The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tintuluk, 2021-10-08 04:59:35

คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามมาตรา๙๐

รายงานกระบวนพิจารณา (กรณีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับจ�าเลยเปลี่ยนแปลงไป)


นัดสอบถามจ�าเลยวันนี้ จ�าเลยและผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ มาศาล
ผู้อ�านวยการสถานพินิจฯ แถลงว่า ตามที่ศาลวางเงื่อนไขให้จ�าเลยฝึกอบรมเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น

จ�าเลยขอเปลี่ยนไปฝึกอบรมในหลักสูตรการซ่อมรถจักรยานยนต์แทน จึงขอให้ศาลเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข


จาเลยแถลงว่า หลังจากจาเลยเข้าไปในสถานพินิจฯ แล้ว จึงทราบว่ามีหลักสูตรซ่อมรถจักรยานยนต์
ซึ่งจ�าเลยคิดว่าจะเป็นประโยชน์แก่จ�าเลยยิ่งกว่า จึงขอให้ศาลเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ก�าหนดด้วย






พิเคราะห์แล้วเห็นว่า เม่อจาเลยประสงค์ท่จะเปล่ยนแปลงไปอบรมทางวิชาชีพ ซ่งจาเลยเห็นว่า






จะเป็นประโยชน์แก่จาเลยย่งกว่า จึงเห็นควรอนุญาตเปล่ยนแปลงเง่อนไขเฉพาะข้อท่เก่ยวข้องกับการเรียน
ส่วนเงื่อนไขข้ออื่นให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ก�าหนดไว้เดิม
นัดพร้อมตามที่นัดไว้เดิม















































50 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

บทที่ ๕ บทบาทและหน้าที่ของผู้ประสานการประชุม






















เม่อศาลพิจารณาเห็นสมควรนาวิธีการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูมาใช้สาหรับเด็กหรือเยาวชนและมีคาส่งต้ง















ผ้ประสานการประชมเพ่อจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟตามพระราชบญญตศาลเยาวชนและครอบครัวและวธพจารณาคด ี
เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๙๐ และ ๙๑ แล้ว นอกจากผู้ประสานการประชุมจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
ดังกล่าวในหมวด ๗ มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญา ตั้งแต่มาตรา ๙๐ ถึงมาตรา ๙๔ ยังต้องปฏิบัติตามข้อบังคับ






ของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วธีการและเงอนไขในการจดทาแผนแก้ไขบาบดฟื้นฟูหลังฟ้องคด พ.ศ. ๒๕๕๖


อีกด้วย โดยมีสาระส�าคัญพอสรุปได้ ๕ ประการดังนี้
๑. เป้าหมายของการประชุม
๒. หลักการส�าคัญที่ต้องค�านึงเพื่อให้การประชุมได้ผลส�าเร็จ
๓. บทบาทหน้าที่ของผู้ประสานการประชุม
๔. บุคคลที่เชิญเข้าร่วมประชุม
๕. ขั้นตอนการประชุม

๕.๑ เป้าหมายของการประชุม




เน่องจากการประชุมเพ่อจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูหลังฟ้องคดีมีแนวความคิดมาจากความยุติธรรม


เชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) ซ่งความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ได้ขยายหรือเพ่มผู้เก่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย


ในความยุติธรรมทางอาญาให้มากกว่ารัฐหรือผู้กระทาความผิด โดยให้รวมไปถึงผู้เสียหายและสมาชิกของชุมชนด้วย
นอกจากนี้ยังให้ความส�าคัญเป็นพิเศษกับสิ่งส�าคัญ ๒ ประการ ดังนี้

๕.๑.๑ ความต้องการ (need) ของผู้เสียหาย
ข้อมูลข่าวสาร (information) การบอกเล่าความจริง (truth telling) การเสริมพลัง (empower) และการ
ชดใช้เยียวยา (restitution) คือความต้องการของผู้เสียหายที่ถูกละเลยไป

ทฤษฎีและการปฏิบัติของความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ได้พัฒนามาจากความพยายามท่จะให้ผู้เสียหายได้รับ
การตอบสนองความต้องการของเขาอย่างแท้จริง

๕.๑.๒ ความรับผิดชอบในการกระท�าของผู้กระท�าผิด (offender accountability)
ในระบบความยุติธรรมทางอาญาแบบเดิม ผู้กระทาผิดถูกกีดกันออกจากการยอมรับถึงความรับผิดชอบ

(responsibility) และมีโอกาสเพียงเล็กน้อยที่จะแสดงความรับผิดชอบ








คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 51

๕.๑.๓ ความรับผิดชอบในการกระท�าอย่างแท้จริง (real accountability)



หมายถึง การกระตุ้นผู้กระทาผิดให้เข้าใจถึงผลกระทบ (impact) ของการกระทาของเขาและกระตุ้นให้เขา
เลือกกระท�าตามขั้นตอน (take steps) ในสิ่งที่ถูกต้อง





ชมชน (community) กได้รบผลกระทบจากการกระทาผิดและควรได้รับการพจารณาให้เข้ามาร่วมในฐานะ
ผู้มีส่วนได้เสีย (stakeholders) และในฐานะท่เป็นผู้เสียหายโดยอ้อม (secondary victims) เป็นโอกาสท่จะสร้าง


ความรู้สึกให้ชุมชนเกิดความรับผิดชอบร่วมกันและกระตุ้นให้เกิดภาระหน้าที่ต่อสวัสดิภาพของสมาชิกในชุมชน



การจะไปให้ถึงเป้าหมายดังกล่าวข้างต้นได้มีความจาเป็นท่จะต้องให้ผู้เสียหายมีส่วนร่วมหรือเก่ยวข้องใน
กระบวนการและได้รับความพึงพอใจ ส่วนผู้กระทาผิดจะต้องรับรู้และเข้าใจว่าการกระทาของเขามีผลกระทบต่อบุคคล






อ่นอย่างไรและพร้อมท่จะรับผิดชอบในการกระทาเหล่าน้นด้วย ผลท่เกิดข้นจะช่วยให้เกิดการเยียวยาความเสียหาย







ท่เกิดข้นและมุ่งโดยตรงไปยังเหตุผลของการกระทาความผิดน้น ท้งผู้เสียหายและผู้กระทาผิดต่างก็ได้รับความรู้สึก

ของการยุติปัญหา (closure) และต่างก็สามารถที่จะกลับไปอยู่ร่วมกันในชุมชนได้ (reintegrate into the community)
๕.๒ หลักการส�าคัญที่ต้องค�านึงเพื่อให้การประชุมได้ผลส�าเร็จ

๕.๒.๑ การให้ความเคารพกับทุกฝ่าย


หมายความถึง การท่ผู้ประสานการประชุมคานึงถึงศักด์ศรีของความเป็นมนุษย์ของผู้เก่ยวข้องทุกฝ่ายท่เข้า



ร่วมประชุม ไม่ว่าจะเป็นผู้เสียหาย ผู้กระท�าความผิด และชุมชนที่เหตุเกิดขึ้น โดยไม่เลือกปฏิบัติหรือพูดหรือกระท�าการ



ใด ๆ ในลักษณะข่มขู่หรือบังคับเพ่อให้เขาต้องยอมจานนหรือยอมรับเง่อนไขหรือมาตรการหรือข้อตกลงท่ตนเอง

ก�าหนดขึ้น เนื่องจากมนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรี ดังนั้น จึงจ�าเป็นต้องให้ความเคารพทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน

๕.๒.๒ การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
หมายความถึง การให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการพูดถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับตนเอง ตลอดจน












การแสดงความคดเหนหรอข้อเสนอแนะเพอหาทางแก้ไขหรอยตปัญหาทเกดขนอย่างสนตและด้วยความร่วมมอ




ร่วมใจกันของทุกฝ่าย

๕.๒.๓ ความปลอดภัยของผู้เสียหายและชุมชน

หมายความถึง การท่ผู้ประสานการประชุมต้องคานึงถึงความปลอดภัยของผู้เสียหายเป็นสาคัญ โดยเฉพาะ


อย่างย่งเม่อจาเป็นต้องพบปะหรือพูดคุยกับผู้กระทาความผิดท่แม้จะเป็นเด็กหรือเยาวชนก็ตาม เน่องจากเหตุท่เกิดข้น








อาจทาให้ผู้เสียหายยังมีความรู้สึกถึงความไม่ปลอดภัยกับตนเอง ไม่ว่าด้านชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ อนามัย หรือแม้แต่

ทรัพย์สินก็ตาม ตลอดจนความปลอดภัยของชุมชนที่ผู้เสียหายหรือผู้กระท�าความผิดอาศัยอยู่ด้วย

๕.๒.๔ ผู้ประสานการประชุมให้ความสะดวกในการประชุม



หมายความถึง บทบาทหน้าท่ของผู้ประสานการประชุมเน้นให้ความสาคัญต่อการเอ้อให้ผู้เข้าร่วมประชุม

สามารถพูดคุยกันตามกระบวนการ ข้นตอน และตรงตามเป้าหมายของการประชุมให้ได้มากท่สุดและไหลล่น ใน




ช่วงต้นของการประชุมจึงยังไม่ควรท่จะพูดคุยถึงการชดเชยเยียวยา ผู้ประสานการประชุมจึงยังไม่มีบทบาทอย่างผู้ไกล่เกล่ย
ส่วนการท�าหน้าที่เป็นผู้ให้ค�าปรึกษานั้นควรใช้ในช่วงที่เตรียมความพร้อมของคู่ความ
52 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

๕.๒.๕ วิธีปฏิบัติที่จะช่วยให้การประชุมราบรื่น

(๑) ผู้ประสานการประชุมควรพบปะพูดคุยท�าความเข้าใจกับผู้เสียหายและเด็กหรือเยาวชนทีละฝ่าย เพื่อสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดี ลดความวิตกกังวล (ขั้นเตรียมความพร้อมคู่ความ)
(๒) พึงหลีกเลี่ยงมิให้ทั้งสองต้องเผชิญหน้ากัน เว้นแต่จะมั่นใจแล้วว่าทั้งสองฝ่ายมีแนวโน้มที่จะมีความสัมพันธ์

ที่ดีหรือไม่มีปัญหาความสัมพันธ์


๕.๒.๖ ผู้ประสานการประชุมควรให้การประชุมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการประสานการประชุม ดังนี้
(๑) เด็กหรือเยาวชนส�านึกในการกระท�าและรับผิดชอบต่อการกระท�า
(๒) ผู้เสียหายแสดงความรู้สึกและผลที่ผู้เสียหายได้รับ

(๓) ร่วมกันแสวงหาทางออกในการจัดท�าแผนแก้ไข มาตรการ และการชดใช้เยียวยา


๕.๒.๗ ควบคุมกระบวนการก�าหนดกฎกติกา



หมายความถึง การทาหน้าท่เป็นผู้วางกฎกติกาและรักษากฎกติกาให้ผู้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติตามเพ่อให้การ



ประชุมบรรลุเป้าหมาย ดังน้น หากมีฝ่ายใดฝ่ายหน่งละเมิดกฎกติกา ผู้ประสานการประชุมควรจะต้องเตือนฝ่ายน้นด้วย
ถ้อยค�าที่สุภาพ ไม่ให้เขารู้สึกเสียหน้า


๕.๒.๘ หาทางแก้ไขปัญหาท่เป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่ายโดยต้องไม่ช้นา เสนอแนะหรือให้ความเห็น เว้นแต่


คู่ความอนุญาต


หมายความถึง การท่ผู้ประสานการประชุมพยายามท่จะเน้นยาให้ผู้เข้าร่วมประชุมนึกถึงเป้าหมายและประโยชน์








ท่ทุกฝ่ายจะได้รับหากการประชุมเป็นผลสาเร็จและกรณีท่การประชุมไม่บรรลุผลสาเร็จ ไม่ควรท่จะช้นา เสนอแนะ หรือให้

ความเห็นก่อนที่ผู้เข้าร่วมประชุมจะได้พูดคุยหารือ เสนอแนะ หรือให้ความเห็นต่อปัญหาที่เกิดขึ้น มิฉะนั้น อาจถูกอีกฝ่าย


มองว่าลาเอียงหรือเข้าข้างอีกฝ่ายหน่งก็เป็นได้ ซ่งจะทาให้เกิดความไม่ไว้วางใจหรือเช่อถืออีกต่อไป การประชุมมีแนวโน้มท ี ่








จะไม่สาเร็จ หรือหากการประชมสาเร็จจนได้แผนแก้ไขบาบดแล้วกตาม แต่ในภายหลงอาจปฏบัติตามเงอนไขหรอมาตรการ






ที่ก�าหนดในแผนไม่ได้

๕.๓ บทบาทหน้าที่ของผู้ประสานการประชุม

๕.๓.๑ บทบาทก่อนการประชุม
(๑) ต้องศึกษาท�าความเข้าใจเรื่องราวเกี่ยวกับคดีที่เกิดขึ้น
(๒) ติดต่อประสานงานผู้เสียหายและผู้กระท�าผิด เพื่อสอบถามความประสงค์การเข้าร่วมกระบวนการยุติธรรม


