The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2554

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-21 01:13:10

รายงานประจำปี 2554

รายงานประจำปี 2554

Keywords: รายงานประจำปี 2554

มีลำห้วยฆ้องไหลผ่านเฉพาะช่วงฤดูฝนเท่านั้น โซนที่ ๒ ความสูง ๘๑๙ ม.รทก. โซนที่ ๓
ความสูง ๘๗๖.๑๙ ม.รทก. มีลำห้วยนายสมชายไหลผ่าน มีน้ำตลอดทั้งปี และโซนท่ี ๔

ความสูง ๙๓๔.๖๙ ม.รกท. โดยแต่ละโซนจะมีทุกครัวเรือนเข้าใช้ประโยชน์ ภายใต้ขอบเขต

ที่ได้ตกลงร่วมกันไว้ ซ่ึงการทำเกษตรจะไม่มีการใช้ปุ๋ยเคมีในการป้องกันและกำจัดวัชพืช

แตใ่ ชป้ ุ๋ยจากมูลคา้ งคาว


สภาพปัญหาท่ีพบ คือ ดิน เนือ่ งจากลักษณะการเกษตรของชาวบ้านเปน็ แบบไร่
หมุนเวียน ทำให้เม่ือมีการทำการเกษตรในแปลงที่หมุนเวียนมา ชาวบ้านต้องเตรียมพื้นที่ทำ
เกษตรจากการเปิดหน้าดินโดยการถางและเผาป่า ส่งผลให้หน้าดินเสีย จุลินทรีย์ในดินตาย
รวมทั้งไม่มีการปรับปรุงบำรุงดินก่อนการเพาะปลูก โรคและศัตรูพืชท่ีสร้างความเสียหายแก่
ผลผลิตทางการเกษตร เช่น หนูกัดกนิ ขา้ วในแปลงนา


- ปญั หาดา้ นสขุ อนามยั พบวา่ ในหมบู่ า้ นอมแรดมหี อ้ งนำ้ (สว้ มซมึ ) ๓๖ ครวั เรอื น
จากทั้งหมด ๕๓ ครัวเรือน แต่ชาวบ้านไม่ค่อยใช้ เน่ืองจากน้ำไม่เพียงพอและวิถีชีวิต

แต่เดิมของชาวบ้านที่อยู่แบบธรรมชาติ นอกจากน้ี ยังมีความเส่ียงต่อการเกิดโรคระบาด

ในชุมชน เช่น พบปัญหาโรคหนอนพยาธิในเด็กอายุ ๑-๑๒ ปี เน่ืองจากขาดระบบสุขาภิบาล
ชุมชน มีการเล้ียงสัตว์แบบปล่อย การกินอาหารโดยไม่ถูกกรรมวิธี การบริโภคน้ำโดยไม่ผ่าน
กรรมวิธีการทำความสะอาดก่อนการบรโิ ภค ไมม่ ีการสวมรองเทา้ เป็นตน้


• บา้ นปาง ต.หนองบวั อ.ไชยปราการ จากการสำรวจข้อมูล พบว่ามีปญั หา คอื

- ปัญหาน้ำเพอื่ การเกษตร

น้ำรงู ูเหลือมบน และงเู หลือมล่าง

• เป็นคลองส่งน้ำคอนกรีตระยะทาง ๑๐๐ เมตร ในช่วงต้น ส่วนท่ีเหลือ

เปน็ คลองสง่ นำ้ แบบคลองดนิ ทำใหใ้ นฤดแู ลง้ นำ้ ซมึ หายลงใตด้ นิ จำนวนมาก

ไปไมถ่ งึ พืน้ ท่เี กษตรของชาวบา้ นทอ่ี ยู่ปลายน้ำ

• ขาดการบริหารจัดการด้วยวิธีท่ีเหมาะสม ปัจจุบันเจ้าของสวนใช้วิธีผันน้ำ

โดยให้น้ำท่วมขังในพ้ืนท่ี เฉพาะต้นน้ำ และกลางน้ำ ทำให้พ้ืนท่ีปลายน้ำ

ไม่ไดร้ บั นำ้

ลำหว้ ยแมบ่ งและหว้ ยแมว่ ะ เปน็ ลำหว้ ยสาขาของแมน่ ำ้ ฝาง ไหลผา่ นในพนื้ ทบี่ า้ นปาง
ในชว่ งของปลายลำหว้ ย

• ห้วยแม่บง ในหน้าแล้งไม่มีน้ำไหลลงอ่างห้วยบง เพราะเกษตรกรต่อน้ำ

ไปใช้ในสวนโดยตรง คนใช้ประโยชนส์ ว่ นมากเป็นคนนอกพนื้ ทบี่ า้ นปาง

• ห้วยแม่วะ เป็นแหล่งน้ำการเกษตรคนในบ้านใหม่หนองบัว มีปัญหาการ

แย่งชิงน้ำ เน่ืองจากการขยายพื้นท่ีปลูกไม้ผลขึ้นไปบนภูเขาของคนพื้นราบ

กบั ประชากรแฝงและบคุ คลท่ียังไมไ่ ดส้ ญั ชาติ ประมาณ ๖,๐๐๐ คน

- ปัญหาหนี้สิน การกู้กิน กู้ใช้ จากการตรวจสอบพบว่า บ้านปางมีข้อมูลหน้ีสิน
จากการสำรวจตามแบบสำรวจเศรษฐกิจและสังคม จำนวน ๑๔.๖๐ ล้านบาท หรือเฉล่ีย
๙๕,๓๐๐ บาทต่อครอบครัว ส่วนมากกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

51

มากที่สุดประมาณ ๘.๕๗ ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ ๕๘.๗๑ เพื่อนำไปลงทุนสำหรับ
การเกษตรซึ่งเป็นพืชเชิงเด่ียว เช่น ล้ินจี่ ค่าปุ๋ย ค่ายา นอกจากน้ี ปัญหาการกู้ยืมลำดับท
ี่
รองลงมาคือ เพอ่ื การศกึ ษาร้อยละ ๑๔.๐๓




๒. จังหวดั พิษณโุ ลก

• บ้านหนองพระ และบ้านเจริญผล ต.หนองพระ อ.วังทอง จากการสำรวจข้อมูล

พบวา่ มปี ัญหา คอื

- น้ำท่วมในฤดูน้ำหลาก และขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง เม่ือสำรวจแหล่งน้ำและคู
คลองทอ่ สง่ นำ้ พบวา่ มปี ญั หาตน้ื เขนิ จากการขาดการดแู ลรกั ษา มวี ชั พชื จำนวนมาก ประตนู ำ้
อยู่สงู ระดบั การวางท่อ จำนวนท่อไมส่ ัมพันธก์ ับการไหลของนำ้

ดา้ นปศสุ ัตว์และการเกษตร ๑) การส่งเสรมิ กองทนุ พืชผักสวนครัว ทชี่ าวบา้ นนิยมบริโภค
ได้แก่ พริก กะเพรา โหระพา ผักเสี้ยน ผักกาดขาว บริเวณบ้านและภาชนะเหลือใช้ อาท

เศษกระถาง รางอาหารหมู ยางรถยนต์ โดยชาวบ้านจะเตรียมแปลงเพาะปลูก และภาชนะ
เหลอื ใชใ้ นครวั เรือน ๒) การส่งเสรมิ กองทนุ สกุ ร โดยชาวบา้ นจะเริ่มนำร่องเอง เพอ่ื สรา้ งความ
เข้าใจและปูพื้นฐานความรู้ในการเลี้ยงหมูเหมยซานซ่ึงเป็นหมูท่ีชาวบ้านไม่รู้จักมาก่อน โดย
จัดสรรเงินสาธารณประโยชน์ของกองทุนหมู่บ้านจัดซื้อสุกรหมู่บ้านละ ๒ ตัว (พ่อพันธุ์

แม่พันธ์ุ) สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ให้ข้อมูลแหล่งจำหน่าย

ส่วนเกษตรอำเภอและปศุสัตว์อำเภอ ประชุมชาวบ้านเพื่อสร้างความเข้าใจ ให้ความรู้เร่ือง
สขุ าภบิ าลสัตว์ การรกั ษา จัดระเบยี บและแนวทางดำเนนิ งานกองทนุ ใหค้ วามร้สู ุขาภิบาลสัตว์
การอบรมอาสาสมัครหมู่บ้าน เพื่อทำหน้าที่ดูแลหมู รวมถึงเป็นตัวกลางระหว่างชาวบ้านกับ
หน่วยงานราชการ โดยมีชาวบ้านท่ีสนใจเข้าร่วมนำร่อง ๒๓ ราย ท่ีพร้อมเตรียมคอกและ

หาแหล่งอาหารในพน้ื ท่ี (กล้วย รำ แกลบ ผักบุ้ง) โดยหมู ๑ ตัว ตอ้ งปลูกกลว้ ย ๕๐ ต้นตอ่ ปี
และมอี าสาสมัครปศุสัตว์ในพ้ืนท่ีอยแู่ ลว้ ๓) การสง่ เสรมิ กองทนุ ปลา สำนกั งานประมงจงั หวดั
ประมงอำเภอศนู ย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจดื ให้การสนับสนุนพันธ์ปุ ลากินพชื ได้แก่ ปลานลิ
คัดพันธุส์ ดี ำ ปลานลิ แดง และปลาตะเพียน ในวัยเจรญิ พันธ์ุ บ่อละ ๑,๐๐๐ ตวั (ต้นทุน ๐.๑๕
บาท/ตัว) รวมถึงการจัดอบรมให้ความรู้เร่ืองการเลี้ยงปลาและการผลิตอาหารปลาจากวัตถุดิบ
ในท้องถ่ิน และวิธีการบริหารกองทุน โดยชาวบ้านที่จะเข้าร่วมกิจกรรมน้ี จะต้องทำบ่อ

และกระชังที่ได้มาตรฐานของกรมประมงและร่วมวางแผนในการเลี้ยงกับหน่วยงานราชการ

ขั้นต้นมีชาวบ้านแสดงความจำนงแล้ว ๒๐ ราย ๔) ด้านพัฒนาปรับปรุงบำรุงดิน สถานี
พัฒนาท่ีดินจังหวัด เก็บตัวอย่างดิน ๑๒๐ แปลง นำไปวิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
(คณุ สมบัตทิ างเคมีและโครงสรา้ ง) เพอ่ื นำผลการวิเคราะหไ์ ปผลติ ป๋ยุ สั่งตดั และอบรมใหค้ วามรู้
แก่ชาวบา้ นในเรอ่ื งปุ๋ยสง่ั ตดั ทีต่ รงกับความต้องการของพชื หมบู่ ้านละ ๒๐ คน




52

๓. จังหวัดสงิ ห์บรุ ี

• บา้ นท่าลอบ ต.โพทะเล อ.คา่ ยบางระจัน จากการสำรวจขอ้ มูล พบว่ามีปัญหา คอื

- ปญั หาด้านการบริหารจัดการนำ้ บ้านท่าลอบใชน้ ำ้ จากระบบชลประทานในพนื้ ที่
ของโครงการส่งนำ้ และบำรุงรักษาชัณสตู ร มีปญั หา คสู ่งน้ำที่ ๒๑ รบั น้ำจากคลองชลประทาน
คลอง ๓ ซา้ ย ๑ ขวา ทีผ่ นั นำ้ มาจากคลอง ๑ ขวา ของโครงการฯชัณสูตรฯ ไมม่ ีการก่อสร้าง
ท่อส่งน้ำเข้าท่ีนาไว้ เม่ือเกษตรกรต้องการใช้น้ำจึงใช้วิธีเจาะคอนกรีตข้างคลอง แล้วจึงใช้
กระสอบทรายปิดกั้นคลอง เพื่อยกระดับน้ำเข้าท่ีนาของตนเอง ทำให้สภาพคูชำรุดหลายแห่ง
และมีวัชพชื ขึ้นปกคลมุ ตลอดคูส่งนำ้ ทำให้อตั ราการไหลของนำ้ ในคสู ่งนำ้ ชา้ ลง

- ปัญหาด้านเกษตร ปัญหาด้านเกษตรเป็นเร่ืองผลผลิตตกต่ำ ต้นทุนสูงจาก

การใช้ปยุ๋ และสารเคมี ค่าจ้างแรงงาน น้ำมนั เช้ือเพลงิ รวมทั้งปญั หาโรคและแมลงระบาด เชน่
เพล้ยี กระโดดสีนำ้ ตาล

- ปญั หาเรอื่ งดนิ สภาพดนิ ในบ้านทา่ ลอบ มีโครงสร้างดินแข็ง แน่น มีความเป็น

กรดสงู สาเหตุจากการทำเกษตรกรรมอย่างต่อเนอื่ ง โดยปราศจากการปรบั ปรุงบำรุงดนิ



๔. จงั หวดั นา่ น

• บ้านห้วยคำ ต.ฝายแกว้ อ.ภูเพยี ง, บา้ นหว้ ยปกุ ต.สะเนยี น อ.เมือง, บ้านสะเกนิ
ต.ยอด อ.สองแคว และบา้ นโปง่ คำ ต.ดพู่ งษ์ อ.สนั ตสิ ขุ จากการสำรวจขอ้ มลู พบวา่ มปี ญั หา คอื

- บ้านห้วยคำ ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง พ้ืนที่ประสบภาวะภัยแล้ง เสี่ยงจากดินถล่ม

ผลผลิตตกต่ำ มีการลกั ลอบตัดไม้ทำลายป่า มกี ารปลูกพืชเชิงเด่ยี ว

- บา้ นหว้ ยปกุ ต.สะเนยี น อ.เมอื ง ตน้ ทนุ นำ้ มากขาดการใชป้ ระโยชน์ ฝายเดมิ ชำรดุ

ทำไร่หมุนเวยี น ใชส้ ารเคมีทม่ี ากเกนิ อัตรา

- บ้านสะเกิน ต.ยอด อ.สองแคว มีอ่างเก็บน้ำน้ำงิมซึ่งมีปริมาณน้ำ ๑๔๓ ล้าน

ลกู บาศกเ์ มตร ซ่ึงมีปริมาณนำ้ ทีเ่ พียงพอใช้ในการเกษตร แต่ชาวบ้านไมส่ ามารถนำนำ้ เขา้ พนื้ ท่ี
การเกษตรได้ และนำ้ อปุ โภคบรโิ ภคไมเ่ พยี งพอ จงึ ทำใหใ้ นฤดแู ลง้ เกดิ ปญั หาแยง่ นำ้ กัน


- บ้านโป่งคำ ต.ดู่พงษ์ อ.สันติสุข น้ำไม่เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค แหล่งน้ำ

อยู่ตำ่ กว่าพืน้ ท่เี กษตร มกี ารทำเกษตรแบบไรห่ มนุ เวยี น


53

๕. จงั หวดั เชียงราย

• บ้านพญาพิภักด์ิ ต.ยางฮอม อ.ขุนตาล จากการสำรวจพบว่ามีปัญหา คือ ไม่มี
ลำน้ำสายหลักในพ้ืนท่ี มีแต่ลำห้วยและป่าต้นน้ำซ่ึงถูกใช้เป็นพ้ืนที่ทำกิน ท่ีกระจายตัวรอบ ๆ
หมบู่ า้ น มแี หลง่ นำ้ ตำ่ กวา่ พน้ื ทเี่ กษตร มกี ารปลกู พชื เศรษฐกจิ เชน่ ดอกกหุ ลาบ กาแฟ ลกู พลบั
ซ่งึ ใช้สารเคมสี ูงมาก มกี ารเล้ยี งสตั ว์แบบปล่อยและขาดความรดู้ ้านสุขาภบิ าลสตั ว์

• บ้านแม่บง ต.โชคชัย อ.ดอยหลวง จากการสำรวจข้อมูลพบว่ามีปัญหา คือ

มีแม่น้ำสายหลัก คือ น้ำแม่บง โดยตลอดลำน้ำสาขา มีการก้ันน้ำและผันน้ำเข้าลำเหมือง

ชาวบ้าน เพื่อใช้ในการปลูกข้าว แต่ปัจจุบันชำรุดหลายแห่ง มีการตรวจพบสารเคมีตกค้าง

ในน้ำ ทำให้ไม่สามารถนำนำ้ ไปใช้สำหรบั การบรโิ ภคได



๖. จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ

• บ้านห้วยเกรียบ ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน จากการสำรวจข้อมูลพบว่ามีปัญหา
คือ มปี ญั หาขาดการบรหิ ารจดั การนำ้ ภายในชมุ ชนและระหว่างชุมชน และระบบสง่ นำ้ ของอา่ ง
เก็บน้ำโป่งสามสิบ ที่ใช้ประโยชน์หลายหมู่บ้าน ทำให้ไม่เพียงพอกับความต้องการ และขาด

การซ่อมแซมบำรงุ รกั ษา

• บ้านโป่งโก ต.ทองมงคล อ.บางสะพาน จากการสำรวจข้อมูลพบว่ามีปัญหา คือ
ห้วยแมงแซง ซึ่งเป็นแหล่งน้ำหลัก ไม่มีน้ำในช่วงฤดูแล้ง ทำให้ชาวบ้านต้องผันน้ำจากคลอง
ขนานบริเวณน้ำตกไทรคู่มายงั หว้ ยแมงแซงเพอื่ ใชเ้ พาะปลูกในช่วงฤดูแล้ง รวมทัง้ พบการระบาด
ของแมลงศัตรูพชื และโรคพืช ทำใหผ้ ลผลิตนอ้ ย

๗. จังหวัดตราด

• บ้านท่าตะเภา ต.หนองเม็ด อ.เมือง จากการดำเนินงานพบว่ามีปัญหา คือ ยังมี
ความคลาดเคลอื่ นในวธิ กี ารทำงานการเกบ็ ขอ้ มูลตามแบบสำรวจเศรษฐกิจ-สังคม



๘. จงั หวัดเลย

• บ้านกลาง ต.ปลาบ่า อ.ภูเรือ จากการสำรวจข้อมูลพบว่ามีปัญหา คือ แหล่งน้ำ

ไม่เพียงพอต่อการเกษตรและอุปโภค พบฝายชำรุดหลายแห่ง ขาดองค์ความรู้ในการบริหาร
จัดการน้ำ เช่น กลุ่มผู้ใช้น้ำ การสร้างและซ่อมแซมฝายและท่อด้านการเกษตร พบปัญหา

โรคพืช เช่น เช้อื ราขาวในข้าวโพด ขา้ วไร่ ยางพารา



๙. จงั หวดั ยะลา

• บ้านดอน ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จากการสำรวจข้อมูลพบว่ามีปัญหา คือ พื้นท่ี
สภาพป่าอุดมสมบูรณ์ แต่มีปัญหาการบุกรุกป่าในเขตอนุรักษ์ที่เป็นแหล่งต้นน้ำของชุมชน
แม้ว่าจะมีกฎระเบียบกติกาแต่ไม่สามารถควบคุมได้ เนื่องจากมีแรงงานท่ีเป็นประชากรแฝง

