The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2554

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-21 01:13:10

รายงานประจำปี 2554

รายงานประจำปี 2554

Keywords: รายงานประจำปี 2554

“...การพัฒนาชนบทเป็นงานท่ีสำคัญ เป็นงานที่ยาก เป็นงานท่ีจะต้องทำให้ได้ด้วย

ความสามารถ ด้วยความเฉลียวฉลาด คือทั้งเฉลียวทั้งฉลาด ต้องทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ
มิใช่มุ่งท่ีจะหากินด้วยวิธีการใด ๆ ใครอยากหากินขอให้ลาออกจากตำแหน่ง ไปทำการค้า

ดีกว่า เพราะว่าถ้าทำผิดพลาดไปแล้วบ้านเมืองเราล่มจม และเม่ือบ้านเมืองของเราล่มจมแล้ว
เราอยไู่ ม่ได้ ก็เทา่ กับเสียหมดทกุ อยา่ ง...”


พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะผูบ้ รหิ ารงานเร่งรดั พัฒนาชนบท

ระดบั ผูว้ า่ ราชการจงั หวัด ณ พระทีน่ ั่งอัมพรสถาน

วันศกุ รท์ ่ี ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๑๒

สารบัญ


บทนำ ๓

สรปุ ผบู้ รหิ าร ๔

ความเปน็ มา มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ ๑๖

และสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ

คณะกรรมการ ๑๘

หลกั การดำเนนิ งานและแนวทางปฏบิ ตั ิงาน ๒๐

กรอบการดำเนนิ งานตามมติคณะกรรมการ ๒๑

การดำเนนิ งานพื้นทีต่ ้นแบบและพ้ืนทีข่ ยายผล ๒๔

ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำร ิ

สรุปการดำเนนิ งานสถาบนั สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระฯ ๕๖

งบการเงิน ปี ๒๕๕๔ ๗๔

แผนงานในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ๙๑

ภาคผนวก ๑๐๗

2


บทนำ


นบั เนอ่ื งจากกำเนดิ ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ และสถาบนั สง่ เสรมิ
และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำรเิ มอื่ ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ มา
จนถึงวันนี้ “ปิดทองหลังพระฯ” ยังคงยึดมั่นในวัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการเรียนรู

และพัฒนาตามแนวพระราชดำริ พร้อมแนวทางการทำงานแบบบูรณาการความร่วมมือจาก

ทกุ ภาคสว่ น


ท่ีเป็นเช่นนี้ก็เพราะแนวพระราชดำริด้านต่าง ๆ จำนวนมากได้ผ่านการพิสูจน์ ทดลอง

และขยายผลจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย

และสังคมโลก ที่กิจการใด ๆ ก็ตามหากมุ่งหวังความสำเร็จ ก็ย่อมไม่สามารถจะละเลย

การมสี ว่ นร่วมของภาคีผู้มีสว่ นได้และสว่ นเสียไปได้


ประเทศไทยของเราตกอยู่ในห้วงลึกของความขัดแย้งอย่างต่อเนื่องมาหลายปี นับ

การทับถมลงบนปัญหาต่าง ๆ ที่ล้วนมีรากฐานมาจากช่องห่างภายในสังคม และนำไปส
ู่
การขาดความเท่าเทียมกนั ทางโอกาสในการพฒั นาตนเองของประชาชนโดยเฉพาะในชนบท


ในภาวะท่ีประเทศไทยต้องเร่งให้ทันการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในเวทีระหว่างประเทศ
กลบั ยง่ิ เปน็ แรงกดดนั ใหเ้ ห็นว่าการพฒั นาชนบทเป็นหัวใจสำคญั ต่อทางออกของประเทศของเรา
มิฉะนั้นก็อาจจะส่งผลให้ช่องห่างน้ันขยายต่อไปไม่สิ้นสุด จนส่งผลกระทบต่อความม่ันคงของ
ชาตติ อ่ ไปได้


“ปิดทองหลังพระฯ” จึงมุ่งมั่นในการพัฒนาชนบทอย่างบูรณาการ พร้อมกับเรียนรู้

เพอื่ พฒั นาตนเองอยา่ งไมส่ น้ิ สดุ ไปพรอ้ ม ๆ กนั ทงั้ นด้ี ว้ ยจติ ทสี่ ำนกึ รวู้ า่ งานที่ “ปดิ ทองหลงั พระฯ”
รว่ มกบั ภาคตี า่ ง ๆ ทำมาอยา่ งก้าวหนา้ นัน้ เป็นเพยี งเสีย้ วเล็ก ๆ ของงานพัฒนาชนบท


ดว้ ยวา่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั เมอ่ื ทรงมีพระเมตตาพระราชทานถนนหว้ ยมงคลเปน็
โครงการพัฒนาชนบทแห่งแรกน้ัน นับเป็นระยะเวลาของการทรงพัฒนาชนบทมายาวนานถึง
๖๐ ปีในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕


การปดิ ทองหลังพระในวนั น้ีจึงมิใช่งานจติ อาสา แต่เป็นหน้าที่ทีจ่ ะตอ้ งกระทำ


3


สรปุ ผบู้ รหิ าร




มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จัดต้ังขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๒๔
พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เพื่อส่งเสริมให้การพัฒนาตามแนวทางพระราชดำริ เป็นแนวทางการ
พัฒนาหลักของประเทศ โดยเน้นบูรณาการความร่วมมือจากภาคีทุกภาคส่วน ตามแนวทาง

พระราชดำริ และนอ้ มนำองค์ความรู้ ๖ มติ ิ คอื นำ้ ดนิ เกษตร พลงั งานทดแทน ป่า และ

สิ่งแวดล้อม ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แปรเป็นการปฏิบัติเพ่ือแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน
โดยปรับน้ำหนักแต่ละเร่ืองให้สอดคล้องกับสภาพภูมิสังคมในแต่ละพ้ืนท่ี เพื่อให้เกิดการพัฒนา
อยา่ งยง่ั ยืน


การพัฒนาตามแนวพระราชดำริดังกล่าว ยึดหลัก เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา เป็นบันได

๓ ขั้นสู่ความสำเร็จ รวมท้ังมีการประสานเชื่อมโยงเครือข่ายให้มีการทำงานแบบบูรณาการ
“สามประสาน” คือ หลวง รัฐ และท้องถ่ิน เพื่อใหเ้ กดิ การนอ้ มนำแนวพระราชดำรไิ ปปฏิบัติให้
เกิดผลสำเร็จจรงิ ในพน้ื ที่


“ปิดทองหลังพระฯ” นำร่องการพัฒนาพ้ืนท่ีอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชดำริ ในพื้นท่ี
ต้นแบบ ๓ อำเภอของจังหวัดน่าน คือ ท่าวังผา สองแคว และเฉลิมพระเกียรติ โดยมี

เป้าหมายเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน ทำให้ชาวบ้านในพ้ืนที่อยู่รอด พอเพียงและอยู่ได

ด้วยตัวเองอย่างย่ังยืน ควบคู่กับการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่าง
สอดคล้องกับความต้องการของชาวบ้านในพ้ืนท่ี และมีการบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วน
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ซ่ึงมีกจิ กรรมการดำเนนิ งาน ดังนี้


4

กจิ กรรมการดำเนินงาน จำนวน

การพัฒนาแหล่งนำ้ ๒,๑๗๙ ฝาย
๑๗๔ ฝาย
- การสรา้ งฝายนำ้ อนุรักษ์ ๗,๖๖๒ เมตร
- ฝายนำ้ การเกษตรรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ กลอ่ งเกเบย้ี น ฝายหนิ กอ่ และคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ๗๕,๙๐๕ เมตร
- การพฒั นาระบบตน้ แบบการสง่ และกกั เกบ็ นำ้ การปรบั ปรงุ ระบบนำ้ เพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภค ๒๐๖ บอ่
- ระบบทอ่ สง่ นำ้ เขา้ สพู่ น้ื ทเี่ กษตรชาวบา้ นโดยตรง ๕,๐๕๐ เมตร
- บอ่ พวงสันเขา ๑๓ กลุม่
- ระบบคลองส่งนำ้ ๑,๔๓๙ ไร่
- การจดั ตง้ั กลมุ่ ผใู้ ชน้ ้ำ “แกฝ่ าย” ทม่ี สี ว่ นรว่ มในการก่อสรา้ งเปน็ ผู้ซอ่ มแซมเอง
- พื้นท่ีรบั น้ำจากระบบน้ำท่สี ร้างและซ่อมแซม

การปรบั ปรุงสภาพพืน้ ท่ใี หเ้ หมาะสมกับการเพาะปลูก ๑,๔๕๐ ไร่
- การปรับสภาพดนิ ดว้ ยเมลด็ ปอเทอื ง การใส่ปุ๋ยไดโลไมท์ และการขดุ นาขนั้ บนั ได ๓,๔๕๖ ไร่
- การปรับปรงุ สภาพดินในพืน้ ที่เกษตร

การจัดต้ังกองทนุ ๑,๕๘๒ ไร่
๑,๗๙๓ ไร่
- สนับสนนุ ปัจจยั การผลิต ๙๐๑ ครัวเรอื น
• เมลด็ พนั ธ์ุขา้ ว ครอบคลมุ พ้นื ท่ี ๗๘๐ ตัว
• เมล็ดพนั ธ์ุถ่วั ลิสง ๑๙๓,๙๐๐ ตัว
• กองทุนเมลด็ พันธ์ุผักผู้รับประโยชน์ ๕๑,๒๒๕ ตัว
• กองทุนสุกร ๑๑ เครอื่ ง
• ปลา ๖๔๗ ชดุ
• กองทนุ ยาและสขุ ภาพสตั ว์ ๖ กลมุ่
• กองทุนหัตถกรรมและการแปรรปู - กองทนุ เครือ่ งบดขา้ วโพด ๒ กลุ่ม
- เตาเผาเศรษฐกจิ ๑๔ ชดุ
- หัตถกรรมจากแหย่ง ๘ เครอ่ื ง
- แปรรปู มะแข่น
• เตาเผานำ้ ส้มควันไฟ
• โรงสขี า้ วขนาดเล็ก

5

ซึ่งมตี ัวอยา่ งผลสำเร็จของการดำเนินงานดงั น
้ี


ตัวอยา่ งเกษตรกรท่ี บ้านนำ้ ป้าก อำเภอทา่ วังผา จงั หวัดนา่ น




ประเภทรายการ ปี ๒๕๕๓ (บาท) คร่งึ ปแี รก ๒๕๕๔ (บาท) ผลท่ีได้รบั (%)
๔๓.๑๙
รายไดร้ วม ๖,๙๑๕,๐๕๓ ๙,๙๐๑,๔๗๙ -๕๔.๒๖

รายจ่ายรวม ๖,๖๖๕,๘๘๓ ๓,๐๔๙,๓๐๐

รวมหนี้สิน ยอดหน้ีสนิ ชำระแล้ว ร้อยละของ
๖,๔๐๓,๔๑๖ ๔,๕๐๔,๙๐๐ ยอดการชำระหน้ี

๗๐.๓๕



หลังการดำเนินงานในจังหวัดน่าน เห็นผลความสำเร็จในระดับท่ีชุมชนในพื้นท่ีอยู่รอดได้อย่างพอเพียงแล้ว
“ปิดทองหลังพระฯ” จึงขยายผลมาสู่พื้นท่ีอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ อำเภอหนองวัวซอ
จังหวัดอุดรธานี ซ่ึงเป็นพื้นที่ที่มูลนิธิชัยพัฒนาเสนอ เนื่องจากใช้ประโยชน์จากอ่างเก็บน้ำไม่เต็มศักยภาพ

“ปดิ ทองหลงั พระฯ” จึงนำมาเป็นพน้ื ที่ต้นแบบการพฒั นาในรูปแบบใหม่ คือ บูรณาการการทำงานร่วมกนั ทำเลก็
ประหยัด ขยายผลไดเ้ รว็ ในวงกวา้ ง และได้ประโยชนส์ ูงสุด โดยมีบา้ นโคกล่าม และบ้านแสงอร่ามเป็นพ้ืนทตี่ ้นแบบ

การพัฒนาระบบน้ำ และร่วมกับโครงการฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พัฒนา

การเกษตรด้วยการปรับปรุงดิน ทำการเกษตรผสมผสานด้วยการปลูกพืช ๓ ระดับ เลี้ยงหมูจินหัว เป็ดอ้ีเหลียง
และปลาในบ่อ การดำเนินงานได้รับความร่วมมือด้วยดีจากหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น องค์การบริหาร
สว่ นจงั หวดั อดุ รธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลกดุ หมากไฟ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดลอ้ ม กรมชลประทาน และเอกชน รปู ธรรมความสำเร็จจากการบูรณาการงานร่วมกนั ปรากฏได้ ดงั น้




6

กิจกรรมการพฒั นา ผลจากการพัฒนา
แผนกจิ กรรมการพัฒนา

การพัฒนาแหลง่ น้ำ สร้างตอมอ่ ๖ ตวั เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการเกบ็ นำ้
- การเสรมิ ตอมอ่ เพือ่ ยกระดบั ในอา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยคล้ายฯ
จากเดมิ ๖๙๒,๕๐๐ ลบ.ม.
กักเก็บนำ้ บริเวณ Spillway เพมิ่ ขึ้นอกี ๓๐,๐๐๐ ลบ.ม.

- การปรับปรงุ ฝายเดมิ ลักษณะ ขดุ ปรบั ทางระบายนำ้ สรา้ งอาคาร เพิ่มประสิทธิภาพการเก็บน้ำใน
เป็นอา่ งพวง ๓ ตัว ระบายน้ำลกั ษณะเชื่อมกัน ๓ พวง อา่ งพวงทง้ั ๓ ตวั ปอ้ งกนั นำ้ ทว่ ม
และสร้างอาคารปากเหมืองคอนกรีต ท่ีนาและเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ
เสริมเหล็ก ๖ จุด ในการผันไปสูล่ ำเหมอื งเดิม
ในทนี่ า

- การวางท่อสง่ น้ำเข้าสแู่ ปลงเกษตร วางระบบท่อส่งน้ำเชอ่ื มตอ่ กับท่อ ขยายพ้นื ท่ีรบั นำ้ เพมิ่ อกี
ชาวบา้ นโดยตรง พีวีซี ผันน้ำจากอาคารระบายนำ้ ๙๘๓ ไร่ จากพน้ื ทเ่ี ดมิ ๘๐๐ ไร่
เพือ่ เข้าสูแ่ ปลงเกษตรเป็นระยะทาง รวมมพี ้นื ท่รี บั น้ำ ๑,๗๘๓ ไร่
๑,๙๗๒ เมตร ทำใหม้ ีน้ำใช้ตลอดปี

- ซ่อมแซมปรับปรงุ ฝายหว้ ยคำเข เสรมิ พนงั และคนั กั้นน้ำ ปรับปรุง เพ่ิมประสิทธภิ าพการเก็บนำ้
ฝายเดิม และการวางแนวท่อสง่ นำ้ จากฝายห้วยคำเข ๒๑,๓๘๐
๘๐๔ เมตร คกู่ บั ลำเหมอื ง ๒๐๐ เมตร ลบ.ม. ขยายพืน้ ทีร่ ับน้ำไปถึง

หมบู่ า้ นใกลเ้ คยี งอกี ๒ หมบู่ า้ น

การส่งเสริมด้านกองทุน สนบั สนุนสกุ รเพศเมีย ๕๐ ตวั แม่สกุ ร ๕ ตวั
- กองทนุ สุกร ให้ชาวบ้าน ๕๐ ราย คลอดลูกท้ังหมด ๔๖ ตัว
มีรายได้จากการขายลกู สุกร
๔๒,๒๐๐ บาท

- กองทุนเมล็ดพนั ธ์ุ สนบั สนนุ เมลด็ พันธ์ุเพอื่ ปลกู กอ่ นนา ขายพืชผักเป็นรายได้เสรมิ
และบำรงุ ดิน




7

พืชก่อนนา (ผักปลอดสารพิษ) รวมค่าใช้จา่ ย รวมรายได้จากการขาย คงเหลอื เงิน
ทน่ี ำไปขายทีต่ ลาด ๕ คร้ัง (บาท) (บาท) (บาท)

ฟักทอง/ข่า/ตะไคร้/ปลี/มะเขือพวง/ ๑๓,๑๐๔ ๑๗,๓๐๑ ๓,๓๒๓
กานจอง/แมงลัก/ฝักบัว/กะเพรา/
หญ้านาง/กระเฉด/ผักบุ้ง/โหระพา/
หวาย/มะระข้ีนก/ตำลึง/มะเขือเทศ/
ผั ก ชี / ห น่ อ ไ ม้ / พ ริ ก / ม ะ เ ขื อ เ ท ศ /
ดอกแค/มะพร้าว/กะเพา/ฟักเขียว/
ใ บ ต อ ง / แ ม ง ลั ก / ผั ก แ ข ย ง / ห อ ม /
ผักไฮ่/ตะไคร้/ถ่ัวฝกั ยาว ฯลฯ

ความสำเร็จของการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวพระราชดำริ ท่ีจังหวัดน่านและอุดรธานี ที่ปรากฏผลเป็นรูปธรรม
คอื ชาวบา้ นในพน้ื ทเ่ี ขา้ ใจ รปู้ ญั หาและความตอ้ งการของตนในทกุ มติ ิ และลงมอื แกไ้ ขปญั หาดว้ ยตนเอง จนในทสี่ ดุ
สามารถลดคา่ ใชจ้ ่าย เพ่ิมรายได้ และชำระหน้สี ินได้


ปดิ ทองหลังพระฯ จงึ รว่ มกบั กระทรวงมหาดไทย ขยายผลการดำเนนิ งานอกี ๑๘ หมบู่ ้าน ใน ๑๐ จงั หวดั คอื
จังหวัดตราด สิงหบ์ ุรี เพชรบุรี เชยี งราย พษิ ณุโลก ยะลา ประจวบครี ขี นั ธ์ เลย เชียงใหม่ และนา่ น ซึ่งเพิง่ จะเริม่
ดำเนินการ โดยกระบวนการ เข้าใจ เข้าถึง ด้วยการเก็บข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม และกายภาพ และการ
วิเคราะหข์ ้อมูล เพอื่ ค้นหาปญั หาและความตอ้ งการที่แทจ้ ริงของชาวบ้าน





