The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผู้เรียน โดยการแนะแนวศึกษาต่อของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ประจำปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tee19399teeraphong, 2021-03-16 13:37:16

โครงการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผู้เรียน โดยการแนะแนวศึกษาต่อของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ประจำปีการศึกษา 2563

โครงการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผู้เรียน โดยการแนะแนวศึกษาต่อของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ประจำปีการศึกษา 2563

โครงการศกึ ษาการพฒั นาสถานศกึ ษา ตามนโยบายเพมิ่ ปริมาณผูเรยี น
โดยการแนะแนวศกึ ษาตอของวทิ ยาลัยเทคนคิ พัทลุง
ประจำปก ารศึกษา 2563
This project was the study of the educational

institution development in accordance with the
policy to increase the number of students by the

continuing education guidance of Phatthalung
Technical College, academic year 2020

นายธีรพงศ เอียดเลอื่ น รหัสนกั ศกึ ษา 6232010082
นางสาวลลิตภ ทั ร พลาสี รหสั นกั ศึกษา 6232010088

กลุม 62 ปกบ.3

โครงการน้เี ปน สว นหนึ่งของวชิ า โครงการ รหัสวชิ า 3201-8501
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สูง พ.ศ.2557
แผนกวิชาการบญั ชี สาขางานการบัญชี
วิทยาลัยเทคนคิ พทั ลงุ
ปก ารศกึ ษา 2563

โครงการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปรมิ าณผเู รียน โดยการแนะแนวศึกษาตอ ของ
วิทยาลัยเทคนคิ พัทลุง ประจำปก ารศกึ ษา 2563

This project was the study of the educational institution development
in accordance with the policy to increase the number of students by
the continuing education guidance of Phatthalung Technical College,

academic year 2020

นายธีรพงศ เอียดเลอ่ื น รหสั นักศกึ ษา 6232010082
นางสาวลลิตภ ัทร พลาสี รหสั นกั ศึกษา 6232010088

กลุม 62 ปกบ.3

โครงการน้เี ปนสวนหน่งึ ของวชิ า โครงการ รหสั วิชา 3201-8501
หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สูง พ.ศ.2557
แผนกวชิ าการบัญชี สาขางานการบญั ชี
วทิ ยาลัยเทคนิคพทั ลุง
ปก ารศกึ ษา 2563



ใบรับรองโครงการ
วทิ ยาลยั เทคนิคพทั ลุง

ปการศกึ ษา 2563

ชื่อโครงการ ศกึ ษาการพฒั นาสถานศึกษา ตามนโยบายเพ่ิมปริมาณผูเรยี น โดยการแนะแนว
ศึกษาตอของวทิ ยาลัยเทคนิคพทั ลุง ประจำปการศึกษา 2563

โดย 1. นายธีรพงศ เอยี ดเล่ือน รหสั 6232010082 กลุม 62 ปกบ.3
2. นางสาวลลติ ภ ทั ร พลาสี รหสั 6232010088 กลุม 62 ปกบ.3

ไดรับอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของวิชาโครงการ รหัส 3201-8501 หลักสูตร
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู พ.ศ. 2557 แผนกวชิ าการบัญชี สาขางานการบัญชี

........................................................... ...........................................................
(นายสมศกั ด์ิ แกว ซัง) (นางบญุ เพญ็ จติ เนียม)
ครูทป่ี รกึ ษาโครงการ ครูที่ปรึกษาโครงการ

วนั ท่ี.........เดอื น.................พ.ศ........... วันที.่ ........เดือน.................พ.ศ..........

........................................................... ...........................................................
(นางสาวจุไรรัตน ทองเทยี่ ง) (นางสาวสุดารัตน เจยาคมฆ)
ครผู ูส อน/ครูท่ีปรึกษาโครงการ หัวหนา แผนกวชิ าการบัญชี

วันท.่ี ........เดอื น.................พ.ศ........... วนั ที.่ ........เดือน.................พ.ศ...........



ชอ่ื ผจู ัดทำโครงการ : นายธีรพงศ เอียดเลอื่ น, นางสาวลลิตภ ัทร พลาสี
ช่ือโครงการ : ศกึ ษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพ่มิ ปริมาณผเู รียน โดยการแนะแนว

ศึกษาตอ ของวิทยาลัยเทคนิคพทั ลุง ประจำปก ารศกึ ษา 2563

สาขาวชิ า : การบญั ชี
ประเภทวิชา : บรหิ ารธรุ กิจ

ทีป่ รกึ ษา : นายสมศกั ด์ิ แกว ซงั , นางบญุ เพ็ญ จิตเนยี ม, นางสาวจไุ รรัตน ทองเทย่ี ง

ปการศึกษา : 2563

บทคัดยอ

โครงการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน โดยการแนะแนว
ศกึ ษาตอของวิทยาลยั เทคนิคพัทลุง ประจำปการศึกษา 2563 มีวัตถปุ ระสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของการแนะแนวศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ประจำปการศึกษา 2563 กลุมตัวอยาง คือ
นักเรียนในพื้นที่โรงเรียนมัธยมสังกัดจังหวัดพัทลุง จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ
แบบสอบถามเก่ียวกับความพงึ พอใจของนักเรียน ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน โดยการแนะแนว
ศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง จำนวน 200 ชุด วิเคราะหขอมูลโดยการใชโปรแกรมสำเรจ็ รูป

SPSS หาคารอยละ (percent = %) คาเฉลี่ย (mean = ̅) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard
deviation = S.D.) ผลการวิจัยพบวา ความพึงพอใจของการแนะแนวศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิค
พัทลุงอยูใ นระดบั ความพึงพอใจมาก โดยมีคา เฉลย่ี โดยรวม 4.16 สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.86



Authors : Mr.Teeraphong Eiadluean, Miss.Lalipat Palasee
Project : The educational institution development in accordance with the
policy to increase the number of students by the continuing
Program education guidance of Phatthalung Technical College, academic
Department year 2020
Advisors : Accounting
Academic Year : Business Administration
: Mr.Somsak Kaewzung, Mrs.Bunpen Jitneam,
Miss.Jurairat Tongtiang
: 2020

Abstract

This project was the study of the educational institution development in
accordance with the policy to increase the number of students by the continuing
education guidance of Phatthalung Technical College, academic year 2020. The
objective of this study was to investigate the satisfaction with the continuing education
guidance of Phatthalung Technical College, academic year 2020. The sample was 200
students in secondary schools under Phatthalung Province. 200 copies of questionnaire
on student satisfaction were used as research instrument for data collection. Data were

analyzed using SPSS program to determine the percentage (%), mean ( ̅), standard
deviation (S.D.). The results indicated that the students’ satisfaction with the continuing
education guidance of Phatthalung Technical College was at a high level with a mean
of 4.16 (S.D. = 0.86).



กติ ตกิ รรมประกาศ

งานวิจยั ฉบับนี้สำเรจ็ ลุลวงไดอยางสมบูรณดวยความกรุณาอยางยิ่งจาก อาจารยจุไรรัตน
ทองเที่ยง ที่ไดสละเวลาอันมีคาแกคณะผูวิจัยเพื่อใหคำปรึกษาและแนะนำ ตลอดจนตรวจทานแกไข
ขอบกพรองตา ง ๆ ดวยความเอาใจใสเ ปนอยางยิง่

ขอขอบคุณอาจารยสมศักดิ์ แกวซัง หัวหนางานแนะแนว ที่ไดกรุณาใหความชวยเหลือ
ใหค ำปรึกษาและแนะนำในการจัดทำงานวจิ ัยฉบับนี้

ขอขอบคุณอาจารยบุญเพ็ญ จิตเนียม ที่ไดกรุณาใหคำปรึกษาและแนะนำ ตลอดจน
ชว ยเหลือ ตรวจทานแกไข และปรับปรุงงานวิจยั ฉบับนี้ จนเสรจ็ สมบูรณ

ขอขอบคณุ นางสาวกิจติมา ชว ยกลบั และนางสาวมลั ลิกา นาฑี เจา หนา ท่งี านแนะแนว ท่ีได
สละเวลาใหการชวยเหลือในการเกบ็ รวบรวมขอมูลและใหคำปรึกษาเกีย่ วกับการจดั ทำงานวจิ ยั

ขอขอบคุณบิดา มารดา ท่ีเปนกำลังใจสำคัญในการชวยเหลือ สนับสนุนการศึกษา
และการจดั ทำงานวิจัย และขอขอบพระคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานที่มีสว นในการใหการสนับสนุน
เอื้อเฟอและใหค วามอนุเคราะหชวยเหลือคณะผูวิจัย จนงานวิจัยฉบับนี้สำเร็จสมบูรณล ุลวงไดดวยดี
คณะผวู จิ ัยขอกราบขอบพระคณุ เปน อยา งสูงไว ณ ทนี่ ี้ จากใจจริง

นายธีรพงศ เอียดเล่อื น
นางสาวลลติ ภทั ร พลาสี

2563



สารบัญ

เรือ่ ง หนา

ใบรบั รองโครงการ ก
บทคดั ยอ ข

บทคดั ยอ ภาษาอังกฤษ ค

กติ ตกิ รรมประกาศ ง
สารบัญ จ

สารบัญตาราง ช

บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ทมี่ าและความสำคัญ 1

1.2 วตั ถุประสงคของโครงการ 1

1.3 ขอบเขตของโครงการ 2
1.4 ประโยชนท ไี่ ดร ับจากโครงการ 2

1.5 นิยามศัพท 2

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กีย่ วของ 4
2.1 สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 5

2.2 วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง 10

2.3 การแนะแนว 17
2.4 แนวคิดและทฤษฎเี กีย่ วกับความพงึ พอใจ 21

2.5 งานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ ง 22

บทที่ 3 วิธกี ารดำเนินงาน 28
3.1 ประชากรและกลมุ ตวั อยาง 28

3.2 เคร่อื งมอื ที่ใชใ นการวจิ ัย 28

3.3 การเก็บรวบรวมขขอมลู 29
3.4 การวเิ คราะหขอ มลู 29

บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน 30

4.1 เผยแพรป ระชาสัมพนั ธข อมูลการเรียนการสอนสายอาชพี ของวิทยาลัยเทคนคิ พทั ลุง 30
4.2 เสริมสรา งความรู ความเขาใจ ความเชอื่ ม่นั และทัศนคติที่ดตี อ การเรยี นสายอาชีพ 32

4.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นสังกัดเครือขายที่วิทยาลัยเทคนคิ พทั ลงุ 39

เขา แนะแนวศึกษาตอ

สารบัญ (ตอ) ฉ

เรือ่ ง หนา
บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอเสนอแนะ 42
42
5.1 สรปุ ผลการดำเนินงาน 43
5.2 อภิปรายผลการดำเนินงาน 44
5.3 ขอ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบบนั ทึกเสนอขออนญุ าตดำเนนิ โครงการ
ภาคผนวก ข ชื่องานวจิ ยั /แบบขออนุมตั ิโครงการ
ภาคผนวก ค แบบสอบถามความพึงพอใจ
ภาคผนวก ง รายชื่อผเู ชยี่ วชาญ
ภาคผนวก จ ผลการวิเคราะหขอ มูล
ภาคผนวก ฉ แบบบนั ทกึ การทำงานประจำวนั /พบครูท่ปี รึกษา
ภาคผนวก ช ภาพประกอบกิจกรรม
ประวตั ิผูจัดทำโครงการ



สารบญั ตาราง หนา
30
ตารางท่ี 32
4.1 แสดงรายชอ่ื สถานศกึ ษาที่วทิ ยาลยั เทคนิคพทั ลงุ เขา ไปแนะแนวศึกษาตอ 39
4.2 แสดงรายช่อื คุณครูท่เี ขา ไปแนะแนวศึกษาตอในสถานศึกษา 40
4.3 แสดงจำนวน และรอ ยละขอมูลท่วั ไปของผูตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ
4.4 แสดงคา เฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนกั เรยี น ตามนโยบาย

เพ่มิ ปริมาณผเู รียน โดยการแนะแนวศกึ ษาตอของวทิ ยาลัยเทคนคิ พทั ลงุ

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญ
การผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาในชวงของการปฏิรูปการศึกษา ตองสอดคลอง

กบั ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป และนโยบาย Thailand 4.0 มงุ เนนการผลิตและพฒั นาคนใหสามารถ
ผลิตนวัตกรรมและใชเทคโนโลยีในการสรางคุณคาทางเศรษฐกิจใหกับประเทศในดานตาง ๆ อาทิ
การเกษตรสมัยใหม (Smart Farming) ผูป ระกอบการรุน ใหม (Smart Enterprise) อุตสาหกรรมยุค
4.0 (Industry) เศรษฐกิจระบบชีวภาพและแนวทางการตลาดเปนตัวนำการผลิต ฯลฯ การเพิ่ม
สัดสวนผูเ รียนชาวอาชวี ะรวมพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา เพื่อที่จะเพิ่มสัดสว นผูเรยี น
อาชีวศกึ ษาตอสายสามัญตามเปา หมายทวี่ างไวคือ 50 : 50

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงมีนโยบายใหสถานศึกษาเพิ่มปริมาณผูเรียน
อาชีวศึกษาใหมากขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับแผนพัฒนาประเทศและนโยบายของรัฐบาล
วิทยาลัยเทคนิคพัทลุงตระหนักและใหความสำคัญกับนโยบายดังกลาว โครงการเพิ่มปริมาณผูเรียน
อาชีวศึกษาจึงเปนการดำเนินงานเพื่อตอบสนองนโยบายการสรางโอกาสทางการศึกษา เพิ่มปริมาณ
ผูเรียนสายอาชพี เพ่ือพัฒนารปู แบบการประชาสมั พันธและการแนะแนวการศึกษา ตลอดจนกำหนด
แนวทางในการสรางความรู ความเขาใจ ความเชื่อมั่นและสรางทัศนคติที่ดีตอการเรียนสายอาชีพ
แกน ักเรยี น ผูป กครองและผูที่มีสวนเกีย่ วของ ปจจุบันนักเรียน นักศึกษาที่เรียนสายอาชีพลดนอยลง
เปนจำนวนมากทั้งที่ภาคอุตสาหกรรมตองการผูจบทางดานสายอาชีพเปนจำนวนมาก
และเปนสาขาขาดแคลน ทั้งนี้อาจเปนเพราะความไมเขาใจหรือการไมไดเห็นสภาพจริง
ของการจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษาที่เปด สอนสายอาชพี

ดวยเล็งเห็นถึงความสำคัญของการเพิ่มปริมาณผูเรียนอาชีวศึกษา ผูจัดทำโครงการ
จึงจัดทำโครงการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน โดยการแนะแนว
ศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง เพื่อใหผูที่สนใจทางดานสายอาชีพ ไดมีความรู ความเขาใจ
เกยี่ วกับการจดั การเรียนการสอนสายอาชีพของวทิ ยาลยั เทคนิคพทั ลงุ

