The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนที่คำยืม

แผนที่คำยืม

แบบเรียนเรื่องแผนที่คำ�ยืมน้ีเป็นแบบเรียนเสริมความรู้ทางภาษาไทยท่ี
นำ�เสนอความรเู้ ร่ืองคำ�ยมื ในภาษาไทยอยา่ งละเอยี ดผา่ นค�ำ ที่เข้าใจไดง้ า่ ย อีก
ทงั้ ยังมีเกณฑ์การสงั เกตคำ�ยืมในแต่ละภาษา ไม่วา่ จะเปน็ ภาษาจนี ภาษาญ่ีปุ่น
ภาษาองั กฤษ ภาษาเขมร ภาษาบาลแี ละสนั สกฤต ภาษาชวาและมลายู และ
ภาษาเปอร์เซียให้ได้ทราบกัน พรอ้ มท้ังมีภาพและสีสันทีเ่ หมาะแก่การเรียนรู้
สอดแทรกแบบฝกึ หัดในแตล่ ะภาษาใหไ้ ดท้ ดสอบความเข้าใจอีกดว้ ย ซงึ่ ท�ำ ให้
ผู้ศึกษารู้สึกสนใจที่จะค้นคว้าเน้ือหาจากในแบบเรียนเล่มน้ีและเกิดความเข้าใจ
ในเน้อื หามากยิง่ ขน้ึ คำ�ยมื ในภาษาไทยจงึ ไม่ใช่เรอ่ื งยากอกี ต่อไป

คณะผจู้ ดั ทำ�











คำ�ยมื ภาษาอังกฤษในภาษาไทย

ภาษาองั กฤษในภาษาไทย

ค�ำ ยืมภาษาองั กฤษในภาษาไทยมีท้งั คำ�ทีใ่ ช้ทว่ั ไป และคำ�ยมื ทีเ่ ปน็ ศัพทท์ างวิชาการ
ศพั ทว์ ิทยาศาสตร์ ศพั ทเ์ กย่ี วกบั เทคโนโลยี ฯลฯ โดยสามารถแบง่ ลักษณะภาษาอังกฤษใน
ภาษาไทยออกเป็น ๓ ประเภท ดงั นี้

๑. การทบั ศพั ท์

การทับศพั ท์ โดยการถ่ายเสยี งและถอดตวั อักษร ค�ำ ยมื จากภาษาอังกฤษโดยวธิ กี ารทบั
ศพั ทม์ จี ำ�นวนมาก ค�ำ บางค�ำ ราชบณั ฑติ ยสถานไดบ้ ญั ญัตศิ ัพท์เป็นค�ำ ไทยแล้ว แต่คนไทยนยิ ม
ใช้ค�ำ ทบั ศพั ทม์ ากกว่า เพราะเขา้ ใจงา่ ย ส่ือสารได้ชดั เจน เชน่
ค�ำ ภาษาองั กฤษ คำ�ทับศัพท์
game เกม
graph กราฟ
cartoon การต์ ูน
clinic คลินกิ
quota โควตา
dinosaur ไดโนเสาร์
technology เทคโนโลยี

๒. การบญั ญตั ิศัพท์

การบัญญัตศิ พั ท์ เปน็ วิธีการยืมคำ� โดยรบั เอาเฉพาะความคดิ เกยี่ วกับเรอื่ งนนั้ มาแลว้
สรา้ งคำ�ขึน้ ใหม่ ซึ่งมเี สยี งแตกตา่ งไปจากคำ�เดมิ โดยเฉพาะศัพทท์ างวิชาการจะใช้วธิ ีการน้ีมาก
ผทู้ ี่มีหน้าท่บี ญั ญัตศิ พั ทภ์ าษาไทยแทนค�ำ ภาษาอังกฤษ คอื ราชบณั ฑติ ยสถาน เช่น



ค�ำ ภาษาอังกฤษ ค�ำ บญั ญตั ิศัพท์
airport สนามบนิ
globalization โลกาภิวตั น์
science วทิ ยาศาสตร์
telephone โทรศพั ท์
reform ปฏริ ปู

๓. การแปลศพั ท์

การแปลศพั ท์ วธิ กี ารน้ีจะตอ้ งใช้วิธีการคิดแปลเปน็ คำ�ภาษาไทยใหม้ ีความหมายตรงกบั
ค�ำ ในภาษาอังกฤษ แล้วนำ�คำ�นัน้ มาใช้สอ่ื สารในภาษาไทยต่อไป เช่น
ค�ำ ภาษาองั กฤษ คำ�บัญญตั ศิ ัพท์
blackboard กระดานดำ�
enjoy สนกุ
handbook หนังสอื คมู่ ือ
school โรงเรียน
short story เรื่องสั้น



ตัวอยา่ งค�ำ ทบั ศัพท์ภาษาองั กฤษท่มี ีใช้ในภาษาไทย

กราฟ การ์ตูน กิ๊บ กลโู คส
กปั ตัน แกส๊ กุ๊ก เกยี ร์
แกง๊ แกลลอน คริสต์มาส ไดนาโม
ไดโนเสาร์ ครีม คลอรีน คอนกรีต
คลินกิ คอนเสริ ์ต คอมพวิ เตอร์ คุกก้ี
เคเบิล เครดิต แคปซูล เคานเ์ ตอร์
แคลอรี โควตา ชอล์ก ชอ็ กโกเลต
เช็ค เช้ิต เชียร์ โชว์
ซเี มนต์ เซลล์ ไซเรน ดเี ซลดอลลาร์
ดีเปรสชน่ั เตน็ ท์ ทอนซิล เทอม
แทก็ ซ่ี แทรกเตอร์ นโิ คตนิ นิวเคลยี ร์
นอี อน นิวเคลียส โนต้ ไนลอน
บลอ็ ก เบนซนิ แบคทีเรีย ปล๊กั
ปกิ นิก เปอรเ์ ซ็นต ์ พลาสติก พรี ะมดิ
ฟลอู อรนี ฟอร์มาลีน ฟงั ก์ชนั ฟาร์ม
ฟสิ ิกส์ มอเตอร์ มมั มี่ มาเลเรีย
โมเลกลุ ไมล์ ไมโครโฟน ไมโครเวฟ
ยิปซมั ยรี าฟ รบิ บนิ้ เรดาร์



แบบฝึกหัด

ตอนที่ ๑ จงอ่านเน้ือเร่ืองท่ีใหต้ ่อไปนี้พรอ้ มทัง้ ขีดเส้นใตค้ ำ�ยมื ภาษาอังกฤษทป่ี รากฏ


“นก” หญิงสาวในเสอ้ื เช้ติ สีมินตซ์ งึ่ เปน็ ยูนฟิ อรม์ ของพนกั งานบรษิ ทั แห่งหน่งึ เธอก�ำ ลังยืนรอ