เชิงสมานฉันท์ ช้แจงให้คู่กรณีทราบว่า กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์คืออะไร แต่ละฝ่ายมีบทบาทหน้าท่อย่างไร
ต้องท�าอะไร เมื่อท�าได้แล้วจะได้อะไรจะเสียอะไร อ�านาจการตัดสินใจเป็นของคู่กรณี



(๓) การเตรียมความพร้อมของคู่กรณ โดยการพบปะกันเพ่อให้การปรึกษารายบุคคล เพ่อช่วยให้ผู้เสียหาย



เข้าใจอารมณ์ ความต้องการท่แท้จริง และสภาพจิตใจของตนเอง เตรียมความพร้อมของผู้กระทาผิด เพ่อให้เกิดความ


เข้าใจถึงสาเหตุและการกระทาของตนเอง ตลอดจนสารวจความต้องการของท้งสองฝ่ายว่าต้องการให้ใครมาร่วมประชุมบ้าง




การแจ้งสิทธิและหน้าท่ของท้งสองฝ่าย สิทธิท่สาคัญคือทุกฝ่ายมีสิทธิท่จะยกเลิกกระบวนการได้ทุกเม่อท่ต้องการ




(๔) ก�าหนดวัน เวลา สถานที่ประชุมที่ทุกฝ่ายสะดวกและปลอดภัย
(๕) เตรียมการก่อนการประชุม เช่น สถานที่ อาหารว่าง เครื่องดื่ม อุปกรณ์ต่าง ๆ
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 53

๕.๓.๒ บทบาทระหว่างการประชุม

เป็นผู้ด�าเนินการประชุมและเชิญให้แต่ละฝ่ายได้พูดคุยกัน โดยมีกระบวนการดังนี้
(๑) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ขั้นตอน และกติกามารยาทในการประชุม รวมทั้งเน้นย�้าว่า ข้อตกลงที่อาจ
จะเกิดขึ้นไม่ผูกพันกับค�าพิพากษา




(๒) กระบวนการทาให้เกิดความสานึกโดยการให้ผู้เสียหายพูดให้ผู้กระทาผิดได้รับรู้ความรู้สึกนึกคิด ความสูญเสีย











ความเจบปวด และผลกระทบต่าง ๆ ทตนได้รบจากการกระทาผด การรบร้เรองราวจากผ้เสยหายโดยตรงจะทาให้


ผู้กระท�าผิดได้รับรู้ถึงผลร้ายจากการกระท�าของตน การส�านึกผิดจะเกิดขึ้นได้ในขั้นตอนนี้
(๓) กระบวนการแก้ปัญหาร่วมกัน/แก้ไขความขัดแย้งร่วมกัน ทุกฝ่ายจะร่วมกันปรึกษาหารือว่า จะแก้ไข
ผลร้ายที่ผู้เสียหายได้รับอย่างไร เป็นขั้นตอนที่ผู้กระท�าผิดแสดงความรับผิดชอบต่อการกระท�าของเขา

(๔) การจัดทาข้อตกลงร่วมกันเป็นลายลักษณ์อักษรว่าแต่ละฝ่ายจะปฏิบัติต่อกันอย่างไร ใช้เวลานานเท่าไหร่
ระบุถึงวิธีการติดตามผลด้วย ท�าเพื่อให้เชื่อว่าเหตุการณ์เช่นนี้จะไม่เกิดขึ้นอีก
๕.๓.๓ บทบาทภายหลังการประชุม
(๑) จัดท�ารายงานผลการประชุม
(๒) ติดตามผลการปฏิบัติตามข้อตกลง หากฝ่ายใดไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง ก็จัดประชุมกันอีกครั้ง เพื่อหาทางให้
มีการปฏิบัติตามข้อตกลงเดิมหรือท�าข้อตกลงใหม่ หรืออาจยกเลิกข้อตกลงทั้งหมดก็ได้

๕.๓.๔ หลักเกณฑ์ของการประชุม
ผู้ประสานการประชุมต้องด�าเนินการประชุมภายใต้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

(๑) ให้เด็กหรือเยาวชนได้แสดงออกถึงความรู้ส�านึกในการกระท�าและรับผิดชอบต่อการกระท�าของตน

(๒) ให้เด็กหรือเยาวชนและผู้เก่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าใจความรู้สึกและผลท่ผู้เสียหายได้รับ เพ่อให้ผู้เสียหาย


มีความรู้สึกที่ดีและตระหนักว่าทุกคนมิได้เพิกเฉย ละเลยต่อความรู้สึกและความเสียหายที่ผู้เสียหายประสบ

(๓) แสวงหาแนวทางในการจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กหรือเยาวชนตลอดจนกาหนดมาตรการในการ


ป้องกันมิให้เด็กหรือเยาวชนกระทาความผิดอีก จากผู้เข้าร่วมการประชุมทุกฝ่าย โดยให้คานึงถึงความรู้สึกและจิตใจของ


ผู้เสียหาย รวมทั้งการชดเชยเยียวยาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย โดยไม่ต้องค�านึงถึงตัวเงินเป็นส�าคัญ

๕.๓.๕ กฎเหล็กที่ทุกคนต้องปฏิบัติในการประสานการประชุม
(๑) ทุกคนมีโอกาสที่จะได้พูดในสิ่งที่เขาต้องการจะบอก ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน โดยไม่มีผู้ใดมีอิทธิพลเหนือ
ผู้อ่น ผู้ประสานการประชุมต้องใช้สิทธิหน้าท่ห้ามฝ่ายตรงข้ามหากมีการทะเลาะหรือต่อว่ากัน แต่หากมีการทะเลาะหรือ


ต่อว่ากันอย่างรุนแรง ผู้ประสานการประชุมต้องเตือนว่า หากเกิดขึ้นอีกจะหยุดการประชุมทันที
(๒) กระบวนการทุกอย่างต้องเป็นไปด้วยความปลอดภัย

(๓) กระบวนการต้องมีความเคารพซึ่งกันและกัน
(๔) ทุกคนควรพูดด้วยความจริงใจ มีความรู้สึกเกิดขึ้นอย่างแท้จริง มีความซื่อสัตย์
(๕) ทุกคนต้องรักษาความลับ











54 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

หลักการประสานการประชุมใช้หลัก OARS ดังนี้

(๑) Open question : ใช้ค�าถามปลายเปิดเพื่อให้ผู้เสียหายบอกผลกระทบที่ได้รับให้ได้มากที่สุด
(๒) Affirmation : กระตุ้นให้ทั้งสองฝ่ายได้ระบายหรือได้บอกความรู้สึกที่แท้จริงของตนเอง
(๓) Reflectionlistening : ฟังและสะท้อนความรู้สึกถึงสิ่งที่ทั้งสองฝ่ายต้องการ

(๔) Summaries : สรุปข้อตกลงว่าจะท�าแผนฯ หรือข้อตกลงอะไรต่อไป

๕.๔ บุคคลที่เชิญเข้าร่วมประชุมฯ


แนวความคิด ๓ ฝ่าย

(๑) Victim
(๒) Offender

(๓) Community



บุคคลที่เชิญเข้าร่วมประชุมตาม บุคคลที่เชิญเข้าร่วมประชุมตามหลักการ
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ และข้อบังคับ ในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์


๑. ฝ่ายเด็กหรือเยาวชนผู้ถูกฟ้อง บิดามารดา ๑. ผู้กระท�าผิดโดยตรง ผู้กระท�าผิดโดยอ้อม (ถ้ามี)
ผู้ปกครอง บุคคลหรือผู้แทนองค์กรที่เด็กหรือ

เยาวชนอยู่ด้วย

๒. ฝ่ายผู้เสียหาย บิดามารดา ผู้ปกครองหรือ ๒. ผู้เสียหายโดยตรง ผู้เสียหายโดยอ้อม (ถ้ามี)
บุคคลที่ท�าหน้าที่ปกครองดูแลฯ


๓. นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ ๓. เครือข่ายผู้เสียหาย

๔. ผู้แทนชุมชนหรือหน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ ๔. เครือข่ายของผู้กระท�าผิด

เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับผลกระทบจากการ
กระท�าความผิด หรือพนักงานอัยการ






• ผู้เสียหายในความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
(๑) ผู้เสียหายโดยตรง คือ ผู้ที่ได้รับผลร้ายจากอาชญากรรมโดยตรง (ผู้ถูกท�าร้าย)






(๒) ผู้เสียหายโดยอ้อม คือ ผู้ท่ได้รับผลกระทบจากอาชญากรรมท่เกิดข้น (ครอบครัว เพ่อน เพ่อนบ้าน ชุมชน)

เครือข่ายของผู้เสียหายหรือของผู้กระทาผิด คือ คนท่ผู้เสียหายหรือผู้กระทาผิดเห็นว่าเป็นคนสาคัญสาหรับเขา




(significant other (s)) เช่น ครู อาจารย์ หรือเพื่อนสนิท เป็นต้น



คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 55

• ชุมชนในความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์

(๑) ชุมชนต้องเข้ามาในกระบวนการฯ เสมอไปหรือไม่?
ชุมชนไม่ได้เข้ามาในกระบวนการฯ เสมอไป แต่จะเข้ามาเม่อชุมชนตระหนักรู้ว่า เป็นผู้เสียหายทางอ้อม

และหรือผู้กระท�าความผิดทางอ้อมเท่านั้น

(๒) ชุมชนเข้ามาเพื่ออะไร ?


กรณีชุมชนเป็นผู้เสียหายทางอ้อม ก็เข้ามาเพ่อให้ผู้กระทาผิดได้แสดงความรับผิดชอบในการกระทาของเขา

ต่อชุมชน โดยการเยียวยาชดใช้ความเสียหายแก่ชุมชนและเป็นการฟื้นฟูความสัมพันธ์ เพื่อให้ผู้กระท�าผิดอยู่ในชุมชนได้












กรณชมชนเป็นผ้กระทาผดทางอ้อม กเข้ามาเพอช่วยผ้กระทาผดในการเยยวยาชดใช้ความเสยหาย

และช่วยปรับพฤติกรรมของผู้กระท�าผิด

๕.๕ ขั้นตอนการประชุม
มีอยู่ ๓ ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ ก่อนการประชุม
๑. ขั้นเตรียมตัว
(๑) ตรวจส�านวนมาตรการพิเศษ ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลที่เกี่ยวกับเด็กฯ และผู้เสียหาย




(๒) กาหนดวันเวลาและสถานท่ประชุม (กาหนดวันประชุมภายใน ๓๐ วัน นับแต่ศาลมีคาส่งแต่งต้ง


ผู้ประสานการประชุมและก�าหนดสถานที่การประชุม)
(๓) ก�าหนดบุคคลที่จะเชิญเข้าร่วมประชุม
(๔) แจ้งให้เจ้าพนักงานศาลฯ ติดต่อผู้เข้าร่วมประชุมให้ทราบก�าหนดนัดและสถานที่ประชุม

๒. ขั้นเตรียมคู่ความ (ใช้ทักษะการให้ค�าปรึกษารายบุคคล (Individual Counseling))
(๑) สมัครใจยินยอม ในเรื่องดังต่อไปนี้
• เข้าใจตนเอง
• ยอมรับตนเอง
• คิดได้และตัดสินใจด้วยตนเอง

(๒) เสริมพลัง (Empower) ในเรื่องดังต่อไปนี้
• พร้อมที่จะกล้าพูด
• รู้จักฟังอย่างให้เกียรติ

(๓) กระตุ้นถาม ในเรื่องดังต่อไปนี้
• ต้องการให้ใครเข้าร่วมประชุมบ้าง
• วันเวลาสถานที่ประชุม

ขั้นตอนที่ ๒ การประชุม

๒.๑ ขั้นเปิดประชุม
• แนะน�าตัวเอง และให้ผู้เข้าร่วมประชุมแนะน�าตนเอง (ควรให้ผู้เสียหายแนะน�าตัวเองก่อน)

• ชี้แจงและท�าความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กระบวนการ ขั้นตอนการประชุม


• การรักษาความลับ บทบาทหน้าท่ของผู้เข้าร่วมประชุมฯ ระหว่างและหลังประชุม และให้ลงช่อ
ในแบบ มอ.๔
• ชี้แจงกฎกติกาในการประชุม


56 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

“วัตถุประสงค์” เพื่อ

• ให้เยาวชนแสดงออกถึงความรู้สึกผิด ค�าขอโทษ และพร้อมที่จะรับผิดชอบ
• ให้เยาวชนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าใจในความรู้สึกนึกคิดและผลกระทบที่ผู้เสียหายได้รับ
• ให้ผู้เสียหายเกิดความรู้สึกที่ดี และตระหนักว่าทุกคนมิได้เพิกเฉยในความเสียหายของเขา


• แสวงหาแนวทางจากผู้เข้าร่วมประชุมทุกฝ่าย เพ่อการเยียวยาผู้เสียหายและฟื้นฟูแก้ไขเยาวชนพร้อม
วางมาตรการในการป้องกันแก้ไขเยาวชนมิให้กระท�าความผิดซ�้า


“เป้าหมาย” เพื่อ
• การให้อภัยกัน

• การส�านึกผิดอย่างแท้จริงพร้อมที่จะท�าตามข้อตกลง
• ความรัก ความปรารถนาดีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยความจริงใจ พร้อมที่จะก้าวเดินไปด้วยกัน


ตัวอย่างถ้อยค�าที่ใช้ในการเปิดประชุม
• ทักทาย แนะน�าตัว เพื่อสร้างสัมพันธ์ที่ดี

“สวัสดีครับ/ค่ะ ผม/ดิฉัน ช่อ..........เป็นผู้ประสานการประชุมในวันน้ ขอขอบคุณทุกท่านท่เสียสละเวลา



มาเข้าร่วมประชุม”

“ขอให้ทุกท่านแนะนาตัวเอง โดยเร่มจากฝ่ายผู้เสียหายก่อน ฝ่ายเด็กหรือเยาวชน และผู้เข้าร่วมประชุม

ท่านอื่น ขอเรียนเชิญครับ/ค่ะ”


• แจ้งวัตถุประสงค์ของการประชุม
“...ทุกท่านจะช่วยพวกเราในการจัดการกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้น”





“...การประชุมในวันน้จะมุ่งเน้นท่เหตุการณ์ท่เกิดข้น (ระบุวัน เวลา สถานท่ และพฤติการณ์แห่งคดี)

ในสิ่งที่ (ชื่อเด็กหรือเยาวชน) ได้กระท�า และผลกระทบที่เกิดขึ้น เราไม่ได้มาประชุมกันเพื่อตัดสินว่าสิ่งที่เด็กหรือเยาวชน


กระทาน้นถูกหรือผิด หากแต่ต้องการค้นหาว่าทุกท่านได้รับผลกระทบอย่างไรบ้าง เพ่อหาทางแก้ไขความเสียหาย

ที่เกิดขึ้น...”