8

ความเปน็ มาพืน้ ทีข่ ยายผลปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ


โครงการพฒั นาพนื้ ทต่ี น้ แบบ
โครงการบรหิ ารจดั การนำ้
มตคิ ณะกรรมการสถาบนั ฯ

บรู ณาการแกไ้ ขปญั หา
อยา่ งยง่ั ยนื อา่ งเกบ็ นำ้
วนั ที่ ๒๐ เม.ย. ๕๔ อนมุ ตั พิ นื้ ท่ี
และพฒั นาพนื้ ทจ่ี งั หวดั นา่ น
หว้ ยคลา้ ยอนั เนอื่ งมาจาก

ตามแนวพระราชดำร
ิ พระราชดำร
ิ ขยายผลปดิ ทองหลงั พระฯ

๑๐ จงั หวดั ๑๘ หมบู่ า้ น ดงั นี้


เป็นห้องปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) ในการปรับกระบวน
ทัศน์ของทุกภาคส่วน ต้ังแต่กระบวน การสร้างความเข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา บูรณาการทำงานกับทุกภาคส่วนโดยท่ีชาวบ้านเป็นผู้ลุกข้ึนมา
ลงมือทำงานแก้ไขปัญหาด้วยตนเองตามแนวพระราชดำร


กระทรวงมหาดไทยเสนอ ๙ หมู่บา้ น

คลังสมองในสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ๑ หมบู่ า้ น

สถาบันพฒั นาองค์กรชมุ ชน ๔ หม่บู า้ น

จงั หวัดนา่ น (พน้ื ทข่ี ยายผลจากต้นแบบ) ๔ หมบู่ า้ น


เชียงใหม เชียงราย พนื้ ทขี่ ยายผล ๑๐ จงั หวดั ๑๘ หมูบ่ ้าน


แมฮ องสอน พะเยา นา น ตราด บา้ นทา่ ตะเภา ต.หนองเสมด็ อ.เมอื ง

สงิ หบ์ รุ ี บา้ นท่าลอบ ต.โพธทิ์ ะเล อ.คา่ ยบางระจนั

ลำพูน ลำปาง แพร เลย เพชรบรุ ี บ้านโป่งลกึ ต.หว้ ยแม่เพรยี ง อ.แกง่ กระจาน

บึงกาฬ บ้านบางกลอย ต.หว้ ยแมเ่ รียง อ.แก่งกระจาน

หนองคาย เชยี งราย บา้ นพญาพิภกั ดิ์ ต.ยางฮอม อ.ขุนตาล

บา้ นแมบ่ ง ต.โชคชัย อ.ดอยหลวง

อตุ รดติ ถ อดุ รธานี นครพนม พิษณุโลก บา้ นเจริญผล ต.หนองพระ อ.วงั ทอง

ตาก สุโขทยั หนองบวั ลำภู สกลนคร บ้านหนองพระ ต.หนองพระ อ.วงั ทอง

ยะลา บ้านปยิ ะมติ ร อ.เบตง

ขอนแกน กาฬสินธุ มุกดาหาร ประจวบฯ บา้ นหว้ ยเกรยี บ ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน

บา้ นโป่งไก ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน

กำแพงเพชร พจิ ิตร เพชรบรู ณ มหาสารคาม รอ ยเอด็ อำนาจเจรญิ เลย บา้ นกลาง ต.ปลาบ่า อ.ภูเรอื

ชยั ภมู ิ ยโสธร เชยี งใหม่ บา้ นโปงแรด ต.บ้านทบั อ.แมแ่ จม่

พษิ ณุโลก นครสวรรค บ้านปาง ต.หนองบวั อ.ไชยปราการ

นา่ น บ้านโปง่ คำ ต.ดู่พงษ์ อ.สันตสิ ขุ

สิงหบ ุรีอทุ ัยธานี ชยั นาท ลพบรุ ี นครราชสีมา อุบลราชธานี บา้ นหว้ ยคำ ต.ฝายแก้ว อ.ภเู พยี ง

กาญจนบรุ ี สุพรรณบุรี อางปพททอระมุงนธคานรนสศี ครรระีอนบยาุรุธยี ยกปาราจนี บรุ ี บุรีรัมย สุรนิ ทร ศรีสะเกษ บ้านห้วยปกุ ต.สะเนียน อ.เมอื ง

นครปฐนมนทบุรี กรงุ เทพมหานคร สระแกว บา้ นสะเกิน ต.ยอด อ.สองแคว


ราชบรุ ี ชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรา

เพชรบุรี ระยอง จนั ทบรุ ี ตราด
ประจวบครี ขี ันธ สมุทรปราการ
สมทุ รสาคร
สมทุ รสงคราม

ชมุ พร

ระนอง

สุราษฎรธานี

พงั งา นครศรธี รรมราช
กระบี่

ภูเก็ต

ตรงั พัทลงุ

สตลู สงขลา ปต ตานี
นราธวิ าส

ยะลา

9

ด้านการจัดการความรู้ได้ดำเนินการคู่ขนานไปกับการพัฒนา เพื่อขยายผลความร้

ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดำริทั้งภายในพื้นที่จังหวัดน่านและในพื้นท่ี
อน่ื ๆ ทัว่ ประเทศ ใหเ้ ป็นตัวอยา่ งการศึกษาดงู านของสมาคมองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
สถาบันการศึกษาและราชการท่ีสำคัญ ตลอดจนการจัดมหกรรมปิดทองหลังพระฯ เพ่ือให้
เกดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ะหวา่ งชาวนา่ นกบั ปราชญช์ าวบา้ นและผนู้ ำชมุ ชนจากทว่ั ประเทศ
และการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ในจังหวัดอุดรธานี รวมถึงการจัดทำความรู้พร้อมใช้
จำนวน ๑๐๐ หัวข้อ ตามแผนพฒั นาคลงั ความรูก้ ารพัฒนาตามแนวพระราชดำรเิ พอ่ื ใช้ใน
การเผยแพรใ่ หป้ ระชาชนสามารถนำไปปรับใชไ้ ด้โดยง่าย


ด้านการจัดการความรู้ได้ดำเนินการคู่ขนานไปกับการพัฒนา เพ่ือขยายผลความร
ู้
ที่เกิดข้ึนจากการพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดำริท้ังภายในพื้นที่จังหวัดน่านและในพื้นท่ี
อื่น ๆ ท่วั ประเทศ ใหเ้ ป็นตัวอย่างการศึกษาดูงานของสมาคมองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
สถาบันการศึกษาและราชการท่ีสำคัญ ตลอดจนการจัดมหกรรมปิดทองหลังพระฯ เพื่อให้
เกดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ะหวา่ งชาวบา้ นกบั ปราชญช์ าวบา้ นและผนู้ ำชมุ ชนจากทวั่ ประเทศ
รวมถึงการจัดทำความรู้พร้อมใช้จำนวน ๑๐๐ หัวข้อ ตามแผนพัฒนาคลังความร
ู้
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริเพื่อใช้ในการเผยแพร่ให้ประชาชนสามารถนำไปปรับใช

ไดโ้ ดยงา่ ย


10

สารจากประธานกรรมการ

มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ


มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ได้ก่อต้ังและดำเนินงานมาครบ ๒ ปีนับจากก่อต้ังข้ึนมา

ในปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ตลอดระยะเวลาดังกล่าวมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ยึดมั่นในวัตถุประสงค์ที่จะมุ่ง

การจัดการความรู้และส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ ตลอดจนการเชื่อมโยงองค์ความรู้และบูรณาการ
ความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ เพ่ือที่จะทำให้แนวพระราชดำริเป็นแนวทางหลักของการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ประเทศอยา่ งเปน็ ระบบและย่ังยนื


ในช่วงการดำเนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ยังคงพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ
จังหวัดนา่ นอย่างต่อเนอื่ งพรอ้ มกันนั้นได้เพ่มิ พนื้ ท่ตี ้นแบบอกี ๑ แห่ง ไดแ้ ก่ โครงการบริหารจัดการนำ้ อยา่ งย่งั ยนื
อา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยคล้ายอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จงั หวดั อดุ รธานี


การดำเนินงานทั้งในพ้ืนท่ีจังหวัดน่านและจังหวัดอุดรธานี มีความก้าวหน้าและบรรลุตามวัตถุประสงค์

เบื้องต้นอย่างน่าพอใจ กล่าวคือ ประชาชนในพ้ืนที่ต้นแบบมีผลิตผลทางการเกษตรเพ่ิมมากขึ้นจนถึงระดับอยู่รอด
และเตรยี มความพรอ้ มที่จะพฒั นาไปสู่ระดบั ความพอเพียงต่อไป


นอกจากนี้ มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระฯ ยงั ทำการพจิ ารณาสภาพภมู สิ งั คมของพนื้ ที่อืน่ ๆ อกี ๑๘ หมู่บา้ นใน ๑๐
จังหวดั ตามขอ้ เสนอของกระทรวงมหาดไทยและสถาบันพฒั นาองค์กรชุมชน


ในการดำเนินงานนั้น มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ตระหนักเสมอถึงความสำคัญของการกระจายการมีส่วนร่วม
เพื่อส่งเสริมความยั่งยืนในการพัฒนา ดังน้ันจึงส่งเสริมให้ประชาชนภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในหลาย
ระดบั ทัง้ การร่วมรับรู้ รว่ มคดิ และร่วมทำ ทงั้ นโี้ ดยกระทำผ่านโครงการตา่ ง ๆ คู่ขนานกับงานดา้ นการพฒั นา


ดังน้ันงานสำคัญของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ตั้งแต่ปีหน้าเป็นต้นไป จึงจะเพ่ิมความสำคัญของการสร้างคน

เพ่ือให้เกิดการกระจายบุคลากรด้านการพัฒนาตามแนวพระราชดำริออกไปให้ได้อย่างกว้างขวาง โดยดำเนินการ
ในทุกระดับกับภาคส่วนต่าง ๆ ต้ังแต่ระดับอุดมศึกษาผ่านโครงการทุนเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมแลกเปล่ียน
เรยี นรกู้ บั สถาบนั ตา่ ง ๆ


สำหรับบุคลากรระดับผู้บริหารท้องถ่ินนั้น มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จะดำเนินงานผ่านความร่วมมือกับมูลนิธิ
แม่ฟ้าหลวงฯ กระทรวงมหาดไทย สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) เพ่ือร่วมกันสร้างผู้นำท้องถิ่นที่มีจิตอาสาและความสามารถ
ในการทำงานเพ่ือประชาชนอยา่ งแท้จรงิ


11

จากภาพรวมของการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและงานในอนาคตย่อมทำให้เห็นชัดเจนมากข้ึนแล้วว่างาน

การพัฒนาคน สังคมและประเทศชาติที่มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ดำเนินการโดยนำแนวพระราชดำริมาเป็น

แกนกลางของงานน้ีจะเป็นงานที่หนัก และความสำเร็จทั้งปวงน้ันย่อมข้ึนอยู่กับการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ
อยา่ งแท้จริงเป็นสำคญั


ในนามมลู นธิ ิปิดทองหลงั พระฯ ผมจงึ ขอขอบคณุ ภาคีตา่ ง ๆ ท้งั ในภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน สถาบนั การศกึ ษา
ตลอดจนผู้บริหารและพนักงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ

ที่ได้รว่ มกันทำให้เกิดความก้าวหนา้ ในงานทกุ ดา้ น


พร้อมกันน้ีผมขอให้กำลังใจทุกท่านให้เข้มแข็งในการต่อสู้กับอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อนำความอยู่ดีมีสุข

มาสู่ประชาชน และเป็นกตัญญุตาถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ดังประจักษ์แล้วว่าได้ทรงงานอย่างหนัก

ไม่ยอ่ ทอ้ มาตลอดระยะเวลา ๖๖ ปีแหง่ การขน้ึ ครองราชย์เพอื่ พสกนิกรชาวไทยทง้ั ปวง







ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ นายแพทย์ เกษม วัฒนชยั
ประธานกรรมการ


มลู นิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำร


12

สารจากประธานกรรมการ

สถาบนั สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรม

ปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำร


ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นจุดเร่ิมต้นของความท้าทายที่จะตามมาในอนาคตสำหรับสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ เนื่องจากผลของการดำเนินงานในพ้ืนที่ต้นแบบจังหวัดน่าน

ซึ่งเป็นท่ีน่าพอใจ ทำให้เกิดความต้องการงานในลักษณะเดียวกันเกิดข้ึนในหลายพื้นที่ ซ่ึงมีภูมิสังคมท่ีแตกต่าง
ออกไป


ในชว่ งปีท่ผี ่านมา สถาบันส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลังพระฯ ดำเนนิ งานทสี่ ำคัญ คอื

• การเพมิ่ ความเขม้ แขง็ ใหแ้ กโ่ ครงการตน้ แบบฯ จงั หวดั นา่ น โดยสง่ เสรมิ การทำนาขนั้ บนั ได การกกั เกบ็ นำ้

โดยการทำฝาย บ่อพวงสันเขา เสริมเพิ่มการบริหารกองทุนเมล็ดพันธุ์ กองทุนสุกร การปลูกพืชหลังนา

ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี ทำให้มีรายได้และลดปัญหาหนี้สิน ชาวบ้านผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการ

มีจำนวน ๑,๗๙๒ ครัวเรอื น ซง่ึ อยใู่ นขนั้ ตอนของการอยรู่ อด เพื่อท่ีจะกา้ วส่คู วามพอเพยี ง

• เรม่ิ ดำเนินงานในพื้นที่ต้นแบบโครงการบริหารจัดการน้ำอยา่ งยัง่ ยนื อา่ งเก็บนำ้ ห้วยคล้ายอันเนอ่ื งมาจาก

พระราชดำริ หมู่บ้านโคกล่ามและหมู่บ้านแสงอร่าม ตำบลกุดหมากไฟ อำเภอหนองวัวซอ จังหวัด

อุดรธานี พ้ืนท่ีโครงการดังกล่าวเสนอโดยมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งประสงค์จะช่วยให้ชาวบ้านรอบอ่างเก็บน้ำ

ได้รับประโยชน์เพิ่มข้ึนจากอ่างเก็บน้ำ ดังน้ันสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ

จึงร่วมกับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ โครงการฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าฯ

พระบรมราชินีนาถ เข้าร่วมบูรณาการกับจังหวัดอุดรธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี องค์การ

บริหารส่วนตำบลในพ้ืนที่ และชาวบ้าน ร่วมกันบริหารจัดการน้ำเพ่ือให้ชาวบ้านสามารถปลูกข้าวและ

ปลกู พชื หลงั นา มชี าวบา้ นทไี่ ดป้ ระโยชนจ์ ากโครงการจำนวน ๒๒๖ ครวั เรอื น ในปัจจุบันองค์การบริหาร

ส่วนจังหวัดอุดรธานี อยู่ในระยะการขยายผลปิดทองหลังพระฯ ไปยังพื้นที่อ่ืน ๆ ท่ีมีความพร้อม

ทวั่ ทัง้ จังหวดั

• การเริ่มศกึ ษาปัญหาและพิจารณาความพร้อมของพืน้ ทีข่ ยายผลปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำร

๑๐ จังหวัด ๑๘ หมู่บ้าน ซ่ึงมาจากการเสนอของกระทรวงมหาดไทย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

ธนาคารสมองในสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และจังหวัดนา่ น


13

ผลจากการรเิ รมิ่ งานพน้ื ทขี่ ยายผลฯ ทำใหม้ ลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ รว่ มกบั หนว่ ยราชการหลกั
ได้แก่กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
การคลัง สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กองทัพบกและสำนักงบประมาณ ร่วมกันผลักดันให้เกิด “แผนพัฒนา
ชนบทเชิงพ้ืนท่ี ประยุกต์ตามพระราชดำริ” ในแผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล เพื่อให้เป็นช่องทางใน
การบรู ณาการของหน่วยราชการตา่ ง ๆ ที่จะเขา้ รว่ มปดิ ทองหลังพระฯ

ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จึงนับเป็นปีเร่ิมต้นของการขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวพระราชดำริโดยภาคราชการ

ท่ีมีแผนบริหารราชการแผ่นดินรองรับ หน่วยราชการเริ่มจัดทำแผนงานและแผนงบประมาณภายใต้แผนดังกล่าว
ซึ่งนับได้ว่าเป็นก้าวแรกที่มีความสำคัญในเชิงระบบและสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ

ในอนั ทจ่ี ะส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำรอิ ย่างกว้างขวางจนเปน็ แนวทางหลักของประเทศในอนาคต

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรในทุกระดับ

เพื่อสืบสานแนวพระราชดำริ โดยการร่วมมือกับที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยที่มีความพร้อม
ตลอดจนองคก์ รไมแ่ สวงหากำไรเชน่ SIFE ประเทศไทย (Student in Free Enterprise) เพอ่ื สง่ เสริมให้นักศึกษา

มีประสบการณ์ทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาชุมชนและพัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชดำริ จนปัจจุบันมีมหาวิทยาลัย

บางแหง่ เชน่ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ (ประสานมติ ร) ไดร้ ิเริม่ โครงการพฒั นาพ้ืนทใ่ี กล้เคียงของวทิ ยาเขต
นครนายก เปน็ งานคูข่ นานกับสถาบันสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ

การทำงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้รับความร่วมมือด้วยดี จากภาครัฐ
เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการของสถาบันฯ ซ่ึงมีแนวทางร่วมกัน

ในการนำแนวพระราชดำริไปแก้ไขปัญหาของประชาชน ผมจึงขอขอบคุณมา ณ ท่ีน่ี และหวังว่าจะได้รับความ

ร่วมมอื ท่ีดีตอ่ ไป


หมอ่ มราชวงศด์ ศิ นดั ดา ดิศกุล

ประธานกรรมการ


สถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ


14

สารจากปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี


มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เห็นชอบให้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตร

เป็นหน่วยงานรบั ผดิ ชอบการจัดตั้งมลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ และสถาบนั ส่งเสริมและพัฒนา
กจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ เพอ่ื ใหร้ บั ผดิ ชอบภารกจิ ดา้ นการจดั การความรู้ และการสง่ เสรมิ
การพัฒนาตามแนวทางพระราชดำริออกไปสู่ชุมชนอย่างเป็นระบบกว้างขวางเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของ
ประชาชนเปน็ หลัก