รถเมลอ์ ยูท่ ปี่ า้ ยรถเมลห์ นา้ คลินกิ ปากซอยบา้ นของเธอ มันเปน็ กจิ วตั รของเธอทต่ี อ้ งทำ�ในทุกเช้า รวมถงึ
วันน้กี เ็ ชน่ กนั เธอจำ�ไมไ่ ด้ดว้ ยซ�ำ้ ว่าเธอมาอยทู่ นี่ ่ีไดอ้ ย่างไร มนั อาจเปน็ เพราะความเคยชินจนเธอท�ำ ไป
โดยไมท่ นั ร้ตู ัว เหมือนมีใครมาคอยคอนโทรลเธอกว็ า่ ได้
เธอรอแล้วรอเล่ารถเมล์แอรส์ ายทเ่ี ธอรอคอยก็ไมม่ าสักทจี นเธอจวนจะไปท�ำ งานเลทอยูแ่ ลว้ เธอ
จงึ ตดั สนิ ใจเรียกแท็กซพี่ ร้อมบอกต�ำ แหน่งออฟฟศิ ของเธอใหโ้ ชเฟอร์ทราบ แต่อาจเป็นเพราะความโชค
รา้ ยของเธอในวนั น้ี โชเฟอรแ์ ทก็ ซป่ี ฏิเสธเธอพรอ้ มขบั รถหนีเธอออกไปทนั ที เธอชอ็ กและงงมากทำ�ได้
เพยี งยืนแขง็ เปน็ โรบ็อตอย่พู ักใหญ่
เธอตอ้ งหารถทจ่ี ะไปสง่ เธอทีอ่ อฟฟิตใหมอ่ ีกครงั้ คราวน้ีเธอเลือกทีจ่ ะเรียกมอเตอรไ์ ซคร์ บั จ้าง
แทน เพราะตอนนเ้ี ธอเลทมามากพอสมควรแลว้ มอเตอร์ไซค์รบั จ้างคงเป็นชอยซท์ ด่ี ที สี่ ดุ ส�ำ หรับเธอใน
ตอนนี้ ทันทที เ่ี รียกได้เธอรบี คว้าหมวกกันนอ็ กจากคนขบั มาใส่แลว้ บอกใหค้ นขับออกรถในทนั ที คนขับ
มอเตอรไ์ ซค์รบั จ้างนั้นขับมอเตอรไ์ ซค์ไปดว้ ยความเร็วสงู ราวกับติดเทอร์โบ หนา้ ของเธอหน้าโต้กับลมท่ี
ซัดเขา้ มาจนปากของเธอกระพรือราวกบั ลปิ สตกิ ทเี่ ธอทามานัน้ จะหลุดลอยไปกับสายลม
เพยี งเวลาไม่นานนกั มอเตอรไ์ ซค์คันทเ่ี ธอน่งั มาก็มาจอดอย่ทู ห่ี น้าออฟฟศิ เธอถอดหมวกกันน็อก
สง่ คืนใหแ้ ก่คนขบั คนขับแจง้ ราคาคา่ โดยสารทงั้ หมด ๑๒๐ บาท เธอรีบควา้ กระเป๋าแบรนด์เนมราคาแพง
ของเธอออกมา แตอ่ นจิ จาในกระเป๋าของเธอมาแต่แบงก์พนั เธอจงึ จ�ำ ใจยน่ื แบงกส์ เี ทาใหค้ นขบั คนขบั
ส่งสายตาอ�ำ มหติ มาท่เี ธอกอ่ นจะลงจากรถมอเตอร์ไซค์เปิดเบาะหยิบกระป๋องคกุ กี้สแี ดงขึน้ มา ในนั้นเตม็
ไปดว้ ยแบงกย์ อ่ ยมากมาย คนขับยืนนับแบงกอ์ ยูส่ ักพักกอ่ นจะยน่ื เงนิ ทอนมาใหเ้ ธอเปน็ ธนบัตรใบสเี ขียว
ทัง้ หมดก่อนแล้วสตาร์ทรถขับออกไปโดยไมแ่ ม้แต่จะหนั กลับมาดเู ธอดว้ ยซำ�้
เธอไมม่ ีเวลามาสนใจกับแบงก์สีเขยี วกว่า ๔๐ ใบ ในมือแล้ว ตอนน้ีเธอเลทเกินไปทจี่ ะเอาเวลา
มาโกรธใคร เธอรีบวงิ่ ไปทป่ี ระตูเพอ่ื สแกนการ์ดเขา้ ออฟฟิศ วันน้อี อฟฟิศกลบั มดื ประหลาดเหมือนว่าไฟ
จะดบั และเมอ่ื เธอหันไปมองขา้ งประตกู บั พบกระดาษแผ่นหนงึ่ ทีถ่ กู ปรนิ้ ท์มาแปะไว้ โดยมีข้อความวา่
“หยุดเทศกาลคริสต์มาส ๓ วนั ”



ตอนที่ ๒ จงนำ�ค�ำ ยืมภาษาองั กฤษที่ปรากฏในตอนท่ี ๑ มาเติมลงในชอ่ งวา่ ง พรอ้ มทง้ั
ระบุว่าเป็นค�ำ ยมื ภาษาอังกฤษประเภททับศัพท์ บญั ญัติศพั ท์ หรอื แปลศัพท์ และหากเปน็
ประเภทบัญญัตศิ พั ท์หรอื แปลศัพทจ์ ะสามารถใชค้ ำ�ไทยใดแทนได้

ตวั อยา่ ง
ยูนิฟอร์ม เป็นคำ�ยืมภาษาอังกฤษประเภท แปลศัพท์ โดยสามารถใช้คำ�ว่า เคร่ืองแบบ แทนได้
๑. ................... เป็นค�ำ ยมื ภาษาอังกฤษประเภท ……………………………………………………
๒. ................... เป็นคำ�ยมื ภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………
๓. ................... เป็นค�ำ ยืมภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………
๔. ................... เป็นคำ�ยมื ภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………
๕. ................... เปน็ ค�ำ ยมื ภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………
๖. ................... เปน็ ค�ำ ยืมภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………
๗. ................... เป็นคำ�ยืมภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………
๘. ................... เปน็ คำ�ยมื ภาษาอังกฤษประเภท ……………………………………………………
๙. ................... เปน็ ค�ำ ยมื ภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………
๑๐. ................... เปน็ คำ�ยมื ภาษาองั กฤษประเภท ……………………………………………………





คำ�ยืมภาษาจนี ในภาษาไทย

ความสัมพันธป์ ระเทศไทยกบั ประเทศจีน

ประเทศไทยและประเทศจีนมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดทั้งทางด้านเชื้อชาติและ
ท่อี ยูอ่ าศัย ในหนังสือประวตั กิ ารทูตของพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมืน่ นราธิปพงศ์ประพนั ธ์ ได้
กล่าววา่ ในสมัยนา่ นเจ้า ไดส้ ่งราชทตู ติดต่อกับประเทศจนี มกี ารน�ำ ชา่ งจนี มาฝึกสอนการทอผา้
ในสมัยพอ่ ขนุ รามค�ำ แหง ได้เสดจ็ ไปประเทศจีน และในครั้งหลงั ได้น�ำ ชา่ งฝีมอื ที่มคี วามสามารถ
ด้านการท�ำ ชามสังคโลกมาตัง้ เตาเผาท่ีสุโขทยั และสวรรคโลก จากการยกตัวอยา่ งความสัมพนั ธ์
ของประเทศไทยและประเทศจนี ข้างตน้ แสดงให้เหน็ วา่ ประเทศไทยมกี ารตดิ ตอ่ กับประเทศ
จนี มาเปน็ เวลายาวนาน ตัง้ แตส่ มัยน่านเจา้ จงึ ไม่แปลกหากจะมีค�ำ ยมื จากภาษาจีนเข้ามาใช้ใน
ประเทศไทย

ลักษณะค�ำ ยมื ภาษาจนี ในภาษาไทย

ภาษาจนี จัดอยู่ในภาษาคำ�โดด (Isolating Language) เชน่ เดียวกบั ภาษาไทย ไมม่ ีการ
สร้างคำ�โดยการเตมิ คำ�หน้า กลาง หรือหลัง ภาษาจนี มกี ารใชว้ รรณยุกต์ คำ�ลักษณนาม และมี
การเรียงค�ำ เข้าเปน็ ประโยคเช่นเดียวกบั ภาษาไทย โดยค�ำ ยืมภาษาจนี มีลกั ษณะทว่ั ไปดังน้ี
๑. เปน็ คำ�ทบั ศพั ท์ คือ ออกเสียงตรงตามค�ำ เดิมในภาษาจีน จะผดิ เพ้ียนบ้างเพยี ง
เสยี งวรรณยกุ ต์ สว่ นความหมายตรงตามเดิม เชน่
ตัว๋ มาจาก ตัว แปลว่า ใบสำ�คัญ
เก ๊ มาจาก เก ๊ แปลว่า ปลอม
ถา่ น มาจาก ทา่ น แปลวา่ ถา่ น

๒. เปน็ ค�ำ ทับศพั ทแ์ ตเ่ สียงเปลย่ี นไป ค�ำ บางคำ�เสยี งเปลีย่ นไปไมอ่ าจกำ�หนดได้แน่
ว่าเสยี งที่เปลย่ี นไปนั้นเปลีย่ นไปจากค�ำ ภาษาแตจ้ ิ๋วหรอื จนี กลาง เช่น

แซ่ มาจาก แส ่ ๙
เย็นตาโฟ มาจาก หยองเต่าฟ ู่
โสหุ้ย มาจาก ซ่อื หุ่ย

๓. ใช้ค�ำ ไทยแปลคำ�ภาษาจีน เช่น
ไชเทา้ คอื หัวผักกาด
ไชโป๊ คือ หวั ผักกาดเค็ม
โอวย๊ัวะ คือ กาแฟด�ำ

๔. ใชค้ ำ�ไทยประสมหรือซอ้ นกับคำ�จนี เปน็ การประสมหรอื ซ้อนเพ่ือให้รู้วา่ คำ�จีนน้ัน
หมายความวา่ อะไร เปน็ ช่อื ของอะไร มลี กั ษณะอย่างไร เชน่
ลันเตา แปลวา่ ถ่ัว มาจาก ฮ่อลนั เตา ไทยใช้ว่า ถว่ั ลันเตา
บะฉอ่ แปลว่า หมูสบั ละเอียด มาจาก บ๊ะฉ่อ ไทยใช้วา่ หมบู ะฉอ่