• แจ้งกติกาในการประชุม
• การประชุมเป็นความลับ ไม่น�าไปเปิดเผยในทางที่อาจเกิดความเสียหายแก่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด

• ขอให้รับฟังและปฏิบัติต่ออีกฝ่ายอย่างสุภาพ ไม่ขัดจังหวะหรือสอดแทรกในระหว่างที่อีกฝ่ายหนึ่งก�าลัง
พูด (แต่ละฝ่ายจะได้รับโอกาสในการพูดอย่างเต็มที่และเท่าเทียมกันตามล�าดับ)
• ผู้เข้าร่วมประชุมท่านใดไม่สมัครใจประชุมต่อ อาจขออนุญาตถอนตัวหรือออกจากห้องประชุมได้ทันที



• สรุปด้วยข้อความ เช่น “มาร่วมกันใช้ความพยายามอย่างดีท่สุดของพวกเราเพ่อค้นหาแนวทางการแก้ไข
ปัญหานี้”
• มีค�าถามหรือข้อสงสัยอะไรหรือไม่












คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 57

๒.๒ ขั้นส�ารวจและค้นหาความต้องการ (ขั้นส�านึกและชดใช้เยียวยา)
ตัวอย่างถ้อยค�าที่ใช้ในขั้นตอนนี้





(๑) ใหเด็กฯ เลาเรื่องกอน เกี่ยวกับขอเท็จจริงเบื้องตนในเหตุการณที่เกิดขึ้น (ใชค�าถามปลายเปด) เชน




• มีอะไรเกิดขึ้นในวันนั้น
• เธอคิดอะไรอยู่ในขณะนี้
• เธอคิดอย่างไรกับสิ่งที่ท�าลงไป
• เธอคิดว่าใครได้รับผลกระทบจากการกระท�าครั้งนี้บ้าง และเขาได้รับผลกระทบอย่างไร
(๒) ให้ผู้เสียหายได้พูดถึงเรื่องดังต่อไปนี้
• คุณมีความรู้สึกอย่างไรต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
• อะไรคือสิ่งที่ยากล�าบากส�าหรับคุณ

• ครอบครัวและเพื่อนของคุณมีความรู้สึกหรือมีปฏิกิริยาอย่างไรเมื่อได้ทราบเรื่องที่เกิดขึ้น
• คุณคิดว่ามีประเด็นหลักอะไรบ้าง

• คุณต้องการความช่วยเหลืออะไรบ้าง
(๓) เครือข่ายผู้เสียหายและเครือข่ายเด็กหรือเยาวชน
• คุณคิดอะไรหรือมีความรู้สึกอย่างไรต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

• อะไรคือสิ่งที่ยากล�าบากส�าหรับคุณ
• คุณคิดว่ามีประเด็นหลักอะไรบ้าง
(๔) ถามเด็กฯ ว่า : เธอสามารถกระท�าสิ่งที่ผู้เสียหายต้องการอะไรได้บ้าง

(๕) ถามผู้เข้าร่วมประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอันจะท�าให้เกิดข้อตกลงสุดท้าย (แผน)
(๖) ถามเด็กฯ ว่า : เธอคิดอย่างไรกับสิ่งที่ทุกคนเสนอมา (ซึ่งอาจมีการเจรจาต่อรองก็ได้)

(๗) จากนั้นจึงสรุปว่าเด็กฯ จะท�าตามข้อตกลงนั้นหรือไม่

๒.๓ ขั้นจัดท�าแผน สรุป และปิดประชุม

ขั้นตอนการจัดท�าแผนฯ (เป็นการท�าข้อตกลงร่วมกันทุกฝ่าย (agreement making))



• เม่อได้ผลสรุปจากการประชุม จึงจัดทาแผนฯ และกาหนดผู้บริหารแผน และอ่านแผนฯ ให้ฟัง
และลงชื่อ
• เสนอแผนต่อศาลภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่มีค�าสั่งแต่งตั้งฯ



เงื่อนไขของแผนฯ มีดังนี้
• เกิดจากข้อเสนอแนะและความเห็นร่วมกันของผู้เข้าร่วมประชุม




• ไม่จากัดสิทธิ/เสรีภาพของเด็ก เว้นแต่เพ่อประโยชน์เด็ก/สาธารณะ ไม่ละเมิดศักด์ศรีความเป็น
มนุษย์
• ต้องเอื้อต่อการฟื้นฟู เยียวยาผู้เสียหาย
• ระยะเวลาปฏิบัติต้องไม่เกินกว่าเด็กอายุครบ ๒๔ ปีบริบูรณ์
• สอดคล้องกับสภาพปัญหา/ปัจจัยแวดล้อมของเด็ก

• เด็กและผู้เสียหายยินยอม




58 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

มาตรการ

• ว่ากล่าวตักเตือน
• ชดเชยเยียวยาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย

• ก�าหนดให้เด็กปฏิบัติ
• เด็กท�างานบริการสังคมไม่เกิน ๓๐ ชั่วโมง
• ให้บิดามารดาเข้าร่วมกิจกรรมได้


ค�าสั่งศาลเกี่ยวกับแผน

• เห็นชอบ จ�าหน่ายคดีชั่วคราว
• เห็นว่าแผนมีข้อผิดหลงแก้ไขได้ สั่งให้ผู้ประสานฯ แก้ไข
• เห็นว่าแผนฯ ยังไม่เป็นประโยชน์สูงสุดแก่เด็ก สั่งให้ประชุมเพื่อแก้ไขปรับปรุงใหม่

• กรณีไม่เห็นชอบ ให้พิจารณาพิพากษาคดีต่อไป

ตัวอย่างถ้อยค�าที่ใช้ในขั้นตอนนี้

• “ก่อนที่จะปิดประชุม มีท่านใดจะพูดอะไรเพิ่มเติมบ้างไหม”








• “ขอขอบคณทกท่านทได้สละเวลามาเข้าร่วมประชมจนทาให้พวกเราสามารถจดการแก้ไขเยยวยา
ความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ส�าเร็จ”
• “ขออนุญาตปิดประชุม สวัสดีครับ/ค่ะ”
ขั้นตอนที่ ๓ การบริหารแผนฯ และรายงานผลการปฏิบัติตามแผนฯ (ตามข้อบังคับข้อ ๒๓–๒๕)







• กรณไม่ปฏบัตตามแผนฯ ให้ผู้ประสานฯ รายงานศาลตามแบบ มอ.๘ ซงศาลอาจส่งแก้ไข เปลยนแปลง

แผน หรือหากเห็นว่าแก้ไขไม่ได้ ยกคดีขึ้นพิจารณาต่อไป
• กรณีปฏิบัติตามแผนฯ ครบถ้วน ให้ผู้ประสานฯ รายงานผลและรายงานศาลตามแบบ มอ.๙, ๑๐
พร้อมส�านวนมาตรการพิเศษฯ หากศาลเห็นชอบ จะสั่งจ�าหน่ายคดีออกจากสารบบความและมีค�าสั่งในเรื่องของกลาง

๓.๑ ทักษะที่ส�าคัญที่ควรฝึกเพิ่มเติมหรือน�ามาใช้ คือ
• ทักษะการฟัง
• ทักษะการถาม

• ทักษะการสรุปความ เช่น สรุปว่าผู้เข้าร่วมประชุมได้พูดอะไร
• การจับประเด็นของข้อตกลง
• การกระตุ้นให้ทุกคนได้อภิปรายเพื่อหาทางออกหรือข้อตกลง/แผน


๓.๒ การเตรียมความพร้อมโดยการแยกประชุมทีละฝ่ายก่อนการประชุมจริง เพื่อ

• ฟังเรื่องราวส่วนตัวของแต่ละฝ่าย
• จะเชิญผู้เกี่ยวข้องคนใดเข้าร่วมประชุมบ้างถ้าเขาสนใจ
• บอกถึงกระบวนการที่จะเกิดขึ้น

• ช่วยให้ผู้เข้าร่วมสามารถคาดหมายถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นและเป็นไปได้ในกระบวนการนี้
• คัดบุคคลที่ไม่เหมาะสมจะเข้าร่วมประชุมออกไปจากกระบวนการ



คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 59

จริยธรรมของผู้ประสานการประชุม

ตามระเบียบศาลเยาวชนและครอบครัวกลางว่าด้วย การคัดเลือก การอบรม การข้นทะเบียนและจริยธรรม

ของผู้ให้ค�าปรึกษาแนะน�าและผู้ประสานการประชุมเพื่อแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็ก เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๕ ข้อ ๑๐
ถึงข้อ ๑๒ ก�าหนดเรื่องจริยธรรมของผู้ให้ค�าปรึกษาแนะน�าและผู้ประสานการประชุมไว้รวมกัน ๔ ประการ ดังนี้






๑) จะต้องไม่นาข้อมูลเก่ยวกับประวัติและพฤติกรรมต่าง ๆ เก่ยวกับผู้รับการปรึกษาแนะนาหรือการจัดทา
แผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูหรือบุคคลในครอบครัวท่ตนล่วงรู้จากการปฏิบัติหน้าท่ไปกล่าววิจารณ์หรือเผยแพร่อันอาจทาให้







เด็กหรือเยาวชนและครอบครัวได้รับความเสียหาย เว้นแต่เพ่อการศึกษาหรือเพอประโยชน์เก่ยวกบการให้คาปรกษา




แนะน�าและการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ทั้งนี้ จะต้องอ�าพรางไม่ปรากฏชื่อตัวชื่อสกุลของบุคคลดังกล่าว
๒) จะต้องเน้นเฉพาะด้านจิตวิทยาเด็กและเยาวชนด้วยกระบวนการสร้างแรงจูงใจให้เด็กหรือเยาวชน








เปล่ยนแปลงทัศนคต ค่านิยมท่เหมาะสม เพ่อนาไปสู่การเปล่ยนแปลงพฤติกรรมในทางท่ดีข้น ไม่ควรให้คาปรึกษา

แนะน�าเกี่ยวกับกฎหมายหรือท�าหน้าที่ท�านองที่ปรึกษากฎหมายหรือเกี่ยวกับคดีความของเด็กหรือเยาวชน
๓) ต้องไม่กล่าวถ้อยค�าต�าหนิเกี่ยวกับพฤติกรรม ความประพฤติหรือรูปคดีของเด็กหรือเยาวชนและครอบครัว
ไม่ว่าในทางใด ๆ หรือคาดการณ์ผลของคดี
๔) ไม่ควรใช้ถ้อยค�าที่มีลักษณะเป็นการอบรมสั่งสอนหรือต�าหนิไม่ว่าในทางใด ๆ แต่อาจจะกล่าวเปรียบเทียบ
แนะน�าหรือเสนอแนะและให้ก�าลังใจตามสมควร
ตัวอย่างการท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูและการเขียนแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูตามมาตรา ๙๐

ข้อหา บุกรุกเวลากลางคืน, ท�าให้เสียทรัพย์, ลักทรัพย์ในเวลากลางคืนโดยท�าอันตรายสิ่งกีดกั้นส�าหรับ


