การประชุม คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ประจำปี พ.ศ. 2566-2568 ครั้งที่8/2566 วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 เวลา 15.00 น. ณ ห้อง Boardroom ชั้น 4 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ประจำปี พ.ศ. 2566-2568 ครั้งที่ 8/2566 วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน 2566 เวลา 15.00 น. ณ ห้องบอร์ดรูม ชั้น 4 อาคาร วสท. ***************** ระเบียบวาระที่1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 7/2566 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 สรุปการเสวนาเรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การก่อสร้างและการควบคุมงานก่อสร้าง” วันที่ 3 พฤศจิกายน 2566 3.2 เสวนาเรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การออกแบบอาคารและงานระบบ” วันที่ 24 มกราคม 2567 3.3 การปรับปรุง แก้ไข ข้อบังคับสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ 3.4 แนวทางการจัดทำขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) 3.5 แนวทางการยกระดับคุณภาพงานวิศวกรรม ระเบียบวาระที่4 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) ระเบียบวาระที่6 เรื่องกำหนดการประชุมครั้งต่อไป วันที่ 12 ธันวาคม 2566
ที่ วสท. 867/2566 20 พฤศจิกายน 2566 เรื่อง ขอเรียนเชิญร่วมงานพิธีเทวาภิเษกองค์พระวิษณุกรรมและเหรียญพระวิษณุกรรม เรียน คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ด้วยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดงานฉลองครบรอบ 80 ปีของการก่อตั้งสมาคม คณะกรรมการ อำนวยการ และคณะกรรมการจัดงานฉลองครบรอบ 80 ปีได้จัดสร้างองค์พระวิษณุกรรม และเหรียญวิษณุกรรม เพื่อให้สมาชิก และผู้สนใจเช่าบูชา และได้กำหนดจัดพิธีเทวาภิเษกองค์พระวิษณุกรรมและเหรียญพระวิษณุกรรมขึ้น ในวันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566 เวลา 08.00-13.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 6 อาคารวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทยฯ ซอยรามคำแหง 39 กำหนดการดังนี้ 08.00 น. ลงทะเบียน และรับประทานอาหารว่าง 08.30 น. พิธีบวงสรวงองค์พระวิษณุกรรม 09.30 น. เริ่มพิธีเทวาภิเษกพระวิษณุกรรม ประธานพิธีฝ่ายสงฆ์ท่านสมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี(นามเดิม ธงชัย ฉายา ธมฺมธโช) - พิธีสวดเทวาภิเษก - พิธีประดับเทียนชัย 11.00 น. ถวายภัตตาหารเพลพระสงฆ์ 9 รูป 12.00 น. เสร็จสิ้นพิธี/แขกที่มาร่วมงานรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. สิ้นสุดกิจกรรมช่วงเช้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ขอเรียนเชิญท่าน ร่วมงานพิธีเทวาภิเษกฯ ในวันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ดังกำหนดการข้างต้น โดยแจ้งชื่อตามแบบฟอร์มใน QR Code ที่แนบมาแล้วนี้รายละเอียดเพิ่มเติมประสานงาน เจ้าหน้าที่ วสท. ประจำสาขา โทรศัพท์หมายเลข 0-2184-4600-9 ต่อ 226 จึงเรียนมาเพื่อขอเรียนเชิญ และขอขอบคุณล่วงหน้ามา ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง ขอแสดงความนับถือ (รองศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ กาสลัก) นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ QR Code ลงชื่อเข้าร่วมงาน
1 รายงานการประชุม คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ประจำปี พ.ศ. 2566-2568 ครั้งที่ 7/2566 วันอังคารที่ 10 ตุลาคม 2566 เวลา 15.00 น. ณ ห้อง Boardroom ชั้น 4 อาคาร วสท. ******************* กรรมการผู้เข้าร่วมประชุม 1. ดร.ไกร ตั้งสง่า ประธาน 2. นายชูลิต วัชรสินธุ์ กรรมการ 3. นายเทิดศักดิ์พ่วงจินดา กรรมการ 4. นายธีระพันธ์ เพ็ชร์สุวรรณ กรรมการ 5. นายพรชัย สกุลรัตนสุภา กรรมการ 6. นายวรพจน์เดชดนู กรรมการ 7. นายชูเลิศ จิตเจือจุน กรรมการและเลขานุการ ผู้เข้าร่วมประชุม 1. นางสาวอัจราภรณ์ รอดเกลี้ยง เจ้าหน้าที่ วสท. 2. นางสาวอังศนา อิทธะรงค์ เจ้าหน้าที่ วสท. เริ่มประชุม เวลา 15.05 น. ดร.ไกร ตั้งสง่า ประธานที่ประชุม กล่าวต้อนรับกรรมการฯ และเปิดการประชุมครั้งที่ 7/2566 โดยมี ระเบียบวาระการประชุมดังนี้ ระเบียบวาระที่1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ประธานแจ้งที่ประชุม ได้เข้าร่วมงานแถลงข่าวเปิดการจัดงาน “วิศวกรรมแห่งชาติ2566” ซึ่ง จะจัดในวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2566 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ร่วมจัดเสวนาเรื่อง ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การก่อสร้างและการควบคุมงานก่อสร้าง” ครั้งที่ 3 ในวันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้อง MR 109 CD ชั้น 1 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มติที่ประชุม: รับทราบ
2 ระเบียบวาระที่2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่6/2566 ประธานที่ประชุม ขอให้ที่ประชุมพิจารณารับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 6/2566 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2566 มติที่ประชุม: รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 6/2566 โดยไม่มีการแก้ไข ระเบียบวาระที่3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 สรุปการเสวนาเรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การออกแบบโครงสร้างพื้นฐาน” ครั้งที่ 2 ประธานที่ประชุมได้สรุปการเสวนาเรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม การออกแบบโครงสร้างพื้นฐาน” ครั้งที่ 2 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน 2566 ผ่านระบบการ ประชุมอิเล็กทรอนิกส์โปรแกรม Zoom ประสบความสำเร็จด้วยดีได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมเสวนาออนไลน์ กว่า 450 คน และส่งรายชื่อให้กับสภาวิศวกรเพื่อบันทึกข้อมูลคะแนนกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว หลังจบการเสวนาได้รับ ฟังประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ แนวทางในการแก้ไข ปัญหาสัญญาการออกแบบโครงสร้างพื้นฐาน จากผู้ร่วมเสวนา และหน่วยงานที่เข้าร่วมเป็นวิทยากร เพื่อรวบรวมข้อมูลที่ได้นำเสนอต่อรัฐบาลและกรมบัญชีกลางต่อไป มติที่ประชุม: รับทราบ 3.2 เสวนาเรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การก่อสร้างและการควบคุมงานก่อสร้าง” ครั้งที่ 3 ประธานที่ประชุมแจ้งกำหนดการเสวนาเรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม และสถาปัตยกรรม การก่อสร้างและการควบคุมงานก่อสร้าง” ครั้งที่ 3 ในวันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้อง MR 109 CD ชั้น 1 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ตามกำหนดการดังนี้ 13.00 น. ลงทะเบียน พิธีการ ถ่ายรูป 13.40- 14.00 น. (20 นาที) เสวนาโดย นางสาวลิซ่า งามตระกูลพานิช นายกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 14.00-14.10 น. (10 นาที) นายบุญศักดิ์ เกียรติจรูญเลิศ นายกสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย 14.10-14.25 น. (15 นาที) นายอนันต์ พ่วงสมจิตต์อนุกรรมการ สภาสถาปนิก 14.25-14.40 น. (15 นาที) นายนิเวศน์ วะสีนนท์ อุปนายก สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ 14.40-14.50 น. (10 นาที) นายมังกร ชัยเจริญไมตรี นายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย 14.50-15.00 น. (10 นาที) นางกรกช คุณาลังการ นายกสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย 15.00-15.20 น. (20 นาที) นายชวลิต จันทรรัตน์ นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย 15.20-15.30 น. (10 นาที) รศ.สิริวัฒน์ ไชยชนะ กรรมการจรรยาบรรณ สภาวิศวกร 15.30-15.45 น. (15 นาที) นายสามารถ แสงรินทร์ นิติกรชำนาญการพิเศษ กรมบัญชีกลาง 15.45-16.30 น. (45 นาที) ถาม-ตอบ ผู้ดำเนินรายการ ดร.ไกร ตั้งสง่า ประธานคณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ วสท.
3 มติที่ประชุม: ขอเชิญกรรมการเข้าร่วมเสวนาและประชาสัมพันธ์งาน และมอบหมายให้ นางสาวอัจราภรณ์รอดเกลี้ยง ประสานงานกับวิทยากรทุกท่าน 3.3 เสวนาเรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การออกแบบอาคารและงานระบบ” ครั้งที่ 4 ประธานที่ประชุม แจ้งกำหนดการเสวนา เรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม และสถาปัตยกรรม การออกแบบอาคารและงานระบบ” ครั้งที่ 4 ในวันพุธที่ 24 มกราคม 2567 ทั้งรูปแบบ Onsite และ Online ณ ห้องประชุมอาคาร วสท. มติที่ประชุม: รับทราบ 3.4 การปรับปรุง แก้ไข ข้อบังคับสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ (ฉบับแก้ไข วันที่ 19 กันยายน 2556) ประธานที่ประชุม ขอให้กรรมการพิจารณาประเด็นการปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ วสท. ให้ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งที่ประชุมได้เสนอประเด็นต่าง ๆ ที่จะต้องปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมข้อที่ 15-19 ดังตารางตามเอกสารแนบ ทั้งนี้ประธานที่ประชุม ขอให้กรรมการทบทวนในประเด็นข้อ 16 เพื่อให้คำนิยามของกรรมการ ต่าง ๆ และจัดทำผังโครงสร้างองค์กรเพื่อให้เข้าใจง่าย มติที่ประชุม: เห็นชอบตามที่ประชุมเสนอแก้ไข ข้อ 15-19 และพิจารณาข้อ 20 ในการประชุม ครั้งต่อไป 3.5 แนวทางการจัดทำขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) - 3.6 แนวทางการยกระดับคุณภาพงานวิศวกรรม - ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องกำหนดการประชุมครั้งต่อไป ที่ประชุมมีมติกำหนดการประชุมครั้งต่อไปในวันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน 2566 เวลา 15.00 น. ณ ห้อง boardroom ชั้น 4 อาคาร วสท. เลิกประชุม เวลา 16.50 น. (นางสาวอัจราภรณ์ รอดเกลี้ยง) (นายชูเลิศ จิตเจือจุน) เจ้าหน้าที่ วสท. กรรมการและเลขานุการ ผู้จดรายงานการประชุม ผู้ตรวจรายงานการประชุม
คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ วสท. จัดเสวนา เรื่อง “ปัญหา… การก่อสร้างและการควบคุมงานก่อสร้าง สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ” วันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
สืบเนื่องมาจากปัญหาการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การออกแบบ โครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งต้องมีการท าธุรกรรมผ่านทางสัญญาระหว่างเจ้าของงานทั้งภาครัฐ และเอกชน กับสถาปนิก วิศวกร ผู้รับเหมา ในบางครั้งจึงท าให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติ ตามสัญญา และเพื่อให้ทราบถึงปัญหา และสาเหตุในการปฏิบัติตามสัญญา ซึ่งส่งผล กระทบต่อผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมอย่างไร ร่วมแลกเปลี่ยนประเด็น ปัญหาในการปฏิบัติตามสัญญาของการประกอบวิชาชีพ ผู้รับเหมา วิศวกร และสถาปนิก ให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อหาแนวทางแก้ไข และรวบรวมข้อเสนอแนะน าเสนอต่อ รัฐบาลและหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อไป
โดยมีหน่วยงานต่าง ๆ ส่งผู้แทนเข้าร่วมเสวนา ดังนี้ 1. สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2. สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย 3. สภาสถาปนิก 4. สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ 5. สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย 6. สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย 7. สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย 8. สภาวิศวกร 9. กรมบัญชีกลาง
3 พฤศจิกายน 2566 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มีผู้สนใจเข้าร่วมเสวนากว่า 70 คน
1/25 ร่างการแก้ไข ข้อบังคับสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ. ....) ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ข้อ 1. ในพระ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย บรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2562” ข้อ 1. ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2566” ข้อ 2. ให้ยกเลิกข้อบังคับสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2556 และให้ใช้ข้อบังคับฉบับนี้แทน ข้อ 2. ให้ยกเลิกข้อบังคับสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระ บรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2562 และให้ใช้ข้อบังคับฉบับนี้แทน ข้อ 3. สมาคมนี้ชื่อ “สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์” ใช้ชื่อย่อว่า “วสท.” มีสถานะเป็นนิติบุคคลตาม กฎหมายและเป็นสมาคมวิชาชีพวิศวกรรม ข้อ 4. เครื่องหมายของ วสท. มีลักษณะเป็นรูปโล่ มีพระวิษณุกรรมประทับ นั่งบนแท่น พระหัตถ์ขวาทรงผึ่ง พระหัตถ์ซ้ายทรงดิ่ง มีรูปเฟืองจักร อยู่เบื้องหลัง มีคำว่า “วิศวกรรมสถาน” อยู่ข้างขวาของพระ วิษณุกรรม คำว่า “แห่งประเทศไทย” อยู่ข้างซ้ายของพระวิษณุกรรม ปี พ.ศ. ก่อตั้ง “2486” และ “ในพระบรมราชูปถัมภ์” อยู่ข้างล่างตาม แบบรายละเอียดเครื่องหมาย วสท. ที่แสดง ข้อ 5. สำนักงานใหญ่ของ วสท. ตั้งอยู่ เลขที่ 487 ซอยรามคำแหง 39 (เท พ ลี ล า 1) แ ข ว งพ ลั บ พ ล า เข ต วังท อ งห ล าง จั งห วั ด กรุงเทพมหานคร 10310 ข้อ 6. โครงสร้างของ วสท. ประกอบด้วย คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการต่าง ๆ และสำนักงาน เลขาธิการ ซึ่งเป็นหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานต่าง ๆ ทั้งนี้ 1. เพิ่มคำนิยามของ คณะกรรมการต่าง ๆ 2. จัดทำผังโครงสร้างกรรมการ
