คำนำ
บัณฑิตวิทยาลัยได้แก้ไขและปรับปรุง หนังสือคู่มือการเรียบเรียง วิทยานิพนธ์ และการ
ค้นคว้าอิสระ ฉบับปีพ.ศ.2556 ซ่ึงมีรูปแบบการอ้างอิงแบบ APA มาเป็นอีกรูปแบบหนึ่งท่ีมีการใช้
กันอย่างแพร่หลายในบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในประเทศไทยจึงขอให้นักศึกษาได้
ศึกษาคู่มือการเรียบเรียงวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระน้ีโดยละเอียด เพื่อให้ได้ผลงานท่ีถูกต้อง
สมบรู ณ์ และมคี ณุ ภาพ
บัณฑิตวิทยาลัยขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ท่ีผู้จัดทาได้อาศัยข้อมูลบางส่วนมาเรียบเรียงจนทาให้คู่มือน้ี
สาเร็จลงไดด้ ้วยดี
บณั ฑติ วทิ ยาลยั
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์
สำรบัญ
บทท่ี หนำ้
1 แนวปฏิบัตเิ กยี่ วกับการทาวิทยานิพนธ์และการค้นควา้ อิสระ........................................... 1
ความหมายและความสาคญั ของวิทยานพิ นธ์............................................................... 1
วตั ถปุ ระสงค์การทาวทิ ยานิพนธ์.................................................................................. 2
ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์
เร่ือง แนวปฏบิ ตั ิในการทาวิทยานพิ นธ์ สาหรับนกั ศกึ ษาบัณฑิตศึกษา........................ 3
ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ เร่ือง แนวปฏบิ ัติและขัน้ ตอน
การดาเนินการค้นควา้ อิสระ หลกั สตู รปริญญามหาบัณฑิต แผน ข.............................. 8
12
2 เค้าโครงวิทยานิพนธ/์ การคน้ คว้าอิสระ........................................................................... 11
แนวการเขียนเคา้ โครงวทิ ยานิพนธ์/การคน้ ควา้ อสิ ระ.................................................. 14
บทท่ี 1 บทนา....................................................................................................... 17
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง................................................................ 18
บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การวิจยั ................................................................................... 22
23
3 สว่ นประกอบของวิทยานิพนธ์และการคน้ คว้าอสิ ระ...................................................... 26
คาอธิบายเพม่ิ เตมิ ส่วนประกอบตอนต้น....................................................................... 30
คาอธิบายเพิ่มเติมส่วนเน้ือหา....................................................................................... 33
คาอธิบายเพิ่มเตมิ ส่วนประกอบตอนทา้ ย..................................................................... 33
37
4 การพิมพว์ ทิ ยานิพนธ์และการคน้ คว้าอิสระ..................................................................... 38
ขอ้ แนะนาท่ัวไปในการพิมพ์........................................................................................ 40
การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน....................................................................................... 44
การจดั ทาภาพ...............................................................................................................
การจัดทาตาราง............................................................................................................
ตวั อย่างการพิมพ์สว่ นต่าง ๆ ของวิทยานพิ นธแ์ ละการค้นควา้ อิสระ............................
สำรบญั (ต่อ)
บทท่ี หนำ้
5 การอา้ งองิ ......................................................................................................................... 76
รูปแบบการอ้างอิง........................................................................................................ 76
การอ้างองิ ที่แทรกในเนื้อหาหรือการอ้างอิงระบบนามปี ............................................. 76
6 รายการอา้ งองิ .................................................................................................................. 84
หลกั เกณฑก์ ารพมิ พร์ ายการอ้างอิง............................................................................... 84
รูปแบบการพิมพ์รายการอ้างอิงจากวสั ดปุ ระเภทต่าง ๆ................................................ 92
รูปแบบการพมิ พ์รายการอ้างองิ จากหนังสือ......................................................... 92
รูปแบบการพิมพ์รายการอ้างอิงบทความจากวารสาร........................................... 96
รูปแบบการพมิ พ์รายการอา้ งองิ บทความ ข่าว หรือคอลมั น์
จากหนังสอื พมิ พ์.................................................................................................. 98
รปู แบบการพิมพ์รายการอ้างอิงจากราชกจิ จานเุ บกษา......................................... 98
รูปแบบการพมิ พ์รายการอา้ งอิงจากการสมั ภาษณ์................................................ 99
รปู แบบการพิมพ์รายการอา้ งอิงจากวสั ดุสือ่ โสตทัศน์ประเภท
ภาพยนตร์ ภาพเลือ่ น ภาพนงิ่ แผนที่ และวดี ิทัศน์............................................... 99
รปู แบบการพิมพ์รายการอ้างองิ จากวสั ดุสอ่ื โสตทัศน์
ประเภทแถบบันทึกเสยี ง แผ่นเสยี ง และแผน่ ซีด.ี .............................................. 99
รูปแบบการพิมพ์รายการอา้ งองิ จากแหล่งขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์........................... 100
การใช้คายอ่ ในการเขียนรายการอา้ งอิง......................................................................... 104
ตวั อยา่ งการลงช่ือผู้แต่งชาวต่างประเทศ....................................................................... 105
1
บทที่ 1
แนวปฏิบัติเกยี่ วกบั การทาวิทยานพิ นธ์และการคน้ คว้าอสิ ระ
ความหมายและความสาคญั ของวทิ ยานิพนธ์
วทิ ยานพิ นธ์ หมายถึง รายงานการศกึ ษาค้นควา้ วจิ ัยทนี่ กั ศึกษาจัดทาขึน้ เป็นสว่ นหนึง่ ของ
การศึกษาตามหลักสูตรบัณฑิตศึกษาตามหัวข้อเร่ืองที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการให้
ทาการศึกษาวิจัย โดยมุ่งหวังให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถในการแสดงความคิดได้อย่าง
ชัดเจน ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ท้ังความคิดท่ีเป็นของตนเองและของผู้รู้จากแหล่งท่ีได้ศึกษา
ค้นคว้า ได้แสดงความสามารถในการค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งวิชาการต่างๆ สามารถ
วิเคราะหข์ ้อมูลท่ีเกยี่ วข้องกับเรื่องที่ศกึ ษา และนาข้อมลู เหลา่ น้นั มาจดั ระบบ จัดลาดบั ความคิด อย่าง
เป็นเหตุเป็นผล แล้วเรียบเรียงด้วยภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนตามรูปแบบการเรียบเรียงท่ีมหาวิทยาลัย
กาหนดไว้
การทาวิทยานิพนธ์ เป็นการสร้างเสริมความรู้ความสามารถให้นักศึกษาหลายประการ
อาทิ กระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ความสนใจใฝ่ความรู้ การติดตามความเคล่ือนไหวทาง
วิชาการอย่างต่อเน่ือง การพัฒนาการความสามารถเชิงภาษา ความสามารถในการวิเคราะห์วิจารณ์
และสร้างสรรค์ ซึ่งความสามารถดังกล่าวล้วนเป็นคุณสมบัติท่ีพึงประสงค์ของการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา ดังนั้นนักศึกษาต้องตระหนักอย่างย่ิงในการเลือกหัวข้อ กาหนดขอบข่ายของงาน
ท่ีศึกษาค้นคว้าให้ลึกซึ้ง ทั้งน้ีวิทยานิพนธ์ในระดับมหาบัณฑิต และระดับดุษฎีบัณฑิต ย่อม
ต้องการคุณภาพทีส่ ูงกว่ากนั ตามลาดับดว้ ย ตามระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ ว่าดว้ ย การ
จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 กาหนดไว้ว่าหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก ทั้ง
แผน ก (1) แผน ก (2) ต้องทาวิทยานิพนธ์ เช่นเกี่ยวกับหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แผน ก และ
แผน ข ที่ตอ้ งทาวทิ ยานพิ นธ์ ส่วนหลักสตู รปรญิ ญามหาบณั ฑิต แผน ข เป็นแผนการศกึ ษา ท่ีเนน้
การศึกษารายวิชาสัมพันธ์ และรายวิชาเฉพาะด้านโดยไม่ต้องทาวิทยานิพนธ์แต่ต้องทาการค้นคว้า
อิสระ ดังนั้น นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่จะต้องทาวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระจาเป็นต้อง
ศึกษากรอบแนวปฏิบัติที่มหาวิทยาลัยกาหนด รายละเอียดสาคัญท่ีจะต้องดาเนินการในการทา อาทิ
เช่น เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์ รูปแบบการเขียน การพิมพ์ ตลอดจน
ขอ้ บังคับ ระเบียบและประกาศที่เก่ียวข้องรวมท้ังแบบฟอร์มท่ีจาเป็น ในท่นี ้ีนอกจากจะชใ้ี ห้เห็น
ลักษณะสาคัญความจาเป็นตามเงื่อนไขท่ีจะต้องทาวิทยานิพนธ์ ดังกล่าวแล้ว เพ่ือเป็นการสร้าง
2
ความเข้าใจสิ่งที่เกี่ยวข้องกับแนวปฏิบัติพ้ืนฐาน จะนาเสนอสาระสาคัญเกี่ยวกับวัตถุประสงค์หลัก
และการดาเนนิ การเกีย่ วกบั การทาวทิ ยานิพนธ์ โดยสรปุ ดงั น้ี
วัตถปุ ระสงคก์ ารทาวทิ ยานิพนธ์
เพอ่ื ให้เป็นไปตามระเบยี บมหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ ว่าด้วยการจัดการศึกษา ระดบั
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 ที่กาหนดให้นักศึกษาที่ศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต และ
หลกั สตู รปรญิ ญาดุษฎบี ณั ฑติ จะต้องทาวิทยานพิ นธ์ ซึ่งมีวัตถปุ ระสงค์หลักทีส่ าคัญดงั ตอ่ ไปน้ี
1. เพอ่ื ใหน้ ักศึกษามโี อกาสและสามารถศกึ ษาค้นคว้าวจิ ยั ดว้ ยตนเอง
2. เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสศึกษาค้นคว้า วิจัยอย่างกว้างขวาง ลึกซึ้งในเรื่องท่ีกาหนด
และ/หรอื เรือ่ งทสี่ นใจเป็นพิเศษ
3. เพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษามีนสิ ัยและความสามารถในการศึกษาคน้ ควา้ และการวจิ ยั
4. เพ่ือให้นักศึกษาสามารถคิดอย่างเป็นระบบ มีเหตุผลและประมวลผลข้อมูลตามข้อมูล
หลักฐานท่ีมีเป็นความจริงจากการศึกษา ค้นควา้ วิจยั
5. เพ่ือให้นักศึกษามีความสามารถในการรวบรวมเรียบเรียงความคิดได้อย่างเป็นระบบ
ระเบียบ ท้งั ในเชิงภาษาและการสื่อสาร
3
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์
เร่ือง แนวปฏบิ ตั ใิ นการทาวิทยานพิ นธ์ สาหรับนักศึกษาบณั ฑิตศกึ ษา
----------------------------------------
อาศัยอานาจตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 จึงกาหนดแนวปฏิบัติในการดาเนินการทาวิทยานิพนธ์ สาหรับนักศึกษา
ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ไว้ดังน้ี
1. การเสนอหวั ข้อวิทยานิพนธ์
(1) นักศึกษาจะย่ืนคาร้องขออนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์ ได้ก็ต่อเม่ือได้ศึกษาในระดับ
บัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียนโดยมีหน่วยกิต
สะสมไม่นอ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกิต และไดค้ ะแนนเฉลีย่ สะสมไม่ต่ากวา่ 3.00
(2) ในการลงทะเบียนเพือ่ ขอเสนออนุมัตหิ ัวข้อวทิ ยานพิ นธ์ จะตอ้ งลงทะเบยี น 2 หน่วย
กิต ภายใต้ความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาท่ัวไป โดยนักศึกษายื่นคาร้อง (บ.ศ.19) พร้อม
นาเสนอหวั ขอ้ วิทยานิพนธ์ จานวน 6 ชดุ
(3) บัณฑิตวิทยาลัยเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรประจาสาขาวิชา
พิจารณาหัวข้อวิทยานิพนธ์ ถ้าคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ มีมติอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์ จะ
ได้รับผลการประเมินในภาคเรียนน้ันเป็น S ถ้าคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ มีมติให้แก้ไข
จะต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน แล้วนาเสนอประธานสาขาวิชาพิจารณาอนุมัติ จึงจะได้
ผลการประเมินเปน็ S
(4) ถ้าคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ มีมติไม่อนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์ นักศึกษา
จะต้องปรับปรุงหัวข้อวิทยานิพนธ์ แล้วนาเสนอใหม่ให้แล้วเสร็จภายในภาคเรียนน้ัน ถ้าได้รับ
อนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์ จึงจะได้ผลการประเมินเป็น S ถ้าไม่ได้รับการอนุมัติ จะได้รับผลการ
ประเมินเป็น U นกั ศึกษาจะตอ้ งลงทะเบียนใหม่
(5) นักศึกษาติดต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาได้เรียบร้อยแล้ว และย่ืนคาร้องต่อบัณฑิตวิทยาลัย
เพื่อแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ (บศ. 20) โดยอาจารย์ท่ีปรึกษาให้เป็นไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื งเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548
(6) บัณฑิตวิทยาลัยขออนุมัติแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ต่อคณะกรรมการ
บัณฑิตศกึ ษา
4
2. การเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์
(1) หลงั จากได้รบั อนมุ ัติหัวข้อวทิ ยานพิ นธ์แลว้ นักศึกษาศกึ ษาค้นควา้ เรยี บเรยี ง เคา้
โครงวิทยานิพนธ์ โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์อย่างสม่าเสมอ ตามแบบคาร้อง บศ.