1.2 วตั ถปุ ระสงคของโครงการ
1.2.1 เพื่อเผยแพรประชาสัมพันธขอมลู การเรียนการสอนสายอาชีพของวิทยาลยั เทคนคิ พัทลงุ
1.2.2 เพือ่ เสรมิ สรางความรู ความเขาใจ ความเช่ือมั่นและทศั นคติท่ีดตี อการเรยี นสายอาชพี
1.2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนสังกัดเครือขายที่วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง

เขาแนะแนวศกึ ษาตอ

2

1.3 ขอบเขตของโครงการ
การวิจัยครั้งนี้ ผูวจิ ยั ไดกำหนดขอบเขตการศึกษาวิจยั ดงั น้ี
ประชากรและกลมุ ตัวอยางเพอ่ื การศกึ ษาวจิ ัย
ประชากร นักเรยี นในพื้นท่ีโรงเรยี นมัธยมสังกัดจงั หวัดพัทลงุ
กลมุ ตวั อยาง นักเรยี นในพื้นท่ีโรงเรียนมธั ยมสังกดั จังหวดั พทั ลุง จำนวน 200 คน
ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2563
ตัวแปรท่ีศกึ ษา
ตัวแปรตน นกั เรียนในพน้ื ท่ีโรงเรียนมัธยมสังกดั จงั หวัดพทั ลงุ
ตัวแปรตาม ความพึงพอใจของผูตอบแบบประเมินเกี่ยวกับการจัดการเรียน

การสอนสายอาชพี ของวิทยาลยั เทคนคิ พทั ลงุ

1.4 ประโยชนทไี่ ดร บั จากโครงการ
1.4.1 นักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนสายอาชีพ

ของวิทยาลยั เทคนคิ พทั ลงุ
1.4.2 นกั เรียนมีความรู ความเขาใจ ความเชอ่ื ม่ันและทัศนคติทีด่ ีตอการเรียนสายอาชพี
1.4.3 นกั เรยี นมีความสนใจศึกษาตอ วิทยาลยั เทคนคิ พัทลุงเพมิ่ มากขึน้

1.5 นยิ ามศพั ท
การพัฒนาสถานศึกษา หมายถึง ความพยายามที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบ

ของสถานศึกษาทุกระบบ โดยมีการวางแผนการดำเนินงานอยางดี เพื่อใหสถานศึกษาที่ไดรับ
การปรบั ปรุงแลว สามารถดำเนนิ การไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล

นโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน หมายถึง นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
ไดมีนโยบายใหสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพิ่มปริมาณผูเรียนในสายอาชีพใหมากขน้ึ
โดยตง้ั เปา ไว 50 : 50 ของผูส ำเร็จการศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา

การแนะแนว หมายถึง กระบวนการชวยเหลือบุคคลใหเขาใจตนเองและสิ่งแวดลอม
สรางเสริมใหเขามีคุณภาพเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล คนพบและพัฒนาศักยภาพ
ของตน มีทักษะการดำเนินชีวิต มีวุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม จริยธรรม รูจักการเรียนรูในเชิง
พหุปญหา รูจักคิด ตัดสินใจ แกปญหาในชวงวิกฤติ วางแผนการศึกษาตอ ประกอบอาชีพ
และสามารถปรบั ตัวไดอ ยา งมีความสุขในชวี ิตไดพฒั นาตนเองใหถงึ ขีดสุด ในทกุ ดาน

3

การเรียนสายอาชีวศึกษาหรือสายอาชีพ หมายถึง การเรียนตอในระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชีพ หรอื ปวช. มีระยะเวลาในการเรียน 3 ป และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรอื ปวส.
มีระยะเวลาในการเรียน 2 ป เปนการเรียนในหลักสูตรที่ไมไดเนนการเรียนวิชาพื้นฐานเหมือนกับ
สายสามญั

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ ง

ในการดำเนินโครงการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน
โดยการแนะแนวศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ประจำปการศึกษา 2563 นี้ ผูจัดทำไดศึกษา
คนควาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อใหสามารถจัดทำโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพ
และเปน ไปไดด วยดี โดยทำการศกึ ษาคน ควาเอกสารและทฤษฎที ่เี กย่ี วขอ งดังหวั ขอตอ ไปน้ี

2.1 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2.1.1 ววิ ัฒนาการระยะแรก
2.1.2 การเปล่ยี นแปลงและพฒั นาการ

2.2 วิทยาลยั เทคนิคพทั ลงุ
2.2.1 ประวตั ิของวิทยาลยั เทคนิคพัทลงุ
2.2.2 ขอมูลจำเพาะวทิ ยาลัยเทคนิคพทั ลงุ
2.2.3 ปรัชญา
2.2.4 วิสัยทัศน
2.2.5 พันธกจิ
2.2.6 เปา ประสงค
2.2.7 ยทุ ธศาสตร
2.2.8 อตั ลกั ษณแ ละเอกลกั ษณ
2.2.9 คุณธรรมอตั ลกั ษณ
2.2.10 ขอมลู หลกั สตู รระดบั การศกึ ษาและวิชาท่ีเปด สอนปการศกึ ษา 2562

2.3 การแนะแนว
2.3.1 จดุ มงุ หมายของการจัดการบรกิ ารแนะแนว
2.3.2 วัตถปุ ระสงคก ารแนะแนว
2.3.3 ประเภทของการแนะแนว
2.3.4 การบรกิ ารแนะแนว
2.3.5 รูปแบบการใหบ รกิ ารแนะแนว
2.3.6 ประโยชนของการแนะแนว
2.3.7 ปรชั ญาสำคัญของการแนะแนว

2.4 แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกบั ความพึงพอใจ
2.5 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ ง

5

2.1 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
2.1.1 วิวัฒนาการระยะแรก
แนวคิดการจัดการศึกษาอาชีพไดมีมาตั้งแตยุคสมัยที่ประเทศไทยเริ่มมีอาชีพ

หัตกรรมมากขึ้นนอกเหนือไปจากอาชีพ กสิกรรมการ อาชีวศึกษา เริ่มอยางเปนระบบเมื่อไดรับ
การบรรจุในโครงการศึกษา พ.ศ. 2441 เปนการศึกษาพิเศษซึ่งหมายถึง การเรียนวชิ าเฉพาะ เพื่อให
เกดิ ความชำนาญ โดยในป พ.ศ. 2452 การจัดการศกึ ษาไดแ บง ออกเปน 2 ประเภทคอื โรงเรียนสามญั
ศึกษาสอนวิชาสามัญ และโรงเรียนวิสามัญศึกษาสอนวิชาเพื่อออกไปประกอบอาชีพ เชน แพทย
ผดุงครรภ ภาษาอังกฤษ พาณิชยการ ครู เปนตน ในป พ.ศ. 2453 ไดจัดตั้ง โรงเรียนอาชีวศึกษา
แหงแรก คอื โรงเรยี นพาณิชยการท่วี ัดมหาพฤฒาราม และวัดราชบรู ณะ ป พ.ศ. 2456 จัดต้งั โรงเรียน
เพาะชาง และป พ.ศ. 2460 จัดตั้งโรงเรียนฝกหัดครูประถมกสิกรรม แผนการศึกษาแหงชาติ
ไดมีผลตอการกำหนดการศึกษาอาชีพใหชัดเจนยิ่งขึ้น โดยในแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2475
ไดกำหนดวาวิสามัญศึกษา ไดแก การศึกษาวิชาชีพซ่ึงจัดใหเหมาะสมกับภูมิประเทศ เชน กสิกรรม
หัตถกรรม และพาณิชยการ เพื่อเปนพื้นฐานความรูสำหรับประกอบการเกษตรกรรม
และอุตสาหกรรม ตาง ๆ และในแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2479 ได ปรากฏคำวา "อาชีวศึกษา"
เปน คร้ังแรกในระบบการศกึ ษาของประเทศไทย โดยแบง ออกเปน 3 ชัน้ คอื อาชวี ศกึ ษา ชน้ั ตน กลาง
และสงู รบั นักเรยี นจากโรงเรยี นสามญั ศกึ ษาของทกุ ระดบั ประโยค

ป พ.ศ. 2481 พระราชกฤษฏีกาจัดวางระเบียบราชการในสังกัดกระทรวงธรรมการ
(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในปจจุบนั ) ใหจัดตัง้ กรมใหมข้นึ 2 กรม คอื

1. กรมสามัญศึกษา มีหนาทีจ่ ัดการศกึ ษาสายสามัญ
2. กรมวิชาการ มหี นา ที่จัดการศกึ ษาสายอาชพี
โดยแบง ออกเปน 4 กอง :
1. สำนักงานเลขานกุ ารกรม 2. กองตำรา 3. กองสอบไล 4. กองอาชวี ศึกษา
ซ่ึงกองอาชวี ศึกษามหี นาที่เกีย่ วกบั การจัดโรงเรยี นอาชีวศึกษา
ป พ.ศ. 2484 ไดมีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช 2484
ซึ่งตราขึ้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2484 และมีผลบังคับใชตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
คือ วนั ที่ 19 สิงหาคม 2484 กระทรวงธรรมการไดเ ปลีย่ นชื่อเปน กระทรวงศกึ ษาธิการ และตัง้ กรม
อาชีวศึกษาขึ้นแทนกรมวิชาการ สวนกองวิชาการเปนกอง ๆ หนึ่งในกรมอาชีวศึกษา ดังน้ัน
กรมอาชีวศกึ ษา จงึ ไดต ้งั ข้ึนตามพระราชบญั ญตั ิ เมือ่ วนั ที่ 19 สิงหาคม 2484
การแบง สวนราชการออกเปน 3 กอง คอื
1. สำนักงานเลขานุการกรม
2. กองโรงเรียน ทำหนา ท่ีรบั ผดิ ชอบการดำเนินการโรงเรยี นอาชีวศกึ ษา

6

3. กองวิชาการ ทำหนาที่เกี่ยวกับหลักสูตรแบบเรียน ทะเบียน การสอบไล
และการออกประกาศนียบัตร ชวงระหวางมหาสงครามเอเซยี บูรพา การอาชีวศึกษาไดรับผลกระทบ
จากภัยสงคราม กอใหเกิดการขาดแคลนอุปกรณ การสอน นักเรียนตองหลบภัย จำนวนครู
และนักเรียนนอยลง จนกระทั่งภาวะสงครามสงบลง รัฐบาลไดจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้น โดยใน
แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2494 การอาชีวศึกษาไดถูกแบงออกเปน 3 ระดับ คือ มัธยมศึกษา
ตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย และมัธยมอาชีวศึกษาชั้นสูง โดยในแตล ะระดับกำหนดเวลาเรียนไม
เกิน 3 ป

ป พ.ศ. 2495 ไดมีพระราชกฤษฏีการจัดวางระเบียบราชการในกรมอาชีวศึกษา แบง
สวนราชการออกเปน 7 กอง คือ

1. สำนกั งานเลขานกุ ารกรม
2. กองโรงเรยี นการชาง
3. กองโรงเรียนพาณชิ ยและอสุ าหกรรม
4. กองโรงเรยี นเกษตรกรรม
5. กองวิทยาลยั เทคนิค
6.กองสงเสรมิ อาชีพ
7. กองออกแบบและกอสราง
นอกจากน้ี ในป พ.ศ.ดังกลา วไดรเิ ร่มิ จัดต้งั วทิ ยาลยั เทคนิคหลัก 4 แหงท่ัวประเทศ
คือ 1. วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ (2495) 2. วิทยาลัยเทคนิคภาคใต - สงขลา (2497)
3. วทิ ยาลัยเทคนิคภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ-นครราชสมี า (2499) 4. และวิทยาลยั เทคนิคภาคเหนือ-
เชียงใหม(2500)
ป พ.ศ. 2499 การอาชีวศึกษาไดถูกพัฒนาขึ้นเปนลำดับ โดยโรงเรียนที่เปดสอน
ในระดับมัธยมอาชีวศึกษาตอนปลายหลายแหง ไดรับอนุมัติใหเปดสอนในระดับอาชีวศึกษาชั้นสูง
และโรงเรียนอาชีวศึกษาชัน้ สูงเฉพาะวชิ าอีกหลายแหง ไดจัดตัง้ ขึน้ เพื่อรับนกั เรียน ที่จบมัธยมศึกษา
ปท ี่ 6 สายสามัญเขาศกึ ษาตอ
ป พ.ศ. 2501 กรมอาชีวศึกษาไดรับความชวยเหลือจากองคการ SEATO
โดยมหาวิทยาลัยฮาวาย ในการปรับปรุง หลักสูตรตามโครงการฝกชางฝมือ และฝกอบรมครู
วิชาชางกอสราง ชางยนต ชางไฟฟา ชางวิทยุ และชางเชื่อมโลหะ โดยมีโรงเรียน การชาง 18 แหง
เขารวมโครงการ ในระยะแรกแผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2503 จำนวนนักเรียนอาชีวศึกษาระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนตน ปที่ 1-3 มีจำนวนลดลง แตในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายปท่ี 4 จำนวนนักเรยี น
ในประเภทชา งอตุ สาหกรรมมจี ำนวนเพิม่ มากขึ้น จนกระทง่ั ตอ งเปด การเรยี นการสอนใน 2 ผลดั

7

ป พ.ศ. 2508 กรมอาชีวศึกษาไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลสหพันธสาธารณรัฐ
เยอรมัน ในการกอตั้งวิทยาลัยเทคนิคขอนแกน โดยมหาวิทยาลัยฮาวาย ในการปรับปรุงหลักสูตร
ตามโครงการฝกชางฝมือ และฝกกอบรมครูวิชาชางกอสรา ง ชางยนต ชางไฟฟา ชางวิทยุ และชาง
เชื่อมโลหะ โดยมีโรงเรียนการชาง 18 แหง เขารวมโครงการในระยะแรกแผนการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2503 จำนวนนกั เรียนอาชวี ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ปท ่ี 1-3 มจี ำนวนลดลง แตในระดบั
มัธยมศึกษาตอนปลายปที่ 4 จำนวนนักเรียนในประเภทชางอุตสาหกรรมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
จนกระท่งั ตอ งเปด การเรยี นการสอนใน 2 ผลัด

ป พ.ศ. 2509 ไดร บั ความชวยเหลอื จากองคก ารยนู ิเซฟในการปรบั ปรุงโรงเรยี นการชาง
สตรี จำนวน 35 แหง ท้งั ในดา นหลกั สูตร การเรียนการสอนและครุภณั ฑ โดยเฉพาะ

ป พ.ศ. 2510 กรมอาชีวศึกษาไดมีหนวยงานโครงการเงินกูธนาคารโลกเพื่อพัฒนา
อาชีวศึกษา มีหนาที่ประสานงานระหวางโรงเรียนในโครงการประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม
และเกษตรกรรม รวม 25 แหงกบั กรมอาชวี ศกึ ษา และกระทรวงศึกษาธิการ