2/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ที่ การบริหารงานสมาคมเป็นไปตามข้อบังคับ วสท. ที่ได้รับอนุมัติจาก ประชุมใหญ่ และระเบียบ คำสั่ง การบริหารงานสมาคมที่ได้รับการ อนุมัติจากคณะกรรมการอำนวยการ วสท. ให้ชัดเจน ข้อ 7. และ วสท. เป็นองค์กรของวิศวกร ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านวิศวกรรม ผู้มีความเกี่ยวข้องทางวิชาชีพวิศวกรรม โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 7.1 เป็นเวทีถ่ายทอดผลงานประสบการณ์วิชาชีพวิศวกรรมและ เทคโนโลยีรวมถึงการส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยเพื่อความก้าวหน้า ในการประกอบวิชาชีพระดับสากล 7.2 กระทำทุจริตผิด ส่งเสริมสิทธิและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม รวมถึงการไม่ กฎหมายใดๆ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกและสังคม ผดุงไว้ซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีในวิชาชีพวิศวกรรมรวมทั้งเสริมสร้าง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการ ประกอบวิชาชีพของสมาชิก และสังคม 7.3 จัดทำ รับรอง และเผยแพร่มาตรฐานด้านวิศวกรรม 7.4 วิศวกร ส่งเสริม พัฒนา และเพิ่มทักษะสมาชิกของ วสท. ด้านวิชาชีพ รมให้ก้าวหน้าทันสมัย เป็นที่ยอมรับทั้งภายในและ ต่างประเทศ 7.5 รักษาสิทธิและผลประโยชน์ของสมาชิก 7.6 การ เสนอแนะข้อคิดเห็น ทิศทาง วิศวกรรมที่เหมาะสมและทันสมัย เพื่อ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้แก่หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างต่อเนื่อง 7.7 ส่งเสริมให้ดำเนินงานการวิชาชีพวิศวกรรมต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อ ผู้เกี่ยวข้องสังคม และสิ่งแวดล้อม ข้อ 8. สมาชิกของ วสท. มี 7 ประเภท 8.1 กิตติมศักดิ์สมาชิก ได้แก่ บุคคลผู้ทรงเกียรติ หรือทรงคุณวุฒิ หรือผู้ มีอุปการคุณ และทำคุณประโยชน์ต่อ วสท. ซึ่งคณะกรรมการ อำนวยการ วสท. มีมติคะแนนเสียงไม่ต่ำกว่า 4 (สี่) ใน 5 (ห้า) ของ คณะกรรมการที่เข้าร่วมประชุมเชิญเข้าเป็นกิตติมศักดิ์สมาชิก ข้อ 8. สมาชิกของ วสท. มี 6 ประเภท 8.1 กิตติมศักดิ์สมาชิก ได้แก่ บุคคลผู้ทรงเกียรติ หรือทรงคุณวุฒิ หรือผู้ มีอุปการคุณ และทำคุณประโยชน์ต่อ วสท. ซึ่งคณะกรรมการ อำนวยการ วสท. มีมติคะแนนเสียงไม่ต่ำกว่า 4 (สี่) ใน 5 (ห้า) ของ คณะกรรมการที่เข้าร่วมประชุมเชิญเข้าเป็นกิตติมศักดิ์สมาชิก ประเ ส ม ท บ ส ม า ชิ ก จึ งป รั บ เป็ น นิสิตสมาชิกมีคุณสมบัติคล้ายกับ ภทเดียวกัน
3/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล 8.2 วุฒิสมาชิก ได้แก่ สามัญสมาชิกที่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม หลังจากการเป็นสามัญสมาชิก เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 (ห้า) ปี หรือผู้ ทรงคุณสมบัติในวิชาชีพวิศวกรรมเทียบเท่าภาคีสมาชิก และได้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 8 (แปด) ปี ทั้งนี้โดย ผ่านหลักเกณฑ์และหรือการทดสอบที่ วสท. กำหนด เป็นวุฒิวิศวกร ของสภาวิศวกร หรือสมาชิกที่คณะกรรมการอำนวยการ วสท. มีมติ 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ขององค์ประชุมให้เป็นวุฒิสมาชิก 8.3 สามัญสมาชิก ได้แก่ ภาคีสมาชิกที่ได้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม หลังจากการเป็นภาคีสมาชิก เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 (สาม) ปี หรือ ประกอบวิชาชีพวิ เป็นผู้ทรงคุณสมบัติในวิชาชีพวิศวกรรมเทียบเท่าภาคีสมาชิกและได้ ศวกรรมเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 (ห้า) ปี ทั้งนี้โดย ผ่านหลักเกณฑ์และหรือการทดสอบที่ วสท. กำหนด หรือเป็นสามัญ วิศวกรของสภาวิศวกร หรือสมาชิกที่คณะกรรมการอำนวยการ วสท. มีมติ 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ขององค์ประชุมให้เป็นสามัญสมาชิก 8.4 ภาคีสมาชิก ได้แก่ ผู้สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีในสาขาวิชา วิศวกรรม หรือบุคคลตามหลักเกณฑ์ที่ วสท. กำหนด และ คณะกรรมการอำนวยการ วสท. มีมติ 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ขององค์ ประชุมให้เป็นภาคีสมาชิก 8.5 สมทบสมาชิก ได้แก่ ผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม หรือบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรม 8.6 นิสิตสมาชิก ได้แก่ นักเรียนช่างเทคนิค นักศึกษา นิสิต ที่ศึกษาด้าน ช่าง และด้านวิศวกรรม 8.7 นิติบุคคลสมาชิก ได้แก่ นิติบุคคลที่ประกอบกิจการด้านวิศวกรรม 8.2 วุฒิสมาชิก ได้แก่ สามัญสมาชิกที่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม หลังจากการเป็นสามัญสมาชิก เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 (ห้า) ปี หรือผู้ ทรงคุณสมบัติในวิชาชีพวิศวกรรมเทียบเท่าภาคีสมาชิก และได้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 8 (แปด) ปี ทั้งนี้โดย ผ่านหลักเกณฑ์และหรือการทดสอบที่ วสท. กำหนด เป็นวุฒิวิศวกร ของสภาวิศวกร หรือสมาชิกที่คณะกรรมการอำนวยการ วสท. มีมติ 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ขององค์ประชุมให้เป็นวุฒิสมาชิก 8.3 สามัญสมาชิก ได้แก่ ภาคีสมาชิกที่ได้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม หลังจากการเป็นภาคีสมาชิก เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 (สาม) ปี หรือ ประกอบวิชาชีพวิ เป็นผู้ทรงคุณสมบัติในวิชาชีพวิศวกรรมเทียบเท่าภาคีสมาชิกและได้ ศวกรรมเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 (ห้า) ปี ทั้งนี้โดย ผ่านหลักเกณฑ์และหรือการทดสอบที่ วสท. กำหนด หรือเป็นสามัญ วสท. มีมติ วิศวกรของสภาวิศวกร หรือสมาชิกที่คณะกรรมการอำนวยการ 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ขององค์ประชุมให้เป็นสามัญสมาชิก 8.4 ภาคีสมาชิก ได้แก่ ผู้สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีในสาขาวิชา วิศวกรรม หรือบุคคลตามหลักเกณฑ์ที่ วสท. กำหนด และ คณะกรรมการอำนวยการ วสท. มีมติ 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ขององค์ ประชุมให้เป็นภาคีสมาชิก 8.5 สมทบสมาชิก ได้แก่ ผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม หรือบุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรมหรือนักเรียนช่าง เทคนิค นักศึกษา นิสิต ที่ศึกษาด้านช่างและด้านวิศวกรรม 8.6 นิติบุคคลสมาชิก ได้แก่ นิติบุคคลที่ประกอบกิจการด้านวิศวกรรม ข้อ 9. คุณสมบัติทั่วไปสมาชิก วสท. ประกอบด้วยคุณสมบัติดังนี้ 9.1 ไม่เป็นผู้ประพฤติเสื่อมเสียในวิชาชีพ หรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี 9.2 ไม่เคยต้องโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเว้นแต่ ความผิดที่เป็นลหุโทษหรือความผิดที่กระทำโดยประมาท 9.3 ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ ข้อ 9. คุณสมบัติทั่วไปสมาชิก วสท. ประกอบด้วยคุณสมบัติดังนี้ 9.1 ไม่เป็นผู้ประพฤติเสื่อมเสียในวิชาชีพ หรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี 9.2 ไม่เคยต้องโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเว้นแต่ ความผิดที่เป็นลหุโทษหรือความผิดที่กระทำโดยประมาท 9.4 ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ
4/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล 9.4 ไม่เคยเป็นผู้ทำหรือเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ วสท. 9.5 ไม่ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิศวกรของ วสท. อย่างร้ายแรง 9.4 ไม่เคยเป็นผู้ทำหรือเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ วสท. หรือ วงการวิชาชีพวิศวกรรม 9.5 ไม่ประพฤติผิดจรรยาบรรณวิศวกรของ วสท. และสภาวิศวกรอย่าง ร้ายแรง ข้อ10. สถานภาพสมาชิก 10.1 ให้ยื่นใบสมัครและชำระค่ การเข้าเป็นสมาชิก าสมาชิกตามแบบหนังสือที่ วสท. กำหนด ต่อนายทะเบียนโดยมีวุฒิสมาชิกหรือสามัญสมาชิกคนหนึ่งเป็นผู้ รับรองคุณสมบัติตามที่ระบุในข้อ 9 10.2 สมาชิกประเภทต่าง ๆ จะขอเลื่อนป การเลื่อนประเภทสมาชิก ระเภทได้ต่อเมื่อมีคุณสมบัติครบ ตามกำหนดของสมาชิกประเภทนั้น ๆ โดยให้แจ้งการขอเลื่อน ประเภ ทต่อนายทะเบี ยน เพื่อดำเนิน การตามขั้นตอน ให้ คณะกรรมการอำนวยการพิจารณาอนุมัติ 10.3 กรณีสมาชิกพ้นสภาพตามที่ระบุในข้อ 12.2 ข้อ 12.3 หรือข้อ 12.4 อาจยื่นสมัครเป็นสมาชิกได้อีก โดยให้ดำเนินการตามที่ระบุในข้อ ข้อ 11. วันเริ่มสมาชิกภาพ 11.1 นายทะเบียนจะประกาศนามผู้สมัครเป็นสมาชิกไว้ที่สำนักงาน วสท. และที่อื่น ๆตามที่จะได้กำหนดไว้ในระเบียบของ วสท. เป็นเวลาไม่ น้อยกว่า 30 วัน สมาชิกผู้ใดเห็นว่าผู้สมัครคนใดขาดคุณสมบัติตามที่ ระบุในข้อ 6 หรือผิดประเภทตามที่ระบุในข้อ 5 สามารถคัดค้านได้ โดยแจ้งให้นายทะเบียนทราบเป็นหนังสือภายในกำหนดระยะเวลา ของการประกาศ 11.2 เป็น เมื่อครบกำหนดการประกาศแล้ว ให้นายทะเบียนนำรายชื่อผู้สมัคร สมาชิกเสนอคณะกรรมการอำนวยการพิจารณาพร้อมทั้งคำ คัดค้าน (ถ้ามี) เมื่อคณะกรรมการอำนวยการมีมติแล้ว ให้นาย ทะเบียนแจ้งให้ผู้สมัครทราบ ถ้ามีมติไม่รับให้แจ้งเหตุผลด้วย 11.3 ในกรณีที่คณะกรรมการอำนวยการไม่รับเป็นสมาชิก ผู้สมัครอาจ ข้อ 11. วันเริ่มสมาชิกภาพ 11.1 นายทะเบียนจะประกาศนามผู้สมัครเป็นสมาชิกไว้ที่สำนักงาน วสท. และที่อื่น ๆตามที่จะได้กำหนดไว้ในระเบียบของ วสท. เป็นเวลาไม่ น้อยกว่า 30 วัน สมาชิกผู้ใดเห็นว่าผู้สมัครคนใดขาดคุณสมบัติตามที่ ระบุในข้อ 9 หรือผิดประเภทตามที่ระบุใน ข้อ 8 สามารถคัดค้านได้ โดยแจ้งให้นายทะเบียนทราบเป็นหนังสือภายในกำหนดระยะเวลา ของการประกาศ 11.2 เป็น เมื่อครบกำหนดการประกาศแล้ว ให้นายทะเบียนนำรายชื่อผู้สมัคร สมาชิกเสนอคณะกรรมการอำนวยการพิจารณาพร้อมทั้งคำ คัดค้าน (ถ้ามี) เมื่อคณะกรรมการอำนวยการมีมติแล้ว ให้นาย ทะเบียนแจ้งให้ผู้สมัครทราบ ถ้ามีมติไม่รับให้แจ้งเหตุผลด้วย 11.3 ในกรณีที่คณะกรรมการอำนวยการไม่รับเป็นสมาชิก ผู้สมัครอาจ
5/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อขอให้คณะกรรมการอำนวยการพิจารณาใหม่ ทั้งนี้ต้องยื่นภายในกำหนด 30 (สามสิบ) วัน หลังจากวันที่ได้รับแจ้ง จากนายทะเบียน ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อขอให้คณะกรรมการอำนวยการพิจารณาใหม่ ทั้งนี้ ต้องยื่นภายในกำหนด 30 (สามสิบ) วัน หลังจากวันที่ได้รับแจ้งจากนาย ทะเบียน ข้อ 12. การสิ้นสุดสมาชิกภาพ 12.1 ตาย 12.2 วันที่ ลาออกต่อนายทะเบียน วสท. โดยแจ้งเป็นหนังสือโดยมีผลนับแต่ สมาชิกระบุไว้ในหนังสือ 12.3 ขาดคุณสมบัติตามข้อ 9 12.4 ไม่ชำระค่าสมาชิกตามระเบียบว่าด้วยการชำระค่าสมาชิก 12.5 คณะกรรมการอำนวยการมีมติให้ออกเพราะประพฤติผิดข้อบังคับ อย่างร้ายแรง หรือประพฤติตนอันจะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียแก่ วสท. หรือประพฤติผิดจรรยาบรรณ วสท. อย่างร้ายแรง ข้อ 12. การสิ้นสุดสมาชิกภาพ 12.1 ตาย 12.2 ลาออกต่อนายทะเบียน วสท. โดยแจ้งเป็นหนังสือโดยมีผลนับแต่ วันที่สมาชิกระบุไว้ในหนังสือ 12.3 ขาดคุณสมบัติตามข้อ 9 12.4 ไม่ชำระค่าสมาชิกตามระเบียบว่าด้วยการชำระค่าสมาชิกภายใน 60 วันหลังจากครบกำหนด 12.5 คณะกรรมการอำนวยการมีมติให้ออกเพราะประพฤติผิดข้อบังคับ อย่างร้ายแรง หรือประพฤติตนอันจะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียแก่ วสท. หรือประพฤติผิดจรรยาบรรณ วสท. อย่างร้ายแรง ข้อ 13. ค่าสมาชิก 13.1 คณะกรรมการอำนวยการมีอำนาจในการกำหนดอัตราค่าสมาชิก รวมถึงการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ทั้งนี้ให้ จัดทำเป็นระเบียบว่าด้วยการชำระค่าสมาชิก 13.2 อัตราค่าธรรมเนียมและค่าบำรุงสมาชิกให้เป็นไปดังนี้ 13.2.1 อย่างใด กิตติมศักดิ์สมาชิก ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมและค่าบำรุงสมาชิกแต่ 13.2.2 วุฒิสมาชิก ปีละ 500 (ห้าร้อย) บาท 13.2.3 สามัญสมาชิก ปีละ 400 (สี่ร้อย) บาท 13.2.4 ภาคีสมาชิก ปีละ 350 (สามร้อยห้าสิบ) บาท 13.2.5 สมทบสมาชิก ปีละ 350 (สามร้อยห้าสิบ) บาท 13.2.6 สมาชิกนิสิต/นักศึกษา ปีละ 100 (หนึ่งร้อย) บาท 13.2.7 สมาชิกนิติบุคคล ปีละ 10,700 (หนึ่งหมื่นเจ็ดร้อย) บาท ข้อ 13. ค่าสมาชิก 13.1 คณะกรรมการอำนวยการมีอำนาจในการกำหนดอัตราค่าสมาชิก รวมถึงการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ทั้งนี้ให้ จัดทำเป็นระเบียบว่าด้วยการชำระค่าสมาชิก 13.2 อัตราค่าธรรมเนียมและค่าบำรุงสมาชิกให้เป็นไปดังนี้ 13.2.1 กิตติมศักดิ์สมาชิก ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมและค่าบำรุงสมาชิกแต่ อย่างใด 13.2.2 วุฒิสมาชิก 3 ปี500 บาท ตลอดชีพ 1,500 บาท 13.2.3 สามัญสมาชิก 3 ปี400 บาท ตลอดชีพ 1,200 บาท 13.2.4 ภาคีสมาชิก 3 ปี350 บาท ตลอดชีพ 1,000 บาท 13.2.5 สมทบสมาชิก 3 ปี350 บาท ตลอดชีพ 900 บาท 13.2.6 สมาชิกนิติบุคคล 3 ปี10,000 บาท ตลอดชีพ 20,000 บาท การปรับค่าสมาชิกให้เหมาะสม เพื่อให้วิศวกรสมัครเข้าเป็ น เข้ ได้รับประโยชน์จากสมาชิก วสท. สมาชิกเพิ่มมากขึ้น โดย วสท. จะ ามาอบรมเพิ่มมากขึ้น ข้อ 14. หน้าที่และสิทธิประโยชน์สมาชิก 14.1 หน้าที่ ข้อ 14. หน้าที่และสิทธิประโยชน์สมาชิก 14.1 หน้าที่ เพื่อเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้แก่ สมาชิกเพิ่มมากขึ้น เป็นแรงจูงใจ