30
(2) นักศึกษาเรียบเรียงเค้าโครงวิทยานิพนธ์เสร็จแล้ว ให้นักศึกษาเสนอเค้าโครง
วิทยานิพนธ์ 6 ชุด พร้อมยื่นคาร้องขอสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ (บศ.21) ท่ีได้รับความเห็นชอบ
จากอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์อนุมัติให้ขึ้นสอบได้ พร้อมลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ 5 หน่วยกิต
ทัง้ น้ี อาจจะลงทะเบยี นภาคเรยี นเดียวกนั กับการเสนอหวั ข้อวทิ ยานิพนธ์ในขอ้ 1(2) ก็ได้
(3) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประจาสาขาวิชา พิจารณาเสนอสานักงานบัณฑิต
วิทยาลัยให้แต่งตงั้ กรรมการสอบเคา้ โครงวทิ ยานพิ นธ์ ดังนี้ ระดบั ปรญิ ญาโทประกอบด้วยประธาน
กรรมการบริหารหลักสตู รเป็นประธาน กรรมการควบคุมวิทยานพิ นธ์ อาจารย์บัณฑิตศึกษาไม่เกนิ
2 คน เป็นกรรมการสอบ 1 คน และเลขานุการสอบ 1 คน กรณีที่ประธานกรรมการบริหาร
หลักสูตรฯ เป็นกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ให้แต่งตั้งกรรมการอ่ืนที่ไม่ใช่กรรมการที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์เป็นประธานกรรมการสอบ ระดับปริญญาเอกประกอบด้วย ประธานกรรมการบริหาร
หลักสูตรเป็นประธาน กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1 คน อาจารย์
บัณฑิตศึกษา 2 คน เป็นกรรมการสอบ 1 คน และเลขานุการสอบ 1 คน กรณีที่ประธาน
กรรมการบริหารหลักสูตรฯ เป็นกรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ให้แต่งตั้งกรรมการอ่ืนท่ีไม่ใช่
กรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์เป็นประธานกรรมการสอบ โดยคณะกรรมการสอบให้เป็นไปตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ งเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2548
(4) ถ้าคณะกรรมการสอบมีมติอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ นักศึกษาจะได้รับผลการ
ประเมินเป็น S ถ้าคณะกรรมการมีมติให้แก้ไข นักศึกษาจะต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน
แล้วเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และเลขานุการในการสอบ ตรวจสอบแล้วเสนอต่อ
ประธานกรรมการสอบพิจารณาอนุมัติ ตามแบบคาร้อง บศ. 23/1 จึงจะได้ผลการประเมินเป็น S
และส่งเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่ได้รับการแก้ไขแล้ว (ฉบับสมบูรณ์) ท่ีสานักงานบัณฑิตวิทยาลัย
จานวน 1 เล่ม
(5) ในกรณีแก้ไขไม่แล้วเสร็จหรือสอบปากเปล่าไม่ผ่าน จะประเมินผลวิทยานิพนธ์
เป็น S ไดก้ ่ีหน่วยกติ น้นั ใหอ้ ยูใ่ นดุลพินิจของกรรมการสอบเคา้ โครงวทิ ยานพิ นธ์ แต่ทงั้ นต้ี อ้ ง ไม่
เกิน 2 หน่วยกิต และนักศึกษาจะต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ และ/หรือขอสอบปากเปล่าในภาคเรียน
ถดั ไป โดยตอ้ งลงทะเบียนวทิ ยานพิ นธ์ใหม่เทา่ กับจานวนหน่วยกติ ที่ไมผ่ ่าน
5
(6) เมื่อได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์แล้ว นักศึกษาอาจขอทุนอุดหนุนการวิจัยต่อ
สานกั งานบณั ฑิตโดยใชแ้ บบคารอ้ ง บศ. 25
3. การดาเนินการทาวทิ ยานิพนธ์
(1) เม่ือได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์แล้ว ให้ดาเนินการศึกษาวิจัย สร้างเคร่ืองมือ
วิจยั วเิ คราะหผ์ ล และเขียนรายงานวิจยั โดยจะต้องมาพบกับอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ตาม นดั
หมาย ในกรณีที่นักศึกษาไม่มาพบตามกาหนด ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์รายงานต่อประธาน
สาขาวิชา
(2) การประเมินความก้าวหน้าของวิทยานิพนธ์จะให้นักศึกษาได้รับผลการประเมิน
เปน็ S จานวนเทา่ ใดนนั้ ให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของกรรมการที่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์
4. การสอบปอ้ งกนั วทิ ยานพิ นธ์
(1) นักศึกษาทาวิทยานิพนธ์เสร็จแล้ว ให้กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ตรวจต้นฉบับ
แกไ้ ข จากนัน้ ยื่นคารอ้ งขอสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ (บศ. 22) พร้อมกบั ตน้ ฉบบั วทิ ยานพิ นธ์ จานวน
6 ชุด (ไม่ต้องเข้าเล่ม) โดยยื่นคาร้องต่อสานักงานบัณฑิตวิทยาลัย ก่อนสิ้นภาคเรียนนั้นไม่น้อยกวา่
15 วัน พร้อมลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ 5 หน่วยกิต การขอสอบวิทยานิพนธ์ต้องได้รับความเห็นชอบ
จากอาจารยท์ ปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์
(2) หลังจากย่ืนคาร้องขอสอบ สานักงานบัณฑิตวิทยาลัยเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นประธาน
กรรมการบริหารหลักสูตร 1 คนประธานหรือกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ 1 คน อาจารย์
บัณฑิตศึกษา 1 คน และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกอย่างน้อย 1 คน เป็นกรรมการ ในกรณีประธานกรรม
การบริหารหลักสูตรเป็นกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ให้แต่งต้ังกรรมการอ่ืนเป็นประธาน
กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ โดยคณะกรรมการสอบให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรอ่ื งเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2548
(3) ถ้าคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์มีมติให้อนุมัติผลการสอบป้องกัน นักศึกษาจะ
ได้รับผลการประเมนิ วิทยานิพนธ์จานวน 12 หน่วยกิต เป็น Excellent, Good, Pass หรือ Fail แลว้ แต่
กรณี หลังจากน้ันกรรมการสอบจะลงนามในหน้าอนุมัติวิทยานิพนธ์ สานักงานบัณฑิตวิทยาลัย
จัดทาใบอนมุ ัติผลการสอบ จานวน 5 ชุด
ในกรณีที่กรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์มีมติให้แก้ไขวิทยานิพนธ์ นักศึกษาจะต้อง
แก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 45 วัน หลังจากสอบปากเปล่าเสร็จส้ิน จากนั้นนาไปให้อาจารย์ท่ีปรึกษา
6
วิทยานิพนธ์ตรวจสอบและลงนามอนุมัติผลการสอบ เสร็จแล้วนาไปให้เลขานุการสอบฯ และ
ประธานกรรมการสอบฯ ลงนามรบั รองการแก้ไขวิทยานพิ นธ์
5. การส่งวิทยานพิ นธฉ์ บบั สมบรู ณ์
(1) นักศึกษาส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ (ไม่ต้องเย็บเล่ม) เพื่อให้สานักงานบัณฑิต
วทิ ยาลยั ตรวจสอบรปู แบบและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ถา้ ไม่มีแก้ไขใช้แบบคารอ้ ง บศ. 24 ถ้ามแี กไ้ ข
ใชแ้ บบคารอ้ ง บศ. 23/2
(2) นักศึกษาขอรับทราบผลการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ที่สานักงานบัณฑิตวิทยาลัย
ถา้ มีขอ้ แก้ไขต้องแกไ้ ขให้แล้วเสรจ็ ภายใน 5 วนั แล้วนาส่งใหมอ่ กี คร้ังหนง่ึ
(3) นักศึกษานาวิทยานิพนธ์ท่ีตรวจสอบรูปแบบแล้วไปเข้าเล่มโดยมีข้อความต่างๆ
ตามทีก่ าหนดไว้ในค่มู อื เรียบเรียงวิทยานพิ นธ์
(4) ส่งวทิ ยานิพนธ์ทเ่ี ขา้ เลม่ เรียบร้อยแลว้ จานวน 4 เล่ม และไม่ต้องเข้าเล่ม 1 ชุด แผ่น
CD ขอ้ มลู วิทยานพิ นธท์ งั้ หมด 5 บท พร้อมทงั้ บทความวทิ ยานิพนธ์ท่ีผา่ นการตรวจสอบจากอาจารย์
ทป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธแ์ ล้ว ณ สานักงานบณั ฑิตวิทยาลัย
(5) นักศึกษาต้องนาผลงานวิทยานิพนธ์ไปตีพิมพ์หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงาน
หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือส่ิงพิมพ์ทางวิชาก ารหรือ
เสนอต่อท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม (Proceeding) จึงจะสามารถย่ืนคาร้องขอสาเร็จ
การศึกษา (บศ. 27)
ท้ังน้ีให้นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต ศึกษาแนวปฏิบัติตามแผนภูมิท้ายประกาศนี้
และให้ถือปฏิบัตติ ง้ั แต่ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2551 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 30 มถิ ุนายน พ.ศ. 2553
(รองศาสตราจารย์ ดร.ประเทือง ภมู ิภทั ราคม)
อธิการบดสี ถาบนั ราชภัฏนครสวรรค์
แผนภูมแิ สดงข้ันตอนการทาวิทยานพิ นธ์ 7
สาหรับนักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ไม่ผา่ น
ส่งหวั ขอ้ วิทยานพิ นธ์ เสนออาจารยท์ ่ปี รกึ ษาทว่ั ไป (บศ. 19) ไมผ่ ่าน
ลงทะเบยี นวิทยานิพนธ์ 2 หน่วยกติ ไมผ่ ่าน
กรรมการบรหิ ารหลกั สูตรพิจารณา
ติดตอ่ อาจารยท์ ่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์
และยื่นคารอ้ งขอแตง่ ตง้ั อาจารย์ทปี่ รึกษา (บศ. 20) ตอ่ บัณฑติ วิทยาลยั
ศึกษาคน้ คว้า และเแขตยี นง่ ตเคง้ั า้ โครงวทิ ยานิพนธ์
(ในความดแู ลของอาจารยท์ ่ปี รึกษา)
ลงทะเบยี น 5 หน่วยกติ ยืน่ คารอ้ งขอสอบเคา้ โครงฯ (บศ. 21) พร้อม
เคา้ โครงวิทยานิพนธ์ 6 เลม่ และตวั อยา่ งเคร่อื งมือการวจิ ัยบางส่วน
บณั ฑติ วิทยาลยั เสนอแต่งตง้ั คณะกรรมการสอบเคา้ โครงวิทยานพิ นธ์
(สอบปากเปล่า)
แกไ้ ขเคา้ โครงฯตามขอ้ แนะนาของคณะกรรมการภายใน 30 วนั สง่
บัณฑติ วิทยาลยั 1 เล่ม อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา 1 เล่ม ยืน่ คารอ้ ง (บศ. 23/1)
ดาเนนิ การทาวิทยานพิ นธใ์ หเ้ สรจ็ สมบูรณ์
(ในการกากบั ดูแลของอาจารยท์ ป่ี รึกษา)
ลงทะเบยี น 5 หนว่ ยกิต พรอ้ มยืน่ คารอ้ งขอสอบปอ้ งกนั วทิ ยานิพนธ์
(บศ. 22) ประธานหลักสตู รสง่ ผลการประเมินรวม (บศ. 49)
บณั ฑติ วทิ ยาลยั แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์
(สอบปากเปล่า)
แก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการภายใน 45 วนั ย่นื คารอ้ งขอส่ง
ตามแบบ (บศ. 23/2) ตรวจรปู แบบและแก้ไข ไมเ่ กิน 60 วนั
ย่นื คารอ้ ง (บศ. 2บ3/3ทแทล่ี ะ223/4)
เผยแพร่ผลงานวสทิ ง่ ยเลาม่นฉพิ เบคนบั้าธโส์ (คนมรบาเงรูสณวนิท์อ(บหยศรา.ือน2ต4พิพี )ิมนพธใ์ ์นวารสาร)
ยื่นคาร้องขอสาเรจ็ การศึกษา (บศ. 27)
8
ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์
เร่ือง แนวปฏบิ ัติและขนั้ ตอนการดาเนินการค้นคว้าอิสระ หลกั สูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข
-----------------------------------
เพ่ือให้การดาเนินการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข
เป็นไปอย่างมีมาตรฐานและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) (๓)
และ (๗) แห่งพระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมติเหน็ ชอบของคณะกรรมการ
บัณฑิตศึกษา คราวประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๕๔ จึงกาหนดแนวปฏิบัติและขั้นตอนการดาเนินการ
คน้ คว้าอิสระไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ ๑. ประกาศนี้ เรียกว่า ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เรื่อง แนวปฏิบัติและ
ข้นั ตอนการดาเนนิ การคน้ คว้าอิสระ หลกั สูตรปริญญามหาบณั ฑติ แผน ข
ข้อ ๒. ประกาศนี้มีผลบังคับใช้สาหรับผู้เข้าศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข
ตง้ั แต่ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไป
ข้อ ๓.ในประกาศน้ี
(๑) อธกิ ารบดี หมายความวา่ “อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์”
(๒) นักศึกษา หมายความว่า “นักศกึ ษาระดับปรญิ ญามหาบณั ฑติ แผน ข”
(๓) การค้นคว้าอิสระ หมายความว่า “กรณีศึกษา สิ่งประดิษฐ์ หรือการวิเคราะห์
พัฒนางานท่ีใช้กระบวนการวิจัย ที่นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต แผน ข จัดทาเพื่อเป็นส่วน
หน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปรญิ ญาโท”
(๔) ระเบียบ หมายถึง “ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ว่าด้วยการจัด
การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐”