ระยะเวลา ๑ ปี ทผี่ า่ นมามลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ และสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลังพระฯ
ได้แสดงผลงานอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน จนได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากบุคลากรในวงการต่าง ๆ ให้เป็นอีก
ต้นแบบหนึง่ ของการพฒั นาประเทศ


โครงการพฒั นาพน้ื ทต่ี น้ แบบบรู ณาการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพนื้ ทจ่ี งั หวดั นา่ น และโครงการบรหิ ารจดั การนำ้
อย่างย่ังยืน อ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดอุดรธานี เป็นการพัฒนาและแก้ไขปัญหา
ความยากจนโดยการ เชื่อมโยงใช้ความรู้ตามแนวพระราชดำริ และบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานทุกระดับท่ี
เกี่ยวข้อง ซ่ึงนับได้ว่าเป็นมิติของการบริหารจัดการท่ีจะช่วยให้เกิดการยั่งยืนในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ
ของภาคราชการไปพร้อม ๆ กัน


การดำเนนิ งานทมี่ งุ่ ใหเ้ กิดผลอยา่ งรวดเร็ว พร้อม ๆ ไปกบั การกระตนุ้ ให้เกดิ การรับรแู้ ละขยายผลเลียนแบบ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์สำคัญของการจัดต้ังมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ซึ่งมีความก้าวหน้าอย่างมากแม้จะจัดตั้ง
ขึน้ ในระยะเวลาเพยี งสองปเี ศษ จึงเปน็ เครอ่ื งสะท้อนความต้ังใจของทุกฝ่ายท่จี ะร่วมกนั สบื สานแนวพระราชดำริ


ในฐานะหนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ และสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ
ผมจงึ ขอขอบคณุ ทกุ ๆ ทา่ น พรอ้ มกนั นี้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีความยินดที ่จี ะสนับสนุนงานสบื สาน
แนวพระราชดำริอยา่ งเตม็ กำลงั ความสามารถ


ศาสตราจารย์พิเศษธงทอง จันทรางศ

ปลดั สำนักนายกรฐั มนตรี


15


ความเปน็ มา มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำร

และสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ

สบื สานแนวพระราชดำริ


มติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เห็นชอบให้สำนักงาน
ปลดั สำนักนายกรฐั มนตรี ดำเนินการจดั ตงั้   “มูลนิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำร”ิ
และ “สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ” มีการ

จดทะเบยี นจดั ตงั้ มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๕๓





พันธกิจ


จดั การความรแู้ ละสง่ เสรมิ การพฒั นาตามแนวพระราชดำรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ และพระบรมวงศานวุ งศ์ โดยเชอื่ มโยงองค์ความรแู้ ละ
บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานสืบสานแนวพระราชดำริต่าง ๆ ภาครัฐ เอกชน วิชาการ
ทอ้ งถิน่ ชุมชน และประชาสังคม เพอื่ ใหเ้ กิดการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา จนเปน็ แนวทางหลกั
ในการพัฒนาประเทศอย่างเป็นระบบและยั่งยืน


 


วัตถปุ ระสงค์


๑. จดั ตง้ั และสนบั สนนุ การดำเนนิ งานของสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ 
สืบสานแนวพระราชดำริ ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติของมูลนิธิ ให้ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล
ประสิทธภิ าพ สอดคลอ้ งกบั เจตนารมณแ์ ห่งการจัดต้ัง


๒. ใหส้ ถาบนั โดยมมี ูลนธิ ิ สนบั สนุนใหท้ ุนดำเนนิ งาน มีวัตถุประสงค์ ดงั น
ี้
๒.๑) สนบั สนนุ สง่ เสรมิ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการแกไ้ ขปญั หาและการพฒั นา แกอ่ งคก์ ร
ชมุ ชน ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ
ภาคธรุ กจิ ในการดำเนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกบั มติ กิ ารพฒั นาตามแนวพระราชดำริ เพอ่ื ใหป้ ระชาชน
มีชวี ิตความเป็นอยทู่ ีด่ ีข้นึ รวมถงึ สง่ ผลตอ่ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

๒.๒) สนับสนุนการจัดการความรู้ตามแนวพระราชดำริ โดยประสานความร่วมมือกับ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนา โครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง
โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คลงั ความรู้ การยกระดบั
ความรู้ การต่อยอดชุดความรู้ใหม่ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาในและนอกระบบ ตลอดจน
การขยายผลเชอ่ื มโยงสกู่ ารนำไปปฏบิ ัติอย่างกวา้ งขวาง

๒.๓) ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ ภารกิจและกิจกรรมของสถาบัน กับแผนชุมชน
แผนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แผนพัฒนาจังหวัด แผนหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง และ
นโยบายรัฐบาล


16

๒.๔) สนับสนุน สง่ เสริม แนะนำ และช่วยเหลอื องค์กรชุมชน ประชาสงั คม องคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพ่ือให้
น้อมนำแนวพระราชดำริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาทุกระดับ
ของประเทศ


๒.๕) สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือดำเนินการตามแนวพระราชดำริ
อยา่ งต่อเน่อื ง


๓. เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษา และทัศนศึกษาที่เกี่ยวกับการนำแนวพระราชดำริ
ไปประยกุ ตใ์ ชแ้ ละขยายผลสชู่ ุมชน


๔. เพ่ือส่งเสริมการประสานการดำเนินงานร่วมกับองค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอ่ื กจิ กรรม
พฒั นาและกจิ กรรมสาธารณประโยชน์


๕. ไม่ดำเนินการเกย่ี วขอ้ งกบั การเมอื งแต่ประการใด




ผลผลิตจากการดำเนนิ งาน


๑. เกิดแนวทางท่ีหลากหลายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศตามภูมิสังคมอย่าง

ยง่ั ยืนตามแนวพระราชดำริ


๒. เกิดการมีส่วนร่วมจากภาคีทุกภาคส่วนในการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์
สาขาตามแนวพระราชดำริ


๓. เกิดการรบั รู้ เข้าใจ และความรว่ มมอื สนบั สนนุ จากภาครัฐ วิชาการ เอกชน ท้องถิ่น
ชุมชน  ประชาสังคม และนานาชาติ ในการร่วมสร้างภูมิคุ้มกันและร่วมแก้ไขปัญหาพื้นฐาน

ท่สี ำคญั ของประเทศตามแนวพระราชดำริ





17


คณะกรรมการ

คณะกรรมการมลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ

สืบสานแนวพระราชดำร


ในการประชุมคณะผู้ก่อตั้งมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ เมื่อวันท่ี ๕
มกราคม ๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณาผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสาน
แนวพระราชดำริ ซ่ึงท่ีประชุมมีมติเห็นชอบให้ตั้งกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ดังม

รายนามของกรรมการ ดงั น
ี้

นายเกษม วฒั นชัย
ประธานกรรมการ


นายสเุ มธ ตันติเวชกุล
นายจิรายุ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา
ทา่ นผหู้ ญงิ บุตรี วรี ะไวทยะ

กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ


ทา่ นผู้หญงิ จรงุ จิตต์ ทีขะระ
นายจตุรงค์ ปัญญาดลิ ก
นายวริ ไท สันติประภพ

กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเหรัญญิก


หม่อมราชวงศ์ดิศนดั ดา ดิศกลุ

กรรมการและเลขาธกิ าร


18

คณะกรรมการสถาบนั ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรม

ปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ




ในการประชุมคณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ครั้งท่ี ๑/๒๕๕๓ เม่ือวันท่ี ๑๕
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ และครั้งท่ี ๒/๒๕๕๓ เม่ือวันท่ี ๘ เมษายน ๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณา

แต่งต้ังกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ จำนวน ๑๖ คน และ
คณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้มีมติเมื่อวันท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เห็นชอบ

ให้แตง่ ตั้งกรรมการสถาบันฯ เพ่มิ อกี จำนวน ๒ คน ดงั มีรายนามคณะกรรมการฯ ดังน้ี



๑. หม่อมราชวงศด์ ศิ นดั ดา ดศิ กุล ประธานกรรมการ

๒. ท่านผหู้ ญงิ บุตรี วีระไวทยะ รองประธานกรรมการ

๓. นายสเุ มธ ตนั ติเวชกุล กรรมการ

๔. นายจริ ายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา กรรมการ

๕. ท่านผู้หญงิ จรงุ จติ ต์ ทีขะระ กรรมการ

๖. นายวริ ไท สันติประภพ กรรมการ

๗. ปลัดสำนกั นายกรฐั มนตร ี กรรมการ

๘. ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ

๙. ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ กรรมการ

๑๐ ปลดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม กรรมการ

๑๑. ประธานคณะกรรมการสถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน กรรมการ

(องคก์ ารมหาชน)

๑๒. เลขาธิการคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการ กรรมการ

อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ (กปร.)

๑๓. ผู้บัญชาการทหารบก กรรมการ

๑๔. นายกสมาคมองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั แห่งประเทศไทย กรรมการ

๑๕. นายกสมาคมสนั นิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย กรรมการ

๑๖. นายกสมาคมองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลแห่งประเทศไทย กรรมการ

๑๗. นายกสมาคมกำนนั ผ้ใู หญ่บ้านแห่งประเทศไทย กรรมการ

๑๘. ผู้อำนวยการสถาบันสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรม กรรมการและเลขานุการ

ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ




19


หลกั การดำเนินงานและแนวทางปฏิบตั งิ าน







มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ มีหลักในการดำเนินงานและแนวทาง


การปฏิบัติงาน โดยการน้อมนำเอาองค์ความรู้ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาปฏิบัติ


ยึดหลักการทรงงานของพระองคท์ ่าน ดังนี้


๑. หลกั การองค์ความรู้ ๖ มิติ คอื มติ ิด้านนำ้ ดา้ นดิน ด้านเกษตร ด้านพลังงานทดแทน

ด้านป่าและด้านส่ิงแวดล้อม โดยปรับให้สอดรับเป็นไปตามสภาพของภูมิสังคมและพื้นท่


ท่ีมีปัญหาความยากจน เช่ือมโยงความรู้ไปสู่การแก้ไขปัญหาและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา


ให้เป็นไปไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื


๒. หลักการพัฒนา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ต้องมีการทำความเข้าใจในชุมชน เข้าใจ


ในสภาพพ้ืนทแี่ ละภมู ิสังคม การเขา้ ถงึ ข้อมลู การเกบ็ ข้อมลู ทเ่ี ปน็ จริงและนำข้อมูลมาวเิ คราะห์

แล้วจึงเร่ิมการพัฒนาโดยการนำองค์ความรู้ให้ชาวบ้านลงมือทำด้วยตนเอง ปิดทองหลังพระฯ

เปน็ ผ้เู ช่อื มความรู้จากหน่วยงานท่มี อี งค์ความรู้ จากครภู ูมปิ ญั ญา ไปใหก้ บั ชาวบา้ น


๓. หลกั การทรงงาน ๒๓ ขอ้





หลักการทรงงาน





๑. จะทำอะไรตอ้ งศึกษาข้อมลู ใหเ้ ป็นระบบ ๒. ระเบิดจากภายใน


๓. แก้ปญั หาจากจุดเล็ก ๔. ทำตามลำดับขัน้


๕. ภูมสิ ังคม ๖. ทำงานแบบองค์รวม


๗. ไมต่ ดิ ตำรา ๘. ประหยดั


๙. ทำให้ง่าย ๑๐. การมีสว่ นรว่ ม


๑๑. ต้องยดึ ประโยชน์สว่ นรวม ๑๒. บริการท่ีจุดเดยี ว


๑๓. ใชธ้ รรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ ๑๔. ใช้อธรรมปราบอธรรม


๑๕. ปลกู ป่าในใจคน ๑๖. ขาดทุนคอื กำไร


๑๗. การพง่ึ ตนเอง ๑๘. พออยพู่ อกิน


๑๙. เศรษฐกจิ พอเพียง ๒๐. ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต จริงใจต่อกนั


๒๑. ทำงานอยา่ งมีความสขุ ๒๒. ความเพยี ร


๒๓. รู้ รกั สามคั ค





20


กรอบการดำเนนิ งานตามมติคณะกรรมการ





คณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้วางกรอบการดำเนินงานของสถาบันส่งเสริม

และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลงั พระฯ ไวด้ ังน้


๑. นำเสนอแผนดำเนินงาน ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาความ
ยากจน การส่งผลผลิตจำแนกกลุ่มเป้าหมายเป็น ๒ ระดับ ระดับศูนย์ศึกษาการพัฒนา
โครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการอนั เนือ่ งมาจาก
พระราชดำริ และระดับองคก์ รชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน องค์กรภาครัฐ
องคก์ รทางสงั คม สถาบันวิชาการ ภาคธรุ กจิ


๒. แผนงบประมาณจะจำแนกเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับแผนงาน ระดับโครงการ และ
ระดับกจิ กรรม โดยระดบั แผนงานจะสอดคลอ้ งกับผลผลติ ทกี่ ำหนดไว้


๓. จำแนกแผนงานออกเป็น ๔ แผนงาน คือ

๓.๑ งานจัดการความรู้ ประกอบด้วย การรวบรวมองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำร

เป็นคลังความรู้ การนำองค์ความรู้จากโครงการพระราชดำริ ไปช่วยแก้ไขปัญหาให้ชาวบ้าน

การจัดทำคู่มือ ข้ันตอนการพัฒนาและการบริหารโครงการ การติดตามประเมินผล เพ่ือเป็น
ตัวอย่างสำหรับโครงการขยายผลในพ้ืนท่ีอ่ืน ๆ การจัดทำความรู้พร้อมใช้ท่ีประชาชนสามารถ

นำไปปรับใช้กับภูมิสังคมได้ การเชื่อมโยงองค์ความรู้โดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง

ชาวบ้าน ผูน้ ำชมุ ชน ปราชญ์ชาวบา้ น และผเู้ ช่ยี วชาญ การเชื่อมความรจู้ ากสถาบันการศึกษา

สชู่ มุ ชน โดยมีความรว่ มมอื ในรปู แบบตา่ งๆ กับสถาบันอดุ มศกึ ษา


21

๓.๒ งานส่งเสริมการพัฒนา ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการบูรณาการระดับพ้ืนที่
และโครงการพัฒนาระบบความร่วมมือภาคีเครือข่ายสืบสานแนวพระราชดำริ มุ่งส่งเสริมความ
ร่วมมือกับภาคีพัฒนาทุกภาคส่วน ในการแก้ไขปัญหาความยากจน ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม โดยต้องนำไปสู่การพัฒนาท่ียั่งยืนตามแนวพระราชดำริ สนับสนุนให้ชุมชน
ท้องถ่ิน ร่วมเป็นกลไกขับเคล่ือนหลัก และเป็นเจ้าของการพัฒนา ท้ังน้ีการพัฒนาน้ันต้อง
สอดคล้องกับภูมิสังคมและสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคี
พฒั นา ท้งั หน่วยงานพื้นที่ หนว่ ยงานภารกิจ หนว่ ยงานนโยบาย และทอ้ งถนิ่ ชุมชน องคก์ ร
ทางสังคม เพ่ือให้มีโครงการต้นแบบการพัฒนาอย่างเหมาะสม และสนับสนุนให้มีโครงการ
ขยายผลในระดับจังหวัด โดยมีแนวทางหลักคือ ควรเป็นพื้นท่ีที่มีการต่อยอดโครงการท่ีชุมชน
ได้ดำเนินการตามแนวพระราชดำริอยู่แล้ว หรือชุมชนมีความเข้มแข็งและต้องการดำเนินการ
ตามแนวพระราชดำริ และควรกระจายตัวตามภมู ิภาคตา่ ง ๆ ไม่ซำ้ พน้ื ท่ีเดมิ


๓.๓ งานสื่อสารและภาคีสัมพันธ์ ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการรับรู้และเข้าใจ

แนวพระราชดำริของประชาชน ส่ือมวลชน ส่งเสริมการส่ือสารเพ่ือการรับรู้เข้าใจ การปรับ
ทัศนคติ ทั้งในระดับส่วนกลาง ระดับจังหวัด และชุมชน ตลอดจนบทบาทในการเชื่อมโยง
สื่อมวลชนเรียนรู้ชนบท นำสื่อมวลชนลงพื้นที่ต้นแบบและพื้นท่ีขยายผลปิดทองหลังพระฯ การ
เผยแพรก่ จิ กรรมของมลู นิธปิ ิดทองหลงั พระฯ ให้เป็นทร่ี บั รขู้ องสาธารณชน


๓.๔ งานบริหารจดั การสำนกั งาน ประกอบด้วย การติดตามสนบั สนนุ งานฝ่ายต่าง ๆ

และงานโครงการอย่างต่อเน่ือง การบริหารการเงิน ควบคุม ดูแลค่าใช้จ่าย จัดทำงบการเงิน

ประจำปี การบริหารสำนักงาน อำนวยความสะดวกต่อการทำงาน การติดตามประเมินผล

โดยการพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดประชุมคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ งาน
ธรุ การต่าง ๆ


คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว

พระราชดำริ เห็นชอบกบั การทำยทุ ธศาสตร์การดำเนนิ งาน ดงั น
้ี

22

วสิ ัยทัศน์




เป็นองคก์ รขับเคลอ่ื นการพฒั นาประเทศ โดยขยายผลแนวพระราชดำริใหเ้ กิดประโยชน์แก่

ประชาชนอย่างกวา้ งขวาง

กลยทุ ธห์ ลัก “เชอื่ มโยง และ ร่วมเรียนรู้” (Link & Learn)


ยุทธศาสตร์


๑. สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการ ๒. พฒั นาโครงการ ๓. สร้างภาคีแนวร่วม
๔. ส่อื สารกับภาคพี ฒั นา
๕. พฒั นาระบบบรหิ าร
พฒั นาเชงิ พื้นท่ีแบบบูรณา ขยายผล (Extension และสาธารณชน
จดั การองค์กร

การ (Area based project)

project)


ค่านิยมรว่ ม (shared value) ๑) ศรทั ธาในแนวพระราชดำริ ๒) เชอ่ื ในพลังของการเรียนรู้ ๓) ขบั เคลื่อนดว้ ย
ความรว่ มมือของท้องถ่นิ /ชุมชน ๔) ประชาชนตอ้ งไดร้ บั ประโยชน์จากการดำเนินงานขององค์กร


ยทุ ธศาสตร์


๑.
๒.
๓.
๔.
๕.

สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ
พฒั นาโครงการ
สรา้ งภาคแี นวรว่ ม
สอื่ สารกบั ภาคพี ฒั นา
พฒั นาระบบบรหิ าร
การพฒั นาเชงิ พนื้ ท่ี

แบบบรู ณาการ
ขยายผล

และสาธารณชน
จดั การองคก์ ร

(Area based project)
(Extension project)


ประเด็นยุทธศาสตร์


๑. สรา้ งพื้นทต่ี ้นแบบ
๑. ชมุ ชนได้ความร้ทู ส่ี ามารถ
๑. เพ่ิมหน่วยงานองค์กร
๑. ให้สาธารณชนรบั รวู้ ่า
๑. พฒั นากระบวนการหลกั

การบรู ณาการเช่ือมโยง
นำไปประยกุ ตใ์ ช้ได้เรว็
ท่จี ะเปน็ แนวรว่ มเชิง
แนวพระราชดำรสิ ามารถ
เพื่อรองรับการทำงานทั้ง
ความรู้มาใช้แก้ปัญหาได้ ๒. ชุมชนสามารถ แบ่งปนั
ยทุ ธศาสตร์กบั สถาบนั ฯ
แก้ปญั หาและพัฒนาชวี ิต
๔ ด้านใหร้ วดเร็ว ถกู ตอ้ ง

จรงิ
แลกเปล่ียน เรียนรู้ การแกไ้ ข
๒. มีโครงการความร่วม ความเปน็ อยไู่ ด้จรงิ
๒. พัฒนาระบบสารสนเทศ
๒. มีระบบบการบริหาร
ปัญหาและพัฒนารว่ มกับ
มือกับหนว่ ยงานภาค
ี ๒. ให้ภาคีรบั รู้ เขา้ ใจ และ
และฐานขอ้ มลู

การพฒั นาโดยความ
ชุมชนอ่นื
ขยายผลส่กู ารปฏบิ ตั จิ ริง ๓. พฒั นาทักษะบุคลากร

ร่วมมอื หลายฝา่ ย
๓. เกดิ อปท.นำรอ่ งทีม่ ี
ในการทำงาน

ความพร้อมในการขยายผล

ความสำเรจ็



23


การดำเนนิ งานพนื้ ทตี่ ้นแบบและพ้นื ทขี่ ยายผล

ปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ





 หลกั การพจิ ารณาพนื้ ท่ีปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำร

หลักการดำเนินงานพิจารณาและแก้ไขพื้นที่ปิดทองหลังพระฯ เน้นการพัฒนาชุมชน

ตามหลักการองคค์ วามรู้ใน ๖ มติ ิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ไดแ้ ก่ นำ้ ดนิ เกษตร
พลังงานทดแทน ป่า และส่ิงแวดล้อม นำองค์ความรู้ ๖ มิติลงไปทำให้สำเร็จในหมู่บ้าน

และมององค์รวมในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยจะปรับน้ำหนักของแต่ละเร่ืองตาม
สภาพภูมิสังคมและสภาพปัญหาของชุมชนในแต่ละพื้นท่ี ซึ่งความรู้ทั้ง ๖ มิติ ก็จะมีลักษณะ

ที่แตกต่างกนั เชน่ มติ นิ ำ้ จะเน้นการพัฒนาแหลง่ น้ำ การเก็บน้ำใหอ้ ยู่ในประเทศได้นานทีส่ ุด
(โดยไม่ท่วม) และการใชน้ ำ้ ทกุ หยดใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ จงึ ไมใ่ ชอ่ งคค์ วามรเู้ ชงิ เดย่ี ว แตเ่ ปน็
ความรเู้ ชงิ ซอ้ น คือ ๑) ความร้จู ากโครงการพระราชดำริ ๒) ความรู้จากครูภมู ิปัญญาชาวบา้ นที่
นำไปทำสำเร็จ ๓) ความรู้สากล ความรู้ด้านวิชาการจากหน่วยราชการและสถาบันการศึกษา
โดยปิดทองหลงั พระฯ จะประสานความรทู้ งั้ ๓ สว่ นใหเ้ ขา้ กบั ภมู สิ งั คมในแตล่ ะพน้ื ที่ เพอื่ นำไปสู่
การพฒั นา ชุมชนอย่างย่ังยืนตามแนวพระราชดำริ โดยเน้นให้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง และชาว
บ้านร่วมคิดร่วมทำและเป็นเจ้าของในทุกกิจกรรม ชุมชนต้องเป็นผู้นำในการพัฒนา ทุก
กิจกรรมต้องเกิดจากความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง แล้วพัฒนาไปอย่างเป็นข้ันเป็นตอน
กล่าวคือ ขนั้ แรก ต้องใหอ้ ยรู่ อด (Survive) มอี ยมู่ ีกิน มอี าหารกินตลอดปี โดยไมต่ อ้ งไปกู้มา
ซอื้ อาหารกนิ จนนำไปสขู่ ้ันท่สี อง คอื ความพอเพียง (Sufficient) มรี ายได้สม่ำเสมอตลอดทัง้ ปี

24

อยู่สบายขึ้นโดยเฉพาะอย่างย่ิงใช้หนี้หมด จนพัฒนาสู่ข้ันที่สาม คือ การดำรงชีวิตและ

การพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างย่ังยืน (Sustainable) มีเงินออม มีความรู้เป็นเหตุ เป็นผล

มีภูมิคุ้มกัน มีการรวมกลุ่มอาชีพ และที่สำคัญ จะต้องให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจ

ด้วยตนเองตั้งแต่เริ่มโครงการ หรือตามหลักการทรงงาน “การระเบิดจากข้างใน” คือ ชุมชน

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นผู้กำหนดวิถีทางของตนเอง เพื่อเลือกแนวทางการพัฒนาและพร้อมรับ
กระแสของการพัฒนาจากภายนอกท่ีจะเข้ามาในอนาคต




 การดำเนนิ งานพื้นท่ตี ้นแบบและพื้นท่ีขยายผลปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ

การดำเนินงานพื้นท่ีต้นแบบและพ้ืนที่ขยายผลปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
เร่ิมจากคณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ เห็นชอบให้จัดทำ
โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่จังหวัดน่าน ตามแนว

พระราชดำริ เพ่ือเป็นต้นแบบในการแก้ไขปัญหาความยากจนและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม โดยสืบสานแนวพระราชดำริไปปฏิบัติงานจริงในพื้นที่หมู่บ้าน เร่ิมตั้งแต่เดือน
มิถุนายน ๒๕๕๒ โดยมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นภาคีเครือข่ายดำเนินงาน

ในพืน้ ท่จี งั หวดั น่าน น้อมนำองค์ความรู้ ๖ มติ ิ ได้แก่ นำ้ ดนิ เกษตร พลังงานทดแทน ปา่

สิ่งแวดลอ้ ม ทีส่ อดคล้องกับภมู ิสังคมของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั องคค์ วามร้ขู องสมเดจ็
พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เร่ืองการขุดนาขั้นบันได และประสบการณ์จากโครงการ
พัฒนาดอยตุงฯ ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มาประยุกต์ใช้แก้ไขปัญหาความ
ยากจน ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม และการบริหารจดั การ ในพืน้ ท่ีลุ่มน้ำจิว๋ ๑๙
หมู่บ้าน ของอำเภอสองแคว ท่าวังผา และเฉลมิ พระเกียรติ เพอื่ ให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่ประชาชน
๑,๗๙๓ ครัวเรอื น

ต่อมา ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๓ คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทอง
หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ได้มีมติการประชุมอนุมัติให้ดำเนินงาน “โครงการบริหาร
จัดการน้ำอย่างยั่งยืน อ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ” ตำบลกุดหมากไฟ
อำเภอหนองวัวซอ จังหวดั อุดรธานี ตามขอ้ เสนอมลู นิธิชยั พัฒนาทค่ี ัดเลอื กอ่างเกบ็ น้ำโครงการ
พระราชดำรทิ ยี่ งั ใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไมเ่ ตม็ ที่ โดยเปน็ พนื้ ทต่ี น้ แบบปดิ ทองหลงั พระฯ ทบ่ี รู ณาการ
ทำงานระหวา่ งหนว่ ยงานสบื สานแนวพระราชดำริ หนว่ ยงานราชการ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
สถาบนั การศกึ ษาภาคเอกชน ในการบรหิ ารจดั การแหลง่ นำ้ ตน้ ทนุ ทมี่ อี ยใู่ นพน้ื ทใ่ี หเ้ กดิ ประโยชน์
สูงสดุ โดยเช่ือมโยงกับกจิ กรรมการพัฒนาทั้ง ๖ มติ อิ ยา่ งครบวงจร


25

จากการดำเนนิ งานโครงการตน้ แบบฯ ทจี่ งั หวดั นา่ นและจงั หวดั อดุ รธานี เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
ทางสังคม (Social Lab) ทห่ี นว่ ยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
ภาคเอกชนและประชาชน มาเรียนรู้เร่ืองการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ เข้าใจ เข้าถึง
และพัฒนา ที่ยึดถือปัญหาและความต้องการท่ีแท้จริงของประชาชนในระดับหมู่บ้าน โดยทุก
กิจกรรมการพัฒนา ประชาชนมีสว่ นร่วมคดิ รว่ มทำ และเปน็ เจา้ ของ


การประชุมคณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ โดยมี

ผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กองทัพบก เห็นรูปธรรมการดำเนินงานดังกล่าว
จึงมีมติเห็นชอบให้นำปรัชญาและวิธีการทำงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว

พระราชดำริ บรรจใุ นแผนบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘


นอกจากน้ี เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อำนวยการ
สำนักงบประมาณ และเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เห็นด้วยกับ
การนำปรัชญาและวิธีการทำงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ บรรจุใน
แผนบริหารราชการแผ่นดินของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ภายใต้ช่ือเดียวกันว่า
“แผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ประยุกต์ตามพระราชดำริ” และคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาอนุมัติ

เม่ือวันท่ี ๖ กันยายน ๒๕๕๔ โดยมีพ้ืนท่ีดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ จำนวน

๑๐ จังหวัด ๑๘ หมู่บ้าน ประกอบด้วย จังหวัดเชียงใหม่ (๒ หมู่บ้าน), จังหวัดเชียงราย

(๒ หมู่บ้าน), จังหวัดพิษณุโลก (๒ หมู่บ้าน), จังหวัดน่าน (๔ หมู่บ้าน), จังหวัดเลย

(๑ หมบู่ ้าน), จงั หวัดสิงหบ์ ุรี (๑ หมบู่ า้ น), จังหวัดตราด (๑ หมู่บา้ น), จังหวัดประจวบครี ีขันธ์
(๒ หมู่บา้ น), จังหวัดเพชรบรุ ี (๒ หมู่บ้าน) และจังหวดั ยะลา (๑ หมบู่ า้ น) เป็นการทำงาน


26

ร่วมกับทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดและระดับอำเภอที่ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง เป็นหลักใน

การทำงานร่วมกับชาวบ้าน โดยมีสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ เป็น

พ่ีเลี้ยงสนับสนุนการทำงาน ซ่ึงมีขั้นตอนสร้างความเข้าใจ เข้าถึง และการจัดทำแผนพัฒนา
ชนบทเชิงพน้ื ทป่ี ระยุกต์ตามพระราชดำริ ๗ ข้ันตอน ดังน้ี


๑. การทำความเข้าใจ เพ่ือช้ีแจงแนวทางดำเนินงานและวางแผนการทำงานในพ้ืนที

ขยายผลปิดทองหลังพระฯ จำแนกเป็น ๓ ระดับ คือ ๑) ทำความเข้าใจคณะทำงานระดับ
จังหวดั ๒) ทำความเขา้ ใจทมี ปฏบิ ตั กิ ารระดับอำเภอ ๓) ทำความเขา้ ใจชาวบา้ นในพ้นื ท่ี เพือ่
ให้เข้าใจปรชั ญาและแนวทางมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระฯ คอื


๑) น้อมนำหลักการทรงงาน/โครงการพระราชดำริมาประยุกต์ใช้การพัฒนาหมู่บ้าน

๒) ยดึ องค์ความร้ตู ามพระราชดำริ ๖ มิติ นำ้ ดนิ เกษตร พลงั งานทดแทน ป่า ส่ิงแวดลอ้ ม

ท่ีสอดคล้องกับภูมิสังคม ๓) รับฟังปัญหาและความต้องการท่ีแท้จริงของประชาชน โดยให้มี
สว่ นรว่ มคดิ รว่ มทำ รว่ มเปน็ เจา้ ของ ๔) บรู ณาการทำงานทกุ สว่ น มตี วั ชวี้ ดั “ชาวบา้ นไดอ้ ะไร”
ระดับอยรู่ อด พอเพยี ง และยั่งยนื พึ่งพาตนเอง ในขน้ั ตอนนีใ้ ชเ้ วลาดำเนนิ การนานพอสมควร
เน่ืองจากเป็นการเปล่ียนกระบวนทัศน์ในการมองปัญหา/การพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน

กลุม่ ชาวบ้าน ท่ีจะต้องสรา้ งความเช่ือม่นั ว่าตนเองจะสามารถเปลี่ยนความคิดได


27

๒. การสำรวจและวเิ คราะห์ข้อมูลของหมูบ่ า้ นในทุกมิติ ประกอบดว้ ย ขอ้ มูล ๔ ด้าน คอื

• ข้อมูลด้านกายภาพ เช่น ท่ีต้ัง สภาพชุมชน การใช้ที่ดิน สภาพป่าไม้ แหล่งน้ำ

ระบบนเิ วศ

• ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ รายได้ รายจ่าย หน้ีสิน ทรพั ยส์ ิน เงินออม อาชพี

• ข้อมูลด้านสังคม เช่น ปัญหาสุขภาพอนามัย การศึกษา และพบสิ่งท่ีควรนำมา

วเิ คราะห์ คอื ปญั หาชอ่ งวา่ งทางความคดิ ระหวา่ งวยั ชาวบา้ นทม่ี อี ายตุ ำ่ กวา่ ๒๕ ป

สว่ นใหญ่ไม่มคี วามคิดท่ีจะสบื ทอดการทำการเกษตร และเป็นพวกบริโภคนยิ ม

• ปัญหาและความต้องการของชุมชนใน ๖ มิติ น้ำ ดิน เกษตร พลังงานทดแทน

ปา่ ไม้ สิง่ แวดลอ้ ม

๓. การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชาวบ้าน กระบวนการสำคัญคือนำข้อมูล

ที่วิเคราะห์แล้วของหมู่บ้าน มาแสดงให้ชาวบ้านตรวจสอบความถูกต้อง ทั้งด้านกายภาพ
เศรษฐกิจ สงั คม และร่วมพูดคยุ สาเหตุของปัญหาแต่ละเรอ่ื ง จดั ลำดบั ความสำคัญของปญั หา
ซึ่งประเด็นปัญหาหลักท่ีพบในทุกพ้ืนที่ คือ การขาดแคลนน้ำ การบริหารจัดการน้ำ นำไปสู่
ผลผลิตทางการเกษตรที่ไม่เพียงพอ ปัญหาด้านสุขอนามัย ต้นทุนการผลิตสูง เป็นวงจรของ

การเกดิ หน้สี ิน ขาดความร้ดู ้านการกระจายสนิ คา้ เป็นตน้


28

๔. จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อแก้ปัญหาชุมชน คณะทำงานระดับอำเภอ
จังหวัด นำผลการวิเคราะห์ปัญหาชุมชนมาจัดทำเป็นร่างแผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีฯ ตาม
ภารกิจของหน่วยงาน โดยยึดหลักการทรงงาน ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด

ชาวบ้านมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมเป็นเจ้าของ สามารถวัดผลได้ที่ชาวบ้านได้อะไรในแต่ละ
กจิ กรรม


๕. ทำแผนชวี ติ ชมุ ชน เพอื่ กระตนุ้ ใหช้ าวบา้ นคดิ แผนการเพาะปลกู ชนดิ ของพชื ระยะเวลา
การเล้ียงสัตว์ การใช้วัตถุดิบท้องถิ่นเป็นอาหารต้นทุน และช่องทางการตลาด ความต้องการ

แกป้ ัญหาของตนเอง โดยคดั เลือกครวั เรอื นต้นแบบในการขยายผลใหก้ ับครวั เรอื นอ่นื ๆ เฉลี่ย
๑๐-๑๕ ครัวเรือน/หมู่บ้าน


๖. บูรณาการแผนชวี ิตชมุ ชนกบั แผนของส่วนราชการ นำแผนชีวิตชุมชนที่เสนอโดยชมุ ชน
มาเสนอพิจารณาร่วมกับร่างแผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ฯ ของส่วนราชการ เพื่อปรับให้
สอดคล้องกัน โดยมีเป้าหมายให้ชาวบ้านลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ลดความเส่ียง โดยใช้

หลักการทรงงาน “ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด” ชาวบ้านบริหารจัดการได้เอง

แบบการรวมกลุ่ม


๗. จัดทำแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำริ ทีมปฏิบัติการพื้นที่ระดับ
จังหวดั และระดับอำเภอ บูรณาการแผนงานและงบประมาณ หนว่ ยงานราชการ แผนพฒั นา
จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ระบุผู้รับผิดชอบหน่วยงานราชการและชาวบ้านและ

เช่ือมโยงทุกกิจกรรมในองค์ความรู้ ๖ มิติ ตามแนวพระราชดำริ ท่ีสอดคล้องปฏิทินในรอบปี
การเพาะปลูกของชาวบ้านในแตล่ ะพืน้ ที่


29

 ความก้าวหนา้ พืน้ ที่ต้นแบบ




๑. โครงการพัฒนาพื้นทต่ี ้นแบบบรู ณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ จังหวัดน่าน