6/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล 14.1.1 ปฏิบัติตามข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ วสท. 14.1.2 ผดุงเกียรติ ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือในกิจการทั้งปวงใน วสท. 14.1.3 แจ้งให้ วสท. ทราบทุกครั้งเมื่อย้ายที่อยู่หรือที่ทำงาน 14.1.4 เสนอความคิดเห็นหรือรายงานเรื่องใดอันเกี่ยวกับความเสียหายอัน พึงมีต่อ วสท. 14.2 สิทธิประโยชน์ 14.2.1 ประดับเครื่องหมายของ วสท. ตามระเบียบคณะกรรมการ อำนวยการที่กำหนดขึ้น 14.2.2 รับวิศวกรรมสารและจดหมายข่าว วสท. 14.2.3 ใช้สถานที่ของ วสท. ตามระเบียบของ วสท. 14.2.4 เสนอความคิดเห็นหรือข้อร้องเรียนต่อคณะกรรมการอำนวยการต่อ ความเสียหายอันพึงมี 14.2.5 มีสิทธิอื่น ๆ ตามระเบียบว่าด้วยสิทธิประโยชน์สมาชิก 14.2.6 สมาชิกประเภทต่าง ๆ อาจสมัครเป็นสมาชิกมากกว่า 1 (หนึ่ง) สาขา ก็ได้โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสาขานั้น ๆ 14.2.7 สมาชิกตามข้อ 8.2 8.3 8.4 มีสิทธิในการเสนอตัวเข้ารับสมัคร เลือกตั้งเป็นกรรมการอำนวยการ รวมถึงสิทธิในการลงคะแนนเสียง เลือกตั้ง คณะกรรมการอำนวยการตามข้อ 17.2 และข้อ 17.3 14.1.1 ปฏิบัติตามข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ วสท. 14.1.2 ผดุงเกียรติ ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือในกิจการทั้งปวงใน วสท. 14.1.3 แจ้งให้ วสท. ทราบทุกครั้งเมื่อย้ายที่อยู่หรือที่ทำงาน 14.1.4 เสนอความคิดเห็นหรือรายงานเรื่องใดอันเกี่ยวกับความเสียหายอัน พึงมีต่อ วสท. 14.2 สิทธิประโยชน์ 14.2.1 วิศวกรรมสารในรูปแบบ e-magazine ทางอีเมล 14.2.2 ใช้สถานที่ของ วสท. ตามระเบียบของ วสท. 14.2.3 เสนอความคิดเห็นหรือข้อร้องเรียนต่อคณะกรรมการอำนวยการต่อ ความเสียหายอันพึงมี 14.2.4 มีสิทธิอื่น ๆ ตามระเบียบว่าด้วยสิทธิประโยชน์สมาชิก 14.2.5 สมาชิกประเภทต่าง ๆ อาจสมัครเป็นสมาชิกมากกว่า 1 (หนึ่ง) สาขา ก็ได้โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสาขานั้น ๆ 14.2.6 สมาชิกมีสิทธิในการเสนอตัวเข้ารับสมัครเลือกตั้งเป็นกรรมการ อำนวยการ ตามข้อ 17.2 รวมถึงสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง คณะกรรมการอำนวยการตามข้อ 17.3 14.2.7 สมาชิกได้รับส่วนลดในการอบรมวิชาละ 35 เปอร์เซ็นต์ 14.2.8 ให้คำปรึกษาด้านวิชาชีพวิศวกรรมต่อสมาชิกจากผู้เชี่ยวชาญ 14.2.9 จัดให้สมาชิกศึกษาดูงานก่อสร้างด้านวิศวกรรม ให้วิศวกรเข้ามาสมัครเป็นสมาชิก วสท. เพิ่มมากขึ้น ข้อ 15. ให้มีคณะกรรมการอำนวยการคณะหนึ่งทำหน้าที่กำหนด กำกับ นโยบายและบริหารกิจการของ วสท. ประกอบด้วยกรรมการที่มา จากการเลือกตั้งของสมาชิกจำนวนไม่น้อยกว่า 24(ยี่สิบสี่) คน และ จากการแต่งตั้งโดยนายก จำนวนไม่เกิน 2 (สอง) คน แต่รวมแล้ว ทั้งหมดไม่เกิน 33 (สามสิบสาม) คน กรรมการทุกคนต้องเป็น วุฒิสมาชิก โดยประธานวิศวกรอาวุโสต้องมีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปใน ปีที่มีการเลือกตั้ง ยกเว้นประธานยุววิศวกรไม่จำเป็นต้องเป็น วุฒิสมาชิกแต่ต้องมีอายุไม่เกิน 35 ปีในปีที่มีการเลือกตั้ง ข้อ 15. ให้มีคณะกรรมการอำนวยการคณะหนึ่งทำหน้าที่กำหนด กำกับ นโยบายและบริหารกิจการของ วสท. ประกอบด้วยกรรมการที่มาจากการ เลือกตั้งของสมาชิกจำนวนไม่น้อยกว่า 24 (ยี่สิบสี่) คน และจากการแต่งตั้ง โดยนายก จำนวนไม่เกิน 2 (สอง) คน แต่รวมแล้วทั้งหมดไม่เกิน 33 (สามสิบ สาม) คน กรรมการต้องเป็นสามัญสมาชิกขึ้นไปและมีอายุไม่น้อยกว่า 35 ปี โดยประธานวิศวกรอาวุโสต้องมีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปในปีที่มีการเลือกตั้ง ยกเว้นประธานยุววิศวกรไม่จำเป็นต้องเป็นวุฒิสมาชิกแต่ต้องมีอายุไม่เกิน 35 ปีในปีที่มีการเลือกตั้ง เพื่ มีบทบาทในการขับเคลื่อนองค์กร เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้เข้ามา อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
7/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ข้อ 16. องค์ประกอบ และหน้าที่ของคณะกรรมการต่างๆ 16.1 ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา หมายถึง บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ อำนวยการมีหน้าที่ให้คำปรึกษาตามส่วนที่ได้รับการแต่งตั้ง 16.2 คณะกรรมการอำนวยการ มีองค์ประกอบและหน้าที่ดังนี้ 16.2.1 ตำแหน่งหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการ (1) นายกสมาคมฯ หมายถึง กรรมการกลางที่คณะกรรรมการ อำนวยการพิจารณาให้ทำหน้าที่หัวหน้าคณะกรรมการอำนวยการ มี หน้าที่กำกับดูแลการบริหารของคณะกรรมการอำนวยการให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของ วสท. (2) อุปนายก หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่รองหัวหน้า คณะกรรมการอำนวยการ จำนวนไม่เกิน 3 (สาม) คน ทำหน้าที่ ตามที่ได้รับมอบหมายจากนายก และปฏิบัติหน้าที่แทนนายก ตามลำดับ ในกรณีที่นายกฯ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้และอื่นๆ ที่ เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (3) เลขาธิการ หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าสำนักงาน เลขาธิการ ซึ่งมีหน้าที่บริหารกำกับการดำเนินงานประจำของ วสท. ให้เป็นไปตามข้อบังคับ นโยบาย และอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (4) เหรัญ ญิ ก หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้า คณะทำงานตรวจสอบระบบการเงินและการบัญชีภายใน วสท. และ สาขาภาค รวมถึงให้คำปรึกษาแนะนำในการปรับปรุงระบบการเงิน และบัญชี วสท. ตลอดถึงให้ความร่วมมือผู้ตรวจสอบบัญชีและที่ ปรึกษากฎหมาย และอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (5) นายทะเบียน หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่หัวหน้าคณะทำงาน ติดตามการตรวจสอบทะเบียนสมาชิกและนำเสนอคณะกรรมการ อำนวยการ รวมถึงระเบียบเกี่ยวกับสมาชิก วสท. และดำเนินการ ข้อ 16. องค์ประกอบ และหน้าที่ของคณะกรรมการต่างๆ 16.1 ที่ปรึกษา หมายถึง บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจา ที่ปรึกษา กคณะกรรมการ อำนวยการมีหน้าที่ให้คำปรึกษาตามส่วนที่ได้รับการแต่งตั้ง 16.2 คณะกรรมการอำนวยการ มีองค์ประกอบและหน้าที่ดังนี้ 16.2.1 ตำแหน่งหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการ (1) นายกสมาคมฯ หมายถึง กรรมการกลางที่คณะกรรรมการ อำนวยการพิจารณาให้ทำหน้าที่หัวหน้าคณะกรรมการอำนวยการ มี หน้าที่กำกับดูแลการบริหารของคณะกรรมการอำนวยการให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของ วสท. (2) อุปนายก หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่รองหัวหน้า คณะกรรมการอำนวยการ จำนวนไม่เกิน 3 (สาม) คน ทำหน้าที่ ตามที่ได้รับมอบหมายจากนายก และปฏิบัติหน้าที่แทนนายก ตามลำดับในกรณีที่นายกฯไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ และอื่นๆ ที่ เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (3) เลขาธิการ ซึ่งมีหน้าที่บริหารกำกับการ เลขาธิการ หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าสำนักงาน ดำเนินงานประจำของ วสท. ให้เป็นไปตามข้อบังคับ นโยบาย และอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (4) เหรัญญิก หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้า คณะทำงานตรวจสอบระบบการเงินและการบัญชีภายใน วสท. และ สาขาภาค รวมถึงให้คำปรึกษาแนะนำในการปรับปรุงระบบการเงิน และบัญชี วสท. ตลอดถึงให้ความร่วมมือผู้ตรวจสอบบัญชีและที่ ปรึกษากฎหมาย และอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (5) นายทะเบียน หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่หัวหน้า คณะทำงานติดตามการตรวจสอบทะเบียนสมาชิกและนำเสนอ คณะกรรมการอำนวยการ รวมถึงระเบียบเกี่ยวกับสมาชิก วสท. 1. จัดระเบียบโครงสร้างองค์กร ใหม่ เพื่อให้เข้าใจง่าย และ เพิ่มเติมคำนิยาม ความหมาย ของตำแหน่งต่าง ๆ ให้ชัดเจน ดังนี้ - กรรมการกลาง - กรรมการอำนวยการ - กรรมการบริหาร
8/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล จัดหาสมาชิกใหม่ และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (6) ประชาสัมพันธ์หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่หัวหน้า คณะทำงานด้านประชาสัมพันธ์ทั้งภายในสมาชิกด้วยกันและ ภายนอกต่อองค์กรและสาธารณชนต่างๆ รวมถึงงานด้านวารสาร และสื่อประชาสัมพันธ์ วสท. รวมทั้ง เผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูลผลการ และเอกชน และแถลงข่าว ดำเนินการต่อสาธารณะ สร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานทั้งภาครัฐ สาร งานจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ และจัดทำสื่อ อิเล็กทรอนิกส์และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (7) ประธานกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ หมายถึง กรรมการกลางที่ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทำงานด้านสิทธิประโยชน์ และหน้าที่ของ สมาชิกต่อ วสท. รวมถึงส่งเสริมให้สมาชิกประกอบวิชาชีพตาม จรรยาบรรณให้เป็นที่ยอมรับของสังคมทั่วไป และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (8) ประธานกรรมการโครงการและต่างประเทศ หมายถึง กรรมการ กลางที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทำงานด้านโครงการต่าง ๆ ที่ไม่ได้ กำหนดให้อยู่ในความรับผิดชอบของคณ ะกรรมการชุดใด ประสานงานกิจกรรมด้านต่างประเทศให้กับกรรมการอื่นๆ ที่ เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (9) กรรมการกิจกรรมพิเศษ หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่ดำเนิน กิจกรรมพิเศษนอกเหนือจากที่มีกำหนดไว้แล้ว ตามที่นายก สมาคม วสท. มอบหมาย หรือคณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย จำนวนตามความเหมาะสม (10) ประธานวิศวกรอาวุโส หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานส่งเสริมให้ สมาชิกที่มีอายุตั้งแต่ 60 (หกสิบ) ปีขึ้นไปมีกิจกรรมร่วมกับ วสท. จัดให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในวิชาชีพระหว่างสมาชิก และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย และดำเนินการจัดหาสมาชิกใหม่ และอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (6) ประชาสัมพันธ์ หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่หัวหน้า ภายนอกต่อองค์กรและ คณะทำงานด้านประชาสัมพันธ์ทั้งภายในสมาชิกด้วยกันและ สาธารณชนต่างๆ รวมถึงงานด้านวารสาร และสื่อประชาสัมพันธ์ วสท. รวมทั้ง เผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูลผลการ และ ดำเนินการต่อสาธารณะ สร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และแถลงข่าวสาร งานจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ และจัดทำสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ และอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการ มอบหมาย (7) ทำหน้าที่เป็น ประธานกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ หมายถึง กรรมการกลางที่ ประธานคณะกรรมการด้านสิทธิประโยชน์ และหน้าที่ ของสมาชิกต่อ วสท. รวมถึงส่งเสริมให้สมาชิกประกอบวิชาชีพตาม จรรยาบรรณให้เป็นที่ยอมรับของสังคมทั่วไป และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (8) ประธานกรรมการโครงการและต่างประเทศ หมายถึง กรรมการ กลางที่ทำหน้าที่เป็นประธานคณะกรรมการด้านโครงการต่าง ๆ ที่ ไม่ได้กำหนดให้อยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดใด เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยก ประสานงานกิจกรรมด้านต่างประเทศให้กับกรรมการอื่นๆ ที่ ารมอบหมาย (9) กิ กรรมการกิจกรรมพิเศษ หมายถึง กรรมการกลางที่ทำหน้าที่ดำเนิน จกรรมพิเศษนอกเหนือจากที่มีกำหนดไว้แล้ว ตามที่นายก จำนวนตามความเหมาะสม สมาคม วสท. มอบหมาย หรือคณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (10) ประธานวิศวกรอาวุโส หมายถึง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมให้ สมาชิกที่มีอายุ ตั้งแต่ 60 (หกสิบ) ปีขึ้นไปมีกิจกรรมร่วมกับ วสท. จัดให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในวิชาชีพระหว่างสมาชิก และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย
9/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล (11) ประธานวิศวกรหญิง หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานดำเนินกิจกรรม ส่งเสริมความสำคัญของสมาชิกวิศวกรหญิงและแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ซึ่งกัน และกัน และอื่นๆ ที่ เกี่ยวเนื่ องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (12) ประธานยุววิศวกร หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานส่งเสริม ให้สมาชิกที่มีอายุไม่เกิน 35 (สามสิบห้า) ปีรวมถึง นิสิต นักศึกษา ด้านวิศวกรรมให้มีกิจกรรมร่วมกับสมาคมฯ และจัดให้มีกิจกรรม เตรียมความพร้อมเข้าสู่การแข่งขันในวิชาชีพวิศวกรรมระดับสากล และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13) ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรม (13.1) ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานสาขา วิศวกรรมโยธาทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และประสานงาน สาขาที่เกี่ยวข้องและอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (13.2) ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานสาขา วิศวกรรมไฟฟ้าทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขาและประสานงาน สาขาที่เกี่ยวข้องและอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (13.3) ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานสาขา วิศวกรรมเครื่องกลทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และ ประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.4) ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ หมายถึง หัวหน้าคณะทำงาน สาขาวิศวกรรมอุตสาหการทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และ ประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.5) ประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหะการและปิโตรเลียม หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหะการและ (11) ประธานวิศวกรหญิง หมายถึง ประธานคณะกรรมการดำเนิน กิจกรรมส่งเสริมความสำคัญของสมาชิกวิศวกรหญิงและแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ซึ่งกันและกันและอื่นๆ ที่ เกี่ยวเนื่ องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (12) ประธานยุววิศวกร หมายถึง ประธานคณะกรรมการส่งเสริม ให้สมาชิกที่มีอายุไม่เกิน 35 (สามสิบห้า) ปี รวมถึง นิสิต นักศึกษา ด้านวิศวกรรมให้มีกิจกรรมร่วมกับสมาคมฯ และจัดให้มีกิจกรรม เตรียมความพร้อมเข้าสู่การแข่งขันในวิชาชีพวิศวกรรมระดับสากล และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13) ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรม (13.1) ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา หมายถึง ประธานคณะกรรมการสาขา สาขาที่ วิศวกรรมโยธาทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และประสานงาน เกี่ยวข้องและอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (13.2) ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า หมายถึง ประธานคณะกรรมการสาขา วิศวกรรมไฟฟ้าทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขาและประสานงาน สาขาที่เกี่ยวข้องและอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (13.3) ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล หมายถึง ประธานคณะกรรมการ สาขาวิศวกรรมเครื่องกลทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และ ประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.4) ป ระธาน สาขาวิศวกรรม อุต สาห การ ห มายถึง ป ระธาน คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมอุตสาหการทำหน้าที่ในงานวิชาชีพ ของสาขา และประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.5) ประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหะการและปิโตรเลียม หมายถึง ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหะการ
10/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ปิโตรเลียมทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และประสานงานสาขาที่ เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการอำนวยการ มอบหมาย (13.6) ประธานสาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมีหมายถึง หัวหน้า คณะทำงานสาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมีทำหน้าที่ในวิชาชีพ ของสาขา และประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้องและอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.7) ประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หมายถึง หัวหน้าคณะทำงาน สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และ ประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้องและอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.8) ประธานสาขาวิศวกรรมยานยนต์หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานสาขา วิศวกรรมยานยานยนต์ ทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และ ประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.9) ประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง หัวหน้าคณะทำงาน สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขาและ ประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.10) ประธานสาขาวิศวกรรมอื่นๆ หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานสาขา วิศวกรรมอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นภายหลังตามมติของคณะกรรมการ อำนวยการ (14.) ประธาน ประธานคณะกรรมการสาขาภาค คณะกรรมการสาขาภาค หมายถึง หัวหน้าคณะทำงานใน ภาคที่สังกัดที่มาจากการเลือกตั้งของสมาชิกแต่ละภาค ทำหน้าที่ ดำเนินกิจกรรมโดยรวมในแต่ละภาค และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย ประกอบด้วย (14.1) ประธานสาขาภาคเหนือ 1 และปิโตรเลียมทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และประสานงาน สาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (13.6) ประธานสาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมี หมายถึง ประธาน คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมี ทำหน้าที่ในวิชาชีพ ของสาขา และประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้องและอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.7) ป ระธาน สาขาวิศวกรรมสิ่งแวด ล้อม ห มายถึง ป ระธาน คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมทำหน้าที่ในงานวิชาชีพ ของสาขา และประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้องและอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง ตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย (13.8) ประธานสาขาวิศวกรรมยานยนต์ หมายถึง ประธานคณะกรรมการ สาขาวิศวกรรมยานยานยนต์ ทำหน้าที่ในงานวิชาชีพของสาขา และ ประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่น ๆ ที่เนื่องตามที่คณะกรรมการ อำนวยการมอบหมาย (13.9) ประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง ป ระธาน คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ในงานวิชาชีพ ตามที่คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย ของสาขาและประสานงานสาขาที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง (13.10) ประธานสาขาวิศวกรรมอื่นๆ หมายถึง ประธานคณะกรรมการสาขา วิศวกรรมอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นภายหลังตามมติของคณะกรรมการ อำนวยการ (14.) ประธานคณะกรรมการสาขาภาค หมายถึง ประธานคณะกรรมการสาขาภาค ประธานคณะกรรมการ ในภาคที่สังกัดที่มาจากการเลือกตั้งของสมาชิกแต่ละภาค ทำหน้าที่ ดำเนินกิจกรรมโดยรวมในแต่ละภาค และอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย ประกอบด้วย (14.1) ประธานสาขาภาคเหนือ 1 (มี8 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ 1. ให้ระบุจังหวัดในแต่ละภาค
11/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล (14.2) ประธานสาขาภาคเหนือ 2 (14.3) ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 (14.4) ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 (14.5) ประธานสาขาภาคตะวันออก 1 (14.6) ประธานสาขาภาคตะวันออก 2 (14.7) ประธานสาขาภาคใต้ 1 (14.8) ประธานสาขาภาคใต้ 2 (14.9) ประธานสาขาภาคตะวันตก (14.10) ประธานสาขาภาคอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นภายหลังตามมติของ คณะกรรมการอำนวยการ 16.2.2 คณะกรรมการอำนวยการที่มาจากการแต่งตั้งโดยนายก วสท. หมายถึง ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายก วสท. ให้ดำรงตำแหน่ง กรรมการกลางจำนวนไม่เกิน 2 (สอง) คน ทำหน้าที่ตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย 16.2.3 ตำแหน่งคณะกรรมการอำนวยการตามข้อ 16.2.1 (1) ถึงข้อ 16.2.1 (9) มาจากการพิจารณามอบหมายหน้าที่ให้กรรมการกลางตามข้อ 17.7 16.3 คณะกรรมการบริหาร 16.3.1 คณะกรรมการบริหาร หมายถึง คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง จากคณ ะกรรมการอำนวยการเพื่อบริหารงานของ วสท. ประกอบด้วย นายก เลขาธิการ เหรัญญิก และกรรมการอำนวยการ อื่น ๆ ไม่เกินจำนวน 3 (สาม) คน 16.3.2 กำหนดให้คณะกรรมการบริหารจัดประชุมไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง 16.4 คณะกรรมการอำนวยการอาจพิจารณาแต่งตั้งสมาชิกเป็นกรรมการ หรืออนุกรรมการหรือคณะทำงานนอกเหนือจากตำแหน่งที่มาจาก การเลือกตั้งได้ตามที่เห็นสมควร พะเยา น่าน แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง และลำพูน) (14.2) ประธานสาขาภาคเหนือ 2 (มี 8 จังหวัด ได้แก่ กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์และ อุทัยธานี) (14.3) ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 (มี 12 จังหวัด ได้แก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู และอุดรธานี) (14.4) ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 (มี 8 จังหวัด ได้แก่ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ และ อุบลราชธานี) (14.5) ประธานสาขาภาคตะวันออก (มี7 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทรบุรี ชลบุรี ตราด และระยอง) (14.6) ประธานสาขาภาคกลาง (มี 15 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สุพรรณ บุรี ปทุมธานี นนทบุรี ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สระบุรี พระนครศรีอยุธยา สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครนายก และนครปฐม) (14.7) ประธานสาขาภาคใต้ 1 (มี 7 จังหวัด ได้แก่ กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง และสุราษฎร์ธานี) (14.8) ประธานสาขาภาคใต้ 2 (มี 7 จังหวัด ได้แก่ ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา และสตูล (14.9) ประธานสาขาภาคตะวันตก (มี 5 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ตาก ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และราชบุรี) (14.10) ประธานสาขาภาคอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นภายหลังตามมติของ คณะกรรมการอำนวยการ 16.2.2 คณะกรรมการอำนวยการที่มาจากการแต่งตั้งโดยนายก วสท. กรรมการกลางจำนวนไม่เกิน หมายถึง ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายก วสท. ให้ดำรงตำแหน่ง 2 (สอง) คน ทำหน้าที่ตามที่ คณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย 2. ตะวันออก ให้รวมประธานสาขาภาค 1 และ 2 เป็น เพ ประธานสาขาภาคตะวันออก ราะจำนวนจังหวัดน้อย และให้เพิ่มประธานสาขาภาค กลาง 3. เพิ่ ม เติ ม ค ำ นิ ย า ม ข อ ง กรรมการ 4. คณะทำ ความชัดเจนจากหัวหน้า ปรับปรุงแก้ไขตำแหน่งให้มี งานเป็น “ประธาน คณะกรรมการ”
