ของผู้เสียหายจากพนักงานสอบสวนต้งแต่ช้น


ตรวจสอบการจับกุม หรือหากไม่มีข้อมูลผู้เสียหายในช้นตรวจสอบการจับกุมเม่อโจทก์นาคดีมาฟ้อง ให้พนักงานศาล


ขอข้อมูลเกี่ยวกับที่อยู่ของผู้เสียหายแล้วหมายแจ้งวันนัดสอบค�าให้การให้ผู้เสียหายมาศาลในวันดังกล่าวก็ได้
(๑) กรณีผู้เสียหายมาศาลในวันนัดสอบคาให้การ หากศาลเห็นว่าคดีของเด็กหรือเยาวชนสามารถจัด





ทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟตามมาตรา ๙๐ ได้ ให้ศาลสอบถามเด็กหรอเยาวชน เปิดโอกาสให้เด็กหรอเยาวชนพดหรอ







แสดงความรู้สึกต่อการกระทาของตน เม่อได้ความว่าเด็กหรือเยาวชนสานึกในการกระทาแล้ว จึงให้ศาลทาความเข้าใจ







กับเด็กหรือเยาวชน และผู้ปกครองเก่ยวกับการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ รวมถึงผลของการจัดทาแผน แล้วสอบถาม
ความยินยอมของผู้เสียหายทุกคน หากผู้เสียหายให้ความยินยอม ให้ศาลมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต่อไป

(๒) กรณีผู้เสียหายไม่ได้มาศาลในวันนัดสอบคาให้การ หากศาลเห็นว่าคดีของเด็กหรือเยาวชนอาจ

จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ ได้ ศาลอาจเร่มดาเนินการต้งแต่วันนัดสอบคาให้การ ท้งน เพ่อให้การ






















แก้ไขบาบดฟื้นฟเดกและเยาวชนรวมทงผ้เสยหายเรมต้นอย่างรวดเรว โดยให้ศาลสอบถามเดกหรอเยาวชนแล้ว

เปิดโอกาสให้เด็กหรือเยาวชนพูดหรือแสดงความรู้สึกต่อการกระทาของตน เม่อได้ความว่าเด็กหรือเยาวชนสานึก









ในการกระทาแล้ว จงให้ศาลทาความเข้าใจแก่เดกหรอเยาวชน และผ้ปกครองในเบองต้นเกยวกบการจดทาแผนแก้ไข






บ�าบัดฟื้นฟูรวมถึงผลของการจัดท�าแผน จากนั้นจึงนัดพร้อมเพื่อสอบถามผู้เสียหาย โดยมีหนังสือเรียกผู้เสียหายมาศาล

ข้อสังเกต

ก. หนังสือเรียกผู้เสียหาย ให้ระบุเหตุผลให้ผู้เสียหายเข้าใจถึงการที่ศาลเรียกผู้เสียหาย (ไม่ควรออกเป็นหมาย
เรียก เพราะผู้เสียหายจะมาศาลหรือไม่ เป็นไปโดยความสมัครใจ)




ข. ในกรณีท่มีการตรวจสานวนและประสานงานล่วงหน้า ศาลอาจมหนังสือเรียกผู้เสยหายให้มาศาลตงแต่ใน


วันนัดสอบค�าให้การก็ได้ แต่ทั้งนี้ ให้ศาลพิจารณาตามความเหมาะสม เช่น ปรากฏตามรายงานการให้ค�าปรึกษาแนะน�าฯ
ว่าผู้เสียหายมีแนวโน้มยินยอมให้เด็กท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
ค. ศาลควรค�านึงถึงความยินยอมร่วมมือของเด็กและเยาวชนก่อนมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูด้วย
ง. การจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ในคดีท่มีหลายข้อหาไม่ควรแยกทาแผนบาบัดฟื้นฟูเฉพาะบางข้อหา เพราะ







จะทาให้เด็กและเยาวชนยังคงต้องถูกดาเนินคดีในความผิดข้อหาท่เหลือ อันเป็นการไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของการจัด


ท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ จึงต้องการให้มีการเบี่ยงเบนเด็กออกจากกระบวนการยุติธรรมปกติอย่างรวดเร็ว
ที่สุด



ฉ. ในช้นตรวจสอบการจับ ให้พนักงานสอบสวนแจ้งท่อยู่ของผู้เสียหายให้ศาลทราบเพ่อให้ศาลคุ้มครองผล


กระทบทางด้านจิตใจและสิทธิต่าง ๆ ท่ผู้เสียหายพึงจะได้รับในการเยียวยาอย่างทันท่วงท รวมถึงความต้องการของ
ผู้เสียหายในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
๒) ศาลสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูหลังสอบค�าให้การ
ภายหลังวนสอบคาให้การจนถึงก่อนศาลมีคาพิพากษา หากข้อเท็จจริงของเด็กหรือเยาวชนเพงปรากฏต่อศาล









ว่าสมควรจะให้มีการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ หรือข้อขัดข้องท่ทาให้ศาลไม่อาจจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือ






เยาวชนได้ก่อนหน้าน้น เช่น ผู้เสียหายไม่ให้ความยินยอม หรือโจทก์คัดค้านในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูได้เปล่ยนแปลง









ไปว่า คดอย่ในหลกเกณฑ์ทจะจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟได้แล้ว ให้ศาลพจารณาสงให้มการจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟ ู










ได้โดยไม่ชักช้า
28 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

๓) ในวันนัดพร้อมเพื่อสอบถามผู้เสียหาย ให้ศาลด�าเนินการดังนี้



(๑) กรณีผู้เสียหายมาศาล ให้ศาลอธิบายเหตุผลท่มีหนังสือเรียกผู้เสียหายมาศาลและทาความเข้าใจโดย
ชัดแจ้งในขั้นตอน วิธีการ รวมถึงผลของการใช้มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีตามมาตรา ๙๐ ก่อนที่จะสอบถามความ
ยินยอมของผู้เสียหายทุกคน ในกรณีผู้เสียหายคนใดคนหน่งไม่ให้ความยินยอม ให้ศาลนัดพิจารณาคดีตามปกติต่อไป แต่หาก

ผู้เสียหายทุกคนให้ความยินยอม ให้ศาลมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต่อไป


ข้อสังเกต

ก่อนหรือระหว่างการพิจารณาของศาล ศาลอาจให้ผู้เสียหายและ/หรือเด็กหรือเยาวชนและผู้ปกครองไปรับ

ค�าปรึกษาแนะน�าและพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ในศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ (กลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา) เพื่อ
ช่วยให้เกิดความเข้าใจในขั้นตอนและกระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูในเบื้องต้น


(๒) กรณีผู้เสียหายไม่มาศาล ให้ถือว่าผู้เสียหายไม่ให้ความยินยอม และให้ศาลกาหนดวันนัดพิจารณาคด ี











ต่อไป แต่หากมีข้อสงสยว่าผู้เสยหายไม่ได้รบหนงสอเรยกโดยชอบ ศาลอาจดาเนนการส่งหนังสอเรยกและกาหนด
วันนัดพร้อมใหม่

ข้อสังเกต









กรณีท่จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูจาเลยทุกคน ให้จาหน่ายคดีช่วคราว เม่อศาลมีคาส่งเห็นชอบแผนแก้ไข

บ�าบัดฟื้นฟูตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาข้อ ๒๐ (๑) แล้ว
(๓) เมื่อผู้เสียหายยินยอมให้จัดท�าแผน ศาลควรนัดพิจารณาแผนก่อนที่จะมีค�าสั่งจ�าหน่ายคดีชั่วคราว


๔) หากผู้เสียหายให้ความยินยอมในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูแล้ว แต่มีเหตุจาเป็นไม่สามารถเดินทาง


มาศาลในวันนัดประสานการประชุมได้ เช่น อยู่ต่างจังหวัด ความเสียหายหรือค่าเสียหายเล็กน้อย ผู้เสียหายไม่ติดใจ
เรียกร้องค่าเสียหาย เป็นต้น ศาลอาจส่งส่งสานวนให้ศูนย์ให้คาปรึกษาฯ (กลุ่มมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา)








เพ่อเสนอแต่งต้งผู้ประสานการประชุมทาหน้าท่ในวันดังกล่าวเลยก็ได้ หากในวันนัดพร้อมสอบคาให้การ ผู้เสียหายและ

จ�าเลยมีความพร้อมที่จะประชุมแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ก็ให้ศาลส่งส�านวนให้ศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ
๔.๒.๒ ขั้นตอนหลังจากศาลมีค�าสั่งและกระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟ ู
๑) ขั้นตอนหลังจากศาลมีค�าสั่ง

(๑) เม่อกลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (ศูนย์ให้คาปรึกษาฯ) ได้รับแจ้งคาสงของศาลท ่ ี






ให้นาคดีใดเข้าจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ แล้ว ให้เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม


นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ ในกลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (ศูนย์ให้คาปรึกษาฯ) จัดทา