เข้ามาอยู่ สง่ ผลให้มกี ารบุกรกุ ปา่ เพิ่มขึ้น


54

๑๐. จังหวัดเพชรบรุ ี

• บ้านโป่งลึก และบ้านบางกลอย ต.ห้วยแม่เพรียง อ.แก่งกระจาน จากการสำรวจ
ข้อมูลพบว่ามีปัญหา คือ ชาวบ้านในพ้ืนท่ีเป็นชาวกะหร่าง บางส่วนเป็นบุคคลไร้สัญชาติ

รายได้ต่ำ มีปัญหาเรื่องน้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภค และระบบน้ำเพ่ือการเกษตร โดยชาวบ้านมี
ท่ีดินทำกินแต่ไม่มีระบบน้ำ ต้องสูบน้ำจากแม่น้ำเพชรบุรีข้ึนมาใช้ และต้องท้ิงท่ีดินในการ

ทำเกษตร ๒-๓ ปี เพ่ือพักดิน ด้านสภาพป่าไม้ มีความอุดมสมบูรณ์เพราะอยู่ในเขตพื้นท่ี
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน แต่มีปัญหาของเถาวัลย์รุกป่า การล่าสัตว์ สภาพบ้านเรือน

ไมถ่ าวร มกี ารระบาดของโรคมาลาเรยี ในพน้ื ทม่ี ศี นู ยศ์ ลิ ปาชพี บา้ นบางกลอย-บา้ นโปง่ ลกึ สง่ เสรมิ
ให้มกี ารปักผ้าและงานหตั ถกรรม ซึ่งเปน็ แหล่งรายไดห้ ลักทางหน่ึงของชาวบา้ น

ผลจากการดำเนินงานในพ้นื ทขี่ ยายผล ๑๐ จังหวดั ๑๘ หมบู่ า้ น ในปงี บประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๔ มคี วามกา้ วหน้าดังนี้

๑. จังหวัดที่อยู่ในขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ประยุกต์ตามพระราชดำริ
มี ๔ จังหวัด ๙ หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวดั เชยี งใหม่ (๒ หมูบ่ ้าน) จงั หวัดพษิ ณโุ ลก (๒ หมู่บ้าน)
จังหวัดสิงหบ์ ุรี (๑ หมู่บา้ น) และจังหวัดนา่ น (๔ หมู่บา้ น)

๒. จังหวัดท่ีอยู่ในขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล ค้นหาปัญหา ความต้องการชาวบ้าน
จำนวน ๖ จังหวัด ๙ หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ จังหวัดเชียงราย (๒ หมูบ่ า้ น) จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์

(๒ หมู่บา้ น) จงั หวดั ตราด (๑ หมบู่ ้าน) จังหวัดเลย (๑ หมูบ่ า้ น) จงั หวดั ยะลา (๑ หมู่บา้ น)
และจงั หวัดเพชรบรุ ี (๒ หมู่บา้ น)




55


สรปุ การดำเนินงานสถาบันส่งเสริม

และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ





งานดา้ นการจัดการความรู้


๑. การรวบรวมและจดั ทำคลังความร
ู้

๑.๑ งานท่สี ถาบันฯ ดำเนินการ

๑) รวบรวมองค์ความรพู้ ร้อมใช้จากครูภูมปิ ัญญา


• ถอดความรู้จากการปฏิบัติของเกษตรกรในพ้ืนท่ีต้นแบบน่าน บ้านยอด

ต.ยอด อ.สองแคว และบ้านน้ำป้าก ต.ตาลชุม อ.ท่าวังผา รวม ๑๕

ราย เพื่อจัดทำเอกสารสำหรับงานอนุรักษ์มรดกไทย มรดกน่าน และ

แลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือขยายพ้ืนท่ีปิดทองหลังพระฯระหว่างวันที่ ๒-๕

เมษายน ๒๕๕๔


• ถอดความรจู้ ากการปฏบิ ตั ขิ องครูภูมปิ ัญญาน่าน จำนวน ๓๐ ราย (รว่ ม

กบั กลมุ่ ฮักเมืองน่าน)


๒) จัดทำฐานข้อมูลครูภูมิปัญญา โดยจำแนกตามมิติ ๖ มิติ ประกอบด้วย

รายชอื่ ครูภูมปิ ัญญา ความเช่ียวชาญ ที่อยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ และหนว่ ยงานอา้ งองิ ทเ่ี ปน็ ผู้แนะนำ


๓) จดั ทำฐานขอ้ มูลผเู้ ชย่ี วชาญความรู้ตามแนวพระราชดำริ ทั้ง ๖ มิติ จำแนก
ตามมิติ ประกอบด้วย รายชื่อผู้เช่ียวชาญ ซึ่งได้รับการแนะนำจากมูลนิธิชัยพัฒนา ความ
เชี่ยวชาญของแตล่ ะทา่ น ท่ีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ และหน่วยงานทแ่ี ต่ละท่านสังกดั อยู


56

๑.๒ งานทีจ่ ัดจา้ งหนว่ ยงานหรอื บคุ คลภายนอก

๑) รวบรวมและถอดความรจู้ ากการปฏิบตั ขิ องเกษตรกรในพื้นที่ตน้ แบบ

• จัดจ้างมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถอดความรู้จากการปฏิบัติของชุมชนและ

เกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ท่นี ำแนวพระราชดำริไปประยุกต์ใช

จำนวน ๒๐ เรอื่ ง นำส่งแลว้ ๒ เรอื่ ง คือ บ้านปา่ สักงาม และเกษตร

อินทรีย์ นางบานเย็น สุนันตา โดยจะนำส่งครบ ๒๐ เรื่อง ในเดือน

เมษายน ๒๕๕๔

• จัดจ้างนักศึกษาปริญญาโท สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)

ถอดความรู้จากการปฏิบัติของเกษตรกรต้นแบบ รอบศูนย์ศึกษาการ

พัฒนาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ จ.ฉะเชิงเทรา จำนวน

๓ เรือ่ ง คือ เกษตรทฤษฎใี หม่ การแปรรปู ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร และการ

เลย้ี งกบ

๒) การจัดทำสื่อการเรียนรู้แบบ Interactive บนหน้าเว็บไซต์สถาบันฯ

ศูนย์นวัตกรรมและการจัดการความรู้ วิทยาลัยศิลปะ ส่ือ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ ได้จัดทำส่ือการเรียนรู้ Interactive บนหน้าเว็บไซต์ของสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ เพอื่ สรา้ งสอ่ื การเรยี นรอู้ ยา่ งงา่ ยสำหรบั ประชาชนทกุ ระดบั โดยเฉพาะ
เยาวชน ให้เข้าใจแนวพระราชดำริมากขึ้น โดยในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ศูนย์นวัตกรรม

และการจัดการความรู้ฯ ได้นำส่งบทการเรียนรู้ในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ที่มี
เนอื้ หาครอบคลุมใน ๖ มติ ิ ประกอบดว้ ยเร่อื ง เกษตรทฤษฎีใหม่ ฝายแม้ว แกล้งดนิ แกม้ ลิง
ฝนหลวง และกังหันชัยพัฒนา เพ่ือให้สถาบันฯ พิจารณาให้ความเห็น ก่อนท่ีคณะผู้ศึกษา

จะนำไปทำ story board



๒. ด้านการเชอื่ มโยงองคค์ วามรู้และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้

๒.๑ สนับสนนุ และเช่อื มโยงองค์ความรู้ให้แกอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่

คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ เห็นชอบใน
หลักการโครงการขยายผลปิดทองหลังพระ ของสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย

๓๐ โครงการ และของสมาคมองคก์ ารบริหารส่วนตำบลแหง่ ประเทศไทยจำนวน ๑๐ โครงการ
โดยเน้นแนวทางเช่ือมโยงองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำริ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น สรุปผลการดำเนินงานดังนี

๒.๑.๑ การเชือ่ มโยงองค์ความรู้ สบื สานแนวพระราชดำริ ใหแ้ ก่เทศบาล

๑) การเชื่อมโยงองค์ความร้คู ร้งั ท่ี ๑

สถาบันฯ ร่วมกับสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย จัดการประชุมเชิง
ปฏิบัติการ “สรุปบทเรียนการทำงานสืบสานแนวพระราชดำริระดับชุมชนเมือง สู่การขยายผล
เทศบาลปิดทองหลังพระ” ในวันท่ี ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ ณ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่ง
ประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นเวทีในการแลกเปล่ียนบทเรียนการดำเนินงานและ

57

ความสำเร็จจากกิจกรรม/โครงการท่ีน้อมนำแนวพระราชดำริมาประยุกต์ใช้ในการบริหาร
จดั การเมอื ง รวมทัง้ เพ่ือนำเสนอแนวทางเชอ่ื มโยงองค์ความรตู้ ามแนวพระราชดำริ ให้ขยายผล
กว้างขวางจนเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาชุมชนและประเทศ การประชุมเชิงปฏิบัติการฯ

มีผู้เข้าร่วมประชุม ๘๐ คน ประกอบด้วย ผู้แทนจาก ๓๐ เทศบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ

ทั้ง ๖ มิติ กระบวนการประชุมมีการแบ่งกลุ่มย่อยตามมิติองค์ความรู้ ๖ มิติ คือ น้ำ ดิน
เกษตร พลังงาน ป่าไม้ และสิ่งแวดล้อม เพ่ือให้ผู้แทนจากเทศบาลได้แลกเปล่ียนเรียนรู้
ประสบการณ์การทำงานซ่ึงกันและกัน โดยมีผู้เช่ียวชาญแต่ละมิติให้คำแนะนำและคำปรึกษา

ในเรอ่ื งท่ตี ดิ ขัด ผลการประชมุ สรปุ ได้ดงั น
้ี

• เทศบาลที่มีความสำเร็จในการดำเนินงาน มีแนวโน้มเป็นต้นแบบการเรียนรู้

จำนวน ๙ แห่ง จำแนกเป็นประเด็นสิง่ แวดล้อม ๔ แหง่ พลงั งาน ๓ แหง่

ป่าชายเลน ๑ แห่ง และทำครบทั้งหกมติ ิ ๑ แหง่


• เทศบาลท่ีอยู่ระหว่างการเรียนรู้เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นต้นแบบ จำนวน

๑๐ แหง่ จำแนกเป็นประเดน็ สิ่งแวดล้อมทง้ั หมด ๗ แห่ง ประเดนป่า ๑ แหง่

ประเด็นเกษตร ๑ แห่ง และประเดน็ พลงั งาน ๑ แห่ง


• เทศบาลที่อยู่ระหว่างการพัฒนางาน จำนวน ๑๑ แห่ง จำแนกเป็นประเด็น

สง่ิ แวดลอ้ ม ๙ แหง่ ประเด็นดนิ ๑ แห่ง และประเด็นปา่ ๒ แห่ง




๒) การเช่ือมโยงองค์ความรู้ครง้ั ท่ี ๒

สถาบันฯ ร่วมกับโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาส่ิงแวดล้อมแหลมผักเบี้ย

อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ทำโครงการตรวจประเมินเทศบาล ตามมิติการพัฒนาตาม

แนวพระราชดำริ ๖ มิติ เพือ่ สร้างความเขา้ ใจท่ีถกู ต้องเกี่ยวกับแนวพระราชดำริ และเทศบาล
สามารถนำแนวพระราชดำริไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเมือง โดยมีเทศบาล
เขา้ รว่ มโครงการจำนวน ๓๐ แหง่ ซง่ึ เปน็ เทศบาลทเี่ สนอโครงการผา่ นสมาคมสนั นบิ าตเทศบาลฯ
และเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการเมื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ ความคืบหน้าของ

การดำเนินงาน ศ.ดร.เกษม จนั ทรแ์ ก้ว ผ้อู ำนวยการโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ ม
แหลมผักเบี้ยฯ และคณะผู้เชี่ยวชาญ ได้ลงพื้นท่ีตรวจประเมินเทศบาลแล้ว มีข้อสรุปที่สำคัญ
คือ เทศบาลทุกแห่งมีความมุ่งม่ันในการดำเนินงานโครงการฯ แต่ยังขาดความเข้าใจในการ
เลอื กดชั นีชี้วดั ความสำเร็จของโครงการฯ และยงั ขาดการรวบรวมขอ้ มลู ในเรือ่ งของผลผลติ ทไ่ี ด้

จากการดำเนินงาน เพ่ือบ่งช้ีผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินโครงการฯ เทศบาลส่วนใหญ่มีเคร่ืองมือ
อุปกรณ์ในการดำเนินงานท่ีดี แต่ยังไม่สามารถแสดงศักยภาพได้อย่างชัดเจน และขาดการ

ดูแลรักษา นอกจากน้ียังพบว่า เทศบาลส่วนใหญ่ขาดความเข้าใจในหลักการของโครงการ

และไม่สามารถนำผลผลิตของโครงการฯ ถ่ายทอดสู่ชุมชนได้อย่างท่ัวถึง รวมถึงยังไม่มีระบบ

การจัดการของเสียที่เกิดขึน้ จากการดำเนินงานโครงการฯ อยา่ งครบวงจร เชน่ การนำของเสีย
มาใช้ประโยชน์




58

๒.๑.๒ การเช่ือมโยงองค์ความรู้ สืบสานแนวพระราชดำริ ให้แก่องค์การบริหาร

ส่วนตำบล


สมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย ได้เสนอรายช่ือองค์การ

บรหิ ารส่วนตำบล ๑๐ แห่ง เพื่อเปน็ อบต.ตน้ แบบสบื สานแนวพระราชดำริ ดงั น้ี


อบต. กิจกรรมเดน่ /ความสำเรจ็
บางนำ้ ผง้ึ
ตลาดนำ้ ทอ่ งเที่ยวชุมชน สวสั ดิการชุมชน กลมุ่ เยาวชน และการ
จ.สมุทรปราการ
บำบดั ส่ิงแวดล้อม

หนองขนาน ทำนาอินทรีย์ เป็นศูนย์ผลิตเมลด็ พันธขุ์ า้ ว มีกลมุ่ สจั จะออมทรัพย์
จ.เพชรบุรี
และโรงงานปุ๋ยอนิ ทรีย

ไรส่ ม้ จ.เพชรบุรี
รณรงคแ์ ยกขยะ และนำมาแปรสภาพเปน็ ผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ

ตาลเตย้ี จ.สโุ ขทัย
โดยใชเ้ ทคโนโลยีทพี่ ฒั นาโดยชมรมนักพัฒนาอุตสาหกรรมไทย

ทำนาอินทรีย์ ข้าวหอมนิล ใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเติมอาหารให้ดิน มี
แมท่ า จ.เชยี งใหม
่ กลุ่มสารปรับปรุงดิน ตั้งกองทุนสวัสดิการ และทำแก๊สชีวภาพ
แม่ฟ้าหลวง จากมูลสตั ว์

จ.เชียงราย
ป่าชมุ ชน และการจัดการชมุ ชน

หาดสองแคว ทำฝายอนุรักษ์และปา่ เศรษฐกิจ และมีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรือ่ ง
จ.อตุ รดติ ถ
์ ของการเรยี นหนอนไมไ้ ผเ่ ปน็ อย่างดีด้วย

แมส่ ลองใน นาอินทรยี ์

จ.เชียงราย

อบต.โพนทอง ทำนาขนั้ บันได ฝายเกษตร และรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม

จ.ชัยภูม

อบต.อ้อมเกร็ด การทำนาอนิ ทรยี

จ.นนทบรุ ี

บอ่ ดกั ไขมนั ในครัวเรอื น และหลกั สูตรเศรษฐกิจพอเพยี งใน
โรงเรยี น


๑. การเชื่อมโยงองค์ความร้คู ร้งั ท่ี ๑

สถาบันฯ ไดป้ ระสานผเู้ ชยี่ วชาญจากหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมของ อบต.

โดยได้รับคำแนะนำจากมูลนิธิชัยพัฒนา เพื่อร่วมเดินทางไปศึกษาเย่ียมชมการดำเนินงานของ

อบต. ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๖ ตลุ าคม-๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ ผลจากการเยยี่ มชมการดำเนนิ งาน ของ

อบต. พบว่า อบต.ส่วนใหญม่ ีการดำเนนิ งานดา้ นเกษตร โดยเฉพาะการทำนาอนิ ทรีย์ และการ

จัดการสิ่งแวดล้อม (ขยะ) แต่มักจะมีปัญหาเรื่องการนำน้ำมาใช้เพ่ือการเกษตร รวมไปถึง

ปญั หาขาดน้ำในหน้าแลง้ และน้ำหลากในฤดูฝน

๒. การเชอื่ มโยงองค์ความรู้คร้งั ท่ี ๒

จากการเช่ือมโยงองค์ความรู้ในครั้งแรก ซึ่งเป็นการเดินทางลงพ้ืนท่ีเพื่อศึกษา

ศกั ยภาพและปญั หาของ อบต. พบวา่ มี อบต.จำนวน ๓ แหง่ ทต่ี อ้ งการตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ ด้าน

การปลูกข้าวอินทรีย์และด้านการแปรรูปข้าวเหมือนกัน คือ อบต.ตาลเต้ีย จ.สุโขทัย,

อบต.โพนทอง จ.ชยั ภมู ิ และ อบต.หนองขนาน จ.เพชรบุรี ดังนั้น สถาบันฯ จงึ ประสานสำนัก

59

พัฒนาผลิตภัณฑข์ า้ ว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพอื่ จดั หาผ้เู ชยี่ วชาญด้านการ
แปรรูปข้าว เดินทางลงไปในพ้ืนที่ อบต.ทั้ง ๓ แห่ง และร่างหลักสูตรองค์ความรู้ด้าน

การผลติ ข้าวและแปรรูปขา้ ว ให้เหมาะสมกับความต้องการของ อบต. ดงั น้ี


๑. อบต.ตาลเตย้ี จ.สโุ ขทยั ตอ้ งการองคค์ วามรกู้ ารผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ์ การบรรจภุ ณั ฑ

และการจัดการโรคและศัตรูพืช จึงร่างหลักสูตรอบรมแบ่งเป็น ๒ ช่วง คือ

ชว่ งแรก ใชเ้ วลา ๒ วนั อบรมเรอื่ งความรกู้ ารผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ์ การบรรจภุ ณั ฑ