12/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล กรรมการหรืออนุกรรมการหรือคณะทำงานทั้งจากการเลือกตั้งและ แต่งตั้งแต่ละคนสามารถกำหนดให้ทำหน้าที่ได้มากกว่า 1 (หนึ่ง) ตำแหน่ง และให้รายงานผลการดำเนินการต่อคณะกรรมการ การกำหนดจำนวนกรรมการ ห อำนวยการในที่ประชุมของคณะกรรมการอำนวยการ รืออนุกรรมการ หรือผู้ทำงานในแต่ ละชุด หรือในแต่ละคณะ ให้คณะกรรมการอำนวยการพิจารณาให้ ความเห็นชอบตามความเหมาะสมและจำเป็นของแต่ละชุดหรือแต่ ละคณะ ไม่น้อยกว่า 10 (สิบ) คน แต่ไม่เกิน 15 (สิบห้า) อนุกรรมการ หรือประธาน คน โดยประธานสาขา หรือประธานกรรมการ หรือประธาน คณะทำงาน แล้วแต่กรณี นำรายชื่อพร้อม ระบุตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง เช่น รองประธาน เลขานุการ เสนอต่อ คณะกรรมการอำนวยการให้ความเห็นชอบ เพื่อให้นายกลงนาม แต่งตั้งต่อไป 16.2.3 ตำแหน่งคณะกรรมการอำนวยการตามข้อ 16.2.1 (1) ถึงข้อ 16.2.1 (9) มาจากการพิจารณามอบหมายหน้าที่ให้กรรมการกลางตามข้อ 17.7 16.3 คณะกรรมการบริหาร 16.3.1 จากคณ ะกร คณะกรรมการบริหาร หมายถึง คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง รมการอำน วยการเพื่อบริหารงานของ วสท. อื่น ๆ ไม่เกินจำนวน ประกอบด้วย นายก เลขาธิการ เหรัญญิก และกรรมการอำนวยการ 3 (สาม) คน 16.3.2 กำหนดให้คณะกรรมการบริหารจัดประชุมไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง 16.4 หรืออนุ คณะกรรมการอำนวยการอาจพิจารณาแต่งตั้งสมาชิกเป็นกรรมการ กรรมการหรือคณะทำงานนอกเหนือจากตำแหน่งที่มาจาก แต่งตั้ กรรมการหรืออนุกรรมการหรือคณะทำงานทั้งจากการเลือกตั้งและ การเลือกตั้งได้ตามที่เห็นสมควร งแต่ละคนสามารถกำหนดให้ทำหน้าที่ได้มากกว่า 1 (หนึ่ง) อำนวยการในที่ประ ตำแหน่ง และให้รายงานผลการดำเนินการต่อคณะกรรมการ ชุมของคณะกรรมการอำนวยการ ความเห็ ละชุด หรือในแต่ละคณะ ให้คณะกรรมการอำนวยการพิจารณาให้ การกำหนดจำนวนกรรมการ หรืออนุกรรมการ หรือผู้ทำงานในแต่ นชอบตามความเหมาะสมและจำเป็นของแต่ละชุดหรือแต่ ละคณะ ไม่น้อยกว่า 10 (สิบ) คน แต่ไม่เกิน 15 (สิบห้า) คน โดย ประธานสาขา หรือประธานกรรมการ หรือประธานอนุกรรมการ ที่จะแต่งตั้ง เช่น รองประธาน เลขานุการ เสนอต่ หรือประธานคณะทำงาน แล้วแต่กรณี นำรายชื่อพร้อมระบุตำแหน่ง อคณะกรรมการ อำนวยการให้ความเห็นชอบ เพื่อให้นายกลงนามแต่งตั้งต่อไป
13/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ข้อ 17 การเลือกตั้งกรรมการอำนวยการ17.1 เลือกตั้งไม่น้อยกว่า คณะกรรมการอำนวยการต้องพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการ7 คน ภายในเดือนมีนาคมของปีสุดท้ายของ วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการ อำน วย ก ารนั้ น โด ย คณะกรรมการเลือกตั้งจะต้องประกอบด้วยคณะกรรมการ อำน วยการและวุฒิ สมาชิกที่ มิได้รับ สมัครเลือกตั้ง ทั้ งนี้ คณะกรรมการเลือกตั้งต้องจัดการเลือกตั้งให้เสร็จสิ้น และประกาศ ผลการเลือกตั้งให้สมาชิกทราบภายในเดือน สิงหาคมของปีที่มีการ เลือกตั้ง 17.2 สมาชิกผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ได้แก่ สมาชิกตามที่ระบุในข้อ 8.2 และข้อ 9 และไม่ต้องห้ามตามข้อ 12 โดยสมาชิกผู้มีสิทธิ์สมัคร เลือกตั้งเป็นประธานวิศวกรอาวุโสต้องมีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปในปีที่ มีการเลือกตั้ง สำหรับประธานวิศวกรหญิงจะต้องเป็นวิศวกรเพศ หญิงเท่านั้น และประธานยุววิศวกรอาจเป็นสมาชิกตามข้อ 8.2, 8.3 และข้อ 8.4 ก็ได้ แต่ต้องมีอายุไม่เกิน 35 ปีในปีที่มีการเลือกตั้ง 17.3 สมาชิกผู้มีสิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง ได้แก่ สมาชิกตามที่ระบุในข้อ 8.2 ข้อ 8.3 ข้อ 8.4 และข้อ 9 และไม่ต้องห้ามตามข้อ 12 17.4 ให้สมาชิกผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งยื่นใบสมัครต่อคณะกรรมการ เลือกตั้ง ณ สำนักเลขาธิการที่ วสท. โดยมีสมาชิก ที่มีสิทธิ ลงคะแนนเลือกตั้งเป็นผู้รับรองไม่น้อยกว่า 10 (สิบ) คน ภายใน เดือนพฤษภาคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง 17.5 การเลือกตั้งสามารถดำเนินการได้โดยวิธีเลือกตั้งทางระบบ เลือกตั้ง อิเล็กทรอนิกส์โดยให้คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดวิธีการโดยจัดทำเป็นประกาศ แล้วเสนอให้คณะกรรมการ อำนวยการพิจารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อคณะกรรมการอำนวยการพิจารณาให้ความเห็นชอบและอนุมัติ ประกาศกำหนดวิธีการเลือกตั้งตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้คณะกรรมการ เลือกตั้งพิจารณาจัดทำประกาศกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
14/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล เงื่อนไขในการเลือกตั้ง นำเสนอคณะกรรมการอำนวยการอนุมัติ สิทธิลงคะ ภายในเดือนพฤษภาคมของปีที่มีการเลือกตั้ง แล้วแจ้งให้สมาชิกผู้มี แนนเลือกตั้งทราบโดยทั่วถึงกันภายใน 15 (สิบห้า) วัน นับแต่วันที่คณะกรรมการอำนวยการอนุมัติ คณะกรรมการเลือกตั้งต้องจัดทำรายละเอียดวิธีการเลือกตั้ง พร้อม ทั้งรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับผู้สมัครรับเลือกตั้งให้แก่สมาชิกผู้มี สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งภายในเดือนมิถุนายนของปีที่มีการเลือกตั้ง เพื่อสมาชิกดังกล่าวจะได้ใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง ผู้รับสมัครรับเลือกตั้งตามวรรคสาม ประกอบด้วย17.5.1 กรรมการกลางจำนวนไม่เกินตามที่คณะกรรมการอำนวยการ กำหนดในปีที่มีการเลือกตั้งตามที่ระบุในข้อ 17.6 17.5.2 ประธานสาขาวิศวกรรม แต่ละสาขาวิศวกรรมที่สมาชิกสังกัดจำนวน 1 (หนึ่ง) คน ตามข้อ 16.2.1 (13) 17.5.3 ประธานสาขาภาค ในภาคที่สมาชิกสังกัดจำนวน 1 (หนึ่ง) คนตาม ข้อ 16.2.1 (14) 17.5.4 ประธานวิศวกรอาวุโส จำนวน 1 (หนึ่ง) คน ตามข้อ 16.2.1 (10) ซึ่ง ต้องมีอายุ 60 (หกสิบ) ปี ขึ้นไปในปีที่มีการเลือกตั้ง 17.5.5 ประธานวิศวกรหญิง จำนวน 1 (หนึ่ง) คน ตามข้อ 16.2.1 (11) ซึ่ง ต้องเป็นเพศหญิง 17.5.6 ประธานยุววิศวกร จำนวน 1 (หนึ่ง) คน ตามข้อ 16.2.1 (12) ซึ่งต้อง มีอายุไม่เกิน 35 (สามสิบห้า) ปี ในปีที่มีการเลือกตั้ง ให้สมาชิกผู้มี สิทธิลงคะแนน ลงคะแนนทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ภายในเดือน กรกฎาคมของปีที่มีการเลือกตั้ง 17.6 ให้คณะกรรมการอำนวยการโดยนายกสมาคม วสท. ออกประกาศว่า ด้วยการเลือกตั้งคณะกรรมการอำนวยการ ซึ่งอย่างน้อยต้องระบุ จำนวนกรรมการกลาง ประธานวิศวกรอาวุโส ประธานวิศวกรหญิง ประธานยุววิศวกร ประธานสาขาวิศวกรรมต่างๆ ประธานสาขาภาค
15/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ต่างๆ ที่สอดคล้องกับข้อ 16.2.1 กรรมการนับคะแนน ลักษณะบัตร เลือกตั้ง ระยะเวลาในการรับสมัครพร้อมกติกาการเลือกตั้ง ในปีที่มี การเลือกตั้ง โดยให้ประกาศล่วงหน้าก่อนการส่งบัตรลงคะแนน เลือกตั้งให้สมาชิกทุกประเภททราบไม่น้อยกว่า 60 (หกสิบ) วัน 17.7 คณะกรรมการอำนวยการที่ได้รับ ผู้จัดการสำนักงานเลขาธิการจะต้องทำหน้าที่จัดการประชุม การเลือกตั้งภายใน 15 (สิบห้า) วัน นับจากวันที่ประกาศผลการเลือกตั้งเพื่อเลือกตั้งนายก วสท. โดยกำหนดให้ผู้ที่มีวัยวุฒิสูงสุดเป็นประธานชั่วคราวในการ ดำเนินการสรรหานายก วสท.จากนั้นให้นายก วสท. ดำเนินการ กรรมการ ประชุมเพื่อกำหนดการทำหน้าที่ตามตำแหน่งต่าง ๆ ของ กลาง ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนการรับมอบงาน จากคณะกรรมการอำนวยการชุดที่พ้นวาระ 17.8 นายก วสท. และคณะกรรมการอำนวยการตามข้อ 17.7 ต้องจัด ประชุมคณะกรรมการอำนวยการภายใน 15 (สิบห้า) วัน นับจาก วันที่รับมอบงานจากคณะกรรมการอำนวยการที่พ้น วาระ 17.9 หากมีเหตุสุดวิสัย หรือฉุกเฉินใดๆ อันเป็นผลกระทบจากภายนอก ทำให้มีผลกระทบต่อการ ดำเนินการกำหนดเวลาที่ระบุตามข้อ 17.1 ถึงข้อ 17.6 ให้คณ ะกรรมการอำนวยการพิจารณ า ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมได้โดยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของ กรรมการอำนวยการที่มา ประชุม แต่ไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ คณะกรรมการอำนวยการแล้วประกาศให้ผู้เกี่ยวข้องทราบทั่วกัน โดยเร็ว ข้อ 18 วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการ 18.1 คณะกรรมการบริหาร วาระก ารด ำรงต ำแ ห น่ งข อ งค ณ ะก รรม ก ารอ ำน วย ก าร คณะกรรมการสาขาวิศวกรรม คณะกรรมการ สาขาภาค มีกำหนด 3 (สาม) ปีโดยนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถัด จากปีที่มีการเลือกตั้ง และจะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินกว่า 2 (สอง) วาระมิได้ ข้อ 18 วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการ 18.1 คณะกรรมการบริหาร วาระก ารด ำรงต ำแ ห น่ งข อ งค ณ ะก รรม ก ารอ ำน วย ก าร คณะกรรมการสาขาวิศวกรรม คณะกรรมการ สาขาภาค มีกำหนด 3 (สาม) ปีโดยนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถัด จากปีที่มีการเลือกตั้ง และจะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินกว่า 2 (สอง) วาระมิได้ 1. ให้ตัดข้อ 18.2 ออกเนื่องจาก ความ กรรมการอำนวยการ เพื่อ เป็นการจำกัดสิทธิของ เป็นธรรม รวมทั้งการ อาสา เข้ามาทำงานเป็นลักษณะจิต
16/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล 18.2 สิทธิของกรรมการอำนวยการในการสมัครเข้ารับการเลือกตั้งในวาระ ถัดไป 18.2.1 กรรมการอำนวยการที่ไม่เข้าร่วมประชุมกรรมการรวมกัน 6 ครั้งขึ้น ไปในหนึ่งปีไม่มีสิทธิสมัครเข้ารับ การเลือกตั้งในวาระถัดไปหนึ่งวาระ ทั้งนี้ไม่นับรวมถึงวาระที่ต้องว่างเว้นตามข้อบังคับที่ 18.1 18.2.2 กรรมการอำนวยการที่ไม่เข้าร่วมประชุมกรรมการรวมกัน 12 ครั้ง ขึ้นไปใน 2 ปี ไม่มีสิทธิสมัครเข้ารับการเลือกตั้งในวาระถัดไปสอง วาระติดต่อกันทั้งนี้ไม่นับรวมถึงวาระที่ต้องว่างเว้นตามข้อบังคับที่ 18.1 18.2.3 กรรมการอำนวยการที่ไม่เข้าร่วมประชุมกรรมการรวมกัน 18 ครั้ง ขึ้นไปใน 3 ปี หรือหนึ่งวาระ ไม่มีสิทธิสมัครเข้ารับการเลือกตั้ง ตลอดไป ข้อ 19 การพ้นจากตำแหน่ง 19.1 ตาย 19.2 ลาออก 19.3 พ้นจากสมาชิกภาพ ตามที่ระบุในข้อ 12 19.4 ให้ออก คณะกรรมการอำนวยการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนและ มีมติ กรณีบกพร่องต่อหน้าที่หรือทำผิดข้อบังคับหรือทำให้องค์กร เสียหายและผิดจรรยาบรรณ วสท. อย่างร้ายแรงคณะกรรมการมีมติ ให้ออกจากตำแหน่งกรรมการอำนวยการ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย กว่า 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ของจำนวนกรรมการอำนวยการที่มาประชุม แต่จำนวนกรรมการที่มาประชุมต้องไม่น้อยกว่า ครึ่งหนึ่งของ กรรมการอำนวยการทั้งหมดในขณะนั้น 19.5 ขาดการประชุมคณะกรรมการอำนวยการตั้งแต่ 6 ครั้งขึ้นไปในรอบ ปี 19.6 กรณีกรรมการอำนวยการพ้นตำแหน่งก่อนวาระให้ผู้ที่ได้รับคะแนน ลำดับรองลงไปในการเลือกตั้งครั้งนั้นเป็นกรรมการอำนวยการแทน ยกเว้นประธานกรรมการสาขาวิศวกรรม ประธานสาขาภาค ข้อ 19 การพ้นจากตำแหน่ง 19.1 ตาย 19.2 ลาออก 19.3 พ้นจากสมาชิกภาพ ตามที่ระบุในข้อ 12 19.4 กรรมการอำนวยการทั้งหมดในขณะนั้น แต่จำนวนกรรมการที่มาประชุมต้องไม่น้อยกว่า ครึ่งหนึ่งของ กว่า 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ของจำนวนกรรมการอำนวยการที่มาประชุม ให้ออกจากตำแหน่งกรรมการอำนวยการ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย เสียหายและผิดจรรยาบรรณ วสท. อย่างร้ายแรงคณะกรรมการมีมติ ให้ออกกรณีบกพร่องต่อหน้าที่หรือทำผิดข้อบังคับหรือทำให้องค์กร คณะกรรมการอำนวยการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนและ มีมติ 19.5 ปี ขาดการประชุมคณะกรรมการอำนวยการตั้งแต่ 6 ครั้งขึ้นไปในรอบ 19.5 ยกเว้นประธานกรรมการสาขาวิศวกรรม ประธานสาขาภาค ลำดับรองลงไปในการเลือกตั้งครั้งนั้นเป็นกรรมการอำนวยการแทน กรณีกรรมการอำนวยการพ้นตำแหน่งก่อนวาระให้ผู้ที่ได้รับคะแนน ให้ตัดข้อ 19.5 ออก เนื่องจาก ลักษณะจิตอาสา รวมทั้งการเข้ามาทำงานเป็น อำนวยการ เพื่อความเป็นธรรม เป็นการจำกัดสิทธิของกรรมการ