๕. สร้างคำ�ใหมห่ รอื ความหมายใหม่ ค�ำ จีนทย่ี ืมมาใช้ในปัจจุบนั บางค�ำ ไมเ่ คยมีใช้ใน
ภาษาจนี มาแต่ดงั้ เดมิ เพราะไม่เคยมสี ่ิงน้ันมากอ่ นในภาษาจีน เช่น
โอเลย้ี ง หมายถึง กาแฟที่ไม่ใสน่ ม แปลตามศัพทว์ า่ ด�ำ เยน็
เกาเหลา หมายถึง ก๋วยเตยี๋ วทไี่ มใ่ สเ่ สน้ แปลตามศัพทว์ า่ หอสงู

๖. ความหมายกลายไป เชน่
กุ๊ย แปลวา่ ผี ไทยน�ำ มาใช้ในความหมายว่า คนเลว
เขยี ม แปลวา่ เปน็ หน้ี ไทยนำ�มาใชใ้ นความหมายว่า ตระหน่ี
ชีช�้ำ แปลว่า ตกทกุ ข์ได้ยาก ไทยนำ�มาใช้ในความหมายว่า ช�้ำ ใจ
๗. เสยี งกลายไปเปน็ เสียงสูงหรอื ต�ำ่ เชน่
เตา๊ กลายเสียงเป็น เตา๋
ทง้ั กลายเสยี งเปน็ ถงั
ตัว กลายเสยี งเปน็ ต๋วั

๑๐

การน�ำ ภาษาจนี มาใช้ในภาษาไทย ได้มาจากภาษาพดู ไมใ่ ช่ภาษาเขยี น เพราะระบบการ
เขยี นของจนี กบั ไทยมีความแตกต่างกันมาก ค�ำ จนี ที่ไทยยืมมาใช้ โดยมากเปน็ คำ�ทใ่ี ชเ้ รียกช่ือ
สง่ิ ตา่ ง ๆ เช่น เคร่ืองใชแ้ บบจนี ยาสมนุ ไพร และสัตว์บางชนิด เป็นต้น

วิธนี �ำ ค�ำ น�ำ ภาษาจีนมาใชใ้ นภาษาไทย

การน�ำ ภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทย คนไทยจะสามารถเสียงได้ใกลเ้ คยี งกบั เสียงดง้ั เดมิ
ของจนี เนื่องจากไทยเรามเี สียงวรรณยุกต์ถึง5 เสยี ง จึงสามารถออกเสยี งได้ใกล้เคียง เชน่
เกาเหลา กว๋ ยเด๋ียว เกย๊ี ว กวยจ๊บั
เฉากว๊ ย ตง้ั ฉา่ ย เต้าทึง เตา้ หู้
เต้าฮวย บะฉ่อ แปะ๊ ซะ พะโล้
ฮวนนั๊ง แฮก่ ิ้น ฮอื่ ฉี่ เก้าอ้ี
บางคำ�ไทยไดน้ ำ�มาตัดทอนและเปล่ยี นเสยี งบ้าง แต่ไมม่ ากนัก เช่น
เตี้ยะหลิว เปลย่ี นเสยี งเปน็ ตะหลวิ
บ๊ะหม ่ี เปลย่ี นเสียงเปน็ บะหมี่
ปงุ้ กี เปลีย่ นเสยี งเปน็ ปุ้งกี๋
เลา่ ซ้ึง เปลย่ี นเสยี งเป็น ลางซึ้ง

หลกั การสงั เกตภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทย

๑. นำ�มาเป็นช่อื อาหารการกนิ เชน่ ก๋วยเต๋ียว เตา้ ทงึ แปะ๊ ซะ เฉากว๊ ย จับฉา่ ย เป็นต้น
๒. เปน็ คำ�ที่เกย่ี วกบั ส่ิงของเคร่อื งใช้ทีเ่ รารับมาจากชาวจนี เช่น ตะหลวิ ตึก เกา้ อี้ เกง๋
ฮวงซุ้ย
๓. เป็นค�ำ ทเ่ี กีย่ วกับการค้าและการจัดระบบทางการคา้ เช่น เจง๋ บ๋วย หนุ้ หา้ ง โสหุ้ย
เปน็ ตน้
๔. เปน็ คำ�ที่ใชว้ รรณยุกต์ตรี จัตวา เปน็ สว่ นมาก เชน่ กวยจั๊บ กยุ๊ เก๊ เกก๊ ก๋ง ตนุ๋ เปน็ ต้น

ตวั อย่างค�ำ ทับศพั ทภ์ าษาจนี ที่มีใช้ในภาษาไทย ๑๑

กงสี กงฉิน กงไฉ่ กงเต็ก
ก๋วยเต๋ียว ก๋วยจั๊บ เกาหลา กุ๊ย
เก ๊ เก๊ะ เกี๊ยะ เกก๊
เก๊ยี ว เกย๊ี ะ กุยเฮง กง๋
เก้าอี้ ขาก๊วย เขง่ จบั กัง
จบั ฉ่าย จับย่กี ี จันอบั เจ๊ง
เจีย๋ น เจ เจ๊า โจ๊ก
เฉาก๊วย โชหว่ ย เซง้ เซยี น
แซ่ แซยดิ เซง็ ลี้ ซาลาเปา
ซ้มิ เซียมซี ตะหลวิ เต๋า
ตั้วโผ ตุน ตุน๋ แตะ๊ เอีย
เตา้ หู้ เต้าฮวย เตา้ เจย้ี ว โตะ๊
ไต้ก๋ง ตังเก บ๊วย บะฉ่อ
บะหม่ี บู๊ ปงุ้ ก๋ี ปอเป๊ยี ะ
แปะ๊ เจ๊ียะ พะโล้ เย็นตาโฟ หวย
ย่หี อ้ ลิน้ จ่ี ห้าง หนุ้
โสหุ้ย อั้งโล่ เอีย๊ ม เฮง
เฮีย เฮงซวย ฮวงซยุ้ ฮ่องเต้

๑๒

แบบฝกึ หัด

ตอนที่ ๑ จงอา่ นเน้ือเรือ่ งที่ให้ต่อไปน้พี รอ้ มทั้งขดี เส้นใตค้ ำ�ยืมภาษาจีนท่ีปรากฏ


“ต๋ีน้อย” เป็นลกู ชายเพียงคนเดียวของครอบครัวมังกรคำ�ราม ทุกปิดเทอมใหญ่ แม่ของต๋ีน้อย

จะสง่ เขาไปอยูก่ บั อากงและอาม่า เพ่ือช่วยขายของท่รี า้ นโชห่วยขนาดใหญซ่ งึ่ เปน็ กจิ การเก่าแกข่ อง
ครอบครัวท่สี ืบทอดกนั มายาวนาน อามา่ ใจดีและตามใจตนี๋ อ้ ยมาก เขาจะเฝ้ารอใหถ้ ึงเวลาปิดเทอมเรว็ ๆ
เพอ่ื ท่จี ะไดไ้ ปอยู่กับอากงอามา่
ทกุ ๆ เชา้ ต๋ีน้อยจงึ มหี น้าท่ไี ปซ้อื โอเลย้ี งและปาทอ่ งโกใ๋ ห้อากงอาม่ารองทอ้ งในตอนเชา้ จากนน้ั

ก็เลอื กซอ้ื ของกินของตวั เองตามใจชอบ เชา้ นี้ต๋ีน้อยซ้ือซาลาเปาและน�ำ ้ เตา้ ห้มู ากนิ รองท้องตอนเชา้ และ