และชว่ งทส่ี อง เรอื่ ง การจดั การโรคและศตั รพู ืช


๒. อบต.โพนทอง จ.ชัยภูมิ ต้องการองค์ความรู้ด้านการตลาด การแปรรูป

ซึ่งกรมการขา้ วจะจัดการอบรม


๓. อบต.หนองขนาน จ.เพชรบุรี ต้องการลานตากข้าวและไซโลเก็บข้าว ซ่ึง

เป็นส่ิงท่ีนอกเหนือจากการดำเนินการของกรมการข้าว ดังน้ัน กรมการข้าว

จะกลับไปทบทวนรายละเอียด และจัดหาองค์ความรู้ที่เหมาะสมให้

อบต.หนองขนาน




๒.๑.๓ การเชื่อมโยงองค์ความรู้ใหแ้ กท่ อ้ งถ่นิ ในโครงการพระดาบสสญั จร


มูลนิธิพระดาบส ได้จัดโครงการพระดาบสสัญจร ซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นศูนย์
บริการเคล่ือนท่ีให้ความรู้และบริการแก่ประชาชนในพื้นท่ีการเกษตร เพ่ือเป็นการสนอง

พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งต้องการให้เกษตรกรมีความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
ของโครงการพระดาบสสัญจร คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ประมาณ ๒๐๐ แห่ง

ทั่วประเทศ ที่แสดงความจำนงมายังมูลนิธิพระดาบส ผ่านกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
มูลนธิ ิพระดาบส ประสานสถาบันส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลงั พระฯ เป็นหนว่ ยเชอื่ ม

ความรู้ตามแนวพระราชดำรแิ ก่ อปท.ท่เี ขา้ ร่วมในโครงการพระดาบสสญั จร


60

สถาบนั ฯ ไดเ้ ขา้ ร่วมโครงการพระดาบสสัญจร โดยการเปิดเป็นคลนิ ิกเกษตร สอบถามความต้องการ
ของท้องถิ่นว่าต้องการองค์ความรู้เรื่องอะไร และนำผู้ชำนาญการไปให้ความรู้แก่เกษตรกรในท้องถิ่นนั้นๆ ซ่ึงใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๔ ไดด้ ำเนนิ การดงั น้ี


โครงการพระดาบสสัญจร


คร้ังท่ี วัน เดอื น ปี สถานที่ ผ้ชู ำนาญการทเ่ี ชอ่ื มโยงความรู้

๖๑ ๒๖ มิ.ย. ๕๔ ตำบลขุนศรี อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี กรมการข้าว
๖๒ ๓๐ ก.ค. ๕๔ ตำบลวังบวั อ.คลองขลุง ศนู ย์วจิ ัยข้าวพิษณุโลก

จ.กำแพงเพชร

๖๓ ๓๑ ก.ค. ๕๔ ตำบลดงกลาง อ.เมือง จ.พจิ ิตร ศูนย์วิจยั ข้าวพษิ ณุโลก
๖๔ ๓ ก.ย. ๕๔ ตำบลดอนเกาะกา ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วฉะเชงิ เทรา

อ.บางนำ้ เปรย้ี ว จ.ฉะเชิงเทรา คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
๖๕ ๒๕ ก.ย. ๕๔ ตำบลคลองจนิ ดา วิทยาเขตกำแพงแสน

อ.สามพราน จ.นครปฐม




๒.๒ สนับสนุนการนำองค์ความรู้ไปใช้ในสถาบันการศึกษา และเชื่อมโยงหลักสูตรการเรียนรู้ทุกระดับ

ทั้งในระบบและนอกระบบ


คณะกรรมการสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ มมี ตเิ หน็ ชอบ
แนวทางความร่วมมอื ระหว่างสถาบันอดุ มศึกษากบั สถาบนั ปดิ ทองหลังพระฯ โดยมีรูปแบบความร่วมมือดงั นี้


๑. นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัย ๑๖๕ แห่ง ทั่วประเทศ นำความรู้ท่ีศึกษา

ในมหาวิทยาลัย ลงปฏิบตั งิ านชว่ ยเหลอื ประชาชนในชมุ ชน เพื่อแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพ้ืนท่ี


๒. มหาวิทยาลัยท่ีเลือกพ้ืนท่ีการทำงานของสถาบันฯ สามารถเรียนรู้การน้อมนำแนวพระราชดำร

ไปแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของชาวบ้าน ต้ังแต่ระดับอยรู่ อด พอเพียง และมีความย่งั ยนื

ซ่งึ อาจใช้เวลา ๔-๖ ปี โดยนกั ศึกษาตอ้ งทำงานอย่างตอ่ เน่อื งตัง้ แตป่ กี ารศกึ ษาท่ี ๑ ถงึ ปกี ารศึกษา

ที่ ๔ หรือผูจ้ บการศกึ ษา อาจยอ้ นกลบั มาช่วยร่นุ นอ้ งได้


๓. พื้นที่หรือชุมชนที่สถาบันปิดทองหลังพระฯ เสนอให้มหาวิทยาลัยพิจารณา จะเป็นพื้นที่ท่ีมี

การเก็บข้อมูลที่เป็นจริงแล้ว ท้ังด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดิน แหล่งน้ำ ป่าไม้ ข้อมูล

ด้านเศรษฐกิจ ความต้องการของชุมชน ซ่ึงนักศึกษาจะลดระยะเวลา และสามารถทำงานร่วมกับ

ชาวบา้ นและปิดทองหลงั พระฯได้


๔. มหาวิทยาลัยที่เลือกเข้าร่วมกับปิดทองหลังพระฯ สามารถนำผลงานเข้าแข่งขันในโครงการ SIFE

ภาคภาษาไทย (เดิมเป็นภาษาอังกฤษ) และผลงานท่ีชนะเลิศจะสามารถส่งไปประกวดใน

ตา่ งประเทศได้


ได้มกี ารดำเนนิ งานในเร่อื งความรว่ มมือ ดังนี้


61

๑. นำคณะอาจารย์และผูบ้ ริหารสถาบนั การศกึ ษาไปดงู าน

สถาบันฯ ได้เชิญคณะอาจารย์และผู้บริหารสถาบันการศึกษาทุกประเภท ได้แก่
ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ประธานท่ีประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานบริหารงานวิทยาลยั ชุมชน นายกสมาคมอดุ มศึกษา
เอกชน ประธานท่ีประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ ไปศึกษาดูงานท่ีโครงการพัฒนาพื้นท่ี
ต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนท่ีจังหวัดน่าน และโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่
ทรงงาน) อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ ระหวา่ งวันท่ี ๑๐-๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๓ เพ่ือสร้างความ
เข้าใจเก่ียวกับภารกิจและการดำเนินงานของสถาบันฯ อันจะนำไปสู่ความร่วมมือระหว่าง
สถาบันอุดมศึกษา ในการเชิญชวนมหาวิทยาลัยทั่วประเทศนำความรู้ท่ีเป็นทฤษฎีและ
ประสบการณ์จากการศึกษาในมหาวิทยาลัย ลงทำงานช่วยเหลือแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่
ตามความตอ้ งการของประชาชนในหมูบ่ า้ น

๒. โครงการนำรอ่ งกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

สถาบนั ฯ เรม่ิ นำรอ่ งกบั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โดยมกี ารหารอื กบั รองอธกิ ารบดี
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผลสรปุ คอื จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหี ลกั สตู ร/โครงการ ๓ ประเภท
ทส่ี ามารถทำความรว่ มมอื กบั สถาบนั ฯ คือ

• วชิ าเลือกในกลมุ่ สหศาสตร์ มนี ิสิตลงทะเบยี นเรียน ๔๐๐ คน ลักษณะวิชา

เป็นการให้นิสิตเรียนรู้กับโครงการพัฒนา โดยหากร่วมมือกับปิดทองฯ

เบอื้ งต้นจะเลือกพนื้ ทใ่ี นรศั มี ๒๐๐ กิโลเมตร จากกรงุ เทพฯ


62

• โครงการจิตอาสาจฬุ าฯ เริ่มทำโครงการน้ใี นปีการศึกษา ๒๕๕๔ จะมีนิสิต

ที่จะต้องทำจิตอาสาประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน คนละ ๑๐ ชั่วโมง (๒ วัน)

โดยแบ่งเป็นนิสิตที่จะต้องทำต่อเน่ือง ๓ ปี ๕,๐๐๐ คน และนิสิตที่จะทำ

๑ ปี ประมาณ ๕,๐๐๐ คน โดยไม่รับเงินค่าตอบแทน และไม่มีการให

คะแนน


• วิชาสู่พัฒนาชนบท เป็นวิชาที่ให้นิสิตลงปฏิบัติในพื้นที่ท่ีห่างไกล ประมาณ

๑ สปั ดาห


ในเบ้ืองต้น จะเร่ิมจากวิชาสหศาสตร์ เนื่องจากสามารถทำได้ทันที ให้นิสิตมา
เรยี นรู้ ได้เข้าใจและเห็นภาพ โดยสถาบันฯ จดั เตรียมขอ้ มูลพ้นื ทเ่ี ปา้ หมายสำหรับนสิ ติ ลงพนื้ ที่
ให้แก่จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ขอ้ มลู ดงั กล่าวประกอบดว้ ย ๑) รายชื่อโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ท่ีอย่ใู นระยะ ๒๐๐ กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ ได้แก่ โครงการของมลู นิธิชยั พฒั นา
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เขาหินซ้อน จ.ฉะเชิงเทรา และศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ห้วยทราย
จ.เพชรบุรี ๒) รายชื่อชุมชนรอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เพ่ือให้
อาจารยแ์ ละผบู้ ริหารไดพ้ จิ ารณาเตรียมการในครัง้ ต่อไป


๓. ความรว่ มมอื กบั มลู นธิ ริ ากแกว้ และ SIFE ประเทศไทย (Students In Free Enterprise)

SIFE (Students in Free Enterprise) เป็นองคก์ รระดับโลกท่ไี ม่แสวงหาผลกําไร
ก่อต้ังขึ้นเม่ือปี ๒๕๑๘ ท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเปิดโอกาสให้นิสิต

นักศึกษา และอาจารย์ได้นำความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตลอดจนทรัพยากรต่าง ๆ ใน
มหาวิทยาลัยมาสร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชน โดยการทำโครงการพัฒนาความรู้ เสริมทักษะ
และสร้างอาชีพ เพ่ือส่งเสริมศักยภาพและความสามารถของสมาชิกในชุมชนให้มีคุณภาพชีวิต
และมาตรฐานการครองชีพท่ีดีขึ้นอย่างแท้จริงและยั่งยืนใน ๓ ด้านได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม
และส่ิงแวดล้อม โครงการ SIFE ถือเป็นกระบวนการในการพัฒนาศักยภาพนิสิต นักศึกษาให้
เปน็ ผ้นู ำทีม่ จี ิตสำนึกและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและประเทศชาติ

ในปี ๒๕๕๔ สถาบันฯ ได้ให้การสนับสนุนมูลนิธิรากแก้วเพ่ือดำเนินงาน
โครงการ SIFE ในประเทศไทย โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้หลักพัฒนาตามแนวทางโครงการ
พระราชดำรขิ องพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ซ่งึ ครอบคลมุ หลกั คิด หลกั วชิ า และหลกั ปฏบิ ตั ิ
และเผยแพร่ให้แก่สถาบันอุดมศึกษาท่ีร่วมโครงการ SIFE เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา
โครงการ SIFE นอกจากน้ี โครงการ SIFE ยังได้รับความอนเุ คราะห์จากมลู นิธแิ ม่ฟ้าหลวงฯ ให้
ความรู้และสนับสนุนให้นักศึกษาลงพื้นท่ีจริงเพื่อสำรวจและศึกษาสภาพปัญหาที่แท้จริงของ
ชุมชน เรียนร้ปู ัญหาของชุมชนอยา่ งถ่องแท้ และร่วมกบั ชุมชนจดั ทำแผนโครงการพัฒนาชุมชน
ในระยะยาว เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างตรงจุด มีประสิทธิผล สามารถวัดผลได้อย่างเป็น

รปู ธรรม และคำนงึ ถึงประโยชน์ของชุมชนเปน็ เป้าหมาย

กจิ กรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากความร่วมมอื กบั สถาบันฯ ในปี ๒๕๕๔ ไดแ้ ก

๑. การสัมมนาปฐมนเิ ทศอาจารย์ทปี่ รกึ ษา นสิ ติ นักศกึ ษา ๓๕ มหาวทิ ยาลัยทวั่ ประเทศ
ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการเร่ืองแนวทางการพัฒนาชมุ ชน วนั ที่ ๒๗-๒๘ มกราคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรม
อิมพีเรียล ควีนส์ ปาร์ค โดยมีภาคีเครือข่ายสำคัญของสถาบันฯ ร่วมสนับสนุน ได้แก่

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น

63

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ บริษัท จัดการและพัฒนา
ทรพั ยากรนำ้ ภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) และสำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตรยิ ์


๒. สถาบันฯ ได้เสนอพ้ืนที่เป้าหมายในการดำเนินโครงการ SIFE ให้แก่มหาวิทยาลัยท
ี่
เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ พ้ืนที่หมู่บ้านขยายผลศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ๖ แห่ง พ้ืนที่หมู่บ้าน

ของหนว่ ยงานสบื สานแนวพระราชดำริ เชน่ มลู นธิ ชิ ยั พฒั นา มลู นธิ ศิ ลิ ปาชพี มลู นธิ แิ มฟ่ า้ หลวงฯ
โดยในแต่ละพ้ืนที่มีข้อมูลที่เป็นจริงในพ้ืนที่ มีทีมพ่ีเล้ียง หรืออาสาสมัครปิดทองหลังพระฯ

ในพน้ื ทเี่ ชอ่ื มโยงใหน้ กั ศกึ ษาทลี่ งพนื้ ทเี่ ปา้ หมายไดเ้ ขา้ ใจถงึ เงอื่ นไข ปญั หา และความตอ้ งการของ
ชาวบา้ นอยา่ งแทจ้ รงิ รวมทง้ั กำกบั ดแู ลและตดิ ตามผล ในระหวา่ งวนั ท่ี ๑๑-๒๕ มนี าคม ๒๕๕๔
SIFE ได้นำอาจารย์ท่ีปรึกษาและนิสิต นักศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการจำนวน ๑๓๙ คน ลงพ้ืนที่
เพือ่ ศกึ ษาดงู านในพืน้ ท่ีศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ จ.ฉะเชงิ เทรา ศูนย์ศึกษาการพฒั นา
ภูพานฯ จ.สกลนคร ฟาร์มตัวอย่างฯ จ.สกลนคร โครงการพัฒนาพื้นท่ีหนองใหญ่ จ.ชุมพร

ชุมพรคาบานา่ จ.ชมุ พร ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮ่องไคร้ จ.เชียงใหม่ ชุมชนหมบู่ ้านอมลอง
วดั พระบรมธาตุดอยผาส้ม จ.เชียงใหม่ และโครงการปรบั ปรุงอา่ งเก็บนำ้ หว้ ยคลา้ ย หนองวัวซอ
จ.อุดรธานี


๓. การจัดประกวดผลสำเรจ็ โครงการพัฒนาชมุ ชนของนสิ ิต นักศึกษา SIFE หรอื ๒๐๑๑
SIFE Thailand National Exposition วันที่ ๒๗-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ณ วิทยาลัยนานาชาติ
มหาวทิ ยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จ.นครปฐม ซ่งึ มีมหาวิทยาลยั จาก ๒๑ แหง่ ทั่วประเทศ
เข้าร่วมนำเสนอผลสำเร็จของ ๔๙ โครงการที่ดำเนินงานใน ๒๒ จังหวัด และมีจำนวนผู้เข้า
ร่วมชมงานกว่า ๔๐๐ คน โดยมีภาคีเครือข่ายสำคัญของปิดทองหลังพระฯ ร่วมสนับสนุน
ได้แก่ ตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย กล่มุ บริษัท เคพเี อ็มจี ภูมไิ ชย บรษิ ัท ไทยเบฟเวอเรจ
จำกัด (มหาชน) มูลนิธิแม่ฟา้ หลวงฯ บรษิ ัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนำ้ ภาคตะวนั ออก
จำกัด (มหาชน) สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และบริษัท สปา-ฮาคูโฮโด จำกัด
ทีม SIFE จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับรางวัลชนะเลิศ และเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้า
รว่ มการประกวดผลสำเรจ็ โครงการพฒั นาชมุ ชนระดับโลก หรอื “SIFE World Cup” ระหวา่ ง
วนั ที่ ๓-๕ ตลุ าคม ๒๕๕๔ ณ กรุงกัวลาลมั เปอร์ สหพนั ธรฐั มาเลเซยี


๔. การประชุมแนวทางความร่วมมือความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับสถาบันฯ
และ SIFE ประเทศไทย สถาบันฯ ร่วมกับ SIFE ประเทศไทย ซ่ึงมีอธิการบดี รองอธิการบดี

ฝ่ายกิจการนิสิตนักศึกษา และผู้แทนมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าร่วมรับฟัง และนำหลักการ

องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญของอาจารย์และนักศึกษาไปร่วมเรียนรู้การทำงานกับชาวบ้าน

ในพื้นที่ รวมทั้งการปลูกฝังจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษา เพื่อเป็นกำลัง
สำคัญในการพัฒนาประเทศ ทงั้ นี้ การประชุมไดจ้ ดั ขน้ึ ระหวา่ งวันท่ี ๑๙-๓๐ กันยายน ๒๕๕๔
รวม ๕ ครั้ง ในกรุงเทพฯ จ.เชียงใหม่ จ.ขอนแก่น จ.นครราชสีมา และจ.สงขลา โดยมี

ผู้บริหาร คณาจารย์ และนักศึกษารวมท้ังสิ้น ๓๑๐ คน จากสถาบันอุดมศึกษา ๙๒ แห่ง

ทวั่ ประเทศเข้ารว่ ม







64

งานด้านการส่งเสริมการพฒั นา


๑. งานบรู ณาการเชงิ พ้นื ท่ี


๑.๑ พ้ืนที่ต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนท่ี จังหวัดน่าน ติดตามการ

ดำเนินการตามแผนและงบประมาณปี ๒๕๕๔ ดงั นี้


ด้านการจดั การนำ้


- การสร้างฝาย เพ่ือการเกษตร ๑๗๓ แห่ง ฝายเพ่ือการอนุรักษ์ ๒,๑๗๙ แห่ง


ฝายสำหรบั การอปุ โภคบรโิ ภค ๒ แห่ง ปรบั ปรุงฝายเพื่อการเกษตร ๔ แหง่


- การสร้างบ่อพวงสันเขา จำนวน ๒๐๖ แห่ง ระบบคลองส่งน้ำ ๕,๐๕๐ เมตร


ระบบท่อส่งน้ำ ๗๕,๙๐๕ เมตร ปรับปรุงระบบน้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภค


๗,๖๖๒ เมตร


- การจัดตั้งกล่มุ บรหิ ารจดั การน้ำในแปลงเกษตร ๑๓ กลมุ่


ดา้ นการจดั การพ้นื ทใ่ี หเ้ หมาะสมกับการเพาะปลูก


- การขุดนาขน้ั บันได ๑,๔๕๐ ไร่


- การปรับปรุงสภาพดินในพื้นท่ีการเกษตร ๓,๔๕๖ ไร่ มีพ้ืนที่รับน้ำจากระบบน้ำ


ที่สร้างและซอ่ ม ๑,๔๓๙ ไร


ด้านการเกษตร


65

- การจัดต้ังต้นแบบกองทุนเมล็ดพันธ์ุ กองทุนเมล็ดพันธุ์ข้าว ๑๕๘๒.๕๐ ไร่ เมล็ด

พันธุ์ถ่ัวเหลือง ๒,๘๑๐ ไร่ เมล็ดพันธุ์ถ่ัวลิสง ๑,๗๙๓ ไร่ เมล็ดพันธ์ุข้าวโพด

๒๗ ไร่ เมล็ดพันธุ์งาม่อน ๒๓๐ ไร่ กองทุนพืชหลังนา ๓๙๕ ไร่ กองทุนปุ๋ย

๒,๘๖๔ กระสอบ


ด้านการปศุสัตว

- การจดั ตงั้ ตน้ แบบกองทนุ ปศสุ ตั ว์ กองทนุ สกุ ร ๗๘๐ ตวั เกบ็ คนื ลกู สกุ รได้ ๕๖๗ ตวั

กองทุนสัตว์ปีก ๔๓๕ ตัว เก็บคืนผลผลิตสัตว์ปีกได้ ๔๕๐ ตัว กองทุนปลา

๑๙๓,๙๐๐ ตัว กองทุนยาและสุขภาพสัตว์ ๕๑,๒๒๕ ตัว กองทุนอาหารสัตว

๕,๒๑๙ กิโลกรมั

ด้านหตั ถกรรมและการแปรรปู

- จัดต้ังต้นแบบกองทุนหัตถกรรมและการแปรรูป กองทุนเคร่ืองบดข้าวโพด ๑๑

เคร่อื ง เตาเผาเศรษฐกิจ ๖๔๗ ชดุ หัตถกรรมจากแหย่ง ๖ กลุ่ม แปรรปู มะแข่น

๒ กลมุ่ กองทนุ จอบ ๒,๐๕๐ เลม่ เตาเผานำ้ สม้ ควนั ไม้ ๑๔ ชดุ โรงสขี า้ วขนาดเลก็

๘ เครอื่ ง

ด้านการบริหารจัดการ ดำเนินการให้พื้นท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นท่ี
จงั หวดั นา่ น เปน็ พนื้ ทกี่ ารเรยี นรู้ ลกั ษณะหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางสงั คม (Social Lab) ของทกุ ภาคสว่ น
ในเร่อื งกระบวนการสร้างความเขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา

ด้านการพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมเร่ืองการพัฒนาบุคลากร จัดให้มีการอบรมการใช้
คอมพิวเตอร์ การฉีดยาให้สัตว์ รวมถึงการนำอาสาสมัครปิดทองฯ ผู้นำชุมชน และชาวบ้าน
ไปศึกษาดูงานการปลูกหน่อไม้ฝร่ังเพ่ือการส่งออกท่ีจังหวัดราชบุรี และนครปฐม เพ่ือศึกษา
เรียนร้กู ระบวนการตา่ ง ๆ รวมถงึ ตลาดท่ีรองรับผลผลิตหนอ่ ไม้ฝร่งั ท่ที างโครงการฯจะส่งเสรมิ
ใหช้ าวบา้ นปลกู และนำอาสาสมคั รปดิ ทองฯ ผนู้ ำชมุ ชน และชาวบา้ น ไปดงู านเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ของศนู ยก์ สกิ รรมธรรมชาติ

๑.๒ พื้นท่ีต้นแบบ “โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้าย อันเนื่อง

มาจากพระราชดำริ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ จงั หวัดอดุ รธาน

กิจกรรมการพัฒนาในปงี บประมาณ ๒๕๕๔ ได้ดำเนนิ งานดงั น
้ี
แผนเพมิ่ ประสิทธิภาพอา่ งเก็บนำ้ หว้ ยคล้ายฯ

๑) งานเสริมตอม่อ spillway ยกระดับน้ำในอ่าง โดยเสริมตอม่อ ๕๐ เซนติเมตร

สามารถเกบ็ นำ้ เพม่ิ ไดอ้ ีกประมาณ ๓๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร

๒) การเชื่อมตอ่ แนวท่อสแู่ ปลงนา ความยาว ๑,๕๒๐ เมตร

๓) งานซอ่ มและปรบั ปรุงงานฝายห้วยคลา้ ยเดิม ๓ ตวั ได้แก่ สร้างคนั ดิน สรา้ งอาคาร

ระบายน้ำให้กบั เก็บน้ำได้ สรา้ งอาคารปากเหมืองส่งน้ำ

แผนพัฒนาระบบส่งนำ้ อ่างเกบ็ น้ำหว้ ยกา้ นเหลือง ไดแ้ ก

๑) งานปรับปรุงระบบน้ำ การขุดปรับทางระบายน้ำล้น งานวางท่อส่งน้ำ และอัดเสริม


66

หลังดนิ หนา้ อ่าง

๒) งานซ่อมปรับปรงุ งานฝายห้วยคำเข โดยแผว้ ถางป่าออ้ และซ่อมแซมประตูระบายน้ำ


พรอ้ มขดุ ลอกและวางท่อ ความยาว ๙๒๐ เมตร

กจิ กรรมการทำงานโดยชาวบ้าน ปัจจุบันมีการดำเนินงานใน ๘ กองทนุ ไดแ้ ก่

๑) กองทนุ สกุ ร ชาวบ้านไดร้ บั ประโยชนจ์ ากกองทนุ สกุ ร ๙๑ ราย และพอ่ พันธุ์ ๕ ตวั

โดยมีการผสมพันธุ์แม่สุกรเพ่ือหลีกเล่ียงสายเลือดชิดกัน ปัจจุบันเกษตรกรขายลูกหมูไปแล้ว
๗๐ ตัว เป็นเงนิ ๙๖,๔๐๐ บาท ภายใตร้ ะเบียบกองทุน ดงั น
ี้

• อาหารเลีย้ งสุกร ตอ้ งใชว้ ตั ถุดบิ ในพ้ืนทีเ่ ป็นหลกั ได้แก่ กลว้ ย ใบมันสำปะหลงั รำ

โดยมสี ูตรอาหารทใ่ี ช้วิธกี ารหมักและตม้ แทนการเลี้ยงดว้ ยหวั อาหาร


• กอ่ นการส่งมอบสุกร ชาวบา้ นตอ้ งเตรียมความพรอ้ มของคอกหมู โดยแยกโรงเรือน

อยา่ งชดั เจน รางอาหาร และความสะอาด


• การคืนกองทุน ต้องคืนลูกหมูเพศเมียอายุไม่ต่ำกว่า ๒ เดือน จำนวน ๒ ตัว

ให้กองทุนสุกรใน ๒ ปี เพื่อขยายผลสู่ผู้ท่ีสนใจต่อไป และหากได้ลูกสุกรต่ำกว่า

๖ ตัว ยังไม่ต้องคืนกองทนุ


๒) กองทุนพันธุ์ข้าว ปัจจุบันเกษตรกรได้รับพันธ์ุข้าว ๓๑ ราย แบ่งตามชนิดพันธ
์ุ
ทเี่ หมาะสมกบั ทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่ ขา้ วเหนยี ว กข.๖ ขา้ วหอมมะลิ ๑๐๕ ปจั จบุ นั มรี ายได้ ๓๖,๔๕๔ บาท


๓) กองทุนปุ๋ย มีรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยให้เกษตรกรภายในพ้ืนท่ีโครงการฯ เป็นเงิน
๑๕๐,๑๑๕ บาท


๔) กองทุนเป็ด โดยการสนับสนุนพันธุ์เป็ดเทศจำนวน ๗๐ ตัว ให้แก่เกษตรกร ๒๐

ครวั เรอื น โดยปัจจุบนั มีลูกเปด็ ทีพ่ รอ้ มคนื กองทุนจำนวน ๖๖ ตวั


๕) กองทุนเมล็ดพันธ์ผุ กั ได้สนบั สนนุ เมลด็ พนั ธผุ์ กั ให้แก่เกษตกร ได้แก่ พชื -ผกั สวนครวั
ผกั เครือ่ งปรุง พชื ผกั สมุนไพร ปจั ุบันมเี งินทุนหมนุ เวยี น ๑๑,๓๐๐ บาท


๖) กองทนุ การตลาด ไดม้ กี ารไปศกึ ษาดงู านทฟ่ี ารม์ ตวั อยา่ งหนองหมากเฒา่ จ.สกลนคร
เพอ่ื เรยี นรกู้ ารบรหิ ารจดั การหลงั การเกบ็ เกยี่ ว การบรรจผุ ลติ ภณั ฑ์ และไดศ้ กึ ษาดงู านตลาดคา้ สง่
เมืองทองเจริญศรี พร้อมนำผลผลิตไปจำหน่ายผักปลอดสารพิษที่ตลาดโพศรี ทุกวันอังคาร

และวันศุกร์ นอกจากเป็นการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรแล้ว ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน
ภายในกองทนุ จำนวน ๒,๐๙๐ บาท


๗) กองทนุ ยาและเวชภณั ฑ์ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสำนกั งานปศสุ ตั วอ์ ำเภอ และโครงการฯ
จำนวน ๑๔,๔๔๕ บาท มเี งนิ หมนุ เวียนในกองทนุ ๒,๓๖๐ บาท


๘) กล่มุ การศกึ ษาดงู าน ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤษภาคม ๒๕๕๔-มกราคม ๒๕๕๕ มคี ณะศึกษา

ดูงาน ๔๒ คณะ จำนวน ๗,๕๒๒ คน มหี ลักการคดิ คา่ ใชจ้ ่าย ๒๐๐ บาทต่อวัน (ค่าอาหารว่าง
๒ มื้อ และอาหารกลางวัน ๑ มื้อ) มีรายได้เข้ากองทุน ๑,๒๕๐,๐๐๐ บาท เงินที่ได้จากการ
ศกึ ษาดูงานไดแ้ บ่งใหผ้ ้เู ขา้ ร่วมงาน รอ้ ยละ ๒๐ เปน็ คา่ แรงของแม่ครวั ร้อยละ ๕ เป็นของคน
จดั สถานที่ และเจ้าของแปลงที่เปน็ วิทยากรในการบรรยายคร้งั ละ ๕๐๐-๑,๐๐๐ บาท


๒ งานพื้นที่ขยายผล


67

จากการดำเนินงานส่งเสริมการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบ เห็นผลสำเร็จเป็นรูปธรรม วัดผล

ชาวบ้านได้อะไร คณะกรรมการสถาบันฯ โดยมีผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
กองทพั บก เหน็ รปู ธรรมการดำเนนิ งานตามโครงการพฒั นาอา่ งเกบ็ นำ้ หว้ ยคลา้ ยอนั เนอื่ งมาจาก
พระราชดำริ จึงมีมติเห็นชอบให้นำปรัชญาและวิธีการทำงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำริ บรรจุในแผนบริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘


นอกจากนนั้ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (นายอาคม
เติมพิทยาไพสิฐ) ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ (นายวรวิทย์ จำปีรัตน์) และเลขาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์) เห็นด้วยกับการนำ
ปรัชญาและวิธีการทำงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ บรรจุในแผน
บริหารราชการแผ่นดินของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ได้บรรจุแผนงาน

ภายใต้ชื่อเดียวกันว่า “แผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ประยุกต์ตามพระราชดำริ” ไว้ในแผนบริหาร
ราชการแผ่นดิน ปี พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ และคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาอนุมัติเม่ือวันที่ ๖
กนั ยายน ๒๕๕๔


พื้นทีด่ ำเนนิ การในปี ๒๕๕๕-๒๕๕๘ มดี ังน้ี

ปงี บประมาณ ๒๕๕๕ พ้นื ที่ดำเนินงาน ๑๐ จงั หวดั ๑๘ หมบู่ ้าน ประกอบดว้ ย จังหวดั
เชยี งใหม่ (๒ หมบู่ ้าน) จงั หวดั เชยี งราย (๒ หม่บู า้ น) จงั หวัดพิษณโุ ลก (๒ หมบู่ า้ น) จังหวัด
น่าน (๔ หมู่บ้าน) จังหวัดเลย (๑ หมู่บ้าน) จังหวัดสิงห์บุรี (๑ หมู่บ้าน) จังหวัดตราด

(๑ หมูบ่ ้าน) จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ (๒ หมบู่ า้ น) จังหวดั ยะลา (๑ หมู่บา้ น) จงั หวดั เพชรบรุ ี
(๒ หมบู่ า้ น) โดยมหี นว่ ยงานรับผดิ ชอบ ดังนี

• กระทรวงมหาดไทย โดยสถาบันดำรงราชานุภาพ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการ

68

พัฒนาระบบราชการ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จัดทำหลักสูตรผู้นำการเปล่ียนแปลง
(Change Agent) ให้กับทีมปฏบิ ัตกิ ารระดบั อำเภอ (ข้าราชการ องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ /
ท้องที่ และผู้นำชาวบ้าน) ตามแนวทางมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ โดย

การลงปฏิบัติงานจริงในพื้นท่ี ต้ังแต่กระบวนการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูล สำรวจข้อมูล
กายภาพ การประชุมชาวบ้านเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องของปัญหาและความต้องการที่แท้จริง
และจัดทำแผนพฒั นาชนบทเชงิ พ้นื ทปี่ ระยุกต์ตามพระราชดำริ


• กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามพระราชดำริ
เช่น การถา่ ยทอดองคค์ วามรดู้ า้ นการเกษตร ประมง ปศสุ ัตว์ การสร้างจิตสำนกึ ในการอนุรักษ์
และฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม รวมทั้งปัจจยั การผลติ ต่าง ๆ


ปีงบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๘ มอบหมายใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงาน
โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย คดั เลือกหมบู่ า้ นเปา้ หมายที่มี
แหล่งน้ำโครงการพระราชดำริที่ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ประมาณ ๑๐๐
หมู่บ้าน พร้อมคัดเลือกนายอำเภอท่ีมีศักยภาพ และทีมปฏิบัติการระดับอำเภอ เพ่ือนำเข้า
อบรมตามหลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ในแต่ละปีตามจำนวนหมู่บ้านที่
จะของบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๘




งานการสื่อสารสาธารณะและภาคสี ัมพนั ธ์


๓.๑ งานเผยแพร่การดำเนนิ งานสถาบันฯ

- การเผยแพร่การดำเนินงานของสถาบันฯ และกิจกรรมต่างๆ ของภาคีสืบสาน

แนวพระราชดำริ ผ่านจดหมายข่าวรายเดือน โดยแจกจ่ายไปยังกลุ่มเป้าหมาย

ไดแ้ ก่ คณะรฐั มนตรี หนว่ ยงานภาครฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ชมุ ชน หนว่ ยงาน

เอกชน สถาบนั การศกึ ษา สอื่ มวลชน และหนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ยปดิ ทองหลงั พระฯ

เปน็ ต้น

- การเผยแพร่การดำเนินงานของสถาบันฯ และกิจกรรมต่าง ๆ ของภาคีสืบสาน

แนวพระราชดำริ ผา่ นทางเวบ็ ไซตส์ ถาบนั ฯ www.pidthong.org, www.facebook.com/

pidthong, twitter: @pidthong

- การเขา้ รว่ มจดั นทิ รรศการรว่ มกบั หนว่ ยงานภาคปี ดิ ทองหลงั พระฯ เชน่ มหาวทิ ยาลยั

มหิดล จ.นครปฐม (การแข่งขัน SIFE Thailand), มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

จ.เชยี งราย (นิทรรศการ “โชคดที ีม่ ใี นหลวง”), งานลงแขกเกี่ยวขา้ วชาวอดุ รรว่ มใจ

เทิดไท้องค์ราชัน จ.อุดรธานี เพื่อประชาสัมพันธ์มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และ

สถาบันฯ

๓.๒ งานผลิตส่อื ประชาสมั พนั ธ


69

- จดั ทำวดี ิทศั น์แนะนำสถาบันฯ ความยาว ๑๓ นาท

- จดั ทำของท่ีระลึกเพื่อการประชาสมั พันธ์ เชน่ ถุงผา้ เสอ่ื ปดิ ทองหลังพระ

- จัดทำจดหมายข่าวรายเดอื น

- ปรับปรุงเว็บไซต์ปดิ ทองหลงั พระฯ ใหร้ องรับการใชง้ านของผเู้ ขา้ ชม

- จัดทำนิทรรศการเคลื่อนท่ี เพื่อนำไปแสดงในกิจกรรมของสถาบันฯ และร่วมกับ

ภาคสี บื สานแนวพระราชดำริ

๓.๓ สือ่ มวลชนสมั พนั ธ์ ภาคสี ัมพันธ

- สนับสนุนส่ือมวลชนในการเผยแพร่กิจกรรมและการดำเนินงานของหน่วยงาน

สืบสานแนวพระราชดำริ ข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต่าง ๆ รวมท้ัง

กิจกรรมและผลสำเร็จจากการดำเนินโครงการของสถาบันฯ พร้อมทั้งนำคณะ

สอื่ มวลชนเดินทางศกึ ษาดงู านพัฒนาตามแนวพระราชดำริในพ้ืนท่ีด้วย

- จัดกิจกรรมศึกษาดูงานในโครงการต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนท่ี

จังหวัดน่าน ของผู้บริหาร บริษัท โตชิบา (ประเทศไทย) จำกัด และมูลนิธิสืบ

นาคะเสถยี ร เปน็ ตน้

- ลงพน้ื ทป่ี ฏิบตั ิการดูงานใน อบต.หนองขนาน จังหวดั เพชรบุร,ี อบต.ไร่สม้ จังหวดั

เพชรบุรี, อบต.หาดสองแคว จังหวัดอุตรดิตถ์, อบต.ตาลเต้ีย จังหวัดสุโขทัย,

อบต.แม่ทา จังหวัดเชียงใหม่, อบต.โพนทอง จังหวัดชัยภูมิ และอบต.บางน้ำผ้ึง

จังหวัดสมุทรปราการ เพ่ือสร้างความรับรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องในแนวทางการ

ทำงานของปดิ ทองหลงั พระฯ

- นำสื่อมวลชนร่วมแลกเปล่ียน เรียนรู้ การดำเนินงานของมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาต

ณ โครงการพัฒนาพน้ื ที่หนองใหญ่ตามแนวพระราชดำริ จงั หวดั ชุมพร

๓.๔ งานประเมินผลความรับรู้และพึงพอใจ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ท่ีมีส่วน
เกีย่ วข้องกับโครงการปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ จงั หวดั น่านและจงั หวัดอุดรธานี
และการรับรู้ แรงจูงใจ และความเช่ือมั่นต่อโครงการฯ ของกลุ่มในพื้นท่ีขยายผล รวมถึงเหตุ
และปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จึงได้มอบหมายให้คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำการศึกษาประเมินความพึงพอใจ ตลอดจนศึกษาการรับรู้

