The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2556

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-21 01:06:35

รายงานประจำปี 2556

รายงานประจำปี 2556

Keywords: รายงานประจำปี 2556

“...บ้านเมืองของเราสงบสุขมาชา้ นาน เพราะเรามคี วามเป็นปกึ แผ่นในชาติ
และตา่ งบ�ำ เพญ็ กรณียกจิ ทำ�หนา้ ทีใ่ ห้สอดคลอ้ งเกอ้ื กลู กัน เพ่ือประโยชนข์ องชาติ
คนไทยทกุ คนจงึ ควรจะตระหนกั ในข้อนี้ใหม้ าก และตั้งใจประพฤตติ ัว ปฏิบัตงิ านใหส้ มฐานะและหนา้ ท่ี
เพือ่ ใหส้ ำ�เร็จประโยชนส์ ่วนรวม เพอ่ื ความมัน่ คงปลอดภยั ของชาตบิ ้านเมืองไทย...” 

พระราชดำ�รสั
ในการเสด็จออกมหาสมาคมในงานพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖

ณ ท้องพระโรง ศาลาราชประชาสมาคม วังไกลกังวล
วันพฤหสั บดีท่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๖

สารบัญ ๓
๑๔
สรปุ ผู้บรหิ าร
ความเป็นมา มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ร ิ ๑๗
และสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ ๑๙
คณะกรรมการ ๒๑
หลักการดำ�เนนิ งานและแนวทางปฏิบตั ิงาน ๒๔
กรอบการดำ�เนินงานตามมติคณะกรรมการ ๖๖
สรุปการดำ�เนินงานปดิ ทองหลังพระฯ ๘๔
งบการเงิน ปี ๒๕๕๖ ๑๐๖
แผนงานในปีงบประมาณ ๒๕๕๗
ภาคผนวก

๑ สรปุ ผบู้ รหิ าร

การด�ำ เนนิ งานของมลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันส่งเสรมิ
และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ในปี ๒๕๕๖ คือ กา้ วทสี่ �ำ คัญยิง่
ในกระบวนการพัฒนาตามแนวทางของปิดทองหลังพระฯ ท่ีมุ่งให้ชุมชน “อยู่รอด พอเพียง
และยัง่ ยนื ”
หลงั จากดำ�เนนิ โครงการมาได้ ๔ ปี นับแต่โครงการพืน้ ท่ีตน้ แบบบรู ณาการแก้ไขปญั หา
และพัฒนาพืน้ ที่จังหวัดนา่ น โครงการแรกท่ีเร่ิมตน้ ในพน้ื ท่ีนำ�ร่องขนาดเล็ก ๓ อ�ำ เภอ ขยายสู่
พ้ืนท่ีต้นแบบจังหวัดอุดรธานี เพชรบุรี กาฬสินธุ์ และอุทัยธานี ด้วยแนวทางส่งเสริมให้ชุมชน
ลดรายจ่ายและเพ่ิมรายได้ จากการเพ่ิมผลผลิตข้าว ปลูกพืชอาหาร เลี้ยงสัตว์ ควบคู่กับการ
ถา่ ยทอดองค์ความร้ตู า่ งๆ เชน่ การพัฒนาและบริหารจดั การแหลง่ น้�ำ การปรับปรุงปัจจยั การ
ผลิตพื้นฐาน ทัง้ น้ำ� ดินและเมลด็ พันธ์ุ สง่ เสริมความรู้ดา้ นการเพาะปลูก การจดั ต้ังและบรหิ าร
กองทุนต่างๆ แปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน เพ่ือให้ชาวบ้านในพ้ืนที่ต้นแบบพ้นจาก
การกกู้ นิ กใู้ ช้ มอี าหารพอเพยี งตลอดปี สามารถช�ำ ระหนสี้ นิ ได้ ตามขน้ั ตอน “อยรู่ อด” “พอเพยี ง”
และทา้ ยสุด คอื “ย่งั ยืน”

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 3
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