ช่วยเชด็ โตะ๊ เก้าอ้ี จดั ของท่ีรา้ น ก่อนทีอ่ ามา่ จะทำ�กบั ขา้ วเสรจ็ อาหารเชา้ วันน้อี ามา่ ทำ�ต้มจบั ฉา่ ย เพราะ
อากงฟนั ไม่ค่อยดี ต้องทานอาหารออ่ น ๆ
ต๋นี ้อยเปน็ คนคลอ่ งแคล่วว่องไว ตลอดทัง้ วนั ท่เี ปดิ รา้ นตี๋น้อยจะคอยชว่ ยขายของท่ีร้าน ต๋ีนอ้ ยจะ
เปน็ คนท่ีหยบิ ของใหล้ กู ค้าอยา่ งรวดเร็วอยู่เสมอ ตน๋ี อ้ ยคิดเลขคลอ่ งมาก อามา่ จงึ มีหน้าที่เพยี งน่งั ทโี่ ต๊ะ
ประจ�ำ การและคอยหยิบเงินทอนตามทตี่ นี๋ ้อยบอกจากเก๊ะเท่านัน้
อากงจะรับหนา้ ทีเ่ ป็นคนไปซื้ออาหารกลางวันมาบริการทุกคน วันนี้ตีน๋ อ้ ยเลอื กกวยจบั๊ เป็น
อาหารกลางวนั สว่ นอามา่ และอากงกนิ กว๋ ยเต๋ยี วบะหมี่ตม้ ยำ� อากงจะซือ้ ขนมหวานมาตบท้ายมือ้ อาหาร
ทกุ ครั้ง อยา่ งวนั น้อี ากงก็ซอ้ื กินเฉากว๊ ยมาให้ทกุ คนกินกัน
ต๋ีน้อยรสู้ ึกว่าแตล่ ะวนั ผา่ นไปอยา่ งรวดเรว็ และรูส้ ึกไม่อยากเปิดเทอมทุกครง้ั ทไ่ี ดม้ าอยู่กบั อากง
อาม่า เพราะต๋นี อ้ ยเป็นเด็กเพียงคนเดียวเม่อื อย่ทู ี่บา้ นของตวั เอง แต่เมือ่ อยกู่ ับอากงอามา่ ตน๋ี ้อยรสู้ ึกสนกุ
ท่ีไดช้ ่วยงานอากงอามา ไดฝ้ ึกคดิ เลข ได้ฟงั อากงอามา่ เล่าเรื่องราวสมัยหยังหนมุ่ สาว จงึ เหมอื นมเี พอ่ื น
เล่น ดีกว่าอยบู่ ้านคนเดียวและตอ้ งรอพ่อและแมท่ ท่ี �ำ งานเลิกดึก

๑๓

ตอนที่ ๒ ให้นกั เรียนพิจารณาความหมายทางขาวมือ แล้วนำ�ตัวอกั ษรมาเขยี นเตมิ ลงใน
ชอ่ งวา่ งหนา้ ค�ำ ยมื ภาษาจนี ท่ีใช้ในภาษาไทยให้ถกู ตอ้ ง (ค้นควา้ จากพจนานุกรม ฉบบั
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒)

….…. ๑. กงส ี ก. เคร่อื งหมายส�ำ หรบั ร้านค้าหรอื การค้า
….…. ๒. เกาเหลา ข. สถานที่จ�ำ หนา่ ยสินค้า, สถานที่ประกอบธุรกิจ
….…. ๓. เก ๊ ค. ภาชนะสานอยา่ งหนึง่ มรี ปู และขนาดตา่ ง ๆ
….…. ๔. เขง่ ฆ. เรียกลกู บาศกส์ ำ�หรบั ทอดหรือเขยา่ นับแต้มเล่นการพนนั
….…. ๕. ตะหลิว ง. ช่ืออาหารอยา่ งจีนชนิดหนง่ึ ทีใ่ สผ่ ักหลาย ๆ อย่าง
….…. ๖. บะหมี ่ จ. ของกองกลางทใี่ ช้รวมกันส�ำ หรบั คนหม่หู นง่ึ ๆ
….…. ๗. เตา๋ ฉ. คนเลว, คนไม่สภุ าพไรม้ ารยาท
….…. ๘. ย่หี ้อ ช. แกงมลี กั ษณะอยา่ งแกงจืด, กว๋ ยเตีย๋ วทไี่ ม่ใส่เสน้
….…. ๙. ห้าง ซ. เคร่ืองมอื ท�ำ ดว้ ยเหล็ก ใช้แซะหรือตักของที่ทอดหรือผดั ใน
กระทะ

๑๔

….…. 11. จบั ฉ่าย ญ. กรรมกร, ผใู้ ชแ้ รงงาน, ใชเ้ รียกผรู้ ับจา้ งทำ�งานต่าง ๆ
….…. 12. แซยดิ ฎ. ปลอมหรอื เลยี นแบบเพอื่ ใหห้ ลงผดิ ว่าเปน็ ของแท้
….…. 13. โชหว่ ย ฏ. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทำ�ดว้ ยแปง้ สาลี เป็นเส้นเล็ก ๆ มีสเี หลือง
….…. 14. จันอบั ฐ. ส่วนที่ลงทุนเท่ากันในการคา้ ขายเป็นต้น.
….…. 15. อ้ังโล่ ฑ. ท�ำ ให้สุกด้วยดโดยเอาของใส่ภาชนะวางในภาชนะที่มนี ้ําเดือด
แล้วเอาฝาครอบ
….…. 16. หนุ้ ฒ. ของชำ�, รา้ นขายของชำ�.
….…. 17. เกย๊ี ะ ณ. ช่อื ขนมหวานอย่างแห้งของจนี มหี ลายอย่างรวมกนั
….…. 18. จับกงั ด. ค่าใช้จ่าย
…….. 19. ก๊ยุ ต. วนั ทมี่ ีอายคุ รบ ๕ รอบนกั ษัตร คอื ๖๐ ปีบรบิ รู ณ์ตามคติของ
จนี
….…. 20. โสหยุ้ ถ. เกือกไมแ้ บบจีน

๑๕

๑๖

คำ�ยมื ภาษาญีป่ ุ่นในภาษาไทย

ความสัมพันธป์ ระเทศไทยกับประเทศญ่ปี ่นุ

ประเทศญ่ีปุ่นเร่ิมติดต่อสัมพันธ์กับประเทศไทยอย่างเป็นทางการในสมัยสมเด็จพระ
เอกาทศรถ แหง่ กรุงศรีอยุธยา โดยมีโชกนุ อเิ ยยาสุ ประกาศอนญุ าตใหช้ าวไปทยไปท�ำ การค้า
ยังประเทศญป่ี นุ่ โดยเสรี คนญี่ปยุ่ ที่เขา้ มาค้าขายกไ็ ดเ้ ขา้ มาตัง้ บา้ นเรอื นรอบนอกกรงุ ศรอี ยุธยา
ปจั จบุ นั เรียกบรเิ วณน้นั บ้านญีป่ ุ่น
ในสมยั สงครามโลกครั้งท่ี ๒ ญีป่ นุ่ ได้อาศัยประเทศไทยเปน็ ทางผ่านไปยดึ ครองพม่า ใน
สมัยนน้ั รฐั บาลไทยให้ความรว่ มมอื เปน็ อย่างดจี นมีศพั ท์สแลงเรยี กคนญ่ปี ุน่ วา่ “ยุ่นป่”ี ลลิตา
โชตริ งั สียากุล กลา่ วไวใ้ นวารสารดวงแกว้ ไว้วา่ คำ�ว่า “ญ่ีปุน่ ” ในภาษาไทยดัดแปลงมาจากคำ�
ว่า หยิกป้งึ ในภาษาจีนแต้จิ๋ว หรือ ยิดปุ้น ในภาษาจีนฮกเก้ยี น เพราะในสมยั ที่ญีป่ นุ่ อพยพเข้า
มาคา้ ขายกับไทยนั้น ชาวจนี ก็อพยพมาอย่ใู นกรุงศรอี ยธุ ยาด้วย

ลักษณะคำ�ยืมภาษาญี่ปนุ่ ในภาษาไทย

๑. เปน็ คำ�ทบั ศัพท์ คือ ออกเสยี งตรงตามค�ำ เดมิ ในภาษาญี่ปนุ่ อาจมีการปรับ
เสยี งบา้ งเล็กนอ้ ย เพอ่ื ให้สะดวกในการออกเสยี ง
๒. ภาษาญ่ีปนุ่ เป็นภาษาทม่ี กั ไมป่ รากฏรูปวรรณยุกต์ในภาษาไทย

คำ�ยมื ภาษาญีป่ ่นุ ทีม่ ใี นภาษาไทย

คำ�ยมื ภาษาญปี่ ุ่นทม่ี ีใช้ในภาษาไทยจะพบไม่มากนัก สว่ นใหญม่ ักจะเปน็ ชอื่ อาหารและ
ช่ือกฬี า ดังตัวอย่างคำ�ยมื ภาษาญี่ปุน่ ท่พี บในชีวิตประจ�ำ วนั ดังตอ่ ไปนี้
๑. ค�ำ ทเ่ี ก่ียวกบั อาหาร เช่น
โชยุ หมายถึง น�ำ้ ซอี ๊วิ ญ่ีปุ่น
ซาบะ หมายถงึ ชอ่ื ปลาชนิดหนึง่

๑๗

ซูช ิ หมายถงึ ข้าวปัน้ , เป็นอาหารญ่ปี นุ่
เทมปรุ ะ หมายถงึ กงุ้ ชุบแป้งทอด
โมจ ิ หมายถงึ ขนมญ่ปี ่นุ ชนดิ หนึ่ง น�ำ ขา้ วเหนยี วมาตำ�เป็น
กอ้ น ๆ สดี ำ�ๆ
ยากโิ ซบะ หมายถงึ หมีผ่ ดั
สาเก หมายถงึ ชอ่ื เหลา้ ชนดิ หน่ึงของญี่ปุน่
สุกยี าก้ี หมายถงึ ชอื่ อาหารญี่ปุ่นชนิดหนึง่
ปิ่นโต หมายถึง ขา้ วกลอ่ ง มาจากคำ�ว่าเบนโตะ