ได้เร่ิมดำเนินงานตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ ต้ังแต่กระบวนการคัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย การสร้าง
ความเขา้ ใจ การเข้าถงึ ทัง้ หน่วยงานระดับนโยบาย ระดับจังหวัด ระดบั ทอ้ งถิ่น ตลอดจนภาค
ประชาสังคมและชุมชนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนาท่ีจังหวัด รวมท้ังการส่งเสริมการพัฒนา
ตามแนวพระราชดำรทิ ง้ั ในเรอ่ื งการพฒั นาระบบนำ้ การปรบั ปรงุ ดนิ ใหเ้ หมาะสมกบั การเพาะปลกู
การขดุ นาขนั้ บนั ได การสง่ เสรมิ อาชพี เกษตรกร การทำนา และการปลกู พชื หลงั นา การสง่ เสรมิ
กองทุนต่างๆ เชน่ กองทุนปศุสตั ว์ กองทนุ เมลด็ พนั ธ์ุพืช เป็นต้น ซง่ึ รวมระยะเวลาเกือบ ๒ ปี
ถือว่าอยู่ในระดับอยู่รอดตามทิศทางการพัฒนา ที่ต้องการทำให้ประชาชนพ้นจากความ
อดอยาก ไม่ต้องกู้กิน กู้ใช้ มีอาหารให้กินตลอดปี พ้นจากความเจ็บไข้ แต่อาจจะยัง

มหี นสี้ ินเดมิ อยู่ นน้ั

การดำเนนิ งานในปี ๒๕๕๔ ทมี ปฏบิ ัติการภาคสนามมูลนิธิแมฟ่ ้าหลวงฯ ท่สี ถาบนั ส่งเสรมิ
และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้เช่ือมโยงองค์ความรู้ให้ดำเนินงานในพ้ืนท่ีจังหวัดน่าน
ได้ถ่ายโอนภารกิจ พร้อมทั้งพัฒนาบุคลากรซึ่งเป็นคนในท้องถิ่นจังหวัดน่าน ๕๔ คน เป็น

อาสาสมัครทำงานต่อเน่ืองในพื้นที่ ให้สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ

โดยมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ ยังคงให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำเมื่อเกิดปัญหาอุปสรรค นอกจากนี้
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้ปรับโครงสร้างรองรับการดำเนินงาน
ของพ้ืนที่ ดังนี


30

• อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ แบ่งเปน็ ๓ โซน ไดแ้ ก

- พื้นทท่ี ำงานพ้นื ทต่ี น้ แบบ ๖ บ้านบน ไดแ้ ก่ บา้ นเปียงซอ้ บ้านบวกอ้มุ บ้านสะจุก

บ้านสะเกย้ี ง บ้านหว้ ยเตย๋ บา้ นห้วยฟอง

- พน้ื ทต่ี น้ แบบ ๔ บา้ นกลาง ไดแ้ ก่ บา้ นนาคุ บา้ นเปยี งก่อ บ้านบวกหญ้า บ้านดา่ น

- พ้นื ทต่ี ้นแบบ ๓ บ้านลา่ ง ไดแ้ ก่ บา้ นนำ้ รี บ้านน้ำชา้ ง บ้านห้วยกานต์

• อำเภอทา่ วงั ผา มพี น้ื ทต่ี น้ แบบ ๓ หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ บา้ นนำ้ ปา้ ก บา้ นหว้ ยมว่ ง บา้ นหว้ ยธน

• อำเภอสองแคว มีพ้ืนทต่ี ้นแบบ ๓ หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่ บา้ นยอด บ้านผาหลกั บา้ นนำ้ เกาะ

การดำเนนิ งานมีความกา้ วหนา้ ดงั นี

๑) ผลการดำเนินงานตามกจิ กรรมการพฒั นา


แผนงานหลัก/กิจกรรมหลัก หน่วย อ.เฉลิม พน้ื ทีป่ ฏบิ ัติงาน รวม
พืน้ ที่ปฏิบัตงิ าน ครัวเรือน พระเกยี รติ ๓.๐๙๒
อ.ทา่ วงั ผา อ.สองแคว

๒,๐๕๔ ๔๓๔ ๖๐๔

ด้านการจัดการแหล่งนำ้ พัฒนาฝายตน้ แบบ
ในรูปแบบต่างๆ

๑. สร้างฝายน้ำการเกษตร แหง่ ๑๔๖ ๑๓ ๑๕ ๑๗๔

๒. ปรับปรุงฝายน้ำเกษตร แห่ง - ๔ - ๔

๓. ฝายน้ำอนุรกั ษ์ แห่ง ๙๘๓ ๘๔๖ ๓๕๐ ๒,๑๗๙

๔. ฝายอุปโภคบรโิ ภค แหง่ - ๒ - ๒

พัฒนาระบบตน้ แบบการส่งและกกั เกบ็ น้ำ

๑. ปรบั ปรุงระบบนำ้ เพื่อการอปุ โภคบรโิ ภค เมตร ๓๕๐ ๔,๗๐๐ ๒,๖๑๒ ๗,๖๖๒
เมตร ๒๖,๕๒๘ ๒๗,๓๑๕ ๒๒,๐๖๒ ๗๕,๙๐๕
๒. ระบบท่อส่งนำ้ (ระบบจา่ ยบ่อพวงเข้าพืน้ ท่ี
ระบบจากฝาย ระบบเดมิ ) แห่ง ๘๙ ๗๗ ๔๐ ๒๐๖

๓. บ่อพวงสนั เขา

๔. ระบบคลองส่งนำ้ เมตร ๒,๖๕๐ - ๒,๔๐๐ ๕,๐๕๐

ตัง้ กล่มุ บริหารจดั การระบบน้ำในแปลงเกษตร กล่มุ ๑๓ - - ๑๓

การปรับสภาพพนื้ ทใี่ หเ้ หมาะสมกับการเพาะปลกู ไร่

๑. ขุดนาแบบขั้นบนั ได ไร่ ๗๒๙ ๓๕๔ ๓๖๗ ๑,๔๕๐

๒. พ้ืนท่ีรับน้ำจากระบบน้ำทส่ี ร้างและซ่อมแซม ไร่ - - ๑,๔๓๙ ๑,๔๓๙

๓. ปรบั ปรงุ สภาพดินในพ้ืนท่ีการเกษตร ไร่ ๑,๘๓๖ ๑,๖๒๐ - ๓,๔๕๖

๔. ทดแทนผลผลิตขา้ วเปลือก กก. ๖๕,๐๐๐ - - ๖๕,๐๐๐

31

แผนงานหลัก/กิจกรรมหลกั หน่วย อ.เฉลมิ พื้นทปี่ ฏิบตั งิ าน รวม
พระเกียรติ
จดั ต้งั ตน้ แบบกองทนุ เมล็ดพนั ธ์ุพืช อ.ท่าวงั ผา อ.สองแคว
๑. กองทุนเมลด็ พันธุข์ า้ ว
๒. กองทุนเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ไร่ ไร่ ๖๗๒.๕ ๒๙๙ ๖๑๑ ๑,๕๘๒.๕
- -
๒.๑ เมลด็ พันธุ์ถัว่ เหลือง หลังนา กก. ๑,๓๐๐ ๖๐ ๑,๔๕๐
๒.๒ เมลด็ พนั ธ์ุถว่ั ลสิ ง ไร่ - ๑,๕๐๐ ๒๙๓ ๒,๘๑๐
๒.๓ เมลด็ พนั ธุ์ข้าวโพดรนุ่ ที่ ๑ ไร่ - ๒๗ - ๑,๗๙๓
๒.๔. เมลด็ พันธุง์ าม่อน กก. ๘๐ ๑๕๐
๓ กองทนุ เมล็ดพนั ธุ์พืชผัก ครัวเรอื น ๘๐ - ๖๐๔ ๒๗
๔. กองทนุ พชื เศรษฐกจิ กองทนุ ๗ ๒๑๗ ๖ ๒๓๐
๕. กองทุนพืชหลังนา ไร่ - ๑๑ - ๙๐๑
๖. กองทนุ ปุ๋ย กระสอบ ๓๙๕ ๔๐๕ ๒๔
จดั ต้ังต้นแบบกองทุนปศุสตั ว์   ๒,๐๕๔ ๔๐๕   ๓๙๕
๑. กองทุนสุกร ตัว     ๙๖ ๒,๘๖๔
๒. เกบ็ คนื ลูกสุกร ตัว ๕๗๘ ๑๐๖ ๑๒๔  
๓. กองทนุ สัตวป์ ีก ตวั ๓๓ ๓๐๙ ๔๓๕ ๗๘๐
๔. เก็บคืนผลผลติ สัตวป์ กี ตวั - ๔๕๐ ๔๖๖
๕. กองทนุ ปลา ตัว - - ๘๐,๐๐๐ ๔๓๕
๖. กองทุนยาและสุขภาพสัตว์ ตัว - ๔,๗๓๕ ๔๕๐
๗. กองทนุ อาหารสัตว์ กก. ๓๕,๑๐๐ ๗๘,๘๐๐ ๒ ๑๙๓,๙๐๐
จดั ตงั้ ตน้ แบบกองทนุ หตั ถกรรมและการแปรรปู   ๔๕,๕๓๑ ๙๕๙ ๕๑,๒๒๕
๑. กองทนุ เครือ่ งบดขา้ วโพด เครอ่ื ง ๕,๒๑๓ ๔ ๕,๒๑๙
๒. เตาเผาเศรษฐกิจ ชดุ
๓. หตั ถกรรมจากแหยง่ กลมุ่ ๕ ๓ ๓ ๑๑
๔. แปรรูปมะแข่น กลุ่ม ๒๘๐ ๒๑๗ ๑๕๐ ๖๔๗
๕. กองทุนจอบ ๓.๕ ปอนด์ เลม่ ๓ ๓๖
๖. เตาเผานำ้ ส้มควนั ไฟ ชุด - ๒๒
๗. โรงสีข้าวขนาดเล็ก เคร่ือง - - ๒๐๐ ๒,๐๕๐
๑,๘๕๐ -
๑๑ ๓ - ๑๔
๓ ๓ ๒๘

32

๒) จากการดำเนินงานกิจกรรมข้างต้น โดยมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ และสถาบันส่งเสริมและ

พัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กับอาสาสมัครปิดทองหลังพระฯ

และชาวบ้านในพื้นท่ี พบว่า ในปี ๒๕๕๔ เร่ิมมีกิจกรรมที่ชาวบ้านเข้ามามีบทบาทสำคัญใน



การคิด การลงมือทำด้วยตนเอง โดยมีมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนา

กิจกรรมปดิ ทองหลังพระฯ ช่วยใหค้ ำปรกึ ษา หารอื ตามทต่ี อ้ งการ ดังน
้ี

• ฝาย ชาวบ้านตรวจสอบความเสียหายหลังน้ำหลากในช่วงเดือนมิถุนายน เช่น


ระบบท่อส่งน้ำเข้าพ้ืนท่ีเกษตร และดำเนินการซ่อมแซมส่วนที่ได้รับความเสียหาย


ได้แก่ ฝายลุงก่ำ ฝายหลังโรงเรียน ฝายบ้านน็อกดาวน์ หรือขุดลอกตะกอนหน้า


ฝายอนุรกั ษ์ เป็นต้น


• การปรบั ปรงุ คณุ ภาพดนิ ชาวบา้ นประสานกรมพฒั นาทดี่ นิ ในการวเิ คราะหค์ ณุ ภาพดิน


โดยในเบอ้ื งตน้ ไดท้ ำการทดสอบ (test kit) ชดุ วเิ คราะหด์ นิ ดว้ ยตนเองกอ่ น เพอื่ เตมิ


สารอาหารให้ดิน สำหรับเตรียมการปลูกขา้ ว


• การบริหารจดั การกองทนุ ด้านตา่ งๆ


- กองทุนเมล็ดพันธ์ุ ชาวบ้านเริ่มมีการปลูกพืชชนิดใหม่เพ่ิมเติมจากเดิม


ที่สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้ส่งเสริมให้ปลูก


เช่น มะละกอ ชะอม ผักเฮือก ผักหวานบ้าน ได้เพิ่มไม้ผล เช่น เงาะ


มะนาว ลองกอง ง้ิวแดง เพื่อสรา้ งรายได


- การเพาะกล้าหนอ่ ไม้ฝรงั่ มะเขอื พริก เพือ่ ปลูกเปน็ พชื หลงั นา ตามความ


ต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศ


- กองทุนปศสุ ตั ว์ ชาวบ้านเริ่มมกี ารสง่ คืนลกู สกุ ร รวม ๔๖๖ ตัว นอกจากน้


เม่ือเกิดโรคระบาดจากเช้ือ PRRS ชาวบ้านได้มีการประชุมปรึกษาหารือ


ร่วมกัน และดำเนินการพักการผสมพันธ์ุสัตว์ จัดทำระบบสุขาภิบาลสัตว


ร่วมกับปศุสัตว์จังหวัด ได้แก่ การทำความสะอาดคอกโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ


การทำลายซากสกุ รท่ตี ายโดยการฝัง เปน็ ต้น





33

ตารางเปรียบเทยี บผลที่เกิดขน้ึ ทางเศรษฐกจิ (ข้อมูลปงี บประมาณ ๒๕๕๓ สำรวจไดเ้ มือ่ ต้นปี ๒๕๕๔)


ประเภท อำเภอ อำเภอ อำเภอ
รายการ เฉลมิ พระเกียรติ ท่าวงั ผา สองแคว
รายได้รวม ปี ๒๕๕๒ ปี ๒๕๕๓ ปี ๒๕๕๒ ปี ๒๕๕๓ ปี ๒๕๕๒ ปี ๒๕๕๓
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)

๔๓,๓๔๖,๐๔๙ ๖๑,๘๗๓,๖๘๕ ๑๘,๐๗๗,๖๘๗ ๒๘,๗๗๔,๔๓๘ ๑๒,๔๐๙,๕๖๘ ๑๙,๘๗๕,๑๖๑

รายจ่ายรวม ๒๘,๓๐๙,๖๕๙ ๕๐,๑๖๒,๔๘๕ ๑๖,๑๒๘,๒๐๓ ๑๑,๗๖๓,๒๖๔ ๑๖,๔๕๓,๙๒๕ ๑๘,๔๕๑,๘๒๙

หนส้ี นิ รวม ๑๑,๕๒๑,๒๘๓ ๑๓,๙๖๐,๔๒๐ ๑๒,๒๑๓,๐๑๖ ๑๑,๗๖๐,๕๘๒ ๓๑,๓๐๕,๔๖๖ ๒๗,๑๒,๗๑๔

(ขอ้ มูลของปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ต้องรอเกบ็ เก่ียวผลผลติ ในต้นปี ๒๕๕๕)


34

รปู ธรรมความสำเรจ็


 อำเภอทา่ วังผา : นายวรพล ไชยสลี





บ้านห้วยธนู ตำบลตาลชุม อำเภอท่าวังผา มีปัญหาขาดแคลนน้ำใน

การอุปโภคบริโภค “จัดการน้ำไม่ได้” หน้าฝนน้ำก็ท่วม ส่วนหน้าแล้งก็แห้งน้ำ

ถึงขนาดต้องไปหิ้วน้ำจากบ่อบาดาลมากินมาใช้ ไม่มีระบบท่อท่ีดี แม้จะมีถังน้ำ

กไ็ มม่ นี ำ้ ให้เกบ็


แรงบันดาลใจที่ทำให้เข้าไปร่วมงานกับโครงการปิดทองหลังพระฯ มาจากการได้ไปศึกษา

ดงู านทโ่ี ครงการพัฒนาดอยตุงฯ พบวา่ สมัยก่อนดอยตุงมสี ภาพปญั หาทคี่ ลา้ ยคลงึ กบั น่าน แต่มี
แนวทางท่สี ามารถแก้ไขปัญหาได้ จึงนำมาบอกเล่าให้ชาวบ้านฟงั


นอกจากนี้ การร่วมสำรวจข้อมูลกับโครงการปิดทองหลังพระฯ ยังทำให้ชาวบ้านเห็น
ปัญหาของตนเอง และคิดว่าจะต้องมาร่วมมือกันแก้ไขปัญหา เม่ือเห็นว่าท่ีดอยตุงสามารถ

แก้ปัญหาได้ชาวบ้านจึงอยากทำบ้าง ถ้าอยากทำชาวบ้านก็ต้องลุกขึ้นมาช่วยกันทำ โครงการ
ปิดทองหลังพระฯ จะจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องการมาให้ ตรงน้ีช้ีให้เห็นว่า หากมีการบริหาร
จดั การทดี่ ี ชมุ ชนจะมีนำ้ ใช้


35

กิจกรรมในพ้นื ที่ ๑. ปลกู ขา้ วและพชื หลังนา ๒. ปลูกขา้ วโพด ๓. เลย้ี งหมูเหมยซาน


วธิ บี ริหารจดั การน้ำ


๑. กำหนดกฎกติกา น้ำท่ีใช้ในบ้านห้วยธนูเป็นน้ำจากห้วยผาบ่อง ถ้าเหลือจากการ
อุปโภคบรโิ ภคแล้ว จงึ เอาไปเก็บไวใ้ นบอ่ พวงสันเขา เพอื่ ใชใ้ นการเกษตรสำหรับปลกู พชื ทใี่ ช้น้ำ
นอ้ ย ชมุ ชนมกี ารตกลงกฎกตกิ ารว่ มกนั ดังนี้


• ถา้ นำ้ ไมเ่ หลอื จากการอุปโภคบรโิ ภค ห้ามนำน้ำไปใช้ทำเกษตร

• เกบ็ ค่าดแู ลเขา้ กองทุน ๕๐ บาท/ครัวเรือน/ปี โดยมผี ู้ใชน้ ำ้ จำนวน ๙๒ ครวั เรอื น

ปัจจุบันมีเงินเข้ากองทุนแล้ว ๔,๖๐๐ บาท แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกเอาไว้เป็น