คุ้มครองบุคคลหรือทรัพย์หรือโดยผ่านส่งเช่นว่าน้นเข้าไปด้วยประการใด ๆ และโดยแปลงตัวหรือปลอมตัว
เป็นผู้อื่น มอมหน้าหรือท�าด้วยประการอื่นเพื่อไม่ให้เห็นหรือจ�าหน้าได้และซ่อนตัวอยู่ในสถานที่นั้น ๆ

พฤติการณ์คดี (จากรายงานส�านวนศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ)




จาเลยขโมยเงินยายไป ๒ คร้ง คร้งละ ๘๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นจานวน ๑๖๐,๐๐๐ บาท คร้งแรกในช่วง

เดือนเมษายน ๒๕๖๒ และครั้งที่สองในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๒ จ�าเลยแจ้งว่าจะเอาเงินไปซื้อขายรองเท้า เสื้อผ้าและ





กระเป๋าหนังแบรนด์เนมร่วมกับเพ่อนท่โรงเรียน โดยจาเลยได้ให้เพ่อนไปรอบแรกจานวน ๑๐,๐๐๐ บาท และได้ทยอย
ให้เพื่อนอีก ๔ ครั้ง ครั้งละ ๑๐,๐๐๐ บาท, ๒๐,๐๐๐ บาท, ๔๐,๐๐๐ บาท และ ๘๐,๐๐๐ บาท ตามล�าดับ แต่จ�าเลย


มารู้ภายหลังว่าเงินท่ให้ไปน้น เพ่อนไม่ได้นาไปลงทุนแต่นาไปเล่นการพนันออนไลน์ โดยเพ่อนอ้างว่า หากจาเลยไม่ให้







ยืมเงินต่อ จะไม่คืนเงินท่เคยยืมมาก่อนหน้า พอรู้ว่าเพ่อนเล่นการพนันด้วยความไว้ใจว่าเพ่อนเป็นคนมีฐานะ น่าจะเอา


เงินมาคืนได้จึงให้ยืมต่อในช่วงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๒ ภายหลังยายจับได้ว่าจาเลยขโมยเงินไป จาเลยจึงอยากนาเงิน


ไปคืนยาย และจาได้ว่าจาเลยเคยไปซ้อนาฬิกากับลุงท่ร้านในห้างแห่งหน่ง จึงได้ไปทุบประตูร้านและขโมยช้นส่วน






นาฬิกามูลค่ารวมประมาณ ๖๐,๐๐๐ บาท
การประเมินสภาพปัญหาเยาวชนและครอบครัว





บิดามารดาหย่าร้างต้งแต่จาเลยเป็นเด็ก จาเลยเป็นลูกคนเดียว มารดาเป็นแม่เล้ยงเด่ยวและพาจาเลยมาฝาก



ยายต้งแต่จาเลยเป็นเด็กและไปมาหาสู่เป็นประจา ยายเป็นข้าราชการเก่าปัจจุบันเกษียณแล้ว มารดาไม่มีเงิน ทางาน


60 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐




เป็นลูกจ้างรายวัน จาเลยอยากหารายได้เสริมช่วยยาย แต่เน่องจากจาเลยเป็นเด็กเรียนเก่งและเกรงใจยาย กลัวยาย
โกรธ กลัวยายเสียใจเพราะจ�าเลยเป็นหลานรักและเป็นความหวังของยายและแม่ จึงตัดสินใจหุนหันพลันแล่นในการขโมย





เพ่อเอาเงินมาคืนยาย ในวันเกิดเหตุหลังจากท่ตารวจจับไปท สน. จาเลยรู้สึกเครียดและอับอายมาก กลัวเพ่อนและ





คนอ่นรู้เพราะตนเองเป็นเด็กเรียนเก่ง เป็นท่รู้จักของโรงเรียน จาเลยมีความคิดอยากตาย และเม่อจาเลยมารายงานตัว




ท่ศาล จาเลยรู้สึกผิดและอับอายและมีความคิดอยากฆ่าตัวตายรอบท ๒ ประกอบกับขณะเกิดเหตุจาเลยเรียนอยู่ ม.๖





อยู่ระหว่างการสอบเข้ามหาวิทยาลัย จาเลยมีผลการเรียนดีได้เกรด ๓.๙๒ แต่พอเกิดคดีจาเลยไม่มีสมาธิและกาลังใจ





ในการอ่านหนังสือเพราะกังวลเร่องคดีและความอับอายท่เกิดข้น กลัวสอบตกสัมภาษณ์หากทางมหาวิทยาลัยท่ตนเอง
ได้โควตาทราบเรื่องว่าตนเองมีประวัติเรื่องคดีนี้
สาเหตุการกระท�าผิด






จาเลยอยากหารายได้เพ่ม แต่จาเลยคบเพ่อนไม่ด ค่อนข้างเช่อคนง่ายและไว้ใจเพ่อน รู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดย




คิดว่าเพ่อนมีฐานะ เงินเพียงแค่น้น่าจะมีมาคืน ประกอบกับเพ่อนในกลุ่มท่มายืมเงิน มักมาพูดและถ่ายรูปใส่เฟซบุ๊ก

ว่าเพื่อนคนที่ยืมเงินจ�าเลยมีการพาเพื่อน ๆ ไปเที่ยวและไปเลี้ยงเป็นกลุ่มในสถานที่แพง ๆ เพื่อให้จ�าเลยเชื่อใจ
ความต้องการของผู้เสียหาย




ยายและจาเลยได้นากระเช้าไปไหว้ขอโทษผู้เสียหายและได้ชดใช้เยียวยาค่าเสียหายตามจานวนทรัพย์ท่เสียหาย
ไปแล้ว ซึ่งผู้เสียหายให้อภัยและไม่ติดใจเอาความจ�าเลย อีกทั้งยังให้ก�าลังใจจ�าเลยในการตั้งใจเรียนและกลับตัวเป็นคนดี
ผู้เข้าร่วมประชุม
๑. จ�าเลย
๒. ยายจ�าเลย
๓. ผู้เสียหาย
๔. ผู้ประสานการประชุม
๕. นักจิตวิทยา
ข้อสังเกตในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ส�าหรับกรณีศึกษาตามตัวอย่างนี้


จ�าเลยรายนี้เป็นเด็กเรียนดี มีพฤติกรรมเสี่ยงต�่า ผู้ปกครองดูแลใกล้ชิดและยอมรับในปัญหาที่เกิดขึ้น โดยยินดี
ที่จะช่วยเหลือจ�าเลยปรับเปลี่ยนแก้ไข จึงออกแบบแผนฯ ดังนี้







๑. จาเลยคบเพ่อนกลุ่มเส่ยง โดยเฉพาะเพ่อนท่ไว้ใจและถูกเพ่อนในกลุ่มชักชวนหรือหลอกให้จาเลยไว้ใจ
และเช่อใจว่าเขามีเงิน ดังน้น จึงควรเสริมทักษะให้จาเลยมีทักษะป้องกันตัวในการคบเพ่อนกลุ่มเส่ยง การไม่โลภหรือ





อยากได้เงินที่ไม่ใช่ของตน จึงส่งเข้าร่วมกิจกรรมการเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ (EQ/MQ) (ตามแผนในข้อ ๒)


๒. จาเลยเป็นเด็กเรียนเก่งและมีความสามารถด้านการสอน จึงออกแบบแผนให้จาเลยใช้ความสามารถของ
ตนเองด้วยการท�าจิตอาสาสอนหนังสือให้เด็กในสถานสงเคราะห์ (ตามแผนในข้อ ๓)

๓. ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลและสร้างความใกล้ชิด โดยให้ความคิดเห็นในการตัดสินใจกับจาเลย






ทุกเร่องท่จาเลยมาปรึกษา เพ่อให้จาเลยมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ถูกต้อง เน่องจากการท่จาเลยปรึกษาเพ่อน อาจ






ได้รับความคิดเห็นจากเพ่อนซ่งมีวุฒิภาวะและความคิดอยู่ในวัยเดียวกัน แต่การปรึกษายายซ่งเป็นผู้ใหญ่อาจมีมุมมอง


ท่กว้างกว่า และให้ยายพยายามปรับตัวเร่องการเปิดรับปัญหาจาเลยมากข้น ไม่ดุว่า เพ่อให้จาเลยกล้าท่จะเข้าหายาย






มากขึ้น
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 61




(มอ.๖) คดีหมายเลขดาท ............ /……….
แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู คดีหมายเลขแดงที่ มอ..... /...........

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู


ชื่อเด็กหรือเยาวชน : นายบี..... /จ�าเลย และผู้ปกครอง ชื่อ : นาง...ยายบี.................../ผู้ปกครองจ�าเลย

ทราบและยินยอมปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ดังนี้




มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ

๑. เพื่อการแก้ไขความประพฤติ






• ให้จาเลยต้งใจเรียน โดยให้จาเลยนา ๑ ปี จ�าเลย ผู้ประสาน

ผลการเรียนมาแสดงทุกคร้งท่มารับ การประชุมและ

การปรึกษากับผู้ประสานการประชุม นักจิตวิทยา
หรือนักจิตวิทยาทุก ๓ เดือนจนครบ
๑ ปี

๒. เพื่อการบ�าบัดฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ


• เนื่องจากจ�าเลยไม่ใช้สารเสพติด ไม่ ๑ ปี จ�าเลย ผู้ประสาน
ดื่มสุรา ให้จ�าเลยเข้าร่วมกิจกรรมการ การประชุมและ

เสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์และ นักจิตวิทยา
จริยธรรม EQ/MQ เพื่อพัฒนาทักษะ

ในการปรับตัวและการคบเพื่อน

๓. เพื่อการพัฒนาเด็กหรือเยาวชน







• ให้จาเลยทาจิตอาสาด้วยการนา ๑ ปี จ�าเลยและ ผู้ประสาน
ความสามารถของตนเองมาสอน ผู้ปกครอง การประชุมและ
หนังสือให้กับเด็กในสถานสงเคราะห์ นักจิตวิทยา
ไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมง











62 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู (ต่อ)




มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ

๔. เพื่อการป้องกันเด็กหรือเยาวชนกระท�าผิดอีก





• ให้จาเลยเลือกคบเพ่อนท่ดีและ ๑ ปี จ�าเลย ผู้ประสาน

ระมัดระวังตัวเร่องการใช้เงิน โดยให้ การประชุมและ
ปรึกษายายทุกครั้ง นักจิตวิทยา


• จ�าเลยรู้สึกเข็ดหลาบและสัญญาว่า ๑ ปี จ�าเลยและ ผู้ประสาน






จะไม่กระทาผิดซา โดยจะจาเร่องน้เป็น ผู้ปกครอง การประชุมและ
บทเรียนและให้ยายดูแลอย่างใกล้ชิด นักจิตวิทยา
โดยให้จาเลยปรึกษายายทุกเร่องหาก


เกิดปัญหา
๕. เพื่อบรรเทาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย




ขอโทษและชดเชย • จาเลยและยายได้ไหว้ขอโทษผ้ ู ปฏิบัติแล้ว จ�าเลยและ ผู้ประสาน
ความเสียหาย เสียหายและผู้เสียหายไม่ติดใจเอา ผู้ปกครอง การประชุมและ
ความ โดยให้จาเลยได้ชาระค่าเสีย นักจิตวิทยา


หายจ�านวน ๕๐,๐๐๐ บาท ในวันเกิด


เหตุแล้ว และได้มอบกระเช้าผลไม้เพอ
เป็นการขอโทษให้กับผู้เสียหายแล้ว


๖. อื่น ๆ































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 63

ข้อหา ลักทรัพย์ในเวลากลางคืน


พฤติการณ์คดี (จากรายงานส�านวนศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ)






วันท่เกิดเหต เวลา ๒ นาฬิกา มีวัยรุ่นชายมาท่ตลาด เดินไปยังร้านขายนาปั่นของผู้เสียหายและได้เปิดค้นตู้

ร้าน เยาวชนค้นเจอเงินจานวนประมาณ ๑๐๐-๒๐๐ บาท จึงขโมยเงินน้ไป กระท่งผู้เสียหายซ่งเป็นเจ้าของร้านนาปั่น





ในตลาดมาเปิดร้านตามปกต พบเห็นนมข้นหวานหก และมีร่องรอยการร้อค้นท่เคาน์เตอร์ของร้าน ผู้เสียหายตรวจหา



เงินเหรียญท่เอาไว้เก็บทอนเงินให้ลูกค้า แต่ไม่พบเงินดังกล่าว ผู้เสียหายจึงขอให้สานักงานตลาดช่วยเปิดดูกล้องวงจรปิด


พบว่ามีคนมาที่ร้านและขโมยเงินไป ผู้เสียหายจึงได้ไปแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ต�ารวจ เยาวชนจึงถูกด�าเนินคดีในครั้งนี้
การประเมินสภาพปัญหาเยาวชนและครอบครัว

เยาวชนเป็นบุตรคนเดียวของบิดามารดา ต่อมาบิดามารดาแยกทางกัน เยาวชนอาศัยอยู่กับมารดาท่ห้องเช่า