๒. ค�ำ ทเ่ี กย่ี วกับกีฬาและศลิ ปะการต่อสปู้ ้องกนั ตัว เชน่
คาราเต ้ หมายถงึ ศิลปะการต่อสูด้ ้วยมอื เปลา่ โดยใช้
อวัยวะต่าง ๆ
เคนโด้ หมายถึง ศลิ ปะการต่อสูป้ อ้ งกนั ตวั ประเภทหนง่ึ
ซูโม่ หมายถึง มวยปลำ้�ของญี่ป่นุ
ยวิ ยิตสู หมายถึง วิชาปอ้ งกนั ตัวประเภทหน่งึ
ยูโด หมายถงึ กีฬาทเี่ ปน็ ศลิ ปะการตอ่ สูป้ ้องกันตัว
ญ่ีปุ่น

๑๘

๓. คำ�เบด็ เตลด็ เชน่
กโิ มโน หมายถึง ชุดแต่งการประจำ�ชาติญ่ีปนุ่
เกอิชา หมายถงึ ผหู้ ญงิ ญีป่ นุ่ ที่มศี ลิ ปะและวชิ าชพี ในการ
ปรนนบิ ตั ิผู้ชาย
กำ�มะลอ หมายถึง เรียกการหลงรักแบบญปี่ ุ่น
ชนิ โต หมายถงึ ศาสนาด้ังเดิมของญป่ี ุ่น
โชกนุ หมายถึง ช่อื ส้มชนิดหน่ึง
ซากรุ ะ หมายถึง ดอกไม้ประจ�ำ ชาติญี่ปุน่
ซาโยนาระ หมายถงึ ลากอ่ น
เซน หมายถงึ นิกายหนึง่ ในพระพทุ ธศาสนาญ่ปี ่นุ
ฮาราคีร ิ หมายถึง การฆ่าตวั ตายของทหารหน่วยกล้าตายของ

๑๙

แบบฝกึ หดั

คำ�สัง่ ให้นักเรียนขดี เสน้ ใต้ค�ำ ทม่ี าจากภาษาญีป่ ่นุ จากขอ้ ความต่อไปน ้ี

ประเทศญี่ปนุ่ เป็นประเทศในฝันประเทศหน่ึงของนกั เดนิ ทางทั่วโลก ในปจั จุบนั คนไทย
จ�ำ นวนมากใหค้ วามสนใจในการเดนิ ทางไปทอ่ งเที่ยวที่ญีป่ ุ่น
“มาน”ี วัยรุน่ สาวนกั เดนิ ทางจากประเทศไทยก็เปน็ คนหน่งึ ท่ฝี ันอยากจะไปทอ่ งเที่ยว
ยงั ประเทศในฝนั แหง่ น้ี มานีวางแผนการเดนิ ทางล่วงหนา้ เกือบปี ส�ำ หรบั ทริปทอ่ งเทยี่ วตาม
ความฝันคร้ังนี้ เธอมงุ่ ม่ันตงั้ ใจทำ�งานพเิ ศษ เพ่ือเกบ็ เงินไปเท่ียวยงั ประเทศญีป่ ุ่นดงั ทตี่ ั้งใจไว้
มานียืนอยู่ ณ ถนนเส้นหน่งึ เธอสวมชดุ กิโมโนสีชมพูหวานลายดอกซากุระ ใชแ่ ลว้ หละ
ตอนนมี้ านีอยใู่ นเมอื งเกยี วโต ประเทศญ่ปี ่นุ ตอนนเ้ี ธอหิวมาก แต่กำ�ลงั เถยี งกบั “มานะ”
เพ่ือนรว่ มทางในคร้งั นวี้ ่าจะเลือกร้านไหนดี มานอี ยากกินสกุ ียากี้ แต่มานะอยากกนิ ข้าวหน้า
ปลาซาบะ ทั้งสองยืนเถยี งกันอยู่นานมากแล้วจงึ จดั สินใจเปา่ ยิงฉุบ เพอ่ื เปน็ การหาทางออก ผล
ของการเปา่ ยิงฉบุ คือ มานะชนะ มานีจงึ ต้องเดนิ ตามมานะเข้ารา้ นอาหารไปโดยปรยิ าย
เม่ือเดินเข้าไปในรา้ น มีเกอิชาเดนิ ออกมาต้อนรบั ทัง้ คู่ดว้ ยใบหน้ายมิ้ แยม้ และแนะนำ�
เมนตู ่าง ๆ ใหท้ ้ังสองคนได้ฟัง ร้านอาหารตามส่งั ร้านน้ีมเี มนูให้เลอื กหลากหลาย ไม่วา่ จะเปน็
ข้าวหนา้ ปลาซาบะทีม่ านะอยากกิน ซชู หิ นา้ ต่าง ๆ เทมปรุ ะ ยากโิ ซบะ ทาโกะยากิ รวมถึงสกุ ี
ยากห้ี มอ้ ไฟขนาดเล็กสำ�หรบั ทานคนเดยี ว ท้ังมานแี ละมานะไมล่ ังเลทจ่ี ะสงั่ เมนทู ่ีตัวเองคิดไว้
อยา่ งรวดเร็ว เวลาผ่านไปไม่นาน อาหารท่ีอยูต่ รงหนา้ กห็ มดลงอยา่ งรวดเร็ว ไมร่ วู้ ่าด้วยความ
หวิ หรือความอร่อยกนั แน่
ทั้งสองคนเดินออกจากร้านอาหารไปยงั สถานรี ถไฟเพือ่ กลับทพี่ ัก ภายในสถานรี ถไฟมี
รา้ นขายขนมใหเ้ ลอื กมากมาย มานีเดินดขู นมอยหู่ ลายร้านและหยุดลงทีร่ ้านโมจทิ คี่ นต่อแถว
ยาวเหยยี ด มานีคิดว่าต้องอรอ่ ยแน่ ๆ จงึ ชวนมานะหยดุ เดนิ แลว้ ต่อแถว มานะท�ำ ท่าอดิ ออด
แตม่ านีบอกวา่ มานะไดเ้ ลือกร้านอาหารตามใจชอบแลว้ คร้งั นข้ี อใหม้ านะตามใจมานบี า้ ง
รู้ตัวอกี ทมี านะก็ยืนกนิ ขนมโมจริ ะหว่างทีร่ อรถไฟซะแล้ว..

๒๐

๒๑

๒๒

คำ�ยมื ภาษาชวาและมลายใู นภาษาไทย

ภาษาชวาและมลายูในภาษาไทย

นกั มานษุ ยวทิ ยาหลายคนกลา่ วว่า เดิมภาษาชวาและภาษามลายเู ปน็ ภาษาเดียวกัน
สองชาตนิ ใี้ ชภ้ าษามลายูรว่ มกนั มากอ่ น ดังน้ันจงึ มหี ลายค�ำ ทภ่ี าษาชวาและภาษามลายูใชต้ รง
กัน เพยี งแตอ่ าจมีส�ำ เนียงแตกตา่ งกนั ไปบา้ ง โดยคำ�ภาษาชวาและมลายทู ีป่ รากฏเป็นค�ำ ยืมใน
ภาษาไทยนน้ั อาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภทตามทม่ี าของการยืม

วิธสี งั เกตค�ำ ยมื ภาษาชวา-มลายใู นประเทศไทย

คำ�ยืมสว่ นใหญ่เป็นค�ำ ๒ พยางค์หรือมากกว่า คำ�ที่ปรากฏในภาษาไทยสว่ นมาก
จะเปน็ ค�ำ ท่ีหมายถงึ พืช สัตว์ ส่งิ ของ สถานที่ และศลิ ปวฒั นธรรม รวมทัง้ ค�ำ กรยิ าบางค�ำ
๑. คำ�ทีห่ มายถึงพชื