ข้อ ๔. นักศึกษาท่ีจะลงทะเบียนการค้นคว้าอิสระได้ต้องสอบผ่านการสอบประมวล
ความรู้ และมีระดบั คะแนนเฉล่ียสะสมไมน่ ้อยกวา่ ๓.๐๐
ขอ้ ๕. การเสนอเค้าโครงการคน้ คว้าอสิ ระ ให้ดาเนินการตามขั้นตอนดงั น้ี
(๑) นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาการค้นคว้าอิสระโดยได้รับความเห็นชอบจาก
อาจารยท์ ี่ปรึกษา
9
(๒) นักศึกษาเสนอเค้าโครงการค้นคว้าอิสระตามรูปแบบท่ีบัณฑิตวิทยาลัย
กาหนดโดยผ่านการให้คาแนะนาจากอาจารย์ท่ีปรึกษา จานวน ๔ เล่ม เสนอต่อคณะ
กรรมการบริหารหลกั สตู ร
(๓) ประธานคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อคณะกรรมการพิจารณาเค้าโครงการค้นคว้าอิสระซึ่งประกอบด้วย
อาจารย์ประจาหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า ๓ คน ไปยังสานักงานบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อเสนอให้
อธิการบดีหรือผู้ท่ีอธิการบดีมอบอานาจเป็นผู้ลงนามแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเค้าโครงการ
ค้นควา้ อิสระเพ่ือพจิ ารณาเหน็ ชอบหวั ข้อ และรายละเอียดเคา้ โครงการคน้ คว้าอิสระ
(๔) ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนาส่งผลการพิจารณาเค้าโครง
การศึกษาค้นคว้าอิสระพร้อมเสนอรายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระจานวน ๑ หรือ ๒ คน
ซึง่ มคี ุณสมบตั ิตามการเป็นอาจารย์ทปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ์ระดับปริญญาโท โดยอนุโลม ตามระเบียบ
เพ่อื เสนอให้อธกิ ารบดหี รือผูท้ ่ีอธิการบดมี อบอานาจลงนามแตง่ ตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาตอ่ ไป
(๕) กรณีที่เค้าโครงการค้นคว้าอิสระที่ได้รับการอนุมัติแล้ว หากมีการ
เปล่ียนแปลงใด ที่เป็นสาระสาคัญเกี่ยวกับเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ นักศึกษาต้องย่ืนคาร้องขอ
อนุมัติการเปลี่ยนแปลงต่อบัณฑิตวิทยาลัย การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวต้องได้รับการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการประจาหลักสูตร
ข้อ ๖. การดาเนินการค้นคว้าอิสระ นักศึกษาต้องดาเนินการโดยอยู่ในการดูแลของ
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาการค้นควา้ อิสระทไี่ ด้รบั การแต่งตัง้ จนกว่าจะสอบการศกึ ษาคน้ คว้าอิสระเสรจ็ สิน้
ข้อ ๗. การสอบการค้นควา้ อิสระใหด้ าเนนิ การ ดงั น้ี
(๑) นักศึกษาที่จัดทารายงานการค้นคว้าอิสระเสร็จแล้วให้ยื่นคาร้องขอสอบ
การค้นคว้าอิสระตามแบบท่ีบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด พร้อมด้วยเอกสารรายงานการค้นคว้าอิสระ
จานวน ๕ เล่ม ต่อบณั ฑติ วทิ ยาลยั
(๒) ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอช่ือคณะกรรมการสอบให้
บัณฑิตวิทยาลัยเสนออธิการบดีหรือผู้ท่ีอธิการบดีมอบอานาจเป็นผู้ลงนาม แต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบ การค้นคว้าอิสระซึ่งมีคุณสมบัติตามระเบียบ ซ่ึงประกอบด้วย ประธานกรรมการบริหาร
หลักสูตรเป็นประธาน ประธานหรือกรรมการที่ปรึกษา ๑ คน อาจารย์บัณฑิตศึกษา ๑ คน และ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกอย่างน้อย ๑ คน ท้ังน้ีในกรณีที่ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นที่
ปรึกษาการค้นควา้ อิสระใหแ้ ต่งต้งั กรรมการอื่นเป็นประธานกรรมการสอบ และใหอ้ าจารย์ทป่ี รกึ ษา
เปน็ กรรมการ และเลขานกุ ารสอบ
10
(๓) ในการดาเนินการสอบการค้นคว้าอิสระถ้ามีกรรมการไม่ครบจานวนตาม
องค์ประกอบในข้อ ๖.๒ ให้เล่ือนการสอบออกไป ในกรณีจาเป็นอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการสอบ
โดยประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอช่ือให้บัณฑิตวิทยาลัยเพื่อเสนออธิการบดีหรือผู้ที่
อธิการบดีมอบอานาจเป็นผู้ลงนามแต่งตั้งกรรมการแทนได้ ทั้งน้ีจะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่
ให้มีระยะเวลาห่างจากครั้งแรกไม่น้อยกว่า ๕ วนั
(๔) ผลการสอบการค้นคว้าอิสระให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครสวรรค์ ว่าด้วยการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ้ ๗ (๓) และ
(๔)
(๕) ในกรณีที่กรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ มีมติให้แก้ไขรายงานการค้นคว้า
อิสระ นักศึกษาจะต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ จากนั้นให้อาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระตรวจสอบ
และให้เลขานุการสอบฯ และประธานกรรมการสอบฯ ลงนามรับรองการแก้ไขการค้นคว้าอิสระ
ภายใน ๔๕ วนั นับจากวันสอบ
(๖) ให้ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนาเสนอผลการสอบการค้นคว้า
อิสระต่อบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อเสนอต่อประธานคณะกรรมการวิชาการบัณฑิตศึกษาลงนามอนุมัติ
ตอ่ ไป
ข้อ ๘. การส่งรายงานการค้นคว้าอิสระฉบับสมบูรณ์ ให้นักศึกษาส่งรายงานการค้นคว้า
ฉบับสมบรู ณ์ (ไมต่ อ้ งเย็บเล่ม) เพอ่ื ให้บัณฑติ วทิ ยาลยั ตรวจสอบรปู แบบและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ
ให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วัน โดยนักศึกษาขอรับทราบผลการตรวจรูปแบบที่บัณฑิตวิทยาลัย ถ้ามี
ขอ้ แก้ไขต้องแกไ้ ขใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายใน ๕ วนั นบั จากวนั รบั ผลการตรวจ แลว้ นาส่งใหมอ่ กี คร้ังหน่ึง
ข้อ ๙. นักศึกษาต้องส่งรายงานการค้นคว้าท่ีเข้าเล่มเรียบร้อยแล้วจานวน ๓ เล่ม และ
แผน่ ซีดขี อ้ มลู รายงานการค้นคว้าอิสระ จานวน ๓ แผน่
ข้อ ๑๐. ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามประกาศน้ี และให้เป็นผู้วินิจฉยั ชี้ขาด
ในกรณเี กิดปัญหาจากการใชป้ ระกาศนี้
ทั้งน้ี ให้นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต แผน ข ศึกษาแนวปฏิบัติตามแผนภูมิท้าย
ประกาศน้ี และใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิต้งั แต่ ภาคเรียนที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เปน็ ตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี เดอื น พ.ศ. ๒๕๕๔
(รองศาสตราจารย์ ดร.ประเทือง ภูมิภทั ราคม)
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์
11
แผนภูมิแสดงขัน้ ตอนการดาเนนิ การคน้ ควา้ อสิ ระ
สาหรับนักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
นักศึกษายน่ื ขอสอบเคา้ โครงการค้นคว้าอิสระ
บัณฑิตวิทยาลยั เสนอแตง่ ต้ังกรรมการพิจารณา ไม่ผา่ น
ตามความเหน็ ชอบของกรรมการบริหารหลกั สูตร
นกั ศึกษาดาเนนิ การคน้ คว้าอสิ ระในความดูแลของอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา
นักศกึ ษายื่นขอสอบรายงานฉบบั สมบูรณ์พร้อมสง่ เลม่ จานวน 5 เล่ม
บณั ฑติ วทิ ยาลัยเสนอแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบรายงานการคน้ คว้าอสิ ระ ไม่ผ่าน
(สอบปากเปล่า)
แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการภายใน 45 วนั ยืน่ คารอ้ งขอสง่
ตามแบบ (บศ. 23/2) ตรวจรปู แบบและแกไ้ ข ไม่เกิน 60 วัน
ยนื่ คาร้อง (บศ. 23/3 และ 23/4)
ย่นื คาร้องขอสาเรจ็ การศกึ ษา (บศ. 27)
พรอ้ มสง่ เลม่ รายงานฉบับสมบูรณ์ จานวน 3 เล่ม
และแผน่ ซีดี จานวน 3 แผ่น
12
บทท่ี 2
เค้าโครงวิทยานิพนธ์/การคน้ ควา้ อสิ ระ
เค้าโครงหรือ โครงร่าง หรือข้อเสนอ (Proposal) วิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระเป็น
เอกสารแสดงรายละเอียดของการวางแผนการวิจยั ที่นกั ศกึ ษาไดก้ ระทาภายใต้คาปรกึ ษาและ การ
ควบคมุ ดแู ลของอาจารย์หรือคณะอาจารยท์ ี่ปรึกษา เพราะจะทาให้นกั ศึกษาไดส้ รุปรวบรวมแนวคิด
ข้ันตอนและวิธีการดาเนินการวิจัยอย่างรอบคอบ ละเอียดรัดกุม เค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการ
ค้นคว้าอิสระจะเป็นแบบควบคุมการวิจัยว่าจะดาเนินการไปอย่างไร มีตัวแปรอะไรบ้าง จะวัดตัว
แปรอย่างไร ประชากรเป้าหมายคืออะไร มีขั้นตอนในการสุ่มตัวอย่างอย่างไร และจะมีวิธีการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลอย่างไร เปน็ ตน้
นอกจากความสาคัญที่มีต่อนักศึกษา ผู้จัดทาวิทยานิพนธ์ดังกล่าวข้างต้นแล้ว เค้าโครง
วิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระยังใช้เป็นเอกสารเสนอขอคาอนุมัติหรือคาสนับสนุนให้
ดาเนินการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบการลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ ท่ีสถาบันการศึกษา
หลายแห่งได้กาหนดให้นิสิต นักศึกษาสามารถแบ่งหน่วยกิตวิทยานิพนธ์เป็นส่วนย่อย ๆไม่
จาเป็นต้องลงทะเบียนพร้อมกันท้ังหมด เอกสารเค้าโครงน้ี ยังจะเป็นส่ิงที่คณะอาจารย์ท่ีปรึกษา ใช้
ตรวจสอบความสาคัญ ความเป็นประโยชน์ และความเหมาะสมกับระดับและโปรแกรมที่ศึกษา
ตลอดจนใช้เป็นส่ิงยืนยันว่า นักศึกษาผู้เสนอเค้าโครงน้ันได้ศึกษาความรู้ แนวคิดทฤษฎี และ
งานวจิ ัยที่เก่ียวข้องมากพอทจ่ี ะดาเนินการวจิ ัยในหวั ข้อทีเ่ สนอน้ันให้สาเร็จลลุ ว่ งได้ เอกสาร เค้า
โครงวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระประกอบด้วยกระบวนการนาเสนอเค้าโครง จะเป็นผลงาน
หลักที่นักศึกษาจะได้รับการประเมิน การผ่าน/ไม่ผ่าน นอกจากนี้การนาเสนอเค้าโครงที่มีความ
ละเอียดชัดเจน ยังช่วยสื่อสารให้ผู้สนใจท่ัวไปได้ทราบรายละเอียดของลักษณะงานวิทยานิพนธ์
หรือการค้นควา้ อิสระนน้ั ซ่งึ จะเป็นขอ้ มูลทีจ่ ะใช้ในการตัดสินใจติดตามเพื่อใชป้ ระโยชนใ์ นโอกาส
ต่อ ไป
ก่อนท่ีจะกล่าวถึงรายละเอียดของการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ
ขอให้ข้อสังเกตว่ารูปแบบการเขียนน้ันมีหลายแบบ ขึ้นอยู่กับแต่ละสถาบัน ดังนั้นนักศึกษาผู้เสนอ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระจะต้องศึกษาหัวข้อ รูปแบบและมาตรฐานของสถาบัน
น้ัน ก่อนด้วย สาหรับบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ได้กาหนดให้เค้าโครง
วิทยานิพนธแ์ ละการค้นคว้าอิสระมรี ายละเอียดในส่วนเนื้อเรอ่ื งประกอบด้วย 3 ส่วน ดงั น้ี
13
สว่ นท่ี 1 สว่ นนา หมายถงึ ส่วนประกอบตอนตน้ ของวทิ ยานพิ นธ์กอ่ นถึงสว่ นเน้ือหา ท่ีประกอบดว้ ย
1. ปกภาษาไทย
2. ปกภาษาองั กฤษ
3. หนา้ อนมุ ตั ิ
4. กิตติกรรมประกาศ
5. สารบัญ โดยทั่วไปแบง่ เป็น 3 ส่วนไดแ้ ก่ สารบัญเนื้อเรื่อง สารบัญตาราง และ
สารบญั แผนภมู ิและ ภาพประกอบ
สว่ นท่ี 2 ส่วนเนือ้ หา ประกอบดว้ ย
1. บทที่ 1 บทนา ประกอบดว้ ยหัวข้อยอ่ ย ดงั นี้
- ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา
- คาถามการวิจยั (ถ้ามี)
- วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
- ขอบเขตของการวจิ ัย
- ขอ้ ตกลงเบอ้ื งต้น (ถา้ มี)
- ขอ้ จากัดของการวจิ ัย (ถ้ามี)
- นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
- ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
2. บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ยอ่ ย ดังนี้
- ทฤษฎี แนวคดิ หรอื หลกั การท่ีเกย่ี วข้อง
- งานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง
- กรอบแนวคิดของการวจิ ยั
- สมมติฐานของการวจิ ัย (ถ้ามี)
3. บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ การวจิ ยั ประกอบดว้ ย
- ข้นั ตอนการวิจยั
- ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
- เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวิจัย
- การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
- การวิเคราะห์ข้อมลู
- สถิติท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