ห่างจากตลาด ๒ กิโลเมตร ซ่งมารดาทางานเป็นพนักงานทาความสะอาด จึงไม่ค่อยมีเวลาดูแลเอาใจใส่เยาวชนมากนัก
การเลี้ยงดูของมารดาเป็นแบบตามใจ ใช้การบ่นว่าตักเตือนในการอบรมสั่งสอน ไม่มีการลงโทษที่เข้มงวด ไม่มีการก�าหนด


กฎระเบียบให้เยาวชนปฏิบัต ส่วนบิดาติดต่อหาเยาวชนนาน ๆ คร้ง แต่ไม่ได้สนับสนุนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เยาวชนมีความ
สัมพันธภาพที่ดีกับมารดามากกว่าบิดา




เยาวชนเรียนจบช้นมธยมศกษาปีท ๓ มานานประมาณ ๒ ปี แต่ทางโรงเรียนไม่ได้ออกวฒิการศึกษาให้




เน่องจากมารดาไม่ได้ชาระค่าเทอม หลังจากออกเรียน เยาวชนไม่ได้ประกอบอาชีพ มีพฤติกรรมติดเกม ติดเพ่อน อาศัยอย ู่

ร้านเกมและบ้านเพื่อน กลับบ้านไม่เป็นเวลา ไม่เชื่อฟังและไม่ปฏิบัติตามค�าสั่งสอนของมารดา
ปัญหา/เรื่องทุกข์ใจของผู้เสียหาย
จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้เสียหายไม่ได้มีผลกระทบทางร่างกาย ผู้เสียหายเห็นว่าเงินที่เยาวชนขโมยไปมีจ�านวน


ไม่มาก จึงไม่ต้องการค่าเยียวยาความเสียหายและไม่อยากให้เยาวชนกระทาความผิดซา แต่ผู้เสียหายมีความรู้สึก



ไม่ปลอดภัย เน่องจากกลัวว่าเยาวชนจะเข้ามาลักขโมยของในตลาดอีก อีกท้งร้านของผู้เสียหายอยู่ไม่ไกลจาก


ร้านเกมอินเทอร์เน็ตท่เยาวชนชอบมาเล่นเป็นประจา เกรงว่าหากพบเยาวชน กลัวเยาวชนจะเข้ามาทาร้ายผู้เสียหาย

เรื่องที่ผู้เสียหายแจ้งความต่อเจ้าพนักงานต�ารวจ
ความต้องการของผู้เสียหาย
ผู้เสียหายต้องการความปลอดภัยในทรัพย์สินของตนเองและส่วนรวมในตลาด
ผู้เข้าร่วมประชุม

๑. จ�าเลย
๒. บิดามารดาจ�าเลย
๓. ผู้เสียหาย

๔. เจ้าของตลาด
๕. อาสาสมัครชุมชน

๖. ผู้ประสานการประชุม
๗. นักจิตวิทยา




64 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

ข้อสังเกตในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ส�าหรับกรณีศึกษาตามตัวอย่างนี้



๑. เยาวชนส�านึกผิดและกล่าวขอโทษผู้เสียหาย



๒. เยาวชนควรได้รับการบาบัดรักษาอาการติดเกมอย่างต่อเน่องต่อจากจิตแพทย์ เพ่อลดพฤติกรรมการ
ติดเกม ไม่ให้หมกมุ่นกับเกมมากเกินไปจนกระทบต่อการด�ารงชีวิตประจ�าวัน





๓. เยาวชนควรทางานเพ่อให้มีรายได้ในการดาเนินชีวิต หากไม่ได้ทางาน ให้เรียนวิชาชีพระยะส้น หลักสูตร
อย่างน้อย ๔ เดือน เพื่อให้มีความรู้และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
๔. เยาวชนควรมารับค�าปรึกษาแนะน�าอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามพฤติกรรม ไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่ให้
เที่ยวเตร่กลางคืน ไม่ให้คบเพื่อนกลุ่มเสี่ยง ไม่ให้กระท�าผิดซ�้า

๕. ผู้เสียหายและเจ้าของตลาดเห็นว่าควรท่จะสอดส่องดูแลไม่ให้เยาวชนกระทาผิดซา จึงเห็นควรให้เยาวชน





ใช้เวลาว่างทากิจกรรมท่เป็นประโยชน์ เช่น กิจกรรมจิตอาสา เพ่อเสริมสร้างจิตสานึกท่ดีเป็นประโยชน์ต่อสังคม




ไม่หวังส่งผลตอบแทน โดยให้เยาวชนไปช่วยเหลืองานทาความสะอาด ดูแลสุขอนามัยท่ตลาด และให้เจ้าของตลาด


ช่วยควบคุม




















































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 65




(มอ.๖) คดีหมายเลขดาท ............ /……….
แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู คดีหมายเลขแดงที่ มอ..... /...........

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู


ชื่อเด็กหรือเยาวชน : นายภูมิ มีมานะ /จ�าเลย และผู้ปกครอง ชื่อ :

ชื่อ : นางสาวมณี เงินมี /ผู้เสียหาย และผู้ปกครองของผู้เสียหาย ชื่อ :
ทราบและยินยอมปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ดังนี้



มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ


๑. เพื่อการแก้ไขความประพฤติ


ให้ประกอบอาชีพ • ให้จาเลยทางานและนาหลักฐาน ๑ ปี จ�าเลย ผู้บริหารแผน




เป็นกิจจะลักษณะ การทางานมาแสดง หากไม่ได้ทางาน

ให้เรียนวิชาชีพระยะส้น หลักสูตร

อย่างน้อย ๔ เดือน พร้อมน�าหลักฐาน
มาแสดง

รักษาอาการ • ให้จาเลยเข้ารับการรักษาอาการ
ติดเกม ติดเกมอย่างต่อเนื่อง โดยน�าใบรับรอง
แพทย์มาแสดง


๒. เพื่อการบ�าบัดฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ

ให้จ�าเลยมา • ให้จ�าเลยมารายงานตัวทุกครั้งต้อง ๑ ปี จ�าเลย ผู้บริหารแผน
รายงานตัวตามนัด ตรวจปัสสาวะหาสารเสพติด

ประมาณ ๓ เดือน
ครั้ง เป็นระยะเวลา
๑ ปี


๓. เพื่อการพัฒนาเด็กหรือเยาวชน



ให้จ�าเลย • ใหจาเลยไปทางานจตอาสาทตลาด ๑ ปี จ�าเลย เจ้าของตลาด






ท�ากิจกรรม อย่างน้อยจ�านวน ๒๐ ชั่วโมง
สาธารณะ
ประโยชน์จิตอาสา



66 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู (ต่อ)




มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ

๔. เพื่อการป้องกันเด็กหรือเยาวชนกระท�าผิดอีก





ป้องกันสอดส่อง • ให้จาเลยกลับบ้านในเวลาท่กาหนด ๑ ปี จ�าเลย อสม.
ดูแลพฤติกรรม ไว้ โดยไม่เกิน ๒๑ นาฬิกา
• ผู้ปกครองเอาใจใส่ ดูแล ควบคุม
พฤติกรรมของจ�าเลยอย่างใกล้ชิด


๕. เพื่อบรรเทาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย



ผู้เสียหายไม่ • กล่าวขอโทษผู้เสียหาย จ�าเลย ผู้บริหารแผน
ประสงค์ให้จ�าเลย
ชดใช้เสียหาย




๖. อื่น ๆ















































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 67

ข้อหา ขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อ่นถึงแก่ความตาย, ได้รับอันตรายสาหัส, ขับข่รถจักรยานยนต์




โดยไม่มีใบอนุญาต, ใช้รถท่ไม่จดทะเบียนเสียภาษี, ใช้รถท่ไม่จัดให้มีการประกันภัยผู้ประสบภัยจากรถ และกระทา

โดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บสาหัส

พฤติการณ์คดี (จากรายงานส�านวนศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ)


วันท ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ จาเลยขับข่รถจักรยานยนต์โดยมีเด็กชายตะวัน ทอแสงซ้อนท้ายกันไปตามถนน




พหลโยธิน เม่อมาถึงจุดกลับรถ ระหว่างปากซอยพหลโยธิน ๕๑ และปั๊มนามัน จาเลยเห็นว่าถนนโล่ง ไม่มีรถอ่นแล่น









จาเลยจึงขับรถจักรยานยนต์เล้ยวกลับรถ เป็นเหตุให้รถจักรยานยนต์ท่จาเลยขับข่มาน้นชนกับรถยนต์ซ่งจอดอยู่ไหล่ทาง

เป็นเหตุให้นายปราบ แสนดี ผู้ขับรถยนต์ดังกล่าวได้รับบาดเจ็บข้อมือข้างขวาหัก แพทย์รักษาที่โรงพยาบาลนาน ๑ เดือน
ให้กลับบ้านไปพักฟื้นต่อ และเด็กชายตะวัน ทอแสง ซึ่งเป็นผู้นั่งซ้อนท้ายจ�าเลย ต้องผ่าตัดกะโหลกศีรษะ เสียชีวิตในเวลา
ต่อมา และจ�าเลยก็ได้รับบาดเจ็บกระดูกสะโพกหัก รักษาตัวที่โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชประมาณ ๑ เดือน เมื่อจ�าเลย

กลับมารักษาตัวท่บ้าน เจ้าหน้าท่ตารวจได้เรียกจาเลยไปให้ปากคาท่สถานีตารวจ ภายหลังจาเลยถูกแจ้งข้อกล่าวหาและ







ด�าเนินคดีในครั้งนี้
การประเมินสภาพปัญหาเยาวชนและครอบครัว




สภาพครอบครัวของจาเลยแตกแยก บิดามารดาแยกทางกันต้งแต่จาเลยยังเล็ก จาเลยมีพ่ชาย ๑ คน อาย ุ


๑๙ ปีและพ่สาวอาย ๑๗ ปี ช่วงวัยเด็กจาเลยอยู่ในการดูแลของปู่ย่า บิดาแต่งงานมีครอบครัวใหม่และย้ายไปอยู่


ต่างจังหวัด ส่วนมารดาแวะมาเยี่ยมหาจ�าเลยนาน ๆ ครั้ง ปู่ย่าเลี้ยงดูจ�าเลยแบบตามใจ ให้อิสระ ไม่เข้มงวด เมื่อจ�าเลย
ท�าผิด ก็จะถูกย่าบ่นว่าตักเตือน จ�าเลยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับย่ามากกว่าบิดามารดา


จาเลยออกจากช้นเรียนกลางคัน ขณะเรียนช้นมัธยมศึกษาปีท ๑ เน่องจากขาดเรียนบ่อย มีพฤติกรรมติดเกม












ชกต่อยทะเลาะวิวาทกับเพ่อนในโรงเรียน ต่อมาจาเลยไปทางานรับจ้างเทนาหมักใส่ท่อระบายนา ทาได้ไม่นาน จาเลย

ก็ย้ายมาท�างานเสิร์ฟอาหารโต๊ะจีน มีงานนาน ๆ ครั้ง จ�าเลยคบหาเพื่อนในละแวกบ้าน ทั้งรุ่นเดียวกันและรุ่นพี่ ซึ่งเพื่อน

เหล่าน้มีพฤติกรรมด่มสุรา ติดเกมออนไลน์ ชกต่อยทะเลาะวิวาท จาเลยเคยมีประวัติทาร้ายร่างกายตนเองด้วยการ



ชกก�าแพง ปัจจุบันจ�าเลยว่างงาน เรียน กศน. ระดับมัธยมต้น พักอาศัยอยู่กับปู่ย่า
ปัญหา/เรื่องทุกข์ใจของผู้เสียหาย
จากเหตุการณ์นี้ ผู้เสียหายคนที่ ๑ เสียชีวิตที่โรงพยาบาล ครอบครัวของผู้เสียหายไม่ติดใจเอาความ เนื่องจาก
จ�าเลยและผู้ตายเป็นเพื่อนกัน



ส่วนผู้เสียหายท ๒ ข้อมือข้างขวาหัก ได้รับการผ่าตัดและต้องพักฟื้นนานประมาณ ๓ เดือน ทาให้ไม่ได้
ประกอบอาชีพ ต้องการค่ารักษาพยาบาลและค่าเสียเวลาประกอบอาชีพ ๕๐,๐๐๐ บาท
ความต้องการของผู้เสียหายที่ ๑
ญาติของผู้ตายต้องการให้จ�าเลยบวชเณรอุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตาย
ความต้องการของผู้เสียหายที่ ๒
ต้องการให้จ�าเลยชดใช้ค่าเสียหาย
68 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

ผู้เข้าร่วมประชุม

๑. จ�าเลย
๒. ปู่ย่าของจ�าเลย
๓. ผู้เสียหายที่ ๑ (มารดาของผู้ตาย) และผู้เสียหายที่ ๒

๔. ผู้ใหญ่บ้าน
๕. ผู้ประสานการประชุม

๖. นักจิตวิทยา




ข้อสังเกตในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ส�าหรับกรณีศึกษาตามตัวอย่างนี้