๒๓

๒. คำ�ทห่ี มายถึงสัตว์
๓. ค�ำ ที่หมายถงึ สิง่ ของ
๔. ค�ำ ที่หมายถึงสถานท่ี

๒๔


คำ�ยืมภาษาชวา-มลายูส่วนหนึ่งมาจากวรรณคดีไทยเร่ืองดาหลังและอิเหนา
จงึ มีคำ�หลายค�ำ กลายเปน็ คำ�ยืมท่คี นไทยร้จู ัก และใชก้ ันอย่ใู นทั้งภาษาปัจจบุ นั และในค�ำ
ประพนั ธ์ ร้อยกรองอื่นๆ บางค�ำ ใชเ้ ป็นชื่อบคุ คล เชน่
กระยาหงัน (วมิ าน, ชน้ั ฟา้ ) ดะหมัง (เสนา)
บหุ ลนั (ดวงเดือน, พระจนั ทร)์ มะงมุ มะงาหรา (เทีย่ วปา่ )
บุหรง (นก, นกยงู ) ปะตาปา (นักบวช)
อีกท้งั ยงั มคี ำ�ยืมภาษาชวา-มลายู ท่รี บั มาใชใ้ นภาษาไทย เชน่
กระจูด (ชือ่ พรรณไม้ ใช้สานเส่ือหรือกระสอบ)
น้อยหน่า (ชอื่ ต้นไม้ ผลขรุขระเปน็ ปุ่มๆ รสหวาน)
กดิ าหยัน (มหาดเล็ก)
พันตู (ต่อส้ใู นตอนประชิดตดิ พนั กนั )
ยเ่ี ก (การละเล่นชนดิ หนง่ึ มาจากชาวมลายู)
สลดั (โจรซงึ่ ปลน้ เรอื กลางทะเล)

๒๕

แบบฝกึ หัด
ค�ำ สง่ั ให้นกั เรียนขีดเส้นใตค้ ำ�ท่ีมาจากภาษาชวามลายจู ากข้อความต่อไปน

“กล่าวถงึ กษตั รยิ ์วงศเ์ ทวา ๔ องค์ มีนามตามชอ่ื กรงุ ทคี่ รองราชย์ คือ กเุ รปัน ดาหา กาหลงั และ

สิงหัดส่าหรี ยงั มนี ครหมันหยาซึ่งเก่ยี วดองเป็นญาติกนั กับนครเหลา่ นี้ กษัตริยแ์ ห่งวงศ์เทวามีมเหสี ๕
องคเ์ รียงล�ำ ดบั ตามต�ำ แหนง่ ดงั นี้ ประไหมสุหรี มะเดหวี มะโต ลิกู และเหมาหลาหงี ตอ่ มาท้าวกเุ รปนั ได้
โอรสกับมเหสเี อก ซ่งึ โอรสองคน์ มี้ วี าสนาสูง องค์ปะตาระกาหลา ซึ่งเปน็ ตน้ วงศเ์ ทวาอยบู่ นสวรรค์ไดน้ ำ�
กริชวิเศษลงมาให้ พร้อมจารึกช่ือไว้บนกริช จงึ ไดช้ ่อื วา่ อเิ หนา ท้าวหมันหยาได้ธดิ ากบั มเหสเี อกชอ่ื จินต
ะหราวาตี และท้าวดาหาได้ธดิ ากบั มเหสีเอกของตนเชน่ เดยี วกันช่ือวา่ บษุ บา ทา้ วกุเรปนั ได้ขอตุนาหงนั
บุษบาใหแ้ กอ่ ิเหนา เพื่อเปน็ การสบื ราชประเพณ ี ส่วนอเิ หนาเติบโตเป็นเจ้าชายรปู งาม ช�ำ นาญการ
ใช้กริช ครน้ั เมอื่ พระอัยกีเมืองหมันหยาสน้ิ พระชนม์ อเิ หนาไดไ้ ปในงานปลงพระศพแทนพระบดิ าและ
พระมารดาซึ่งทรงครรภแ์ ก่ ได้ไปพบนางจนิ ตะหราก็หลงรัก และไดน้ างเป็นชายา โดยไม่ฟังค�ำ ทดั ทาน
จากท้าวกเุ รปัน และไดบ้ อกเลกิ ตุหนาหงันนางบษุ บาเสยี เฉยๆ ท�ำ ให้ทา้ วดาหาขดั เคืองพระทัยมาก”

๒๖

๒๗

๒๘

คำ�ยืมภาษาเปอร์เซยี ในภาษาไทย

ความสมั พันธป์ ระเทศไทยกบั ประเทศเปอรเ์ ซีย

จากหลกั ฐานทางด้านประวตั ศิ าสตร์ ชาวเปอรเ์ ซียไดเ้ ขา้ มาตดิ ต่อคา้ ขายกบั ไทยตงั้ แต่
สมัยสมเดก็ พระบรมไตรโลกนารถ ซงึ่ มชี ่ือเรยี กเปน็ ท่ีร้จู ักกันทั่วไปวา่ “แขกเทศ” มคี วามคุ้น
เคยกับราชส�ำ นกั ของไทย เป็นที่ไว้วางพระราชหฤทยั เข้ารบั ราชการทำ�หนา้ ที่ดแู ลการคา้ ขาย
ของไทยกับชาวต่างชาติ พวกแขกเทศได้ต้งั ถน่ิ ฐาน ทัง้ ตง้ั แตส่ มัยกรุงศรอี ยุธยาเป็นต้นมา

ลกั ษณะค�ำ ยืมภาษาเปอร์เซยี ในภาษาไทย

ค�ำ ยืมภาษาเปอรเ์ ซยี ทป่ี รากฏในภาษาไทยเป็นค�ำ ทับศพั ท์ มีออกเสยี งเพี้ยนบา้ งเพื่อ
ความสะดวกในการออกเสียงของคนไทย

ค�ำ ยืมภาษาเปอรเ์ ซียทม่ี ใี นภาษาไทย ลกู เรือ
ไม้ขนาดยอ่ ม มีดอกหอม
กะลาส ี หมายถึง ลกู องนุ่ แหง้ ชนิดหน่งึ
กหุ ลาบ หมายถงึ ผา้ ที่ทอควบกับทองแล่งเปน็ รว้ิ ๆ ตามยาว
เกด หมายถงึ หมู่คนหรือยานพาหนะเป็นต้นซง่ึ เดนิ ทาง
เขม้ ขาบ หมายถึง ไกลร่วมกันเปน็ ขบวนยาว
คาราวาน หมายถึง ฐานส่วนล่างท่ีเปน็ สว่ นรองรบั รัตนบัลลังกท์ ่ี
ประดษิ ฐานพระพุทธรูป
ชกุ ชี หมายถงึ สงิ่ ปลกู สรา้ งซง่ึ มีหลงั คา ไม่มีหนา้ จวั่
ผ้าทท่ี อด้วยไหมควบกับเงินแล่งหรือทองแล่ง
ปั้นหยา หมายถึง จำ�นวนเท่ากนั
ตาด หมายถึง

๒๙

ตรา หมายถึง เครื่องหมายที่ทำ�เป็นรปู ตา่ งๆสำ�หรบั ประทับเป็น
สำ�คญั
ตราชู หมายถึง เครื่องชั่งท่มี ีตราสองขา้ ง
บัดกรี หมายถึง การเช่อื มโลหะดว้ ยตะก่วั รอ้ น
ปสาน หมายถงึ ตลาดท่ขี ายของ
ฝรงั่ หมายถึง ชาวตะวนั ตก
ย�่ำ มะหวด หมายถึง ผ้าขนสตั ว์บาง ๆ ทีเ่ ปน็ ดอก
เยียรบับ หมายถึง ผา้ ที่ทอดว้ ยใหมย่ กดอกเงนิ หรอื ทอง
ราชาวดี หมายถึง การลงยาชนดิ หน่ึงสำ�หรับเคลอื บทองใหเ้ ป็นสิง่ ตา่ ง ๆ
สรั่ง หมายถึง หวั หน้าพวกกะลาสี
สนม หมายถึง หญงิ ฝ่ายใน
สกั หลาด หมายถึง ผา้ ทำ�ด้วยขนสตั ว์
สา่ น หมายถงึ ผา้ ขนสัตว์โบราณ
สุหร่าย หมายถึง เคร่อื งโปรยนาํ้ คล้ายภาชนะกรวดน้�ำ คอสูง ปากมจี กุ
ปิดและเจาะรอู ยา่ งฝักบวั
องนุ่ หมายถงึ ชื่อไมเ้ ถาชนิดหน่ึง ผลกนิ ได้

๓๐

แบบฝกึ หดั

ตอนที่ ๑ ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาความหมายทางขาวมอื แล้วนำ�ตวั อักษรมาเขยี นเตมิ ลงในชอ่ ง
วา่ งหนา้ คำ�ยืมภาษาจนี ท่ีใช้ในภาษาไทยใหถ้ กู ตอ้ ง (คน้ คว้าจากพจนานุกรมฉบับราชบณั
ฑติ ยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒)