ค่าซอ่ มแซม สว่ นท่ีสองเปน็ ค่าตอบแทนแก่ฝา่ ยทเี่ ป็นผู้ดแู ล

• เก็บน้ำ ๓ ถงั ไวส้ ำรองใช้ตอนหน้าแลง้ ตัง้ ไวใ้ นจดุ ทส่ี งู ของหมู่บ้าน

๒. จัดการน้ำดว้ ยฝาย และกระจายน้ำโดยระบบทอ่

• สำรวจพื้นท่ีสร้างฝาย ที่จะนำน้ำจากห้วยผาบ่องซ่ึงมีน้ำตลอดปีมาใช้ และนำน้ำ

ไปเก็บไว้ในท่ีสงู

• สรา้ งฝายเกษตรหลังโรงเรียน ใชเ้ วลา ๓๕ วัน มีผู้ไดร้ ับประโยชน์จำนวน ๒๘ ราย

โดยแบง่ ทมี ไปทำเป็นกลุ่ม กล่มุ ละประมาณ ๑๐ คน ผลดั กนั ไป ๒ วันครงั้ สว่ น

วันอ่นื ๆ กไ็ ปทำงานหาเลี้ยงครอบครวั

• ใช้ท่อลำเลียงน้ำจากฝายไปยังปลายทาง โดยใช้ท่อ ๖ นิ้ว ยาว ๙๒๐ เมตร

แยกออกเปน็ ๔ นว้ิ ๒ สาย สายหนง่ึ ลงหมบู่ า้ น เพอื่ อปุ โภคบรโิ ภค อกี สายหนึ่ง

ต่อขึ้นไปสันเขาเพ่ือการเกษตร มีวาล์วปรับน้ำให้พอใช้ในหมู่บ้านก่อน แล้วที่เหลือ

จึงเก็บไวท้ บี่ อ่ พวงสันเขา

• ต้นทุนการทำฝาย คิดค่าแรงงานเป็นเงิน แต่ไม่จ่ายเงิน เพราะเงินที่เก็บมาได้จะ

นำไปเปน็ กองทุน เพอื่ สรา้ งความรู้สึกในการเป็นเจ้าของรว่ ม


36

๓. กักเกบ็ นำ้ ดว้ ยบ่อพวง

• โครงการปดิ ทองหลงั พระฯ สนับสนุนรถแบค็ โฮในการขุดบอ่

• ต้นทุนในการทำ มีค่าพลาสติก ค่าขุดบ่อคิดเป็นคิวดิน คิดค่าแรงงานชาวบ้าน

คิดเป็นรายวันหรือคิดออกมาเป็นแรงก็ได้ โดยรวมแล้วจะมีค่าใช้จ่ายประมาณ

๑๐,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ บาทตอ่ การทำบอ่ พวง ๑ บ่อ

• ชาวบ้านมสี ่วนรว่ มโดยไปช่วยกันเกลยี่ ดนิ ให้เรียบ ไมม่ ตี อ ทำใหแ้ นน่ ชว่ ยกนั ปผู า้

พลาสติกเอง ผันน้ำเข้าบ่อ เฝ้าดูให้น้ำเต็มพอดี ๆ ตลอด และปลูกต้นไม้เสริม

เพ่อื คนั บ่อไมใ่ ห้พงั เร็ว




เคลด็ ลับความสำเรจ็


๑. “นำ้ กำหนดพชื ไมใ่ ชพ่ ชื กำหนดนำ้ ” การปลกู พชื ตอ้ งดคู วามสมดลุ ระหวา่ งปรมิ าณนำ้
ที่มี กับความตอ้ งการน้ำของพชื ชนิดนั้น ๆ ด้วย


๒. ฝายคงทน และมนี ้ำใช้ไม่ขาด

• จัดพิธีกรรมไหว้บรรพบุรุษ และผีฝายช่วงปีใหม่ทุกปี เพ่ือถือโอกาสนี้บอกความ

ต้องการตอ่ บรรพชน

• แบง่ กลุ่มขดุ ลอกตะกอนหน้าฝายปีละคร้งั

• แบ่งทีมสำรวจความเสียหายหรือซ่อมแซม แบ่งกลุ่มกลบท่อ หากท่อแตกท่อร่ัว

ก็มคี ณะกรรมการไปดูแล และจัดซ้ือวัสดุมาซ่อมแซม

๓. วธิ ีการขุดบอ่ พวงใหม้ ีอายุใชง้ านยนื นาน ไดแ้ ก่ หลงั จากขุดเปน็ บ่อแล้ว ต้องเกล่ยี ดนิ
ก้นบ่อให้เรียบ ไม่มีตอ คอยดูแลให้น้ำเต็มพอดี ๆ ตลอด และต้องไม่ลืมปลูกต้นไม้หรือ

หญ้าแฝกไว้ขอบบ่อ เพ่อื ปอ้ งกนั การพังทลายของดิน

๔. การเรียนรู้ร่วมกัน ต้องมีข้อมูลท่ีตรงกับความเป็นจริง และทำให้เห็นก่อน ในขั้น

การทำให้ดูใช้ระยะเวลาประมาณ ๒-๓ เดือน ทำให้ชาวบ้านเกิดความอยากทำ โครงการ

ปดิ ทองหลังพระฯ ก็ใหท้ ำรว่ มกัน อกี ๓-๔ เดอื น โดยชาวบา้ นลงพื้นทีส่ ำรวจร่วมกับเจ้าหนา้ ที่
มีการแบ่งเวรกันไป วัดระดับความต่างอีกประมาณ ๕-๖ เดือน มีการกำหนดจุดท่ีเหมาะสม

ในการสร้างฝายเอง ที่สำคัญ ต้องไม่ให้กระทบสภาพธรรมชาติ จากการได้ทำร่วมกันในทุก

ขน้ั ตอน ทำให้เกิดความรูส้ ึกรักและหวงแหนมนั เปน็ เจา้ ของ เพราะชาวบ้านทำกับมอื จรงิ ๆ




ผลทไ่ี ดร้ ับ


๑. มีข้าวพอกิน ทำการเกษตรได้ตลอดปี

๒. มีรายไดเ้ พิม่ รายจ่ายลด มีเงินเหลอื สามารถปลดหนี้สนิ ได้

๓. สามารถปลกู ผักสวนครวั ไว้กินเองได้ภายในครอบครัว ซ่ึงช่วยลดรายจา่ ยลง

๔. มีทางเลือกในการประกอบอาชีพมากข้ึน เม่ือบ้านเกิดมีงานให้ทำ การออกไปขาย

แรงงานนอกพ้ืนท่กี ล็ ดลง ครอบครวั อบอนุ่ อยกู่ นั พรอ้ มหน้าพร้อมตา

๕. มีการพฒั นาพ้ืนทข่ี องตนเอง มคี วามสามคั คกี ันมากขึ้น




37

 อำเภอสองแคว : นายปา ทองสขุ




ก่อนการเข้ามาของโครงการปิดทองหลังพระฯ ชาวบ้านใช้น้ำจากห้วยยอด

ในการทำเกษตรเป็นหลัก และประสบปัญหาการบริหารจัดการน้ำมาก มีผลให้

แต่ละปีมีน้ำเพียงพอต่อการทำนาแค่ครั้งเดียว นอกจากน้ี เม่ือฤดูฝนมาเยือน

น้ำที่ไหลบ่าก็ทำให้ฝายพัง ชาวบ้านจึงแทบไม่เหลือน้ำไว้ใช้ในการทำเกษตรเลย

ที่สำคัญ ความแรงของน้ำยังได้ชะเอาหน้าดินซ่ึงมีธาตุอาหารออกไปหมด ดินจึง
เป็นกรดสงู โครงการจงึ แนะนำองค์ความรแู้ ละเทคนิคการสร้างฝายแบบตา่ ง ๆ ให้
เพอ่ื จะได้มีนำ้ ไวใ้ ช้ในชว่ งหนา้ แลง้ และลดการพงั ทลายของหนา้ ดนิ ในชว่ งหน้าฝน





แนวทางการแกไ้ ขปญั หาเดิมของชาวบ้าน


• ชาวบ้านทำฝายไม้กั้นห้วยยอด ข้อเสียของฝายไม้คือ ไม่มีความคงทนแข็งแรง

อย่างฝายห้วยกอเดื่อ ที่ซ่อมถึง ๑๓ ครั้ง/ปี ทำให้เปลืองทรัพยากรไม้และแรง

เป็นอยา่ งมาก


• การจัดการตะกอนหน้าฝาย ใช้การจ้างรถตักมาขุดลอกซ่ึงมีค่าใช้จ่าย ซ่ึง

รวบรวมจากเกษตรกรทีใ่ ช้น้ำจากฝายลกู น้นั ๆ ตกครั้งละ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท


38

แนวทางการแก้ไขปัญหาตามการแนะนำของมลู นิธแิ มฟ่ า้ หลวงฯ


• สรา้ งฝายให้แขง็ แรงต่อแรงน้ำ โดยใชป้ ูน หิน และกล่องเกเบย้ี น

• สร้างบ่อพวงเก็บน้ำจากฝาย จากน้ันจึงต่อท่อเข้าแปลงเกษตร ทั้งนี้ก่อนสร้าง

จะต้องสำรวจพื้นที่สร้างฝาย โดยในเบ้ืองต้นใช้ตำแหน่งฝายเดิม และทำฝาย

ชะลอน้ำกั้นทุก ๑๐๐-๒๐๐ เมตร ตามลำห้วย ทำให้มีฝายมีสภาพแข็งแรง

กว่าเดมิ เพราะมหี นิ และปนู เปน็ แกนฝาย

• ฝายทสี่ รา้ งในโครงการปดิ ทองหลงั พระฯ มปี ระตปู ดิ เปดิ (Stop lock) เพอื่ ระบาย

ตะกอนดินและทราย แต่ถ้าเป็นฝายเกเบ้ียน ตะกอนต่าง ๆ จะไหลผ่านฝาย

ไปเอง โดยไม่จำเปน็ ตอ้ งมีประตปู ิดเปดิ (Stop lock)




ผลการเปลีย่ นแปลง


• ฝายทสี่ รา้ งขนึ้ ภายใตก้ ารแนะนำของมลู นธิ แิ มฟ่ า้ หลวงฯ มคี วามคงทนแขง็ แรงขนึ้

ลดการตดั ไม้ในพื้นท่ี ซง่ึ แต่เดมิ นำมาใชใ้ นการซอ่ มแซมฝายไม้


• ชาวบ้านมีความรู้เร่ืองฝายมากข้ึนอีก เพราะมีโอกาสทำงานอย่างใกล้ชิดกับ

เจา้ หน้าท่ีโครงการทีไ่ ปสร้างฝายร่วมกัน


• ได้ผลผลิตเพิ่มข้ึนจากการมีน้ำใช้ตลอดท้ังปี อย่างจาก ๓๐ ถุงปุ๋ย (๑๒๐ ถัง)

เป็น ๔๕ ถุง (๑๘๐ ถัง)/นา ๓ ไร่ และมีรายได้จากพืชหลงั นา เชน่ ถวั่ เหลอื ง

หอม ผกั กาด และหอมแดง


• การมีกองทุนหมู และกองทุนเมล็ดพันธ์ุ มีส่วนให้ชาวบ้านขยันทำมาหากินมาก

กว่าเดิม วัดจากการพูดคุยแลกเปล่ียนกันมากขึ้นในเรื่องทำมาหากิน ในส่วนน
ี้
นอกจากชว่ ยในเรอ่ื งของรายไดแ้ ลว้ ยงั ทำใหช้ าวบา้ นมพี ชื ผกั ไวบ้ รโิ ภค โดยไมต่ อ้ ง

เสยี เงนิ ซ้อื อีกดว้ ย


• เจ้าของบ่อพวงนอกจากได้ใช้น้ำเพ่ือการเกษตรแล้ว ผลพลอยได้ของบ่อคือ

มพี ้ืนท่สี ำหรบั เลยี้ งปลากนิ พืช เชน่ ปลานิล ปลายี่สก และปลาตะเพยี น





ปัจจยั ความสำเรจ็


• เจ้าหน้าที่ของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ ไปสำรวจพ้ืนท่ีสร้างฝายกับชาวบ้านทุกครั้ง

โดยชาวบ้านต้องยอมรับเงื่อนไขว่าพวกเขาจะต้องเป็นผู้ลงแรงสร้างฝายโดยไม่ม

ค่าตอบแทน การลงมือทำด้วยตัวเอง มีผลให้ชาวบ้านตระหนักถึงความสำคัญ

ของฝาย และจะกระตอื รือรน้ ชว่ ยกนั ซอ่ มแซมฝายทกุ คร้ังเม่ือเกิดปัญหาขึน้


• การได้รับข้อมูลอย่างต่อเนื่องจากผู้นำหมู่บ้านและเจ้าหน้าท่ีและความเป็น

เครอื ญาตกิ นั ในหมู่บ้าน มสี ว่ นชว่ ยให้เกดิ ความร่วมมือกนั ไดไ้ ม่ยากนัก


39

 อำเภอเฉลิมพระเกียรติ : นางเต็ง อุน่ ถน่ิ





นางเต็ง อนุ่ ถนิ่ อายุ 29 ปี อาศยั อยู่บา้ นเลขที่ 119 หมู่ท่ี 8 ตำบลขุนนา่ น
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนา่ น มีผู้อาศัยอยใู่ นครอบครวั ทง้ั หมด 6 คน ซ่งึ
ทกุ คนจะช่วยกันหาเงนิ เลี้ยงครอบครัวรว่ มกัน




“แต่กอ่ นจะมีการรับจา้ งปลูกผัก พวกแครอท กะหล่ำปลีรปู หวั ใจ ที่ทางหนว่ ยงานส่งเสรมิ
เกษตรท่ีสูงฯ ได้ส่งเสริมให้ปลูกในพ้ืนท่ีตนเองประมาณ 2 งาน รายได้จะอยู่ที่ 2,500 บาท

ต่อปี โครงการปิดทองหลังพระฯ ได้เข้ามามีส่วนร่วมและส่งเสริมการปลูกผักให้ท้ังผักกาด

พืน้ เมอื ง ผกั กาดหวั กะหลำ่ หัวปลี เป็นต้น พร้อมทงั้ กับมเี จา้ หน้าทจี่ ากทางโครงการฯ ท่ีเป็น
คนในหมู่บ้านเองคอยให้คำแนะนำและปรึกษา ปัจจุบันผลผลิตทางการเกษตรท่ีทางโครงการฯ
สนับสนุนและส่งเสริมให้ปลูกนั้นได้สร้างรายได้ให้กับครอบครัวเป็นอย่างมาก สารเคมีก็ไม

ต้องใช้ มีความรู้สึกดีใจ และจะดำเนินการต่อไปไม่หยุดย้ัง อีกทั้งผักกะหล่ำหัวปลีท่ีทาง

โครงการฯ ไดส้ นบั สนนุ ให้ ตวั เองยงั ไมเ่ คยเหน็ วา่ มหี วั ขนาดใหญแ่ บบนมี้ ากอ่ น บางหวั มนี ำ้ หนกั
ถงึ 5 กิโลกรัม ขนาดไม่ค่อยไดร้ ดนำ้ ทุกวนั น้กี จ็ ะมีสมาชกิ ในครอบครัวท้งั สามี ลกู น้องและ
หลาน ๆ จะมาช่วยกันดูแลรักษา ถอนหญ้า รดน้ำ น้ำที่นำมารดก็เป็นน้ำท่ีต้องตักใส่ถังน้ำ
ขนาด 20 ลิตร แล้วทำการแบกหามมายังพ้ืนที่ ซ่ึงมีระยะทางประมาณ 500 เมตร สภาพ


40

เส้นทางเปน็ ทางข้นึ ดอยชัน 45 องศา ดีใจ ทไี่ ด้รบั ความรใู้ หม่ ๆ จากทมี งานโครงการปดิ ทอง

หลังพระฯ คือ เม่ือได้ทำการตัดเก็บหัวกะหล่ำปลีแล้ว ก็ไม่ต้องถอนโคนต้นทิ้ง ปล่อยให้มัน

แตกหน่อใหม่ แล้วทำการเก็บไปประกอบอาหารหรือขายสร้างรายได้ให้ครอบครัวอีกต่างหาก

ส่วนใบที่มันหัก เหลือง หรือไม่ได้ใช้แล้ว ยังนำไปทำเป็นอาหารให้หมู หรือปลาได้อีก ลดค่า


ใชจ้ ่ายเรอ่ื งของอาหารหมแู ละอาหารปลาอีกทาง ส่วนพชื ผักบางอยา่ ง เชน่ ผกั กาด ผกั กาดหัว


เราสามารถปล่อยให้มันออกดอก ออกผล เพ่ือเก็บเป็นเมล็ดพันธุ์ใช้ปลูกในปีต่อไปได้อีก


ไมต่ ้องลงทุนไปซือ้ ใหม่ ซง่ึ ทง้ั หมดเป็นองคค์ วามรทู้ ม่ี มี านานแต่ชาวบ้านยังไมไ่ ด้รับรถู้ ึงมันเลย”




ผลผลติ ทางการเกษตรที่ได้รับ พ้ืนทก่ี ารเกษตร ๒ งาน


จดั สรรพื้นท่ีเปน็ แปลงปลกู ผักทง้ั หมด ๓ ชนิด


๑. กะหล่ำหัวปลี จำนวน ๓ แปลง แปลงละ ๓ แถวยาว แถวละ ๒๖ ตน้ ทง้ั ๓ แปลง

รวมกนั จะอยู่ท่ี ๒๓๔ ต้น กะหล่ำ ๑ หัวจะมนี ำ้ หนกั อยู่ท่ีประมาณ ๒.๕ กโิ ลกรัม ขายกิโลกรัม

ละ ๑๐ บาท จะมีรายได้จากการปลูกกะหล่ำหวั ปลี อยทู่ ี่ ๕,๘๕๐ บาท


๒. ผักกาดพื้นเมือง มีอยู่ ๑ แปลง เก็บกินบางส่วน ส่วนท่ีเหลือได้เก็บขาย เพื่อสร้าง


รายไดอ้ ีกทาง โดยเกบ็ ผกั กาดขายเปน็ มดั มดั ละ ๕ บาท ปนี ไ้ี ดร้ ับรายไดจ้ ากการขายผักกาด

ประมาณ ๒๐๐ บาท


๓. หวั ผกั กาด มอี ยู่ ๒ แปลง ปจั จบุ นั ไดเ้ กบ็ ขายแลว้ บางสว่ น โดยขายกโิ ลกรมั ละ ๑๐ บาท

ได้รายได้จากการขายหัวผักกาด ๒๕๐ บาท ส่วนท่ีเหลือจะไว้เก็บเป็นเมล็ดพันธุ์เพื่อใช้ปลูก


ในปตี ่อไป





สรปุ ผลทีไ่ ด้รับจากการปลกู ผกั ทที่ างโครงการฯ ไดส้ ่งเสรมิ ใหช้ าวบา้ น


รายไดจ้ ากการปลกู ผกั ทง้ั 3 ชนดิ ทงั้ หมดจำนวนตอ่ รอบฤดกู าล 6,300 บาท/รอบฤดกู าล