ข้อมูลเบื้องต้นและตั้งส�านวนมาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาเสนอผู้รับผิดชอบราชการศาล ตามแบบพิมพ์ มอ.๑
และ มอ.๒ (ข้อบังคับประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๓)



(๒) เม่อผู้รับผิดชอบราชการศาลได้รับสานวนมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาแล้วให้ผู้รับผิดชอบ




ราชการศาลพิจารณาแต่งต้งผู้ประสานการประชุมซ่งอาจเป็นผู้อานวยการสถานพินิจฯ หรือผู้ท่มีช่อในบัญชีรายช่อ


ผู้ประสานการประชุมของศาลเยาวชนและครอบครัว แล้วให้เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 29










ในกลุ่มงานมาตรการพเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (ศนย์ให้คาปรึกษาฯ) รีบแจ้งคาส่งให้ผ้ได้รับการแต่งตงทราบทันท ี
(ข้อบังคับประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๔)
(๓) เมื่อผู้ประสานการประชุมก�าหนดวันและสถานที่ประชุมแล้ว ให้เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม นักจิตวิทยา



หรือนักสังคมสงเคราะห์ในกลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา (ศูนย์ให้คาปรึกษาฯ) ดาเนินการตามข้อบังคับ

ประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๕ (๓)
ข้อสังเกต











ก. “ผ้ประสานการประชม” หมายความว่า ผ้อานวยการสถานพนจฯ หรอบคคลทมคณสมบตในการเป็น




ผู้ประสานการประชุมจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ซึ่งศาลเห็นสมควรแต่งตั้งให้เป็นผู้ประสานการประชุม
ในกรณีบุคคลที่ศาลเห็นสมควรเป็นผู้พิพากษาสมทบศาลเยาวชนและครอบครัว นักจิตวิทยา หรือเจ้าพนักงาน
ศาลยุติธรรม บุคคลดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติเป็นผู้ประสานการประชุมตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๙ ด้วย
ข. ในระหว่างการด�าเนินการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ หากกรณีมีเหตุ
จ�าเป็นและสมควรต้องสืบพยานหลักฐานไว้ก่อน ให้น�าบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้บังคับ
โดยอนุโลม (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๓ วรรคท้าย)







ค. เนองจากผ้ประสานการประชมต้องเสนอแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟต่อศาลภายใน ๓๐ วน ดงนน การแต่งตง







ผู้ประสานการประชุมควรมีการประสานว่าบุคคลท่จะได้รับการแต่งต้งมีความพร้อมท่จะปฏิบัติหน้าท่หรือไม่ และ



การแจ้งค�าสั่งให้ผู้ประสานการประชุมทราบควรด�าเนินการโดยเร็ว

๒) ขั้นตอนกระบวนการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู


หลังจากศาลแต่งต้งผู้ประสานการประชุมแล้ว เป็นหน้าท่ของผู้ประสานการประชุมในการดาเนินการนัดประชุม

บุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชน และเสนอแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนต่อศาล

ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันท่ได้รับการแต่งต้งตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๕ ถึงข้อ ๑๙ ในช่วงน้ศาลต้อง





กากับดูแล เป็นท่ปรึกษาและให้คาช้แนะในข้อขัดข้องต่าง ๆ เพ่อให้การดาเนินการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเป็นไปได้





โดยเรียบร้อยดังเช่น กรณีผู้ประสานการประชุมก�าหนดสถานที่ประชุม ณ สถานที่อื่นนอกบริเวณศาล ศาลต้องพิจารณา



ให้ความเห็นชอบโดยดูถึงความจาเป็นและความเหมาะสมท่ศาลต้องไปประชุมนอกสถานท่ดังกล่าว (ข้อบังคับของประธาน
ศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๕ (๒)) ให้ศาลตรวจรายละเอียดการประชุมและสรุปผลการประชุมตามแบบพิมพ์ มอ.๕ ที่ผู้ประสานการ








ประชมต้องเสนอต่อศาลภายหลงการประชมแต่ละครงว่า การปฏบตงานของผ้ประสานการประชมเป็นไปโดยชอบด้วย


กฎหมายและข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ หรือไม่ (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาข้อ ๑๕ (๘))
๔.๒.๓ ขั้นตอนการพิจารณาแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
เมื่อผู้ประสานการประชุมจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่มีค�าสั่งแต่งตั้งผู้ประสาน
การประชุมแล้ว ศาลต้องตรวจและพิจารณาแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูดังนี้
๑) แผนแก้ไขบาบดฟื้นฟทาขนโดยชอบด้วยกฎหมาย กล่าวคอ แผนแก้ไขบาบดฟื้นฟูอยู่ในหลักเกณฑ์ตาม









พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๑ ประกอบข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๑ คือ
(๑) เกิดจากข้อเสนอแนะและความเห็นร่วมกันของผู้เข้าร่วมประชุม


(๒) มาตรการต่าง ๆ ของแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหาและปัจจัยแวดล้อมเก่ยวกับ
ตัวเด็กหรือเยาวชนและครอบครัว
30 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

(๓) มาตรการของแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต้องเอื้อต่อการฟื้นฟูเยียวยาผู้เสียหาย

(๔) ต้องได้รับความยินยอมจากเด็กหรือเยาวชนและผู้เสียหายแล้ว


(๕) ระยะเวลาในการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต้องไม่เกินกว่าเด็กหรือเยาวชนอายุครบย่สิบส่ปี

บริบูรณ์




(๖) ต้องไม่มีลักษณะเป็นการจากัดสิทธิหรือเสรีภาพของเด็กหรือเยาวชน เว้นแต่เป็นการกาหนดข้นเพ่อ



ประโยชน์ของเด็กหรือเยาวชนน้น หรือเพ่อคุ้มครองประโยชน์สาธารณะและไม่มีลักษณะเป็นการละเมิดศักด์ศร ี
ความเป็นมนุษย์ของเด็กและเยาวชน

๒) มาตรการในแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต้องมีความเหมาะสม
ในการแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนให้กลับตนเป็นคนดีและสามารถเยียวยาผู้เสียหายได้อย่างเหมาะสม





ในกรณีท่มีจาเลยหลายคน มาตรการในแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูของเด็กหรือเยาวชนแต่ละคนอาจแตกต่างกันเพ่อให้
เหมาะสมแก่สภาพปัญหาและการแก้ไขปัญหาของเด็กและเยาวชนเป็นรายบุคคล ซึ่งข้อบังคับประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๒

ได้กาหนดแนวทางในการกาหนดมาตรการในแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูว่าอาจประกอบด้วยมาตรการอย่างหน่งหรือ



หลายอย่างดังนี้




(๑) กาหนดให้เด็กหรือเยาวชนปฏิบัต เช่น รายงานตัว รับคาปรึกษาแนะนา เข้าร่วมกิจกรรมบาบัด กิจกรรม















ทางเลอก รบการบาบดรักษา เข้ารบการศึกษา หรอการฝึกอาชพหรือวชาชพเพอประโยชน์ในการแก้ไขบาบดฟื้นฟเด็ก
หรือเยาวชน ให้บิดามารดา ผู้ปกครอง บุคคลหรือองค์การซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยู่ปฏิบัติด้วยก็ได้
(๒) ก�าหนดให้เด็กหรือเยาวชนชดเชยเยียวยาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย
(๓) ก�าหนดให้เด็กหรือเยาวชนท�างานบริการสังคมหรือท�างานสาธารณประโยชน์ไม่เกินสามสิบชั่วโมง

๓) รูปแบบแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูต้องเป็นไปตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาข้อ ๑๘ กล่าวคือ ผู้ที่ต้องปฏิบัติ
ตามแผนรวมทั้งผู้เข้าร่วมประชุมลงลายมือชื่อในแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามแบบพิมพ์ มอ.๖ ให้ครบถ้วนและมีการระบุชื่อ
ผู้บริหารแผนตามที่ที่ประชุมมีมติไว้ในแผนดังกล่าว

ข้อสังเกต




ก. ในกรณีท่ศาลได้รับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูแล้วเห็นว่า แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูอาจมีปัญหาไม่ชอบด้วยกฎหมาย





บางประการ ศาลอาจนดพร้อมเพอพจารณาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟดงกล่าว โดยต้องเชญบคคลทเกยวข้องกบข้อกาหนด














ส่วนท่มีปัญหาในแผนมาด้วย แต่ท้งน้ต้องระมัดระวังไม่กาหนดวันนัดนานเกินกว่า ๓๐ วัน นับแต่วันท่มีการแต่งต้ง



ผู้ประสานการประชุม


ข. ผู้บริหารแผน ท่ประชุมอาจกาหนดให้ผู้ประสานการประชุมเป็นผู้บริหารแผน หรืออาจกาหนดจากผู้ม ี