๑. จาเลยสานึกผิดและรับผิดชอบในส่งท่ผู้เสียหายต้องการ เพ่อชดเชยความเสียหายท่เกิดข้น โดยบวชให้กับ
ผู้เสียชีวิตตามความประสงค์ของผู้เสียหายที่ ๑ และชดใช้ค่าเสียหายให้กับผู้เสียหายที่ ๒ แต่ครอบครัวของจ�าเลยยากจน









ดงนนการชดใช้ค่าเสยหาย จงเป็นการให้จาเลยได้ช่วยเหลองานสวนของผ้เสยหายท ๒ เป็นการชดใช้ทดแทนค่าความ


เสียหายที่เกิดขึ้น อย่างน้อยอาทิตย์ละ ๓ วัน เป็นเวลา ๖ เดือน

๒. จาเลยควรต้งใจเรียนและแบ่งเวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เพ่อไม่ให้กระทบกับการเรียนและไม่ให้ติดเกม


มากเกินไป
๓. จ�าเลยควรได้รับการบ�าบัดแก้ไขฟื้นฟูพฤติกรรม เพื่อให้มีระเบียบวินัย รู้จักกฎระเบียบของสังคม ให้เรียนรู้
การใช้ชีวิตร่วมกันกับบุคคลอื่น รู้จักหน้าที่ของตนเอง
๔. จาเลยควรได้รับความรู้ทางอาชพท่จาเลยสนใจ เรียนหลักสูตรระยะสน เพ่มทักษะความสามารถเพอเป็น









แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต

๕. จาเลยควรมารับคาปรึกษาแนะนาอย่างต่อเน่อง และให้ทารายงานเร่องอุบัติเหตุบนท้องถนนและวิธีการ









ป้องกันอุบัติเหต ๑ เล่ม จานวนไม่น้อยกว่า ๓๐ หน้า เพ่อให้จาเลยตระหนักรู้ในการกระทาผิดของตน อีกท้งเป็นการ


ติดตามพฤติกรรมไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่ให้เที่ยวเตร่กลางคืน ไม่ให้คบเพื่อนกลุ่มเสี่ยง ไม่ให้กระท�าผิดซ�้า



๖. จาเลยไม่ควรขับข่รถจักรยานยนต์โดยไม่มีใบอนุญาตขับข่รถจักรยานยนต์ โดยให้ผู้ใหญ่บ้านช่วยดูแลและ
ตรวจตราเรื่องการขับขี่รถจักรยานยนต์




คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 69


(มอ.๖) คดีหมายเลขดาท ............ /……….


แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู คดีหมายเลขแดงที่ มอ..... /...........

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู



ชื่อเด็กหรือเยาวชน : /จ�าเลย และผู้ปกครอง ชื่อ :
ชื่อ : เด็กชายตะวัน ทอแสง ที่ ๑ /ผู้เสียหาย และผู้ปกครองของผู้เสียหาย ชื่อ :
ชื่อ : นายปราบ แสนดี ที่ ๒ /ผู้เสียหาย และผู้ปกครองของผู้เสียหาย ชื่อ :

ทราบและยินยอมปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ดังนี้


มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ

๑. เพื่อการแก้ไขความประพฤติ


เรียนให้จบ กศน. • ใหจาเลยตงใจเรยน นาผลการเรยน ๑ ปี จ�าเลย ผู้บริหารแผน







ระดับมัธยมศึกษา และการเข้าร่วมกิจกรรมของ กศน.
ตอนต้น มาแสดง

มารับค�าปรึกษาที่ • มารับคาปรึกษาพร้อมกับตรวจ ผู้บริหารแผน
ศาลฯ ทุก ๓ เดือน ปัสสาวะทุกครั้ง


ครั้ง เป็นเวลา ๑ ปี • ให้จาเลยทารายงานเก่ยวกับ ผู้บริหารแผน

อุบัติเหตุบนท้องถนนและวิธีการ


ป้องกันอุบัติเหต ๑ เล่ม จานวนไม่
น้อยกว่า ๓๐ หน้ามาแสดง




• จากดเวลาเล่นเกม ไม่เกนวนละ ผู้ปกครอง
๒ ชั่วโมง
๒. เพื่อการบ�าบัดฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ



เข้าร่วมกิจกรรม • ให้จาเลยและผ้ปกครองเข้าร่วม ๑ ปี จ�าเลย ผู้บริหารแผน


บ�าบัด แก้ไขฟื้นฟู กิจกรรมครอบครัวอุ่นใจได้ลูกหลาน
ของศาลฯ อย่าง คืน
น้อย ๑ โครงการ











70 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู (ต่อ)




มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ

๓. เพื่อการพัฒนาเด็กหรือเยาวชน




ให้ฝึกวิชาชีพระยะ • ให้จาเลยเรียนวิชาชีพระยะส้นท ี ่ ๑ ปี จ�าเลย ผู้บริหารแผน
สั้น อย่างน้อย ศาลฯ หรือหน่วยงานอื่น อย่างน้อย ๑
๑ หลักสูตร หลักสูตร พร้อมน�าหลักฐานมาแสดง




๔. เพื่อการป้องกันเด็กหรือเยาวชนกระท�าผิดอีก



ไม่ให้กระท�า • ห้ามไม่ให้จาเลยขับข่รถจักรยาน- ๑ ปี จ�าเลย ผู้ใหญ่บ้าน


ความผิดซ�้า ยนต์ จนกว่าจะได้รับใบอนุญาตขับข ี ่

รถจักรยานยนต์ พร้อมนาหลักฐาน
มาแสดง


• ห้ามเท่ยวเตร่ในเวลากลางคืน ไม่ให้
กลับบ้านเกินเวลา ๒๐ นาฬิกา


๕. เพื่อบรรเทาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย



รับผิดชอบ • บวชให้กับผู้เสียหายที่ ๑ ไม่เกิน ๑ เดือน จ�าเลย ผู้บริหารแผน
เยียวยา • ช่วยผ้เสยหายท ๒ ทางานสวน ๖ เดือน ผู้เสียหาย ๒





ความเสียหาย อาทิตย์ละ ๓ วัน เป็นเวลาอย่างน้อย


๖ เดือน และให้ทาบันทึกการทางาน
มาแสดง
๖. อื่น ๆ


























คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 71








ข้อหา กระทาชาเราเด็กอายยงไม่เกินสิบห้าปีซ่งมใช่ภรรยาหรือสามตนโดยเด็กนนจะยินยอมหรือไม่


ก็ตาม, พรากและพาเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเพ่อการอนาจาร


ใช้กาลังทาร้ายผู้อ่นไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจและข่มขืนใจผู้อ่นให้กระทาการใด








ไม่กระทาการใดหรือจายอมต่อส่งใดโดยทาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกาย เสรีภาพของผู้ถูกข่มขืนใจ
นั้นเองฯ
พฤติการณ์คดี (จากรายงานส�านวนศูนย์ให้ค�าปรึกษาฯ)
ผู้เสียหายและจาเลยอยู่คนละโรงเรียน คบหาเป็นแฟนกัน ขณะเกิดเหตุผู้เสียหายเรียนอยู่ ม.๓ จาเลยมักจะ


ชักชวนให้ผู้เสียหายให้หนีเรียนเพ่อออกไปพบกันท่บ้านเพ่อนของจาเลย และถูกจาเลยชักชวนให้มีเพศสัมพันธ์โดยไม่





เต็มใจหลายครั้งภายในระยะเวลาประมาณ ๑ เดือนที่คบหากัน จ�าเลยห้ามผู้เสียหายไม่ให้เล่าให้ใครฟังว่ามีเพศสัมพันธ์กัน
















จาเลยมความต้องการทางเพศสง โดยจะร่วมเพศกบผ้เสยหายราว ๔-๕ ครงต่อวน ทาให้ผ้เสยหายร้สกเหนอย หากไม่


ได้อยู่ด้วยกันจาเลยก็มักจะขอให้ผู้เสียหายช่วยส่งเสียงและภาพเพ่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศและช่วยให้จาเลยสาเร็จ

















ความใคร่ผ่านทางการโทรศพท์หรอใช้การวดโอคอล ซงผ้เสยหายไม่ชอบและเบอกบพฤตกรรมหงหวงของจาเลยทาให้


ทะเลาะกันบ่อย ตนต้องการจะเลิกคบกับจาเลย แต่วันท่บอกเลิกจาเลยดึงแขนไว้ ผู้เสียหายด้นหนีจึงถูกกระชาก


จนแขนเป็นรอยเขียว เมื่อกลับถึงห้องผู้เสียหายร้องไห้ไม่หยุด เมื่อผู้ปกครองซักถามและทราบเรื่องจึงแจ้งความด�าเนินคดี
ปัญหา/เรื่องทุกข์ใจของผู้เสียหาย
• ด้านร่างกาย


ผู้เสียหายมีโรคประจาตัวคือโรคหัวใจ มีนัดตรวจและผ่าตัดหัวใจ เม่อคบหาเป็นแฟนกับจาเลยแล้วมีการ



ร่วมเพศกันทาให้สุขภาพแย่ลง เหน่อยง่าย อ่อนเพลีย ผู้เสียหายมีความเครียดสูง พักผ่อนไม่เต็มท รับประทานอาหาร


ได้น้อย หน้ามืด วิงเวียนศีรษะบ่อย หัวใจเต้นเร็วขึ้นในบางครั้ง มารดาพาผู้เสียหายไปคุมก�าเนิดโดยการฝังเข็ม
• ด้านสภาพจิตใจ
ผู้เสียหายเกิดความเครียด วิตกกังวล อารมณ์แปรปรวน บางครั้งหงุดหงิดง่าย ร้องไห้บ่อยครั้ง และหลายครั้ง
ที่หยุดร้องไห้ยาก รู้สึกท้อแท้ ไม่อยากพูดคุยกับใคร ทีมสหวิชาชีพส่งต่อให้พบจิตแพทย์ รพ. รัฐบาลรักษาด้วยสิทธิรักษา
บัตรทอง ๓๐ บาทฯ จิตแพทย์นัดติดตามราว ๒ สัปดาห์ต่อครั้ง โดยไม่ได้ให้ยากลับมารับประทาน ผลการรักษาปัจจุบัน
ผู้เสียหายยังรู้สึกว่าไม่มีคนเข้าใจปัญหาของตน เพราะผู้ใหญ่ในบ้านมักจะตาหนิดุด่า ผู้เสียหายมักถูกยายและน้าตาหน ิ




ด้วยถ้อยคารุนแรง ประชดประชัน ขว้างปาข้าวของใส่ ทาให้ผู้เสียหายรู้สึกขาดความอบอุ่น ผู้เสียหายพูดคุยปรึกษาย่า
ได้บ้างเพราะย่าไม่ดุด่า รู้สึกสนิทกับย่า


ผู้เสียหายเสียใจท่ถูกมารดาของจาเลยนินทาลับหลังกับเพ่อนของผู้เสียหายว่าผู้เสียหายเป็นผู้หญิงไม่ดีเป็นฝ่าย



เข้าหาผู้ชายก่อน โดยมีข้อความสนทนาทางไลน์ท่บันทึกไว้เป็นหลักฐาน มารดาของผู้เสียหายคับแค้นใจท่จาเลยโพสต์

ข้อความเยาะเย้ยถากถางบุตรสาวของตนในเฟซบุ๊ก จ�าเลยไม่เคยกล่าวขอโทษด้วยตนเอง เมื่อเกิดคดีมีเพียงมารดาจ�าเลย




ท่ไป สน. แล้วมารดาของจาเลยพูดปกป้องจาเลยมาก และต่อรองการชดใช้เยียวยาจนทาให้มารดาของผู้เสียหายรู้สึกว่า
ท�าราวกับบุตรสาวของตนเป็นผักปลา มารดามองว่าจ�าเลยยังขาดความส�านึกผิด
72 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

• ด้านสังคม/เศรษฐกิจ

เมื่อจ�าเลยชักชวนให้ผู้เสียหายหนีเรียนไปพบกันบ่อย ๆ ส่งผลให้การเรียนของผู้เสียหายแย่ลง จากเคยเรียนได้
เกรดเฉลี่ย ๓.๕ ปัจจุบันได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึง ๒.๐ และเสี่ยงจะเรียนไม่จบ



จากการติดตามให้ค�าปรึกษาผู้เสียหาย ๓ ครั้ง พบว่ายายยังมีอารมณ์ฉุนเฉียวบ่อย แม้เจ้าหน้าที่จากมูลนิธิศูนย์







พิทกษ์สิทธิเด็กจะช่วยติดตามสอดส่องดแล แต่สภาพการเล้ยงดูผู้เสียหายก็ยังไม่ดข้น ยายเคยพังประตูห้องนาเพอเข้าไป





กดวิดีโอคอลหาน้าและมารดาของผู้เสียหายขณะท่ผู้เสียหายกาลังเปลือยอาบนาอยู่ เพ่อจะดุด่าและประจานผู้เสียหาย




ในเร่องต่าง ๆ ทาให้ผู้เสียหายรู้สึกอับอาย มารดาจึงพาผู้เสียหายไปอยู่กับตนช่วคราว แต่ท่พักไกลจากโรงเรียน มารดา