17/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ประธานวิศวกรอาวุโส ประธานวิศวกรหญิง และประธานยุววิศวกรที่ ออกก่อนวาระ หากไม่มีผู้ที่ได้รับคะแนนลำดับรองลงไปให้ คณะกรรมการอำนวยการ แต่งตั้งสมาชิกตามที่ระบุในข้อ 17.2 ใน ตามที่ระบุในข้อ สาขาวิศวกรรมเดียวกันหรือสาขาภาคเดียวกัน รวมถึงแต่งตั้งสมาชิก 17.2 และมีคุณสมบัติตามที่ระบุในข้อ 17.5.4 หรือ ข้อ 17.5.5 หรือข้อ 17.5.6 เป็นแทนตามลำดับและมีวาระการดำรง ตำแหน่งตามวาระที่เหลืออยู่ของผู้ที่ตนแทน และให้ถือเสมือนว่าได้ เป็นกรรมการอำนวยการมาแล้ว 1 (หนึ่ง) วาระด้วย 19.7 กรรมการและอนุกรรมการพ้นตำแหน่งเมื่อ 19.7.1 ตาย 19.7.2 ลาออก 19.7.3 พ้นจากสมาชิกภาพของ วสท. ตามที่ระบุในข้อ 12 19.7.4 คณะกรรมการอำนวยการมีมติให้ลาออก 19.8 กรณีกรรมการสาขาวิศวกรรมหรืออนุกรรมการสาขาวิศวกรรม พ้น จากตำแหน่งก่อนวาระ ให้ประธานสาขาวิศวกรรมเสนอแต่งตั้ง สมาชิกในสาขาวิศวกรรมเดียวกันเป็นแทน และมีวาระตามวาระที่ เหลืออยู่ของกรรมการหรืออนุกรรมการสาขาวิศวกรรมที่ตนแทน และให้ถือเสมือนว่าได้เป็นกรรมการหรืออนุกรรมการสาขาวิศวกรรม มาแล้ว 1 (หนึ่ง) วาระด้วย 19.9 แต่งตั้ง กรณีกรรมการภาคพ้นตำแหน่งก่อนวาระ ให้ประธานสาขาภาคเสนอ สมาชิกในภาคเดียวกันเป็นแทนและมีวาระตามวาระที่ เหลืออยู่ของกรรมการภาคที่ตนแทนและให้ถือเสมือนว่าได้เป็น กรรมการภาคมาแล้ว 1 (หนึ่ง) วาระด้วย 19.10 กรณีกรรมการหรืออนุกรรมการอื่น ๆ พ้นตำแหน่งก่อนวาระ ให้ ประธานกรรมการหรือประธานอนุกรรมการ หรือหัวหน้าหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องแต่งตั้งสมาชิกที่เหมาะสมเป็นแทน และมีวาระการดำรง ตำแหน่งตามวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ หรืออนุกรรมการที่ตน แทน และให้ถือเสมือนว่าได้เป็นกรรมการ หรืออนุกรรมการมาแล้ว ข้อ 17.5.5 หรือข้อ 17.5.6 เป็นแทนตามลำดับและมีวาระการดำ ตามที่ระบุในข้อ 17.2 และมีคุณสมบัติตามที่ระบุในข้อ 17.5.4 หรือ สาขาวิศวกรรมเดียวกันหรือสาขาภาคเดียวกัน รวมถึงแต่งตั้งสมาชิก คณะกรรมการอำนวยการ แต่งตั้งสมาชิกตามที่ระบุในข้อ 17.2 ใน ออกก่อนวาระ หากไม่มีผู้ที่ได้รับคะแนนลำดับรองลงไปให้ ประธานวิศวกรอาวุโส ประธานวิศวกรหญิง และประธานยุววิศวกรที่ รง เป็นกรรมการอำนวยการมาแล้ว 1 (หนึ่ง) วาระด้วย ตำแหน่งตามวาระที่เหลืออยู่ของผู้ที่ตนแทน และให้ถือเสมือนว่าได้ 19.6 กรรมการและอนุกรรมการพ้นตำแหน่งเมื่อ 19.6.1 ตาย 19.6.2 ลาออก 19.6.3 พ้นจากสมาชิกภาพของ วสท. ตามที่ระบุในข้อ 12 19.6.4 คณะกรรมการอำนวยการมีมติให้ลาออก 19.7 มาแล้ว 1 (หนึ่ง) วาระด้วย และให้ถือเสมือนว่าได้เป็นกรรมการหรืออนุกรรมการสาขาวิศวกรรม เหลืออยู่ของกรรมการหรืออนุกรรมการสาขาวิศวกรรมที่ตนแทน สมาชิกในสาขาวิศวกรรมเดียวกันเป็นแทน และมีวาระตามวาระที่ จากตำแหน่งก่อนวาระ ให้ประธานสาขาวิศวกรรมเสนอแต่งตั้ง กรณีกรรมการสาขาวิศวกรรมหรืออนุกรรมการสาขาวิศวกรรม พ้น 19.8 กรรมการภาคมาแล้ว 1 (หนึ่ง) วาระด้วย เหลืออยู่ของกรรมการภาคที่ตนแทนและให้ถือเสมือนว่าได้เป็น แต่งตั้งสมาชิกในภาคเดียวกันเป็นแทนและมีวาระตามวาระที่ กรณีกรรมการภาคพ้นตำแหน่งก่อนวาระ ให้ประธานสาขาภาคเสนอ 19.9 แทน และให้ถือเสมือนว่าได้เป็นกรรมการ หรืออนุกรรมการมาแล้ว ตำแหน่งตามวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ หรืออนุกรรมการที่ตน ที่เกี่ยวข้องแต่งตั้งสมาชิกที่เหมาะสมเป็นแทน และมีวาระการดำรง ประธานกรรมการหรือประธานอนุกรรมการ หรือหัวหน้าหน่วยงาน กรณีกรรมการหรืออนุกรรมการอื่น ๆ พ้นตำแหน่งก่อนวาระ ให้
18/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล 1 (หนึ่ง) วาระด้วย 1 (หนึ่ง) วาระด้วย ข้อ 20 คณะกร อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการ รมการอำนวยการมีหน้าที่บริหารสมาคมฯ ให้เป็นไปตาม ข้อบังคับ วสท. ฉบับนี้และระเบียบปฏิบัติที่กำหนดขึ้นทั้งหมด 20.1 มีอำนาจออกระเบียบ คำสั่ง ประกาศ เพื่อปฏิบัติภายในเท่าที่ไม่ขัด หรือแย้งกับข้อบังคับนี้ได้ตามที่เห็นสมควร 20.2 เป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอำนาจในการวินิจฉัยชี้ขาด กรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับนี้ 20.3 คณะกรรมการอำนวยการมีหน้าที่ จัดทำ ปรับปรุง จรรยาบรรณ วิศวกรวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย สำหรับสมาชิกและ คณะกรรมการชุดต่างๆ ของสมาคม ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปพร้อมประกาศให้สมาชิกและ ผู้เกี่ยวข้องทราบโดยทั่วกัน 20.4 กรรมการอำนวยการ และกรรมการอื่น ๆ ที่ วสท. แต่งตั้งขึ้นมีหน้าที่ ต้องปฏิบัติตาม “จรรยาบรรณวิศวกร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์” 20.5 การจัดตั้งสาขาวิศวกรรมต่าง ๆ และสาขาภาค 20.5.1 คณะกรรมการอำนวยการพิจารณาจัดตั้งสาขาวิศวกรรมต่าง ๆ ให้ สอดคล้องกับความก้าวหน้าของสาขาวิศวกรรม ซึ่งมีประธานสาขา วิศวกรรมแต่ละสาขาที่จัดตั้งขึ้นนั้นมาจากการเลือกตั้ง เว้นแต่สาขา วิศวกรรมใดที่มีจำนวนสมาชิกน้อยกว่า 100 (หนึ่งร้อย) คน จึงให้ ประธานสาขาวิศวกรรมนั้นมาจากการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ อำนวยการ สมาชิกแต่ละคนสามารถเลือกประธานกรรมการสาขา วิศวกรรมและเทคโนโลยีได้เพียง 1 (หนึ่ง) สาขา เมื่อจัดตั้งสาขา วิศวกรรมแล้วในขั้นแรกให้ วสท. จัดสมาชิกเข้าเป็นสมาชิกสาขา วิศวกรรมตามที่ได้แจ้งความจำนงไว้ในใบสมัคร 20.5.2 เหมาะสม คณะกรรมการอำนวยการพิจารณาจัดตั้งสาขาภาคขึ้นตามความ พร้อมกำหนดจังหวัดในสาขาภาคซึ่งมีประธานสาขาภาค
19/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล แต่ละภาคมาจากการเลือกตั้งโดยมีสมาชิกของแต่ละภาค สมาชิกใน แต่ละภาคสามารถเลือกประธานภาคได้เพียงภาคเดียว 20.5.3 คณะกรรมการสาขาวิศวกรรม สาขาภาค รวมถึงคณะกรรมการชุด ต่าง ๆ ที่พ้นวาระต้องประชุมมอบหมายกิจการที่ยังค้างดำเนินการ อยู่ให้คณะกรรมการชุดใหม่ ทั้งนี้ให้ดำเนินการมอบหมายให้แล้ว เสร็จภายใน 15 (สิบห้า) วัน นับจากวันที่ประกาศผลเลือกตั้ง กรรมการอำนวยการชุดใหม่ 20.6 คณะกรรมการอำนวยการที่ต้องพ้นวาระต้องดำเนินการมอบหมาย กิจกรรมต่าง ๆ ของ วสท. ให้คณะกรรมการอำนวยการชุดใหม่ดังนี้ 20.6.1 การบัญชี การเงิน และทรัพย์สิน วสท. 20.6.2 ทะเบียนสมาชิก วสท. 20.6.3 งานที่ยังค้างดำเนินการอยู่ ทั้งนี้ให้ดำเนินการมอบหมายให้แล้วเสร็จภายใน 15 (สิบห้า) วัน นับ จากวันที่ประกาศผลเลือกตั้งกรรมการอำนวยการชุดใหม่ ข้อ 21 การประชุมแบ่งตามประเภทดังนี้21.1 การประชุมกรรมการสมาคม มีดังนี้21.1.1 นายกเป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการเพื่อปรึกษากิจการตามที่ เห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อยกว่าปีละ 12 (สิบสอง) ครั้ง และต้อง ประชุมไม่น้อยกว่า 1 (หนึ่ง) ครั้ง ใน 2 (สอง) เดือน กรรมการ อำนวยการจำนวนตั้งแต่ 5 (ห้า) คนขึ้นไปจะเข้าชื่อกันให้นายก เรียกประชุมคณะกรรมการอำนวยการได้ 21.1.2 ประธานกรรมการสาขาวิศวกรรมเป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการ สาขาวิศวกรรม เพื่อปรึกษากิจการตามที่เห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อย กว่าปีละ 6 (หก) ครั้ง และจัดทำสรุปการประชุมและผลการ ดำเนินงานนำเสนอต่อคณะกรรมการอำนวยการทุกไตรมาส 21.1.3 การประชุมคณะกรรมการสาขาภาค ประธานเป็นผู้เรียกประชุม กว่าปีละ คณะกรรมการ เพื่อปรึกษากิจการตามที่เห็นสมควร แต่ต้องไม่น้อย6 (หก) ครั้ง และจัดทำสรุปการประชุมและผลการ
20/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ดำเนินงานนำเสนอต่อคณะกรรมการอำนวยการทุกไตรมาส 21.1.4 คณะกรร ให้คณะกรรมการวิศวกรอาวุโส คณะกรรมการวิศวกรหญิง และ มการยุววิศวกร และจัดทำสรุปการประชุมและผลการ ดำเนินงานนำเสนอต่อคณะกรรมการอำนวยการทุกไตรมาส 21.1.5 การประชุมของคณะกรรมการอำนวยการ ต้องมีกรรมการอำนวยการ มาประชุมไม่น้อยกว่า 1 (หนึ่ง) ใน 3 (สาม) จึงเป็นองค์ประชุม นายกเป็นประธานที่ประชุม ถ้าในการประชุมคราวใดนายกไม่ สามารถเข้าร่วมประชุมได้ให้อุปนายกคนใดคนหนึ่งเป็นประธาน แทน ถ้านายกและอุปนายกไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ให้ที่ประชุม นายก เรียกประชุม ในการประชุมครั้งใดที่คณะกรรมการอำนวยการไม่ครบองค์ประชุม ให้ เลือกกรรมการอำนวยการคนใดคนหนึ่งขึ้นเป็นประธาน ใหม่ ภายใน 14 (สิบสี่) วัน ในการประชุมครั้ง ใหม่นี้ให้ถือว่ากรรมการอำนวยการตั้งแต่ 5 (ห้า) คนขึ้นไปเป็น ในกรณี องค์ประชุม ที่มีกรรมการอำนวยการพ้นตำแหน่งก่อนวาระและยังไม่ได้ แต่งตั้งใหม่ให้องค์ประชุมกรรมการอำนวยการ ประกอบด้วย กรรมการอำนวยการ ไม่น้อยกว่า 1 (หนึ่ง) ใน 3 (สาม) ของจำนวน กรรมการอำนวยการ ที่ยังคงอยู่ในตำแหน่งมติของที่ประชุม คณะกรรมการอำนวยการ ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด ในการประชุมของคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสาขาวิชา การ คณะกรรมการสาขาภาค คณะกรรมการอื่น ๆ หากมิได้ กำหนดหลักเกณฑ์ในการประชุมไว้เป็นการเฉพาะ ให้ถือว่าใช้ หลักเกณฑ์ในการประชุมของคณะกรรมการอำนวยการโดยอนุโลม 21.1.6 ประกอบไปด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า มติของที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการดังต่อไปนี้ จะต้อง 2 (สอง) ใน 3 (สาม) ของ
21/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล คณะกรรมการอำนวยการที่อยู่ในที่ประชุมขณะลงมติ ก. มติให้สมาชิกออก ตามที่ระบุในข้อ 12.2 ข. มติให้สมาชิกออก ตามที่ระบุในข้อ 12.5 ค. มติให้รับผู้ขอสมัครเป็นสมาชิกใหม่ ตามที่ระบุในข้อ 10.3 21.1.7 การ การประชุมของคณะกรรมการอำนวยการสามารถประชุมด้วยระบบ ประชุมทางไกลที่คณะกรรมการอำนวยการกำหนดก็ได้และให้ นับเป็นองค์ประชุมและลงคะแนนเสียงได้ ทั้งนี้ ตามเงื่อนไข( ดังต่อไปนี้1) ต้องมีกรรมการอำนวยการเข้าร่วมประชุม ณ สถานที่ประชุมไม่ น้อยกว่า 1 (หนึ่ง) ใน 4 (สี่) ของจำนวนกรรมการอำนวยการทั้งหมด จึงจะสามารถเปิดประชุมได้(2) กรรมการที่สามารถใช้สิทธิ์การประชุมระบบทางไกลได้ต้องเป็นผู้ ดำรงตำแหน่งประธานสาขาภาค โดยใช้สิทธิ์ได้ไม่เกิน 8 (แปด) ครั้ง ต่อปีและต้องได้รับอนุญาตจากนายกก่อนวันประชุม(3) ให้นับกรรมการผู้เข้าร่วมประชุมผ่านระบบทางไกลเป็นองค์(4 ประชุม) กรณีมีการลงมติในที่ประชุม ให้นับคะแนนเสียงของกรรมการ ผู้เข้าร่วมประชุมผ่านระบบทางไกล 21.2 ให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ปีละ การประชุมใหญ่สามัญ 1 (หนึ่ง) ครั้ง โดยให้ เลขาธิการนัดหมาย พร้อมส่งเอกสารการประชุมให้สมาชิกพิจารณา ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 (สิบห้า) วัน องค์ประชุมต้อง ประกอบด้วย สมาชิก หรือสมาชิกที่ได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร รวม จำนวนไม่น้อยกว่า 100 (หนึ่งร้อย) คน โดยอย่างน้อยต้องมีระเบียบ วาระการประชุมดังนี้ 21.2.1 รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปีในปีที่ผ่านมา21.2.2 แถลงผลงานในรอบปี21.2.3 รับรองงบดุล ซึ่งผู้ตรวจสอบบัญชีของสมาคมรับรองงบดุล
22/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล 21.2.4 แต่งตั้งผู้ตรวจสอบบัญชี21.2.5 ทั้งนี้วาระการประชุมตามข้อ นำเสนอนโยบายและแผนการดำเนินงาน21.2.1 ถึง 21.2.4 กระทำได้ในที่ ประชุมใหญ่สามัญเท่านั้น ในการประชุมใหญ่สามัญดังกล่าวถ้าพ้นเวลานัดหมายไป 30 นาที แล้วยังไม่ครบองค์ประชุมให้นายก วสท. เชิญประชุมใหญ่อีกครั้ง หนึ่งภายใน 14 (สิบสี่) วัน ในครั้งที่ 2 (สอง) นี้ ให้ดำเนินการประชุม ได้โดยไม่ต้องนับองค์ประชุม 21.3 การประชุมใหญ่วิสามัญ หากมีวาระสำคัญเร่งด่วนยกเว้นวาระตามข้อ 21.2.1 ถึง 21.2.4 สามารถดำเนินการจัดประชุมใหญ่วิสามัญได้ ดังนี้ 21.3.1 ที่ประชุมคณะกรรมการอำนวยการเห็นสมควรให้เรียกประชุมใหญ่ วิสามัญ ด้วยคะแนนเสียงตั้งแต่กึ่งหนึ่งขึ้นไป 21.3.2 สมาชิกไม่น้อยกว่า 100 (หนึ่งร้อย) คน มีสิทธิร้องขอให้เปิดประชุม ใหญ่ได้ โดยแสดงความจำนงเป็นหนังสือต่อเลขาธิการล่วงหน้าไม่ น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วันทำการ 21.3.3 ให้เลขาธิการนัดหมายพร้อมส่งระเบียบการประชุมให้สมาชิกทราบ ล่วงหน้าก่อนเวลาประชุมไม่น้อยกว่า 15 (สิบห้า) วันทำการ 21.3.4 การประชุมใหญ่วิสามัญทุกครั้งต้องมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่น้อย กว่า 100 (หนึ่งร้อย) คน จึงจะเป็นองค์ประชุมและดำเนินการได้ ถ้า พ้นเวลานัดหมายไป 30 (สามสิบ) นาทีแล้วยังไม่ครบองค์ประชุม สามา หากเป็นการเรียกประชุมโดยคณะกรรมการอำนวยการ รถเรียกประชุมใหญ่วิสามัญอีกครั้งหนึ่งได้ภายใน 14 (สิบสี่) วัน แต่ถ้าเป็นการเรียกประชุมใหญ่วิสามัญโดยสมาชิกร้องขอตามข้อ 21.3.2 ให้ยกเลิกการประชุมใหญ่วิสามัญนั้น21.4 การจัดประชุมใหญ่ทางวิชาการ 21.4.1 คณะกรรมการอำนวยการควรจัดให้มีการประชุมใหญ่ทางวิชาการ อย่างน้อยปีละครั้ง