แรงจูงใจ และความเช่ือมั่นของผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องใน ๒ พ้ืนที่หลัก คือ พ้ืนที่นำร่องและพ้ืนที่
ขยายผล เพ่ือให้ได้แนวทางในการปรับกลยุทธ์การดำเนินงานหรือการส่ือสารให้เหมาะสมกับ
กลุม่ เปา้ หมายและพน้ื ท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของผ้ทู เ่ี กีย่ วขอ้ งในพื้นท่ตี า่ ง ๆ โดยมีผล
การประเมินความรบั รแู้ ละพงึ พอใจ ดังน้

พ้ืนที่นำร่อง จ.น่าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ๒๐๐ ตัวอย่าง จาก

70

ประชาชนในพ้ืนที่ ๓ อำเภอ ได้แก่ อ.สองแคว อ.ท่าวังผา และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จาก

๑๖ หมู่บ้าน สรุปว่า ผู้เข้าร่วมโครงการปิดทองหลังพระฯ ในพ้ืนท่ีนำร่อง จ.น่าน มีทัศนคต

ต่อโครงการปิดทองหลังพระฯ ในระดับปานกลาง (ค่าเฉล่ีย ๓.๓๐ จากคะแนนเต็ม ๕.๐๐)

โดยมีความคิดเห็นว่าการทำตามแนวทางของปิดทองหลังพระฯ น้ัน ไม่ได้ทำให้รู้สึกท้อ ไม่ได้
เป็นการเพ่ิมต้นทุน และความรู้ที่ได้รับจากโครงการฯ สามารถนำไปปฏิบัติและเกิดผลได

แตเ่ ม่อื เขา้ รว่ มกบั โครงการฯ แล้ว ยังไม่เห็นวา่ รายไดข้ องครอบครวั เพ่ิมขึ้นมากนกั


เม่ือเปรียบเทียบกับก่อนมีโครงการปิดทองหลังพระฯ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความเห็นว่า
ปัจจุบันน้ีผลผลิต รายได้ของครอบครัว น้ำด่ืมน้ำใช้ น้ำเพื่อการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ
ไมตรจี ติ ของคนในสังคม และความเชื่อมมน่ั ต่อโครงการฯ มีการเปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ขี ้นึ


พ้ืนที่ขยายผล จ.อุดรธานี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ๑๐๐ ตัวอย่าง


71

จากประชาชนในพ้ืนท่ี ๒ หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านโคกล่าม และบ้านแสงอร่าม ต.ห้วยคล้าย
อ.หนองวัวซอ สรุปว่าผู้เข้าร่วมโครงการในพื้นท่ีขยายผล จ.อุดรธานี มีทัศนคติต่อโครงการ

ปดิ ทองหลงั พระฯ ในระดับดี (คา่ เฉล่ยี ๓.๗๑ จากคะแนนเต็ม ๕.๐๐) โดยมีความคิดเหน็ ว่า
การประกอบอาชีพ และทำตามแนวคิดของโครงการฯ ไม่ทำให้รู้สึกท้อ ต้นทุนไม่ได้เพ่ิม

มากข้ึน ความรู้ท่ีได้รับจากโครงการฯ นำไปปฏิบัติแล้วเกิดผล หมู่บ้านมีสภาพแวดล้อมดีขึ้น
ชาวบ้านมีความสุขเมื่อได้ทำตามแนวคิดของโครงการฯ และปัจจุบันมีผลผลิตเพียงพอต่อ

การบริโภค


เม่ือเปรียบเทียบกับก่อนมีโครงการปิดทองหลังพระฯ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความเห็นว่า
ปัจจุบันน้ีผลผลิต รายได้ของครอบครัว น้ำดื่มน้ำใช้ น้ำเพ่ือการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ
ไมตรีจิตของคนในสังคม และความเชื่อมั่นต่อโครงการฯ มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน
นอกจากน้ัน ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ยังมีความเช่ือมั่นมากว่า ในระยะยาวแล้ว โครงการฯ นี้จะ
พฒั นาพ้ืนท่ีให้เจริญได้ และมีความเชื่อม่ันพอสมควรว่า โครงการฯ จะช่วยให้ชีวิตของตนเอง
และครอบครวั มคี วามเปน็ อยู่ที่ดีขนึ้


ผตู้ อบแบบสอบถามทง้ั ๒ พนื้ ท่ี สว่ นใหญม่ คี วามคดิ เหน็ วา่ เมอ่ื โครงการปดิ ทองหลงั พระฯ

72

ได้ดำเนินการพัฒนาพ้ืนที่ในระยะเวลาพอสมควรและจะถอนตัวออกจากพ้ืนที่แล้ว มีความ

เช่ือมั่นว่าชาวบ้านในพ้ืนท่ีจะสามารถดำเนินการพัฒนาตามแนวทางของปิดทองหลังพระฯ

ไดต้ อ่ ไปเรอื่ ย ๆ ซงึ่ เม่ือถึงวันน้นั จะสามารถพงึ่ ตนเองได้และร่วมกันแก้ไขปญั หาได้เอง





๔. งานด้านการบริหารสำนกั งาน

๔.๑ งานธุรการและงานบคุ คล

ดแู ลและอำนวยความสะดวกในการทำงานใหก้ บั ฝ่ายอื่น ๆ ในสำนักงาน จดั หาและ
ซ่อมแซมวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ดูแลการใช้ห้องประชุม เป็นฝ่ายเลขานุการสนับสนุนงาน
ประชุมคณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และคณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ดแู ลสวัสดกิ ารและการพัฒนาบคุ ลากรของสถาบนั ฯ


๔.๒ งานพัฒนาระบบสารสนเทศในสำนักงาน

ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบสารสนเทศในสำนักงาน สือ่ สารภายใน อนิ เตอร์เนต็ ระบบ
โทรศัพท์ ระบบการสื่อสารทางไกล เพ่ือให้พนักงานในสำนักงานและพนักงานท่ีออกไปทำงาน
ในพื้นที่ สามารถใช้ข้อมลู และติดต่อส่ือสารในงานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเรว็

๔.๓ งานดา้ นบัญชี การเงิน

ควบคุมดูแลค่าใช้จ่ายของสำนักงานและของโครงการ ทำรายงานสรุปเป็นรายเดือน
จัดทำบัญชี เพื่อให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ ควบคุมดูแลเงินสดย่อยที่ใช้หมุนเวียนประจำวัน จัด
ทำงบแสดงฐานะการเงนิ ประจำปขี องมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ และสถาบนั ฯ ควบคมุ ดแู ลครภุ ณั ฑ์
ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการควบคุมทรพั ย์สินทว่ั ไป ดแู ลการจดั ซอ้ื จดั จา้ งของสถาบนั ฯ


73


งบการเงนิ ปี ๒๕๕๔


มูลนิธิปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ

งบการเงิน

วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔


รายงานของผสู้ อบบญั ชรี ับอนุญาต



เสนอ คณะกรรมการของมลู นิธิปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำร




ขา้ พเจา้ ได้ตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ พ.ศ. ๒๕๕๓ งบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใช้จ่าย
และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของส่วนทุนสำหรับปีส้ินสุดวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และสำหรับรอบระยะ
เวลาบญั ชตี ัง้ แต่วันท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วันจดทะเบยี นจัดตัง้ มูลนิธิ) ถงึ วนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓
ของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ซ่ึงผู้บริหารของมูลนิธิเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและ
ครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว
จากผลการตรวจสอบของข้าพเจา้



ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองท่ัวไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผน

และปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อม่ันอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ
หรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผย
ข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีท่ีมูลนิธิใช้และประมาณการเก่ียวกับรายการ
ทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำข้ึน ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดง
รายการท่ีนำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเช่ือว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสม
ในการแสดงความเหน็ ของข้าพเจา้



ข้าพเจ้าเหน็ วา่ งบการเงินข้างตน้ นี้ แสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และพ.ศ. ๒๕๕๓
และรายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ย สำหรบั ปสี น้ิ สุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และสำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แต่
วนั ที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วันจดทะเบยี นจัดต้ังมูลนธิ )ิ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ของมูลนิธปิ ดิ
ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคญั ตามหลกั การบัญชีท่ีรบั รองท่ัวไป







สุขมุ าภรณ์ วงศอ์ ริยาพร

ผู้สอบบญั ชรี ับอนุญาต เลขที่ ๔๘๔๓

บรษิ ทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอรส์ เอบีเอเอส จำกดั

กรุงเทพมหานคร

๒๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๔




74

มลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
งบดุล
ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ พ.ศ. ๒๕๕๓



พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓

หมายเหตุ บาท บาท



สนิ ทรัพย์

สินทรัพยห์ มุนเวียน

เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร ๔ ๙๒,๕๓๔,๑๓๔ ๓๐๘,๔๕๐,๘๑๘

เงนิ ลงทุนระยะส้ัน ๕ ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐ -

เงนิ สำรองจา่ ย ๖ ๑๕,๙๐๒,๓๑๕ ๘๓,๒๙๑,๘๕๗

สินทรัพย์หมุนเวียนอนื่ ๗ ๑,๖๐๓,๒๘๙ ๒๔๗,๕๖๘

รวมสนิ ทรัพย์หมุนเวยี น ๖๑๐,๐๓๙,๗๓๘ ๓๙๑,๙๙๐,๒๔๓



สนิ ทรัพย์ไมห่ มุนเวยี น

อุปกรณ์ - สุทธ ิ ๘ ๑๑,๐๕๒,๘๑๔ ๗,๖๒๑,๔๘๓

สินทรพั ยไ์ มม่ ีตวั ตน - สุทธิ ๙ ๑๓๙,๗๕๓ ๑๓๘,๕๔๓

เงินมดั จำระยะยาว ๑๓๓,๖๐๐ ๑๓๒,๘๐๐

รวมสนิ ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวยี น ๑๑,๓๒๖,๑๖๗ ๗,๘๙๒,๘๒๖

รวมสนิ ทรัพย ์ ๖๒๑,๓๖๕,๙๐๕ ๓๙๙,๘๘๓,๐๖๙



____________________________________

ประธานกรรมการมูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำร ิ



____________________________________
ประธานกรรมการสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เปน็ สว่ นหนึง่ ของงบการเงินนี ้

75

มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำร ิ
งบดุล
ณ วนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ พ.ศ. ๒๕๕๓



พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓

หมายเหต ุ บาท บาท



หน้ีสนิ และส่วนของทุน

หน้สี ินหมุนเวียน

เจา้ หน้ี ๖๔๑,๗๓๑ -

คา่ ใช้จา่ ยค้างจา่ ย ๒,๖๑๖,๘๙๖ ๒,๘๘๘,๖๗๙

หนสี้ นิ หมนุ เวียนอ่นื ๑๐ ๒๕๐,๒๒๓ ๔,๔๕๔,๕๕๔

รวมหนีส้ ินหมุนเวยี น ๓,๕๐๘,๘๕๐ ๗,๓๔๓,๒๓๓

รวมหน้ีสิน ๓,๕๐๘,๘๕๐ ๗,๓๔๓,๒๓๓



สว่ นของทุน

ทุนจดทะเบยี น ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐

รายไดส้ งู กว่าค่าใช้จ่ายสะสม ๖๑๗,๖๕๗,๐๕๕ ๓๙๒,๓๓๙,๘๓๖

รวมส่วนของทนุ ๖๑๗,๘๕๗,๐๕๕ ๓๙๒,๕๓๙,๘๓๖

รวมหนสี้ ินและสว่ นของทุน ๖๒๑,๓๖๕,๙๐๕ ๓๙๙,๘๘๓,๐๖๙



หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปน็ สว่ นหนึ่งของงบการเงินน ี้

76

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
งบแสดงรายได้และคา่ ใชจ้ า่ ย
สำหรบั ปสี ้นิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถงึ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓



สำหรับรอบระยะเวลาบญั ชี

ต้ังแตว่ นั ที่ ๒๐ มกราคม

สำหรบั ปีส้ินสดุ พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงวนั ท ่ี

วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๓๐ กันยายน

พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓

บาท บาท



รายได ้

เงนิ จัดสรรจากงบประมาณแผน่ ดนิ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ -

รายรับจากเงนิ บริจาค ๑๑๒,๕๐๐ ๒๑๒,๕๘๐

ดอกเบ้ียรับ ๙,๒๕๔,๒๑๒ ๒๕๕,๗๔๒

รายได้อ่ืน ๗,๕๗๐ -

รวมรายได ้ ๓๐๙,๓๗๔,๒๘๒ ๔๖๘,๓๒๒

ค่าใช้จา่ ย

คา่ ใช้จา่ ยบุคลากร ๑๗,๑๗๐,๙๘๑ ๖,๒๕๘,๒๔๓

คา่ ตอบแทนบคุ คลภายนอก ๑๕,๑๔๙,๒๗๘ ๑๘,๓๓๐,๖๑๕

ค่าธรรมเนียมวชิ าชีพ ๑๒๓,๔๕๐ ๑๒๐,๐๐๐

ค่าใช้จ่ายการเดนิ ทาง ๘,๕๗๕,๓๙๔ ๕,๕๕๓,๗๖๓

คา่ วัสดุส้นิ เปลอื ง ๑๑,๑๙๘,๕๘๒ ๒๔,๓๖๔,๓๔๓

ค่าเช่าอาคารและอปุ กรณ์ ๒,๗๕๔,๗๕๑ ๑,๙๑๗,๕๓๙

ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษาอุปกรณ/์ คา่ ตดิ ตงั้ ระบบโทรศัพท์ ๕๗๗,๘๖๗ ๙๒,๘๐๒

ค่าเส่อื มราคา ๑,๘๔๕,๓๖๖ ๑,๔๓๓,๓๗๔

ค่าตดั จำหนา่ ยสินทรัพย์ไมม่ ีตัวตน ๓๐,๘๙๐ ๔,๒๕๗

ค่าสาธารณูปโภค ๖๙๖,๘๔๖ ๕๘๐,๑๒๑

ค่ารับรอง ๓,๙๕๒,๗๙๐ ๒,๐๔๖,๔๘๗

คา่ ประกนั ภัย ๔๗,๘๙๐ ๑๓,๒๕๖

คา่ ประชาสมั พนั ธ์และจดั นิทรรศการ ๑๑,๐๐๘,๘๗๐ ๘,๕๖๔,๖๘๖

77

มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำร ิ
งบแสดงรายได้และคา่ ใชจ้ า่ ย
สำหรับปสี ้ินสดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ (ตอ่ )



สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี

ต้ังแต่วันที่ ๒๐ มกราคม

สำหรบั ปสี ิน้ สุด พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที ่

วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๓๐ กันยายน

พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓

บาท บาท



ค่าบริหารโครงการการพัฒนาในพื้นที่จังหวัดน่าน - ๑๒,๐๙๐,๘๖๑

เงนิ อดุ หนนุ ๘,๔๒๒,๑๙๓ ๑๒,๒๖๙,๗๕๓

ค่าขนสง่ ๑,๗๗๐,๒๗๑ ๑,๐๙๙,๖๖๐

ค่าใชจ้ ่ายอ่นื ๆ ๗๓๑,๖๔๔ ๑,๘๙๘,๓๗๒

รวมค่าใช้จ่าย ๘๔,๐๕๗,๐๖๓ ๙๖,๖๓๘,๑๓๒

รายไดส้ ูงกวา่ (ต่ำกว่า) ค่าใช้จ่ายสุทธิสำหรบั งวด ๒๒๕,๓๑๗,๒๑๙ (๙๖,๑๖๙,๘๑๐)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปน็ ส่วนหนง่ึ ของงบการเงินน ้ี

78

มลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
งบแสดงการเปล่ียนแปลงสว่ นของทุน
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถงึ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓



รายไดส้ ูงกว่า (ต่ำกว่า)

ทนุ จดทะเบยี น ค่าใชจ้ า่ ยสะสม รวม

บาท บาท บาท



ยอดคงเหลือ ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒๐๐,๐๐๐ ๓๙๒,๓๓๙,๘๓๖ ๓๙๒,๕๓๙,๘๓๖

รายได้สูงกว่าคา่ ใช้จา่ ยสุทธสิ ำหรับงวด - ๒๒๕,๓๑๗,๒๑๙ ๒๒๕,๓๑๗,๒๑๙

ยอดคงเหลอื ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๐๐,๐๐๐ ๖๑๗,๖๕๗,๐๕๕ ๖๑๗,๘๕๗,๐๕๕

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ - - -

ทนุ จดทะเบยี น ๒๐๐,๐๐๐ - ๒๐๐,๐๐๐

ทนุ รบั โอนจากสำนักงานสง่ เสริมการจัดประชมุ

และนิทรรศการ (องคก์ ารมหาชน) - ๔๘๘,๕๐๙,๖๔๖ ๔๘๘,๕๐๙,๖๔๖

รายไดต้ ำ่ กว่าคา่ ใช้จ่ายสทุ ธิสำหรับงวด - (๙๖,๑๖๙,๘๑๐) (๙๖,๑๖๙,๘๑๐)

ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒๐๐,๐๐๐ ๓๙๒,๓๓๙,๘๓๖ ๓๙๒,๕๓๙,๘๓๖



หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เป็นสว่ นหนง่ึ ของงบการเงนิ น ้ี

79

มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำร ิ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำหรับปสี น้ิ สุดวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๑. ข้อมูลทั่วไป




มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ (“มูลนิธิ”) ได้จดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิตามประมวล

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อนายทะเบียนมูลนิธิกรุงเทพมหานคร เลขทะเบียนลำดับท่ี กท ๑๙๑๙

เม่อื วนั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมที ่ีอยู่ทไี่ ด้จดทะเบียนดังน้ี



สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เลขท่ี ๑ ถนนนครปฐม แขวงจิตรลดา เขตดุสิต

กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐



มูลนธิ ิเป็นองคก์ ารหรอื สถานสาธารณกุศล โดยมีวตั ถุประสงค์ในการดำเนินงาน ดังน
้ี


๑) ให้จัดต้ังและสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ

สืบสานแนวพระราชดำริ ซ่ึงเป็นหน่วยปฏิบัติของมูลนิธิ ให้ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล

ประสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกับเจตนารมณแ์ หง่ การจดั ตงั้

๒) ใหส้ ถาบนั โดยมีมลู นธิ ิ สนบั สนุนให้ทนุ ดำเนนิ งาน มีวัตถปุ ระสงค์ ดังน้

ก) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาแก่องค์กรชุมชน

ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ

ภาคธุรกิจ ในการดำเนินงานท่ีสอดคล้องกับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ เพ่ือให

ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมถึงส่งผลต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่งิ แวดล้อม



ข) สนับสนุนการจัดการความรู้ตามแนวพระราชดำริโดยประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษา

การพัฒนา โครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการ

อันเนื่องมาจากพระราชดำริ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กร

ภาครัฐ องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คลงั ความรู้ การยกระดบั ความร
ู้
การต่อยอดชุมความรู้ใหม่ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาในและนอกระบบ ตลอดจนการ

ขยายผลเช่อื มโยงสู่การนำไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งกวา้ งขวาง




80

มลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำร ิ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
สำหรับปีสิ้นสดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๑. ข้อมูลท่ัวไป (ต่อ)




มลู นธิ ิเปน็ องคก์ ารหรือสถานสาธารณกศุ ล โดยมวี ตั ถุประสงคใ์ นการดำเนินงาน ดงั นี้ (ตอ่ )



๒) ใหส้ ถาบัน โดยมีมูลนธิ ิ สนับสนุนใหท้ นุ ดำเนินงาน มีวตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ (ตอ่ )



ค) ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ ภารกิจและกิจกรรมของสถาบัน กับแผนชุมชน แผนองค์กร

ปกครองสว่ นท้องถนิ่ แผนพัฒนาจงั หวดั แผนหนว่ ยงานภาครัฐท่เี กย่ี วข้อง และนโยบายรัฐบาล



ง) สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำ และช่วยเหลือ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพื่อให้น้อมนำ

แนวพระราชดำริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาทุกระดับของ

ประเทศ



จ) สรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ และความร่วมมอื ดำเนนิ การตามแนวพระราชดำรอิ ย่างต่อเน่ือง



๓) เพือ่ สนบั สนุนและส่งเสริมการศกึ ษา และทศั นศกึ ษาที่เกี่ยวกับการนำแนวพระราชดำริไปประยุกตใ์ ช

และขยายผลส่ชู มุ ชน



๔) เพ่ือส่งเสริมการประสานการดำเนินงานร่วมกับองค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น องคก์ รภาครัฐ องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วิชาการ ภาคธุรกจิ เพอ่ื กิจกรรมพฒั นาและ

กิจกรรมสาธารณประโยชน



๕) ไม่ดำเนนิ การเกี่ยวข้องกับการเมืองแตป่ ระการใด



งบการเงินน้ีได้รับอนุมตั จิ ากคณะกรรมการมูลนิธิเมอื่ วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔


81

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำหรับปสี ิ้นสุดวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๒. นโยบายการบัญชี




นโยบายการบัญชีที่สำคญั ซ่งึ ใชใ้ นการจัดทำงบการเงนิ มีดงั ตอ่ ไปน้ี



๒.๑ เกณฑก์ ารจัดทำงบการเงนิ



งบการเงินได้จัดทำข้ึนตามหลักการบัญชีที่รับรองท่ัวไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.