อัธยาศัยและความประพฤติเหมาะสมท่จะอบรมส่งสอนเด็กและเยาวชน เช่น เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม นักจิตวิทยา


หรือนักสังคมสงเคราะห์ในกลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการฟ้องคดีอาญา คร ผู้นาชุมชน อาสาสมัครท่ปฏิบัติงานร่วม






กับหน่วยงานของรัฐในพ้นท่ท่เด็กหรือเยาวชนอาศัยอยู่ โดยบุคคลน้นต้องสมัครใจเป็นผู้บริหารแผนด้วย (ข้อบังคับของ

ประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๘ วรรคสอง)
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 31

๔) วิธีการสั่ง เมื่อศาลตรวจดูแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูแล้ว ให้ศาลมีค�าสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้








(๑) กรณีเห็นชอบ ให้มีคาส่งให้ดาเนินการตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ แจ้งคาส่งให้ผู้ประสานการประชุม




ทราบ ให้ศาลกาหนดวันนัดพร้อมเพ่อฟังผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ และให้มีคาส่งจาหน่ายคดีช่วคราว




ตามแบบพิมพ์ มอ.๗
ตัวอย่างค�าสั่งการพิจารณาแผน

“พิเคราะห์แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ ท่ผู้ประสานการประชุมเสนอแล้วเห็นว่า





จัดทาข้นโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ผู้ประสานการประชุมและผู้บริหารแผนดาเนินการตามแผนต่อไป ให้นัดพร้อมเพ่อฟังผล









การปฏบัติตามแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟูวนท่.……….และให้จาหน่ายคดน้ช่วคราว และให้มีหนังสือแจ้งให้พนักงานคุมประพฤต ิ
ช่วยสอดส่องว่าจ�าเลยได้ปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูหรือไม่ แล้วรายงานให้ศาลทราบทุก ๖ เดือน”
(๒) กรณีศาลเห็นว่าแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูยังไม่เป็นไปเพ่อประโยชน์สูงสุดของเด็กหรือเยาวชน เช่น กรณ ี


ท่แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูไม่ได้กาหนดให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้วย ท้งท่อยู่ในวิสัยจะทาได้ หรือ






กรณีท่แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูกาหนดแต่เร่องค่าเสียหายท่เด็กหรือเยาวชนต้องชาระแก่ผู้เสียหาย โดยไม่มีมาตรการใด ๆ







ท่เป็นการแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชน ให้ศาลมีคาส่งให้ผู้ประสานการประชุมนาแผนดังกล่าวเข้าสู่การพิจารณาของ





ท่ประชุมจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเพ่อแก้ไขปรับปรุงใหม่ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาท่ศาลกาหนด (ข้อบังคับของ





ประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๐ (๒) )
กรณีศาลเห็นว่า แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูมีข้อผิดหลง สามารถแก้ไขได้โดยไม่ต้องจัดให้มีการประชุมใหม่ เช่น การ
ก�าหนดชั่วโมงการท�างานบริการสังคมเกินระยะเวลาสามสิบชั่วโมง หรือกรณีผู้เข้าร่วมประชุมจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู
ลงลายมือช่อในแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูซ่งท่ประชุมมีมติเห็นชอบตามแบบพิมพ์ มอ.๖ ไม่ครบถ้วน ให้ศาลมีคาส่งให้






ผู้ประสานการประชุมด�าเนินการแก้ไข แล้วเสนอศาลพิจารณาต่อไป
ตัวอย่างค�าสั่ง
“พิเคราะห์แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ ที่ผู้ประสานการประชุมเสนอแล้วเห็นว่า





แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟู ข้อท่……..และข้อท่………ยังไม่เป็นไปเพ่อประโยชน์สูงสุดของจาเลย เน่องจาก........……..





ให้ผู้ประสานการประชุมทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเพ่อแก้ไขปรับปรุงใหม่ให้แล้วเสร็จภายในวันท่.......……..แจ้งคาส่งให้


ผู้ประสานการประชุมและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูทราบ”
(๓) กรณีไม่เห็นชอบ ให้มีคาส่งให้ดาเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาคดีต่อไป และแจ้งคาส่งให้ผู้ประสาน





การประชุมทราบ (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๐ (๓))
ตัวอย่างค�าสั่ง
“พิเคราะห์แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ ท่ผู้ประสานการประชุมเสนอแล้ว




ไม่เห็นชอบกับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเน่องจาก.....……..จึงให้ยกคดีข้นพิจารณาต่อไป แจ้งคาส่งให้ผู้ประสานการประชุม



โจทก์ ผู้เสียหาย และผู้เกี่ยวข้องทราบ”
อนึ่ง กรณีที่ผู้ประสานการประชุมไม่สามารถจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเสร็จภายในก�าหนด ๓๐ วันนับแต่วันที่
มีค�าสั่งแต่งตั้งผู้ประสานการประชุม ให้ผู้ประสานการประชุมรายงานเหตุดังกล่าวให้ศาลทราบ หากศาลพิจารณาแล้วเห็น
ว่ามีเหตุจ�าเป็นสมควรขยายเวลา ให้มีค�าสั่งตามที่เห็นสมควร (ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๑๙)
32 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

๔.๒.๔ ขั้นตอนหลังศาลมีค�าสั่งเห็นชอบกับแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู








เม่อศาลมีคาส่งเห็นชอบกับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูแล้วเป็นหน้าท่ของผู้บริหารแผนท่จะต้องดาเนินการให้เด็ก




หรือเยาวชนปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูท่มีการกาหนดข้นตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๓ อย่างไรก็ตาม


หากศาลได้รับรายงานจากผู้ประสานการประชุมว่า ในระหว่างท่ผู้บริหารแผนจัดให้มีการดาเนินการตามแผนน้น มีบุคคลใด




หรือองค์การท่เก่ยวข้องไม่ปฏิบัติตามหรือไม่ให้ความร่วมมือในการดาเนินการตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ หรือมีเหต ุ


จ�าเป็นอันไม่อาจก้าวล่วง และเป็นเหตุให้แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูไม่อยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติได้ ให้ศาลพิจารณาและด�าเนินการ
ตามข้อบังคับประธานศาลฎีกา ข้อ ๒๔ ดังต่อไปนี้
๑) ให้ศาลพิจารณาสั่งแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อตามที่เห็นสมควร
๒) ในกรณีที่ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูได้ ให้ศาลยกคดีขึ้นพิจารณาต่อไป

ข้อสังเกต





ก. ก่อนท่ศาลจะมีคาส่งอย่างหน่งอย่างใดข้างต้น ศาลอาจสอบถามถึงปัญหาข้อขัดข้องและเม่อเห็นว่า

ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูได้ จึงยกคดีขึ้นพิจารณาต่อไป






ข. ผู้บริหารแผนต้งข้นเพ่อช่วยการทางานของผู้ประสานการประชุม แต่ไม่ได้กาหนดคุณสมบัติไว้ ดังน้น
อาจตั้งบุคคลใดเป็นผู้บริหารแผน หรือผู้ประสานการประชุมกับผู้บริหารแผนอาจเป็นบุคคลเดียวกันก็ได้
๔.๒.๕ ขั้นตอนการพิจารณาผลของการด�าเนินการตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู


เม่อมีการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูครบถ้วนแล้ว ให้ผู้ประสานการประชุมจัดทารายงานผลการปฏิบัต ิ

ตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามแบบพิมพ์ มอ.๙ รวมไว้ในสานวนมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา แล้วรายงาน



ให้ศาลทราบตามแบบพิมพ์ มอ.๑๐ พร้อมเสนอสานวนมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาต่อศาล ซ่งศาลต้อง



พิจารณาและมีค�าสั่งตามข้อบังคับประธานศาลฎีกาฯ ข้อ ๒๕ ดังนี้
๑) ในกรณีท่ศาลเห็นชอบด้วย ให้มีคาส่งจาหน่ายคดีออกจากสารบบความและมีคาส่งในเร่องของกลาง ให้ศาล







มีหนังสือแจ้งสถานีต�ารวจท้องที่ที่จับกุมและกองทะเบียนประวัติอาชญากรส�านักงานต�ารวจแห่งชาติทราบ


๒) ในกรณีท่ศาลเห็นว่าการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูยังไม่ครบถ้วน หากมีเหตุจาเป็นให้ศาลมีคาส่ง



ขยายระยะเวลาตามที่ศาลเห็นสมควร แล้วแจ้งให้โจทก์ จ�าเลย ผู้เสียหาย ผู้ประสานการประชุม และผู้บริหารแผนทราบ









ท้งน ศาลอาจสอบถามผู้ประสานการประชุม จาเลย รวมถึงผู้ท่เก่ยวข้องก่อนมีคาส่งเพ่อทราบถึงเหตุจาเป็น