ป พ.ศ. 2512 ไดรับความชวยเหลือจากประเทศออสเตรียในการจัดตง้ั โรงเรียนเทคนิค
สัตหีบ จังหวัดชลบรุ ี สถานศกึ ษาหลายแหงไดรับการพัฒนาและเปดสอนจนถึงระดับ ปวส. โดยในป
พ.ศ. 2512 ไดร ับการยกฐานะจาก โรงเรียนเปนวิทยาลยั ซึ่งแหงแรกคือวิทยาลัยพณิชยการพระนคร
จนถึงป พ.ศ. 2522 กรมอาชีวศึกษามีวิทยาลัยอยูในสังกัด จำนวน 90 แหง ในจำนวนสถานศึกษา
ทงั้ สิ้น 159 แหง

ป พ.ศ. 2513 รวมโรงเรียนการชางสตรีและโรงเรียนการชาง 4 จังหวัด คือ อางทอง
ราชบุรี บุรีรัมย และพัทลุง ป พ.ศ. 2514 ไดมีพระราชบัญญัติจัดตัง้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
โดยรวมวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี วทิ ยาลยั เทคนคิ พระนครเหนอื วทิ ยาลัยโทรคมนาคม และวิทยาลัยชาง
กอสรางในสังกัดกรมอาชีวศกึ ษาไปรวมเปนสถาบันและเปดสอน ถึงระดับปริญญาตรี ประกาศคณะ
ปฏิวตั ิฉบับที่ 217 พ.ศ. 2515 ใหโอนโรงเรียนฝกฝนอาชีพเคลื่อนท่ี 36 แหง ของกรมอาชีวศึกษาไป
กรมสามัญ

2.1.2 การเปล่ยี นแปลงและพฒั นาการ
ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 172 พ.ศ. 2515 ไดแบงสวนราชการในสังกัด

กรมอาชีวศึกษาออกเปน 9 กอง คือ 1. สำนักงานเลขานุการกรม 2. กองวิทยาลัย 3. กองโรงเรียน
4. กองแผนงาน 5. กองการเจาหนาที่ 6. กองคลัง 7. กองออกแบบและกอสราง 8. กองบริการ
เคร่ืองจักรกล 9. หนว ยศึกษานิเทศก

ป พ.ศ. 2516-2520 มโี ครงการเงนิ กู ADB เพอ่ื พฒั นาวิทยาลัยเทคนคิ 4 แหง (กรุงเทพ
สงขลา เชียงใหม และ นครราชสีมา) ปรับปรุงเครื่องมืออุปกรณ พัฒนาครู และอาคารสถานท่ี
ใน 6 สาขาวชิ า คอื อเิ ล็กทรอนกิ ส ไฟฟา กอ สราง เคร่อื งกล เทคนิคโลหะ และชางยนต

8

ป พ.ศ. 2518 ไดมพี ระราชบญั ญัตจิ ัดต้งั วิทยาลยั เทคโนโลยีและอาชวี ศึกษาข้ึนโดยแยก
วิทยาลัย 28 แหง ออกจากกรมอาชีวศึกษา เปดสอนถงึ ระดับปรญิ ญาตรี และไดโอนศูนยฝกตอเรือ
หนองคายของสำนักงานพลงั งานแหงชาตมิ าอยูในสังกัด กรมอาชีวศึกษา โดยเปล่ียนชื่อเปนโรงเรียน
อุตสาหกรรมตอ เรอื หนองคาย

ป พ.ศ. 2519 รวมโรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียนการชางใน 65
วทิ ยาเขต และยกฐานะโรงเรยี น เกษตรกรรม 12 แหง เปน วิทยาลยั

ป พ.ศ. 2520 จัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรรม 10 แหง ป พ.ศ. 2521-2527 มีโครงการ
เงนิ กูธนาคารโลก จัดต้งั ศูนยฝ กวชิ าชพี 12 แหง ในแตล ะเขตการศกึ ษา

ป พ.ศ. 2522-2523 พบวามีปญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการดำเนินการแยก
วิทยาเขตตา ง ๆ ออกเปน อสิ ระ

ป พ.ศ. 2522 ไดมีการโอนวิทยาลัยเกษตรเจาคุณทหารไปสังกัดสถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกลา ประกาศใชหลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพเทคนิค (ปวท.) และจัดตั้งศูนยฝ กอบรม
และพัฒนาอาชีวศึกษา ตอมากระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
เทคนิค (ปวท.) รับนกั เรียนผจู บมธั ยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมวชิ าสามัญเขาเรียนวชิ าชพี เปนเวลา
2 ป

ป พ.ศ. 2523 ไดมี "พระราชกฤษฏีกาแบงสวนราชการกรม อาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2523" กำหนดใหมี 10 หนวยงาน ใหเกิดหนวยงานใหมจากเดิม คือ
กองวิทยาลัย และกองโรงเรียนเปนกองใหม คือ กองวิทยาลัยเกษตรกรรม กองวิทยาลัยเทคนิค
กองวทิ ยาลยั อาชีวศึกษา

ป พ.ศ. 2524 ไดประกาศใชหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี พ.ศ. 2524 ป พ.ศ. 2527
ไดใ ชห ลักสตู รประกาศนียบตั ร วชิ าชพี ช้นั สูง พ.ศ. 2527 และหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค
พ.ศ. 2527

ป พ.ศ. 2528 สงเสริมแนวคิด "การอาชีวศึกษา ครบวงจร" และไดมีการจัดตั้ง
"สำนักงานโครงการพิเศษ" เปนหนวยงานภายในมีหนาที่ประสานงานกับสำนักงานโครงการพิเศษ
และรับผดิ ชอบงานที่เกี่ยวของกับความมั่นคงและงานพัฒนาชนบท และป พ.ศ. 2530 ไดม ีการจัดตั้ง
"วทิ ยาลยั การอาชีพ" ในพน้ื ทจ่ี ังหวัด มุกดาหาร และแมฮ อ งสอน โดยมเี ปา หมายทจ่ี ะจัดการศึกษาทุก
ประเภทวชิ าชีพและทุกหลักสูตร ทง้ั ในและนอกระบบการศกึ ษา

ป พ.ศ. 2531 รับความชวยเหลอื จากเยอรมนั เพ่ือพฒั นาอาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี
ป พ.ศ. 2532-2533 UNDP ใหค วามชวยเหลอื จัดตั้ง สถาบันพัฒนา ครอู าชวี ศึกษา
ป พ.ศ. 2533 รัฐบาลเดนมารกไดใหความชวยเหลือเงินกูยืมเพื่อพัฒนาอาชีวศึกษา
เกษตร ตลอดจนประเทศอื่นในแถบทวีปยุโรป เชน สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ออสเตรีย อังกฤษ

9

และอติ าลี ในการชว ยเหลือสถานศกึ ษาประเภทชา งอุตสาหกรรม นอกจากนห้ี นว ยงานหรือองคกรอ่ืน
ตางประเทศทไ่ี ดใหความชวยเหลือ เชน The United Nation Development Programme (UNDP)
International Labour Organization (ILO), UNESCO เปน ตน รวมถงึ การไดร ับความชวยเหลือจาก
ประเทศออสเตรเลีย ญ่ปี ุน คานาดา องคก ร CIDA และการไดรบั อาสาสมคั รจากออสเตรเลยี เยอรมนี
ญี่ปุน และอังกฤษ ในการใหความรวมมือตาง ๆ เพื่อการพัฒนา และแลกเปลี่ยนความรู
และประสบการดานอาชีวศึกษา และในป 2533 ไดป ระกาศใชหลักสูตรประกาศนียบัตร ครเู ทคนิค
ชนั้ สูง (ปทส.)

ป พ.ศ. 2533-2535 นม้ี ีผูสนใจเรียนอาชวี ศึกษามาก จึงจดั ต้ังสถานศึกษาเพ่ิม 20 แหง
พระราชกฤษฏีกาแบงสว นราชการกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2535 ไดถูกประกาศ
และกำหนด ใชจนถึงปจจุบัน แบงสวนราชการออกเปน 11 หนวยงาน โดยเพิ่มสถาบันพัฒนาครู
อาชีวศกึ ษาเปน หนวยงานอสิ ระระดับกอง

ป พ.ศ. 2535-2539 ไดมีโครงการจัดตั้งวิทยาลัยเพิ่มขึ้นอีกจำนวน 93 แหง
เฉพาะโครงการจัดตั้งวิทยาลัยการอาชีพ ระดับอำเภอ 60 แหง วิทยาลัยสารพัดชาง 25 แหง
และอีก 8 แหง มีวตั ถุประสงคเพ่ือขยายโอกาสทางการศึกษาวชิ าชีพไปสทู อ งถิน่ สนับสนุนการพัฒนา
ชนบท เพื่อผลิตกำลังคนดานวิชาชีพในระดับชางกี่งฝมือ และชางเทคนิคใหตรงกับความตองการ
ของตลาดแรงงาน และสอดคลองกับสภาพเศษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

ป พ.ศ. 2536-2543 ไดรับความรวมมือจากรัฐบาลญี่ปุน พัฒนาการผลิตกำลังคน
สาขาวิชาแมคคาทรอนิกส ที่วิทยาลัยชางกลปทุมวัน ป พ.ศ. 2537 มีโครงการเงินกูกองทุน
ความรวมมือทางเศรษฐกิจโพนทะเลแหงญี่ปุน (Overseas Economic Cooperation Fund,
JAPAN) โดยไดร ับอนุมัติใหดำเนินโครงการเมื่อวันท่ี 2 สิงหาคม 2537 เพื่อพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ
และบุคลากรในสถานศกึ ษา 20 แหง

ป พ.ศ. 2538 กรมอาชวี ศกึ ษาไดพัฒนาระบบเครือขายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ของกรม
อาชีวศกึ ษาและการจดั การเรยี น การสอนอาชวี ศึกษาระบบทางไกล

ป พ.ศ. 2537-2539 ไดรบั ความชวยเหลือจากรฐั บาลเบลเยีย่ มพัฒนาการผลิตกำลังคน
สาขาวชิ าเทคนิคการผลิตและพัฒนสือ่ การสอน

ป พ.ศ. 2540 การอาชีวศึกษา ไดรับความสนใจอยางมากโดยรฐั บาลใหการสนับสนุน
จัดตั้งวิทยาลัยการอาชีพ 70 แหง วิทยาลัยเทคนิค 19 แหง และวิทยาลัยบริหารธุรกิจ
และการทองเที่ยว 2 แหง ในปจจุบันไดมีพระราชกฤษฏีกาแบงสวนราชการกรมอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ 2) กำหนดให สถาบันเทคโนโลยีปทุมวันเปนสวนราชการของกรม
อาชีวศึกษา และกำหนดอำนาจหนาที่ใหกรมอาชีวศึกษาจัดและสงเสริมการศึกษาวิชาชีพในระดับ

10

ปริญญาตรี อนุปริญญา ประกาศนียบัตรหลักสรู ระยะส้ันและหลักสูตรพิเศษ รวมถึงพระราชบัญญตั ิ
การจัดการศึกษาในสถาบันเทคโนโลยีปทมุ วนั

ป พ.ศ. 2541 ไดกำหนดใหสถาบันเทคโนโลยีปทุวันมีอำนาจจัดการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี และสถานศึกษาที่จัดหลักสูตรระดับปริญญา
หรอื เทยี บเทา ไดแ กหลกั สตู รประกาศนยี บัตรครวู ิชาชีพช้ันสูง (ปทส.) และปรญิ ญาตรี ในการเปดสอน
เปนไปตามเกณฑ มหาวิทยาลัยกำหนด

ป พ.ศ. 2542 ไดรับโครงการเงินยืมจากรัฐบาลเดนมารกเพื่อพัฒนาอาชีวเกษตร
ตามโครงการปรับปรุงรูปแบบโครงสรางสถานศึกษาเกษตร โดยมีวัตถุประสงคของโครงการเพื่อเพ่ิม
ความรู ทักษะปฏิบัติ และจัดหาเครื่องมือ-อุปกรณ เครื่องจักรกล และเทคโนโลยีที่ทันสมัยใหแก
นักเรียน นักศึกษา ในการผลิตสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร รวมถึงการขยายผลใหแก
เกษตรกรทองถ่ิน ตลอดจนพฒั นาบุคลากร หลกั สูตรการจดั อาชีวศึกษาเกษตร การพัฒนาอาชีวศึกษา
ไดพัฒนาเปนลำดับ โดยพิจารณาถึงระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา การพัฒนาหลักสูตรการ
เรียนการสอน การเทียบโอนหนวยกิตสะสม การขยายโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชน
และการพัฒนาบุคลากร ครู อาจารยอาชีวศึกษา ตลอดจนการสงเสริม ความรวมมือ ระหวางภาครฐั
และเอกชนรวมถงึ ตางประเทศ

วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหจัดตั้งสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ปจจุบนั มีสถานศึกษาในสังกัดจำนวน 875 แหง ประกอบดวยสถานศึกษาอาชีวศึกษา
รัฐบาล จำนวน 429 แหง และสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาเอกชน จำนวน 446 แหง

2.2 วทิ ยาลัยเทคนคิ พัทลงุ
2.2.1 ประวัติของวทิ ยาลัยเทคนิคพทั ลุง
วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง จัดตั้งเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ 2476 โดยทานอาจารยวินิต

โชตินุกูล สมัยทานขุนวิจารณ จรรยา ศึกษาธิการจังหวัดพัทลุง ในสมัยนั้นเปนโรงเรียนสังกัด
ประชาบาล เรียกชื่อ โรงเรียนประถมวิสามัญการชาง เปดสอนวิชาทําสวน (ทําแปลงผักเล็ก ๆ)
วิชาจกั สาน ใชส ถานทีโ่ รงเรียนวดั ภผู าภิมขุ

พ.ศ. 2477 เปด สอนวชิ าชางบดั กรี
พ.ศ. 2481 กรมอาชีวศึกษาอนุมัติใหเปดเปนโรงเรียนชางไม และไดจัดหาที่ใหม
คือ ทตี่ ั้งวทิ ยาลัยในปจ จบุ ัน
พ.ศ. 2499 เปล่ยี นชื่อใหมเ ปนโรงเรยี นการชางพทั ลุง
พ.ศ. 2501 ไดรบั การปรับปรุงเขา โครงการสปอ. เปด สอนวิชาชา งกอ สรา ง ชางยนต