จงพาผ้เสยหายไปฝากให้อยู่กบย่าและปู่ ซงเปิดร้านขายข้าวราดแกงอย่ใกล้โรงเรยน ป่และย่ามอธยาศัยด มเมตตา



ผู้เสียหายรู้สึกปลอดภัย ได้รับการเอาใจใส่เล้ยงดูด้วยเหตุผล มารดายังคอยติดตามดูแลสอดส่องสมาเสมอ ปัจจุบัน
ผู้เสียหายจบการศึกษา ม.๓ ได้เรียนต่อ ปวช. ด้านพาณิชยการ
การประเมินสภาพปัญหาเยาวชนและครอบครัว
จ�าเลยอยู่กับมารดาสองคน ส่วนบิดาทอดทิ้งไปตั้งแต่จ�าเลยอายุ ๖ เดือน บิดามีภรรยาใหม่แต่ยังไม่ได้หย่ากับ


มารดาของจาเลย มารดาเคยคิดฆ่าตัวตาย แต่ก็เป็นห่วงลูกจึงมีชีวิตอยู่ต่อ และทุ่มเทความรักให้กับจาเลยมากจนหลาย
ครั้งท�าให้จ�าเลยรู้สึกอึดอัด มองว่ามารดาช่างบ่น จู้จี้จุกจิก มารดาประกอบอาชีพค้าขายของช�า มีภาระหนี้สิน
จ�าเลยไม่ตั้งใจเรียนตั้งแต่อยู่ชั้น ม.๔ ติดเพื่อน หนีเรียน กลับบ้านผิดเวลาบ้างแต่ไม่เกิน ๑๙ นาฬิกา ขาดเรียน
บ่อยทาให้ติด ๐ หลายวิชา ไม่ติดตามซ่อมแก้ไข จาเลยมีแฟนคร้งแรกตอนอยู่ ม.๓ คบหากัน ๑ ปีเล่าว่าไม่เคยมีเพศ



สัมพันธ์กันเพิ่งเคยมีเพศสัมพันธ์กับผู้เสียหายคนแรก เคยดื่มสุรา สูบบุหรี่นาน ๆ ครั้ง ปัจจุบันจ�าเลยย้าย รร. อยู่ชั้น ม.๖
เวลาว่างจ�าเลยก็ช่วยมารดาค้าขาย

ขณะก่อคดีจาเลยอยู่ในช่วงวัยรุ่นตอนต้น มีความสนใจเพศตรงข้าม เม่อคบหากับผู้เสียหายแบบคนรักแล้ว


เกิดความต้องการทางเพศบ่อยคร้ง แต่ไม่มีการจัดการอย่างเหมาะสม ทาให้เกิดการกระทาผิด จาเลยสานึกผิดต้องการ







แก้ไขตนเอง ต้องการขอโทษ จะเลกยุ่งเกยวกบผ้เสียหาย ยนดชดใช้ค่าเสยหาย และขอโอกาสได้เรยนต่อเพ่อจะได้ม ี







อนาคตที่ดี
ความต้องการของผู้เสียหาย
• ผู้เสียหายต้องการให้จ�าเลยส�านึกผิด ขอโทษตนและมารดาเกี่ยวกับการกระท�าผิดที่เกิดขึ้น


• ผู้เสียหายไม่ต้องการให้จาเลยและมารดาของจาเลยโพสต์ข้อความเยาะเย้ยถากถางตนทางส่อสังคม

ออนไลน์อีก
• ผู้เสียหายต้องการอยู่กับย่า ไม่ต้องการอยู่กับยาย น้า และมารดา เพราะได้รับการเลี้ยงดูแบบต�าหนิติเตียน















มาตงแต่เดก ๆ สภาพครอบครวอย่กนหลายคนในห้องพกห้องเดยว พนทไม่เป็นสดส่วน ผ้เสยหายไม่ต้องการไปอย่กบ



มารดา เพราะไม่สนิทกับบิดาเล้ยง รู้สึกน้อยใจเวลาท่มารดาเอาใจใส่ดูแลน้องชายต่างบิดา และบ่อยคร้งมารดาก็ดุด่า


คล้ายกันกับยายและน้า
• มารดาต้องการเรียกร้องค่าเสียหาย และไม่ต้องการให้จ�าเลยติดต่อหรือยุ่งเกี่ยวกับผู้เสียหายอีก
คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 73

ผู้เข้าร่วมประชุม

๑. จ�าเลยและผู้ปกครองจ�าเลย
๒. ผู้เสียหายและผู้ปกครองผู้เสียหาย
๓. ผู้แทนจากมูลนิธิพิทักษ์สิทธิเด็ก

๔. นักจิตวิทยา
๕. ผู้ประสานการประชุม



ข้อสังเกตในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ส�าหรับกรณีศึกษาตามตัวอย่างนี้






๑. จาเลยไม่ต้งใจเรียน หนีเรียนบ่อย ขาดความรับผิดชอบในการติดตามทารายงาน การบ้าน จึงออกแบบ
แผนให้จ�าเลยมารายงานความประพฤติและรับค�าปรึกษาทุก ๓ เดือน/ครั้ง ตั้งใจเรียนและน�าผลการเรียนมาแสดงทุกครั้ง



ท่มีนัดติดตาม (ตามแผนในข้อ ๑) เน่องจากจาเลยยังเรียนอยู่ในระบบปกต หากนัดติดตามบ่อยคร้งอาจจะกระทบกับ


การเรียน เวลาเรียนไม่พอ หรือเรียนไม่ทันเพื่อน

๒. จาเลยมีความต้องการทางเพศสูง และมีวิธีจัดการกับความต้องการทางเพศของตนไม่เหมาะสม มีความเส่ยง




















ทจะกระทาผดซาไดหากขาดความยบยงชงใจ จงออกแบบแผนใหจาเลยและผปกครองเขารวมกจกรรมคณธรรม จรยธรรม








เพ่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ ให้จาเลยรู้จักการย้งคิดใคร่ครวญก่อนทาส่งใดและให้ตระหนักว่าไม่ควรทาให้



ผู้อ่นเดือดร้อน และให้จาเลยพบจิตแพทย์เพ่อปรับเปล่ยนพฤติกรรมและอารมณ์ให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย



(ตามแผนในข้อ ๒) และควรเสรมความร้ความเข้าใจในการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยให้จาเลยเข้ารับการ








อบรมในเรองโรคติดต่อทางเพศสมพนธ์ท รพ. ของรฐ และทารายงานเกยวกับเพศศึกษาและโรคตดต่อทางเพศสมพนธ์







มาส่ง และให้จ�าเลยตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และ HIV ปีละ ๑ ครั้ง และน�าเอกสารมาแสดง (ตามแผนในข้อ ๓)



หากพบว่าจาเลยป่วยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จะได้รักษาได้ทันท่วงท และยับย้งโอกาสท่จะจาเลยแพร่ขยายโรค


ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไปยังผู้อื่น
๓. เน่องจากผู้เสียหายไม่ต้องการให้จาเลยและมารดาของจาเลยโพสต์ข้อความเยาะเย้ยถากถางตนทางส่อ








สังคมออนไลน์อีก จึงออกแบบแผน ห้ามจาเลยและผู้ปกครองติดต่อกบผู้เสยหายทุกช่องทาง ตลอดจนห้ามจาเลยและ
มารดาแสดงความคิดเห็นทางสื่อสังคมออนไลน์ ที่ท�าให้ผู้เสียหายและครอบครัวเสื่อมเสียอับอาย (ตามแผนในข้อ ๔)
๔. ผู้เสียหายมีปัญหาด้านอารมณ์ มีความเครียดและวิตกกังวลสูงจากเหตุการณ์ในคด อีกท้งมีบาดแผล








ทางใจจากการถกผ้ปกครองเล้ยงดูโดยใช้ความรนแรงในครอบครัว ซ่งเจ้าหน้าท่มูลนิธพิทักษ์สิทธเดกได้ตดตามดแล






สอดส่องและให้ความช่วยเหลือร่วมกับสหวิชาชีพมาต้งแต่ช้นก่อนฟ้อง จึงเห็นควรให้มูลนิธิพิทักษ์สิทธิเด็กประสานและ

พาผู้เสียหายไปบ�าบัดรักษากับทีมสหวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ในวันที่มีการประชุมแผนฯ จ�าเลยและผู้ปกครองแถลงว่า หาก
มีค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถใช้สิทธิ์ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (สิทธิบัตรทอง ๓๐ บาท) ได้ จ�าเลยและผู้ปกครองแถลงขอเยียวยา
ผู้เสียหาย โดยจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าว (ตามแผนในข้อ ๕)
74 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

(มอ.๖) คดีหมายเลขดาท ............ /……….



แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู คดีหมายเลขแดงที่ มอ..... /...........

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู



มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ

๑. เพื่อการแก้ไขความประพฤติ



• ให้จาเลยมารายงานความประพฤต ิ ภายในระยะ จ�าเลย/ ผู้ประสาน
และรับค�าปรึกษาทุก ๓ เดือน/ครั้ง เวลา ๒ ปี ผู้ปกครอง การประชุม/


• ให้จาเลยตงใจเรยนและนาผลการ นักจิตวิทยา



เรียนมาแสดงทุกครั้งที่มีนัดติดตาม
๒. เพื่อการบ�าบัดฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ



• ให้จาเลยพบจิตแพทย์เพ่อปรับ ภายในระยะ จ�าเลย/ ผู้ประสาน



เปล่ยนพฤติกรรมและอารมณ์ให้ เวลา ๒ ปี ผู้ปกครอง การประชุม/
เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย นักจิตวิทยา

๓. เพื่อการพัฒนาเด็กหรือเยาวชน

• ให้จาเลยและผ้ปกครองเข้าร่วม ผู้ประสาน


กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม ๑ รุ่น ภายในระยะ จ�าเลย/ การประชุม/

หรือให้จาเลยเข้าร่วมกิจกรรมทาง เวลา ๒ ปี ผู้ปกครอง นักจิตวิทยา


ศาสนาตามท่จาเลยนับถือ จานวน

๒ ครั้ง

• ให้จาเลยทารายงานเก่ยวกับเพศ ภายในระยะ จ�าเลย ผู้ประสาน


ศึกษาและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เวลา ๒ ปี การประชุม/
มาส่ง นักจิตวิทยา
• ให้จาเลยเข้ารับการอบรมในเร่อง ภายในระยะ จ�าเลย ผู้แทนจากมูลนิธิ


โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ รพ. ของ เวลา ๒ ปี ศูนย์พิทักษ์
รัฐ สิทธิเด็ก



• ให้จาเลยตรวจสุขภาพประจาปี ภายในระยะ จ�าเลย ผู้แทนจากมูลนิธิ

โดยตรวจโรคตดต่อทางเพศสมพนธ์ เวลา ๒ ปี ศูนย์พิทักษ์


และ HIV ปีละ ๑ ครั้ง และน�าเอกสาร สิทธิเด็ก
มาแสดง



คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 75

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู (ต่อ)




มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ

๔. เพื่อการป้องกันเด็กหรือเยาวชนกระท�าผิดอีก


• ห้ามจาเลยและผู้ปกครองติดต่อกับ ภายในระยะ จ�าเลย/ ผู้ประสาน

ผู้เสียหายทุกช่องทาง ตลอดจนห้าม เวลา ๒ ปี ผู้ปกครอง การประชุม/


จาเลยและมารดาแสดงความคิดเหน นักจิตวิทยา



ทางส่อสังคมออนไลน์ท่ทาให้ผู้เสียหาย
และครอบครัวเสื่อมเสียอับอาย
๕. เพื่อบรรเทาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย



• ให้มารดาและจาเลยกล่าวขอโทษ ณ วันนัด จ�าเลย/ ผู้ประสาน
ผู้เสียหาย ประสาน ผู้ปกครอง การประชุม/
การประชุม นักจิตวิทยา


• ให้จาเลยชดใช้ค่าเสียหายจานวน ภายใน ๓ เดือน
๕๐,๐๐๐ บาท นับจากวันที่ศาล
เห็นชอบให้ปฏิบัติ
ตามแผนฯ
• ให้มูลนิธิพิทักษ์สิทธิเด็กประสาน
และพาผู้เสียหายไปรักษากับทีม


สหวิชาชีพ หากมีค่าใช้จ่ายท่ไม่สามารถ
ใช้สิทธ์ประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้

ให้จ�าเลยรับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าว


๖. อื่น ๆ



























76 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

ปรึกษาฯ)

๑.๓ ข้อมูลพฤติกรรม

• จ�าเลยที่ ๑ และจ�าเลยที่ ๒ เมื่อจ�าเลยทั้งสองเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น จ�าเลยทั้งสองเริ่มมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง








ไป จาเลยท้งสองเร่มติดเพ่อน และมักเท่ยวเตร่กับเพ่อนเป็นประจา เร่มไม่ค่อยเช่อฟังผู้ปกครอง และเร่มใช้สารเสพติด


ตามเพื่อน ด้วยความอยากรู้อยากเห็นและอยากลอง จ�าเลยทั้งสองจึงลองใช้สารเสพติดหลายอย่าง ทั้งยาบ้า กัญชา และ