14
ส่วนท่ี 3 รายการอ้างอิง เป็น รายการท่ีแสดงให้ทราบว่า ข้อความหรือแนวคิดนั้นอยู่ในทรัพยากร
สารสนเทศใด เพ่ือให้เกียรติเจ้าของความคิดน้ัน ๆ และให้ผู้อ่านตรวจสอบหรือค้นคว้าเพิ่มเติม
รวมทั้งเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือกับ งานวิจัยของผู้เขียนด้วย ซ่ึงต้องพิมพ์ตามรูปแบบที่สถาบัน
กาหนดไว้ ในเค้าโครงวิทยานิพนธ์ และวิทยานิพนธ์แต่ละเรื่องจะต้องมีรายการอ้างอิงรายชื่อ
หนังสือ ส่ิงพิมพ์อื่น ๆโสตทัศนวัสดุ แหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนวิธีการท่ีได้ข้อมูลมาเพ่ือ
ประกอบการเขยี นวิทยานพิ นธเ์ รื่องน้ัน ๆ รายการอา้ งองิ จะเรียงลาดับตอ่ จากสว่ นเน้ือหา และการลง
รายการอ้างอิงให้พิมพ์เฉพาะเอกสารและแหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ทุกรายการที่มีการอ้างถึงใน
เนอื้ หาของเคา้ โครงวทิ ยานิพนธ/์ วทิ ยานิพนธ์เทา่ น้ัน
หมายเหตุ สาหรับการค้นคว้าอิสระให้ใช้คา “การศึกษา” แทน “การวิจัย” เช่น วัตถุประสงค์
การศึกษา ขอบเขตการศึกษา ข้อจากัดการศึกษา กรอบแนวคิดการศึกษา สมมติฐานการศึกษา
ข้ันตอนการศึกษา เครื่องมือทใ่ี ช้ในการศึกษา สถติ ทิ ใี่ ช้ในการศึกษา เป็นตน้
แนวการเขยี นเคา้ โครงวิทยานพิ นธ์/การคน้ คว้าอสิ ระ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ พิจารณาแลว้ เห็นวา่ เพ่ือให้เค้าโครงวทิ ยานพิ นธ์หรือการ
ค้นคว้าอิสระมีรายละเอียดและมีคุณภาพ รวมทั้งนักศึกษาจะได้มีกรอบแนวทางในการเขียนเค้า
โครงวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระที่ชัดเจน ตลอดจนเพ่ือลดความขัดแย้งที่อาจเกิดข้ึนระหว่าง
คณะกรรมการพิจารณาประเมินเค้าโครงของนักศึกษา จึงกาหนดรายละเอียดการเขียนเค้าโครง
วิทยานิพนธ์ดังนี้
บทท่ี 1 บทนา
1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา
ส่วนนี้ให้เขียนถึงความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา หรือเรื่องที่เสนอเพื่อจะทา
วิจัย โดยจะต้องพยายามอธิบายให้ผู้อ่านได้ทราบที่มาของปัญหาและเหตุผลความจาเป็นท่ีจะต้อง
ศกึ ษาวจิ ัยเพือ่ หาคาตอบใหล้ ะเอียดชัดเจน
ในบางกรณีอาจต้องกล่าวถึงปรากฏการณ์ หรือเร่ืองราวที่ผ่านมาของปัญหา หรือเรื่อง
ที่จะวิจัย ซ่ึงอาจต้องบรรยายถึงสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทางประชากร สังคม การเมือง หรือเศรษฐกิจ
อย่างย่อ ๆ และในบางกรณีอาจต้องบรรยายด้วยว่า มีผู้ใดท่ีทาการศึกษาวิจัยในเรื่องทานองน้ีไวบ้ า้ ง
แล้ว ที่ใดบ้าง มีข้อค้นพบประการใด และยังมีจุดอ่อนหรือประเด็นข้อสงสัยใดที่ควรจะต้องศึกษา
ค้นคว้าเพิม่ เติมให้ชัดเจนขนึ้ อกี
15
การเขียนบรรยายความเป็นมา อาจเขียนได้ 2 ลักษณะ กล่าวคือระบุว่าปัญหาหรือเร่ือง
ท่ีจะศึกษาค้นคว้าน้ันมีความสาคัญอย่างไรบ้าง ซ่ึงมีลักษณะเป็นข้อความในทางบวก อีกลักษณะ
หน่ึงเป็นข้อความในทางลบ คือระบุว่าถ้าหากไม่ทาการศึกษาวิจัยในปัญหาน้ีแล้วจะเกิดผลเสีย
อะไรบ้าง การเลือกรูปแบบในการเขียนว่าจะใช้ข้อความทางบวกหรือทางลบนั้น ไม่มีกฎเกณฑ์
ตายตัว จะข้ึนอยู่กับความพึงพอใจและความสันทัดของผู้เสนอเค้าโครงเอง หรือขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมกับลักษณะปัญหา หรือเรื่องที่จะทาวิจัยด้วย ในบางกรณีผู้วิจัยอาจชี้ให้เห็นว่าตัวผู้วิจัยมี
ความเกี่ยวข้องกับปัญหาน้ัน ๆ อย่างไร เพ่ือแสดงเหตุผลของความสนใจท่ีจะศึกษาวิจัยเร่ืองน้ัน
หรือเปน็ การเขยี นเพอ่ื ให้เห็นถงึ ความสาคญั ของการวิจัย โดยชีใ้ ห้เหน็ ผลกระทบท่เี กิดขนึ้
ขอ้ ความในสว่ นแรกของเคา้ โครงน้นั จะเปน็ ส่วนทีส่ ร้างความประทับใจ ใหก้ บั ผู้อา่ นไป
จนตลอดเค้าโครงท่ีนาเสนอท้ังหมดได้ ดังน้ันจะต้องพยายามเขียนบรรยายความเป็นมาและ
ความสาคัญ ของปัญหาใหช้ ัดเจนท่ีสดุ จนสามารถโน้มน้าวความคิดของผู้อ่านให้เหน็ คลอ้ ยตามและ
เห็นความสาคัญของปัญหาให้ได้
2. คาถามการวจิ ัย (ถา้ มี)
คาถามการวิจัยเป็นสิ่งที่ผู้วิจัยต้องกาหนดขึ้น (Problem identification) และให้นิยาม
ปัญหาน้ัน อย่างชัดเจน เพราะปัญหาท่ีชัดเจน จะช่วยผู้วิจัยในการกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
ต้ังสมมติฐานการวิจัย การให้นิยามตัวแปรท่ีสาคัญๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่าน้ันได้ ถ้าผู้วิจัย
ต้งั คาถามทไ่ี ม่ชัดเจน จะทาใหก้ ารวางแผนในขน้ั ตอ่ ไป เกิดความสบั สนได้
คาถามของการวิจัยต้องมีความเหมาะสม หรือสัมพันธ์ กับเรื่องท่ีจะศึกษา โดยควรมี
คาถามที่สาคัญท่ีสุด ซึ่งผู้วิจัย ต้องการคาตอบ มากท่ีสุด เพียงคาถามเดียว เรียกว่า คาถามหลัก
(Primary research question) แต่ผู้วิจัยอาจกาหนดให้มี คาถามรอง (Secondary research question)
หรือคาถามเฉพาะอกี จานวนหน่ึงกไ็ ด้ ซ่งึ คาถามรองน้ี เปน็ คาถาม ท่เี ราตอ้ งการคาตอบ เชน่ เดยี วกัน
แตม่ ีความสาคัญรองลงมา
3. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย จะทาให้เกิดความชัดเจนว่า การทาวิจัยเร่ืองนั้น ๆ ต้องการได้
คาตอบอะไรหรือต้องการศกึ ษาอะไร ในด้านใดบ้าง หรือมีวัตถปุ ระสงค์หลักและความมงุ่ หมายย่อย
ๆ อะไรบ้าง โดยปกติวัตถุประสงคก์ ารวิจัย จะเปน็ ส่วนทจ่ี ะสร้างความชดั เจนใหแ้ กห่ วั ขอ้ วิจัยยิ่งขน้ึ
การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย ควรจัดเรียงลำดับตำมควำมสำคัญของกำรวิจัยครั้ง
น้ัน ๆ กล่าวคือ ข้อแรกๆ ของวัตถุประสงค์การวิจัย ควรเป็นส่วนท่ีตรง/สอดคล้องกับช่ือเร่ือง/
หวั ขอ้ วิจัย ขอ้ ทล่ี าดบั ตอ่ มาจึงเป็นเร่ืองทีต่ ้องการค้นพบหรอื ผลพลอยได้จากการวิจัย วตั ถปุ ระสงค์
การวิจัย แต่ละข้อควรเขียนให้ชัดเจนเพ่ือประโยชน์ในการพิจารณากลุ่มประชากร วิธีดาเนินการ
16
วิจัย เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจาเป็นต้องกาหนดให้
สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั ในครง้ั นั้น
4. ขอบเขตของการวจิ ัย
เนื่องจากการทาวิจัยในแต่ละเรื่องเราไม่สามารถที่จะศึกษาได้ครอบคลุมในทุกประเด็น
การกาหนดขอบเขตของการวิจัย จะทาให้งานวิจัยมีความชัดเจน และเป็นไปตามวัตถุประสงคก์ าร
วิจัยที่ได้กาหนดเอาไว้
การกาหนดขอบเขตของการวจิ ัย ทัว่ ไปกาหนดไว้ 4 ลกั ษณะคือ
1) ขอบเขตด้านเนื้อหา / ขอบเขตในทางภูมิศาสตร์ของประชากร กลุ่มตัวอย่าง เช่น
การกาหนดขอบเขตของการศึกษาเฉพาะภูมิภาค เฉพาะจังหวดั เฉพาะเขต ฯลฯ
2) ขอบเขตเกย่ี วกบั ตวั แปรสาคัญท่ศี กึ ษา เช่น ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
3) ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งทีต่ ้องการศึกษา
4) ขอบเขตดา้ นระยะเวลา เช่น การกาหนดการศึกษาเฉพาะชว่ งปีหน่งึ ๆ หรอื การศึกษา
เหตุการณ์เฉพาะครัง้ ใดครง้ั หนึง่ เป็นต้น
5. ข้อตกลงเบ้อื งตน้
ข้อตกลงเบ้ืองต้นเป็นการระบุข้อความที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจและยอมรับโดย
ไม่ต้องมีการพิสูจน์ การเขียนข้อตกลงไว้ก่อนก็เพื่อให้ผู้อ่านทาความเข้าใจกับการดาเนินการและ
ผลของการวิจัยโดยไม่ต้องมีข้อขัดแย้งในภายหลัง ซึ่งบางคร้ังงานวิจัยอาจไม่มีเหตุการณ์หรือสิ่งท่ี
จะกาหนดเป็นข้อตกลงเบ้ืองต้นก็ได้ ส่วนข้อตกลงเบื้องต้นที่มีอาจเป็นการตกลงเก่ียวกับตัวแปร
การจัดกระทาข้อมูล วิธีการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ฯลฯ และนอกจากนี้ข้อตกลงเบื้องต้นยังมีประโยชน์
ตอ่ ผูว้ จิ ยั ในการเลอื กใชส้ ถิติอกี ด้วย
6. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
การนิยามศัพท์นี้เป็นการเขียนอธิบายความหมายคาศัพท์ ข้อความหรือคาย่อหรือ
ข้อความสั้นๆ ท่ีใช้แทนข้อความยาวที่จาเป็นต้องกลา่ วถึงบ่อย ๆ ถือเป็นส่วนหน่ึงในการนิยามหรอื
การช้ีเฉพาะเจาะจงปัญหาการวิจัย ซ่ึงงานวิจัยโดยท่ัวไปมักมีคาหรือข้อความที่จาเป็นต้องอธิบาย
เพ่ือสอื่ ความหมายใหช้ ดั เจนตรงกันระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนท่ีเป็น ตัว
แปรสาคัญที่เลือกมาศึกษาย่ิงจาเป็นต้องนิยามให้ชัดเจน บางกรณีผู้วิจัยเห็นว่าไมม่ ีคา/ข้อความ ใดที่
กากวมที่จะทาให้การสื่อความหมายผิดพลาดได้ อาจไม่มีหัวข้อนิยามศัพท์เฉพาะในเค้าโครง
วทิ ยานพิ นธห์ รอื ในวิทยานิพนธก์ ไ็ ด้
17
7. ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ
ประโยชน์ท่ีคาดได้รับจากการวิจัย จะเป็นส่วนช่วยชี้ถึงความสาคัญและความจาเปน็ ที่
จะต้องทาการวิจัยปัญหาน้ัน ๆ มักจะอยู่ในรูปของการคาดคะเนว่า ถ้าการวิจัยนั้นได้ผลตรงตาม
จุดมุ่งหมายแล้วจะได้ความรู้อะไร และ/หรือ ใคร/ส่วนใด จะสามารถนาไปใช้ในลักษณะใดได้
ต่อไป เป็นการสื่อสารให้ทราบว่า เมื่อได้ทาการวิจัยเสร็จเรียบร้อยแล้วจะสามารถนาผลการวิจัยไป
ใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ซ่ึงนับได้ว่าเป็นประเด็นที่สาคัญมากประเด็นหนึ่งในเค้าโครงวิทยานิพนธ์
เพราะจะเป็นประเด็นท่ีใช้ประเมินได้ว่างานวิจัยช้ินนี้จะมีผลได้อะไรท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์ได้
และ/หรอื จะมปี ระโยชนม์ ากนอ้ ยเพยี งใด
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
ในบทน้กี าหนดให้แบ่งเป็น
- ทฤษฎี แนวคิดหรอื หลกั การทเ่ี กี่ยวข้อง
- งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
- กรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย
- สมมตฐิ านของการวจิ ยั (ถ้ามี)
1. ทฤษฎี แนวคิดหรอื หลกั การทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
ทฤษฎี แนวคิดหรือหลักการที่เกี่ยวข้อง มีวัตถุประสงค์ท่ีจะแสดงให้เห็นว่า งานวิจัยช้ิน
น้ีมีแนวคิดทฤษฎีอะไรเปน็ พ้ืนฐาน มีการวางแผนอย่างไรและเพียงใด ความสาคัญของการนาเสนอ
เนื้อหาจะช้ีให้เห็นแนวความคิดทฤษฎีจากเอกสารท่ีเป็นพื้นฐานของงานวิจัยช้ินนี้ และเป็นข้อมูลท่ี
จะช่วยให้คณะอาจารย์ท่ีปรึกษามีความม่ันใจว่า นักศึกษาผู้เสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์น้ัน มีข้อมูล
และแนวทางเพยี งพอท่ีจะดาเนินการวิจัยตอ่ ไปได้หรือไม่อกี ด้วย
การเขียนเน้ือหาในส่วนน้ี จะต้องคัดสรรสิ่งที่จะเขียนให้ดี ทั้งสิ่งท่ีได้มาจากเอกสารที่
เป็นงานวิจัยและเอกสารทีไ่ ม่ใช่งานวิจัย จะต้องเป็นรูปแบบการสังเคราะห์ส่ิงที่ค้นคว้าได้มา ไม่ใช่
เป็นเพียงการนาส่ิงที่ค้นคว้ามาได้เขียนเรียงต่อๆ กันไปเรื่อยๆ ไม่ใช่รวบรวมทุกส่ิงทุกอย่างที่
รวบรวมมาได้เขยี นลงทั้งหมด ดงั นัน้ กอ่ นลงมือเขียนจริงควรเริ่มด้วยการวางโครงเร่ืองท่ีสอดคล้อง
เหมาะสมกบั ปัญหาวจิ ยั โดยอาจกาหนดโครงเร่อื งเป็นหวั ขอ้ ต่างๆ ทง้ั หัวขอ้ ใหญ่ หัวข้อรอง หวั ข้อ
ย่อย ก่อนนาเสนอรายละเอียดควรเร่ิมด้วยการเกร่ินนาหรืออารัมภบทท่ีกล่าวถึงการนาเสนอว่า จะ
นาเสนออยา่ งไร เปน็ กีต่ อน กี่ขอ้ อะไรบ้าง เป็นต้น
18
2. งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง
การเขียนผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องท่ีดีและมีแหล่งอ้างอิงที่ถูกต้องน่าเช่ือถือ สามารถแสดง
ให้เห็นถึงความสาคัญของโครงการวิจัยและความรอบรู้ของผู้วิจัยในศาสตร์น้ัน ๆ โดยท่ีจะต้อง
ประกอบดว้ ยผลงานวิจัยทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
3. กรอบแนวคิดของการวจิ ยั
กรอบแนวคิดการวิจัย เป็นผลสรุปจากการศึกษาทฤษฎีและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับ
หัวข้อปัญหาวิจัย ซึ่งได้สรุปเป็นแนวความคิดของตนเองโดยท่ีผู้วิจัยจาเป็นต้องศึกษา ทฤษฎีและ
ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องให้มากเพียงพอว่ามีผใู้ ดเคยทาวิจยั เร่ืองนี้มาบ้าง ทาอยา่ งไรและข้อค้นพบของ