11

พ.ศ. 2505 ชา งกลโรงงาน ชา งเช่ือมและโลหะแผน
พ.ศ. 2513 รวมกับโรงเรียนการชางสตรี มแี ผนกวิชาผาและเครื่องแตง กาย แผนกวิชา
อาหารและโภชนาการ
พ.ศ. 2516 เปดสอนแผนกวชิ าชางไฟฟา กาํ ลงั
พ.ศ. 2520 เปลี่ยนชอ่ื เปนโรงเรยี นเทคนิคพัทลงุ
พ.ศ. 2521 เปด สอนแผนกพณชิ ยการ
พ.ศ. 2522 ยกฐานะเปนวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง สังกัดกองวิทยาลัยเทคนิค
กรมอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2523 เปด สอนแผนกคหกรรมศาสตรทว่ั ไป
พ.ศ. 2524 เปด สอนระดับ ปวท. สาขาบรหิ ารธรุ กิจ แผนกวิชาการบัญชี
พ.ศ. 2525 เปด สอนแผนกวชิ าชา งอเิ ลก็ ทรอนิกส
พ.ศ. 2527 เปดสอนระดับ ปวส. สาขาวิชาชางยนต สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชา
คหกรรมศาสตรทว่ั ไป
พ.ศ. 2531 เปด สอนระดบั ปวส. สาขาวชิ าชา งไฟฟา กําลัง
พ.ศ. 2532 เปด สอนระดับ ปวส. สาขาวิชาการตลาด
พ.ศ. 2535 เปดสอนระดับ ปวส. สาขาวิชาเลขานุการ และ ปวส. แผนกวิชา
เทคนิคโลหะ
พ.ศ. 2536 เปดสอนระดับ ปวส. สาชาวิชาแมพ มิ พโ ลหะ และสาขาวชิ าชางกอ สรา ง
พ.ศ. 2537 เปดสอนระดับ ปวส. สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ เปดสอนระดับ ปวช.
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ รุ กจิ
พ.ศ. 2538 เปด สอนระดับ ปวส. สาขาวิชาการบญั ชี (รับจากผสู ําเรจ็ ม.๖)
พ.ศ. 2540 เปดสอนระดับ ปวช. (สมทบ) สาขาวิชาชางไฟฟา และ ปวส. (สมทบ)
การบัญชี
พ.ศ. 2541 เปดสอนระดับ ปวส. (สมทบ) สาขาวิชาชางกอสราง สาขาวิชาชางยนต
สาขาวชิ าชา งไฟฟา กําลงั สาขาวชิ าการบัญชี สาขาวชิ าการบัญชี (ม.๖)
พ.ศ. 2543 เปดสอนระดบั ปวส. สาขาวิชาการเงินการธนาคาร
พ.ศ. 2545 เปดสอนระดับ ปวส. สาขาวิชาชา งโยธา สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
(ม.๖)
พ.ศ. 2546 เปด สอนระดบั ปวส. สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ
พ.ศ. 2547 เปดสอนระดบั ปวส. สาขาวิชาเทคโนโลยยี างและพอลิเมอร

12

พ.ศ. 2551 เปดสอนแผนกวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเปดสอนระดับ ปวส.
สาขาวชิ าการโรงแรมและการบริการ

พ.ศ. 2552 เปดสอนระดบั ปวส. สาขาวชิ าการจัดการสาํ นกั งาน
พ.ศ. 2553 เปด สอนระดบั ปวส. สาขาวิชาการจัดการท่วั ไป
พ.ศ. 2554 เปดสอนระดับ ปวช. สาขาวิชาการโรงแรมและการบริการ และเปดสอน
ระดับ ปทส. สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาไฟฟากําลัง และสาขาวิชา
การกอสรา ง
พ.ศ. 2555 เปดสอนระดบั ปวส. สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจคา ปลกี
พ.ศ. 2556 เปดสอนระดับ ปวช.และ ปวส. สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาธุรกิจคาปลีก
สาขาวิชา แฟชั่นและสิง่ ทอ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ศ. 2559 เปดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชา
เทคโนโลยีการกอสราง
พ.ศ. 2562 เปดสอนระดับ ปวช. สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส ปวส. สาขาวิชาเมคคา
ทรอนกิ สและหุนยนต เปด สอนระดบั ปวช. สาขาวิชาชา งยนต สาขางานจักรยานยนตและเคร่ืองยนต
เล็กอเนกประสงค
พ.ศ. 2563 เปดสอนระดับ ปวส. สาขาวิชาการจัดการโลจสิ ติกส
2.2.2 ขอ มลู จำเพาะวทิ ยาลัยเทคนิคพัทลุง
ชอ่ื วทิ ยาลัยเทคนคิ พทั ลงุ
ชอ่ื ภาษาอังกฤษ Phatthalung Technical College
สังกัด สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
ปกอ ตงั้ / Year วนั ท่ี 10 เมษายน พ.ศ. 2476
ที่ตั้ง / Site ตั้งอยูเลขที่ 248 ถนนราเมศวร ตำบลคูหาสวรรค อำเภอเมือง
จังหวดั พัทลุง
โทรศพั ท / โทรสาร 0 7461 3066 , 0 7461 3052
Website www.ptl.ac.th
E – mail [email protected]
สปี ระจำวทิ ยาลยั เลือดหมู – ขาว
เนอ้ื ท่ี 22 ไร 2 งาน 77.1 ตารางวา
2.2.3 ปรชั ญา
วินยั ดี ทกั ษะเยย่ี ม เปย มคณุ ธรรม ล้ำเลิศวชิ า รวมพฒั นาสังคม

13

2.2.4 วสิ ยั ทศั น
หมายถึง ความคาดหวงั ของสถานศึกษาท่ตี องการใหบรรลุตามเจตนารมณท ่ีมงุ คุณภาพ

ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง กําหนดวิสัยทัศน ไวดังนี้ “เปนสถานศึกษาชั้นนํา

ดา นอาชวี ศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพมาตรฐานสากล และบริการสังคมภายใตศ าสตรพระราชา”
2.2.5 พันธกจิ
1. ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนากําลงั คนดานวิชาชีพสอดคลอง

กับความตองการของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระใหมีคุณภาพไดมาตรฐานใน
ระดับสากล

2. ขยายโอกาสการศกึ ษาวิชาชีพใหก ับประชาชนทุกชวงวยั
3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการอาชีวศึกษาภายใตหลักธรรมาภิบาลโดยอาศัย
เครือขา ยความรวมมือจากทกุ ภาคสวน
4. พัฒนางานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยีและสรางองคความรูเพื่อ
การจดั อาชีวศึกษาและพัฒนาวชิ าชีพ
5. พฒั นาครูและบคุ ลากรอาชีวศกึ ษาใหมีคณุ ภาพดว ยวธิ ีท่ีหลากหลาย
2.2.6 เปาประสงค
1. ดานคุณลักษณที่พึงประสงค ไดแก คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรม ลักษณะนิสัยและทักษะทางปญ ญา
2. ดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ไดแก ความรูและทักษะการสื่อสาร
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรูและการปฏิบัติงาน การทํางานรวมกับผูอ่ืน
การใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การประยุกตใ ชตวั เลข การจดั การและการพัฒนางาน
3. ดานสมรรถนะวิชาชีพ ไดแก ความสามารถในการประยุกตใชความรูและทักษะ
ในสาขาวิชาชีพ สกู ารปฏิบัติจรงิ รวมทัง้ ประยุกตสอู าชพี
2.2.7 ยุทธศาสตร
ยุทธศาสตรที่ 1 การจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษาเพื่อความม่ันคงของสงั คมและ
ประเทศชาติ
ยุทธศาสตรท ่ี 2 การผลิตและพฒั นากาํ ลังคนเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขัน
ยุทธศาสตรที่ 3 การผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ
สอดคลอ งกับความตอ งการในการพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทียมกัน
ในดานอาชวี ศกึ ษา

14

ยุทธศาสตรที่ 5 การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตร
กับสงิ่ แวดลอ ม

ยุทธศาสตรท ี่ 6 การเพิม่ ประสทิ ธิภาพระบบการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
2.2.8 อตั ลกั ษณแ ละเอกลกั ษณ

อัตลกั ษณ : ทักษะเดน เนนคุณธรรม
เอกลักษณ : ทักษะวิชาชพี เดน เห็นคณุ คา การบริการสังคม
2.2.9 คุณธรรมอัตลกั ษณ
ความรบั ผดิ ชอบ ความมีระเบยี บวินัย มีจิตอาสา
2.2.10 ขอ มลู หลกั สูตรระดับการศกึ ษาและวชิ าท่เี ปด สอนปการศกึ ษา 2562
หลกั สูตรระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ระดบั ปวช.) จดั การศกึ ษา ๔ ประเภทวชิ า คอื
1. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม

1) สาขาวิชาชางยนต
สาขางานยานยนต
สาขางานจักรยานยนตและเครอื่ งยนตเ ลก็ อเนกประสงค

2) สาขาวิชาชา งกลโรงงาน
สาขางานเครื่องมอื กล

3) สาขาวิชาชางเชือ่ มโลหะ
สาขางานโครงสราง

4) สาขาวิชาชางไฟฟากำลงั
สาขางานไฟฟา กำลัง

5) สาขาวิชาชา งอเิ ล็กทรอนกิ ส
สาขางานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส

6)สาขาวชิ าเทคนิคคอมพิวเตอร
สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร

7) สาขาวิชาชา งกอ สรา ง
สาขางานกอสราง

8) สาขาวิชาโยธา
สาขางานโยธา

9) สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ ส
สาขางานเมคคาทรอนกิ ส

15

2. ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม
1) สาขาวชิ าการบญั ชี
สาขางานการบัญชี
2) สาขาวชิ าการตลาด
สาขางานการตลาด
3) สาขาวิชาการเลขานกุ าร
สาขางานการเลขานุการ
4) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ
สาขางานคอมพวิ เตอรธรุ กจิ
5) สาขาวชิ าธรุ กจิ คาปลกี
สาขางานธุรกิจคาปลกี รานสะดวกซ้อื
สาขางานธรุ กจิ คา ปลกี สมัยใหม

3. ประเภทวชิ าคหกรรม
1) สาขาวชิ าแฟช่ันและสงิ่ ทอ
สาขางานแฟชัน่ ดไี ซน
2) สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ
สาขางานอาหารและโภชนาการ

4. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทอ งเทย่ี ว
1) สาขาวชิ าการโรงแรม
สาขางานการโรงแรม
2) สาขาวิชาการทอ งเทย่ี ว
สาขางานการทอ งเที่ยว

หลักสูตรประกาศนียบตั รวีชาชีพชัน้ สงู (ระดบั ปวส.) จดั การศกึ ษา 5 ประเภทวชิ า คือ
1. ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม

1) สาขาวิชาเทคนคิ เครอ่ื งกล
สาขางานเทคนิคยานยนต

2) สาขาวิชาเทคนคิ การผลิต
สาขางานแมพ มิ พโ ลหะ
สาขางานเครอ่ื งมอื กล

3) สาขาวชิ าเทคนิคโลหะ
สาขางานเทคโนโลยงี านเชือ่ มโครงสรางโลหะ

16

4) สาขาวิชาไฟฟา
สาขางานไฟฟา กำลงั

5) สาขาวิชาอิเลก็ ทรอนิกส
สาขางานอิเลก็ ทรอนิกสอุตสาหกรรม

6) สาขาวชิ าเทคโนโลยีโทรคมนาคม
สาขางานเทคโนโลยีระบบโทรคมนาคม

7) สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ สแ ละหุนยนต
สาขางานเมคคาทรอนกิ สและหนุ ยนต

8) สาขาวชิ าชา งกอ สราง
สาขางานกอสราง

9) สาขาวิชาโยธา
สาขางานโยธา

10) สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
สาขางานคอมพิวเตอรฮ ารดแวร

2. ประเภทวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
1) สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขางานเทคโนโลยสี ารสนเทศ

3. ประเภทวิชาบริหารธรุ กจิ
1) สาขาวิชาการบัญชี
สาขางานการบัญชี
2) สาขาวิชาการตลาด
สาขางานการตลาด
3) สาขาวิชาธุรกจิ คา ปลกี
สาขางานธรุ กิจคาปลีกสะดวกซอ้ื
สาขางานธุรกจิ คา ปลีกทั่วไป
4) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ ุรกิจ
สาขางานคอมพิวเตอรธ ุรกิจ
5) สาขาวิชาการจัดการทว่ั ไป
สาขางานการจดั การทวั่ ไป
6) สาขาวิชาการจดั การสำนกั งาน
สาขางานการจดั การสำนักงาน

17

4. ประเภทวชิ าคหกรรม
1) สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
สาขางานอาหารและโภชนาการ

5. ประเภทวิชาอตุ สาหกรรมทองเทีย่ ว
1) สาขาวิชาการโรงแรม
สาขางานบริการอาหารและเครอ่ื งดม่ื

หลักสูตรปรญิ ญาตรี
1. สายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั กิ าร

สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารกอสราง

2.3 การแนะแนว
ครัมโบลซ (J, D. Krumboltz, 1970 อางอิงจาก วัฒนา พัชราวนชิ , 2531) ใหความหมาย

การแนะแนว คือ กระบวนการที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกันระหวางผูที่มีปญหาที่ตองการ
ความชวยเหลือและผูแนะแนวที่ผานการฝกอบรมมาอยางดี รวมทั้งผานการศึกษาเกี่ยวกับ
การแนะแนวมาแลว มจี ุดมุงหมายปลายทางที่จะชวยเหลือใหผูประสบปญหาไดมีโอกาสเรยี นรูที่จะ
เผชิญกบั สภาพความเปน จรงิ และส่งิ แวดลอมรอบ ๆ ตวั ไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ

กูด (Carter V. Good, 1973 อางอิงจาก วัฒนา พัชราวนิช, 2531) ใหความหมาย
การแนะแนว ดงั นี้

1. การแนะแนว คือการชว ยเหลือใหแตล ะบุคคลสามารถเขาใจตนเองและโลกเก่ียวกับ
ตนเองไดดี สามารถเสาะแสวงหาความรูเพื่อนำไปสูความเขาใจเกี่ยวกับความกาวหนา ทางการศึกษา
การพัฒนาอาชพี และการมบี ุคลกิ ภาพทีเ่ หมาะสม

2. การแนะแนว คือวิธีการชวยเหลืออยา งมีแบบแผนตอเนื่องกัน ซึ่งนอกเหนอื ไปจาก
การสอนตามปกติ เปนการชวยเหลือใหนักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลอื่นๆ สามารถประเมิน
ความสามารถของตนเองและขอบกพรองของตนเองเพ่ือจะนำไปใชเ ปน ประโยชนใ นชีวติ ประจำวันได

3. การแนะแนว เปนวิธีการที่กระทำโดยตรงตอเด็ก ในการที่จะนำเด็กไปสูจุดหมาย
ปลายทาง โดยการจัดสภาพแวดลอมใหแกเด็ก เพื่อจะเปนสาเหตุใหเด็กทราบถึงความปรารถนา
และความตองการเบื้องตนของตนเอง และเกิดความสนใจตอความตองการเหลานั้น อันจะนำไปสู
ลำดบั ข้ันของความสำเรจ็ ตามท่ีตนเองปรารถนา

4. การแนะแนว เปนวิธีการที่ครูจะนำเด็กใหรูจักวิธีการศึกษาคนควา และไดรับ
การตอบสนองตามความตอ งการของตนเอง