หกั คา่ ใช้จา่ ยอ่ืน ๆ (คา่ ลอ้ มรัว้ แปลงผัก) 200 บาท


รวมรายไดห้ กั คา่ ใชจ้ า่ ย 6,100 บาท/รอบฤดกู าล


เทียบจากปที ่ผี ่านมา มีรายไดจ้ ากการทำการเกษตรในพ้นื ทป่ี ระมาณ 2 งานเทา่ กนั


รายได้จากศูนย์ส่งเสริมเกษตรฯ 2,500 บาท


รายไดจ้ ากโครงการปดิ ทองหลังพระฯ 6,100 บาท


ความตา่ งของรายไดท้ ่เี พ่ิมขนึ้ ของชาวบ้าน 3,600 บาท


ณ วันน้ี ครอบครัวของนางเต็ง อุ่นถ่ิน สามารถสร้างรายได้ มีอาชีพท่ีสุจริต ใช้พื้นท
่ี

เพียงเล็กน้อยในการทำการเกษตรสร้างรายไดเ้ ลย้ี งครอบครวั ท่ีมีสมาชิก 6 คนได้อย่างไมข่ ดั สน

จากต้องรับจ้างปลูกแต่ก่อน ตอนนี้เป็นเจ้าของเองเสียเลย ลงทุนแค่แรงกาย แรงใจและทำ


ตามคำแนะนำ เกบ็ เก่ยี วประสบการณ์และความรูใ้ หม่ ๆ จากทางโครงการปดิ ทองฯ ทุกอยา่ ง


ก็คงดขี ึ้น และทำใหอ้ ยู่รอดอย่างพอเพยี ง


41

๒. โครงการบริหารจดั การนำ้ อยา่ งย่งั ยนื อา่ งเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ
จังหวัดอุดรธานี


อ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นโครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้า
อยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับเป็นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เม่ือวันที่ ๒๒
ธนั วาคม ๒๕๔๖ และไดป้ รบั ปรงุ แลว้ เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มีความจุ ๖๙๒,๕๐๐ ลบ.ม. พืน้ ที่
รับน้ำเต็มศักยภาพอ่างเฉพาะหน้าฝนได้ ๘๐๐ ไร่ หน้าแล้งได้เพียง ๕๐๐ ไร่ ระบายน้ำ

โดยใช้ ทางระบายนำ้ ล้น (Spillway) ลงคลองตามธรรมชาติ ทำใหไ้ ม่ถงึ ท่ีนาชาวบ้าน ต้องใช้
เคร่ืองสูบน้ำเข้านา สามารถนำน้ำมาใช้ได้เพียง ๒๐๐ ไร่ ส่งผลให้ผลผลิตการเกษตรไม่ได้
ปริมาณเท่าที่ควรหรือไม่มีคุณภาพ สูญเสียรายได้ท้ังพืชก่อนนาและหลังนา เกิดปัญหาหนี้สิน
จนกระทงั่ แรงงานออกนอกพ้นื ที่ เป็นต้น


42

คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว


พระราชดำริ ได้มีมติการประชุมอนุมัติให้ดำเนินงานโครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน


อ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ตำบลกุดหมากไฟ อำเภอหนองวัวซอ

จังหวัดอุดรธานี ตามข้อเสนอมูลนิธิชัยพัฒนาที่คัดเลือกอ่างเก็บน้ำโครงการพระราชดำร


ที่ยังใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่เต็มที่ โดยเป็นพื้นท่ีต้นแบบปิดทองหลังพระฯ ท่ีบูรณาการทำงาน

ระหว่างหน่วยงานสืบสานแนวพระราชดำริ หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ประชาชนท้ังระดับชุมชน เพื่อขยายผล


สรู่ ะดบั จังหวดั และประเทศ โดยมีรูปแบบดำเนินงาน ดังนี้


มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ กระบวนการ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา และ

การบรหิ ารจัดการระบบน้ำ โครงการฟาร์มตัวอย่างตามแนวพระราชดำรใิ นสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ พ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถ่ายทอดองค์ความรู้ส่งเสริมชาวบ้าน

ทำฟาร์มตัวอย่างชุมชนต้นแบบฯ ด้านเกษตร ปศุสัตว์ ประมง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน

อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เป็นแหล่งเรียนรู้ของอาสาสมัครปิดทองหลังพระฯ สนับสนุน

ด้านปศุสตั ว์ ได้แก่ จดั หาพนั ธ์สุ ตั ว์ สขุ าภบิ าลสตั ว์ อาหารสตั ว์ ยาและเวชภณั ฑ์ หนว่ ยงาน

ภาครัฐ และภาคเอกชน ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนเกษตรตำบลประจำ


ในพ้ืนท่ี เตรียมพันธุ์พืช สัตว์ และปลาในการขยายผล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาต

และสง่ิ แวดลอ้ ม เตรียมการสนับสนุนพันธ์ุกล้าไม้เพ่ือปลูกป่าเสริม กรมชลประทาน เข้าร่วม
การพัฒนาระบบน้ำ และสนับสนุนเครื่องมือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี สนับสนุน
เคร่ืองจักร องค์การบริหารส่วนตำบลกุดหมากไฟ สนับสนุนค่าน้ำมันเช้ือเพลิง สถานี
พัฒนาท่ีดินจังหวัด ให้ความอนุเคราะห์ตรวจวิเคราะห์ดิน โดยสนับสนุนใส่ปุ๋ย ร็อคฟอสเฟต
เพ่ือปรับปรุงดนิ ก่อนการทำนาและภาคเอกชน บรษิ ทั SCG เครอื ซเิ มนตไ์ ทย ได้ใหส้ ่วนลดวสั ดุ
อปุ กรณ์ก่อสรา้ งและพฒั นาระบบนำ้


ปัจจบุ ัน โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยงั่ ยนื อา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยคล้ายฯ เป็นห้องเรียนปฏบิ ตั ิ

การทางสังคม (Social Lab) ในการปรับกระบวนทัศน์ทุกภาคส่วน ต้ังแต่กระบวนการสร้าง

ความเข้าใจ เข้าถึง และการพัฒนา คือชาวบ้านในพ้ืนท่ีมีความเข้าใจข้อมูลที่เป็นจริงของ

หมู่บ้าน รู้ปัญหา ความต้องการชุมชนทุกมิติ มีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ และเป็นเจ้าของใน


ทุกกิจกรรมการพัฒนาโดยไมม่ กี ารจา้ งเหมา และค่าแรงงาน


กิจกรรมความคืบหน้า โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเน่ือง

มาจากพระราชดำริ มี ๓ เรื่อง ได้แก่ ๑. การจัดการระบบน้ำ ๒. กิจกรรมทางการเกษตร


๓. ขอ้ คน้ พบในพน้ื ที่ ดังน้ี





๑. การจัดการระบบน้ำ


การปรับปรุงระบบบริหารจัดการน้ำอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ


มีกิจกรรมดำเนินงาน ได้แก่ การเสริมตอม่อเพื่อยกระดับกักเก็บน้ำบริเวณทางระบายน้ำล้น

(Spillway) การปรับปรุงฝายเดิมลักษณะอ่างพวง ๓ ตัว และวางท่อส่งน้ำเข้าสู่แปลงเกษตร


43

ชาวบ้านโดยตรง การปรับปรงุ ฝายหว้ ยคำเข การเสรมิ พนงั และคันกั้นนำ้ การปรับปรงุ ฝายเดมิ
และการวางแนวทอ่ สง่ นำ้


๑.๑ ระบบจัดการน้ำอา่ งเกบ็ น้ำหว้ ยคล้ายฯ มีการระบายนำ้ ๒ ชอ่ งทาง คือ ๑) ทาง
ระบายน้ำล้น (Spillway) ที่ส่งไปยังอ่างพวง ๓ อ่าง โดยจะผันไปสู่ลำเหมืองเดิมในที่นา

ของชาวบ้าน ๒) อาคารระบายน้ำทีส่ ่งผ่านท่อพีวีซี (PVC) ขนาด ๖ นิ้ว สู่แปลงเกษตร ดังนี


๑) ทางระบายน้ำล้น (Spillway) ได้สร้างตอม่อจำนวน ๖ ตัว สูง ๕๐ ซม.

กว้าง ๕๐ ซม. มีช่องห่าง ๑.๕๐ เมตร ใช้ไม้ปริมาตร ๓ x ๓ น้ิวที่สามารถยกขึ้นลง

เพ่ือควบคุมระดับน้ำได้ จะเร่ิมกักเก็บน้ำในช่วงใกล้หมดฤดูฝน เพื่อเก็บน้ำไว้ใช้สำหรับ
การเกษตร ซ่ึงน้ำท่ีไหลผา่ นทางระบายน้ำลน้ (Spillway) จะถกู สง่ ไปยังอา่ งพวง ๓ อ่าง โดย
ระบบแรงโน้มถว่ ง (Gravity) ทำให้ปริมาณกักเก็บนำ้ เพม่ิ ขึ้น ๗๓,๖๐๐ ลบ.ม. ซ่งึ แตล่ ะอ่างพวง

มีการเสริมคันดินให้สูงข้ึน มีอาคารระบายน้ำให้มีช่องอัดน้ำท่ีแข็งแรง กักเก็บและควบคุมน้ำ
การปรับปรุงพนังก้ันน้ำและเสริมคันดินด้านข้างเพ่ือเพิ่มความสามารถการกักเก็บน้ำและไม่ให้
น้ำเข้าท่วมท่ีนาชาวบ้าน รวมทั้งการซ่อมแซมฝายเดิม โดยท้ัง ๓ อ่างพวง จะถูกผันไปส่

ลำเหมอื งเดมิ ในท่ีนาของชาวบ้าน


44

๒) ผันน้ำจากอาคารระบายน้ำ เชื่อมต่อกับท่อพีวีซี (PVC) ขนาด ๖ น้ิว

เพ่ือเข้าสูแ่ ปลงเกษตรชาวบา้ น โดยมีวิธีการจดั การ คือ นายอินทร์ มะแพน หรอื นายบุญมาก
สิงห์คำป้อง ซึ่งเป็นอาสาสมัครปิดทองหลังพระ จะเป็นผู้เปิดวาล์วระบายอากาศเพื่อไล่ฟอง
อากาศ จากนัน้ คอ่ ยเปดิ วาลว์ ใหญเ่ พอ่ื ให้น้ำไหลเต็มทอ่ ก่อน ตามดว้ ยการเปดิ วาล์วเลก็ ตัวแรก
และให้ปิดวาล์วเล็กตัวถัดไปเพื่อให้น้ำเข้าคลองซอย (ก้างปลา) กระจายน้ำเข้าแปลงเกษตร

ชาวบ้าน รวมทั้งอาสาสมัครจะสังเกตการไหลของน้ำว่าผิดปกติหรือไม่ เช่น น้ำไหลน้อย

กว่าปกติ นำ้ ไหลสมำ่ เสมอ พบตะกอน หนิ ดิน ทราย ปะปนในนำ้ ให้เปิดทอ่ ระบายทราย
เพื่อระบายออกจากทอ่ น้ำ


๑.๒ การบริหารจัดการน้ำ ต้ังคณะกรรมการกลุ่มผู้ใช้น้ำจำนวน ๓ กลุ่ม ประกอบ
ด้วย กลุ่มผู้ใช้น้ำห้วยคล้าย กลุ่มผู้ใช้น้ำฝายสองพ่ีน้อง กลุ่มผู้ใช้น้ำห้วยคำเข โดยมีวิธีการ
ดำเนินงาน ดังน
้ี

๑) เม่ือฝนตกปริมาณเกิน ๒๐ มิลลิเมตรต่อครั้ง นายอินทร์ มะแพน อาสา
สมคั รปิดทองหลงั พระ จะเตอื นกลมุ่ ผู้ใชน้ ำ้ เพือ่ เปดิ พนังกนั้ นำ้ (Stop lock) บรเิ วณทางระบาย
นำ้ ลน้ (Spillway) และอา่ งพวงบ่อท่ี ๑ โดยอ่างพวงที่ ๒ นายอุดม หอมออ่ น (ประธานคณะ
กรรมการฝายสองพน่ี อ้ ง) จะเปน็ ผเู้ ปดิ พนงั กนั้ นำ้ (Stop lock) เพอ่ื ระบายนำ้ ไปยงั อา่ งพวงที่ ๓

๒) หากพนังและคันกั้นน้ำชำรุดเสียหาย คณะกรรมการผู้ใช้น้ำจะเรียกประชุม

เพื่อวางแผนการซ่อม แต่หากเกิดปัญหาเร่งด่วนจะเร่ิมดำเนินการทันที เช่น เมื่อวันที่ ๒๕
กรกฎาคม ๒๕๕๔ เกดิ ฝนตกหนัก (พายนุ กเต็น) อ่างพวงที่ ๒ พนงั และคนั ดินขาด ๒ จุด ได้
มกี ารนำกระสอบทรายจำนวน ๑,๒๐๐ กระสอบ โดยชาวบา้ นมาชว่ ยขดุ ดนิ ตามคนั นาใสก่ ระสอบ
และลำเลียงวางคนั ดนิ ท่ขี าดกันไว้ชวั่ คราว


๓) เมื่อชาวบ้านเริ่มมีรายได้จะต้องเสียค่าบริหารจัดการกลุ่มผู้ใช้น้ำ อัตรา

๑๐ บาท ต่อไร่ ต่อปี โดยจะจา่ ยคา่ ตอบแทนผู้เปดิ -ปิดวาล์วนำ้ รอ้ ยละ ๒๐ ของเงินค่าบริหาร
จดั การท่เี กบ็ ได


๔) การเกบ็ กกั นำ้ บรเิ วณอา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยคลา้ ยฯ อา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยคำเข ในฤดแู ลง้
สำหรับปลูกพืชหลังนา โดยมีวิธีการเริ่มจากอาสาสมัครปิดทองหลังพระ คณะกรรมการกลุ่ม

ผู้ใช้น้ำ ผู้ใหญ่บ้านโคกล่าม ผู้ใหญ่บ้านแสงอร่าม และชาวบ้านประชุมวางแผนกำหนดวันเก็บ
กักน้ำในช่วงฝนทิ้งช่วง และเมื่อส้ินสุดฤดูฝน โดยจะร่วมกันปิดพนังกั้นน้ำ (Stop lock)
บริเวณทางระบายน้ำล้น (Spillway) และบริเวณอ่างพวงทั้ง ๓ ตัว พร้อมทั้งตรวจสอบระบบ
การสง่ น้ำตามแนวทอ่ เชน่ ความชำรุดเสยี หายของท่อ ตะกอนที่อุดตัน แรงดันของน้ำ เปน็ ตน้


๑.๓ ผลการพฒั นาระบบบริหารจดั การน้ำ

๑) คณะกรรมการกลุ่มผู้ใช้น้ำ สามารถปล่อยน้ำจากอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ

และห้วยคำเข เพ่ือให้เกษตรกรสามารถตกกล้าและปลูกข้าวได้เต็มพ้ืนท่ีรับประโยชน

๑,๗๘๘ ไร่ ตง้ั แตพ่ ฤษภาคม ๒๕๕๔ โดยไมต่ อ้ งรอนำ้ ฝน และมนี ำ้ ใชส้ ำหรบั ฝนทง้ิ ชว่ งเดอื น
สงิ หาคม ๒๕๕๔

๒) การคาดการณผ์ ลผลติ ขา้ วพน้ื ทโ่ี ครงการ จะเพม่ิ จาก ๓ ลา้ นบาท เปน็ ๑๓

ลา้ นบาท เนอื่ งจากพนื้ ทปี่ ลูกข้าวเดมิ ๘๐๐ ไร่ เพ่มิ ขน้ึ ๑,๗๘๘ ไร่ (๑๔๗ แปลง) โดยสถาบัน

ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้ประสานศูนย์วิจัยข้าวอุดรธานี และศูนย


45

เมล็ดพันธุข์ ้าวอดุ รธานี เกบ็ ขอ้ มูลเปรียบเทยี บผลผลิตขา้ วในปี ๒๕๕๔ กบั ปี ๒๕๕๓ กอ่ นที่
เกษตรในพื้นท่ีจะได้รับผลประโยชน์จากระบบน้ำ โดยเบ้ืองต้นได้สุ่มตัวอย่างชาวบ้าน ๑ ราย
คือ นายสมควร วนั ทา ซ่งึ เป็นผ้รู ับประโยชน์จากอา่ งพวงท่ี ๓ พบว่าในปี ๒๕๕๓ ไดผ้ ลผลติ
ขา้ วเฉลย่ี ๕๓ กโิ ลกรัมต่อไร่ เป็น ๗๐ กิโลกรัมตอ่ ไร่ ในปี ๒๕๕๔




๒. กิจกรรมทางการเกษตร

ภายหลังจากการปรับปรุงระบบน้ำโดยมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ ทีมงานฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จ
พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ไดร้ ว่ มกบั สถานพี ฒั นาทดี่ นิ จงั หวดั อดุ รธานไี ดเ้ กบ็ ตวั อยา่ งดนิ
ไปวเิ คราะห์ พบว่า ท้งั สองหมู่บา้ นมธี าตอุ าหารน้อย มสี ภาพเปน็ กรด จึงได้ปรบั ปรงุ ดนิ โดยใช้
ปุ๋ยคอก ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยพืชสด เช่น โสนแอฟริกัน ปอเทือง ถั่วลิสง ถั่วเหลือง เพ่ือเพิ่มธาตุ
อาหารและปรับความเปน็ กรดของดนิ

การดำเนนิ งานดา้ นการเกษตรไดเ้ รม่ิ ตน้ นำรอ่ งจากเกษตรกร ๒ ครวั เรอื น คอื นายบญุ มาก
สิงห์คำป้อง และนายสุบรร-นางนาง สอดสี และได้มีการขยายผลเป็น ๑๕๒ ครัวเรือน จาก

ครัวเรือนทั้งหมด ๒ หมู่บ้าน ๑๙๖ ครัวเรือน ในปัจจุบัน ที่ใช้องค์ความรู้ของฟาร์มตัวอย่าง

ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้แก่ การปลูกพืช ๓ ชั้น เพ่ือให้มีความมั่นคง

ทางอาหารและมีรายได้เพ่ิม การปลูกพืชในบริเวณต่างๆ ท่ีสามารถทำได้ เช่น การปลูกพืช

บนทด่ี อน การปลูกพชื บรเิ วณทอ่ี ย่อู าศัย รวมถึงการส่งเสริมทางดา้ นปศสุ ัตว์ เช่น การเลย้ี งหมู
การเลี้ยงเป็ด และการส่งเสรมิ ด้านประมง