นากระท่อม โดยเฉพาะจาเลยท ๒ เป็นคนอารมณ์ร้อน เม่อจาเลยท ๒ เกิดความไม่พอใจ จาเลยท ๒ มักจะข้นเสียง
และว่ากล่าวผู้อื่น อีกทั้งจ�าเลยที่ ๒ มักขึ้นเสียงดุว่ามารดาของตนเองเป็นประจ�า

๑.๔ ข้อมูลด้านสารเสพติด




• จาเลยท ๑ เคยใช้สารเสพติดหลายอย่าง เช่น นากระท่อม จาเลยท ๑ ใช้นากระท่อมล่าสุด ๑-๒ เดือน













ทผ่านมา โดยจาเลยต้มนากระท่อมผสมโออชและยาแก้ไอ นอกจากนจาเลยท ๑ ยงเคยใช้กญชา โดยใช้ครงล่าสด












เม่อ ๒ เดือนท่ผ่านมา จาเลยเสพกัญชาจากขวดนา และจาเลยท ๑ ยังเคยใช้ยาบ้า จาเลยท ๑ ปฏิเสธการจาหน่ายยาเสพติด


















• จาเลยท ๒ ยอมรับว่าเคยใช้แต่เพียงกัญชาเม่อหลายเดือนท่ผ่านมา และจาเลยท ๒ ปฏิเสธการจาหน่าย

ยาเสพติด
ความต้องการของผู้เสียหาย

• ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บท่แขน เน่องจากผู้เสียหายโดนมีดดายหญ้าฟันเข้าท่แขนข้างขวาโดนเส้นเอ็นขาด


และโดนไม้กวาดตีท่วร่างกาย ผู้เสียหายได้รับบาดเจ็บ เข้ารับการรักษาอยู่ท่โรงพยาบาลเป็นเวลาเดือนเศษ หลังจากท ่ ี




ผู้เสียหายออกจากโรงพยาบาล กลับมาพักรักษาตัวอยู่ท่บ้าน ผู้เสียหายไม่สามารถไปทางานได้เหมือนแต่ก่อน ผู้เสียหาย
ต้องออกจากงาน และยังต้องเข้ารับติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากแขนข้างขวาไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ
• ผู้เสียหายต้องการให้จ�าเลยทั้งสองรายชดใช้ค่าเสียหายเป็นจ�านวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
ผู้เข้าร่วมประชุม
๑. จ�าเลยทั้งสองราย
๒. ผู้ปกครองจ�าเลยทั้งสองราย
๓. ผู้เสียหาย
๔. นายจ้างของจ�าเลยที่ ๑
๕. ครูประจ�าชั้นของจ�าเลยที่ ๒
๖. ผู้ประสานการประชุม
๗. นักจิตวิทยา/ผู้ช่วยผู้ประสานการประชุม
ข้อสังเกตในการจัดท�าแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ส�าหรับกรณีศึกษาตามตัวอย่างนี้















เยาวชนทงสองรายเมอเรมเข้าส่วยร่นจงเรมมพฤตกรรมทเปลยนแปลงไป เรมตดเพอน เรมไม่สนใจการเรยน












ขาดทักษะในการควบคุมอารมณ์ของตนเอง มักมีปัญหาการทะเลาะกันระหว่างต่างสถาบัน ครอบครัวขาดความเข้าใจ
เก่ยวกับข้อจากัดของการเล้ยงดูลูกวัยรุ่น เยาวชนท้งสองรายมีพฤติกรรมเส่ยงปานกลาง ผู้ปกครองมักใช้เวลาไปกับการ





ท�างานเพื่อหาเงินมาใช้จ่ายในครอบครัว จนบางครั้งผู้ปกครองไม่มีเวลาใกล้ชิดเยาวชน ส่งผลให้ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ห่างเหิน จึงออกแบบแผนฯ ดังนี้
78 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐




๑. เยาวชนท้งสองรายเม่อเข้าสู่วัยรุ่น เยาวชนท้งสองรายมักมีพฤติกรรมอารมณ์ร้อน ขาดความยับย้งช่งใจ




จึงมักมีปัญหาทะเลาะวิวาทกับกลุ่มต่างสถาบันบ่อยคร้ง ประกอบกับเยาวชนท้งสองรายมักใช้สารเสพติดหลายชนิด

เป็นเวลานาน เห็นควรให้เยาวชนท้งสองรายเข้ารับการตรวจประเมินทางจิตวิทยา และเข้ารับการบาบัดรักษายาเสพติด

แบบผู้ป่วยนอก ที่โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ (ตามแผนในข้อ ๒)




๒. เยาวชนมักคบเพ่อนกลุ่มเส่ยง และเร่มมีพฤติกรรมการลอกเลียนแบบ เร่มมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท

คึกคะนอง โดยเฉพาะเม่ออยู่กับกลุ่มเพ่อน เยาวชนท้งสองต้องการเป็นท่ยอมรับในกลุ่มเพ่อน จึงมักชักชวนกันม่วสุม






เท่ยวเตร่ ผู้ปกครองควบคุมพฤติกรรมของเยาวชนได้ลาบาก ประกอบกับความสัมพันธ์ในครอบครัวค่อนข้างห่างเหิน


ดังน้น จึงควรเสริมทักษะให้เยาวชนมีทักษะการปฏิเสธ รู้จักการเลือกคบเพ่อน และเรียนรู้วิธีการจัดการกับอารมณ์ของ

ตนเองให้เหมาะสม และเรียนรู้การสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว จึงส่งเข้าร่วมกิจกรรมท่จัดข้นโดยศาลเยาวชนและ


ครอบครัวกลาง (ตามแผนในข้อ ๓)


๓. ให้เยาวชนท้งสองรายรู้จักการเสียสละ และเรียนรู้ท่จะช่วยเหลือคนอ่น เพ่อฝึกความรับผิดชอบและให้







เยาวชนท้งสองรายเกิดการเรียนรู้ให้เกิดสานึกในการกระทาความผิด จึงกาหนดแผนให้เยาวชนท้งสองรายไปช่วยงาน
เป็นจิตอาสาที่มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง เป็นเวลา ๓๐ ชั่วโมง














































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 79


(มอ.๖) คดีหมายเลขดาท ............ /……….


แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู คดีหมายเลขแดงที่ มอ..... /...........

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู





ชื่อเด็กหรือเยาวชน : จ�าเลย และผู้ปกครอง ชื่อ : ผู้ปกครองจ�าเลย
ชื่อ : ผู้เสียหาย และผู้ปกครองของผู้เสียหาย ชื่อ :

ทราบและยินยอมปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟู ดังนี้


มาตรการ แนวทางวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาที่ใช้ใน ผู้ที่ต้องปฏิบัติ ผู้ดูแลหรือ
การปฏิบัติ ตามแผนฯ ผู้รับผิดชอบ


๑. เพื่อการแก้ไขความประพฤติ


ให้จ�าเลย • ให้จาเลยท้งสองรายเข้ารับคา ระยะเวลา ๑ ปี จ�าเลย/ ผู้ประสาน



เข้ารับค�าปรึกษา ปรึกษาจากผู้ประสานการประชุม ตั้งแต่วันที่ ๓ ผู้ปกครอง การประชุม/
หรือนักจิตวิทยาทุก ๓ เดือน/คร้ง เป็น สิงหาคม ๒๕๖๓ นักจิตวิทยา

เวลา ๒ ปี ถึง ๓ สิงหาคม
๒๕๖๔


๒. เพื่อการบ�าบัดฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ



ให้จ�าเลยทั้งสอง • ให้จาเลยท้งสองพบจิตแพทย์เพ่อ ภายในระยะ จ�าเลย/ ประสาน



เข้ารับการบ�าบัด ปรับเปล่ยนพฤติกรรมและอารมณ์ เวลา ๑ ปี ผู้ปกครอง การประชุม/

รักษายาเสพติด ให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย นักจิตวิทยา





๓. เพื่อการพัฒนาเด็กหรือเยาวชน

ให้จ�าเลยทั้งสอง • ให้จาเลยท้งสองรายเข้ากิจกรรม ระยะเวลา ๑ ปี เยาวชน ประสาน


เข้าร่วมกิจกรรม ครอบครัวสัมพันธ์ ท่จัดข้นโดยศาล ตั้งแต่วันที่ ๓ การประชุม/


ที่ศาลเยาวชน เยาวชนและครอบครัวกลาง สิงหาคม ๒๕๖๓ นักจิตวิทยา
และครอบครัว • ให้จาเลยท้งสองรายไปช่วยงาน ถึง ๓ สิงหาคม


กลางจัดขึ้น มูลนิธิปอเต็กต๊ง โดยให้ไปเป็นจิตอาสา ๒๕๖๔

มูลนิธิร่วมกตัญญูเป็นเวลา ๓๐ ช่วโมง





80 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐



บรรณานุกรม














กรมพินิจ. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประสานการประชุม

จุฑารัตน์ แก้วกัญญา. สรุปสาระส�าคัญกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์.



จุฑารัตน์ เอ้ออานวย. ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ :
วี.พริ้นท์ (๑๙๙๑), ๒๕๕๖.

ปารณ มงคลศิริภัทรา. แนวทางในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีตามมาตรา ๙๐ และมาตรการแทนการ

พิพากษาคดีตามมาตรา ๑๓๒ แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน

และครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓. เอกสารวิชาการส่วนบุคคลนี้เป็นส่วนหนึ่งของการอบรมหลักสูตร “ผู้บริหาร









กระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นท่ ๒๓”. หนา ๑๖-๑๗. วทยาลยการยตธรรม สานกงานศาลยตธรรม, ๒๕๖๑.


มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล. โครงการวิจัย เร่อง หลักการคุ้มครองสิทธิเด็กภายใต้แนวคิดเก่ยวกับประโยชน์สูงสุดของเด็ก.


๒๐๒-๒๐๔. ม.ป.ท.: โรงพิมพ์เดือนตุลา จ�ากัด, ๒๕๖๒.
วันชัย รุจนวงศ์. ประเด็นส�าคัญจากหนังสือกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ The Little Book of Restorative
Justice of Howard Zehr.


สานักงานศาลยุติธรรม. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการสาหรับผู้ปฏิบัติหน้าท่ประสานการประชุมเพ่อจัดทา



แผนแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูในมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา. ม.ป.ท. : ม.พ.พ. ม.ป.ป.



สานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๒. คู่มือการปฏิบัติงาน การดาเนินการตามมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคด ี
อาญาหลังฟ้องคดี และมาตรการแทนการพิพากษาคดี ของศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตอ�านาจอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค ๒. ม.ป.ท.: ส�านักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๒. ๒๕๖๒.

สิทธิศักด วนะชกิจ. การประชุมคณะกรรมการการจัดทาโครงการศาลเยาวชนและครอบครัวนาร่องในการใช้มาตรการ



พิเศษแทนการด�าเนินคดี. กรุงเทพฯ : ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง, ๒๕๖๑.
สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ. ส่วนหนึ่งของบทสัมภาษณ์เพื่อการศึกษาวิจัยกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในประเทศไทย.
กรุงเทพฯ : สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน), ๒๕๖๓.
สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ. โครงการจัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายส�าหรับประเทศไทยในการอนุวัตยุทธศาสตร์ต้นแบบและ

มาตรการเชิงปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการป้องกันอาชญากรรม

และกระบวนการยุติธรรมทางอาญา. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. ม.ป.ป.


สุริยนต์ โสตถิทัต. การประชุมเพ่อจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูหลังฟ้องคดี (ตามมาตรา ๙๐) แบบเน้นกระบวนวิธียุติธรรม

เชิงสมานฉันท์ (Restrorative Justice). ม.ป.ท. : ม.ป.พ. ม.ป.ป.




82 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐




สุริยนต์ โสตถิทัต. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการสาหรับผู้ปฏิบัติหน้าท่ประสานการประชุมเพ่อจัดทาแผน


แก้ไขบาบัดฟื้นฟูในมาตรการพิเศษแทนการดาเนินคดีอาญา ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

๒๕๖๒.
Howard Zehr. The Little Book of Restorative Justice, Goog Books, Intercourse, PA ๑๗๕๓๔ (๒๐๐๒).
Pamela Phillips. Annual Report for ๒๐๐๐ and Resource Material Series No.๕๙ ของ UNAFEI.

Restorative Justice For Juveniles Conferencing. Mediation and Circles edited by Allison Morris and

Gabrielle Maxwell. New Zealand.

Tim Chapman. เอกสารประกอบการอบรม Regional Training Workshop on Restorative Justice Programmes.
Novotel Platinum Pratunam, Bangkok Thailand, ๒๕๖๒.






















































คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 83

84 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 85

86 คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

คู่มือมาตรการพิเศษแทนการดำาเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐ 87



คูมือ



มาตรการพิเศษ คูมือมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามมาตรา ๙๐

แทนการดำเนินคดีอาญา


ตามมาตรา ๙๐








































e-book


Click to View FlipBook Version