และระยะเวลาที่ศาลควรจะขยายให้

ข้อสังเกต

ก. ในกรณีที่ศาลเห็นว่า จ�าเลยเป็นฝ่ายละเลยไม่ปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูให้ครบถ้วน ศาลอาจมีค�าสั่ง
ให้ด�าเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาต่อไป



ข. ในกรณีผู้เสียหายไม่มาศาลในวันนัดพร้อมเพ่อพิจารณาผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ เม่อศาลม ี

ค�าสั่งอย่างหนึ่งอย่างใดแล้วให้ผู้ประสานการประชุมแจ้งให้ผู้เสียหายทราบ





ค. ผลของการส่งจาหน่ายคดีของศาลน้นทาให้สิทธิในการนาคดีอาญามาฟ้องจาเลยเป็นอันระงับ แต่ไม่ตัดสิทธ ิ

ผู้มีส่วนได้เสียที่จะด�าเนินคดีส่วนแพ่งแก่จ�าเลย (พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๒)
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 33







ง. เม่อจาเลยปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูครบถ้วน และศาลมีคาส่งจาหน่ายคด ควรมีหนังสือแจ้ง







เจ้าพนักงานตารวจ สถานีตารวจท้องท่ท่จับกุมและกองทะเบียนประวัติอาชญากร สานักงานตารวจแห่งชาต ิ



จ. แม้ศาลจะส่งยติคดีไปแล้ว โจทก์ก็ยังมีอานาจอุทธรณ์คาส่งศาลได้ หากเห็นว่ากระบวนการใดไม่ชอบด้วย


กฎหมาย
ฉ. ผู้เสียหายย่นคาร้องเรียกค่าเสียหายส่วนแพ่ง แม้ยังไม่สามารถตกลงกันได้ หากผู้เสียหายยินยอมให้ใช้





มาตรการแทนการดาเนินคดีอาญา ให้ผู้ประสานการประชุมจัดให้เกิดกระบวนการสานึกต่อการกระทาก่อนท่จะเจรจา

ค่าเสียหายตามหลักยุติธรรมสมานฉันท์




ช. ผู้เข้าร่วมประชมในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูได้รับค่าตอบแทนในการปฏบัติหน้าท่ในอตราวันละ


สามร้อยบาท ในการเดินทางมาปฏิบัติหน้าที่ ได้รับค่าพาหนะเดินทางเหมาจ่ายในอัตราคนละสองร้อยบาท ตามระเบียบ
กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๕ ข้อ ๔



๓) กรณีท่การจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูไม่สาเร็จและต้องดาเนินคดีแก่เด็กและเยาวชนต่อไป ห้ามมิให้







นาข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานท่ได้มาจากการประชุมเพ่อจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ มาใช้อ้าง
ต่อศาล (พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๓)




































34 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (นัดสอบค�าให้การ กรณีจ�าเลยประสงค์เข้ามาตรา ๙๐)








นัดสอบคาให้การ/นัด........................วันน โจทก์ จาเลย ผู้ปกครองของจาเลยและท่ปรึกษากฎหมาย
ของจ�าเลยมาศาล




ศาลสอบถามจาเลยถึงพฤตการณ์แห่งคดีแล้ว/จากพยานหลักฐานท่โจทก์นาสืบแล้ว ได้ความว่า
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................


โจทก์แถลงว่า จากประวัติจาเลยท่ได้จากการสอบสวนได้ความว่า จาเลยเพ่งกระทาความผิดคร้งแรก






พฤติการณ์ท่วไปไม่เสียหายร้ายแรงและอาจกลับตัวเป็นคนดีได้ หากศาลจะให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู

จ�าเลย โจทก์ไม่คัดค้าน
ผู้ปกครองจาเลยแถลงว่า..................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ขอให้ศาลให้โอกาสจ�าเลยกลับตนเป็นคนดีสักครั้ง
พิเคราะห์ ข้อเท็จจริงที่ปรากฏจากรายงานข้อเท็จจริงและความเห็นของผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ/
รายงานของศูนย์ให้ค�าปรึกษาแนะน�าฯ กลุ่มมาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา แล้วเห็นว่าจ�าเลยส�านึก
ในการกระทาและอาจกลับตนเป็นคนดีได้ ท้งผู้เสียหายอาจได้รับการชดเชยเยียวยาตามสมควร และการนาวิธ ี






จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูมาใช้จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของจาเลยและต่อผู้เสียหายย่งกว่าการพิจารณา


พิพากษา ประกอบกับโจทก์ไม่คัดค้าน (หากสอบถามความเห็นจาเลยแล้วยินยอมเข้าสู่กระบวนการแก้ไขบาบัด

ฟื้นฟูให้ระบุไว้ด้วย)

จึงให้มีหนังสือเรียกผู้เสียหายมาศาลโดยให้นัดพร้อมเพ่อสอบถามความยินยอมของผู้เสียหาย
ในวันที่......................................................................































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 35

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีผู้เสียหายยินยอมให้จ�าเลยเข้าสู่มาตรา ๙๐)


นัดพร้อมเพื่อสอบถามผู้เสียหายวันนี้ โจทก์ จ�าเลย ที่ปรึกษากฎหมายจ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย

และผู้เสียหายมาศาล

โจทก์แถลงยืนยันว่า....................................................................................เป็นผู้เสียหายในคดีน้จริง
หากศาลจะให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลยตามมาตรา ๙๐ โจทก์ไม่คัดค้าน










ศาลแจ้งให้ผ้เสยหายทราบถงเหตผลทเชญมาศาลพร้อมอธบายการดาเนนการและผลของการใช้

มาตรการพิเศษมาตรา ๙๐ แก่ผู้เสียหาย จากนั้นจึงให้ผู้เสียหายแสดงความรู้สึกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เสียหายแถลงว่า.............................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................หากศาลจะนา
มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ มาใช้แก่จ�าเลย ผู้เสียหายให้ความยินยอม





จาเลยแถลงว่า จาเลยรู้สึกสานึกในการกระทา เม่อเห็นว่าผู้เสียหายต้องได้รับความเสียหายเช่นน ี ้

จาเลยประสงค์จะให้ความช่วยเหลอผ้เสียหายตามฐานานุรปของจาเลยและตามความเหมาะสม และประสงค ์




จะขอให้ศาลค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลย
ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า คดีนี้อยู่ในหลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ โดยจ�าเลย


มีแนวโน้มท่จะกลับตนเป็นคนด ผ้เสยหายให้ความยนยอมและโจทก์ไม่คัดค้านในการทศาลจะจดทาแผน







แก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูแก่จ�าเลย อันจะน�ามาซึ่งประโยชน์แก่จ�าเลยและผู้เสียหายรวมถึงสังคมยิ่งกว่าการพิจารณา
พิพากษา จึงมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ มาใช้แก่จ�าเลย




แจ้งคาส่งให้ศูนย์ให้คาปรึกษาฯ กลุ่มมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาทราบเพ่อดาเนินการ


ต่อไป



















36 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีผู้เสียหายไม่ยินยอมให้จ�าเลยเข้าสู่มาตรา ๙๐)









นัดพร้อมเพ่อสอบถามผู้เสียหายวันน โจทก์ จาเลย ท่ปรึกษากฎหมายจาเลย ผู้ปกครองจาเลย
และผู้เสียหายมาศาล

โจทก์แถลงยืนยันว่า....................................................................................เป็นผู้เสียหายในคดีน้จริง
หากศาลจะให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลยตามมาตรา ๙๐ โจทก์ไม่คัดค้าน
ศาลแจ้งให้ผู้เสียหายทราบถึงเหตุผลท่เชิญผู้เสียหายมาศาลพร้อมอธิบายการดาเนินการและผล


ของการใช้มาตรการพิเศษมาตรา ๙๐ จากนั้นจึงให้ผู้เสียหายแสดงความรู้สึกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เสียหายแถลงว่า.............................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................หลังเกิดเหต ุ






จาเลยไม่เคยติดต่อให้ความช่วยเหลือ ผู้เสียหายประสงค์ให้ศาลดาเนินคดีแก่จาเลยต่อไปจนถึงท่สุดเพ่อให้รู้สึก
เข็ดหลาบในการกระท�าของตนเอง

จาเลยแถลงว่า จาเลยรู้สานึกในการกระทาแล้ว เหตุท่จาเลยไม่ได้ไปติดต่อให้ความช่วยเหลือ





ผู้เสียหายเป็นเพราะ..........................................................................................................................................
ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า แม้คดีนี้มีอัตราโทษจ�าคุกอยู่ในเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา



๙๐ และจาเลยแถลงว่ารู้สานึกในการกระทาแล้ว แต่เม่อผู้เสียหายไม่ยินยอมโดยประสงค์ให้ศาลดาเนินคด ี


แก่จ�าเลยต่อไป จึงเป็นกรณีที่ศาลไม่อาจมีค�าสั่งให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลยตามมาตรา ๙๐ ได้
ให้ก�าหนดวันนัดพิจารณาต่อไป วันที่..............................................................................................



