18

2.3.1 จุดมงุ หมายของการจดั การบรกิ ารแนะแนว
การแนะแนวมีความสำคัญมากจึงมีขอบขายที่กวางขวาง โดยเฉพาะ

ในสถาบันการศึกษาทุกระดับ ดังนั้นความหมายในการจัดบริการแนะแนวจึงควรเนนทั้งดาน
การปอ งกันปญ หา การแกปญหาและการสง เสรมิ พัฒนาการแกบ คุ คล

จุดมุงหมายของการแนะแนว คอื ทำใหบ ุคคลพัฒนาดว ยตัวเองอยางดีท่ีสุดทง้ั ทางดา น
รางกาย สติปญญา อารมณสังคม และจิตใจและชวยใหบุคคลชวยเหลือตัวเองไดในทุกเรื่อง เรียนรู
ที่จะดำรงอยอู ยางมคี วามสขุ

2.3.2 วตั ถุประสงคการแนะแนว
1. เพื่อชวยใหนักศึกษาไดรับขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการเรียนและสามารถเขาใจ

คณุ สมบัตขิ องบคุ คลทจี่ ะศกึ ษาตอ
2. เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถปรับตนเองไหเขากับการเรียนในแตละสาขาวิชา

และวางแผนทางการศกึ ษาไดอยางเหมาะสม
3. เพื่อสงเสริมพัฒนาการทุกดานของนักศึกษาทั้งทางรางกาย สติปญญา อารมณ

และสังคมใหไปไดดวยดี
4. เพื่อสรางเสริมและแกไขพฤติกรรมที่เปนปญหาของนักศึกษา ใหเปลี่ยนแปลงไป

ในแนวทางท่ีดี มีคุณภาพชวี ติ ท่พี ึงประสงคแ ละเปนทย่ี อมรับของสังคม
5. เพื่อชว ยเหลือดูแลนักศึกษาใหรูสมรรถภาพของตนเอง มองเห็นคุณคาความสำคัญ

ของตนเอง มองเห็นชีวิตในอนาคต รูและปฏิบัติตนอยางชาญฉลาด ซึ่งจะเปนประโยชนตอตนเอง
และสังคม

2.3.3 ประเภทของการแนะแนว
1. แนะแนวทางการศึกษา (Education Guidance) การแนะแนวทางการศึกษา

เปนกระบวนการของการใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับทางดานการศึกษา ซึ่งจะชวยใหผูเรียน
หรอื ผูรับบริการทราบถึงแนวทางการเขารับการศึกษา แนวโนม ของการศึกษา โอกาสของการศึกษา
ในอนาคต ซึ่งจะชวยใหผูเรียนหรอื ผูรับบริการ สามารถเลือกแนวทางการศึกษา ไดอยางเหมาะสม
กับความสามารถทางสติปญญา ความถนัด ความสนใจ ซึ่งจะสงผลตอการเลือกประกอบอาชีพใน
อนาคต

2. แ น ะ แ น ว ท า ง อ า ช ี พ ( Vocational Guidance) ก า ร แ น ะแ นว ท า ง อ า ชี พ
เปนกระบวนการของการใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับโลกของงานอาชีพ แนวทางและโอกาส
ของการประกอบอาชีพแตละอาชีพ การแนะแนวทางอาชีพ จะชวยใหผูเรียน ผูร ับบริการรูจักศึกษา
โลกของงานอาชีพ รูจักเตรียมตัวทางดานอาชพี และชวยใหผูเรียนหรือผูรับบริการเลือกงานอาชีพ

19

ที่เหมาะสมกับตนเอง สามารถวางแผนการประกอบอาชีพได ซึ่งจะทำใหทำงานอาชีพไดบรรลุ
ผลสำเรจ็ ตามเปาหมาย และมคี วามสขุ กับการทำงาน

3. การแนะแนวทางดานสังคมสวนตัว (Personal Social Guidance) การแนะแนว
ทางดานสังคมสวนตัว เปนกระบวนการของการใหความชวยเหลือผูเรียนหรือผูรับบริการ
ใหรจู ักปฏิบัติตนที่เหมาะสมเพื่อใหสามารถดำเนินชีวติ อยูในสังคมไดอยางมีความสขุ เปนผูที่มีสขุ ภาพ
กายและสุขภาพจิตดี มีความเขาใจตนเองและผูอื่น สามารถทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางราบรื่น
รูจกั ทำตนใหเ ปน ประโยชนทั้งตอตนเองและบคุ คลอื่น

2.3.4 การบรกิ ารแนะแนว
1. บริการศึกษาและรวบรวมขอมูล (Individual Inventory Service) หมายถึง

การศึกษาสำรวจ รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับตัวผูเรียนทางดานการศึกษา อาชีพ บุคลิกภาพ
และสิ่งแวดลอม ซึ่งเมื่อนำขอมูลมาวิเคราะห และจัดระบบแลวจะทำใหผูแนะแนวไดรูจักผูเรียน
และสามารถใหความชวยเหลือ สงเสริม และพัฒนาไดอยางถูกตอง สามารถชวยใหผูเรียน
หรือผรู บั บริการเขา ใจตนเอง และยอมรับตนเอง

2. บริการสนเทศ (Information Service) หมายถึง การใหขอมูลขาวสาร ความรู
เพื่อใหผูเรียนเกิดการพัฒนา เปนกิจกรรมตอเนื่องจากบริการศึกษาและรวบรวมขอมูล จะชวยให
ผูเรียนไดรับขอมูลขาวสารความรูตรงกับความตองการ ในการสงเสริม พัฒนา ตลอดจนแกปญหา
อยางเหมาะสม

3. บริการใหคำปรึกษา (Counseling Service) หมายถึง การใหความชวยเหลือ
ความใกลชิด ความอบอุน ความมั่นใจ สติปญญา ซึ่งจะชวยใหผูเรียนสามารถตัดสินใจ และเลือก
ไดอยางฉลาด ถูกตอง เหมาะสมกับสภาพปญหา ความตองการ ความจำเปน ซึ่งการใหคำปรึกษา
ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ จำเปนจะตอ งมีขอ มูลทถี่ ูกตอง ลึกซ้ึงอยางเพียงพอ

4. บริการจัดวางตัวบุคคล (Placement Service) หมายถึง บริการที่จะชวยใหผูเรียน
สามารถดำเนินการตามท่ตี ัดสนิ ใจเลือกไว เชน ไดเ รียนในวิชาหรือประกอบอาชพี ที่เลอื กไว เปนตน

5. บริการติดตามและประเมินผล (Follow – up Service) จัดทำขึ้นเพื่อดำเนินการ
ติดตามผลผูเรียนภายหลังจากที่ไดรับบริการแนะแนวไปแลววาไดประโยชนมากนอยเพียงไร
นอกจากนี้ยังชวยใหผูจัดบริการแนะแนวไดทราบวาบริการตาง ๆ ที่จัดข้ึนน้ัน ไดผลมากนอยเพียงใด
มีจดุ เดน อะไรบาง และมจี ุดออนท่จี ะตอ งรบี ปรับปรุงแกไ ขอยา งไร

2.3.5 รูปแบบการใหบรกิ ารแนะแนว
1. การใหบ รกิ ารทางโทรศพั ท
2. การใหบรกิ ารทางเครอื ขา ย Internet
3. การใหบริการโดยส่ือเอกสารและอเิ ลก็ ทรอนิกส

20

4. การใหบ ริการโดยส่ือประชาสมั พนั ธ
5. การใหบ รกิ ารเปน รายกลุม -รายบคุ คล

1) ศูนยใหคำปรึกษาแนะนำ (Guidance Center)
2) หนวยงานแนะแนวเคลื่อนท่ี
2.3.6 ประโยชนของการแนะแนว
การแนะแนวนับวาเปนการที่สำคัญที่เกี่ยวของกับการศึกษาอยูตลอดเวลา
การแนะแนวมปี ระโยชนม ากมาย ดังนี้
1. ชวยใหนักเรียนศึกษาหาความรูอยางถูกวิธี ทำใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียน
การสอน
2. ชวยใหนักเรียนสามารถเรียนไปตามความถนัดของตนเอง สามารถเลือกวิชา
ตามความรูความสามารถของตนเอง
3. ชวยใหนักเรียนรูจักคิด และรวมกิจกรรมตาง ๆ ไปตามความพอใจ
และความสามารถของตนเอง
4. ชวยใหนักเรียนสามารถเลือกอาชีพไปตามความถนัดของตนเองอันจะเปน
แนวทางไปสคู วามสัมฤทธผิ์ ลในวิชาท่ีตนเองเลือกเรยี น
5. ชว ยใหน ักเรียนเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักคิดและปฏิบตั สิ ง่ิ ใหม ๆ ไดดวย
ตนเองสรางความเช่ือม่ันใหกับตนเอง
6. ชว ยใหนกั เรียนประสบความสำเรจ็ ในการศึกษาเลา เรยี น และสามารถนำความรู
ที่ไดร บั ไปปรบั ตัวใหอ ยูในสงั คมไดอ ยา งราบร่นื
7. ชวยใหน กั เรียนเขา ใจตนเอง รูจักคิดและแกไขปญหาไดดวยตนเอง รูจ ักวางแผน
ชีวิตในอนาคตและดำเนนิ ชีวิตไปตามท่ีตนเองตอ งการ
8. ชวยใหนักเรียนรูจักและเขาใจสภาพแวดลอมรอบ ๆ ตัว รูจักและเขาใจ
บุคคลอ่นื ไดด ี
9. ชวยใหน ักเรยี นเปน คนที่มีเหตผุ ล รูจกั คณุ คาของตนเองและนำคุณคา ของตนเอง
ไปใชป ระโยชน
10. ชวยใหน ักเรยี นเปนบุคคลที่มีคณุ ภาพ
2.3.7 ปรชั ญาสำคญั ของการแนะแนว
1. มนุษยมีความแตกตางกันทั้งบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย เจตคติ ความรูสึก สภาวะ
ของจติ และอารมณ ความสนใจ ความสามารถ ความถนดั และสตปิ ญ ญา
2. พฤติกรรมของมนุษยยอมมสี าเหตุ มรี ปู แบบทแี่ ตกตา งกันไป และมกี ารเปลย่ี นแปลง
อยูเสมอ ซ่งึ อาจจะเปล่ียนไปในทางท่ีดหี รือไมดีกไ็ ด

21

3. มนษุ ยท กุ คนยอมมีปญหา มคี วามคับของใจ และตอ งการไดร ับการชว ยเหลอื
4. มนุษยมีศักดิ์ศรี มีศักยภาพ เปนทรัพยากรที่มีคุณคาสูงยิ่ง จะมีความสุขก็ตอเม่ือ
มโี อกาสไดใชความรูความสามารถสติปญญาอยางเต็มท่ี หากไดรับการแนะแนวที่ถูกตอง จะสามารถ
ชวยตนเองใหพัฒนาเจริญงอกงามถึงขีดสุดตลอดจนสามารถดำเนินชีวิตเปนประโยชนตอตนเอง
และสว นรวม
5. การแนะแนวยึดหลักเมตตาธรรม อาศัยความรัก ความหวังดีตอกันยึดม่ัน
ในความเปนประชาธปิ ไตย เคารพกันตามเหตุผลและรวมมอื ประสานงานกนั
6. การใหคำปรึกษาเปนหัวใจสำคัญของการแนะแนวยึดหลักการวาชวยใหเขารูจัก
การปรบั ตัว และสามารถนำตนเองชวยเหลอื ตนเองไดใ นโอกาสตอ ไป

2.4 แนวคดิ และทฤษฎีเกยี่ วกับความพงึ พอใจ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน (2554) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา

พึงพอใจ หมายถึง รกั ชอบใจ และพึงใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ
ดิเรก (2528) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มีตอสิ่งใด

สงิ่ หนงึ่ เปนความรูสกึ หรือทัศนคติท่ีดีตองานทีท่ ำของบคุ คลท่ีมตี องานในทางบวก ความสุขของบุคคล
อันเกิดจากการปฏิบตั ิงานและไดรบั ผลเปนที่พึงพอใจ ทำใหบุคคลเกิดความกระตือรือรน มคี วามสุข
ความมุงมั่นที่จะทำงาน มีขวัญและมีกำลังใจ มีความผูกพันกับหนวยงาน มีความภาคภูมิใจ
ในความสำเร็จของงานที่ทำ และสิ่งเหลานี้จะสงผลตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน
สงผลตอถึงความกาวหนาและความสำเร็จขององคก ารอีกดว ย

วิรุฬ (2542) กลาววา ความพึงพอใจเปนความรูสึกภายในจิตใจของมนุษยท่ีไมเหมือนกัน
ข้นึ อยูกบั แตล ะบุคคลวาจะมคี วามคาดหมายกับส่ิงหนง่ึ สิ่งใดอยางไร ถาคาดหวังหรือมีความตั้งใจมาก
และไดร บั การตอบสนองดว ยดจี ะมีความพงึ พอใจมากแตในทางตรงกันขามอาจผิดหวังหรือไมพึงพอใจ
เปนอยางยิ่ง เมื่อไมไดรับการตอบสนองตามที่คาดหวังไวทั้งนี้ขึ้นอยูกับสิ่งที่ตั้งใจไววาจะมีมาก
หรือนอย

ฉัตรชัย (2535) กลาววา ความพึงพอใจหมายถึงความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มี
ตอสิ่งหนึ่งหรือปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ความรูสึกพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความตองการของบุคคล
ไดรับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุงหมายในระดับหนึ่ง ความรูสึกดังกลาวจะลดลงหรือไมเกิดขึ้น
หากความตอ งการหรือจุดมงุ หมายนน้ั ไมไดร บั การตอบสนอง

กาญจนา (2546) กลา ววา ความพงึ พอใจของมนุษยเปนการแสดงออกทางพฤตกิ รรมท่ีเปน
นามธรรม ไมสามารถมองเห็นเปนรูปรางได การที่เราจะทราบวาบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม
สามารถสังเกตโดยการแสดงออกที่คอนขางสลับซับซอนและตองมีสิ่งเราท่ีตรงตอความตองการของ

22

บุคคล จึงจะทำใหบุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังนั้นสิ่งเราจึงเปนแรงจูงใจของบุคคลนั้นใหเกิด
ความพึงพอใจในงานน้นั

กิตติมา (2529) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกชอบหรือพอใจที่มีตอ
องคป ระกอบและสงิ่ จงู ใจในดา นตา ง ๆ เมือ่ ไดรับการตอบสนอง

นภารัตน (2544) กลาววา ความพึงพอใจเปนความรูสึกทางบวกความรูสึกทางลบ
และความสุขที่มีความสัมพันธกันอยางซับซอน โดยความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความรูสึกทางบวก
มากกวา ทางลบ

เทพพนม และสวิง (2540) กลาววา ความพึงพอใจเปนภาวะของความพึงใจหรือภาวะที่มี
อารมณในทางบวกที่เกิดขึ้น เนื่องจากการประเมินประสบการณของคน ๆ หนึ่ง สิ่งที่ขาดหายไป
ระหวา งการเสนอใหกบั สง่ิ ท่ไี ดร ับจะเปนรากฐานของการพอใจและไมพ อใจได