การวิจัยมีอะไรบ้าง แล้วนามาประกอบการวางแผนการวิจัยของตนเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ
กาหนดกรอบในเชิงเน้อื หาสาระ ซึ่งประกอบดว้ ย ตวั แปรและการระบคุ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปร
การเสนอกรอบแนวคิดการวิจัยอาจทาได้หลายวิธี ได้แก่ คาพรรณณา แผนภาพ
แบบจาลองหรอื สญั ลักษณ์และสมการแบบผสมผสาน
4. สมมติฐานของการวิจัย (ถ้ามี)
เป็นการระบุ/คาดคะเนคาตอบ (ตอบปัญหาจากวัตถุประสงค์การวิจัย) ไว้ล่วงหน้าซึ่ง
เป็นการคาดอย่างมีเหตุผลบนพ้ืนฐานของทฤษฎี ความเชื่อต่างๆ ของผู้วิจัย นอกจากน้ันสมมติฐาน
ยังเป็นเคร่ืองมือช่วยช้ีแนวทางแก่ผู้วิจัยในการค้นหาหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบและ
ถูกต้องตรงประเด็น ลักษณะของสมมติฐานการวิจัยท่ีดี จะต้องเป็นข้อความท่ีระบุความสัมพันธ์
ระหวา่ งตวั แปร (Variable) หรือแนวคดิ (Concept) พร้อมทงั้ ระบุทิศทางของความสัมพันธ์ ซ่ึงผวู้ จิ ัย
ต้องการจะทาการทดสอบว่าเป็นจริงหรือไม่ และในการตั้งสมมติฐาน ถ้าผ้วู ิจยั สามารถระบุเงื่อนไข
ได้ว่าความสัมพันธน์ ้ันๆ จะเกิดข้ึนในกรณีใดบ้างก็จะย่ิงทาให้การทดสอบความจริงของสมมติฐาน
มคี วามสะดวกมากขึ้น
บทท่ี 3 วิธดี าเนินการวจิ ยั
ในบทน้ีกาหนดใหป้ ระกอบด้วย
- ข้ันตอนการวจิ ยั (ถ้าม)ี
- ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง
- เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
- การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
- การวเิ คราะห์ข้อมูล
- สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวจิ ัย
19
1. ข้ันตอนการวิจัย (ถ้าม)ี
ในส่วนน้ีควรเขียนแสดงให้เห็นขั้นตอนการดาเนินการวิจัยในแต่ละข้ันตอนโดย
ชดั เจน เชน่ ข้นั ตอนการศึกษาสภาพปัจจบุ ันปญั หา ขน้ั ตอนการสรา้ งรปู แบบ ข้นั ตอนการทดลองใช้
และประเมนิ เป็นต้น
2. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
2.1 ประชากร
หมายถึง สมาชิกทุกหน่วยของสิ่งท่ีสนใจศึกษา ซ่ึงไม่ได้หมายถึงคนเพียงอย่าง
เดียว ประชากรอาจจะเป็นสิ่งของ เวลา สถานที่ ฯ แต่การเก็บข้อมูลกับประชากรทุกหน่วยอาจทา
ให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายท่ีสูงมากและบางครั้งเป็นเรื่องที่ต้องตัดสินใจภายในเวลาจากัด การเลือก
ศึกษาเฉพาะบางส่วนของประชากรจงึ เป็นเร่ืองทีม่ คี วามจาเป็น เรยี กว่ากลุ่มตวั อยา่ ง
2.2 กลุ่มตัวอย่าง
หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรท่ีนามาศึกษาซงึ่ เปน็ ตัวแทนของประชากร การที่
กลุ่มตัวอย่างจะเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรเพ่ือการอ้างอิงไปยังประชากรอย่างน่าเช่ือถือได้นั้น
จะต้องมีการเลือกตัวอย่างและขนาดตัวอย่างท่ีเหมาะสม ซึ่งจะต้องอาศัยสถิติเข้ามาช่วยในการสุ่ม
ตวั อยา่ งและการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง
3. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั
เป็นการเขียนรายละเอยี ดเก่ยี วกบั เคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจยั วา่ มีอะไรบ้าง
พร้อมท้ังบอกลักษณะ และคุณภาพของเครอ่ื งมอื อาจแตกตา่ งกนั ไปตามกรณีดังต่อไปน้ี
กรณที ่ี 1 การนาเครือ่ งมอื ทีม่ ีผสู้ รา้ งไวม้ าใชใ้ นการวจิ ัย
1. ให้ระบวุ า่ เปน็ เคร่ืองมือของใคร สร้างเมอื่ ใด และมีค่าแสดงคณุ ภาพของเคร่ืองมอื ด้วย
2. ให้ระบุเหตุผล และความสมเหตุสมผลท่ีจะใช้เครื่องมือน้ันในการวิจัย เช่น เป็น
เคร่ืองมือท่ีใช้วัดคุณลักษณะเดียวกับท่ีผู้วิจัยจะวัด และกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยสอดคล้องกับกลุ่ม
ตัวอย่างที่เจ้าของเครื่องมือได้ทดลองใช้แล้ว ได้แก่ วัดระดับช้ันเดียวกันหรือวัดกับกลุ่มตัวอย่าง
ประเภทเดยี วกัน ฯลฯ
กรณีที่ 2 ผู้วิจยั สรา้ งเคร่ืองมือเองหรือพฒั นาและปรบั จากเคร่อื งมือของผ้อู ่ืน
1. อธิบายขัน้ ตอนในการสร้างเครื่องมอื ตามหลกั การและวิธกี ารสรา้ งอย่างชัดเจน
2. ระบรุ ายละเอยี ดการตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ
2.1 ผู้เช่ียวชาญในการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ ควรระบุช่ือ-สกุล ความ
เชย่ี วชาญด้านใด ตาแหนง่ ทางวิชาการ ตาแหน่งหน้าทก่ี ารงาน สถานที่ทางาน
20
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดลองเคร่ืองมือ ให้ระบุจานวน คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง
และสถานท่ที ดลองใชเ้ ครือ่ งมือ
2.2 ระบุโครงสร้างของเครื่องมือ เช่น ส่วนประกอบของเคร่ืองมือ โครงสร้าง
ของแบบทดสอบ จานวนข้อคาถามทเ่ี ขียนเพ่ือทดลองใช้ และจานวนข้อคาถามที่ตอ้ งการจริงของแต่
ละตอน
2.3แสดงตัวอย่างลักษณะของเครื่องมือท่ีใช้วัด อธิบายวิธีตรวจให้คะแนนและ
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
2.4 แสดงสตู รที่ใชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
จะกล่าวถึงวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีกาหนดไว้ เช่น วิธีการเก็บด้วยตนเองหรือให้
ผู้ช่วยผู้วิจัยช่วยเก็บข้อมูล ส่งทางไปรษณีย์ วิธีการตรวจสอบควบคุม วิธีการเก็บข้อมูลให้เป็น
มาตรฐานเดียวกัน และได้ข้อมูลครบถ้วนหรือมากท่ีสุด นอกจากนี้ควรบอกเหตุผลที่เลอื กใช้วิธีการ
เก็บรวมรวมขอ้ มูล และการตรวจสอบควบคุมคณุ ภาพข้อมูลด้วยวิธีนนั้ ๆ ดว้ ย
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
5.1 กรณีข้อมูลเชิงปริมาณ ให้ระบุวิธีการวิเคราะห์(โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป) โดย
เขยี นแสดงลาดบั ให้เหน็ ถงึ ขนั้ ตอนการวเิ คราะหข์ ้อมูลโดยละเอียด
5.2 กรณีข้อมูลเชิงคุณภาพ ให้ระบุวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา/เร่ืองราว โดยเฉพาะเก่ียวกับ
รปู แบบ (Pattern) ประเดน็ (Theme) และส่งิ ที่จะใช้เชอื่ มโยงเรอ่ื งรวมเข้าดว้ ยกนั
6. สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิจัย
การนาเสนอใหร้ ะบุสถิตทิ ่ใี ช้ในการวิจยั 2 สว่ นคอื
6.1 สถิติบรรยาย หรืออธิบายลักษณะต่างๆ ของกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรที่ศึกษา
เท่าน้ัน ได้แก่ การแจกแจงความถ่ี ค่าเฉล่ีย ( X ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ร้อยละ
(Percentage) สหสัมพันธ์ (Multiple correlation) เป็นต้น
6.2 สถิติอ้างอิง เป็นสถิติที่ใช้ในการประมาณค่าประชากรและทดสอบสมมติฐาน โดย
การศึกษากับกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่จะสรุปอ้างอิงไปยังประชากร เช่น การทดสอบที (t-test) การ
ทดสอบเอฟ (F-test) การทดสอบไคสแควร์ ( 2 -test) เปน็ ต้น
21
รายการอ้างองิ
เป็นส่วนสุดท้ายของเค้าโครงวทิ ยานพิ นธท์ ป่ี ระกอบด้วย
2.1 รายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์อื่น ๆโสตทัศนวัสดุและแหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
โดยให้พิมพ์เฉพาะท่ีมีการอ้างถึงในเนื้อหาของเค้าโครงวิทยานิพนธ์/วิทยานิพนธ์เท่านั้นโดยต้องมี
ไม่น้อยกว่า 20 เลม่ (รายการ)และท่ีเป็นภาษาองั กฤษไมต่ ่ากวา่ 5 เล่ม (รายการ)
2.2 ภาคผนวก เป็นตัวอย่างเครื่องมือท่ีแสดงให้เห็นการจาแนกเครื่องมือเป็นตอน
ยอ่ ย ๆ และตัวอย่างของคาสง่ั คาถาม คาตอบ (กรณปี ลายเปิด) ของแต่ละตอน
22
บทที่ 3
สว่ นประกอบของวทิ ยานิพนธ์และการค้นควา้ อสิ ระ
วทิ ยานพิ นธ์ ประกอบไปดว้ ย 3 สว่ น ดงั น้ี
1. ส่วนประกอบตอนต้น ประกอบดว้ ย
1.1 ปกนอก (Binding)
1.2 ใบรองปก (Fly leaf)
1.3 ปกใน (Title page)
1.4 หนา้ อนุมัติ (Approval sheet or acceptance page)
1.5 บทคดั ย่อภาษาไทย (Abstract in Thai)
1.6 บทคดั ย่อภาษาอังกฤษ (Abstract in English)
1.7 กติ ติกรรมประกาศ (Acknowledgement)
1.8 สารบญั (Table of contents)
1.9 สารบญั ตาราง (List of tables)
1.10 สารบญั ภาพ (List of illustrations)
2. ส่วนเนื้อหา (Text) ประกอบดว้ ย
2.1 สว่ นเน้ือหา
2.2 สว่ นประกอบในเนื้อหา
2.2.1 อัญประกาศ (Quotations)
2.2.2 การอา้ งองิ (Reference)
2.2.3 บันทกึ เพ่ิมเตมิ (Notes)
2.2.4 ภาพประกอบ (Illustrations)
2.2.5 ตาราง (Tables)
3. ส่วนประกอบตอนทา้ ย
3.1 หน้าบอกตอน (Half title page)
3.2 รายการอ้างอิง (References)
3.3 ภาคผนวก (Appendix)
3.4 อภธิ านศพั ท์ (Glossary) (ถ้ามี)
3.5 ประวตั ิย่อผ้วู ิจัย (Vita)
23
คาอธบิ ายเพิ่มเตมิ ส่วนประกอบตอนตน้
1. ปกนอก วิทยานิพนธ์ ใช้กระดาษปกแข็งหุ้มแล๊กซีนสีเขียวเข้ม การค้นคว้าอิสระใช้
สีน้าเงินเข้ม ส่วนปริญญาเอกใช้สีดา พิมพ์ข้อความต่าง ๆ ด้วยตัวพิมพ์สีทองหนา ใช้ตัวอักษร
เชน่ เดียวกับทใ่ี ช้ในเน้อื หา ขนาด 20 point แบง่ เป็น 3 สว่ น ดังน้ี
สว่ นที่ 1 ประกอบดว้ ย
1. ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ขนาด 3.0 x 4.0 เซนติเมตร โดยพิมพ์ห่างจากขอบ
บน 1.5 นวิ้
2. ช่ือวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ พิมพ์ห่างจากตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยลงมา
1 บรรทดั และพิมพ์ชอื่ วิทยานพิ นธ์ โดยจัดข้อความให้อยู่กลางหน้า ถ้าข้อความยาวเกนิ หนึง่ บรรทัด
ให้พิมพ์ต่อบรรทัดท่ี 2, 3 จนจบ โดยจัดข้อความเป็นรูปสามเหล่ียมหัวกลับ และการตัดคาต้อง
ถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ไทย
ส่วนท่ี 2 ระบุชื่อ นามสกุลของผู้วิจัย/ผู้ศึกษา โดยไม่ต้องระบุคานาหน้านามหรือยศ
ตาแหน่งและจัดให้อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ ยกเว้น พระภิกษุ และนักบวชในศาสนาอื่น เช่น พระ
มหาเสฎฐวุฒิ อินทะจักร หรือ ภราดรบัญชา แสงหิรัญ ระหว่างช่ือกับนามสกุลให้เว้นระยะ 2
ตัวอกั ษร
สว่ นท่ี 3 ประกอบด้วย
บรรทัดแรกข้อความว่า “วิทยานิพนธ์น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร...”
หรอื “การค้นควา้ อสิ ระนเี้ ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสตู ร......”
บรรทัดท่ี 2 ขอ้ ความวา่ “สาขาวชิ า.....” มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
บรรทัดที่ 3 ระบุ พ.ศ. ( ปี ทีส่ ่งวิทยานพิ นธ์ฉบบั สมบูรณ์)
2. สันปก ให้พิมพ์ช่ือวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ ชื่อผู้วิจัย/ผู้ศึกษา เรียงไปตามความ
ยาวของสันปก และบรรทัดล่างของชื่อผู้วิจัยให้ระบุสาขาและปีพ.ศ. ว่า “สาขาวิชา..... พ.ศ. .....”
โดยจัดระยะใหเ้ หมาะสม ขนาดอักษรปรบั ให้เหมาะสมกับความหนาของวทิ ยานิพนธแ์ ละความยาว
ของขอ้ ความแตข่ นาดไม่เกิน 20 point (ดูตัวอยา่ ง)
3. ปกหลัง วทิ ยานพิ นธ์ใชก้ ระดาษปกแข็งหุ้มแรกซีนสีเขียวเขม้ หรือสดี าเหมือนปกหน้า
ไม่มีข้อความใด ๆ และสนี า้ เงินเข้มสาหรบั การค้นควา้ อสิ ระ
4. ใบรองปก ใหม้ ใี บรองปกทง้ั ปกหนา้ และปกหลัง
5. ปกใน ประกอบด้วยปกในภาษาไทยและปกในภาษาอังกฤษ โดยมีข้อความต่าง ๆ
เหมอื นปกนอก โดยใช้ขนาดตัวอกั ษรดังน้ี
24
5.1 ชื่อวิทยานิพนธ์และชื่อผู้วิจัย ใช้ตัวอักษรขนาด 18 point ตัวหนา (ภาษาอังกฤษใช้
ตัวอักษรชนิดตัวพิมพใ์ หญ่ขนาด 16 point ตัวหนา)
5.2 ข้อความในส่วนที่ 3 ในส่วนภาษาไทย ใช้ตัวอักษรขนาด 18 point ตัวหนา
ภาษาอังกฤษ ใช้ตัวอักษรชนิดตัวพิมพ์เล็กขนาด 16 point และใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ในอักษรตัวแรกของ
แต่ละคา ยกเวน้ คาบุพบท และ คานาหนา้ นาม
5.3 ข้อความล่างสุดในส่วนที่ 3 ให้พิมพ์ข้อความว่า “ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภฏั
นครสวรรค์”
5.4 บรรทดั บนสดุ และล่างสดุ ของ หน้าปกใน ให้หา่ งจากขอบบนและขอบล่าง 1.5 นิ้ว