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 37

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีผู้เสียหายบางคนไม่ให้ความยินยอม)


นัดพร้อมเพื่อสอบถามผู้เสียหายวันนี้ โจทก์ จ�าเลย ที่ปรึกษากฎหมายจ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย
ผู้เสียหายที่ ๑ และผู้เสียหายที่ ๒ มาศาล



โจทก์แถลงยืนยันว่า........................................................................................เป็นผู้เสียหายท ๑
และผู้เสียหายที่ ๒ ในคดีนี้จริง หากศาลจะให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลยตามมาตรา ๙๐ โจทก์ไม่คัดค้าน






ศาลแจ้งให้ผู้เสียหายท ๑ และผู้เสียหายท ๒ ทราบถึงเหตุผลท่เชิญผู้เสียหายท้งสองมาศาลพร้อม


อธิบายการดาเนินการและผลของการใช้มาตรการพิเศษมาตรา ๙๐ แก่ผู้เสียหาย จากน้นจึงให้ผู้เสียหายท ๑


และผู้เสียหายที่ ๒ แสดงความรู้สึกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เสียหายที่ ๑ แถลงว่า ผู้เสียหายที่ ๑ เป็นมารดาของผู้เสียหายที่ ๒ ปัจจุบันผู้เสียหายที่ ๒ อายุ.........









ปีเศษ กาลังศึกษาอยู่ระดับช้น....................การกระทาของจาเลยท่พรากและพาผู้เสียหายท ๒ ไปกระทาชาเราน ี ้
ท�าให้ผู้เสียหายทั้งสองต้องเสื่อมเสียชื่อเสียง โดยเฉพาะผู้เสียหายที่ ๒ ไม่อาจกลับไปเรียนหนังสือที่โรงเรียนเดิม
ได้ เนื่องจากอับอายเพราะถูกเพื่อน ๆ ล้อเลียนและดูถูก ผู้เสียหายที่ ๑ เสียใจกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นอย่าง









มาก เพราะผ้เสียหายท ๒ เป็นความหวงของผ้เสียหายท ๑ แต่ต้องมาสูญเสียอนาคตเพราะการกระทาของจาเลย
ขอให้ศาลลงโทษจ�าเลยให้เข็ดหลาบ


ผู้เสียหายท ๒ แถลงว่า..........................................................................................................................

.......................................................................................................................................................ปัจจุบันจาเลย
กับผู้เสียหายที่ ๒ ยังคงชอบพอกัน ขอให้ศาลจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูแก่จ�าเลย
จ�าเลยแถลงว่า จ�าเลยชอบพอกับผู้เสียหายที่ ๒ จริง วันเกิดเหตุ..........................................................

..........................................................................................................................................................ขณะน้จาเลย






รู้แล้วว่าการกระทาของจาเลยทาให้ผู้อ่นได้รับความเดือดร้อน จาเลยรู้สึกสานึกในการกระทาและขอโอกาสให้


จ�าเลยกลับไปศึกษาเล่าเรียนต่อจนจบ


ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า คดีน้จาเลยกระทาความผิดหลายกรรมต่างกัน แต่ละกรรมมีอัตราโทษ

จ�าคุกอยู่ในเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ แม้จ�าเลยรู้สึกส�านึกในการกระท�าแล้วก็ตาม แต่เมื่อ
ผู้เสียหายที่ ๑ ซึ่งเป็นผู้เสียหายในความผิดฐานพรากเด็กอายุไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาเพื่ออนาจาร


ไม่ให้ความยินยอมในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูแก่จาเลย จึงเป็นกรณีท่ไม่เข้าหลักเกณฑ์แห่งการจัดทา



แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ ซึ่งผู้เสียหายทุกคนต้องให้ความยินยอม ดังนั้น จึงไม่อาจจัดท�าแผนแก้ไข
บ�าบัดฟื้นฟูแก่จ�าเลยได้ จึงให้ก�าหนดนัดพิจารณาต่อไปวันที่..............................................................................

38 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีผู้เสียหายยินยอมให้จ�าเลยบางคนท�าแผน)










นัดพร้อมเพ่อสอบถามผู้เสียหายวันน โจทก์ จาเลยท้งสอง ท่ปรึกษากฎหมายจาเลยท้งสอง
ผู้ปกครองจ�าเลย และผู้เสียหายมาศาล

โจทก์แถลงยืนยันว่า....................................................................................เป็นผู้เสียหายท ๑ และ

ผู้เสียหายที่ ๒ ในคดีนี้จริง หากศาลจะให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลยตามมาตรา ๙๐ โจทก์ไม่คัดค้าน

ศาลแจ้งให้ผู้เสียหายท ๑ และผู้เสียหายท ๒ ทราบถึงเหตุผลท่เชิญผู้เสียหายท้งสองมาศาลพร้อม





อธิบายการด�าเนินการและผลของการใช้มาตรการพิเศษมาตรา ๙๐ แก่ผู้เสียหาย จากนั้นจึงให้ผู้เสียหายที่ ๑
และผู้เสียหายที่ ๒ แสดงความรู้สึกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เสียหายแถลงว่า................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................ผ้เสยหายประสงคให ้


ศาลจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลยที่ ๑ ส่วนจ�าเลยที่ ๒ ขอให้ศาลด�าเนินคดีต่อไปจนถึงที่สุด


จาเลยท ๑ แถลงว่า.........................................................................................................................




................................................................................................................................................จาเลยท ๑ รู้สึก


สานึกในการกระทา โดยจะพยายามช่วยเหลือและบรรเทาเยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้เสียหายอย่างเต็มกาลัง

ขอศาลให้โอกาสจ�าเลยที่ ๑ กลับตัวเป็นพลเมืองดีโดยการจัดท�าแผนฟื้นฟูจ�าเลยที่ ๑ ด้วย

จาเลยท ๒ แถลงว่า..........................................................................................................................


...............................................................................................................................................ขอศาลให้โอกาส
จ�าเลยที่ ๒ สักครั้งหนึ่ง


ศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่า ตามคาฟ้องการกระทาของจาเลยท้งสองเป็นความผิดต่อกฎหมาย


หลายบท ซ่งแต่ละบทมีอัตราโทษจาคุกอยู่ในเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๙๐ โดยผู้เสียหายยินยอม


ให้จ�าเลยที่ ๑ จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ประกอบกับศาลพิจารณาตาม..........................................................
แล้วเห็นว่า จ�าเลยที่ ๑ ส�านึกในการกระท�าจึงให้จัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูแก่จ�าเลยที่ ๑ แจ้งค�าสั่งให้ศูนย์ให้
ค�าปรึกษาแนะน�าและประสานการประชุมฯ ทราบ เพื่อด�าเนินการต่อไป โดยให้นัดพิจารณาแผนแก้ไขบ�าบัด
ฟื้นฟูในวันที่.........................................................




ส่วนจาเลยท ๒ เม่อผู้เสียหายไม่ให้ความยินยอมในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ประกอบกับ





ข้อเท็จจริงท่ปรากฏต่อศาลตาม..................................................จาเลยท ๒ ยังมีความประพฤติไม่เหมาะสม


ไม่แสดงออกให้เห็นถึงส�านึกในการกระท�า จึงให้ด�าเนินคดีกับจ�าเลยที่ ๒ ต่อไป นัดสืบพยาน............................
วันที่......................................................................
ให้ผู้เสียหายและจ�าเลยที่ ๑ ไปที่ศูนย์ให้ค�าปรึกษาแนะน�าและประสานการประชุมฯ




คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 39

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีให้ด�าเนินตามแผนเดิมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผน)






นัดสอบถามเพ่อพิจารณาข้อขัดข้องในการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูวันน ผู้ประสานการประชุม
ผู้บริหารแผน จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และผู้เสียหายมาศาล
ผู้บริหารแผนและผู้ประสานการประชุมร่วมกันแถลงว่า จ�าเลยไม่มาพบผู้บริหารแผนและไม่ไป........
...............................................ตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้

จาเลยแถลงว่า...........................................................................จึงไม่อาจพบผู้บริหารแผนตามเง่อนไข

ขอโอกาสจ�าเลยปฏิบัติตามแผนอีกครั้งหนึ่ง









บดามารดาหรอผ้ปกครองจาเลยแถลงว่า จาเลยไม่ได้ตงใจไม่ปฏบตตามแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟ ู



เนื่องจาก.............................................................................................................................................................