สงา (2540) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึงความรูสึกที่เกิดขึ้นเมื่อไดรับผลสำเร็จ
ตามความมงุ หมายหรอื เปน ความรูสกึ ขนั้ สุดทายที่ไดรบั ผลสำเร็จตามวตั ถุประสงค

จากนิยามดังกลาวสรุปไดว า ความพงึ พอใจ หมายถึง ความรสู ึกที่ดี ความรสู ึกรัก ชอบในสงิ่
ท่ีสอดคลอ งกับความตองการของตนเอง ความพึงพอใจกอใหเกิดความรวมมือ รวมใจ ความเขา ใจอนั ดี
ตอ กัน และเปน ปจจัยสำคญั ประการหนง่ึ ทชี่ ว ยใหประสบความสำเร็จ

2.5 งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วของ
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสตูล (2561) ไดทำการศึกษาเรื่องแนวทางการเพิ่มสัดสวน

การศึกษาตออาชีวศึกษาในจังหวัดสตูล โดยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเสนอแนวทางการเพิ่มสัดสวน
การศกึ ษาตออาชีวศึกษาในจังหวดั สตลู โดยใชระเบยี บการวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research)
แบงการวจิ ยั เปน 7 ขั้นตอน ประกอบดว ย (1) ศกึ ษา วิเคราะหและสังเคราะหเอกสารเกี่ยวกับแนวคดิ
ทฤษฎีและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวของกบั การเพ่ิมสดั สว นการศึกษาตออาชีวศกึ ษาเพื่อใหไดประเด็นขอคำถาม
สำหรับสรางเครื่องมือในการสอบถามความเห็นของผูเขาสัมมนา (2) จัดประชุมสัมมนาผูท่ีเกี่ยวของ
โดยนำประเด็นทไี่ ดจ ากการสงั เคราะหเอกสาร มาใชเปนหวั ขอ ของการสมั มนา (3) วเิ คราะหความเห็น
ท่ไี ดจากการสัมมนา โดยใชเทคนิคการวเิ คราะหขอมูลเชิงคุณภาพ (4) ยกรา งแนวทางการเพ่ิมสัดสว น
การศึกษาตออาชีวศึกษาในจังหวัดสตูล (5) ตรวจสอบราง โดยอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนา
การศึกษา (6) ยืนยันแนวทางโดยการนำเสนอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดใหความเห็นชอบ
และ (7) ปรับปรุงและรายงานผลการวจิ ยั

ผลการวิจยั พบวา
1. โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาและโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ควร

1) แนะแนวเพอ่ื สรางความรคู วามเขาใจใหแ กนักเรยี น

23

2) ประชาสัมพนั ธและสรางความรคู วามเขา ใจใหก บั ครู ผปู กครอง และชุมชน
3) เปดโอกาสใหส ถาบันอาชวี ศึกษาเขามาแนะแนวในโรงเรียน
4) ปรบั หลักสูตรของโรงเรียนใหสอดคลองกับสถานการณป จจุบนั
5) จัดกจิ กรรมเสรมิ สรา งทกั ษะดานอาชีพใหกับนักเรยี นเพ่ิมมากขึน้
6) จดั การเรยี นการสอนหลักสตู รทวิศกึ ษา
2. สถาบนั อาชีวศกึ ษาในจงั หวัดสตลู
1) แนะแนวใหกบั นกั เรยี นในสถานศกึ ษาทกุ สงั กดั ทุกแหงอยางท่ัวถึง
2) ประชาสัมพันธอยา งทั่วถงึ ดว ยวธิ กี ารที่หลากหลาย
3) ปรับปรุงหรอื เปด หลักสูตรที่สอดคลองกบั ยุทธศาสตรจ งั หวัดและความตอ งการ
ของสถานประกอบการ
4) สรางภาพลักษณทด่ี ขี องสถาบนั
5) ฝก อาชพี ระยะสน้ั ใหแ กน กั เรียนในสถานศกึ ษา
6) บูรณาการแนวทางของศาสนาอสิ ลามในหลักสตู รการเรยี นการสอน
7) ใหนักศกึ ษาหรอื ศิษยเ กาออกหนวยบริการแกประชาชน
8) พัฒนาสถาบันใหมีคุณภาพมากขึน้
9) จดั หาทนุ การศึกษาใหแ กนกั เรยี นเรยี นดแี ตย ากจน
10) ทำ MOU ทวิศกึ ษากบั สถานศกึ ษา
11) เปดสอนภาคสมทบหรอื ในวนั เสาร- อาทิตย
12) จัดโควตาศกึ ษาตอ ในสถาบนั อาชีวศกึ ษาใหก ับนกั เรียนทุกสงั กดั
13) มหี อพักใหก บั นกั ศกึ ษาทอี่ ยใู นพื้นที่หา งไกล
14) สรา งจุดเดนของแตล ะสถาบัน
3. หนว ยงานท่กี ำกับสถานศกึ ษาหรอื หนวยงานภาครฐั ที่เก่ยี วขอ ง
1) ใหมีการการประสานความรวมมอื ทั้งในขั้นกำหนดนโยบายและขัน้ ขับเคลือ่ น
งานใหส อดคลอ งกัน
2) ใหความรู ขอมลู ชี้ใหเ ห็นถงึ ประโยชนข องการเรียนอาชวี ศึกษาใหก บั ผูปกครอง
3) สรา งความเชอ่ื ม่ันใหผูป กครอง
4) ทำ MOU กับสถานประกอบการในการรบั นักศกึ ษาเขาทำงาน
5) มีการศกึ ษาวจิ ยั เรอื่ งแนวทางการสรา งเจตคตทิ ด่ี ใี หแกผปู กครอง
6) จัดทุนการศกึ ษาและทนุ เพือ่ ประกอบอาชีพใหแกผูเ รยี นอาชีวศกึ ษา
7) กระตนุ เศรษฐกจิ เพ่อื เพม่ิ สถานประกอบการ
4. ภาคเอกชน

24

1) สนบั สนนุ สถานท่ีในการฝก ประสบการณ
2) ขยายตลาดแรงงาน
อภิวันท โดดเด่ียว (2557) ไดทำการศึกษาเรื่องความพึงพอใจของนักเรียนในการเขารว ม
การศกึ ษาตอ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณชิ ยการสุโขทยั มีวตั ถุประสงคเพ่ือ
1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกสาขา
วชิ าชีพของนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาช้นั ปท ี่ 3 และปที่ 6
2. เพื่อวิเคราะหปจจัยในความพึงพอใจที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกศึกษาตอวิชาชีพ
ของนกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาชั้นปท ่ี 3 และปท ่ี 6
การศึกษาคร้ังน้ีเปนการเก็บขอมูลแบบเจาะจง ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการ
วิจยั และนําขอ มูลมาวิเคราะหโปรแกรมสาํ เร็จรูปทางสถิติ ผลการศึกษามดี งั นี้
ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามพบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนนักเรียน
ช้ันมธั ยมศึกษาช้ันปที่ 3 มากที่สุด อายุ 13-15 ป มีความเกี่ยวของกับการเลือกสถานศึกษาเพ่ือท่ีจะ
ศกึ ษาตอ
ขอมูลดานความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถาม พบวาผูตอบแบบสอบถาม
ใหระดบั ความพึงใจของการประชาสัมพนั ธการศกึ ษาเรยี นตอ อยใู นเกณฑด มี าก
น้ำฝน ลูกคำ (2555) ไดทำการศึกษาเรื่องความตองการและความคาดหวังของนักเรียน
มัธยมศึกษาตอนปลายตอการเลือกศึกษาตอในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา การศึกษาครั้งนี้
เปน การเก็บขอมูลแบบเจาะจง ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการวิจัย และนำขอ มูลมาวิเคราะห
โปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางสถิติ ผลการศึกษามดี งั นี้
ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาชน้ั ปท ่ี 3 มากท่สี ุดอายุ 13-15 ป มคี วามเกย่ี วขอ งกบั การเลอื กสถานศกึ ษาเพ่อื ทจ่ี ะศึกษาตอ
ขอมูลดานความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถาม พบวาผูตอบแบบสอบถามใหระดับ
ความพงึ พอใจของการประชาสมั พันธการศกึ ษาเรียนตอ อยูในเกณฑดีมาก
การวิจัยครัง้ นี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาความตองการและความคาดหวังของนักเรียน
มัธยมศกึ ษาตอนปลายตอ การศกึ ษาตอในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา
ประชากรที่ใชในการการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่กำลัง
ศึกษาอยูในปการศึกษา 2554 ที่ไดรับการแนะแนวการศึกษาตอในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
โดยใชส ตู รการคำนวณหาขนาดกลุมตวั อยางที่ไมทราบขนาดของกลุม ประชากรตามวธิ กี ารสูตรของคอ
แครน

25

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นเอง
โดยทำการศกึ ษาทง้ั กลมุ ประชากร จำนวน 334 คน วิเคราะหข อมูลใช รอยละ คา เฉลี่ย สว นเบย่ี งเบน
มาตรฐาน

ผลการวิจัย พบวา โดยภาพรวมทั้ง 6 ดาน ไดแก ดานหลักสูตรการเรียนการสอน
ดานอาจารยผูสอน ดานสื่อ/อุปกรณการเรียนการสอน ดานสถานที่สำหรับจัดการเรียนการสอน
(สภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองเรียน) ดานการใหบริการดานวิชาการ (หองสมุด
และหองปฏิบัติการ การใหบริการของเจาหนาที่ การใหคำแนะนำของอาจารยที่ปรึกษา) และดาน
การใหบริการทั่วไป (ทุน ขอมูลขาวสาร สุขภาพ กิจกรรมนักศึกษา) นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
มคี วามตองการและความคาดหวงั โดยรวมอยูใ นระดับมาก และเม่ือพจิ ารณาในแตล ะดานจะแตกตาง
กันไป ผวู ิจัยขออภปิ รายผลเปนรายดานดงั ตอไปน้ี

1. ดานหลักสูตรการเรียนการสอน พบวา นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
มีความตองการและความคาดหวังโดยรวมอยูในระดับมาก กลาวคือ ในปจจุบันการนาเทคโนโลยี
มาใชในการจัดการเรียนการสอนมีบทบาทในการเรียนการสอนมากขึ้น เปนการเรียนรูที่สามารถ
นำไปปฏิบัติได มีการเรียนรูจากสถานการณจริง มีแหลงศึกษาเรียนรูที่ไดมาตรฐานทำใหผูเรียน
สามารถพัฒนาตนเองไดเ ตม็ ตามศักยภาพ

2. ดานอาจารยผูสอน พบวา นกั เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมีความตองการและ
ความคาดหวังโดยรวมอยูในระดับมาก กลาวคือ ความรูความสามารถ ความเช่ียวชาญในเนื้อหาวิชา
ความสามารถในการอธิบายและถายทอดความรู การวัดและประเมินผลตรงตามวัตถุประสงค
และครอบคลุมเนื้อหาวิชา บุคลิกภาพเหมาะสมกับความเปนครูและอาจารย คุณธรรม จริยธรรม
ของอาจารยผูสอน การดำเนินการเรียนการสอนตรงตามวัตถุประสงคและครอบคลุมเนื้อหาวิชา
การวางแผนและเตรียมการเรียนการสอน และการยอมรับฟงความคิดเห็นและขอวิจารณของผูเรียน
ยังคงเปนที่ตองการและความคาดหวังของผูตองการศึกษาตอในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ท้ังสนิ้

3. ดานสื่อ/อุปกรณการเรียนการสอน พบวา นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
มีความตองการและความคาดหวังโดยรวมอยูในระดับมาก กลาวคือ ความเพียงพอของอุปกรณ
การเรยี นการสอน สือ่ /อุปกรณป ระกอบการเรียนการสอนมคี วามชดั เจนและเขาใจงาย การใชอุปกรณ
การเรียนการสอนอยางคุมคาและประสิทธิภาพของอุปกรณการเรียนการสอนยังคงเปนที่ตองการ
และความคาดหวงั ของผตู อ งการศกึ ษาตอในมหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทาทงั้ สนิ้

4. ดานสถานที่สำหรับจัดการเรียนการสอน (สภาพแวดลอมภายในและภายนอก
หองเรียน) พบวา นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมีความตองการและความคาดหวังโดยรวมอยู
ในระดับมาก กลาวคือ สภาพแวดลอมภายในหองเรียนโดยรวม (เชน ความสะอาด แสง

26

การถายเทอากาศ เปนตน) สภาพแวดลอมภายนอกหองเรียนโดยรวม (เชน ความสะอาด ความสวย
รมรื่น เปนตน) ยังคงเปนที่ตองการและความคาดหวังของผูตองการศึกษาตอในมหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสนุ นั ทาทงั้ ส้ิน

5. ดานการใหบริการดานวิชาการ (หองสมุดและหองปฏิบัติการ การใหบริการ
ของเจาหนาท่ี การใหคำแนะนำของอาจารยที่ปรึกษา) พบวา นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
มีความตองการและความคาดหวังโดยรวมอยูในระดับมาก กลาวคือ ความทันสมัยของหนังสือ/
สื่อสิ่งพิมพที่ใหบริการของหองสมุด ความเพียงพอของสื่อ อุปกรณที่ใหบริการของหองสมุด
การใหบริการทางวิชาการ/การจดั ประชม/สัมมนาทางวิชาการ/การจัดอบรมเพื่อประโยชนแกสังคม
และผูเรียน ความเพียงพอของหนังสือ/สื่อสิ่งพิมพที่ใหบริการของหองสมุด ความทันสมัยของสื่อ
อุปกรณในหองสมุด การใหคำแนะนำ/ดูแลเอาใจใสของอาจารยที่ปรึกษา ความหลากหลายในการ
คนควาของหนังสือ/สื่อสิ่งพิมพที่ใหบริการของหองสมุด การใหบริการของเจาหนาที่หองปฏิบัติการ
การใหบริการของเจาหนาที่หองสมุด ความเพียงพอของอุปกรณที่ใหบริการในหองปฏิบัติการ
และความทันสมัยของอุปกรณใ นหองปฏิบัติการยังคงเปนที่ตองการและความคาดหวงั ของผูตองการ
ศึกษาตอในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทาท้งั สิน้