23/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล 21.4.2 คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมควรจัดให้มีการประชุมใหญ่ทาง วิชาการของแต่ละสาขาวิศวกรรมอย่างน้อยวาระละหนึ่งครั้ง 21.4.3 คณะกรรมการสาขาภาคควรจัดให้มีการประชุมใหญ่ทางวิชาการของ แต่ละสาขาภาคอย่างน้อยวาระละหนึ่งครั้ง 21.5 วสท. หรือกา การประชุมใหญ่สามัญประจำปี และการประชุมใหญ่วิสามัญของ รประชุมใหญ่ประจำปีของสาขาวิศวกรรมหรือสาขา ภาค ให้เลขานุการตามแต่กรณีส่งรายงานการประชุมให้ผู้เข้าร่วม ประชุมทุกท่านภายหลังการประชุมไม่เกิน 60 (หกสิบ) วัน ข้อ 22. ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปีและประชุมใหญ่วิสามัญของ วสท. ให้นายกเป็นประธานของที่ประชุม ถ้านายกไม่สามารถเข้าร่วม ประชุมได้ให้อุปนายกคนหนึ่งคนใดเป็นประธานแทน ถ้านายกและ อุปนายกไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการ อำนวยการคนหนึ่งคนใดเป็นประธานที่ประชุม ข้อ 23. การเงินและทรัพย์สินทั้งส่วนกลาง และสาขาภาคต่าง ๆ ทั้งหมดให้ รวมเป็นบัญชีเดียวและอยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ระเบียบทา อำนวยการ โดยประธานสาขาภาคต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามงการเงินรวมทั้งการส่งรายงานทางการเงิน ตามมาตรฐาน บัญชีและการเงิน ให้ส่วนกลางภายในวันที่ 10 มกราคม ของปีถัดไป ข้อ 24. ให้เหรัญญิกจัดทำระเบียบการเงินของ วสท. และนำเสนอ คณะกรรมการอำนวยการให้ความเห็นชอบเพื่อถือปฏิบัติ ข้อ 25. ลูกจ้าง พนักงาน ซึ่งได้รับการว่าจ้างให้ทำงานก่อนวันประกาศใช้ ข้อบังคับนี้ ให้ถือว่าได้รับการว่าจ้างตามข้อบังคับนี้ ข้อ 26. สมาคมนี้อาจจะเลิกได้โดยเหตุใดเหตุหนึ่งต่อไปนี้ คือ26.1 เมื่อต้องเลิกตามกฎหมาย หรือ26.2 สามัญประจำปี เมื่อที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปีมีมติให้เลิกในการประชุมใหญ่2 (สอง) ครั้งติดกันโดยมีคะแนนเสียงคราวหนึ่งไม่ น้อยกว่า 3 (สาม) ใน 4 (สี่) ของจำนวนสมาชิกที่มาประชุมแต่ละ คราว
24/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ข้อ 27. ให้ที่ประชุมใหญ่เป็นผู้ลงมติแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี และการชำระบัญชี ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อ 28. หาก วสท. ต้องเลิกสมาคมตามที่ระบุในข้อ 26 ให้คณะกรรมการ อำนวยการโอนทรัพย์สินของ วสท. ภายหลังการการชำระบัญชี แล้ว ให้แก่หน่วยงานตามลำดับ ดังนี้ 28.1 มูลนิธิ วสท. 28.2 สภากาชาดไทย ข้อ 29. การแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือยกเว้นข้อบังคับเฉพาะกรณีจะ ทำได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี หรือที่ประชุมใหญ่วิสาสามัญ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ใน 3 (สาม) ของจำนวนสมาชิกผู้มีสิทธิออกเสียงที่มาประชุม ข้อ 30. ที่ประชุมใหญ่ลงมติในการนี้ก็ต่อเมื่อมีสมาชิกผู้มีสิทธิ์ออกเสียงไม่ น้อยกว่า 100 (หนึ่งร้อย) คนหรือคณะกรรมการอำนวยการเสนอ โดยให้เสนอเป็นหนังสือต่อเลขาธิการล่วงหน้าก่อนที่จะมีประชุมใหญ่ นั้นไม่น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วัน ข้อ 31. ให้เป็นหน้าที่ของเลขาธิการ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ อำนวยการ ส่งสำเนานั้นให้สมาชิกผู้มีสิทธิออกเสียงทราบไม่น้อยกว่า 15 (สิบห้า) วัน และให้ประกาศไว้ ณ สำนักงานไม่น้อยกว่า 5 (ห้า) วัน ก่อนวันประชุม ข้อ 32. เมื่ ข้อบังคับที่ได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมดังกล่าวนั้น ให้ใช้บังคับ อได้จดทะเบียนต่อนายทะเบียนสมาคมกรุงเทพมหานคร ข้อ 33. ข้อบังคับฉบับนี้ให้เริ่มบังคับใช้กับสมาคม หลังจากผ่านที่ประชุมใหญ่ และได้รับอนุมัติจากนายทะเบียนสมาคมกรุงเทพมหานคร และให้ บังคับใช้กับคณะกรรมการอำนวยการที่ได้รับเลือกตั้งเข้ามาใหม่ใน วาระถัดไป ข้อ 34. ให้คณะกรรมการอำนวยการ สำนักงานเลขาธิการและเหรัญญิก จัดทำระเบียบหรือประกาศ หรือคำสั่งต่าง ๆ ตามที่กำหนดไว้ใน ข้อบังคับนี้ให้แล้วเสร็จ และใช้ถือปฏิบัติภายใน 180 (หนึ่งร้อยแปด
25/25 ข้อบังคับ วสท. ข้อบังคับที่แก้ไข เหตุผล ดังกล่าวให้ สิบ) วัน นับแต่วันที่ข้อบังคับนี้มีผลบังคับใช้ ในระหว่างการจัดทำ อนุโลมปฏิบัติตามที่เคยปฏิบัติไปก่อน หากมีปัญหาใด ๆ ให้คณะกรรมการอำนวยการเป็นผู้พิจารณา ตัดสิน
นายก อุปนายก 1 อุปนายก เลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ประธานกรรมการ ประชาสัมพันธ์ นายกแต่งตั้ง 1 ประธานวิศวกรอาวุโส ประธานวิศวกประธานสาขาวิศวประธานสาขา วิศวกรรมโยธา ประธานสาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ประธานสาขา วิศวกรรมเครื่องกล ประธานสาขา วิศวกรรมอุตสาหการ ประธานวิศวกรรมเหการและปิโประธานสาขาประธานสาขา ภาคเหนือ 1 ประธานสาขา ภาคเหนือ 2 ประธานสาขาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ประธานสาขาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ประตโครงสร้างกรรมการ
2 อุปนายก 3 ประธานกรรมการสิทธิและ จรรยาบรรณ ประธานกรรมการโครงการ และต่างประเทศ นายกแต่งตั้ง 2 กรหญิง ประธานยุววิศวกร วกรรม (9) นสาขา มืองแร่โลห โตรเลียม ประธานสาขา วิศวกรรมเคมีและปิโตร เคมี ประธานสาขา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ประธานสาขา วิศวกรรมยานยนต์ ประธานสาขา วิศวกรรม คอมพิวเตอร์ ภาค (9) ะธานสาขาภาค ตะวันออก 1 ประธานสาขาภาค ตะวันออก 2 ประธานสาขา ภาคใต้ 1 ประธานสาขา ภาคใต้ 2 ประธานสาขาภาค ตะวันตก กรรมการกิจกรรมพิเศษ รอ านวยการ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ ปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ********************** 1. หลักการและเหตุผล จากการปฏิบัติวิชาชีพทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ซึ่งต้องมีการทำธุรกรรมผ่านทางสัญญา ระหว่างเจ้าของงานทั้งภาครัฐและเอกชน กับสถาปนิก วิศวกร ผู้รับเหมา และระหว่างผู้รับเหมาหลักกับ ผู้รับเหมาช่วง ในบางครั้งจึงทำให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติตามสัญญา การเสวนาครั้งนี้เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาในการปฏิบัติตามสัญญาของการประกอบวิชาชีพ ผู้รับเหมา วิศวกร และสถาปนิก ร่วมให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อหาแนวทางแก้ไข และนำเสนอ ต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อไป 2. วัตถุประสงค์ การเสวนา ปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อรวบรวมปัญหาสัญญา เนื่องจากพระราชบัญญัติการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 2) เพื่อรวบรวมปัญหาสัญญาและข้อเสนอแนะจากผู้ประกอบการในสมาคมวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม 3) สรุปผลการเสวนาเสนอปัญหาและข้อเสนอแนะให้กับกรมบัญชีกลาง นำไปพิจารณา 4) เพื่อให้มีการดำเนินการปรับปรุงแก้ไขสัญญาที่เป็นธรรมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 3. การจัดเสวนา การเสวนา ปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม คณะกรรมการสิทธิ และจรรยาบรรณ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน และสมาคมต่าง ๆ ดังนี้ - สำนักงบประมาณ - กรมบัญชีกลาง - สภาสถาปนิก - สภาวิศวกร - วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
- สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย - สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย - สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย - สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาเครื่องกลและไฟฟ้าไทย - สมาคมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์คอนกรีตไทย - นายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย - สมาคมมัณทนากรแห่งประเทศไทย คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการจัดเสวนา ปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ในปี พ.ศ. 2566 จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้ 1. การเสวนา ครั้งที่ 1 เรื่อง “ปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม” วันอังคารที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 6 อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ 2. การเสวนา ครั้งที่ 2 เรื่อง “ปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การออกแบบ โครงสร้างพื้นฐาน” วันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 13.30-16.30 น. ผ่านระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม Zoom ณ ห้องบอร์ดรูม ชั้น 4 อาคาร วสท. 3. การเสวนา ครั้งที่ 3 เรื่อง “ปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม การก่อสร้าง และการควบคุมงานก่อสร้าง” ในงานวิศวกรรมแห่งชาติ วันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30-16.30 น. ห้อง MR109 CD บอลรูม 1-3 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ในการเสวนาปัญหา.....สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม 3 ครั้ง ได้มีการ สรุปผลจากการเสวนาแต่ละครั้งเพื่อปรึกษาหารือและเสนอผลการเสวนาให้กรมบัญชีกลางพิจารณา ดำเนินการต่อไป โดยได้มีการสรุปผลการเสวนาปัญหา...สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม และสถาปัตยกรรม ทั้ง 3 ครั้ง ดังนี้
1/14 สรุปปัญหาและข้อเสนอในการแก้ไขจากการเสวนา ครั้งที่ 1 เรื่อง “ปัญหา…สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม” วันอังคารที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 6 อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดโดย คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ วิศวกรรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ วิทยากร นางสาวรุ่งทิพย์ ลิมปาภินันท์ ผู้อำนวยการกองมาตรฐานงบประมาณ 1 สำนักงบประมาณ นางอัมพวรรณ พุกดำ นิติกรชำนาญการ กรมบัญชีกลาง นายชาญณรงค์ แก่นทอง อุปนายกฯ คนที่ 1 สภาสถาปนิก นางสาวลิซ่า งามตระกูลพานิช นายกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ นายนิเวศน์ วะสีนนท์ อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นายเทิดศักดิ์ พ่วงจินดา อุปนายกในประเทศ สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย นายอรรณพ กิ่งขจี นายกสมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย นายบุญศักดิ์เกียรติจรูญเลิศ นายกสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย ดร.เกชา ธีระโกเมน นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาเครื่องกลและไฟฟ้าไทย นายอภิพงศ์ สาธร นายกสมาคมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์คอนกรีตไทย ผู้ดำเนินรายการ ดร.ไกร ตั้งสง่า ประธานคณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สรุปประเด็นหลัก ปัญหา สัญญาการก่อสร้างและการควบคุมงานก่อสร้าง 1. สัญญาระหว่างรัฐกับเอกชน เป็นสัญญาไม่เป็นธรรมและไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล 2. การจ้างที่ปรึกษาโดยการประกวดราคาทำให้งานที่ปรึกษาด้อยคุณภาพ 3. การกำหนดเงื่อนไขในสัญญาไม่ชัดเจน 4. อัตราค่าจ้างที่ปรึกษาต่ำกว่ามาตรฐาน 5. การใช้ดุลยพินิจที่ระบุในสัญญาทำให้เกิดปัญหาในการทำงาน 6. ปัญหาในข้อพิพาทตามสัญญาเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อรัฐและไม่เป็นธรรม 7. สัญญาจ้างที่ปรึกษานำมาใช้กับงานควบคุม ทำให้เกิดปัญหาไม่เป็นธรรม 8. สัญญาไม่เป็นธรรมกับบริษัทที่รับเหมาช่วง 9. กรรมการตรวจรับงานขาดความรู้ความเข้าใจในงาน
2/14 ผลการเสาวนา ปัญหา สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ในวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 มีปัญหาด้านต่าง ๆ ในประเด็นหลัก โดยสรุปปัญหาและข้อเสนอจากการเสวนาได้ดังนี้ สรุปประเด็นหลัก ปัญหา สัญญาการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม วันอังคารที่ 11 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุม ชั้น 6 อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ลำดับ ประเด็นปัญหา สัญญาประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม เหตุผลในการแก้ไข ข้อเสนอแก้ไขปัญหา 1. สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 1.1 รัฐที่เป็นเจ้าของงาน เป็นผู้ได้เปรียบผู้ รับจ้าง - สัญญาไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล - สัญญาต้องเป็นธรรมกับทั้ง 2 ฝ่าย คือ เจ้าของงานและผู้รับจ้าง 1. สมาคมก่อสร้างไทยได้จัดทำสัญญา มาตรฐานสำหรับงานก่อสร้าง ส่งให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรพิจารณา สัญญาข้อไหน ควรจะมีในสัญญา มาตรฐาน 2. พรบ.จัดซื้อจัดจ้างมีปัญหา ค่อนข้างมาก ทางสมาคมฯ ได้ว่าจ้าง TDRI มาศึกษา วิจัยเพื่อนำเสนอ รัฐบาล 3. สัญญางานก่อสร้างที่ปัญหาเกิดขึ้น จากการส่งมอบสถานที่ก่อสร้างล่าช้า บริษัทก่อสร้างไม่สามารถเข้า ดำเนินงานได้ ควรจะมีข้อระบุให้ผู้ รับจ้างขอยกเลิกสัญญาได้ 4. ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นควรมี การระบุในสัญญาและกำหนด ระยะเวลาให้ชัดเจนไว้ด้วย 1.2 กรณีทั้ง 2 ฝ่าย มีข้อขัดแย้ง ไม่มีการ พิจารณาจากข้อเท็จจริง - การตีความตามข้อความในสัญญา ไม่ได้ พิจารณาข้อเท็จจริง 1.3 การใช้ดุลยพินิจทำให้เกิดปัญหาในการ แก้ไขข้อขัดแย้ง - เป็นปัญหาในการบริหารสัญญา 2. สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2.1 ชื่อสัญญาที่เขียนว่า “โครงการจ้างที่ ปรึกษาออกแบบ………” - เนื่องจากเป็นการทํางานคนละส่วนของ โครงการไม่ได้เป็นคนหรือบุคลากรซ้ำ กัน และในการนําเอาไปใช้ในการ ประกวดแบบโครงการอื่นๆ จะได้ คะแนนฝ่ายละ 50% เท่านั้น - แยกชื่อโครงการเป็นโครงการจ้างที่ ปรึกษาและโครงการจ้างออกแบบ 2.2 ข้อมูลทางเทคนิคให้นําเสนอราคาค่า ออกแบบ - งานออกแบบงานสถาปัตยกรรมไม่ สามารถประกวดราคาค่าออกแบบได้ เนื่องจากผิดจรรยาบรรณของสภา สถาปนิก กําหนดโทษให้ยึดใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพได้ - กําหนดราคาค่าออกแบบจากตาราง ค่าออกแบบของราชการเป็นจํานวน เท่าใด เพื่อเป็นข้อสรุปของทุกบริษัทที่ เข้าประกวดแบบ 2.3 การกําหนดคุณสมบัติของผู้เข้าประกวด งานออกแบบโครงการ............................. - ควรจะแยกขนาดของโครงการตาม ราคาค่าก่อสร้าง เช่น 0-50 ล้านบาท - กําหนดคุณสมบัติของผู้เข้าร่วม โครงการฯ ที่สามารถทำงานได้จริง และสามารถเข้าถึงผู้ออกแบบที่