จาเลยแถลงว่า เม่อจาเลย.......................................................................................ผู้เสียหายก็ไม่ขัดข้อง


หากศาลจะให้โอกาสจ�าเลยอีกครั้ง
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ตามพฤติการณ์แม้จ�าเลยและผู้ปกครองจ�าเลยจะละเลยไม่แจ้งให้ผู้บริหารแผน
ทราบถึงข้อขัดข้องท่ไม่อาจปฏิบัติตามแผนได้ แต่การท่จาเลย......................................................จาเลยไม่ได้จงใจ




ที่จะไม่ปฏิบัติตามแผนประกอบกับผู้เสียหายไม่ติดใจและยินดีจะให้โอกาสจ�าเลยอีกครั้ง



จึงเห็นควรให้จาเลยปฏิบัติตามแผนเดิม แก้ไขเปล่ยนแปลงแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟู/หรือยกเลิกเง่อนไข

ตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูในข้อที่.......................................................................................................................
ก�าชับจ�าเลยให้ไปพบผู้บริหารแผนเพื่อด�าเนินการตามแผนเดิม/แผนที่แก้ไขต่อไป



































40 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณียกเลิกแผน)






นัดสอบถามเพ่อพิจารณาข้อขัดข้องในการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูวันน ผู้ประสานการประชุม
ผู้บริหารแผน จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และผู้เสียหายมาศาล

ผู้บริหารแผนและผู้ประสานการประชุมร่วมกันแถลงว่า จาเลยไม่มาพบผู้บริหารแผนและไม่ไป
....................................................................................................................................ตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้







จาเลยแถลงว่า หลังจากประชุมจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูในคดีนแล้ว จาเลยไปกระทาความผด


ฐาน.........................................................และอย่ระหว่างการดาเนินคดีดังกล่าว จงไม่อาจปฏิบัตตามแผนได้



แล้วแต่ศาลจะพิจารณาเห็นสมควร


บิดามารดาหรือผู้ปกครองจาเลยแถลงว่า จาเลยถูกดาเนินคดีจริงปรากฏตามบันทึกการจับกุม

ที่เสนอต่อศาลนี้ แต่ผู้ปกครองจ�าเลยขอศาลให้โอกาสจ�าเลยอีกครั้งหนึ่ง


ผู้เสียหายแถลงว่า เม่อจาเลยไปกระทาความผิดและถูกดาเนินคด ผู้เสียหายก็ไม่ประสงค์ให้จาเลย




มาดูแลช่วยเหลือผู้เสียหายอีกต่อไป










พิเคราะห์แล้วเห็นว่า การทจาเลยกระทาความผิดคดน้แล้วไปกระทาความผิดคดอ่นอกแสดง


ให้เห็นว่า จาเลยไม่สานึกในการกระทาและไม่อาจกลับตนเป็นคนดีได้ตามท่เคยแถลงไว้ต่อศาล การปฏิบัต ิ





ตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูแก่จาเลยจึงไม่เป็นประโยชน์อีกต่อไป จึงยุติการดาเนินการตามแผนแก้ไขบาบัด

ฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐ และยกคดีขึ้นพิจารณาต่อไป แจ้งโจทก์และผู้เกี่ยวข้องทราบ
























คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 41

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีนัดพร้อมฟังผลปฏิบัติตามแผน)


นัดพร้อมเพื่อฟังผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูวันนี้ ผู้ประสานการประชุม ผู้บริหารแผน
จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และผู้เสียหายมาศาล

ผู้บริหารแผนและผู้ประสานการประชุมร่วมกันแถลงว่า จ�าเลยปฏิบัติตามแผนครบถ้วนแล้ว และ
มีความประพฤติเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
จ�าเลยแถลงว่า หลังจากเข้ารับการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูในคดีนี้แล้ว จ�าเลยรู้สึก...................................

หลังเกิดเหตุจ�าเลยเลิกคบกับเพื่อนที่มีความประพฤติไม่ดีและตั้งใจศึกษาเล่าเรียนมาโดยตลอด ขอให้โอกาส
จ�าเลยกลับตนเป็นคนดีสักครั้ง




บิดามารดาหรือผู้ปกครองจาเลยแถลงว่า จาเลยมีความประพฤติเปล่ยนแปลงไปในทางท่ดีข้น






ผู้ปกครองไม่กังวลกับจาเลยเหมือนแต่ก่อน จาเลยต้งใจเรียน ผู้ปกครองจะสนับสนุนและดูแลจาเลยไม่ให้
หวนกลับไปกระท�าความผิดอีก ขอศาลให้โอกาสจ�าเลยอีกสักครั้ง

ผู้เสียหายแถลงว่า จาเลยได้ชดใช้เยียวยาค่าเสียหายให้ผู้เสียหายตามเง่อนไขในแผนแก้ไขบาบัด


ฟื้นฟูจนครบถ้วนแล้ว และรู้สึกยินดีท่จาเลยกลับตนเป็นคนดีและประสงค์ให้จาเลยกลับไปศึกษาเล่าเรียน



ต่อไป


พิเคราะห์แล้วเห็นว่า เม่อข้อเท็จจริงปรากฏตามเอกสาร มอ.๙ ว่ามีการแก้ไขบาบัดฟื้นฟูครบ


ถ้วนแล้ว และจาเลยมีความประพฤติไปในทางท่ดีข้น จึงมีคาส่งให้จาหน่ายคดีออกจากสารบบความ




ให้ริบ......................................................ของกลางในคดีนี้































42 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีนัดสอบถามจ�าเลยปฏิบัติตามแผนไม่ครบถ้วน

และมีเหตุจ�าเป็นต้องขยายแผน)






นัดสอบถามเพ่อพิจารณาการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูวันน ผู้ประสานการประชุม ผู้บริหารแผน
จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และผู้เสียหายมาศาล

ผู้บริหารแผนและผู้ประสานการประชุมร่วมกันแถลงว่า จาเลยปฏิบัติตามแผนแล้วแต่ยังไม่





ครบถ้วน เน่องจากจาเลยยังไม่ได้ปฏิบัติตามข้อท่................................................ท่กาหนดให้จาเลย

...............................................................................................................กรณีจึงแล้วแต่ศาลจะเห็นสมควร





จาเลยแถลงว่า จาเลยต้งใจท่จะปฏิบัติตามแผนแต่เน่องจาก..............................................
.........................................................................จึงขอโอกาสจากศาลให้จ�าเลยปฏิบัติตามแผนต่อไปให้ครบถ้วน
บิดามารดาหรือผู้ปกครองจ�าเลยแถลงว่า จ�าเลยมีความประพฤติเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นมาก ขอศาล















พจารณาขยายระยะเวลาตามแผนแกไขบาบดฟนฟออกไปอกสก.............................เพอใหจาเลยปฏบตตามแผน

แก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูให้ครบถ้วน
ผู้เสียหายแถลงว่า เนื่องจาก..........................................................................................กรณีที่จ�าเลย
ปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูไม่ครบถ้วนจึงไม่ได้เกิดจากความตั้งใจหรือละเลยในหน้าที่ของจ�าเลย

พเคราะห์แล้วเห็นว่า เม่อได้ความจากผู้ประสานการประชม ผ้บริหารแผน และผู้เสยหาย




รวมถึงจาเลยและผู้ปกครองจาเลยสอดคล้องกันว่า................................................................................


กรณีจึงเป็นเหตุสุดวิสัยทาให้ไม่อาจปฏิบัติตามแผนข้อ.......................เม่อจาเลยพร้อมปฏิบัติหน้าท่ตามแผน




แก้ไขบาบัดฟื้นฟูให้ครบถ้วน จึงเห็นควรขยายระยะเวลาการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูออกไปอีก




.......................................และให้กาหนดวันนัดพร้อมเพ่อพิจารณาผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูใหม่

วันที่.....................................................................................












คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 43

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีผู้เสียหายยื่นค�าร้องตามมาตรา ๔๔/๑)


นัดสืบพยานโจทก์วันนี้ โจทก์ ผู้ร้อง ทนายผู้ร้อง จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และที่ปรึกษาจ�าเลยมาศาล

จ�าเลยกับผู้ร้องยื่นค�าแถลงต่อศาลว่า คดีส่วนแพ่งสามารถตกลงกันได้ และท�าสัญญาประนีประนอม




ยอมความในส่วนแพ่ง โดยจาเลยจะชาระค่าเสียหายให้กับผู้ร้องจานวน.................บาท โดยจะขอผ่อนชาระ
เดือนละ......................บาท และจะช�าระให้เสร็จภายใน..........ปี รายละเอียดปรากฏตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความที่เสนอต่อศาล
โจทก์แถลงยืนยันว่า.......................................เป็นผู้เสียหายในคดีนี้จริง และโจทก์ไม่คัดค้านหากศาล

จะจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลยตามมาตรา ๙๐

สาหรับคดีส่วนแพ่ง ศาลได้ตรวจสัญญาประนีประนอมยอมความแล้วเห็นว่าชอบด้วยกฎหมาย
จึงพิพากษาตามยอมคดีในส่วนแพ่งและให้ถือว่าสัญญาประนีประนอมยอมความเป็นส่วนหน่งของเง่อนไขในการ


จัดท�าแผนตามมาตรา ๙๐
ให้ผู้ประกันส่งตัวจ�าเลยต่อศาลตามนัด/อ่านแล้ว












































หมายเหตุ ข้อก�าหนดค่าเสียหายตามสัญญาประนีประนอมยอมความ หากจะก�าหนดในแผนแก้ไขบ�าบัด