6. ดานการใหบริการทั่วไป (ทุน ขอมูลขาวสาร สุขภาพ กิจกรรมนักศึกษา) พบวา
นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมีความตองการและความคาดหวังโดยรวมอยูในระดับมาก กลาวคอื
การมที ุน/กองทนุ สนบั สนุนการศึกษา การควบคมุ การจาหนายอาหารที่มคี ณุ ภาพในราคาที่เหมาะสม
การดูแลและรักษาระบบสาธารณูปโภคภายในบริเวณมหาวิทยาลัย ผลของการใหบริการโดยรวม
ของมหาวิทยาลัย การใหการสนับสนุนกิจกรรมของนิสติ นักศึกษา จุดใหบ ริการ One Stop Service
การใหบริการดา นสขุ ภาพอนามัย การใหบริการดานระบบงานทะเบียน การใหบ ริการขอมูลขาวสาร
แกนิสิตนกั ศึกษา และการรักษาความปลอดภัยภายในบริเวณสถาบัน ยังคงเปนที่ตองการและความ
คาดหวงั ของผูตอ งการศึกษาตอ ในมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทาทงั้ สิน้

นิรุทธ วัฒโนภาส และวัลลภา วงศศักดิรินทร (2561) ไดทำการศึกษาเรื่องการศึกษา
ความตองการการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความตองการการจัดบริการแนะแนว
ในโรงเรียนในดานการแนะแนวการศึกษา ดานการแนะแนวอาชีพ และดานการแนะแนวสวนตัว
และสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม
กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำป
การศึกษา 2560 จำนวน 113 คน โดยวิธีการสุมแบบแบงชั้น(Stratified Random Sampling)
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก
คา รอ ยละ คาเฉลยี่ และคา สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย พบวา

27

1. ความตองการการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนในภาพรวม ดานการแนะแนว
การศกึ ษา ดา นการแนะแนวอาชพี และดานการแนะแนวสวนตวั และสงั คมของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 6 โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร อยูในระดบั มาก

2. ความตองการการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียน ดานการแนะแนวการศึกษา
ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ศิลปากร อยใู นระดับมาก

3. ความตองการการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียน ดานการแนะแนวอาชีพของ
นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 6 โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลยั ศิลปากร อยใู นระดบั มาก

4. ความตองการการจดั บริการแนะแนวในโรงเรียน ดานการแนะแนวสวนตวั และสังคม
ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ศิลปากร อยใู นระดับมาก

บทท่ี 3
วธิ กี ารดำเนนิ งาน

การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนในสังกัดเครือขาย
ท่ีวิทยาลัยเทคนิคพัทลุงเขาแนะแนว ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน โดยการแนะแนวศึกษาตอของ
วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ประจำปการศึกษา 2563 เพื่อใหผูที่สนใจทางดานสายอาชีพ ไดมีความรู
ความเขาใจเก่ยี วกบั การจดั การเรยี นการสอนสายอาชพี ของวทิ ยาลยั เทคนิคพัทลงุ

การศกึ ษาคน ควา ในคร้งั น้ี มีวิธีดำเนินการเปนขั้นตอนตามลำดบั ดังน้ี
3.1 ประชากรและกลุมตวั อยา ง
3.2 เครือ่ งมอื ท่ใี ชก ารวจิ ยั
3.3 การเก็บรวบรวมขอมลู
3.4 การวิเคราะหข อ มลู

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยา ง
ประชากร คอื นกั เรยี นในพน้ื ทีโ่ รงเรยี นมธั ยมสังกดั จังหวัดพัทลงุ
กลุมตัวอยาง คือ นักเรยี นในพนื้ ที่โรงเรียนมัธยมสงั กัดจังหวดั พัทลุง จำนวน 200 คน

3.2 เครือ่ งมือที่ใชในการวจิ ยั
เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลครั้งนี้ ประกอบดวย เครื่องมือที่ใชในการเก็บ

รวบรวมขอ มลู เชงิ ปริมาณ แบงออกเปน 3 ตอน ดงั น้ี
ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลท่ัวไป
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักเรียน ตามนโยบายเพม่ิ ปริมาณผูเรียน

โดยการแนะแนวศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ โดยมีเกณฑ
ใหคะแนน ดังนี้

5 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู นระดับมากทีส่ ุด
4 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู นระดบั มาก
3 หมายถึง ความพงึ พอใจอยใู นระดับปานกลาง
2 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ นระดับนอย
1 หมายถึง ความพึงพอใจอยูใ นระดับนอยทสี่ ุด
ตอนที่ 3 ขอ เสนอแนะ เปน แบบสอบถามทใี่ หผ ูกรอกแบบสอบถามไดแ สดงความคิดเห็น

29

การสรางเครื่องมือในการศึกษาครั้งนี้ ผูจัดทำไดทำการวิจัยเชิงสำรวจและผูจัดทำไดส ราง
แบบสอบถามดวยตนเอง โดยการสรางเครือ่ งมือดงั ตอ ไปนี้

1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยเกี่ยวกับความพึงพอใจในการแนะแนว
ศึกษาตอ ของวทิ ยาลัยเทคนิคพัทลงุ

2. ผูจัดทำไดทำการสรา งแบบสอบถาม เพื่อวัดความพึงพอใจในการแนะแนวศึกษาตอ
ของวิทยาลยั เทคนิคพทั ลุง

3.3 การเก็บรวบรวมขอ มูล
ผูจ ัดทำไดด ำเนนิ การเกบ็ ขอ มูลในการศึกษาครัง้ น้ีอยา งเปน ข้ันตอน ดังนี้
1. ผูว ิจัยคัดเลือกกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนในพื้นที่โรงเรียนมัธยมสังกัดจังหวัดพัทลุง

จำนวน 200 คน
2. ผูใหข อมลู ตอบแบบสอบถาม โดยผูใหขอ มูลเปน ผูตอบดวยตนเอง จำนวน 200 คน
3. ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู แบบสอบตามวัน เวลา ท่กี ำหนด
4. นำขอมลู ท่ไี ดมาตรวจสอบความถูกตองและนำไปวเิ คราะหขอมลู

3.4 การวิเคราะหขอมูลและสถติ ิทใี่ ช
การวิเคราะหข อมลู ไดด ำเนินการดงั นี้
1. นำแบบสอบถามท่ีไดร ับคนื มาทง้ั หมดตรวจสอบดคู วามสมบรู ณข องการกรอกขอมลู
2. วิเคราะหข อมลู ทีไ่ ดจากแบบสอบถามไปวิเคราะหทางสถิติ
สถิตทิ ใ่ี ชใ นการวิเคราะหข อ มูล ดงั น้ี
1. คารอยละ (percent = %)
2. คาเฉล่ยี (mean = ̅)
3. สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation = S.D.)
เกณฑการแปลความหมายเพื่อจัดระดับคะแนนเฉลี่ยตอความพึงพอใจกำหนดเปนชวง

คะแนนไดด งั น้ี
คา เฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู นระดับมากท่สี ดุ
คาเฉล่ีย 3.50 – 4.49 หมายถึง ความพงึ พอใจอยใู นระดับมาก
คา เฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู นระดบั ปานกลาง
คาเฉลีย่ 1.50 – 2.49 หมายถงึ ความพึงพอใจอยูในระดบั นอ ย
คา เฉล่ยี 1.00 – 1.49 หมายถึง ความพงึ พอใจอยูในระดบั นอยท่สี ุด

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินการในการศึกษาการพัฒนาสถานศึกษา ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน
โดยการแนะแนวศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง ประจำปการศึกษา 2563 ซึ่งผูศึกษาไดดำเนินการ
เสร็จสิน้ เปนโครงการตามวตั ปุ ระสงค ซึ่งมผี ลการดำเนินการ ดังน้ี

4.1 เผยแพรประชาสมั พันธข อ มูลการเรียนการสอนสายอาชีพของวิทยาลัยเทคนิคพัทลงุ
4.2 เสรมิ สรางความรู ความเขา ใจ ความเชอ่ื ม่ันและทัศนคตทิ ด่ี ีตอ การเรียนสายอาชพี
4.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนสังกัดเครือขายที่วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
เขาแนะแนวศกึ ษาตอ

4.1 เผยแพรประชาสัมพนั ธข อมูลการเรียนการสอนสายอาชพี ของวทิ ยาลยั เทคนิคพทั ลุง
ตารางท่ี 4.1 แสดงรายช่อื สถานศกึ ษาทวี่ ิทยาลัยเทคนิคพัทลุงเขาไปแนะแนวศกึ ษาตอ

วนั ที่ ช่ือสถานศกึ ษา

30 ธนั วาคม 2563 โรงเรียนวดั แหลมโตนด

28 ธันวาคม 2563 โรงเรียนเขาชยั สน

30 ธันวาคม 2563 โรงเรียนวดั โงกน้ำ

6 มกราคม 2564 โรงเรียนอุบลรัตนราชกญั ญาราชวทิ ยาลัย

8 มกราคม 2564 โรงเรียนเตง

8 มกราคม 2564 โรงเรยี นวัดประดูห อม

8 มกราคม 2564 โรงเรยี นวัดเขาทอง

11 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา นสวนโหนด

11 มกราคม 2564 โรงเรียนปญ ญาวธุ

12 มกราคม 2564 โรงเรยี นบานเขาปู

12 มกราคม 2564 โรงเรียนวัดคลองใหญ

13 มกราคม 2564 โรงเรยี นวัดบานนา

14 มกราคม 2564 โรงเรยี นวัดทะเลนอ ย

14 มกราคม 2564 โรงเรียนวดั ไทรงาม

11-15 มกราคม 2564 โรงเรียนสตรีพัทลงุ

18 มกราคม 2564 โรงเรยี นวชิรธรรมสถิต

31

วนั ที่ ช่อื สถานศึกษา
18 มกราคม 2564 โรงเรยี นดอนศาลานำวิทยา
18 มกราคม 2564 โรงเรียนพนางตุง
19 มกราคม 2564 โรงเรียนบานสำนักกอ
19 มกราคม 2564 โรงเรียนบา นบอทราย
20 มกราคม 2564 โรงเรียนวัดทาควาย
20 มกราคม 2564 โรงเรียนบา นควนประกอบ
21 มกราคม 2564 โรงเรยี นวัดวหิ ารเบกิ
21 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา นควนหยวน
21 มกราคม 2564 โรงเรียนวัดหวั หมอน
22 มกราคม 2564 โรงเรียนชะรัดชนปู ถมั ภ
22 มกราคม 2564 โรงเรยี นวชริ ธรรม
25 มกราคม 2564 โรงเรียนบา นขัน
25 มกราคม 2564 โรงเรียนปา บอนพิทยาคม
26 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา นทงุ ชุมพล
26 มกราคม 2564 โรงเรยี นพัทลงุ
1 กมุ ภาพันธ 2564 โรงเรยี นบานปากเหมือง
8 กมุ ภาพันธ 2564 โรงเรยี นเกาะขนั ธป ระชาภบิ าล
9 กมุ ภาพันธ 2564 โรงเรยี นเทศบาลจงุ ฮว่ั
9 กุมภาพนั ธ 2564
11 กุมภาพนั ธ 2564 โรงเรียนกงหราพชิ ากร

32

4.2 เสริมสรางความรู ความเขาใจ ความเชอื่ มนั่ และทศั นคตทิ ีด่ ีตอการเรียนสายอาชพี
ตารางท่ี 4.2 แสดงรายช่ือคุณครทู เี่ ขาไปแนะแนวศกึ ษาตอในสถานศึกษา

ช่ือสถานศกึ ษา ชอ่ื คุณครู

1. นางสาววิภาดา แสงชว ย

โรงเรยี นวัดแหลมโตนด 2. นางบุญเพญ็ จติ เนยี ม
3. นางสาวอนงนาฏ พานิช

4. นางสาวกจิ ติมา ชวยกลบั

1. นายสมชาย เนยี มสวสั ดิ์

2. นายโอภาส ทองบญุ
3. นางสาวนยั นนั ท พรมจันทร
โรงเรียนเขาชยั สน 4. นายพงศเทพ ทิพยนุย

5. นายณฐั ปคลั ภ เสือพล
6. นางสาวกิจติมา ชวยกลบั

1. นางสรุ ยี  การะศรี

โรงเรียนวัดโงกนำ้ 2. นายสมชาย เนียมสวสั ดิ์
3. นายโอภาส ทองบุญ

4. นางสาวกิจตมิ า ชวยกลับ

1. นายสมชาย เนยี มสวัสดิ์

2. นางสาวกิง่ ไพร ทองชูดำ
3. นางบุญเพญ็ จติ เนียม

4. นายประภาส ตะหรี

5. นางสาวจุไรรัตน ทองเทีย่ ง
6. นายโอภาส ทองบุญ

โรงเรยี นอุบลรัตนราชกญั ญาราชวิทยาลัย 7. นางสาวสดุ ารัตน เจยาคมฆ
8. นางอไุ รรตั น มิตรมสุ กิ
9. นายเอกราช ราชราวี

10. นางอติยา วังวราวฒุ ิ

11. นายพุฒพิ งศ ตาแกว
12. นายณัฐปคลั ภ เสือพล

13. นางสาวมัลลกิ า นาที

33

ชือ่ สถานศกึ ษา ชอ่ื คณุ ครู
โรงเรียนเตง
โรงเรยี นวดั ประดูห อม 1. นางสาวกิจติมา ชว ยกลบั
โรงเรียนวัดเขาทอง 2. นางสาวมลั ลกิ า นาฑี

โรงเรยี นบานสวนโหนด 1. นางสาวกจิ ติมา ชว ยกลบั
2. นางสาวมลั ลกิ า นาฑี
โรงเรียนปญญาวุธ
1. นางสาวสดุ ารัตน เจยาคมฆ
โรงเรียนบานเขาปู 2. นางพนู ทรพั ย มมี าก
3. นางสาวกิจตมิ า ชว ยกลับ
โรงเรียนวดั คลองใหญ 4. นางสาวมัลลิกา นาฑี

โรงเรยี นวดั บานนา 1. นายสมชาย เนยี มสวัสดิ์
2. นายโอภาส ทองบญุ
3. นายพงศเทพ ทิพยน ยุ
4. นางสาวกจิ ตมิ า ชวยกลบั

1. นายสมชาย เนยี มสวสั ด์ิ
2. นายโอภาส ทองบญุ
3. นายพงศเ ทพ ทิพยน ุย
4. นางสาวกจิ ตมิ า ชวยกลับ

1. นางสมรภรณ บญุ คมรตั น
2. นางสาวนริ ามยั พนั ธวงศาโรจน
3. นายธวชั ชยั ใหมสวัสดิ์
4. นางสาวกิจติมา ชว ยกลับ

1. นางสมรภรณ บุญคมรตั น
2. นางสาวนิรามัย พันธวงศาโรจน
3. นายธวัชชยั ใหมส วัสดิ์
4. นางสาวกิจตมิ า ชว ยกลบั

1. นางอไุ รรตั น มติ รมสุ ิก
2. นายพงศเ ทพ ทิพยน ุย
3. นางสาวพชั ราพรรณ ดว งชาย
4. นางสาวกิจติมา ชว ยกลบั

