๔๓
๔๔
คำ�ยมื ภาษาเขมรในภาษาไทย
ภาษาเขมรในภาษาไทย
ภาษาเขมรเป็นภาษาคำ�โดด จดั อยู่ในตระกูลมอญ - เขมร
ไทยกับเขมรมีความสมั พันธ์กันมาเป็นเวลาอันยาวนาน จึงท�ำ ใหม้ กี ารหยบิ ยมื ถอ้ ยค�ำ
ภาษา ของกันและกัน ไทยยืมค�ำ ภาษาเขมรมาใช้เป็นจำ�นวนมาก
ค�ำ เขมรเขา้ สู่ภาษาไทยโดยทางการเมอื ง ทางวฒั นธรรมและทาง ภมู ศิ าสตร์ เรายมื คำ�
เขมรมาใชโ้ ดย การทับศพั ท์ ทับศพั ทเ์ สียงเปล่ยี นไป และเปล่ียน เสียงเปลยี่ นความหมาย
วิธสี งั เกตค�ำ เขมร
๑. คำ�เขมรทเ่ี ปน็ ค�ำ โดดเหมือนคำ�ไทยก็มี แตเ่ ปน็ ค�ำ ทีเ่ ปน็ คำ�ศัพท์ คือ มีความหมาย
เขา้ ใจยาก ตอ้ งแปล เช่น
อวย แปลวา่ ให้ แข แปลวา่ พระจันทร์
ได แปลว่า มือ เลกิ แปลว่า ยก
แสะ แปลว่า มา้ มาน แปลว่า มี
ทูล แปลว่า บอก บาย แปลว่า ข้าว
๓. ค�ำ เขมรมักสะกดด้วยตวั จ ญ ร ล ส เช่น
เสดจ็
เจรญิ
เถมริ (ไทยใช้ เถมนิ = ผเู้ ดนิ )
จรัล จรัส จสั (ไทยใช้ จัด = มาก, แรง, เขม้ , แก)่
๔๕
๔. คำ�เขมรมกั เป็นคำ�แผลง เช่น
ข แผลงเปน็ กระ เช่น ขดาน เป็น กระดาน, ขจอก เป็น กระจอก
ผ แผลงเปน็ ประ เชน่ ผสม เปน็ ประสม, ผจญ เป็น ประจญ
ประ แผลงเป็น บรร เชน่ ประทม เปน็ บรรทม, ประจุ เปน็ บรรจ,ุ ประจง
เปน็ บรรจง
๕. การสรา้ งค�ำ โดยการเติมหนว่ ยคำ�เขา้ ขา้ งหน้าค�ำ เดิม ท�ำ ใหค้ �ำ เดมิ พยางคเ์ ดยี วเป็น
ค�ำ ใหม่ ๒ พยางค์ เรียกวา่ การลงอุปสรรค(ค�ำ มาทเ่ี ติมดา้ นหนา้ ) บ (บัง,บัน,บ�ำ ) เชน่
เพ็ญ เป็น บ�ำ เพญ็
เม่อื บํ อยหู่ นา้ วรรคปะ อา่ นว่า “บำ�” เช่น บำ�บดั บ�ำ เพ็ญ บำ�บวง
เกิด เป็น บงั เกิด
เมือ่ บํ อยูห่ น้าวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอา่ นว่า “บงั ” เช่น บังคม บังเกดิ
บังอาจ
โดย เป็น บันโดย
เม่ือ บํ อยหู่ น้าวรรคตะ อา่ นว่า “บัน” เช่น บนั ดาล บันโดย บนั เดนิ
๖. การสร้างคำ�โดยการเติมหน่วยค�ำ เข้ากลาง ค�ำ หลกั ท�ำ ใหค้ �ำ เดมิ พยางคเ์ ดียว เปน็
คำ�ใหม่ ๒ พยางค์เรยี กการลงอาคม
การลง อำ� น เชน่ จง เปน็ จ�ำ นง, ทาย เปน็ ทำ�นาย, อวย เปน็ อำ�นวย
การเติม อ�ำ เช่น กราบ เปน็ ก�ำ ราบ, ตรวจ เป็น ตำ�รวจ, เปรอ เป็น บ�ำ เรอ
การเปลย่ี น ข เปน็ ก เปล่ียน ฉ เปน็ จ เช่น ฉัน เปน็ จงั หนั , แขง็ เป็น
ก�ำ แหง
๔๖
๗. คำ�ทีม่ ี ๒ พยางค์ มลี ักษณะเหมือนอกั ษรนำ�และอักษรควบของไทย เชน่
แขนง จมกู ฉน�ำ (ปี)
ไพร กระบอื ฉลอง
ขลงั เสวย ขลาด
๘. ค�ำ ๒ พยางค์ ทขี่ ึน้ ตน้ ดว้ ย คำ� กำ� จำ� ชำ� ด�ำ ตำ� ท�ำ และสามารถ แผลงเป็นตวั อนื่
ได้ มกั เปน็ ค�ำ เขมร เช่น
ค�ำ รบ (ครบ) กำ�เนดิ (เกดิ ) จำ�หนา่ ย (จ่าย)
จำ�แนก (แจก) ชำ�นาญ (ชาญ) ด�ำ เนนิ (เดนิ )
ด�ำ ริ (ตร)ิ ตำ�รวจ (ตรวจ) ทำ�นบ (ทบ)
๔๗
แบบฝึกหดั
ตอนท่ี ๑ ใหน้ กั เรียนขีดเส้นใตค้ ำ�ที่มาจากภาษาเขมรจากขอ้ ความตอ่ ไปน้ี
“เดก็ หญงิ บงั อร ออกเดินทางไปเท่ียวทะเลโดยทางรถไฟ ระหว่างทางเด็กหญงิ บังอรได้
ชมทัศนียภาพสองขา้ งทาง อันเปน็ ทงุ่ นาทม่ี ีต้นตาลโตนดข้นึ อยู่ประปราย โดยในระหวา่ งทาง
เกดิ เหตกุ ารณฟ์ า้ ฝนบนั ดาลให้ลมพัดแรง จนท�ำ ใหก้ ระดานวาดภาพของวนั เพ็ญเพือ่ ของบงั อร
ปลวิ หายไป รถไฟออกเดินทางทา่ มกลางพายุจนมาถงึ สถานรี ถไฟ บังอรเดินไปทแ่ี ผนกขายตว๋ั
รถโดยสารประจ�ำ ทาง แลว้ เดินทางตอ่ ไปกับวนั เพญ็ เพอ่ื นของเธอท่ีสวมกระโปรงสแี ดงสดใส”
๔๘
ตอนท่ี ๒ ให้นกั เรียนเขียนเครอ่ื งหมาย ในช่องตารางหลงั ค�ำ ท่กี ำ�หนดให้
โดยพิจารณาใหส้ ัมพนั ธ์กบั ลักษณะของค�ำ
๔๙
วไิ ลศกั ด์ิ กิ่งค�ำ . (2556). ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: สำ�นัก
พิมพม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2554). หนังสือเรียนรายวชิ า
พื้นฐาน ภาษาไทย วิวิธภาษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2. กรงุ เทพฯ
บรรจบ พันธุเมธา. (2551). ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: ส�ำ นกั
พิมพ์ มหาวทิ ยาลัยรามค�ำ แหง.
จนั จิรา จติ ตะวริ ิยะพงษ.์ (2546). อทิ ธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย.
กรงุ เทพฯ: ส�ำ นักพมิ พพ์ ฒั นาศกึ ษา.