๒๕๔๓ ซึง่ หมายถงึ มาตรฐานการบัญชที ีอ่ อกภายใตพ้ ระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. ๒๕๔๗ ทั้งนี้

ยกเว้นมาตรฐานการบญั ชีบางฉบบั ทีไ่ ม่บังคับใชก้ ับบริษัทท่ีไมใ่ ช่บรษิ ัทมหาชนจำกดั



มูลนิธิยังไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี ๗ เรื่องงบกระแสเงินสด ฉบับท่ี ๒๔ เรื่อง

การเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน และฉบับท่ี ๓๒ เร่ืองการแสดงรายการ

สำหรับเครื่องมือทางการเงิน และฉบับที่ ๓๖ เรื่องการด้อยค่าของสินทรัพย์ การที่ไม่ปฏิบัติตาม

มาตรฐานการบัญชีฉบับเหล่าน้ีเป็นไปตามประกาศที่มีผลบังคับใช้ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี

พ.ศ. ๒๕๔๗ เก่ียวกับการยกเว้นการบังคับใช้มาตรฐานการบัญชีกับธุรกิจที่ไม่ใช่บริษัทมหาชน

จำกัด



งบการเงินไดจ้ ดั ทำขน้ึ โดยใชเ้ กณฑร์ าคาทนุ เดิมในการวดั มลู ค่าขององคป์ ระกอบของงบการเงนิ



การจัดทำงบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที่รับรองท่ัวไปในประเทศไทย กำหนดให้ฝ่าย

บริหารประมาณการและกำหนดสมมติฐานที่เกี่ยวข้องอันจะมีผลต่อตัวเลขของสินทรัพย์และหนี้สิน

รวมทั้งการเปดิ เผยขอ้ มูลเกี่ยวกับสนิ ทรัพย์และหนส้ี นิ ที่อาจเกดิ ขนึ้ ณ วันที่ในงบการเงนิ และขอ้ มลู

รายได้และค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาท่ีเสนองบการเงินดังกล่าว ตัวเลขที่เกิดข้ึนจริงอาจแตกต่าง

จากตัวเลขประมาณการ ถึงแม้ว่าฝ่ายบริหารได้จัดทำตัวเลขประมาณการข้ึนจากความเข้าใจใน

เหตกุ ารณ์และสิ่งทไี่ ดก้ ระทำไปในปัจจุบนั อยา่ งดที ีส่ ดุ แล้ว



งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษจัดทำข้ึนจากงบการเงินตามกฎหมายที่เป็นภาษาไทย ในกรณีท่ีม

เนื้อความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับ

ภาษาไทยเปน็ หลกั


82

มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำหรับปีสิน้ สดุ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถงึ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๒. นโยบายการบญั ชี (ตอ่ )




๒.๒ มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกจิ การท่ีไม่มีสว่ นได้เสียสาธารณะ



มูลนธิ ิเขา้ ขา่ ยเปน็ กจิ การที่ไม่มสี ่วนได้เสยี สาธารณะ (NPAEs)



มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะได้ถูกประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันท่ี ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับ

รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย

สาธารณะต้องรับรู้ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีจากการนำมาตรฐานการ

รายงานทางการเงนิ ฉบับน้ีมาถอื ปฏิบตั โิ ดยการปรับงบการเงนิ ยอ้ นหลัง



ในกรณีกิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะไม่ประสงค์จะจัดทำรายงานทางการเงินตามมาตรฐาน

การรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ การจัดทำรายงานทางการเงิน

ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (TFRSs) ทุกฉบับ โดยปฏิบัติอย่าง

สม่ำเสมอ



คณะกรรมการมูลนิธิได้ตัดสินใจจัดทำรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะโดยจะเร่ิมนำมาปฏิบัติใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.

๒๕๕๔ คณะกรรมการมูลนิธิได้ประเมินผลกระทบของการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะมาใช้และเห็นว่าจะไม่มีผลกระทบท่ีเป็นสาระสำคัญต่อ

งบการเงนิ ทีน่ ำเสนอ



๒.๓ เงินสดและเงินฝากธนาคาร



เงินสดและเงินฝากธนาคารหมายรวมถึงเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท แต่ไม่รวม

เงินฝากธนาคารประเภทท่ีต้องจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กำหนด เงินลงทุนระยะสั้นอื่นท่ีมีสภาพ

คล่องสูงซ่ึงมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันท่ีได้มา และเงินเบิกเกินบัญชีซึ่งจะแสดงไว้ในส่วนของ

ของหนส้ี นิ หมนุ เวียนในงบดลุ


83

มลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำร ิ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำหรับปีสนิ้ สุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถงึ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๒. นโยบายการบญั ชี (ต่อ)





๒.๔ เงนิ ลงทนุ ระยะสั้น





เงนิ ลงทนุ ระยะสั้นหมายรวมถึง เงินฝากประจำทม่ี ีอายุตั้งแต่วนั ฝากจนถึงวันครบกำหนดอยู่ระหวา่ ง


๓ ถึง ๑๒ เดอื น และเงินฝากประจำทีม่ อี ายุตัง้ แตว่ ันฝากจนถงึ วันครบกำหนดมากกว่า ๑๒ เดอื น


แตจ่ ะครบกำหนดในอีก ๑๒ เดือนขา้ งหนา้ เงนิ ลงทุนระยะสนั้ วดั มูลคา่ ดว้ ยวิธรี าคาทนุ





๒.๕ เงนิ สำรองจ่าย





เงนิ สำรองจา่ ยเปน็ เงนิ ทดรองจา่ ยใหแ้ กพ่ นกั งานและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพอ่ื ใชส้ ำหรบั การดำเนนิ งาน


ในกิจกรรมตา่ งๆ ของมูลนธิ ิ ซึง่ รบั รเู้ ริม่ แรกดว้ ยมูลคา่ ตามจำนวนเงินทดรองท่ีจา่ ยจรงิ และจะวัด


มูลคา่ ตอ่ มาด้วยจำนวนเงนิ ทีเ่ หลอื หลังหกั ค่าใชจ้ า่ ยทเี่ กดิ ขน้ึ จริงในระหว่างงวด





๒.๖ อปุ กรณ์





อปุ กรณแ์ สดงดว้ ยราคาทนุ หักด้วยคา่ เสือ่ มราคาสะสม





ค่าเส่ือมราคาคำนวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพ่ือลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอาย


การให้ประโยชน์ทีป่ ระมาณการไว้ของสนิ ทรพั ย์ ดังตอ่ ไปนี้ :




เครอ่ื งตกแต่งและตดิ ตั้ง ๕ ปี

ยานพาหนะ ๕ ปี

เครื่องจกั ร ๑๐ ปี

อปุ กรณส์ ำนักงาน ๓-๕ ปี




ในกรณีท่ีราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับ


มลู คา่ ทีค่ าดว่าจะได้รับคนื ทันที





84

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำหรบั ปสี น้ิ สุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถงึ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๒. นโยบายการบญั ชี (ต่อ)




๒.๖ อปุ กรณ์ (ตอ่ )



การซ่อมแซมและบำรุงรักษาจะรับรู้ในงบแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายระหว่างงวดบัญชีที่เกิดรายการ

น้ัน ต้นทุนของการปรับปรุงให้ดีข้ึนท่ีสำคัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากม

ความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าการปรับปรุงนั้นจะทำให้มูลนิธิได้ประโยชน์กลับคืนมามากกว่าการใช้

ประโยชน์โดยไม่มีการปรับปรุง สินทรัพย์ท่ีได้มาจากการปรับปรุงหลักจะตัดค่าเสื่อมราคาตลอด

อายุการใหป้ ระโยชน์ท่เี หลืออยู่ของสนิ ทรัพย์ที่เก่ียวข้อง



รายการกำไรและขาดทุนจากการจำหน่ายคำนวณโดยเปรียบเทียบจากส่ิงตอบแทนที่ได้รับกับราคา

ตามบญั ชี และจะรวมไวใ้ นงบแสดงรายได้และคา่ ใชจ้ า่ ย



๒.๗ สินทรัพยไ์ ม่มตี ัวตน



สินทรพั ย์ไม่มีตัวตน ได้แก่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์



สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยที่ซ้ือมามีลักษณะเฉพาะบันทึกเป็นสินทรัพย์โดยคำนวณ

จากต้นทุนในการได้มาและการดำเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถนำมาใช้งานได

ตามประสงค์ โดยจะตัดจำหน่ายตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ภายในระยะเวลาไม่เกิน

๓-๕ ป



ต้นทุนที่ใช้ในการพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดข้ึน

ต้นทุนโดยตรงในการจัดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมูลนิธิเป็นผู้ดูแลและมีลักษณะเฉพาะเจาะจง

ซ่ึงอาจให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มากกว่าต้นทุนเป็นเวลาเกินกว่าหน่ึงปีจึงจะบันทึกเป็นสินทรัพย์

ไม่มีตัวตน ต้นทุนโดยตรงรวมถึงต้นทุนพนักงานท่ีทำงานในทีมพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และ

คา่ ใชจ้ า่ ยที่เก่ียวข้องในจำนวนเงินท่เี หมาะสม


85

มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำร ิ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำหรับปีสิ้นสุดวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๒. นโยบายการบัญชี (ต่อ)



๒.๘ ประมาณการหนส้ี ิน



มูลนิธิจะบันทึกประมาณการหนี้สินซ่ึงไม่รวมถึงประมาณการหน้ีสินสำหรับผลตอบแทนพนักงาน

อันเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดทำไว้ อันเป็นผลสืบเน่ืองมาจาก

เหตุการณ์ในอดีตซ่ึงการชำระภาระผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้มูลนิธิต้อง

สูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที่น่าเช่ือถือของจำนวนท่ีต้องจ่าย ในกรณีที่มูลนิธิ

คาดวา่ ประมาณการหนส้ี ินเปน็ รายจ่ายทีจ่ ะไดร้ ับคนื เช่น ภายใต้สัญญาประกันภยั มลู นธิ จิ ะบนั ทึก

เป็นสินทรพั ย์แยกตา่ งหากเมื่อคาดวา่ น่าจะไดร้ บั รายจา่ ยนัน้ คืนอยา่ งแน่นอน



๒.๙ การรบั รรู้ ายได



เงินจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดิน รายรับจากเงินบริจาค และรายได้ดอกเบี้ยรับรู้เป็นรายได้

ตามเกณฑค์ งคา้ ง



๓. ประมาณการทางบัญชีทส่ี ำคัญ ข้อสมมติฐานและการใชด้ ุลยพินจิ



การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ ได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเน่ือง และอยู่

บนพื้นฐานของประสบการณ์ในอดีตและปัจจัยอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคต

ท่ีเช่ือว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะน้ัน มูลนิธิมีการประมาณการทางบัญชี และใช้ข้อสมมติฐาน

ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับเหตุการณใ์ นอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชอี าจไม่ตรงกับผลท่ีเกดิ ขึ้นจรงิ



๔. เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคาร

พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓

บาท บาท
เงนิ สดในมือ ๗๓,๕๘๐ ๗๑,๘๑๒

เงนิ ฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมอ่ื ทวงถาม ๙๒,๔๖๐,๕๕๔ ๓๐๘,๓๗๙,๐๐๖

๙๒,๕๓๔,๑๓๔ ๓๐๘,๔๕๐,๘๑๘



เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเม่ือทวงถามมีอัตราดอกเบ้ียถัวเฉลี่ยอยู่ท่ีร้อยละ ๐.๘๗ ต่อป

(พ.ศ. ๒๕๕๓ : ร้อยละ ๐.๖๒ ตอ่ ป)ี


86

มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
สำหรับปีส้ินสดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๕. เงนิ ลงทนุ ระยะส้ัน





ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เงินลงทุนระยะสั้นเป็นเงินฝากประจำประเภท ๑๑ เดือนกับ


ธนาคาร ซึง่ มีอตั ราดอกเบี้ยระหว่างรอ้ ยละ ๓.๒๐-๔.๓๐ ต่อปี (พ.ศ. ๒๕๕๓ : ไมม่ ี)







๖. เงนิ สำรองจ่าย





พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓


บาท บาท


เงินสำรองจ่ายแก่พนักงาน ๔๘๖,๖๐๕ ๙๔,๑๐๐


เงินสำรองจ่ายแก่สำนักงานสง่ เสรมิ การจดั ประชุม


และนิทรรศการ (องค์การมหาชน) ๑,๓๓๑,๒๖๘ ๑๒,๘๕๖,๔๓๘


เงนิ สำรองจา่ ยแก่มลู นธิ แิ ม่ฟา้ หลวง ๑๔,๐๘๔,๔๔๒ ๗๐,๓๔๑,๓๑๙


๑๕,๙๐๒,๓๑๕ ๘๓,๒๙๑,๘๕๗




๗. สินทรัพยห์ มนุ เวียนอนื่





พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓


บาท บาท


ค่าใชจ้ ่ายจา่ ยล่วงหนา้ ๘๑๗,๕๒๒ ๒๔๗,๕๖๘


ดอกเบ้ียคา้ งรับ ๗๖๗,๑๒๓ -


วัสดุสำนกั งาน ๑๘,๖๔๔ -


๑,๖๐๓,๒๘๙ ๒๔๗,๕๖๘


87

มูลนิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำร ิ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำหรับปสี ้นิ สดุ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๘. อุปกรณ์ - สุทธ





เครอ่ื งตกแต่ง อปุ กรณ์


และตดิ ตัง้ ยานพาหนะ เครอื่ งจกั ร สำนักงาน รวม


บาท บาท บาท บาท บาท





ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน


พ.ศ. ๒๕๕๓


ราคาทุน ๗,๔๒๓,๔๑๘ - - ๒,๘๗๘,๗๗๔ ๑๐,๓๐๒,๑๙๒


หกั คา่ เสือ่ มราคาสะสม (๑,๘๒๒,๕๘๗) - - (๘๕๘,๑๒๒) (๒,๖๘๐,๗๐๙)


ราคาตามบัญชี-สทุ ธ ิ ๕,๖๐๐,๘๓๑ - - ๒,๐๒๐,๖๕๒ ๗,๖๒๑,๔๘๓





สำหรับปีสิน้ สดุ วันที่


๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔


ราคาตามบญั ชีตน้ ปี-สุทธิ ๕,๖๐๐,๘๓๑ - - ๒,๐๒๐,๖๕๒ ๗,๖๒๑,๔๘๓


ซอื้ สินทรพั ย ์ - ๒,๒๕๒,๑๕๐ ๑,๘๕๓,๑๕๐ ๑,๑๙๑,๙๖๖ ๕,๒๙๗,๒๖๖


จำหน่ายสินทรัพย์ - - - (๒๐,๕๖๙) (๒๐,๕๖๙)


คา่ เสอื่ มราคา (๘๐๔,๙๒๕) (๔๓๐,๐๙๑) (๖๖,๑๔๐) (๕๔๔,๒๑๐) (๑,๘๔๕,๓๖๖)


ราคาตามบญั ชีปลายป-ี สุทธ ิ ๔,๗๙๕,๙๐๖ ๑,๘๒๒,๐๕๙ ๑,๗๘๗,๐๑๐ ๒,๖๔๗,๘๓๙ ๑๑,๐๕๒,๘๑๔





ณ วันที่ ๓๐ กันยายน


พ.ศ. ๒๕๕๔


ราคาทุน ๗,๔๒๓,๔๑๘ ๒,๒๕๒,๑๕๐ ๑,๘๕๓,๑๕๐ ๔,๓๐๔,๒๐๒ ๑๕,๘๓๒,๙๒๐


หัก คา่ เสอื่ มราคาสะสม (๒,๖๒๗,๕๑๒) (๔๓๐,๐๙๑) (๖๖,๑๔๐) (๑,๖๕๖,๓๖๓) (๔,๗๘๐,๑๐๖)


ราคาตามบญั ช-ี สทุ ธ ิ ๔,๗๙๕,๙๐๖ ๑,๘๒๒,๐๕๙ ๑,๗๘๗,๐๑๐ ๒,๖๔๗,๘๓๙ ๑๑,๐๕๒,๘๑๔


88

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำหรบั ปีสน้ิ สุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓




๙. สินทรัพย์ไมม่ ีตวั ตน - สุทธ


บาท


ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

ราคาทุน ๑๔๒,๘๐๐


หัก คา่ ตดั จำหนา่ ยสะสม (๔,๒๕๗)


ราคาตามบญั ชี - สุทธิ ๑๓๘,๕๔๓





สำหรบั ปสี นิ้ สุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔


ราคาตามบญั ชตี น้ งวด - สทุ ธ ิ ๑๓๘,๕๔๓


เพมิ่ ขน้ึ ระหวา่ งงวด ๓๒,๑๐๐


ค่าตัดจำหนา่ ย (๓๐,๘๙๐)


ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธ ิ ๑๓๙,๗๕๓





ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔


ราคาทนุ ๑๗๔,๙๐๐


หกั คา่ ตดั จำหน่ายสะสม (๓๕,๑๔๗)


ราคาตามบัญชี - สทุ ธิ ๑๓๙,๗๕๓




๑๐. หน้สี นิ หมุนเวียนอ่ืน





พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓


บาท บาท


เจา้ หนีค้ า้ งชำระ ๑๙๖,๐๙๓ ๔,๔๓๒,๐๕๔


หนี้สินอื่นๆ ๕๔,๑๓๐ ๒๒,๕๐๐


๒๕๐,๒๒๓ ๔,๔๕๔,๕๕๔


89

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำหรับปีสิ้นสดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
สำหรบั รอบระยะเวลาบญั ชตี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (วนั จดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ )ิ
ถึงวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๑๑. ภาระผูกพัน





มลู นธิ ไิ ดท้ ำสญั ญาเชา่ อาคาร ยานพาหนะและอุปกรณ์ เป็นระยะเวลา ๑-๕ ปี สญั ญาน้ีถือเปน็ สัญญาเชา่


ดำเนินงานท่ียกเลิกไม่ได้ ยอดรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดำเนินงานท่ีไม


สามารถยกเลกิ ได้มดี ังน
้ี




พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๓


บาท บาท


ภายใน ๑ ป ี ๒,๙๐๔,๑๙๐ ๒,๙๖๗,๐๘๐


เกินกว่า ๑ ปี แต่ไมเ่ กิน ๕ ป ี ๒,๑๐๘,๒๔๐ ๕,๐๑๒,๔๓๐


๕,๐๑๒,๔๓๐ ๗,๙๗๙,๕๑๐


90

๑๐
แผนงานในปีงบประมาณ ๒๕๕๕


แผนและงบประมาณสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๕๕

แผนงาน งบประมาณ กล่มุ เปา้ หมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลิต
รวมเป็น

จำนวน เงิน (บาท)

ดา้ นการจดั การความรู้

๑. งานสนบั สนนุ การพฒั นาพืน้ ที่ ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท • นำเสนอผล
๑.๑ มหกรรมเวที ๑ ครงั้ มผี ู้มาร่วมแลกเปลย่ี น การพัฒนา • เกิดเครอื ขา่ ย
แลกเปลย่ี นเรยี นรพู้ ืน้ ท่ี เรียนรู้ในงานไมต่ ่ำกว่า และองคค์ วามรู้ ความรูเ้ พม่ิ ขึ้น
โครงการฯ อดุ รธานี ๒,๐๐๐ คน ทเี่ กดิ ข้ึน • มชี ดุ ความรู้
• เครอื ขา่ ยการทำงาน จากการทำงาน จากการพัฒนา
ในจงั หวัด • เพือ่ แลกเปล่ียน ในพนื้ ที่
ภาครัฐ ทอ้ งถนิ่ ประสบการณ์ • เกิดเครอื ข่าย
สถาบันการศึกษา การทำงาน คณะทำงาน
• ชมุ ชนในพื้นท่ี กบั พน้ื ที่อื่น ปดิ ทองหลังพระ
โครงการ พนื้ ที่ • เพอื่ สรปุ ผล ในพ้ืนทขี่ ยายผล
ขยายผล ๑๐ จงั หวดั การสรา้ งความ • เกดิ node สถาบัน
๑.๒ สัมมนาสรุป ๓ ครัง้ มีผู้รว่ มแลกเปล่ียน เข้าใจ เข้าถงึ และ การศกึ ษาในพื้นท่ี
“เข้าใจเข้าถึง” และ เรยี นรู้จาก ๑๐ จังหวัด แผนงานท่ีเกิดข้นึ ท่จี ะเปน็ แกนใน
แลกเปล่ียนเรยี นรู้พ้นื ที่ ประมาณ ๕๐๐ คน • เพ่ือแลกเปลี่ยน การทำงานจดั การ
ขยายผล ๑๐ จังหวัด • คณะทำงาน ขอ้ มลู สถานการณ์ ความรู้กับพ้ืนที่
ในพน้ื ท่ีขยายผล ของพ้นื ทข่ี ยายผล ขยายผล ๑๐ แห่ง
• สถาบนั อดุ มศกึ ษา • เชอื่ มโยงกบั ชุมชนในพน้ื ทขี่ ยายผล
ในพ้ืนท่ี สถาบนั อดุ มศกึ ษา และคณะทำงาน
เพอ่ื ใหช้ มุ ชนมีความรู้ เกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ
๑.๓ เช่ือมโยงและ ๑๐ ครั้ง พน้ื ทข่ี ยายผล ๑๐ ความเข้าใจองคค์ วามรู้ และมขี ้อมูลเพยี งพอ
ถ่ายทอดความรู้แก่ จงั หวดั ตามแนวพระราชดำริ ตอ่ การนำไปจดั ทำ
ชมุ ชนในพ้นื ท่ีขยายผล • ชมุ ชนในพ้นื ที่ และเกดิ ความเชือ่ มั่นวา่ แผนพฒั นาท่สี อดคลอ้ ง
๑๐ จงั หวดั ขยายผล แนวพระราชดำริ กบั แนวพระราชดำริ
หมายเหตุ : ทำรว่ มกับ • คณะทำงาน
สถาบันอุดมศกึ ษา ปดิ ทองหลังพระ
และหนว่ ยงานสืบสาน ในจงั หวดั ขยายผล
แนวพระราชดำริ

91

แผนและงบประมาณสถาบนั ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๕๕ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลมุ่ เป้าหมาย วัตถปุ ระสงค์ ผลผลิต
รวมเป็น

จำนวน เงนิ (บาท)

๑.๔ ถอดความรจู้ าก ๓๖ ในพน้ื ท่ีขยายผล ๑๐ • เพ่อื สืบค้นองค์ • ไดช้ ุดความรู้
การปฏบิ ัตใิ นพ้นื ที่ เรือ่ ง จังหวัด ความรูจ้ ากการ จากการปฏิบตั ิจริง
ขยายผล ๑๐ จงั หวัด • ชมุ ชนในพื้นท่ี ปฏบิ ัตใิ นพื้นที่ ในดา้ นกระบวนการ
๑๘ หมู่บา้ น ขยายผล ๑๘ ชมุ ชน ดา้ นกระบวนการ และองคค์ วามรู้
ชุมชนละ ๒ คน เข้าใจ เขา้ ถงึ ท้ัง ๖ มติ ิ
และพฒั นา • ทำสอ่ื การเรยี น
• เพ่ือสกดั ความรู้ การสอนในสถาบัน
ใหมจ่ ากการนำแนว อดุ มศึกษาแมข่ า่ ย
พระราชดำริ ๙ แหง่ รวมนกั ศกึ ษา
ไปประยุกตใ์ ช้ ไม่ตำ่ กว่า
๑๐๐,๐๐๐ คน
๑.๕ สรปุ บทเรียน ๑ ครัง้ มผี ู้ร่วมแลกเปลย่ี น • เพื่อใหค้ ณะทำงาน ไดช้ ุดความรูใ้ หมจ่ าก
การทำงาน ๑ ปี เรียนรู้ จาก ๑๐ จังหวดั ทุกจงั หวัด การปฏบิ ตั จิ ริง
ระหวา่ งพนื้ ที่ขยายผล ประมาณ ๕๐๐ คน ได้มาแลกเปลี่ยน • ไดร้ บั คำแนะนำ
และพื้นท่ีตน้ แบบ • คณะทำงานในพื้นท่ี ประสบการณ์ สำหรบั นำไป
ขยายผล ผลการทำงาน ปรับปรงุ การ
• สถาบันอุดมศกึ ษา ซึ่งกนั และกัน ทำงานในพนื้ ท่ี
ในพืน้ ที่ • สรปุ องค์ความรู้
• อสพ. ทเ่ี กดิ ขึน้ ใหม่
เพื่อนำไปตอ่ ยอด
ขยายผล
๑.๖ ติดตามผลการ ๑๐ • ชมุ ชนในพ้นื ท่ี • เพือ่ ติดตามผล • รายงานสถานการณ์
พฒั นาพื้นที่ขยายผล โครงการ โครงการ การพฒั นาและการ และการตดิ ตาม
• คณะทำงาน นำองคค์ วามรไู้ ปใช้ ผลการพฒั นา
โครงการ ในพ้นื ที่ รวมถึง เพ่ือนำไปสู่การ
• หนว่ ยงานภาคี ขอ้ เสนอแนะดา้ น ปรบั แผน
ที่เกย่ี วข้อง ตา่ งๆ ระยะตอ่ ไป

๒. งานบริการเชื่อมโยงองค์ความรู้ ๘,๔๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๑ เชื่อมโยงความรู้ ๖๐ แห่ง • อบต.ในโครงการ • เพอ่ื เผยแพร่ • เครอื ขา่ ยทอ้ งถ่นิ
ใหแ้ ก่ อบต. เทศบาล พระดาบสสัญจร แนวพระราชดำริ ปดิ ทองหลังพระ
และชุมชนอนื่ ๆ ทเี่ สนอ ปี ๒๕๕๕ สูก่ ารปรบั ใช้ • เกดิ เครือข่าย
ขอองค์ความรู้ จำนวน ๑๒ แห่ง ของชุมชนทอ้ งถิ่น ผเู้ ช่ยี วชาญ
• อบต.ทีเ่ สนอเพิ่ม • สรา้ งความรู้จาก • เกดิ ความรใู้ หม่จาก
๑๐ แห่ง การประยุกตใ์ ช้ การประยกุ ต์ใช้
• เทศบาล เสนอเพม่ิ ของชุมชน
๓๐ แหง่
• ชุมชนอ่ืนๆทีเ่ สนอ
ขอองคค์ วามรู้

92

แผนและงบประมาณสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระฯ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ กลมุ่ เป้าหมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลติ
รวมเปน็

จำนวน เงิน (บาท)

๒.๒ ติดตามผลการ ๖๐ แหง่ • อบต.ในโครงการ • เพอ่ื ตดิ ตามผลลัพธ์ • สรปุ ความรู้ใหม่ที่
เชอื่ มโยงความรใู้ ห้แก่ พระดาบสสญั จร ท่ีชาวบา้ นในพน้ื ที่ เกดิ ข้นึ จากการ
อบต. เทศบาล ปี ๒๕๕๕ ไดร้ ับจากการนำ ปฏบิ ตั จิ รงิ ของชมุ ชน
และชุมชนอื่น จำนวน ๑๒ แหง่ องคค์ วามร้ไู ปใชแ้ ก้ • เกดิ อปท.ตน้ แบบท่ี
• อบต.ท่ีเสนอเพิ่ม ปญั หาไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื นำแนวพระราชดำริ
๑๐ แหง่ • เพือ่ สร้างความรู้ ไปประยกุ ตใ์ ช้สำเรจ็
• เทศบาล เสนอเพ่ิม จากการประยุกต์ • เกิดชุดความรู้
๓๐ แหง่ ใช้ในพ้ืนท่ี พร้อมใชข้ อง อปท.
• ชมุ ชนอ่ืนๆ ท่ีเสนอ
ขอองค์ความรู้
๒.๓ ประชมุ วิชาการ ๑ คร้งั ผู้ร่วมงานไม่ตำ่ กวา่ • เพ่อื เป็นเวทแี ลก • ได้ฐานข้อมูล
ดา้ นการนำแนว ๕๐๐ คน เปลย่ี นความรู้ และ นกั วชิ าการที่มี
พระราชดำริ • นกั วิชาการทมี่ ีงาน เพิ่มพูนความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ไปประยุกตใ์ ช้ วจิ ัยหรอื ทำงาน แนวพระราชดำริ การนำแนว
เก่ยี วข้องกบั การนำ ในมติ ิตา่ งๆ พระราชดำรไิ ป
แนวพระราชดำริไป • เพ่อื สร้างเครอื ข่าย ปฏิบตั ใิ นมิติตา่ งๆ
ประยุกต์ใช้ นักวชิ าการ • ไดช้ ดุ ความรู้แนว
• ภาคีสืบสานแนว และผเู้ ช่ยี วชาญ พระราชดำริ 6 มติ ิ
พระราชดำริ ซงึ่ มี ทสี่ นบั สนุน ทผี่ ่านการ verify
องค์ความรู้แนว การเชื่อมโยง โดยผู้เช่ียวชาญ
พระราชดำริ องค์ความรู้ ทกุ สาขา
ดา้ นตา่ งๆ
๒.๔ การบรกิ าร ๑๐๐ • เกษตรกรทเี่ ป็น • เพ่อื ขยายผลแนว • ไดช้ ดุ ความรพู้ รอ้ มใช้
ความรู้พร้อมใช้ให้แก่ เรอ่ื ง สมาชกิ พระราชดำริ สำหรับส่งใหม้ ูลนธิ ิ
มลู นธิ สิ ำนึกรกั บ้านเกิด ๒๗๐,๐๐๐ ราย ให้ประชาชนไดร้ บั สำนกึ รกั บา้ นเกดิ
เพอ่ื เสนอบน ความรทู้ ่ีเป็น • ไดเ้ ครือข่ายเพิม่ ขน้ึ
หน้าเว็บไซต์ ประโยชน์ต่อการ
ประกอบอาชพี
และดำเนินชวี ติ
• เพือ่ ขยายเครือขา่ ย
สรา้ งความเขา้ ใจ
ให้กวา้ งขวางยงิ่ ข้นึ

93

แผนและงบประมาณสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลุ่มเป้าหมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลิต
รวมเปน็

จำนวน เงิน (บาท)

๓. สนบั สนุนการนำองคค์ วามรู้เข้าไปใช้ในในสถาบนั การศึกษา ๗,๐๐๐,๐๐๐ บาท • เกิดความร่วมมือ
๓.๑ ทำความร่วมมือ ๑๐ แหง่ • สถาบนั อุดมศึกษา • เพอ่ื ขยายเครือขา่ ย กับสถาบัน
กบั สถาบนั อดุ มศกึ ษา ในจงั หวดั พืน้ ท่ี ความเขา้ ใจ อุดมศกึ ษาในพ้นื ที่
ขยายผล ๑๐ แหง่ แนวพระราชดำริ ทท่ี ำหนา้ ทเ่ี ปน็ node
• โครงการ SIFE • สกู่ ารปรบั ใชข้ อง ในการบริการ
• วทิ ยาลยั ชมุ ชน รวม นักเรยี น นกั ศกึ ษา เช่อื มโยงความรู้
นักศึกษาทีไ่ ด้รับ • เพื่อให้อาจารย์ และถอดบทเรยี น
ความรูไ้ ม่ต่ำกวา่ และนกั ศึกษา การนำแนว
๑๐๐,๐๐๐ คน ไดม้ ีโอกาสเรยี นรู้ พระราชดำริ
ชุมชนที่นำแนว ไปปฏบิ ัติ
พระราชดำริ • ไดว้ ิทยานิพนธ์
ไปปฏิบัติ สารนพิ นธ์
๓.๒ สนับสนนุ ทุน ๑๐๐ สารนิพนธ์ • เพื่อเผยแพร่แนว และภาคนิพนธ์
การทำวิทยานพิ นธ์ ทุน และวทิ ยานิพนธ์ พระราชดำริ ทีม่ เี นอ้ื หาสาระ
สารนพิ นธ์และ ๑๐๐ จำนวน ๑๐๐ เรือ่ ง สู่การปรบั ใช้ เก่ยี วกบั การนำ
ภาคนพิ นธ์ • นำรอ่ งท่ี NIDA ของนกั ศกึ ษา แนวพระราชดำริ
ให้แก่นกั ศกึ ษา • สถาบนั อดุ มศกึ ษาอน่ื ๆ • เพอื่ ส่งเสรมิ การ ไปปฏิบตั ิ
ในสถาบนั อุดมศกึ ษา • ในจงั หวดั พน้ื ท่ี เรยี นรูแ้ นว
ทม่ี ีหวั ข้อเร่อื ง ขยายผล ๑๐ แหง่ พระราชดำรจิ าก
การพัฒนาตาม • โครงการ SIFE ประสบการณ์
แนวพระราชดำริ จรงิ ในภมู สิ งั คมตา่ ง ๆ

๔. การสรา้ งฐานขอ้ มลู และคลงั ความรู้ ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท

๔.๑ รวบรวมความรู้ ๒ เร่ือง • พน้ื ท่ตี น้ แบบนา่ น- • เพอื่ นำความรู้ • ไดห้ นังสือทรี่ วบรวม
จากพืน้ ทต่ี ้นแบบ อุดรธานี ตามแนวพระราช ความร้จู ากพืน้ ท่ี
• ภาคสี บื สาน ดำรทิ ีป่ ระชาชน ตน้ แบบ สำหรบั
แนวพระราชดำริ นำไปใชแ้ ล้วสำเร็จ เผยแพรใ่ ห้
• หนว่ ยงานภาคี มาถา่ ยทอด
ในจังหวดั ความรใู้ นโอกาส
ตา่ งๆ

๔.๒ ถอดความรูจ้ าก ๓๐ ครภู ูมปิ ญั ญา ๓๐ ราย • รวบรวมขอ้ มูล • ไดข้ ้อมลู สำหรับ
ครภู มู ปิ ัญญาและศูนย์ เรือ่ ง • ครูภมู ิปัญญาทอี่ ยู่ สำหรับใส่ นำขึ้นระบบจัดการ
การเรยี นรตู้ า่ งๆ นอกพน้ื ทข่ี องโครงการ ในระบบคลังความรู้ ความรแู้ ละเว็บไซต์
• ศนู ยก์ สกิ รรมธรรมชาติ และบริการความรู้ ของสถาบนั ฯ รวมทง้ั
• ศูนย์การเรยี นรู้ • จดั ทำฐานขอ้ มูล เป็นฐานขอ้ มลู
เศรษฐกจิ พอเพียง ครูภมู ิปญั ญา สำหรับให้บริการ
และผู้เชยี่ วชาญ ความรไู้ ด้
แต่ละด้าน