ผลทเี่ กดิ ขนึ้ พบว่า เกษตรกรมอี าหารกนิ ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยเฉลย่ี ครวั เรือนละ ๒๐ บาท
ตอ่ วนั และยงั มรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จากการปลกู พชื กอ่ นนาเฉลย่ี เดอื นละ ๕๐๐ บาท ตอ่ แปลงตอ่ เดอื น
สว่ นดา้ นปศสุ ัตว์ จากการส่งเสริมกองทนุ สกุ ร ๙๑ ตัว ปัจจบุ นั ได้ขายลกู สุกรไปแล้ว ๗๐ ตวั
คิดเป็นจำนวนเงิน ๙๖,๔๐๐ บาท โดยด้านการเกษตร จะส่งเสริมงานในลักษณะกองทุน

เพ่ือให้เกิดความย่ังยืน ท่ีชาวบ้านสามารถบริหารจัดการด้วยตนเองได้ หลังจากที่โครงการ

ถอนตัวออกจากพ้ืนที่ ปจั จุบนั มี ๘ กองทุน ไดแ้ ก่

๑. กองทนุ สุกร ชาวบ้านได้รับประโยชนจ์ ากกองทุนสุกร มหี มูแมพ่ นั ธ์ุ ๙๑ ตัว และ

พ่อพันธ์ุ ๔ ตวั ระเบียบกองทนุ จะต้องคนื ลกู หมใู หก้ องทนุ แมล่ ะ ๒ ตัว สมาชกิ

ในกองทุนมีข้อตกลงร่วมกันว่า หากเกษตรกรผู้เล้ียงหมูนำหมูมาฝากขายกับ

กองทุนจะขายในราคา ๑,๕๐๐ บาท โดยหกั เข้ากองทุน ๒๐๐ บาท ปจั จบุ ันมเี งนิ

เข้ากองทุน ๕,๘๐๐ บาท ซ่ีงนำมาจัดสร้างคอกกลางสำหรับอนุบาลลูกหม

ของกองทุน

๒. กองทนุ พนั ธข์ุ า้ ว เรม่ิ ดำเนนิ งานในเดอื นกนั ยายน ๒๕๕๔ มเี งนิ ทนุ ๒๘,๐๐๐ บาท

ซ่ึงสนับสนุนในรูปของเมล็ดพันธ์ุข้าว เพ่ือจำหน่ายให้กับชาวบ้านที่ต้องการ

ปจั จบุ ันมีเงนิ ทนุ หมนุ เวียนภายในกองทนุ ๓๑,๗๓๔ บาท โดยเหลอื เงนิ ปนั ผลให้

กบั สมาชิก ๘ คน รวมเป็นเงนิ ๔,๗๑๘.๕๐ บาท

๓. กองทนุ ปยุ๋ มเี งนิ ทุนเริม่ ต้นจำนวน ๗๒,๙๐๐ บาท ซึง่ สนบั สนุนเป็นปยุ๋ สูตรให้กับ


46

เกษตรกร ประกอบดว้ ยสูตร ๐-๓-๐, ๑๕-๑๕-๑๕ และ ๙-๒๔-๒๔ เพื่อจำหน่าย


ให้กับเกษตรกรในพ้ืนท่ี ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่ม ๓๘,๐๐๐.๕๐ บาท


เหลือเงินปันผลให้กบั สมาชกิ ๔ คน รวมเปน็ เงนิ ๓๘,๐๐๐.๕๐ บาท


๔. กองทุนเปด็ โดยการสนบั สนุนพันธ์เุ ปด็ เทศจำนวน ๗๐ ตวั ให้แก่เกษตรกร ๒๐

ครัวเรือน โดยปัจจบุ ันมีลูกเปด็ ท่ีพรอ้ มคนื กองทุน จำนวน ๖๖ ตวั


๕. กองทุนเมลด็ พันธ์ผุ กั มีเงนิ สนบั สนุนกองทนุ ๖๐,๓๖๐ บาท ในรปู ของเมล็ดพันธุ์

เพอ่ื จำหนา่ ยใหก้ บั เกษตรในพน้ื ท่ี ปจั จบุ นั มเี งนิ ทนุ หมนุ เวยี นในกองทนุ ๑๑,๓๐๐ บาท


ยังไมถ่ ึงระยะเวลาคืนกองทุน


๖. กองทุนการตลาด ได้มีการไปศึกษาดูงานท่ีฟาร์มตัวอย่างหนองหมากเฒ่า

จังหวัดสกลนคร เพ่ือเรียนรู้การบริหารจัดการหลังการเก็บเก่ียว การบรรจ


ผลิตภัณฑ์ และได้ศึกษาดูงานตลาดค้าส่งเมืองทองเจริญศรี พร้อมนำผลผลิต


ไปจำหน่ายผักปลอดสารพิษท่ีตลาดโพศรี ทุกวันอังคารและวันศุกร์ นอกจาก


เป็นการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรแล้ว ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียนภายใน


กองทนุ จำนวน ๒,๐๙๐ บาท


๗. กองทุนยาและเวชภัณฑ์ ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ และ

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ในรูปแบบของยาและ


เวชภัณฑ์ คดิ เป็นมูลค่า ๑๖,๕๐๐ บาท


๘. กองทนุ แมบ่ ้าน มกี ิจกรรมในการทำอาหาร สำหรับคณะท่มี าศึกษาดูงานในพืน้ ท
ี่
โดยคิดค่าใช้จ่ายผู้มาศึกษาดูงานคนละ ๒๐๐ บาท (๑๕๐ บาท สำหรับคณะ


โรงเรยี นในสงั กดั อบจ.) ปจั จบุ นั มคี ณะศกึ ษาดงู าน ๔๒ คณะ จำนวน ๗,๕๒๓ คน


47

มีรายได้จากการต้อนรับคณะท้ังส้ิน ๑,๒๕๐,๐๐๐ บาท หักค่าบริหารจัดการ

กองทนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการประกอบอาหาร คา่ แรงงาน อปุ กรณป์ ระกอบอาหาร เชน่

เครอ่ื งครวั จาน ชาม ถว้ ย ชอ้ น และสรา้ งหอ้ งนำ้ จำนวนเงนิ ๙๐๙,๔๓๖ บาท

คงเหลือเงินในกองทุนจำนวน ๓๔๐,๕๖๔ บาท เร่ิมดำเนินการวันท่ี ๒๘

พฤษภาคม ๒๕๕๔




๓. สงิ่ ทคี่ น้ พบในพืน้ ท่ี

๑. เกดิ การบรหิ ารจดั การรว่ มกนั ของชาวบา้ น เชน่ กลมุ่ คณะศกึ ษาดงู าน ทมี่ เี งนิ กองกลาง
ทีไ่ ด้จากคณะศกึ ษาดงู าน โดยนำมาจดั สรรเพ่อื กิจกรรมสาธารณประโยชนใ์ นหมู่บา้ น เช่น

• ซอ้ื วสั ดุ อปุ กรณ์ สรา้ งหอ้ งสขุ า ๓ หอ้ ง หลงั ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ เพอ่ื อำนวยความ

สะดวกใหแ้ กผ่ มู้ าศึกษาดูงาน โดยรว่ มแรงในการสรา้ งแบบไมม่ กี ารจ้างเหมา

• ซื้อปุ๋ย สูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ให้ชาวบ้านท่ีมีความต้องการปุ๋ยสูตรน้ีเป็นการเร่งด่วน

เพือ่ การปลูกขา้ ว

๒. พบว่าครอบครัวอบอุ่นข้ึน เช่น นางสุกัลยา ฉิมพลี ทุกวันได้กินข้าวร่วมกับสาม

และลูกพร้อมหน้าพรอ้ มตากันทุกมื้อ เพราะสามีไมต่ ้องไปทำงานนอกบ้าน

๓. ชาวบ้านเร่ิมมีแนวคิดลุกขึ้นมาบริหารจัดการผลผลิตด้วยตนเอง จากการดำเนินการ
กลุ่มการตลาด ถึงแม้ว่าช่วงแรกจะเหนื่อยและยังไม่เห็นผลตอบแทนเท่าที่ควร เกิดการ

ขาดทุนบา้ ง เกิดปัญหาท่ตี ้องร่วมแก้ไข เชน่ ตน้ ทุนในการขนส่งผลผลิตมาก ทำใหไ้ ด้กำไรน้อย
แต่ไม่ท้อ ซ่ึงนางเก่ง จันเทศ บอกว่า การดำเนินงานในช่วงนี้เป็นเหมือนการทดลองทำ เป็น
การฝึกงานเพื่อเตรยี มรองรบั ผลผลติ ชาวบ้านท่ีจะมมี ากในชว่ งการปลูกพชื หลังนา

๔. พบวา่ อสพ. ทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ นสง่ เสรมิ การเกษตร คอื นายนพิ น ชยั เรศ บา้ นแสงอรา่ ม
ได้มีโอกาสไปเรียนเร่ืองการสุขาภิบาลสัตว์จากนายอดุลย์ ซึ่งเป็นอาสาสมัครด้านปศุสัตว์ด้วย
นายนิพนจึงเป็นอีกคนหนึ่งในหมู่บ้านที่สามารถดูอาการหมูได้ ฉีดยาหมู ทำคลอดหมู รักษา

หมูได้ และให้ความรแู้ กช่ าวบ้านในการเตรียมความพรอ้ มก่อนเลีย้ งหมู เชน่ การทำคอก และ
การดแู ลหมูเล็ก ๆ เปน็ ตน้

๕. นายสมบรู ณ์ ไชยลา ได้รบั สุกรจากโครงการฯ จำนวน ๑ ตัว และไดล้ กู สุกรทง้ั หมด
๘ ตวั คืนกองทุน ๑ ตวั ขายลกู สุกร ๒ ตวั เปน็ เงิน ๒,๖๐๐ บาท และได้นำเงินจากการขาย
ลกู สกุ รรักษาตัว ซึง่ เจบ็ ป่วยดว้ ยโรคระบบทางเดนิ หายใจ โรงพยาบาลหนองวัวซอ

๖. ครอบครัว นายบุญธรรม เสนาอุดร มีการวางแผนเตรียมการปลูกพืชหลังนาว่า
“คอยดนู ะ จะให้ลกู หลาน สะใภ้ เขย กลบั มาบ้านหมด มาปลูกฟกั ทอง มาทำไรท่ ำนา ตอนน
้ี
มีนำ้ แลว้ ”




48

๓. พ้นื ท่ขี ยายผลปดิ ทองหลังพระ ๑๐ จงั หวดั ๑๘ หมบู่ ้าน

จากรูปธรรมการดำเนนิ โครงการพัฒนาพ้ืนทตี่ ้นแบบบรู ณาการแก้ไขปญั หาและพฒั นาพืน้ ที่

จงั หวดั นา่ น ตามแนวพระราชดำริ และโครงการบรหิ ารจดั การนำ้ อยา่ งยงั่ ยนื อา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยคลา้ ย

อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ จงั หวัดอดุ รธานี คณะกรรมการสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรม

ปดิ ทองหลังพระฯ มมี ตอิ นุมัติให้มีการขยายผลไปยงั พ้ืนท่ีตา่ ง ๆ ท่วั ทกุ ภมู ิภาค ดังนี


จังหวัด หมู่บ้าน
๑. เชียงราย ๑. บ้านพญาพิภักด์ิ ต.ยางฮ่อม อ.ขนุ ตาล
๒. เชยี งใหม่ ๒. บา้ นแมบ่ ง ต.โชคชัย อ.ดอยหลวง
๓. พิษณโุ ลก ๓. บ้านอมแรด ต.บา้ นทับ อ.แม่แจ่ม
๔. สงิ ห์บรุ ี ๔. บา้ นปาง ต.หนองบัว อ.ไชยปราการ
๕. เพชรบุรี ๕. บ้านเจรญิ ผล ต.หนองพระ อ.วงั ทอง
๖. ตราด ๖. บา้ นหนองพระ ต.หนองพระ อ.วงั ทอง
๗. ยะลา ๗. บา้ นท่าลอบ ต.โพธิท์ ะเล อ.ค่ายบางระจนั
๘. ประจวบครี ขี ันธ์ ๘. บา้ นโปง่ ลกึ ต.หว้ ยแม่เพรียง อ.แก่งกระจาน
๙. เลย ๙. บ้านบางกลอย ต.ห้วยแมเ่ พรียง อ.แกง่ กระจาน
๑๐. น่าน ๑๐. บ้านท่าตะเภา ต.หนองเสม็ด อ.เมอื ง
๑๑. บ้านปยิ ะมติ ร ต.อยั เยอร์เวง อ.เบตง
๑๒. บ้านห้วยเกรยี บ ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน
๑๓. บา้ นโปง่ โก ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน
๑๔. บ้านกลาง ต.ปลาปา อ.ภูเรอื
๑๕. บ้านโป่งคำ ต.ด่พู งษ์ อ.สันติสขุ
๑๖. บา้ นห้วยคำ ต.ฝายแกว้ อ.ภเู พยี ง
๑๗. หว้ ยปกุ ต.สะเนยี น อ.เมอื ง
๑๘. บ.สะเกนิ ต.ยอด อ.สองแคว

49

การดำเนนิ งานในพืน้ ท่ีขยายผลปดิ ทองหลงั พระฯ เรมิ่ จาก

• กระทรวงมหาดไทยร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จัดประชุมชี้แจงแนวทาง

ขยายผลพ้ืนท่ีปิดทองหลังพระฯ ผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกล (VDO Conference) ร่วมกับ
จงั หวัดขยายผล ๑๐ จงั หวัด

• กระทรวงมหาดไทยแจ้งจังหวัดแต่งต้ังทีมปฏิบัติการพื้นที่ระดับอำเภอ โดยให้
พิจารณาคัดเลือกข้าราชการท่ีมีภารกิจเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาของประชาชน และมีความ
พร้อมในการทำงานร่วมกับชาวบ้านอย่างใกล้ชิดและต่อเน่ือง ประกอบด้วย นายอำเภอ ปลัด
อำเภอ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล เกษตรอำเภอ พัฒนากร และข้าราชการหรือบุคคลที่
นายอำเภอเห็นสมควร เพ่อื ปฏิบัติงานรว่ มกนั

ผลการปฏิบัติงานตามขั้นตอน การสร้างความเข้าใจ เข้าถึง และการจัดทำแผนพัฒนา
ชนบทเชงิ พื้นทฯ่ี ๗ ข้ันตอนได้แก่ ๑) การทำความเขา้ ใจ ๒) การสำรวจและวิเคราะหข์ ้อมูล
ของหมู่บ้านในทุกมิติ ๓) การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชาวบ้าน ๔) จัดทำแผน
งาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาชุมชน ๕) ทำแผนชีวิตชุมชน ๖) บูรณาการแผนชีวิต
ชุมชนกับแผนของส่วนราชการ ๗) จัดทำแผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชดำริ
พบวา่ สภาพในพ้นื ท่ี เปน็ ดังน้ี



๑. จงั หวัดเชียงใหม่

• บ้านอมแรด ต.บ้านทับ อ.แม่แจม่ จากการสำรวจขอ้ มลู พบวา่ มีปญั หา คือ

- ปัญหาน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ปัจจุบันอาศัยน้ำจากน้ำห้วยอมแรดท่ีไหลผ่าน
หมู่บ้าน มีปริมาณน้ำมากในช่วงฤดูฝนเท่าน้ัน ชาวบ้านใช้วิธีการสร้างฝาย โดยเอาไม้และ
กระสอบก้ันนำ้ ไวเ้ พือ่ ดงึ น้ำใช้ในหมูบ่ า้ น ส่งนำ้ ด้วยระบบทอ่ พวี ีซี (PVC) แต่พบว่าบริเวณตน้ นำ้
มีการเลีย้ งสตั ว์แบบปลอ่ ย ซง่ึ อาจทำให้นำ้ ไม่สะอาด ส่งผลตอ่ สุขอนามัยชาวบา้ นในการอุปโภค
บริโภค และในฤดูแล้งจะมีเพียงน้ำบ่อซึมบริเวณกลางหมู่บ้านเป็นแหล่งน้ำเพียงที่เดียวท
ี่
ชาวบา้ นใชป้ ระโยชนร์ ่วมกันทง้ั คนและสัตว์เลี้ยง

- ปัญหาน้ำเพ่ือการเกษตร ไม่มีแหล่งน้ำเพ่ือการเกษตร ต้องอาศัยจากฝนเพียง
อย่างเดยี ว เนอ่ื งจากแหลง่ น้ำในพืน้ ที่ เชน่ หว้ ยมอโกละ๊ (ฆอ้ ง) ระดับความสงู ๗๒๗ ม.รทก.
และห้วยนายสมชาย ระดับความสูง ๗๔๒ ม.รทก. อยู่ต่ำกว่าพ้ืนที่ทำกินของชาวบ้านเฉล่ีย
ความสูงท่ี ๘๐๐-๑,๐๐๐ ม.รทก. รวมทั้งปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการทำการเกษตรในฤดูแล้ง
ทำให้ชาวบ้านปลูกพืชได้ฤดูเดียวคือฤดูฝน จึงไม่มีรายได้เสริมให้กับครอบครัว ทำให้ต้องไป
รับจ้างนอกพ้ืนท่ีและเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ซึ่งไม่คุ้มกับรายได้ ทำให้ต้องเป็นหน้ีนายทุน

ทยี่ มื เงินมาซอื้ เคร่ืองอุปโภคบริโภค โดยมกี ารตัดไมไ้ ปใช้หน
ี้
- ปัญหาด้านการเกษตร เน่ืองจากสภาพพ้ืนท่ีทำกินด้านการเกษตรทั้งหมด
๔,๔๒๕.๖๐ ไร่ ตัง้ อย่บู รเิ วณทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนือของหมูบ่ า้ น ลกั ษณะพืน้ ทม่ี ีความลาดชนั สูง
ประมาณ ๖๐๐-๑,๐๐๐ เมตร พื้นที่การเกษตรของชาวบ้านเป็นแบบไร่หมุนเวียน แบ่งเป็น

๔ โซน ได้แก่ โซนท่ี ๑ เปน็ พื้นท่ีแปลงเกษตรทม่ี ีความลาดชันระดับความสงู ๘๘๗.๙๑ ม.รทก.


50


Click to View FlipBook Version