34

ชอื่ สถานศกึ ษา ช่ือคณุ ครู
โรงเรยี นวัดทะเลนอย
โรงเรียนวัดไทรงาม 1. นายโอภาส ทองบญุ
2. นายพฒุ พงศ ตาแกว
โรงเรียนสตรีพัทลงุ 3. นางสาวอลิษา ชว ยเทวฤทธิ์
4. นางสาวจฑุ ามาศ ชูชวย
โรงเรยี นวชริ ธรรมสถิต 5. นางสาวนริ ามยั พันธวงศาโรจน
6. นางสาวกิจติมา ชวยกลบั

1. นายโอภาส ทองบญุ
2. นายพุฒพงศ ตาแกว
3. นางสาวอลษิ า ชว ยเทวฤทธ์ิ
4. นางสาวจฑุ ามาศ ชชู ว ย
5. นางสาวนิรามัย พนั ธวงศาโรจน
6. นางสาวกจิ ตมิ า ชว ยกลบั

1. นายประภาส ตะหรี
2. นายสภุ าพ คงจันทร
3. นายสมศกั ด์ิ แกว ซงั
4. นายณัฐปคลั ภ เสอื พล
5. นายสมชาย เนยี มสวัสดิ์
6. นางสาวนริ ามยั พันธวงศาโรจน
7. นายธวัชชัย ใหมส วสั ด์ิ
8. นายพงศเทพ ทิพยน ุย
9. นางสาวกิจตมิ า ชว ยกลับ

1. นางสาววิภาดา สายชว ย
2. นางอุไรรัตน มติ รมสุ กิ
3. นายพฒุ พงศ ตาแกว
4. นางสาวอนงนาฏ พานิช
5. นางสาวอลิษา ชว ยเทวฤทธ์ิ
6. นางสาวกจิ ติมา ชว ยกลบั

ชอื่ สถานศึกษา 35
โรงเรียนดอนศาลานำวิทยา
ชือ่ คุณครู
โรงเรียนพนางตงุ 1. นายสมชาย เนยี มสวัสด์ิ
2. นายโอภาส ทองบุญ
โรงเรยี นบานสำนกั กอ 3. นายพฒุ พิ งศ ตาแกว
โรงเรยี นบานบอทราย 4. นายพงศเทพ ทิพยน ยุ
โรงเรยี นวัดทาควาย 5. นางสาวกษิรา นุยพมุ
6. นางฉววี รรณ นยุ เกลย้ี ง
7. นางสาวกิจตมิ า ชว ยกลับ
1. นายสมชาย เนยี มสวสั ด์ิ
2. นายโอภาส ทองบญุ
3. นายพฒุ พิ งศ ตาแกว
4. นายพงศเ ทพ ทิพยน ุย
5. นางสาวกษริ า นยุ พุม
6. นางฉววี รรณ นยุ เกลยี้ ง
7. นางสาวกจิ ติมา ชวยกลับ
1. นายสมชาย เนียมสวัสด์ิ
2. นางสาวปตติมาร ปรยิ ะชาตติ ระกลู
3. นายพงศเ ทพ ทิพยนยุ
4. นางสาวอลษิ า ชว ยเทวฤทธ์ิ
5. นายธวชั ชัย ใหมส วสั ดิ์
6. นางสาวกิจตมิ า ชวยกลบั
1. นายสมชาย เนียมสวัสดิ์
2. นายพงศเ ทพ ทิพยนยุ
3. นางสาวอลิษา ชว ยเทวฤทธิ์
4. นายธวชั ชัย ใหมส วสั ดิ์
5. นางสาวกจิ ตมิ า ชวยกลบั
1. นายโอภาส ทองบญุ
2. นายพงศเ ทพ ทิพยนยุ
3. นางสาวกจิ ตมิ า ชวยกลบั

36

ช่อื สถานศึกษา ช่ือคณุ ครู
โรงเรียนบา นควนประกอบ
โรงเรียนวัดวิหารเบกิ 1. นายโอภาส ทองบุญ
โรงเรยี นบานควนหยวน 2. นายพงศเ ทพ ทิพยนุย
โรงเรียนวดั หวั หมอน 3. นางสาวกิจตมิ า ชว ยกลบั

โรงเรียนชะรดั ชนปู ถมั ภ 1. นายโอภาส ทองบญุ
2. นางสาวรัตตพิ ร สมบูรณ
โรงเรียนวชิรธรรม 3. นางสาวกิจตมิ า ชวยกลับ
โรงเรียนบานขัน
1. นายสมชาย เนียมสวสั ดิ์
2. นางสาวพชั ราพรรณ ดว งชาย
3. นางสาวอลิษา ชวยเทวฤทธิ์
4. นางสาวกจิ ติมา ชว ยกลับ

1. นายสมชาย เนียมสวัสดิ์
2. นางสาวพชั ราพรรณ ดว งชาย
3. นายธนภทั ร เรณุมาศ
4. นางสาวกจิ ติมา ชว ยกลับ

1. นางสาวสุดารัตน เจยาคมฆ
2. นางอไุ รรัตน มิตรมุสกิ
3. นางสุรพี ร นวลนิรันดร
4. นางสาวอลิษา ชวยเทวฤทธิ์
5. นางสาวกิจติมา ชวยกลับ

1. นายสมชาย เนยี มสวสั ดิ์
2. นายพงศเทพ ทิพยน ุย
3. นายธนภทั ร เรณุมาศ
4. นางสาวกจิ ตมิ า ชวยกลับ

1. นางสาววภิ าดา สายชว ย
2. นายโอภาส ทองบญุ
3. นางสาวกิจติมา ชวยกลบั

ชอื่ สถานศึกษา 37
โรงเรยี นปาบอนพิทยาคม
โรงเรยี นบา นทงุ ชมุ พล ชื่อคณุ ครู
โรงเรยี นพทั ลงุ 1. นายสมชาย เนยี มสวสั ด์ิ
2. นายโอภาส ทองบุญ
โรงเรียนบา นปากเหมือง 3. นางสาวปท ติมาร ปรยิ ะชาตติ ระกูล
4. นางสาวอลษิ า ชว ยเทวฤทธ์ิ
5. นางฉววี รรณ นยุ เกลยี้ ง
6. นางสาวรติรส สุขเกษม
7. นางสาวกจิ ตมิ า ชว ยกลับ
1. นายสมชาย เนียมสวัสด์ิ
2.นางสาวปทตมิ าร ปรยิ ะชาตติ ระกูล
3. นางสาวกิจติมา ชวยกลับ
1. แผนกวชิ าชางยนต
2. แผนกวชิ าชา งกลโรงงาน
3. แผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร
4. แผนกวชิ าชา งไฟฟากำลงั
5. แผนกวชิ าชางอเิ ล็กทรอนกิ ส
6. แผนกวิชาชางกอสราง – โยธา
7. แผนกวิชาการบัญชี
8. แผนกวชิ าคอมพิวเตอรธรุ กิจ
9. แผนกวิชาการตลาด
10. แผนกวชิ าแฟชั่นและส่ิงทอ
11. แผนกวชิ าการโรงแรม - ทอ งเที่ยว
1. นายสมชาย เนยี มสวสั ด์ิ
2. นายโอภาส ทองบุญ
3. นางสาวปทตมิ าร ปริยะชาติตระกูล
4. นายพงศเทพ ทิพยน ุย
5. นางสาวรตริ ส สขุ เกษม
6. นางสาวกิจติมา ชว ยกลบั

38

ช่อื สถานศึกษา ชอื่ คุณครู
โรงเรยี นเกาะขนั ธประชาภิบาล
โรงเรยี นเทศบาลจุงฮ่วั 1. นายสมชาย เนยี มสวัสด์ิ
2. นายโอภาส ทองบญุ
โรงเรยี นกงหราพชิ ากร 3. นายพงศเ ทพ ทิพยนุย
4. นางสาวกจิ ติมา ชว ยกลบั

1. นายสมชาย เนยี มสวสั ด์ิ
2. นายพฒุ พงศ ตาแกว
3. นางสาวนริ ามยั พันธวงศาโรจน
4. นายธวชั ชยั ใหมสวัสด์ิ
5. นางสาวกจิ ติมา ชวยกลบั

1. นางสรุ ยี  การะศรี
2. นายสมชาย เนียมสวสั ดิ์
3. นางฉววี รรณ นุย เกลี้ยง
4. นายธวชั ชยั ใหมสวสั ดิ์
5. นางสาวกจิ ติมา ชวยกลับ
6. นายสมชาย เนยี มสวสั ด์ิ
7. นายธนภัทร เรณมุ าศ

39

4.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนสงั กัดเครอื ขา ยทีว่ ิทยาลัยเทคนคิ พัทลงุ เขาแนะแนว
ศกึ ษาตอ

ตอนท่ี 1 ผลวิเคราะหขอมลู ทั่วไป

ตารางท่ี 4.3 แสดงจำนวน และรอยละขอมลู ทว่ั ไปของผตู อบแบบสอบถามความพงึ พอใจ

ขอมูลทั่วไป จำนวน รอยละ

1. ชอ่ื สถานศกึ ษา

โรงเรียนกงหราพชิ ากร 21 10.50

โรงเรยี นชะรัดชนูปถัมภ 84

โรงเรียนบา นทุงชมุ พล 25 12.50

โรงเรยี นปาบอนพทิ ยาคม 33 16.50

โรงเรยี นพทั ลงุ 45 22.50

โรงเรียนวชิรธรรมสถติ 11 5.50

โรงเรยี นวัดวิหารเบิก 7 3.50

โรงเรยี นสตรีพัทลงุ 17 8.50

โรงเรียนอุบลรัตนราชกญั ญาราชวิทยาลัย พัทลงุ 33 16.50

รวม 200 100

2. เพศ

ชาย 85 42.50

หญิง 115 57.50

รวม 200 100

3. สถานภาพ

นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 192 96

นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 84

รวม 200 100

จากตารางที่ 4.3 แสดงขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม พบวา ผูตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามชื่อสถานศึกษา โรงเรียนกงหราพิชากร จำนวน 21 คน คิดเปนรอยละ 10.50
โรงเรียนชะรัดชนูปถัมภ จำนวน 8 คน คิดเปนรอยละ 4 โรงเรียนบานทุงชุมพล จำนวน 25 คน
คิดเปนรอยละ 12.50 โรงเรียนปาบอนพิทยาคม จำนวน 33 คิดเปนรอยละ 16.50
โรงเรียนพัทลุง จำนวน 45 คน คิดเปนรอยละ 22.50 โรงเรียนวชิรธรรมสถิต จำนวน 11 คน
คิดเปนรอยละ 5.50 โรงเรียนวัดวิหารเบิก จำนวน 7 คน คิดเปนรอยละ 3.50 โรงเรียนสตรีพัทลุง

40

จำนวน 17 คน คดิ เปน รอ ยละ 8.50 โรงเรยี นอบุ ลรตั นราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลงุ จำนวน 33 คน
คิดเปนรอยละ 16.50 จำแนกตามเพศ ชาย จำนวน 85 คน คิดเปนรอยละ 42.50 หญิง

จำนวน 115 คน คิดเปนรอยละ 57.50 จำแนกตามสถานภาพ นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 3 จำนวน

192 คน คดิ เปน รอ ยละ 96 นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 6 จำนวน 8 คน คิดเปนรอยละ 4
ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจของนักเรียน ตามนโยบายเพิ่มปริมาณผูเรียน

โดยการแนะแนวศึกษาตอของวทิ ยาลัยเทคนิคพัทลุง

ตารางที่ 4.4 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรียน ตามนโยบาย
เพมิ่ ปรมิ าณผเู รียน โดยการแนะแนวศกึ ษาตอ ของวิทยาลยั เทคนคิ พทั ลุง

ความพงึ พอใจของนกั เรยี น ตามนโยบาย ระดับ

ขอ ที่ เพ่ิมปริมาณผเู รียน โดยการแนะแนวศกึ ษาตอ ̅ S.D. ความพงึ

ของวทิ ยาลยั เทคนคิ พัทลุง พอใจ

1 นักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการเรียน 4.03 0.93 มาก

ก า ร ส อ น ส า ย อ า ช ี พ ข อ ง ว ิ ท ย า ล ั ย เ ท ค น ิ ค พ ั ท ลุ ง

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

2 การถายทอดความรูและการเตรียมความพรอม 4.23 0.79 มาก
ของอาจารยแ นะแนว

3 บุคลกิ ภาพของครแู นะแนว 4.34 0.78 มาก

4 เทคนิคการถา ยทอดความรขู องครูแนะแนว 4.29 0.81 มาก

5 การมสี วนรวมในการซักถามขอสงสยั ตอ การแนะแนว 4.11 0.89 มาก

6 การเผยแพร ประชาสัมพันธ การแนะแนวศึกษาตอ 4.18 0.76 มาก
ของวทิ ยาลัยเทคนิคพัทลงุ

7 การนำขอมูลไปใชเปนแนวทางในการศึกษาตอ 4.22 0.79 มาก

ประโยชนในการเขา รว มงานแนะแนวในครงั้ น้ี

8 นักเรียนมีความสนใจและตัดสินใจศึกษาต อ 3.96 1.02 มาก
วทิ ยาลัยเทคนคิ พทั ลุง

9 นกั เรยี นมีทัศนคตทิ ่ดี ตี อ การเรยี นสายอาชีพ 4.05 0.96 มาก

คาเฉลย่ี โดยรวม 4.16 0.86 มาก

จากตารางที่ 4.3 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรียน
ตามนโยบายเพ่มิ ปรมิ าณผเู รยี น โดยการแนะแนวศึกษาตอ ของวิทยาลัยเทคนิคพัทลงุ พบวา

41

1. นักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนสายอาชีพ
ของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา คาเฉลี่ย 4.03
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.93

2. การถายทอดความรูและการเตรียมความพรอมของอาจารยแนะแนว คาเฉลี่ย 4.23
สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.79

3. บคุ ลกิ ภาพของครแู นะแนว คา เฉลีย่ 4.34 สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.78
4. เทคนิคการถายทอดความรูของครแู นะแนว คาเฉลี่ย 4.29 สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.81
5. การมีสวนรวมในการซักถามขอสงสัยตอการแนะแนว คาเฉลี่ย 4.11
สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.89
6. การเผยแพร ประชาสัมพันธ การแนะแนวศึกษาตอของวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
คาเฉลีย่ 4.22 สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.79
7. การนำขอมูลไปใชเปนแนวทางในการศึกษาตอ ประโยชนในการเขารวมงาน
แนะแนวในครั้งนี้ คา เฉลีย่ 4.29 สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.81
8. นักเรียนมีความสนใจและตัดสินใจศึกษาตอวิทยาลัยเทคนิคพัทลุง คาเฉลี่ย 3.96
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.02
9. นกั เรยี นมีทัศนคติทีด่ ีตอการเรยี นสายอาชีพ คาเฉลี่ย 4.05 สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.9
ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะ
1. ควรทำใหนักเรียนสนใจกวาน้ี
2. เพมิ่ ความปลุกใจ
3. อยากโดนถาม
4. อยากใหพี่ ๆ แตละสายออกมาแนะนองวา สายนี้เรียนยงั ไง
5. อยากใหมีสาขามากข้นึ


Click to View FlipBook Version