ฟื้นฟ คู่ความท้งสองฝ่ายต้องสมัครยินยอมในช้นประสานการประชุมให้นาคาพิพากษาตามยอม





ในส่วนแพ่งมากาหนดเป็นแผนฯ ด้วย แต่หากคู่ความไม่สมัครใจ ไม่สามารถนามากาหนดลงใน


แผนฯ ได้
44 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีศาลเห็นควรใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดี

เนื่องจากผู้ปกครองจ�าเลยร้องขอ ในคดีไม่มีผู้เสียหาย) มาตรา ๑๓๒ วรรคหนึ่ง


นัดสอบค�าให้การจ�าเลยวันนี้ โจทก์ จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และที่ปรึกษากฎหมายจ�าเลยมาศาล
ศาลได้แต่งตั้งที่ปรึกษากฎหมายเวรชี้ให้จ�าเลยแล้ว



อ่านและอธิบายฟ้องให้จาเลยฟังแล้ว จาเลยขอให้การรับสารภาพตามฟ้องโจทก์ทุกประการ ตามคาให้การท ่ ี

บันทึกไว้วันนี้

ให้จาเลยและผู้เก่ยวข้องทราบรายงานแสดงข้อเท็จจริงเก่ยวกับเด็กหรือเยาวชนของสถานพินิจและคุ้มครอง


เด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครแล้ว ไม่มีผู้ใดคัดค้าน
โจทก์และจ�าเลยแถลงไม่ติดใจสืบพยาน







จาเลยและทปรกษากฎหมายแถลงว่า จาเลยกระทาความผดตามฟ้องจรงโดยเสพยาเสพตดมาตงแต่







จาเลยอายุ...................ปี จาเลยรู้สึกสานึกผิดและจาเลยประสงค์ท่จะเข้ารับการบาบัดรักษาอาการติดยาเสพติด



เพื่อไม่หวนกลับไปกระท�าความผิดอีก ขอศาลให้โอกาสกลับตนเป็นคนดีสักครั้งหนึ่ง
ผู้ปกครองจาเลยแถลงว่า จะให้จาเลยเข้ารับการบาบัดรักษาอาการติดยาเสพติดและจะดูแลจาเลยอย่าง




ใกล้ชิด เพื่อไม่ให้จ�าเลยกลับไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ ขอศาลให้โอกาสจ�าเลยสักครั้งหนึ่ง





ศาลสอบถามและทาความเข้าใจกบจาเลยเกยวกบการใช้มาตรการแทนการพพากษาคดตามพระราชบญญต ิ





ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๓๒ วรรคหนึ่ง แล้ว จ�าเลย
แถลงว่า...........................หากจาเลยได้รับโอกาสจากศาลให้ใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีแล้ว จาเลยจะต้งใจปฏิบัต ิ



ตามเงื่อนไขที่ศาลก�าหนด เพราะจ�าเลยต้องการกลับไปเรียนหนังสือ/กลับไปท�างานเพื่อเลี้ยงดูครอบครัวต่อไป
คดีเป็นอันเสร็จการพิจารณา








ดังน เม่อพฤติการณ์ในการกระทาความผิดของจาเลยไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อสังคมเกินสมควร ท้งจาเลยท่ม ี







แนวโน้มท่จะปรับเปล่ยนพฤติกรรมได้ จึงเห็นควรใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีแก่จาเลย อน่ง เพ่อให้จาเลยมีสานึก
ท่ดีสามารถปรับเปล่ยนทัศนคติและพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม จึงให้ศูนย์ให้คาปรึกษาฯ จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ ู





ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้

๑. ให้จาเลยมารายงานตัวกับนักจิตวิทยาทุก........คร้ง ภายในระยะเวลา................ปี ทุกคร้งท่มารายงานตัว








ให้แนะนาจาเลยร้จักการวางเป้าหมายในชีวิต และให้ตรวจปัสสาวะจาเลยทุกครงท่มารายงานตัว หากพบสารเสพติด


ให้รายงานให้ศาลทราบ





๒. ให้ผู้ปกครองพาจาเลยไปบาบัดอาการติดยาเสพติดแบบผู้ป่วยนอกท่สาธารณสุขใกล้บ้านทุกคร้งท่มา


รายงานตัวให้นาผลการรักษาของแพทย์มาแสดง/ให้ส่งตัวจาเลยไปบาบัดรักษาอาการติดยาเสพติดท่.................................


..........แบบผู้ป่วยใน เมื่อรักษาครบโปรแกรมแล้ว ให้แพทย์แจ้งผลการบ�าบัดรักษาเป็นหนังสือส่งมาที่ศาล


๓. ให้จาเลยต้งใจศึกษาเล่าเรียน เม่อมารายงานตัวให้นาผลการเรียนมาแสดง/ให้จาเลยประกอบอาชีพเป็น



กิจจะลักษณะ
๔. ห้ามจาเลยคบหาสมาคมกับบุคคลท่มีความประพฤติไม่ด ห้ามจาเลยเท่ยวเตร่ในเวลากลางคืนหรือใน





สถานเริงรมย์ทุกแห่ง
ให้เลื่อนไปนัดฟังผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูจ�าเลย ในวันที่.............................................................
ในชั้นนี้ให้จ�าหน่ายคดีออกจากสารบบความเป็นการชั่วคราว




แจ้งคาส่งให้ศูนย์ให้คาปรึกษาฯ กลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญาทราบเพ่อดาเนินการต่อไป


และให้ประสานงานไปที่..............................................เพื่อส่งตัวจ�าเลยไปบ�าบัดแบบผู้ป่วยใน
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 45

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีศาลเห็นควรใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดี

เนื่องจากผู้ปกครองจ�าเลยร้องขอและคดีมีผู้เสียหาย) มาตรา ๑๓๒ วรรคหนึ่ง









นัดสืบพยานจาเลยวันน โจทก์ จาเลย ผู้ปกครองจาเลย และท่ปรึกษากฎหมายจาเลยมาศาล
จ�าเลยน�าพยานมาสืบได้ ๒ ปาก แล้วแถลงหมดพยานเพียงเท่านี้
จ�าเลยแถลงว่า จ�าเลยไม่เคยกระท�าความผิดใดมาก่อน...................................................................
.............................................................................................................................พฤติการณ์การ
กระท�าความผิดของจ�าเลยจึงไม่ร้ายแรง ขอศาลให้โอกาสจ�าเลยกลับตัวสักครั้งหนึ่ง



ศาลสอบถามและทาความเข้าใจกับจาเลยเก่ยวกับการใช้มาตรการแทนการพิพากษาคด ี








ตามพระราชบญญตศาลเยาวชนและครอบครวและวธพจารณาคดเยาวชนและครอบครว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา


๑๓๒ วรรคหน่ง แล้ว จาเลยแถลงว่า...................................................................หากจาเลยได้รับโอกาสจาก







ศาลให้ใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีแล้ว จาเลยจะต้งใจปฏิบัติตามเง่อนไขท่ศาลกาหนด เพราะจาเลย

ต้องการกลับไปเรียนหนังสือ/กลับไปท�างานเพื่อเลี้ยงดูครอบครัวต่อไป
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า แม้ผู้เสียหายไม่มาศาลในวันน แต่ผู้เสียหายเป็นผู้ได้รับความกระทบกระเทือน


ทางจิตใจ ศาลเห็นควรรับฟังความคิดเห็นของผู้เสียหายเก่ยวกับเร่องน้ก่อน จึงให้มีหนังสือแจ้งให้ผู้เสียหาย






มาศาลเพ่อสอบถามความคิดเห็นกรณีท่ศาลจะใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีแก่จาเลย โดยให้แจ้งด้วย
ว่าผู้เสียหายอาจแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นหนังสือต่อศาลได้ นอกจากนี้ให้นักจิตวิทยาประจ�าศูนย์

ให้คาปรึกษาแนะนาและประสานการประชุม (กลุ่มงานมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา) ประเมินสภาพ


ปัญหาของจ�าเลยพร้อมความเห็นเสนอต่อศาลภายใน.....................วัน นับแต่วันนี้



ให้กาหนดวันนัดพร้อมเพ่อสอบถามและฟังคาส่งศาลในวันท่.............................................................



