94

แผนและงบประมาณสถาบันส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระฯ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลุ่มเปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลติ
รวมเปน็

จำนวน เงิน (บาท)

๕. งานนวัตกรรม ๑๓,๑๐๐,๐๐๐ บาท ชมุ ชนนำรอ่ ง ๓๐ ชมุ ชน • เพือ่ ให้เกิดการ • ทดลองอนิ เตอรเ์ นต็
๕.๑ การจดั การความรู ๓๐ • โรงเรียน และชมุ ชน แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ชมุ ชนนำรอ่ งในภาค
จากโครงการอนั เนื่อง เรอื่ ง ในพ้นื ท่โี ครงการ จัดการความรู้ เหนือและภาคใต้
มาจากพระราชดาํ ริ โดย ปดิ ทองหลงั พระฯ ทันทอี ยา่ งเรง่ รัดใน ทีอ่ ยู่ในโครงการ
บริการโทรคมนาคม • องคก์ รปกครอง ภูมสิ งั คมตา่ งๆ พระราชดำรติ ่างๆ
พืน้ ฐาน โดยทัว่ ถงึ สว่ นท้องถนิ่ • เพือ่ ขยายโอกาส จำนวน ๓๐ ชุมชน
และบรกิ ารเพื่อสงั คม • พืน้ ท่โี ครงการ ด้านการเรียนรู้ • จดั ทำสื่ออเิ ล็ก
(Universal Service อันเนอื่ งมาจาก แนวพระราชดำริ ทรอนกิ สแ์ ละกจิ กรรม
Obligation : USO) พระราชดำริ ให้แกผ่ ทู้ ่อี ยูห่ า่ งไกล ถ่ายทอด ๓๐
• ศูนย์ศึกษา และเข้าถึงความรู้ องคค์ วามรนู้ ำรอ่ ง
การพฒั นาฯ ได้ยาก

๕.๒ International ๑ ครัง้ ผู้เขา้ รว่ มงานประมาณ • เพ่ือเผยแพรค่ วามรู้ • เกดิ เครอื ขา่ ยปรชั ญา
conference (จัดร่วม ๑,๐๐๐ คน และประสบการณ์ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
กับหนว่ ยงานภาคี • บคุ คล, องคก์ ร ทง้ั ใน จากการประยุกต์ ในระดบั นานาชาติ
สบื สานแนวพระราชดำร)ิ และตา่ งประเทศ ใชแ้ นวพระราชดำริ • ยกระดบั ความรู้
ทมี่ ปี ระสบการณ์ ที่ได้ผลให้แก่ ของชมุ ชน
การพฒั นาตาม นานาชาติ สูร่ ะดับนานาชาติ
แนวปรัชญาเศรฐกจิ • เพ่อื เพ่ิมพนู ความรู้
พอเพียง ประสบการณ์
• ภาคีสบื สาน จากกรณีศึกษา
แนวพระราชดำริ ในตา่ งประเทศ

รวมงบประมาณด้านการจัดการความรู้ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐

95

แผนและงบประมาณสถาบันสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๕๕ (ต่อ)

งบประมาณ

แผนงาน จำนวน รวมเปน็ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าประสงค์ ผลผลติ
เงิน (บาท)

ดา้ นส่งเสรมิ การพัฒนา

๑. แผนงานการสง่ เสริมการแก้ไขปญั หาและพัฒนาระดับพ้นื ที่ ๑๐๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๑.๑ โครงการพัฒนา
พืน้ ทต่ี ้นแบบบรู ณาการ
แกไ้ ขปญั หาและพัฒนา
พน้ื ที่จังหวดั น่าน
ตามแนวพระราชดำริ
๑) การเสรมิ สรา้ ง ๑๙ • ชาวบ้านในพ้นื ท่ี • พฒั นาใหช้ าวบา้ น • ผลผลติ ของพน้ื ท่มี ี
ความพอเพยี งและ หมู่บา้ น ต้นแบบ มรี ายไดส้ มำ่ เสมอ มาตรฐานตรง
เพียงพอ ๑,๖๗๒ • ท้องถิน่ /ท้องท่ี ชวี ติ พอสบายขน้ึ ตามความตอ้ งการ
• การเพิม่ มูลค่า ครวั • จงั หวดั และใชห้ นหี้ มด ของตลาด
ของผลติ ภณั ฑ์ เรือน • หนว่ ยงานสบื สาน • เป็นต้นแบบ • เกิดกองทนุ
ท่ีตรงตามความ แนวพระราชดำริ สำหรับ การพัฒนา
ต้องการตลาด การเรยี นรู้ ทีบ่ รหิ ารจดั การเอง
การแปรรูป ในการพัฒนา โดยชาวบา้ น
ผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถ่นิ ตามแนว • เกิดพืน้ ทป่ี ลกู ป่า
• สง่ เสรมิ จดั ตง้ั กลมุ่ / พระราชดำริ เศรษฐกจิ
กองทุนการพัฒนา ที่ครบวงจร และป่าใชส้ อย
เชน่ กลุ่มผู้ใช้น้ำ • เตรยี มการรองรับ จำนวน ๑๖,๐๐๐ ไร่
กองทนุ ป๋ยุ ข้ันการพัฒนา ทเ่ี หลือจากการ
กองทุนช่องทาง ย่ังยืน ที่ชาวบ้าน ทำไรห่ มุนเวียน
การจำหนา่ ย มีรายได้เพม่ิ ข้นึ
• การเสรมิ สรา้ งมิติ และสามารถ
การพัฒนาดา้ น พ่งึ พาตนเองได้
สงั คม เช่น
การทำบญั ชี
ครวั เรอื น
เทคนิคการใชเ้ งิน
ดา้ นสาธารณสุข
ด้านส่ิงแวดล้อม
เช่น การแก้ไข
ปัญหานำ้ เสีย

96

แผนและงบประมาณสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระฯ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (ต่อ)

งบประมาณ

แผนงาน จำนวน รวมเปน็ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ ประสงค์ ผลผลติ
เงิน (บาท) • ชาวบา้ นในพื้นที่
๒) การเตรียมการ ๑๖,๐๐๐ ตน้ แบบ • พฒั นาใหช้ าวบา้ น • ผลผลิตของพน้ื ทมี่ ี
เพื่อสคู่ วามยั่งยนื • ทอ้ งถิน่ /ท้องที่ มรี ายไดส้ มำ่ เสมอ มาตรฐานตรง
• การปลูกปา่ ไร่ • จงั หวัด ชวี ิตพอสบายข้ึน ตามความตอ้ งการ
• หน่วยงานสบื สาน
เศรษฐกิจ แนวพระราชดำริ และใช้หนี้หมด ของตลาด
• จัดทำฐานข้อมูล • เป็นต้นแบบ • เกิดกองทนุ
ทเ่ี ปน็ จรงิ ในพนื้ ที่ • ทีมปฏิบัติการ สำหรบั การพฒั นา
ในระบบ GIS ภาคสนาม การเรยี นรู้ ทบ่ี ริหารจดั การเอง
• กำหนดพืช ในการพัฒนา โดยชาวบา้ น
เศรษฐกจิ ตาม • ชุมชน ตามแนว • เกดิ พ้ืนท่ีปลูกปา่
ความต้องการ • ท้องถิน่ /ทอ้ งที่ พระราชดำริ เศรษฐกิจ
ของชาวบา้ น • จังหวัด ทีค่ รบวงจร และป่าใช้สอย
และสภาพ • หนว่ ยงานสืบสาน • เตรียมการรองรับ จำนวน ๑๖,๐๐๐ ไร่
พน้ื ท่จี รงิ แนวพระราชดำริ ขนั้ การพฒั นา ทีเ่ หลือจากการ
• กำหนดพชื ยั่งยืน ทีช่ าวบา้ น ทำไรห่ มนุ เวยี น
ระยะสัน้ มีรายได้เพมิ่ ข้นึ
เสรมิ รายได้ และสามารถ
ในระยะ ๑-๕ ปี พ่งึ พาตนเองได้
• เตรยี มกันพื้นทป่ี า่
ใชส้ อยท่ีชาวบ้าน
ดแู ลร่วมกัน
๓) คา่ ใชจ้ า่ ยบุคลากร • เพื่อมีระบบ • เกิดการสนับสนุน
ในพน้ื ที่จงั หวัดน่าน สนบั สนนุ การทำงาน
• เงนิ เดอื น/คา่ จ้าง การทำงาน ของพื้นท่ตี ้นแบบ
• ค่าสาธารณูปโภค- ของพ้นื ทต่ี ้นแบบ ที่มปี ระสิทธภิ าพ
สาธารณปู การ
• คา่ ใช้จ่ายในการ
จดั ประชุม-แสดง
นิทรรศการ

๑.๒ โครงการบริหาร ๑๕๒ • เพิ่มรายได้ ลดราย • ชาวบา้ นลดภาระ
จัดการน้ำอยา่ งยง่ั ยืน ครวั จ่ายในครัวเรอื น รายจ่ายจาก
อา่ งเกบ็ นำ้ ห้วยคลา้ ย เรือน เนน้ การปลูกพชื การซ้ือสินค้า
อันเนอ่ื งมาจาก ที่บรโิ ภคในชีวติ เพือ่ บริโภคและ
พระราชดำริ ประจำวันและ มีรายได้เพม่ิ ขึน้
๑) การเสริมสร้าง มรี ายได้ตลอดปี
ความพอเพยี ง
และเพยี งพอ

97

แผนและงบประมาณสถาบนั ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (ตอ่ )

งบประมาณ

แผนงาน จำนวน รวมเปน็ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ ประสงค์ ผลผลติ
เงิน (บาท)
• การพฒั นาด้าน • ชมุ ชน • พฒั นาคุณภาพ • ลดอตั ราการ
เกษตรแบบ • ทอ้ งถ่ิน/ทอ้ งท่ี ผลผลติ ท่ียอมรบั เดนิ ทางออกนอก
ผสมผสาน • จังหวัด สามารถแข่งขนั พน้ื ท่เี พอื่ หางาน
รปู แบบฟารม์ • หน่วยงานสืบสาน ในตลาดได้ ทำในเมือง
ตัวอย่างในสมเด็จ แนวพระราชดำริ • ใหเ้ กิดการบรหิ าร
พระนางเจา้ ฯ • ชุมชน
จดั การทรัพยากร
พระบรมราชนิ นี าถ • ทอ้ งถนิ่ /ทอ้ งท่ี
ทม่ี อี ยใู่ นพื้นท่ีให้
• การเพม่ิ ผลผลิต • จังหวัด
เกิดประสิทธิภาพ
ในการทำนา • หนว่ ยงานสืบสาน
• เป็นพ้ืนท่ตี น้ แบบ
และการส่งเสรมิ แนวพระราชดำริ
การเรยี นรู้
การปลกู พชื ในการบริหาร
หลงั นา จดั การนำ้ และ
• การพัฒนา การสรา้ งรายได้
มาตรฐาน ด้านเกษตรแก่
ของผลติ ภณั ฑ์ ครวั เรอื นในพ้ืนที่
ทตี่ รงตามความ ภาคตะวันออก
ตอ้ งการตลาด เฉยี งเหนอื
๒) ส่งเสรมิ กล่มุ / ๒ และทว่ั ประเทศ
กองทนุ การพัฒนา หมู่บา้ น
เช่น กล่มุ ผูใ้ ชน้ ำ้
กองทนุ ปยุ๋ กองทุนหา
ช่องทางจำหน่าย

๑.๓ การสรา้ งพน้ื ท
ี่ ๒ พ้ืนที่

ตน้ แบบบูรณาการแกไ้ ข
ปัญหาและพฒั นาพน้ื ท
่ี
กระบวนการเขา้ ใจ เขา้ ถงึ
และพัฒนา

๑) ลงพนื้ ท่ีพูดคุยกับ

ชาวบา้ นเพ่อื สรา้ ง

ความเขา้ ใจเบอื้ งตน้

๒) การประชมุ ชาวบา้ น

เพื่อสร้างความ

เขา้ ใจเบ้อื งตน้

๓) การคัดเลือกอาสา

สมัครปดิ ทอง

หลงั พระ


98

แผนและงบประมาณสถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๕๕ (ต่อ)

งบประมาณ

แผนงาน จำนวน รวมเป็น กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าประสงค์ ผลผลติ
เงิน (บาท) • ชาวบ้านในพนื้ ท่ี
๔) การนำชาวบา้ น
ตน้ แบบ • พฒั นาใหช้ าวบา้ น • ผลผลติ ของพื้นทีม่ ี
และอาสาสมัคร

• ท้องถิน่ /ทอ้ งท่ี มรี ายไดส้ มำ่ เสมอ มาตรฐานตรง
ไปดงู านพ้ืนที่
• จงั หวัด ชวี ติ พอสบายขนึ้ ตามความตอ้ งการ
สบื สานแนว
• หน่วยงานสืบสาน และใช้หนี้หมด ของตลาด
พระราชดำริ
แนวพระราชดำริ • เปน็ ต้นแบบ • เกิดกองทนุ
๕) การสำรวจและ
สำหรับ การพัฒนา
วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทเี่ ปน็
การเรียนรู้ ทบ่ี รหิ ารจัดการเอง
จรงิ ในพน้ื ที่ ข้อมลู
ในการพฒั นา โดยชาวบ้าน
กายภาพเศรษฐกจิ
ตามแนว • เกดิ พืน้ ทีป่ ลูกป่า
(รายได้ รายจ่าย)
พระราชดำริ เศรษฐกจิ
สง่ิ แวดล้อม
ที่ครบวงจร และปา่ ใช้สอย
แหล่งน้ำ การใช
้ • เตรยี มการรองรบั
ประโยชน์ท่ดี ิน ฯลฯ
ข้ันการพัฒนา
๖) การค้นหาปญั หา
ย่งั ยืน ที่ชาวบา้ น
ความต้องการท่ี
มีรายได้เพ่ิมขึ้น
แทจ้ รงิ ของชาวบา้ น
และสามารถ
๗) การคนื ขอ้ มูลและ
พึ่งพาตนเองได้
จดั ทำแผนพฒั นา

ชนบทเชงิ พนื้ ท่

ที่บรู ณาการทำงาน

ทกุ ภาคสว่ น มีการ

แบง่ บทบาทท่ี

ชดั เจนระหวา่ ง

ราชการ เอกชน

และชาวบ้าน

๘) การสนบั สนุน

กจิ กรรมการพฒั นา

ในพน้ื ทต่ี ามแนว

พระราชดำริ เชน่

การพฒั นาระบบนำ้

การปรบั สภาพดนิ

ใหเ้ หมาะสมกบั

การเพาะปลกู การ

ทำการเกษตร ฯลฯ
แบบมสี ่วนร่วมกับ

หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

ในลกั ษณะ

partnership

หรือ

Implementation




99

แผนและงบประมาณสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระฯ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ (ต่อ)

งบประมาณ

แผนงาน จำนวน รวมเป็น กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าประสงค์ ผลผลิต
เงิน (บาท)

๒. พน้ื ทข่ี ยายผลปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ ๑๙,๕๐๐,๐๐๐ บาท

๒.๑ พ้นื ที่ขยายผล
๑๐
• ชมุ ชน
• เพือ่ ตดิ ตามการ
เกดิ การต่อยอด

ปิดทองหลงั พระ จังหวัด
• ทอ้ งถิ่น/ทอ้ งท
ี่ พฒั นาให ้
องค์ความรใู้ นพื้นที

สืบสานแนวพระ ๑๘
• จังหวดั
สอดคลอ้ งการ
ใหเ้ ป็นการพฒั นา

ราชดำริ
หมบู่ า้ น
• ภาคสี บื สาน
พฒั นาทสี่ ืบสาน
แบบองคร์ วม

ระยะที่ ๑

• แนวพระราชดำริ
แนวพระราชดำริ


๑) ติดตาม สนบั สนนุ

• ชมุ ชนรอบๆ
และค้นหา


การดำเนนิ งาน

พื้นที่ขยายผล
องคค์ วามรู้ไป


ตามแผนพัฒนา


ต่อยอดเติมเตม็


ชนบทเชงิ พน้ื ท่





ตามแนวทาง





ปดิ ทองหลงั พระฯ





และเสนอแนวทาง





การพฒั นา





๒) การขยายผลพ้นื ที่
๒๐




สืบสานตามแนว
จงั หวัด




พระราชดำรใิ ห้
๓๐




ครอบคลมุ ทงั้
หมู่บา้ น




จังหวัด
• ชมุ ชน
• ชาวบา้ นมคี วาม
• เกดิ แผนพฒั นา

๒.๒ พน้ื ทขี่ ยายผล
• ทอ้ งถ่นิ /ทอ้ งที่
เข้าใจในข้อมูลท่
ี ชนบทเชิงพ้ืนที่

ปิดทองหลังพระ
• จังหวดั
เปน็ จรงิ ของหมบู่ า้ น
ทเี่ ปน็ การบรู ณาการ

สบื สานแนว
• ภาคสี บื สาน
รู้ปัญหาและความ
ทำงานทกุ ภาคสว่ น

พระราชดำริ
แนวพระราชดำริ
ต้องการของตน
และสอดคล้องกบั

ระยะที่ ๒
ในทกุ มติ
ิ หลกั การองคค์ วามร
ู้
๑) ลงพ้ืนที่พูดคยุ
ชาวบ้านมีองค ์
๖ มติ ิ ประหยดั

กับชาวบา้ น
ความรแู้ ละพร้อมท ่ี
เรียบง่าย

เพอ่ื สร้างความ
จะลุกขึ้นมาทำงาน
ไดป้ ระโยชน์สงู สุด

เขา้ ใจเบื้องตน้
ด้วยตนเองทกุ
และผลลพั ธ์

๒) การนำชาวบา้ น
กระบวนการ
วดั ผลทช่ี าวบ้าน

ไปดูงานพ้นื ท
่ี (เข้าใจ เขา้ ถงึ
ได้อะไรจาก

สืบสานแนว
และพัฒนา)
กิจกรรมการพฒั นา

พระราชดำร
ิ • เปน็ การทำงานรว่ ม • ข้าราชการและ
๓) การสำรวจขอ้ มูล กนั ระหวา่ งชาวบา้ น ชาวบา้ น
ที่เป็นจรงิ ในพ้ืนท่ี และข้าราชการ ไดร้ บั ความรู้เชิง
ข้อมลู กายภาพ อยา่ งบรู ณาการ กระบวนการ
เศรษฐกิจ • เกิดการขยายผล และสามารถ
(รายได้ รายจ่าย) การพฒั นาสบื สาน ถา่ ยทอดตอ่
สิ่งแวดล้อม แนวพระราชดำริ ในการขยายผลได้
แหลง่ น้ำ การใช้ สูพ่ ้นื ที่ชุมชน

ประโยชนท์ ด่ี นิ ฯลฯ ครอบคลมุ
ทั้งจงั หวดั

100


Click to View FlipBook Version