….…. ๑. กะลาส ี ก. ฐานสว่ นลา่ งทเ่ี ปน็ ส่วนรองรบั รตั นบัลลงั กท์ ่ปี ระดษิ ฐาน
พระพุทธรปู
….…. ๒. กุหลาบ ข. สงิ่ ปลกู สรา้ งซง่ึ มีหลังคา ไมม่ ีหนา้ จั่ว
….…. ๓ เขม้ ขาบ ค. ชาวตะวันตก
….…. ๔. คาราวาน ฆ. เครื่องหมาท่ีท�ำ เปน็ รูปตา่ ง ๆ สำ�หรบั ประทับเป็นสำ�คัญ
….…. ๕. ชุกชี ง. ผา้ ท่ีทอควบกับทองแลง่ เปน็ รวิ้ ๆ ตามยาว
….…. ๖. ป้ันหยา จ. หญงิ ฝ่ายใน
….…. ๗. ตาด ฉ. กองเกวยี น, ขบวนรถหมู่คนหรือยานพาหนะเป็นต้นซึ่ง
เดนิ ทางไกลรว่ มกนั เปน็ ขบวนยาว
….…. ๘. ตรา ช. ไมข้ นาดย่อม มดี อกหอม
….…. ๙. ปสาน ซ. ผ้าท่ีทอดว้ ยใหม่ยกดอกเงนิ หรอื ทอง
….…. ๑๐. บดั กรี ฌ. ตลาดท่ีขายของ
….…. ๑๑. ฝร่ัง ญ.ผ้าท่ที อด้วยไหมควบกับเงนิ แลง่ หรือทองแลง่ จำ�นวนเทา่
กัน
….…. ๑๒. เยยี รบบั ฎ. ลูกเรือ
….…. ๑๓. สนม ฏ. การเช่อื มโลหะด้วยตะกว่ั ร้อน
….…. ๑๔. สุหรา่ ย ฐ. ผ้าขนสตั ว์โบราณ
….…. ๑๕. ส่าน ฑ. เครื่องโปรยนา้ํ คลา้ ยภาชนะกรวดนำ�้ คอสูง ปากมีจกุ ปดิ
และเจาะรอู ยา่ งฝักบัว

๓๑

ตอนที่ ๒ จงเตมิ ความหมายของคำ�ดังต่อไปนแ้ี ละยกตัวอย่างมาคำ�ละ 2 ประโยค
๑. กะลาสี
ประโยคที่ ๑ : …………………………………………………………………………………………………………………
ประโยคท่ี ๒ : …………………………………………………………………………………………………………………
๒. คาราวาน
ประโยคท่ี ๑ : …………………………………………………………………………………………………………………
ประโยคที่ ๒ : …………………………………………………………………………………………………………………
๓. ตรา
ประโยคที่ ๑ : …………………………………………………………………………………………………………………
ประโยคท่ี ๒ : …………………………………………………………………………………………………………………
๔. ฝร่งั
ประโยคท่ี ๑ : …………………………………………………………………………………………………………………
ประโยคที่ ๒ : …………………………………………………………………………………………………………………
๕. สกั หลาด
ประโยคที่ ๑ : …………………………………………………………………………………………………………………
ประโยคที่ ๒ : …………………………………………………………………………………………………………………

๓๒

๓๓

๓๔

คำ�ยมื ภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย

ภาษาบาลแี ละสนั สกฤตในภาษาไทย

ในภาษาไทยมคี �ำ จำ�นวนมากที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต ภาษาบาลีและ
ภาษาสนั สกฤตนัน้ ไมใ่ ช่ภาษาเดียวกัน แต่เปน็ ภาษาท่ีอยูใ่ นตระกลู ภาษาเดยี ว จงึ มลี กั ษณะที่
คลา้ ยคลึงกนั แตก่ ม็ จี ุดสงั เกตท�ำ ใหส้ ามารถจ�ำ แนกภาษาทั้งสองออกจากกนั ได้
ภาษาบาลแี ละสันสกฤตมีหนว่ ยเสียง ๒ ประเภท คือ หนว่ ยเสียงสระและหนว่ ยเสยี ง
พยัญชนะ ดงั น้ี

๑. หนว่ ยเสยี งสระ

๑. หนว่ ยเสยี งสระภาษาบาลีมี 8 หน่วยเสยี ง คอื อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
๒. หนว่ ยเสยี งภาษาสันสกฤตมี 14 หนว่ ยเสยี ง คอื อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦๅ
ข้อสงั เกต หนว่ ยเสียงภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลี 8 หน่วยเสียง คอื อะ อา
อิ อี อุ อู เอ โอ และเพมิ่ มาจากภาษาบาลีอกี 6 หนว่ ยเสยี ง คือ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦๅ

๒. หน่วยเสียงพยัญชนะ

๑. หน่วยเสยี งพยญั ชนะภาษาบาลมี ี 33 หน่วยเสียง โดยแบ่งเป็นวรรค 5
วรรค และเศษวรรค ดงั นี้
วรรค กะ ก ข ค ฆ ง
วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรค ตะ ต ถ ท ธ น
วรรค ปะ ป ผ พ ภ ม

เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อํ

๓๕

๒. หน่วยเสยี งพยัญชนะภาษาสนั สกฤตมี 35 หนว่ ยเสียง เพ่ิมหน่วยเสียง
ศ ษ ในเศษวรรค

วิธีสงั เกตคำ�บาลี

๑. สงั เกตจากพยญั ชนะตัวสะกดและตัวตาม
ตัวสะกด คือ พยัญชนะทป่ี ระกอบอยขู่ า้ งทา้ ยสระ ประสมกับสระและ
พยัญชนะต้น เชน่ ทุกข์ (ก = ตวั สะกด)
ตวั ตาม คอื ตวั ท่ีตามหลังตวั สะกด เชน่ สตั ย สจั จ ทกุ ข เปน็ ตน้
ค�ำ ในภาษาบาลจี ะตอ้ งมีตัวสะกดและตัวตามเสมอ โดยดูจากพยญั ชนะวรรคดังน้ ี
แถว
วรรค ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
วรรค กะ ก ข ค ฆ ง
วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรค ตะ ต ถ ท ธ น
วรรค ปะ ป ผ พ ภ ม
เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อํ
โดยมหี ลักสังเกตตวั สะกดดังน้ี
๑) ตัวสะกดต้องเปน็ พยัญชนะตวั ท่ี ๑ ๓ ๕ เทา่ น้ัน
๒) ถ้าพยญั ชนะตัวที่ ๑ สะกด พยัญชนะตวั ท่ี ๑ หรอื พยัญชนะตวั ที่ ๒ ในวรรค
เดียวกัน เปน็ ตวั ตามได้ เชน่ สักกะ ทกุ ข สัจจ ปัจฉิม สัตต หตั ถ บปุ ผา เป็นต้น
๓) ถ้าพยญั ชนะตัวท่ี ๓ สะกด พยญั ชนะตัวท่ี ๓ หรือพยัญชนะตวั ที่ ๔
ในวรรคเดียวกัน เป็นตวั ตามได้ เชน่ อัคคี พยคั ฆ์ วชิ ชา อัชฌา พทุ ธ คัพภ (ครรภ์)

๓๖

๔) ถ้าพยญั ชนะตัวที่ ๕ สะกด พยัญชนะทกุ ตวั ในวรรคเดยี วกันเปน็ ตวั ตามได้ เช่น
องค์ สังข์ องค์ สงฆ์ สมั ปทาน สัมผสั สมั พันธ์ สมภาร เปน็ ตน้
๕) พยัญชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยใู่ นวรรคเดยี วกันเท่านั้นจะข้ามไปวรรคอื่น
ไม่ได้
๒. สงั เกตจากพยัญชนะ “ฬ” จะมีใช้ในภาษาบาลใี นไทยเทา่ นน้ั เช่น จฬุ า ครฬุ
อาสาฬห์ วฬิ าร์ โอฬาร์ พาฬ เปน็ ตน้
๓. สังเกตจากตวั ตามในภาษาบาลี จะมาเป็นตัวสะกดในภาษาไทยโดยเฉพาะวรรค ฎ
และวรรคอืน่ ๆ บางตัว จะตัดตัวสะกดออกเหลอื แต่ตัวตามเมือ่ น�ำ มาใช้ในภาษาไทย เชน่
บาลี ไทย บาล ี ไทย
รฎั ฐ รฐั อฎั ฐิ อฐั ิ
ทิฎฐ ิ ทิฐ ิ วฑั ฒนะ วฒั นะ
ปุญญ บุญ วชิ ชา วิชา
สัตต สัต เวชช เวช
กิจจ กิจ เขตต เขต
นสิ สิต นิสติ นิสสยั นสิ ยั
ยกเว้น ค�ำ โบราณทน่ี �ำ มาใช้แล้วไมต่ ดั รปู ค�ำ ซ�ำ้ ออก เช่น ศัพท์ทางศาสนา ได้แก่
วปิ ัสสนา จติ ตวิสุทธิ์กจิ จะลักษณะ เปน็ ต้น