3/14 ลำดับ ประเด็นปัญหา สัญญาประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม เหตุผลในการแก้ไข ข้อเสนอแก้ไขปัญหา 51-100 ล้านบาท และ 101-500 ล้าน บาท ครอบคลุมทุกอายุและความสามารถ ในวิชาชีพ 2.4 ข้อกําหนดที่ระบุว่า “เพื่อผลประโยชน์ของ รัฐเป็นที่ตั้ง” - เพื่อเปิดกว้างในการพิจารณาของคณะ กรรมการฯ และความเป็นธรรมในการ ตัดสิน ทั้งนี้ผลประโยชน์งานราชการไม่ ควรคงอยู่ในข้อกำหนดที่มีสมมุติฐานให้ รัฐได้เปรียบเทียบเพียงฝ่ายเดียว โดย ควรคํานึงถึงประโยชน์ของประเทศ ซึ่ง รวมทั้งประชาชนผู้เกี่ยวข้องเป็น ประเด็นสําคัญ - ขอให้เปลี่ยนเป็น “เพื่อผลประโยชน์ ของประเทศเป็นที่ตั้ง” 2.5 งานประกวดการออกแบบโครงการต่าง ๆ ใช้สัญญาจ้างออกแบบงานจัดซื้อจัดจ้าง ทั่วไปมาเป็นสัญญาหลัก - ทําให้งานออกแบบโครงการฯ ต้องใช้ บุคลากรจํานวนมาก และได้งานตรงกับ ความต้องการ - งานประกวดออกแบบโครงการต่าง ๆ ควรใช้สัญญาจ้างการออกแบบ โดยเฉพาะ ซึ่งจะต่างกับการจัดจ้างทำ ของโดยทั่วไป ทำให้มีการทํางานอย่าง มีประสิทธิภาพ และง่ายต่อการ ตรวจสอบคุณภาพโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางมาเป็นคณะกรรมการ 2.6 ปัญหาสัญญาจ้างออกแบบก่อสร้าง ภาครัฐที่เห็นว่าควรแก้ไข ผู้ออก TOR หรือสัญญาอาจไม่ชำนาญ กระบวนขั้นตอนการออกแบบ โครงการ ส่วนใหญ่กำหนดระยะเวลาน้อยเกินไป ไม่ สัมพันธ์กับความซับซ้อนของงาน ทำให้ ผู้รับจ้างต้องเร่งรัดงาน ไม่ได้ดำเนินการใน เวลาที่เหมาะสม ซึ่งหากได้เวลาที่เหมาะสม ผลงานน่าจะออกมาดีกับทุกฝ่าย - ผู้ออก TOR ขาดความรู้ในงานและขาด ประสบการณ์ - ให้มีผู้มีความรู้เฉพาะด้านมีส่วนร่วมใน การออก TOR และควรให้หน่วยงาน วิชาชีพให้ความรู้กับบุคลากรใน หน่วยงานราชการเพิ่มเติม 2.7 อัตราค่าบริการวิชาชีพ มีอัตราเดียวคือ คิด เป็นเปอร์เซ็นต์กับมูลค่างานก่อสร้าง (สร้างใหม่) - อัตราค่าบริการวิชาชีพไม่เป็นธรรม และมีค่าจ้างค่อนข้างต่ำ - ควรมีเกณฑ์คิดค่าบริการที่หลากหลาย มากขึ้น เช่น คิดจากบุคลากร x ชม ทำงาน เป็นต้น หรือเกณฑ์สำหรับงาน ปรับปรุงขนาดเล็ก อาจกำหนดขั้นต่ำ เป็นแบบตีเหมา งานจ้างออกแบบ 2.8 การผ่านการคัดเลือก ถ้ากรรมการหรือ บุคคลในหน่วยงานไม่รู้จักมักจะไม่ได้รับ พิจารณา - การคัดเลือกควรผ่านส่วนกลาง โดย ท้องถิ่นไม่มีส่วนเกี่ยวข้องจนงานแล้ว เสร็จน่าจะได้ผลดีกว่า - ควรกำหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก ให้ชัดเจนเป็นมาตรฐานเดียวกัน 2.9 - แบบก่อสร้างภาครัฐที่ประกาศใน Ebidding ใช้ผู้ออกแบบที่ไม่มีใบประกอบ - กำหนดราคากลางงานอาคารไม่ สอดคล้องกับข้อเท็จจริง - กำหนดราคากลางของอาคารแต่ละ ประเภทให้ชัดเจนเป็นธรรม และมี
4/14 ลำดับ ประเด็นปัญหา สัญญาประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม เหตุผลในการแก้ไข ข้อเสนอแก้ไขปัญหา วิชาชีพ (ลงนามในแบบก่อสร้างเพียงคน เดียว) สถาปัตยกรรมควบคุม (สถาปัตยกรรมภายใน) ออกแบบตกแต่ง ภายในปรับปรุงอาคารเรียนสูง 4 ชั้น พื้นที่ เกิน 500 ตร.ม. และทางกรมโยธาธิการ และผังเมืองภูเก็ต ไม่ทราบถึงกระบวนการ จัดจ้างออกแบบฯ และไม่มีหนังสือรับรอง ใบประกอบวิชาชีพ - ข้อมูลภาคสนามของพื้นที่ออกแบบไม่ ครบถ้วน แต่ให้สถาปนิกรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ด้วย เช่น ค่าทำการทดสอบ ดิน ค่าจัดทำแผนที่ภูมิประเทศ เป็นต้น ประเภทงานที่ครบถ้วนในการ ออกแบบ 2.10 ขอบเขตการว่าจ้างจากราชการเป็น ลักษณะเหมารวมในอัตราเดียว เช่น ออกแบบอาคารรวมภูมิสถาปัตยกรรม รวมทั้งการทำหุ่นจำลอง เป็นต้น - ควรกำหนดประเภทของงานให้ชัดเจน รวมทั้งการระบุลักษณะการจ้างตาม ลักษณะงาน - งานที่ไม่อยู่ในความรับผิดชอบของ ผู้ออกแบบควรกำหนดให้ชัดเจน เช่น งานสำรวจ งานหุ่นจำลอง งาน ทดสอบดิน ฯ 2.11 ค่าจ้างไม่เป็นไปตามมาตรฐาน กรมบัญชีกลาง - มีค่าจ้างต่ำกว่ามาตรฐาน - อัตราค่าวิชาชีพควรกำหนดให้ชัดเจน (มีกรณีตีความค่าวิชาชีพ 3-4%) 2.12 ตั้งงบประมาณค่าก่อสร้างต่ำกว่าราคา กลาง - ไม่มีการแยกงานออกแบบอย่างชัดเจน - สัญญาควรแยกส่วนและผลตอบแทน ให้ชัด เช่น งานออกแบบ อาคาร งาน ภูมิสถาปัตยกรรม งานออกแบบ ภายใน เป็นต้น 2.13 การแข่งขันที่ยังไม่เป็นธรรม และงาน สาธารณะที่ไม่มีการทำแบบประกวด - ในงานจ้างออกแบบทั่ว ๆ ไปโดย เฉพาะงานไม่ใช่งานสเกลใหญ่หรือ ประกวดแบบ ขั้นตอนการจัดทำ program และ TOR บางหน่วยงานไม่ สามารถทำได้เองและไม่มีหน่วยงาน ไหนจัดทำให้ ก็ต้องหาสถาปนิกที่ยอม มาทำงานล่วงหน้าก่อน ช่วยศึกษา โครงการ คิดพื้นที่และจัดทำข้อมูล ต่างๆ ให้ก่อนว่าจ้าง เพื่อให้นำไปตั้งงบ ออกแบบและงบก่อสร้างได้ - TOR ที่ไม่เป็นธรรมของเจ้าของ โครงการ (กรณีเอกชน) หรือของรัฐ สัญญาเอาเปรียบผู้รับเหมา - ควรมีผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และ ประสบการณ์ในการจัดทำมาตรฐาน ในการจัดทำ TOR - มาตรฐานในการจ้างงานออกแบบใน งานประเภทต่าง ๆ
5/14 ลำดับ ประเด็นปัญหา สัญญาประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม เหตุผลในการแก้ไข ข้อเสนอแก้ไขปัญหา - บุคลากรมีจำนวนน้อยมากในบาง หน่วยงานและเป็นงานที่มีความยุ่งยาก ควรจัดจ้างในงานที่ซับซ้อน - การเพิ่มงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน ออกแบบ แต่ควรเป็นเรื่องที่เจ้าของ โครงการต้องรับผิดชอบ เช่น การ สำรวจดิน/งานสำรวจแผนที่ภูมิ ประเทศ/การทำ green/ etc. - การคิดค่าบริการที่ควรกลับไปใช้ หลักการเดิม และต้องไม่เอาเงื่อนไข ค่าจ้างมากำหนด - ไม่เป็นธรรมกับผู้ออกแบบ ทำให้เกิด ปัญหา คอรัปชั่น เพราะงานออกแบบ ทำแล้วไม่คุ้ม มีผู้เข้ามาแข่งกันน้อยราย เพราะจะมีเฉพาะรายที่รู้ว่าจะผ่านแบบ อย่างไร จึงจะลดต้นทุน หรือการเขียน สเปกเอื้อประโยชน์ต่อผู้จัดจำหน่าย ผลิตภัณฑ์แทนการรับค่าแบบ - ให้มีความชัดเจนข้อกำหนดรายละเอียด สินค้า วัสดุก่อสร้างให้ชัดเจน เพื่อ ประโยชน์ในการใช้งาน และควรให้มี ผู้เข้าร่วมประมูลอย่างน้อย 3 ราย หรือ เป็นผู้ขายสินค้าประเภทเดียวกัน ต่าง ยี่ห้ออย่างน้อย 3 ราย - ลดการ คอรัปชั่นในการจัดจ้าง 2.14 ปัญหาสัญญาจ้างออกแบบก่อสร้างของ เอกชนที่เห็นว่าควรแก้ไข การคิดค่าบริการ ใช้เทียบเปอร์เซ็นต์กับ มูลค่าก่อสร้าง โดยมีการกำหนด รายละเอียดขอบเขตงานกำกับไว้ กรณี ลูกค้าไม่ต้องการทำงานตามขอบเขตงาน ทั้งหมด ยังไม่มีการคิดอัตราที่เหมาะสม - ไม่มีการกำหนดรายละเอียดในการคิด อัตราค่าบริการ - ควรกำหนดรายละเอียดการคิดอัตรา ค่าบริการที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อ สะดวกในการนำไปใช้ 2.15 เอกชนไม่ให้ความร่วมมือ - ออกกฎหมาย กฎระเบียบบังคับที่มี ผลต่อการรับงาน 2.16 - เรื่องกรรมสิทธิ์ในแบบควรกำหนดให้ ชัดเจนกว่าเดิม - ไม่มีการกำหนดเรื่องกรรมสิทธิ์ในแบบ ทำให้เกิดปัญหาในการทำงาน - ระบุเพิ่มเติมว่า ทั้งนี้ไม่เกินกว่ามูลค่า งานตามสัญญา/ ทั้งนี้ไม่เกินกว่า
6/14 ลำดับ ประเด็นปัญหา สัญญาประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม เหตุผลในการแก้ไข ข้อเสนอแก้ไขปัญหา - ควรใส่รายละเอียด เช่น เรื่องสำคัญเข้า ไปเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการ ก่อสร้างไม่เกิดข้อพิพาท เช่น การระบุ ว่าผู้รับจ้างจะต้องชดใช้ค่าเสียหายต่าง ๆ ทั้งสิ้น ค่าจ้างตามสัญญาที่ได้ชำระแก่ผู้ รับจ้างแล้ว 3. สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย 3.1 ประเด็นสัญญาจ้างงานออกแบบและงาน ควบคุม (ตาม พรบ.จัดซื้อจัดจ้าง และการ บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐) - การนำสัญญางานจ้างที่ปรึกษาไปใช้ใน งานออกแบบและงานควบคุมงาน ทำ ให้มีปัญหา สมาคมวิศวกรที่ปรึกษา ยินดีร่วมมือกับ หน่วยงานรัฐในการปรับปรุงสัญญา ว่าจ้างที่ปรึกษา 3.2 ค่าจ้างงานที่ปรึกษาไม่มีการเปลี่ยนแปลง มาหลายปีแล้ว มีอัตราค่าจ้างต่ำ - ค่าจ้างที่ปรึกษาใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 มีอัตราต่ำยังไม่ได้มีการปรับปรุง อยากให้ผู้รับผิดชอบพิจารณาปรับปรุง อัตราค่าจ้างที่ปรึกษาใหม่ การปรับอัตราค่าจ้างที่ปรึกษา เพื่อให้มี การพัฒนาคุณภาพในวิชาชีพ 3.3 สัญญาจ้างที่ปรึกษานำมาใช้กับงานควบคุม ทำให้ปัญหาไม่เป็นธรรมในการเรียกร้อง เงินค่าจ้างเพิ่มขึ้น เนื่องจากความล่าช้า การเพิ่มปริมาณงาน หรือค่าเสียหายที่ เกิดขึ้น - ปัญหาที่มหาวิทยาลัยมารับงาน วิศวกรรมควบคุมผิด พรบ.สภาวิศวกร 2542 ควรมีการดำเนินการให้ชัดเจน ตาม พรบ. สภาวิศวกร 2542 - มีการใช้สัญญาประเภทเดียวกันในการ ออกแบบและควบคุมงาน - มีปัญหาขัดแย้งระหว่างเจ้าของงานกับ บริษัทที่ปรึกษา - ต้องมีสัญญาเฉพาะแต่ละประเภทของ งาน เช่น สัญญางานจ้างออกแบบ และงานควบคุม - การกำหนด TOR การจ้างควรให้ ชัดเจนและครอบคลุม 3.4 เงินค่าปรับ ถ้าที่ปรึกษาไม่สามารถทำงาน เสร็จตามสัญญาให้อยู่ในดุลยพินิจ ดำเนินการตามสมควร - คำว่า ดุลยพินิจ เป็นสาเหตุให้นำมาใช้ แล้วไม่เหมาะสมเป็นธรรม จะต้องพิจารณาผลงานตามสภาพ ข้อเท็จจริง 3.5 แบบสัญญาที่ใช้ในการจ้างออกแบบและ ควบคุมงานเกิดปัญหาในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ - กรณีมีงานเพิ่มหรือล่าช้า ไม่มีการปรับ เงินค่าจ้างเพิ่มขึ้น - กรณียกเลิกสัญญางานก่อสร้าง ผู้รับจ้าง (ที่ปรึกษา) จะไม่ได้รับเงินค่าจ้างที่ ปรึกษาที่คงค้างจนกว่าการฟ้องร้องจะ สิ้นสุด - การกำหนดเวลาทำงานของที่ปรึกษา ควบคุมงาน ต้องกำหนดเวลาทำงานให้ ชัดเจนทั้งวันปกติและวันหยุดราชการ - แบบสัญญาไม่เป็นธรรมกับผู้รับจ้าง - สัญญาว่าจ้างควรเป็นสัญญาเฉพาะ ตามลักษณะของงาน คืองานออกแบบ และงานควบคุมงาน - สัญญาว่าจ้างต้องมีความเหมาะสม เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
7/14 ลำดับ ประเด็นปัญหา สัญญาประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม เหตุผลในการแก้ไข ข้อเสนอแก้ไขปัญหา 3.6 การให้มหาวิทยาลัยโดยที่ไม่มีคุณสมบัติ ครบถ้วนเข้ามารับงานแข่งขันกับบริษัทที่ ปรึกษา และการให้คะแนนแต้มต่อไม่เป็น การถูกต้อง - ปัจจุบันการว่าจ้างเอื้อประโยชน์ต่อ มหาวิทยาลัยทั้งที่ไม่มีคุณสมบัติตาม พรบ.สภาวิศวกร 2542 - มหาวิทยาลัยต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน เหมือนบริษัทที่ปรึกษาและต้องยื่น เสนอแข่งขันเหมือนกับบริษัทที่ ปรึกษา ภาค ก. การออกแบบ 3.7 ข้อ 3 ค่าจ้างและการจ่ายเงิน ไม่มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ไม่มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ขอเพิ่มข้อ 3 วรรคสุดท้าย โดยมีข้อความ ดังต่อไปนี้ - "กรณีที่ที่ปรึกษาต้องปฏิบัติงานอย่าง ใดอย่างหนึ่งเพิ่มเติม นอกเหนือจากที่ ระบุในขอบเขตงานตามสัญญา เนื่องจากมีเหตุใดๆ นอกเหนือจาก การควบคุมของที่ปรึกษาเกิดขึ้น และ ที่ปรึกษาไม่อาจคาดหมายล่วงหน้าได้ หรือเนื่องจากคู่สัญญาได้ตกลง เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขงานอันสืบ เนื่องมาจากการเรียกร้องของฝ่ายผู้ ว่าจ้าง ที่ปรึกษาจะได้รับค่าจ้าง เพิ่มเติม รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เบิกคืนได้ (ถ้ามี) โดยคำนวณตามอัตราเดียวกับ ที่ระบุในเอกสารสรุปรายละเอียด ค่าจ้าง ที่ปรึกษาในภาคผนวก - กรณีที่เกิดความล่าช้า และหรือ มีการ ขยายระยะเวลาโดยมิได้เกิดจาก ความผิดของที่ปรึกษา ที่ปรึกษาจะ ได้รับการขยายระยะเวลาและค่าจ้าง เพิ่มเติม รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เบิกคืนได้ (ถ้ามี) โดยคำนวณตามอัตราเดียวกับ ที่ระบุในเอกสารสรุปรายละเอียด ค่าจ้างที่ปรึกษาในภาคผนวก 3.8 ข้อ 4.3 หน้าที่ของผู้ให้บริการงานออกแบบ ข้อ 4.3 วรรคสองถ้ามีความเสียหายเกิดขึ้น จากงานตามสัญญานี้อันเนื่องมาจากการที่ ผู้ให้บริการได้ออกแบบงานไม่ถูกต้องตาม หลักวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพทาง สถาปัตยกรรม วิศวกรรม หรือวิชาการอื่น และ/หรือบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ผู้ให้บริการจะต้องรีบทำการ - ในกรณีความเสียหายเกิดขึ้นได้มีการ ระบุชัดเจนแล้วไม่จำเป็นต้องมี โดย ส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับความเสียหายที่ เกิดขึ้น - ขอตัดประโยคสุดท้ายที่กำหนดว่า "และโดยส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับความ เสียหายที่เกิดขึ้น" ออก