6. หนา้ อนุมัติ (บณั ฑิตวิทยาลัยเปน็ ผู้จัดพมิ พส์ ว่ นนีใ้ ห้แกน่ กั ศึกษา)
7. บทคัดย่อ จะต้องมีบทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ โดยพิมพ์คาว่า
“บทคัดย่อ” หรือ “Abstract” โดยใช้ตัวอักษรขนาด 18 point ตัวหนา วางไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ
หา่ งจากขอบบนลงมา 1.5 นวิ้ เวน้ 1 บรรทดั แลว้ จึงพิมพ์
7.1 ชือ่ วทิ ยานพิ นธ์/การคน้ ควา้ อสิ ระ
7.2 ช่ือผู้วิจัย/ผู้ศึกษา ระบุคานาหน้านามโดยใช้คาเต็ม เช่น นาย/ นาง/ นางสาว/ Mr./
Miss/ Mrs.
7.3 อาจารย์ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์
7.4 สาขาวิชา เชน่ การบรหิ ารการศกึ ษา หลักสูตรและการสอน
7.5 ปกี ารศึกษา หรือ Academic Year
ท้ังนี้ให้พิมพ์เรียงลงมาทีละบรรทัด จบแล้วให้ขีดเส้นแล้วจึงเป็นเน้ือหาของบทคัดย่อ
ความยาวของบทคัดย่อไม่ควรเกินหนึ่งหน้ากระดาษพิมพ์ หากจาเป็นต้องไม่เกินสองหน้า เนื้อหา
บทคัดย่อ ควรครอบคลุมวัตถุประสงค์ วิธีการรวบรวมและการจัดกระทากับข้อมูล ผลการค้นคว้า
หรือวจิ ยั โดยสังเขป
8. กติ ติกรรมประกาศ เป็นขอ้ ความขอบคณุ ผู้มีส่วนสนบั สนุนในการทาวิทยานิพนธ์หรือ
การค้นคว้าอิสระ ให้พิมพ์คาว่า “กิตติกรรมประกาศ” เป็นอักษรตัวหนาขนาด 18 point ไว้กึ่งกลาง
หน้ากระดาษ ห่างจากขอบบนลงมา 1.5 น้ิว เว้น 1 บรรทัด แล้วจึงเร่ิมพิมพ์ข้อความแสดงความ
ขอบคุณ และไม่ต้องพิมพ์ชื่อผู้วิจัย การเขียนกิตติกรรมประกาศ ควรใช้ข้อความสั้นกะทัดรัดและ
กระชับ ไม่เย่นิ เยอ้
9. สารบัญ คือ บัญชีบทและตอนต่าง ๆ ที่ปรากฏในวิทยานิพนธ์ เรียงตามลาดับเนื้อหา
หัวข้อที่ปรากฏในสารบัญจะต้องตรงกับหัวข้อที่ปรากฏในตอนต่าง ๆ ของส่วนเนื้อเรื่องทุกถ้อยคา
และเรยี งไปตามลาดับเน้ือหา
25
รูปแบบของสารบัญ คือ มีคาว่า “สารบัญ” เป็นอักษรตัวหนาขนาด 18 point อยู่กึ่งกลาง
หน้ากระดาษห่างจากขอบบนลงมา 1.5 นิ้ว ถัดลงไปใหเ้ ว้น 1 บรรทดั ด้านซ้ายมือสุดมีคาว่า “บทที่”
ขวามอื สดุ มีคาว่า “หน้า” เปน็ อกั ษรตัวหนาขนาด 16 point บรรทดั ลงไปเปน็ เลขของบทที่ โดยพิมพ์
เว้นระยะจากแนวค่ันหน้า 3 ตัวอักษร หรือกะระยะให้อยู่หลังคาว่าบทที่ (ตรงกับหางตัว “ท”) ไม่
ต้องมีมหัพภาค แล้วเว้น 2 ตัวอักษร จึงพิมพ์หัวข้อของบทนั้น โดยไม่ต้องใช้เคร่ืองหมายยัติภังค์ (-)
หรือหมายเลขกากับหัวข้อ จบข้อความแล้วพิมพ์จุดไข่ปลาละไปจนเกือบถึงคาว่า “หน้า” กะระยะ
ให้ห่างจากคาว่าหน้าประมาณ 4 ตัวอักษร แล้วพิมพ์เลขหน้า ถ้าเป็นเลขหลักเดียว ตัวเลขต้องตรง
กับสระอาของคาว่า “หนา้ ” ถา้ เปน็ เลขมากกวา่ 1 หลกั ตัวเลขสุดทา้ ยตอ้ งตรงกับสระอาของคาว่า “หน้า”
ถ้าช่ือหัวข้อสาคัญยาวมากไม่สามารถพิมพ์ได้หมดในหนึ่งบรรทัดให้พิมพ์ต่อในบรรทัด
ต่อไป โดยพิมพต์ รงกบั บรรทัดแรกและเลขหน้าตอ้ งอยบู่ รรทัดสุดทา้ ยของข้อความ
ถ้าสารบัญยาวมากไม่สามารถพิมพ์ได้หมดในหน่ึงหน้า ให้ต่อในหน้าถัดไปโดยต้อง
พิมพ์คาว่า สารบัญ (ต่อ) ไว้กลางหน้ากระดาษ และพิมพ์ “บทท่ี” และ “หน้า” รวมท้ังพิมพ์หัวข้อ
ต่าง ๆ เช่นเดียวกับในหน้าแรก หากหัวข้อย่อยของบทท้ายในหน้าแรกน้ันยังไม่จบ เม่ือพิมพ์หน้า
ตอ่ ไปให้ระบุเลขบทและคาว่า “ตอ่ ” ในวงเลบ็ ด้วย เชน่ 4 (ตอ่ )
ส่วนประกอบตอนต้น ให้กากับด้วยตัวเลข อยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ (_) เรียงตามลาดับ
โดยเริ่มหน้า “(1)” ท่ีหน้าบทคัดย่อภาษาไทย แล้วเรียงลาดับตัวเลขไปเรื่อย จนจบหน้าสุดท้ายของ
ส่วนนี้ ทง้ั นี้ให้พิมพ์ทกุ หนา้
10. สารบัญตาราง เป็นบัญชีตารางทั้งหมดท่ีมีอยู่ในเนื้อหา (ตารางในภาคผนวกไม่ต้อง
นามาพิมพ์) หมายเลขตารางต้องเรียงตามบทท่ตี ่อเนื่องกันตลอดทงั้ เลม่ ในวิทยานพิ นธ์
การพิมพ์หน้าสารบัญตาราง คล้ายกับการพิมพ์สารบัญ คือ มีคาว่า “สารบัญตาราง” อยู่
ก่ึงกลางหน้ากระดาษห่างจากขอบบนลงมา 1.5 นิ้ว ใช้ตัวอักษรขนาด 18 point ตัวหนา ถัดลงไปให้
เว้น 1 บรรทดั ด้านซ้ายมือสุดมีคาวา่ “ตารางท่ี” ขวามือสุดมคี าว่า “หน้า” ใชต้ วั อักษรขนาด 16 point
ตัวหนา บรรทัดถัดลงไปเป็นเลขท่ีของตาราง ซ่ึงประกอบด้วยตัวเลข 2 ตัว มีเครื่องหมายมหัพภาค
(.) คั่นกลางตัวเลขตัวแรกเป็นตัวเลขของ “บทที่” ตัวเลขตัวท่ี 2 เป็นลาดับที่ของตาราง เช่น 4.1
หมายถึงตารางที่ของบทที่ 4 ลาดับตารางท่ี 1 โดยพิมพ์กะระยะให้ตัวเลขตัวสุดท้ายของ “ตารางท่ี”
อยู่ตรงกับหางตัว “ท” ไม่ต้องมีมหัพภาค แล้วเว้น 2 ตัวอักษร จึงพิมพ์ชื่อตาราง แล้วพิมพ์จุด
ไข่ปลาละไปจนเกือบถึงคาว่าหน้า กะระยะห่างจากคาว่าหน้าประมาณ 3 ตวั อักษร กรณที ่ีมชี ือ่ ตาราง
ยาวกว่า 1 บรรทดั ขอ้ ความในบรรทัดต่อไปใหพ้ ิมพ์ตรงกบั บรรทัดแรก เลขหนา้ ต้องอยู่ปดิ บรรทัด
สุดท้ายของข้อความ หากเลขที่ของตารางมากกว่า 1 หลัก ให้พิมพ์เลขหลักหน่วยให้ตรงกัน โดย
กะระยะใหอ้ ย่ตู รงกบั “สระอา” ของคาวา่ “หน้า”
26
11. สารบัญภาพ การพิมพ์หน้าสารบัญภาพ คล้ายกับการพิมพ์สารบัญตาราง คือ มีคาว่า
“สารบัญภาพ” อยู่ก่ึงกลางหน้ากระดาษ ห่างจากขอบบนลงมา 1.5 น้ิว เป็นตัวอักษรตัวหนาขนาด
18 point ถดั ลงไปเวน้ 1 บรรทดั ด้านซ้ายมอื สดุ มีคาว่า “ภาพท่ี” ขวามือสุดมีคาว่า “หนา้ ” บรรทัดถัด
ลงไปเป็นเลขที่ของภาพ ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการลงเลขท่ีของตาราง โดยกะระยะให้ตัวเลขตัว
สุดท้ายของ “ภาพท่ี” อยู่ตรงกับหางตัว “ท” ของคาว่า “ภาพท่ี” ไม่ต้องมีมหัพภาคแล้วพิมพช์ ่ือภาพ
จบข้อความแล้วพิมพ์จุดไข่ปลาละไปจนเกือบถึงคาว่าหน้า กะระยะให้ห่างจากคาว่าหน้าประมาณ
3 ตัวอักษร แล้วให้พิมพ์เลขหน้า โดยกะระยะให้ตัวเลขตรงกับ “สระอา” ของคาว่า “หน้า” หาก
ตัวเลขมากกว่าหนึ่งหลัก ตัวเลขตัวสุดทา้ ยต้องตรงกบั “สระอา” ของคาวา่ “หน้า”
ภาพ คือ ภาพหรือรูปที่ผู้วิจัยนามาเสนอเพ่ือประกอบเน้ือเรื่องในวิทยานิพนธ์ในที่นี้
หมายรวมถึงภาพทุกชนิด กราฟ แผนภูมิ แผนผัง อาจจะเป็นภาพหรือรูปที่ผู้เขียนวทิ ยานิพนธ์จัดทา
ขึ้นเองหรือนามาจากแหล่งอ่ืน การจัดทาหรือการเลือกใช้ภาพประกอบให้คานึงถึงความถูกต้อง
ความเหมาะสม ความชัดเจน ความสะอาดเรียบร้อย ความสวยงามและการส่ือความหมาย ถ้าเป็น
ภาพประกอบที่นามาจากท่ีอ่ืนให้ระบุแหล่งท่ีมาด้วย ภาพประกอบจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท่ีนามา
อ้างองิ อาจใช้ภาพถา่ ยสาเนา โดยใช้เครื่องถ่ายสาเนา ใชก้ ลอ้ งถ่ายรูปหรือจากกฤตภาค (Clipping) ก็
ได้ ถ้าเป็นภาพวาด แผนภูมิ แผนภาพ แผนที่ และกราฟอาจใช้ปากกาสีอย่างดีเขียนภาพในกระดาษ
ทีใ่ ชพ้ ิมพ์วทิ ยานิพนธ์ หรือเขียนภาพแลว้ ถ่ายสาเนาก็ได้ รายละเอยี ดในเรื่องน้ใี ห้อยู่ในดลุ พินิจของ
อาจารย์ท่ปี รกึ ษาวิทยานพิ นธ์ และภาพทุกภาพที่ปรากฏในวิทยานพิ นธ์จะต้องมีการกลา่ วถึงในส่วน
ของเนื้อความและมีชื่อภาพ โดยพิมพ์ไว้ใต้ภาพด้วยข้อความที่กะทัดรัดและส่ือความหมายอย่าง
ชัดเจน
สารบัญแผนที่ เขยี นรปู แบบเช่นเดียวกับสารบญั ตารางและสารบัญภาพ
คาอธิบายเพ่มิ เตมิ สว่ นเน้อื หา
เนื้อหาของวทิ ยานิพนธ์และการคน้ คว้าอิสระ แบง่ ออกเปน็ บทดงั นี้
บทที่ 1 บทนา ประกอบดว้ ยหัวข้อต่าง ๆ ดงั นี้
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา
ระบุให้เห็นถึงปัญหาท่ีทาให้ผู้วิจัยสนใจศึกษาเรื่องน้ัน พร้อมทั้งเหตุผล ความเหมาะสม
หรือความจาเป็นที่ต้องทาวิจัย ควรมีการอ้างอิงแนวคิดหรือข้อมูลหลักการท่ีสาคัญมาสนับสนุน
เพ่อื ใหเ้ หตุผลในการเลือกปัญหาน้ันมีน้าหนกั และเห็นความจาเป็นมากขึ้น รวมทง้ั โจทยว์ ิจยั ที่จะหา
คาตอบและแนวทางการศกึ ษาที่จะดาเนินการ เพ่อื ใหเ้ หน็ ถึงความสาคัญหรือความจาเป็นของเร่ืองที่
จะศกึ ษา
27
2. คาถามการวจิ ัย (ถา้ ม)ี
คาถามของการวิจัยท่ีเหมาะสมควรสัมพันธ์ กับเร่ืองท่ีจะศึกษา โดยควรมีคาถามท่ีสาคัญ
ที่สุด ซ่ึงผู้วิจัยต้องการคาตอบ มากที่สุดเพียงคาถามเดียว เรียกว่า คาถามหลัก (Primary research
question) และผ้วู ิจยั อาจกาหนดใหม้ ี คาถามรอง (Secondary research question) อกี จานวนหนึ่งก็ได้
ซ่ึงคาถามรองน้ี เป็นคาถามที่เราต้องการคาตอบ เช่นเดียวกัน แต่มีความสาคัญรองลงมา โดยท่ัวไป
คาถามการวิจัยมกั เขียนในรูปประโยคคาถามทม่ี ีความเฉพาะเจาะจงถงึ ส่ิงท่ีมุ่งศกึ ษา
3. วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
ระบุให้เห็นถึงส่ิงที่ต้องหาคาตอบอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมสอดคล้องกับปัญหาที่จะทา
วิจยั โดยท่ัวไปมกั เขยี นในรปู ประโยคบอกเลา่
4. ขอบเขตของการวิจยั
ระบุขอบเขตของเน้ือหาหรือประเด็นต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัยครั้งนี้ กาหนดรูปแบบ
และวิธีการท่ีใช้เป็นแนวทางในการศึกษาตัวแปร รวมทั้งขอบเขตของการกาหนดกลุ่มประชากร
กล่มุ ตัวอย่าง กลุ่มเปา้ หมายและแหล่งข้อมูลทเี่ กย่ี วข้อง
5. ขอ้ ตกลงเบ้อื งตน้ (ถา้ มี)
ระบุข้อตกลงเฉพาะที่มีความจาเป็นต้องสร้างความเข้าใจกับผู้อ่านที่อาจเกิดข้อสงสัยใน
งานวิจัยคร้ังนี้ ไม่รวมการอธิบายความหมายของคาต่าง ๆ และไม่ใช่เป็นส่วนท่เี ขียนถงึ ขอ้ บกพร่อง
ของการวิจยั ในครัง้ น้ี
6. ข้อจากดั ของการวิจัย (ถา้ ม)ี
ระบถุ ึงขอ้ จากดั ของการดาเนินงานวจิ ัยในครง้ั น้ี ทเี่ กิดจากปัจจัยหรอื สภาวการณ์บางอย่าง
ทไ่ี ม่สามารถทาให้การวจิ ัยสมบูรณ์ได้
7. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
เป็นการอธิบายความหมายคาศัพท์ที่ใช้ในการวิจัยน้ี ไม่ใช่อธิบายความหมายศัพท์ตาม
พจนานุกรม โดยใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย โดยเฉพาะศัพท์ท่ีเป็นภาษาท้องถ่ิน ซ่ึงจาเป็นต้องใช้
คาทับศพั ท์ และตอ้ งอธิบายหรอื นิยามความหมายใหเ้ กดิ ความเข้าใจตรงกัน
8. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ
ระบุว่าการวิจัยครั้งน้ีได้ข้อค้นพบใดบ้าง ท้ังในแง่ของความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึนและการนา
ผลการวิจยั ไปใช้ในมุมใดบา้ ง โดยระบุรวมถงึ ผเู้ กย่ี วขอ้ งและวธิ ีการทส่ี ามารถนาไปใช้ อาจเขยี นใน
รปู ของการบรรยายหรือเปน็ ข้อกไ็ ด้
28
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง
กล่าวถึงทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เก่ียวข้องท่ีมีความจาเป็นและความสาคัญในการ
วิจยั โดยอาจนาเสนอสาระเปน็ สว่ น ๆ ดงั นี้
สว่ นท่ี 1 ทฤษฎี แนวคิด หรือหลกั การที่เก่ยี วกบั การวิจยั
สว่ นที่ 2 งานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง แบ่งเป็นงานวิจัยในประเทศและงานวิจยั ตา่ งประเทศ
สว่ นที่ 3 กรอบแนวคิดของการวจิ ัย (ถ้าม)ี
ให้นาประเด็นเน้ือหาสาระหรือตัวแปรของการศกึ ษาครั้งน้ีมาจัดทาผังความคิด เพื่อแสดง
ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันของตัวแปรต่าง ๆ โดยมีความคิดพ้ืนฐานทางทฤษฎีที่นามา
สนบั สนุนเปน็ แนวทางในการจัดผังความคดิ นี้
ส่วนท่ี 4 สมมตฐิ านของการวจิ ัย (ถ้ามี)
ระบุถึงการคาดคะเนคาตอบหรือผลของการวิจัยในครั้งน้ีว่าน่าจะเป็นอย่างไร การเขียน
จะต้องมีข้อมูลจากทฤษฎี ข้อเท็จจริง หลักการต่าง ๆ มาสนับสนุน และสมมติฐานท่ีเขียนข้ึนต้อง
สามารถตรวจสอบได้
บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินการวิจยั
ประกอบด้วยหัวขอ้ ตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. ขัน้ ตอนการวจิ ยั (ถา้ มี)
ในส่วนน้ีต้องแสดงให้เห็นขั้นตอนการดาเนินการวิจัยในแต่ละขั้นตอนโดยชัดเจน เช่น
ข้ันตอนการศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหา ขั้นตอนการสร้างรูปแบบ ขั้นตอนการทดลองใช้และ
ประเมนิ เป็นตน้
2. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ระบุลักษณะของประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างว่ามสี ถานภาพหรอื คณุ ลักษณะอยา่ งไร อยู่ใน
พื้นท่ีไหน จานวนเท่าไร บางกรณีอาจระบุเหตุผลในการเลือกประชากรและกลุ่มตัวอย่างและมี
ขัน้ ตอนในการสุ่มตวั อยา่ งอยา่ งไร ใหร้ ะบขุ นั้ ตอนโดยละเอียด
3. เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั
ระบุลักษณะของเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมท้ังตัวอย่าง ข้ันตอนใน
การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ พร้อมกับแสดงสูตรที่ใช้ในการตรวจสอบ
คณุ ภาพเครื่องมือ
4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
ให้ระบุรายละเอียดของการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างชดั เจน
5. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
29
ต้องระบุขั้นตอนของการจัดทากับข้อมูลภายหลังที่เก็บรวบรวมข้อมูลมาแล้ว โดยอาจ
เขยี นเปน็ ขอ้ ๆ เพ่ือใหเ้ หน็ ข้นั ตอนของการวเิ คราะห์
6. สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวิจัย
ระบุชื่อสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ตัวแปรแต่ละตัวหรือแต่ละเน้ือหา กรณีท่ีวิเคราะห์โดย
ใช้คอมพวิ เตอร์โปรแกรมสาเร็จรูป ไม่ต้องระบรุ ายละเอยี ดของสตู รทางสถติ ิไว้
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
ระบุรายละเอียดของการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยอาจแบ่งออกเป็นตอนตาม
วัตถุประสงค์ หรือตามตัวแปรท่ีศึกษา การนาเสนอสามารถเขียนในรูปการบรรยาย ตาราง รูปภาพ
แผนภูมิ หรืออ่ืน ที่มีความชัดเจน ซึ่งการนาเสนอในรูปตาราง รูปภาพ แผนภูมิ ต้องมีการแปล
ความหมายของส่ิงที่นาเสนอด้วย การแปลความควรอยู่ในหน้าเดียวกับตาราง รูปภาพหรือแผนภูมิ
และในบทน้จี ะไมแ่ สดงความคดิ เห็นของผวู้ ิจยั ลงไป
ในกรณีท่ีเป็นวิทยานิพนธ์ในสาขาวิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีการทดลอง หัวข้อบทนี้อาจ
เปล่ยี นเปน็ “ผลการวิจยั ” ได้
บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
ในบทนป้ี ระกอบไปดว้ ยหวั ขอ้ ต่าง ๆ ดังน้ี
1. สรปุ วิธดี าเนินการหรอื กระบวนการทใี่ ชใ้ นการวิจัย
ส่วนน้ีเขียนให้ครอบคลุม วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานของการวิจัย (ถ้ามี)
ข้ันตอนการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การ
วิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยการเขยี นสรปุ แยกเปน็ หัวขอ้
2. สรปุ ผลการวิจัย
ให้สรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั และจะต้องสอดคลอ้ งกับผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
ที่ปรากฏในบทที่ 4 โดยสรุปสาระหรือประเด็นที่เป็นข้อค้นพบสาคัญ การเขียนอาจระบุสถิติที่
จาเป็นประกอบด้วยก็ได้
3. อภิปรายผล
ชี้ใหเ้ หน็ วา่ ข้อค้นพบทสี่ าคัญจากการวจิ ยั คร้ังน้สี อดคลอ้ งหรอื เป็นไปตามสมมตฐิ านมาก
น้อยเพียงใด หรือผลการวิจัยน้ันมีความน่าเช่ือถือมากน้อยเพียงใด ซ่ึงควรมีการอ้างอิงข้อมูลต่าง ๆ
เพ่ืออธิบายให้เห็นถึงความเป็นเหตุและผลของข้อค้นพบนั้น การนาข้อค้นพบมาอภิปรายผลไม่
จาเป็นต้องนาขอ้ คน้ พบมาทั้งหมด ใหพ้ จิ ารณาตามสมมตฐิ านหรือวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
30
4. ข้อเสนอแนะ
เขียนเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้อ่านทราบว่า ผลการวิจัยท่ีได้น้ันจะนาไปใช้ประโยชน์
อะไรได้บ้าง มีเงื่อนไขและข้อจากัดอย่างไร มีวิธีการใช้อย่างไรที่จะทาให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
นอกจากนี้ควรเสนอแนะให้รายละเอียดเพียงพอที่สามารถนาไปใช้ได้จริง รวมทั้งเสนอให้ผู้อ่าน
เห็นว่า ถ้าสนใจท่ีจะศึกษาเรื่องราวหรือประเด็นท่ีได้ทาวิจัยคร้ังน้ีแล้วควรท่ีจะมีการศึกษาเรื่องใด
หรือศึกษาในแง่มุมใดต่อไป เพื่อให้เกิดข้อค้นพบต่อยอดไปอีก การเสนอแนะให้เสนอแนะวิธีการ
อยา่ งชัดเจน รวมทงั้ ข้อควรระวังตา่ ง ๆ
คาอธิบายเพม่ิ เติมส่วนประกอบตอนท้าย
รายการอ้างองิ
ก่อนถึงหน้ารายการอ้างอิงให้มีหน้าบอกตอนโดยพิมพ์คาว่า “รายการอ้างอิง” กลาง
หน้ากระดาษด้วยอักษรตัวหนาขนาด 18 point ส่วนรายการอ้างอิงให้ระบุรายชื่อเอกสารและ
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้อ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อหาทุกรายการ พร้อมทั้งเขียนรายการอ้างอิง ตาม
รูปแบบทมี่ หาวทิ ยาลัยกาหนด หน้าแรกของรายการอ้างอิงไม่ตอ้ งใสเ่ ลขหน้าแต่นับรวมด้วย หากไม่
จบในหน้าเดียว ในหน้าถัดไปให้พิมพ์คาว่า “รายการอ้างอิง (ต่อ)” กึ่งกลางหน้ากระดาษ ข้อมูลที่
นามาอ้างอิงหรือใช้ประกอบค้นคว้า ควรเป็นข้อมูลท่ีมีปีพิมพ์ใหม่ๆ ไม่ควรเป็นข้อมูลที่เก่า
จนเกินไป
ภาคผนวก
ภาคผนวกเป็นส่วนท่ีให้รายละเอียดเพิ่มเติมท่ีไม่ควรรวมไว้ในเนื้อหาของวิทยานิพนธ์
เชน่ วธิ ีคานวณ ตารางบนั ทึกอุณหภูมิ แบบสอบถามทีใ่ ช้ในการเกบ็ ขอ้ มูล เป็นต้น
ภาคผนวกจะมีหรือไม่ข้ึนอยู่กับความจาเป็นและความเหมาะสม หากมีให้เร่ิมภาคผนวก
ในหน้าถัดจากรายการอ้างอิง โดยมีหน้าบอกตอนภาคผนวกก่อน (พิมพ์เช่นเดียวกับหน้าบอกตอน
รายการอ้างอิง) รายละเอียดของภาคผนวกให้แสดงในหน้าถัดไป หากมีความจาเป็นต้องแบ่ง
ภาคผนวกออกเป็นภาคผนวกย่อย ให้แบ่งเป็นภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ โดยพิมพ์ภาคผนวก
ย่อยไว้ก่ึงกลางหน้า ใช้ตัวอักษรขนาด 18 point ตัวหนา บรรทัดต่อมาให้พิมพ์ชื่อภาคผนวกย่อย
น้ัน ๆ โดยใช้อักษรขนาด 16 point ตัวธรรมดา การเร่ิมภาคผนวกย่อยทุกคร้ังให้ขึ้นหน้าใหม่ หน้า
แรกของภาคผนวกย่อยไม่ต้องลงเลขหนา้ แต่นบั หนา้ รวมดว้ ย
31
ประวตั ิย่อผู้วิจยั /ผศู้ ึกษา
ก่อนถึงประวัติย่อผู้วิจัย/ผู้ศึกษา ให้มีหน้าบอกตอน ประวัติย่อฯ ก่อน โดยพิมพ์เช่นเดียว
กับหน้าบอกตอนรายการอ้างอิง (ใช้ตวั อกั ษรขนาด 18 point ตวั หนา)
ประวตั ยิ ่อผวู้ จิ ยั หรอื ผ้ศู กึ ษา ควรประกอบดว้ ยข้อมลู ดังต่อไปน้ี
1. ชื่อ นามสกุล พร้อมคานาหน้านาม ไดแ้ ก่ นาย นาง นางสาว ถ้ามยี ศ ฐานนั ดรศักด์ิ ราช
ทนิ นาม สมณศกั ดิ์ ก็ให้ใสไ่ ว้ด้วย
2. วัน เดือน ปีเกิด
3. ทอ่ี ยู่ปจั จบุ นั
4. วุฒิการศกึ ษาตั้งแต่ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายจนถงึ ระดบั การศึกษาข้ันสูงสดุ ที่ได้รับ
ทงั้ นใี้ ห้นับรวมวุฒปิ ริญญาโท หรือปริญญาเอกซึง่ กาลังศึกษาอยดู่ ้วย
5. ประสบการณ์การทางาน เช่น บอกช่ือหน่วยงานท่ีเคยสังกัด หรือทาอยู่ในปัจจุบันและ
ตาแหน่งต่าง ๆ ท่ีสาคัญๆ ท่ีเคยได้รับ ตลอดจนประสบการณ์ทางวิชาการ เช่น ระบุผลงานทางด้าน
วชิ าการตา่ ง ๆ หรือการเป็นสมาชิกสมาคมทางวิชาการ (Professional organizations) ทั้งในอดีตและ
ปัจจุบนั (ถ้าม)ี
1.5 นว้ิ 32
ประวตั ยิ อ่ ผูว้ ิจยั / ผศู้ ึกษา 18 pt. (หนา)
เวน้ 1 บรรทัด
ชอ่ื -สกุล นาย/นาง/นางสาว. .
.
วนั เดอื น ปี เกดิ .
.
ท่อี ยู่ปัจจบุ ัน .
.
เลขท.่ี .ถนน. .ตาบล. . .
อาเภอ. .จังหวัด. .
16 pt. (ธรรมดา)
ประวตั ิการศึกษา (ระบุการศึกษาตัง้ แต่ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย พรอ้ มสถาบนั ท่สี าเรจ็ การศึกษา)
พ.ศ. XXXX .
พ.ศ. XXXX .
พ.ศ. XXXX .
พ.ศ. XXXX .
ประสบการณ์การทางาน ตาแหนง่ . .สถานทท่ี างาน. .
พ.ศ. XXXX อาเภอ. .จงั หวดั . .
ตาแหน่ง. .สถานทท่ี างาน. ..
พ.ศ. XXXX อาเภอ. .จังหวดั . .
ตาแหนง่ . .สถานทท่ี างาน. .
พ.ศ. XXXX – ปจั จุบัน .
อาเภอ. .จังหวดั .
33
บทที่ 4
การพิมพ์วิทยานิพนธแ์ ละการค้นควา้ อิสระ
ข้อแนะนาท่วั ไปในการพมิ พ์
1. พิมพ์วิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยใช้กระดาษขนาด A4 หรือขนาด 8.25 x
11.50 น้ิว ชนิดไม่ต่ากว่า 70 กรัม ในกรณีที่มีภาพถ่ายต้องใช้กระดาษท่ีสามารถอัดสาเนาภาพได้
ชัดเจน
2. การพิมพ์และการอัดสาเนาให้ใช้สีดา โดยใช้ตัวอักษร Th Saraban PSK ขนาดและ
ลักษณะของตัวพิมพ์ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของเคร่ืองพิมพ์ท่ัว ๆ ไป โดยใช้อักษรตัวหนาขนาด
16 point ท่เี ปน็ หวั ข้อใหญ่ หัวข้อรอง สว่ นบทท่ี และชื่อบทใชอ้ กั ษรตัวหนาขนาด 18 point
3. กรอบของข้อความในแตล่ ะหน้าใหม้ ีขอบเขตดังนี้
3.1 เว้นระยะจากขอบบนของกระดาษลงถึงขอ้ ความบรรทดั แรก 1.50 นว้ิ
3.2 เว้นระยะจากขอบลา่ งของกระดาษถึงข้อความบรรทัดลา่ งสุด 1 นว้ิ
3.3 เว้นระยะจากขอบซ้ายของกระดาษถงึ อักษรตัวแรกของบรรทัด ซ่ึงเรียกว่าแนวคนั่
หน้า 1.50 นิว้
3.4 เวน้ ระยะจากขอบขวามือของกระดาษถงึ อักษรตวั สดุ ท้ายของแตล่ ะบรรทดั 1 นิ้ว
4. เลขกากบั หนา้ ให้พมิ พ์ไวท้ ี่ขวามือตอนบน หา่ งจากขอบบนของกระดาษ 0.75 น้วิ และ
ห่างจากขอบขวากระดาษ 1 น้ิว
5. เลขหน้าให้เร่มิ นบั 1 ตงั้ แต่หน้าแรกของบทที่ 1 เป็นตน้ ไป จนถงึ การอา้ งอิง ภาคผนวก
ดรรชนี อภธิ านศพั ท์ ประวัติยอ่ ผวู้ ิจยั
6. หน้าท่ีต้องพิมพ์ข้อความตามความยาวของกระดาษ ให้ลงเลขหน้าในตาแหน่งเดิมท่ี
ตรงกับหนา้ อืน่ ๆ
7. หลงั เลขหนา้ ไมต่ ้องมีเครอ่ื งหมายใด ๆ
8. พิมพ์หนา้ เดียว
9. การพิมพ์วทิ ยานิพนธต์ ้องไมม่ รี อย ลบ ขดู ขีด ฆ่า
10. การยอ่ หน้าให้เวน้ ระยะดงั นี้
ยอ่ หน้าแรกเว้นระยะ 7 ตวั อกั ษร เร่มิ พมิ พ์ตัวอกั ษรที่ 8 ถ้าพมิ พด์ ้วยคอมพิวเตอร์ ต้งั แท็บ
ท่ี 0.6 น้ิว ย่อหน้าที่ 2 ท่ี 3 หรือย่อหน้าต่อ ๆ ไป ให้เว้นระยะจากย่อหน้าแรกและยอ่ หน้าต่อ ๆ ไป 3
ตวั อักษร ถา้ พิมพด์ ้วยคอมพวิ เตอร์ ย่อหนา้ ท่ี 2 และท่ี 3 หรือยอ่ หน้าตอ่ ๆ ไป ต้งั แทบ็ อกี คร้ังละ 0.25
นิ้ว ฉะน้นั ย่อหนา้ ที่ 2, 3 และ 4 จะเปน็ 0.85 นิ้ว, 1.1 นว้ิ , 1.35 น้วิ ตามลาดับ
34
11. การพิมพ์เนื้อหาแต่ละบทจะต้องมีเลขบอกบทและช่ือบท โดยให้พิมพ์บทที่และเลข
บอกบท ที่บรรทัดแรกกึ่งกลางหน้าห่างจากขอบบน 1.5 น้ิว แล้วเว้น 1 บรรทัด พิมพ์ชื่อบทท่ี
ก่ึงกลางหนา้ กระดาษ เชน่ กัน โดยใชอ้ กั ษรตวั หนา ขนาด 18 point
12. ขอ้ ความทีเ่ รม่ิ เนื้อหาให้พิมพ์ห่างจากชอ่ื บทลงไปโดยเว้น 1 บรรทัด
13. หัวข้อหลัก ให้พิมพ์ชิดแนวคั่นหน้าด้านซา้ ยมือ แลว้ พมิ พ์ข้อความเน้ือหา โดยไม่ต้อง
เวน้ บรรทดั เช่นเดยี วกันกบั หัวข้อรองลงไปและขอ้ ความภายใต้หัวขอ้ รองใหพ้ มิ พ์บรรทดั ต่อไปจาก
หวั ข้อนนั้ โดยไมต่ ้องเว้นบรรทัด
14. ไม่พิมพข์ อ้ ความ (เนอ้ื หา) ใด ๆ ตอ่ จากหัวขอ้ หลักและหัวข้อรอง
15. หัวข้อรองให้พิมพ์ทยี่ ่อหน้าที่ 1 หัวข้อย่อยให้พิมพ์ท่ียอ่ หน้าท่ี 2 และหัวข้อย่อย ๆ ลง
ไปอกี ใหพ้ ิมพ์ในยอ่ หน้าที่ 3, 4..... ลงไปตามลาดบั (ดูตัวอย่างหนา้ 35-36)
ตัวอย่างการพิมพห์ ัวข้อหลกั โดยไม่มหี วั ขอ้ รอง 35
ช่อื หัวขอ้ หลัก 16 pt. (หนา) .
.
0.6 นิ้ว (เร่ิมพิมพ์ขอ้ ความ) .
.
. .
.
.
.
. .
. .
.
ตวั อยา่ งการพิมพ์หัวขอ้ หลกั และมหี วั ข้อรองทเ่ี ปน็ ขอ้ ความท่ีไม่มีเลขข้อ .
.
ชื่อหัวขอ้ หลัก 16 pt. (หนา)
.
0.6 น้วิ (เรม่ิ พิมพ์ขอ้ ความ) .
.
. .
. .
.
. 16 pt. (หนา) .
. .
ชื่อหวั ขอ้ รอง
.
. 16 pt. (หนา)
ชอ่ื หวั ข้อรอง
.
.
ตัวอย่างการพมิ พห์ วั ข้อหลกั ทหี่ วั ข้อรองมเี ลขขอ้ 36
ชือ่ หวั ขอ้ หลกั 16 pt. (หนา) .
.
0.6 นวิ้ (เริม่ พิมพ์ขอ้ ความ) .
. .
.
. .
.
1. ชื่อหัวขอ้ รอง 16 pt. (หนา) และ ไม่ให้ พิมพ์ข้อความต่อชื่อหัวขอ้ รอง .
.
(ยอ่ ให้ตรงกับตัวอักษรแรกของขอ้ ) .
.
. .
0.85 นิ้ว 1.1 ขอ้ ยอ่ ยของข้อ 1. (พิมพ์ข้อความต่อได)้ .
.
. 1.1.1 .
.
1.1 น้วิ .
. 1.1.1.1 .
.
1.35 น้วิ .
.
. .
.
1.2 .
.
1.2.1
. 2.6 นว้ิ
1.2.1.1
.
0.6 น้ิว 2. ชือ่ หัวขอ้ รอง
0.85 นวิ้ (ยอ่ ใหต้ รงกบั อักษรตวั แรกของขอ้ )
.
.
0.85 น้วิ 2.1
.
2.2
.