๓๗

วธิ ีสงั เกตคำ�สนั สกฤต

๑. สงั เกตจากตัว ศ ษ เชน่ กษตั รยิ ์ ศึกษา เกษียร พฤกษ์ ศีรษะ เป็นต้น
ยกเวน้ ค�ำ ไทยบางคำ�ทใ่ี ช้เขยี นด้วยพยญั ชนะทั้ง 2 ตัวน้ี เชน่ ศอก ศึก ศอ เศร้า ศก
ดาษ กระดาษ ฝรง่ั เศส ฝีดาษ ฯลฯ
๒. ไมม่ หี ลกั การสะกดแนน่ อน ภาษาสนั สกฤตตวั สะกดตัวตามจะอยู่ขา้ มวรรคกนั ได้
ไม่กำ�หนดตายตวั เชน่ อัปสร เกษตร ปรชั ญา อกั ษร เปน็ ต้น
๓. สงั เกตจากสระ หนว่ ยเสียงสระภาษาสันสกฤตมหี นว่ ยเสียงสระท่ีเพ่ิมมาจากภาษา
บาลีอกี 6 หนว่ ยเสยี ง คือ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦๅ ดังน้นั หากมีสระเหลา่ นอี้ ย่แู ละสะกดไม่ตรงตาม
มาตราจะเปน็ ภาษาสนั สกฤต เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์ เสาร์ ไปรษณยี ์ ฤาษี คฤหาสน์ เป็นตน้
๔. สงั เกตจากพยัญชนะควบกล�้ำ ภาษาสันสกฤตมักจะมีค�ำ ควบกล้ำ�ข้างทา้ ย เช่น จกั ร
อคั ร บตุ ร สตรี ศาสตร์ จันทร์ เปน็ ตน้
๕. สังเกตจากคำ�ท่มี คี ำ�ว่า “เคราะห์” มกั จะเปน็ ภาษาสนั สกฤต เชน่ เคราะห์ พิเคราะห์
สงั เคราะห์ อนเุ คราะห์ เป็นตน้
๖. สังเกตจากค�ำ ทม่ี ี “ฑ” อยู่ เช่น จุฑา กรีฑา ครฑุ มณเฑียร จัณฑาล เป็นต้น
๗. สงั เกตจากคำ�ทมี่ ี “รร (รอหนั ) ” อยู่ เชน่ สรรค์ ธรรม์ วรรณ บรรพต ภรรยา
บรรณารักษ์ มรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เปน็ ต้น

๓๘

ลกั ษณะการยมื คำ�ภาษาบาลแี ละสันสกฤต

ภาษาบาลแี ละสนั สกฤตเปน็ ภาษาตระกลู เดียวกนั ลกั ษณะภาษาและโครงสร้างอยา่ ง
เดยี วกนั ไทยเรารบั ภาษาทง้ั สองมาใช้ พจิ ารณาได้ดงั นี้
๑. ถา้ ค�ำ ภาษาบาลแี ละสนั สกฤตคำ�ใดต่างกนั แตเ่ ม่ือออกเสียงเปน็ ภาษาไทยแลว้ ได้
เสยี งเสยี งตรงกนั เรามักเลอื กใชร้ ปู คำ�สันสกฤต เพราะภาษาสนั สกฤตเข้ามาสูภ่ าษาไทยก่อน
ภาษาบาลี เราจึงค้นุ กวา่ เช่น
บาลี สันสกฤต ไทย
กมมฺ กรฺม กรรม
จกฺก จกฺร จกั ร
๒. ถา้ เสยี งตา่ งกันเลก็ นอ้ ยแตอ่ อกเสยี งงา่ ยทั้งสองภาษา มักเลอื กใช้รปู ภาษาสนั สกฤต
มากกว่าภาษาบาลี เพราะเราคนุ้ กวา่ และเสยี งไพเราะกว่า เชน่
บาลี สนั สกฤต ไทย
ครฬุ ครฑุ ครุฑ
โสตฺถิ สวฺ สฺติ สวสั ดี
๓. ค�ำ ใดในภาษาสันสกฤตออกเสยี งยาก และภาษาบาลอี อกเสียงง่ายกวา่ จะเลือกใช้
ภาษาบาลี เช่น
บาลี สนั สกฤต ไทย
ขนฺติ กฺษานตฺ ิ ขันติ

๓๙

๔. รปู ค�ำ ภาษาบาล-ี สันสกฤตออกเสยี งตา่ งกนั เล็กน้อย แต่ออกเสยี งสะดวกท้งั ค ู่
บางทเี รานำ�มาใช้ทงั้ สองรปู ในความหมายเดียวกนั เช่น
บาลี สันสกฤต ไทย
กณหฺ า กฺฤษณฺ า กัณหา, กฤษณา
ขตฺตยิ กษฺ ตรฺ ิย ขัตติยะ, กษตั ริย์
๕. คำ�ภาษาบาล-ี สันสกฤตทอี่ อกเสยี งสะดวกทง้ั คู่ บางทเี รายืมมาใชท้ ้งั สองรปู แต่
น�ำ มาใชใ้ นความหมายที่ต่างกนั เชน่
บาลี สันสกฤต ไทย ความหมาย
กิริยา กฺริยา กริ ยิ า อาการของคน
กรยิ า ชนิดของคำ�
โทส เทฺวษ โทสะ ความโกรธ
เทวษ ความเศรา้ โศก

๔๐

ตารางเปรยี บเทยี บภาษาบาล-ี สันสกฤต

๔๑

แบบฝึกหดั
ตอนที่ ๑ จงอ่านเนอื้ เรือ่ งที่ใหต้ ่อไปนพี้ รอ้ มทง้ั ขดี เสน้ ใต้ค�ำ ยมื ภาษาบาลี-
สันสกฤตท่ปี รากฏ
เวลา 18.30 น. วนั ที่ 26 ต.ค. สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว เสดจ็ พระราชดำ�เนนิ จากพระท่นี ัง่

ทรงธรรมไปขนึ้ พระเมรุมาศ ทรงวางเครอ่ื งราชสักการะพระบรมศพ ทรงจดุ ธปู เทยี นดอกไม้
จนั ทน์ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถ
บพติ ร กองเกยี รตยิ ศทหารบก ทหารเรอื ทหารอากาศ ถวายความเคารพ วงดรุ ิยางค์บรรเลง
เพลงสรรเสรญิ พระบารมี และยิงปนื เลก็ ยาว 9 นัด พรอ้ มกนั กับทหารปืนใหญ่ยงิ ปนื ใหญ่
ถวายพระเกียรติ 21 นดั สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั เสด็จลงจากพระเมรุมาศไปประทับ ณ มุขหน้า
พระทีน่ ่งั ทรงธรรม
เมอ่ื เวลา 19.15 น. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆ
ปริณายก สมเด็จพระราชาคณะ พระบรมวงศ์ พระประมุข ประมุข พระราชวงศแ์ ละผู้แทน
รฐั บาลตา่ งประเทศ ประธานองคมนตรี นายกรัฐมนตรี องคมนตรี อดตี นายกรัฐมนตรี ประธาน
สภานิตบิ ัญญตั ิแห่งชาติ ประธานศาลฎกี า ประธานศาลรฐั ธรรมนญู ประธานคณะกรรมการ
การเลือกตัง้ ประธานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ประธานกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ ประธาน
กรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ ประธานกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน
ประธานกรรมการกิจการกระจายเสยี งกิจการโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ คณะ
รัฐมนตรี คณะทูตานทุ ูต ผนู้ ำ�ศาสนา ทยอยขึน้ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพตามลำ�ดับ

ทีม่ า : ขา่ วสด วนั ที่ 26 ตุลาคม 2560

๔๒

ตอนท่ี ๒ จงน�ำ ค�ำ ยมื ภาษาบาล-ี สันสกฤตท่ปี รากฏในตอนท่ี ๑ มาเติมลงใน
ช่องว่าง พรอ้ มทงั้ ระบวุ า่ เป็นค�ำ ยืมทม่ี าจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต

๑. ................................. มาจากภาษา .................................
๒. ................................. มาจากภาษา .................................
๓. ................................. มาจากภาษา .................................
๔. ................................. มาจากภาษา .................................
๕. ................................. มาจากภาษา .................................
๖. ................................. มาจากภาษา .................................
๗. ................................. มาจากภาษา .................................
๘. ................................. มาจากภาษา .................................
๙. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๐. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๑. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๒. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๓. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๔. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๕. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๖. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๗. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๘. ................................. มาจากภาษา .................................
๑๙. ................................. มาจากภาษา .................................
๒๐. ................................. มาจากภาษา .................................


Click to View FlipBook Version