46 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีศาลเห็นควรใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดี

แก่จ�าเลยบางคน ศาลเห็นเอง) มาตรา ๑๓๒ วรรคหนึ่ง








นัดสืบพยานโจทก์ประกอบคารับสารภาพวันน โจทก์ จาเลยท้งสอง ผู้ปกครองจาเลยท้งสอง

และที่ปรึกษากฎหมายจ�าเลยทั้งสองมาศาล

โจทก์นาพยานเข้าเบิกความจนจบได้...........ปาก พร้อมอ้างเอกสารประกอบการสืบพยาน.........ฉบับ
หมาย จ.๑ ถึง จ............ เอกสารให้รวมส�านวนแล้วแถลงหมดพยาน
จ�าเลยทั้งสองแถลงไม่ติดใจสืบพยาน
คดีเสร็จการพิจารณา
พิเคราะห์แล้ว จาเลยท่..........อายุเพียง...............ปีเศษ ปรากฏข้อเท็จจริงจากพยานปาก




ผู้เสียหายว่า...........................................จาเลยท่................จึงไม่ใช่ต้นเหตุของการกระทาความผิดและไม่ได้เป็น

ผู้กระท�าแก่ผู้เสียหายโดยตรง





ศาลสอบจาเลยท่.............และผู้ปกครองจาเลยท่...............เก่ยวกับพฤติการณ์แห่งคดีและการท ่ ี



ศาลจะใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีแก่จาเลยท่.........แล้ว ได้ความว่า จาเลยท่.....................................

..............................................................................................................................หลังเกิดเหตุจาเลยท่..........


ไม่ได้หลบหนีไปไหน เมื่อเจ้าพนักงานต�ารวจมาจับกุม จ�าเลยที่...........ก็ให้การรับสารภาพ หากศาลให้โอกาส
จ�าเลยที่..........ด้วยการใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดี ผู้ปกครองจ�าเลยที่........รับว่าจะช่วยก�ากับดูแลความ
ประพฤติของจ�าเลยที่............ให้เป็นคนดีดังเดิม
ศาลสอบถามผู้เสียหายแล้ว ผู้เสียหายแถลงว่าไม่ติดใจเอาความกับจ�าเลยที่....................................
เนื่องจาก.............................................................................................................................................................
ดังนี้ เมื่อพฤติการณ์ในการกระท�าความผิดของจ�าเลยที่........ไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อสังคมเกินสมควร

ทงจาเลยท..................มแนวโนมทจะปรบเปลยนพฤตกรรมได จงเหนควรใชมาตรการแทนการพพากษาคดแก ่

























จาเลยท่................อน่ง เพ่อให้จาเลยท่...................มีสานึกท่ด สามารถปรับเปล่ยนทัศนคติและพฤติกรรม




ได้อย่างเหมาะสม จึงให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูจาเลยท่................ให้ต้ง.........................นักจิตวิทยา/




นักสังคมสงเคราะห์ เป็นผู้จัดท�าแผน ให้จ�าเลยที่...........ไปรายงานตัวต่อผู้จัดท�าแผนฯ ทันทีวันนี้ และให้
ผู้จัดท�าแผนเสนอแผนต่อศาลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันนี้



ให้นัดฟังคาพิพากษาจาเลยท่.......................และนัดฟังผลการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูจาเลย


ที่............ในวันที่...................................................
ในชั้นนี้ให้จ�าหน่ายคดีส�าหรับจ�าเลยที่...............ออกจากสารบบความเป็นการชั่วคราว
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 47

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีจ�าเลยไม่มีบิดามารดาหรือผู้ปกครอง)

มาตรา ๑๓๒ วรรคสอง


นัดสืบพยานโจทก์และจ�าเลยวันนี้ โจทก์ จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และที่ปรึกษากฎหมายจ�าเลย
มาศาล

โจทก์นาพยานเข้าเบิกความจนจบได้..........ปาก พร้อมอ้างเอกสารประกอบการสืบพยาน...........ฉบับ
หมาย จ.๑ ถึง จ.............เอกสารให้รวมส�านวนแล้วแถลงหมดพยาน
จ�าเลยอ้างตนเองเป็นพยานเข้าสืบจนจบปาก แล้วแถลงหมดพยาน

คดีเป็นอันเสร็จการพิจารณา
ศาลสอบโจทก์และผู้เสียหายแล้วได้ความว่า ปัจจุบันผู้เสียหายได้รับของกลางคืนจากเจ้าพนักงาน



ตารวจแล้ว และไม่คัดค้าน หากศาลจะนามาตรการพิเศษแทนการพิพากษามาใช้แก่จาเลย (หรือคัดค้านว่า
การน�ามาตรการมาใช้ไม่เหมาะสม ขอให้พิพากษาต่อไป)


ศาลพจารณาแล้วเห็นว่า ปรากฏตามรายงานข้อเท็จจริงเก่ยวกับเดกและเยาวชนของสถานพินิจ









และค้มครองเดกและเยาวชนว่า จาเลยกระทาความผดขณะอาย..........ปเศษ โดยจาเลยกาพราบดามารดา






มีเพียง.......เป็นผู้เล้ยงดูมาแต่.........เสียชีวิตไปขณะจาเลยอายุ........ปีเศษ จาเลยจึงต้องออกจากโรงเรียน





จาเลยไม่เคยถูกดาเนินคดีใด ๆ มาก่อน ดังน เม่อพฤติการณ์แห่งการกระทาความผิดไม่เป็นภัยร้ายแรงต่อ






สังคมเกินสมควร ท้งจาเลยมีแนวโน้มท่จะปรับเปล่ยนพฤติกรรมไปในทางท่ดีข้น เห็นควรใช้มาตรการแทน

การพิพากษาคดีแก่เด็กและเยาวชนตามมาตรา ๑๓๒ แต่เนื่องจากจ�าเลยไม่มีบุคคลดูแลใกล้ชิด จึงเห็นควรส่ง
จ�าเลยไปยังสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดยก�าหนดเงื่อนไขให้จ�าเลยฝึกอาชีพอย่างน้อย.............



หลักสตรไม่เกน ๖ เดือน และระหว่างท่อย่ในสถานพนจฯ ห้ามจาเลยมพฤตกรรมเกเรและก่อเรองทะเลาะววาท









กับบุคคลอื่น โดยให้ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ รายงานความประพฤติของจ�าเลยให้ศาลทราบ ๓ เดือนต่อครั้ง
และเมื่อครบก�าหนดระยะเวลาฝึกอบรมแล้วให้รายงานศาลทราบต่อไป
นัดพร้อมเพื่อฟังผลปฏิบัติการตามเงื่อนไขวันที่
ในชั้นนี้ให้จ�าหน่ายคดีออกจากสารบบความเป็นการชั่วคราว





48 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีบิดามารดาหรือผู้ปกครอง ไม่อาจดูแลเด็กเยาวชนได้)
มาตรา ๑๓๒ วรรคสอง


นัดสืบพยานโจทก์และจ�าเลยวันนี้ โจทก์ จ�าเลย ผู้ปกครองจ�าเลย และที่ปรึกษากฎหมายจ�าเลย

มาศาล

โจทก์นาพยานเข้าเบิกความจนจบได้..........ปาก พร้อมอ้างเอกสารประกอบการสืบพยาน...........ฉบับ
หมาย จ.๑ ถึง จ............. เอกสารให้รวมส�านวนแล้วแถลงหมดพยาน

จ�าเลยแถลงไม่ติดใจสืบพยาน
คดีเป็นอันเสร็จการพิจารณา


ศาลสอบโจทก์และผู้เสียหายแล้วได้ความว่า โจทก์ไม่คัดค้านหากศาลจะนามาตรการแทนการพิพากษา
คดีมาใช้แก่จ�าเลย

ศาลสอบผู้ปกครองจาเลยและจาเลยแล้ว ประสงค์ให้ศาลใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีมาใช้แก่

จ�าเลย
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ขณะเกิดเหตุจ�าเลยอายุเพียง........ปีเศษ พฤติการณ์แห่งการกระท�าความผิด



ของจาเลยยังไม่เป็นภัยร้ายแรงเกินสมควร หากใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีแก่จาเลยน่าจะเป็น




ประโยชน์แก่จาเลยมากย่งกว่า แต่เน่องจากบิดาจาเลย..................................................ส่วนมารดาของ










จาเลย........................................................ทาให้จาเลยออกไปมวสมกบกล่มเพอน จงเป็นกรณทผ้ปกครอง






จาเลยไม่สามารถดูแลจาเลยได้ เห็นควรใช้มาตรการแทนการพิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ วรรคสอง

แก่จ�าเลย โดยก�าหนดเงื่อนไขให้จ�าเลยฝึกอาชีพอย่างน้อย........หลักสูตร ไม่เกิน ๖ เดือน และระหว่างที่อยู่



ในสถานพินิจฯ ห้ามจาเลยมีพฤติกรรมเกเรและก่อเร่องทะเลาะวิวาทกับบุคคลอ่น โดยให้ผู้อานวยการสถานพินิจฯ

รายงานความประพฤติของจ�าเลยให้ศาลทราบ ๓ เดือนต่อครั้ง และเมื่อครบก�าหนดระยะเวลาฝึกอบรมแล้ว
ให้รายงานศาลทราบต่อไป
นัดพร้อมเพื่อฟังผลปฏิบัติการตามเงื่อนไขวันที่
ในชั้นนี้ให้จ�าหน่ายคดีออกจากสารบบความเป็นการชั่วคราว



















คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 49


Click to View FlipBook Version