37
16. หัวข้อภาษาไทยที่จาเป็นต้องมีภาษาอังกฤษกากับ อักษรตัวแรกของคาใน
ภาษาอังกฤษให้ใช้อักษรตัวพมิ พ์ใหญท่ กุ คา
17. ข้อความภาษาไทยที่จาเป็นต้องมีภาษาอังกฤษกากับ คาภาษาอังกฤษนั้นให้พิมพ์
ข้ึนต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่เฉพาะคาแรก ส่วนคาถัดๆ ไปให้ใช้ตัวพิมพ์เล็กโดยตลอด ยกเว้นชื่อเฉพาะ
ชื่อเรื่องรอง (อยู่หลังเครื่องหมายทวิภาค ( : ) ),ช่ือบุคคล, ชื่อหน่วยงาน, ช่ือย่อ, ช่ือภูมิศาสตร์ และ
ให้ใชภ้ าษาองั กฤษกากบั เฉพาะคร้งั แรกเท่านนั้
18. ช่อื วิทยาศาสตรใ์ หเ้ ป็นไปตาม Binomial system คือประกอบดว้ ย 2 คา คาแรกเป็นชื่อ
Genus ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ คาหลังเป็น Specific epithet เขียนห่างจากคาแรก 2 ตัวอักษรและ
ขึน้ ต้นดว้ ยอกั ษรตวั เลก็ ท้งั หมดนใ้ี ห้พิมพ์ดว้ ยตัวเอน เช่น Bacillus sublilis, Oryzasatival
19. ข้อความเนื้อหาที่เป็นสมการ สูตร หรือตารางต่าง ๆ ให้แยกมาพิมพ์ไว้กลาง
หน้ากระดาษ โดยใหห้ ่างจากขอ้ ความบนและลา่ งอย่างละ 1 บรรทัด
การใชเ้ ครือ่ งหมายวรรคตอน
1. การใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอนจะชว่ ยทาใหข้ ้อความชัดเจนข้นึ และใช้เปน็ แบบเดียวกัน
ตง้ั แตต่ น้ จนจบ นอกจากในกรณีทต่ี ้องใช้เครอื่ งหมายวรรคตอนตามท่ีกาหนดไว้
2. หลังจานวนเลข ข้อความต่าง ๆ ในหน้าปกใน หน้าสารบัญ หน้าตาราง ไม่ต้องมี
มหัพภาค
3. หลังเคร่ืองหมายมหัพภาคให้เว้น 1 ตวั อักษร กอ่ นพมิ พ์ขอ้ ความต่อไป
4. คาย่อทม่ี ีมากกวา่ 1 คาติดกนั ระหวา่ งมหัพภาคไม่ต้องเวน้ ระยะ เชน่
พ.ศ.
ร.ศ.
ศศ.บ.
M.A.
Ph.D.
5. สูตร สัญลักษณ์ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ ช่ือย่อหน่วยงานท่ีเป็น
ภาษาอังกฤษที่รู้จักกันแพร่หลาย ไม่จาเป็นต้องมีเคร่ืองหมายมหัพภาค เช่น UNESCO, YMCA,
BBC, CNN, NIDA, สาหรบั ภาษาไทยใหใ้ ช้ตามความนิยม
6. การใช้ตัวเลข ควรให้เป็นระเบียบแบบแผนเดียวกันทั้งฉบับ เช่น ใช้เลขไทยก็ให้ใช้
เลขไทยท้ังฉบับ
38
7. ตัวเลขท่ีบอกช่วงจานวนจะต้องใช้จานวนเต็มทั้งจานวนหน้าและจานวนหลัง เช่น
พ.ศ. 2538 – 2540, หน้า 158 – 159
8. ตัวเลขสองจานวนท่ีต้องเขียนติดกันให้ค่ันด้วยเครื่องหมายจุลภาค แล้วเว้นหน่ึง
ตัวอักษร เช่น หน้า 126, 132 (หมายถงึ หน้า 126 และตอ่ หน้า 132) แตถ่ า้ เป็นเคร่ืองหมายจลุ ภาคใน
ตัวเลขที่มีมากกว่าสามหลักไม่ต้องเว้นระยะ เช่น 1,500, 13,689 (หมายถึง หนึ่งพันห้าร้อยและหน่ึง
หม่ืนสามพนั หกรอ้ ยแปดสิบเก้า)
การจัดทาภาพ
1. ภาพอยูห่ ่างจากเน้อื หาขา้ งบนและขา้ งล่าง 1 บรรทัด
2. หมายเลขประจาภาพ ให้เรียงลาดับต่อเนื่องกันตั้งแต่ลาดับท่ี 1 จนถึงลาดบั สุดทา้ ยของ
วิทยานิพนธ์ โดยใช้ตัวเลขของบทที่นั้น ๆ นาหน้า เช่น ภาพที่ 2.1 หมายถึงภาพท่ี 1 ของบทที่ 2และ
คาวา่ “ภาพท่ี” ใช้ตวั ธรรมดาไม่ตอ้ งหนาตามด้วยช่อื ของภาพ
3. ให้เริม่ พิมพค์ าว่า “ภาพที่” ตรงกบั รมิ ซ้ายสดุ ของภาพ
4. ภาพทีไ่ ด้มาจากแหล่งอ่ืนให้ระบแุ หลง่ ท่มี าด้วย โดยใช้คาวา่ “ทมี่ า” หรือ “Source” ด้วย
ตัวอกั ษรธรรมดาไม่ตอ้ งทาตัวหนา ตามด้วยเครื่องหมายทวภิ าค ( : ) และระบุรายละเอยี ดของ
รายการเช่นเดยี วกบั การระบุแทรกในเน้อื หา คือ ชื่อผแู้ ต่ง, ปีทีพ่ ิมพ์, เลขหน้า ดงั รปู แบบ
ทมี่ า: หรือSource: ผ้แู ต่ง (ปีท่พี มิ พ์:เลขหน้า)
ทมี่ า: ไกรสิทธ์ิ บตุ รชยั งาม (2550: 48)
Source: Robert, S.K. (2004: 33)
5. “ภาพท่ี” และ “ทมี่ า” ให้พิมพ์ตรงกัน (ดตู วั อยา่ งหน้า 39)
39
ตวั อย่างภาพ
ความรู้
พฤติกรรม .
.
ทกั ษะ ทัศนคติ .
.
ขอบซา้ ยสดุ ของรปู ภาพ .
ตอ้ งตรงกับคาว่า “ภาพท่ี” เสมอ .
เว้น 1 บรรทดั
ภาพท่ี 2.1แสดงความสัมพันธ์ของวตั ถปุ ระสงค์หลักของการเรยี นรู้
ทม่ี า:สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2550: 60-61)
เว้น 1 บรรทดั
คาบรรยาย.
.
.
.
.
.
40
การจดั ทาตาราง
1. ตารางอยู่ห่างจากเนอื้ หาข้างบนและข้างลา่ ง 1 บรรทดั
2. คาวา่ “ตารางที่” ตวั ต อยตู่ รงกับขอบริมซา้ ยสดุ ของเส้นตารางเส้นบน (ดตู วั อยา่ ง)
3. หมายเลขประจาตารางและชอ่ื ตาราง ให้เขยี นคาว่า “ตารางที่” ตามด้วยหมายเลขตาราง
ชิดแนวคั่นหน้า ใช้ตัวอักษรขนาด 16 point เว้น 2 ตัวอักษร แล้วจึงพิมพ์ช่ือตารางด้วยตัวอักษร
ธรรมดา
4. หมายเลขตารางให้ใชต้ วั เลขของบทนัน้ ๆ นาหนา้ เชน่ ตารางที่ 3.1 หมายถึง ตารางที่ 1
ของบทที่ 3
5. ช่ือตารางหากมีความยาวเกินกว่า 1 บรรทัดขึ้นไป บรรทัดถัดไปให้พิมพ์ตรงกับอักษร
ตัวแรกของคาว่า ตาราง (ดตู วั อยา่ งหน้า 41 - 43)
6. ตัวอักษรและเลขตัวเลขในตารางทั้งหมดให้พิมพ์ด้วยตัวอักษรธรรมดาไม่ต้องใช้
ตวั หนา
7. ชื่อรายการในแต่ละช่องตารางให้อยู่กึ่งกลางระหว่างช่อง ถ้าช่ือรายการในแต่ละช่อง
ความยาวเกนิ 1 บรรทดั ใหข้ ้นึ บรรทดั ใหม่ และยอ่ หนา้ เขา้ มา 2 ตัวอักษรหรอื จัดให้อยกู่ ่ึงกลางช่อง
8. ตวั เลขในตารางทเ่ี ป็นแนวตง้ั ควรพิมพ์ให้ได้ระดับเสมอกนั โดยตลอด โดยถอื เลขหลัก
ขวาสุดเปน็ แนว หากเปน็ ตัวเลขทีม่ จี ุดทศนิยม ให้ยึดจดุ เปน็ แนวตรงกนั
9. เสน้ กรอบของตารางด้านบนและด้านลา่ งต้องเปน็ เสน้ คู่ สว่ นเสน้ แนวต้ังและแนวนอน
เปน็ เสน้ เดี่ยวธรรมดาและไม่ต้องตีเส้นปดิ หน้า-หลังตาราง
10. ตารางสามารถทาอีกแบบหน่ึง คือ ไม่ตีเส้นแบ่งและไม่ตีเส้นปิดหน้า-หลัง แต่เส้น
กรอบด้านบนและด้านล่างต้องเป็นเส้นคู่ ส่วนรายละเอียดอื่น ๆให้เหมือนกัน และให้เลือกใช้แบบ
ใดแบบหนึ่งตลอดทง้ั เล่ม
11. ตารางที่มีความยาวจนไม่สามารถบรรจุในหน้ากระดาษเดียวได้ ให้พิมพ์ในหน้า
ถัดไป โดยมีเลขท่ีตารางและคาว่า “ต่อ” ในวงเล็บ โดยไม่ต้องมีชื่อตาราง เช่น ตารางที่ 3.1 (ต่อ)
เปน็ ตน้ และทา้ ยตารางในหนา้ แรกไม่ต้องมเี สน้ ปิดตาราง (ดูตวั อยา่ ง)
12. ตารางทีม่ ีความกวา้ งจนไมส่ ามารถบรรจุในหนา้ เดยี วได้ ใหย้ ่อส่วนหรอื แยกมากกว่า
1 ตาราง
13. ตารางท่ีพิมพ์ตามแนวขวางของกระดาษให้พิมพ์หมายเลขและชื่อตารางไว้ด้าน
สนั ปก
41
14. ตารางท่ีอ้างอิงจากแหล่งอ่ืนให้ระบแุ หลง่ ท่ีมาของตารางด้วย โดยให้พิมพ์ไว้ด้านลา่ ง
ของตาราง โดยพิมพ์คาว่า “ที่มา” ตัว “ท” อยู่ริมขอบซ้ายสุดของเส้นตารางเส้นล่าง แล้วตามด้วย
เคร่ืองหมายทวภิ าค ( : )ระบรุ ายละเอียดของรายการเช่นเดียวกบั การจดั ทาภาพ
ตวั อยา่ งตาราง
ตารางท่ี 3.5แสดงผลการเปรยี บเทียบเจตคติทางการเรียนก่อนเรยี นและหลงั เรยี นของนักเรียน
กล่มุ ทดลองท่ีได้รับการสอนโดยชดุ การสอน
กลุม่ ทดลอง N X S.D. t
ก่อนเรยี น 35 104.34 10.90 33.17*
หลังเรียน 35 178.29 7.33
*มีนยั สาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05
จากตารางท่ี 3.5 พบวา่ เจตคตเิ ฉลี่ยหลงั เรียนของนกั เรยี นกลมุ่ ทดลองหลังเรยี น
( X = 178.29 ) สงู กว่าคะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรียน ( X = 104.34 ) เม่อื ทดสอบด้วยคา่ สถติ ิทดสอบที
พบวา่ ไดค้ ่าที 33.17 มีคา่ ความน่าจะเปน็ ซ่งึ มากกว่า .05 แสดงวา่ เจตคตทิ างการเรยี นของนักเรียน
ทไ่ี ด้รบั การสอนโดยใชช้ ุดการสอนหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียน อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่ี .05
42
ตวั อย่างตารางท่ไี ม่จบในหน้าเดียวกนั
ตารางที่ 4.3 แสดงระดับปัญหาการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการประกันคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษา การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ช่วงชั้น 3-4 เขตพ้ืนท่ีการศึกษาชัยนาท ด้านการดาเนินการ
ประกันคุณภาพการศกึ ษา
ข้อ รายการ ระดับปญั หา แปลผล
ปานกลาง
การดาเนินการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
1 ทบทวนแผนการประกันคุณภาพ ประกอบด้วย ปานกลาง
2.80 0.96 ปานกลาง
ธรรมนูญสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของ ปานกลาง
สถานศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน ข้อมูลการจัด 3.04 0.97 ปานกลาง
การศกึ ษา แผนการปฏบิ ัติการประจาปี ปานกลาง
2 พัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถเก่ียวกับการ 2.62 1.14 ปานกลาง
ประกันคุณภาพการศึกษาในระดบั การทางานเป็นทีม 3.27 1.04
และมรี ะบบการปฏบิ ตั ิงานท่ีมีคณุ ภาพ 3.04 0.79
3 จัดสิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากร
เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ัติงานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.16 0.84
4 การระดมทรัพยากรนอกสถานศึกษาเพ่ือพัฒนา
สถานศกึ ษาอย่างกว้างขวาง 3.04 0.84
5 ดาเนินงานประกันคุณภาพโดยกาหนดนโยบาย
โครงสร้าง ระบบมาตรฐาน ระบบการตรวจสอบ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน
6 นิเทศ กากับ ติดตาม ทั้งระดับบุคคล ฝ่าย/กลุ่ม
สาระ/งาน เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้มีการ
ดาเนนิ งานตามแผน
7 การรายงานผลการปฏิบัติงานของฝ่าย/กลุ่มสาระ/
งาน อยา่ งตอ่ เนื่อง
43
ตารางที่ 4.3 (ต่อ)
ขอ้ รายการ ระดบั ปัญหา แปลผล
ปานกลาง
9 งานประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่าย/กลุ่มสาระ/ ปานกลาง
งาน ปานกลาง
3.07 0.84
10 การนาผลสรุปการปฏิบัติงานไปใชป้ รับปรุงและพัฒนา
งาน 3.33 0.87
รวม
3.04 1.04
จากตารางที่ 4.3 พบวา่ ปัญหาการดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษามีปญั หาอยใู่ นระดับ
ปานกลาง ( = 3.04) เม่ือพิจารณารายข้อ ข้อที่ 9 การนาผลสรุปการปฏิบัติงานไปใช้ปรับปรงุ และ
พัฒนางาน มีปัญหาลาดับสูงสุด ( = 3.33) และข้อ 4 การระดมทรัพยากรนอกสถานศึกษาเพื่อ
พัฒนาสถานศึกษาอย่างกว้างขวาง มีปัญหารองลงมา ( = 3.27) ส่วนข้อ 3 การจัดส่ิงอานวยความ
สะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีปัญหาลาดับต่าสุด (
= 2.62 )
44
ตวั อยา่ งการพมิ พ์ส่วนต่าง ๆ ของวทิ ยานิพนธแ์ ละการคน้ ควา้ อิสระ
1.5 น้วิ 45
ตัวอย่างหนา้ ปกนอกภาษาไทย วทิ ยานพิ นธ์ ตรามหาวิทยาลยั ราชภัฏ
ระดับปริญญาโท หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ ขนาด 3 x 4 cm.
เว้น 1 บรรทดั
แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องนักเรียนในสถานศึกษา 20 pt.
สังกดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพจิ ิตร เขต 2 (หนา)
จัดรปู แบบขอ้ ความเปน็ รูปสามเหลย่ี มหัวกลับ และตอ้ งตัดคาให้ถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยกรณไ์ ทย
อภิชาติ ออ่ นเอม 20 pt.
(หนา)
วิทยานิพนธน์ เ้ี ป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต 20 pt.
สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ (หนา)
พ.ศ. 2559
1.5 นิ้ว
1.5 น้วิ 46
ตัวอย่างหนา้ ปกนอกภาษาไทย การคน้ คว้าอสิ ระ ตรามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
ระดับปรญิ ญาโท หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต ขนาด 3 x 4 cm.
เว้น 1 บรรทดั 20 pt.
(หนา)
การศึกษาสภาพการมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
โรงเรียนเครอื ขา่ ยแม่ปงิ สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่
การศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1
จัดรปู แบบข้อความเปน็ รปู สามเหลี่ยมหัวกลับ และต้องตดั คาใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ไวยกรณไ์ ทย
ฉววี รรณ สุขนนั ทฬส 20 pt.
(หนา)
การค้นคว้าอสิ ระนีเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต 20 pt.
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ (หนา)
พ.ศ. 2558
1.5 นิ้ว