กระบวนการพฒั นาเพอื่ กา้ วสคู่ วาม “ยง่ั ยนื ” มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ มงุ่ สง่ เสรมิ ศกั ยภาพ
และความเข้มแข็งของชุมชน ด้วยการพัฒนา “คน” ให้เป็นแรงขับเคลื่อนสู่เป้าหมายและ
ความสำ�เรจ็ ด้วยการใหช้ ุมชนมสี ่วนร่วมในกระบวนการพฒั นาทุกขัน้ ตอน
มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ร่วมกับภาคีเครือข่าย เช่น มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรม
ราชูถัมภ์ มูลนิธิรากแก้ว กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ขา้ ราชการและเจา้ หนา้ ทที่ ง้ั สว่ นกลางและในพนื้ ทโี่ ครงการฯ
รวมทัง้ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน จึงร่วมกนั พฒั นา “คน”
ทุกระดับ ต้ังแต่เจ้าหน้าท่ีอาสาสมัครพัฒนาหมู่บ้าน ชาวบ้านในพ้ืนท่ีโครงการฯ ข้าราชการ
เจา้ หนา้ ที่ จนถงึ นสิ ติ นกั ศกึ ษา เพอ่ื ใหเ้ ยาวชนคนรนุ่ ใหมเ่ ปน็ กำ�ลงั ส�ำ คญั ของกระบวนการพฒั นา
ต่อไปในอนาคต ด้วยการเพ่ิมศักยภาพ ส่งเสริมความรู้ท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ตลอดจน
ความเข้าใจสภาพปัญหาที่แท้จริง เพ่ือนำ�องค์ความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้อย่างได้
ผลตอ่ ไป
เรม่ิ ทกี่ ารพฒั นาชาวบา้ นในพนื้ ทโี่ ครงการฯ มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ มงุ่ ใหช้ าวบา้ นทราบ
ข้อมูล ข้อเท็จจริง ตระหนักและเข้าใจต้นทุนทรัพยากร สภาพปัญหา วัตถุประสงค์ โอกาส
ทางเลอื กและขอ้ จ�ำ กดั ตา่ งๆ รวมทง้ั ศกั ยภาพของตนในการแกไ้ ขปญั หาของชมุ ชนดว้ ยชมุ ชนเอง
ด้วยการให้ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผนและร่วมทำ�ในทุกข้ันตอนทุกกิจกรรม เช่น
ในการปลูกป่า ที่จังหวัดน่าน ชาวบ้านจะมีส่วนร่วมต้ังแต่การเพาะกล้า การปลูก การจัดตั้ง
คณะกรรมการดูแลป่าและจัดทำ�กฎระเบียบชุมชนว่าด้วยการใช้ประโยชน์และดูแลรักษาป่า
อนุรักษแ์ ละป่าใชส้ อย ตามหลกั การ “ปลูกปา่ ปลกู คน”

4 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

นอกจากน้ี ยังสนับสนุนชาวบ้านในพ้นื ที่โครงการฯ ได้รับการฝึกอบรมและศกึ ษาดงู าน
เพื่อเพิ่มความรู้ด้านการเกษตร การเพ่ิมผลผลิต การต่อยอดความรู้ การจัดต้ังศูนย์ถ่ายทอด
และเรียนรู้การทำ�เกษตรประณีตในพื้นท่ีจังหวัดน่าน การเชื่อมโยงและถ่ายทอดองค์ความรู้
ตา่ งๆ จากนกั วชิ าการและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ การแปรรปู หมเู หมยซาน การบรหิ ารจดั การ
กลมุ่ ผใู้ ชน้ �้ำ การผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ค์ รบวงจร การบรหิ ารจดั การกลมุ่ กองทนุ การท�ำ น�ำ้ หมกั ชวี ภาพ
ไล่แมลง ฯลฯ ที่จังหวัดอุดรธานี การทำ�แปลงสาธิตชาวบ้านปลูกผักกินเองบนพ้ืนที่
สาธารณประโยชน์ ทบ่ี า้ นโปง่ ลกึ บางกลอย จงั หวดั เพชรบรุ ี ซง่ึ ชาวบา้ นมสี ว่ นรว่ มทง้ั การออกแบบ
ทำ�แปลงและวางระบบน้ำ� ซ่ึงทำ�ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่สำ�คัญของชาวบ้านในการบริหาร
จัดการด้วยตนเอง โดยเริ่มจากจุดเลก็ ๆ
การเช่ือมโยงองค์ความรู้ด้านการเกษตร นอกจากจะได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน
ราชการในพื้นที่ เช่น เกษตรจังหวัด พัฒนาท่ีดิน ปศุสัตว์ ประมง ชลประทาน ฯลฯ แล้ว
ยงั รว่ มกบั ภาคีเครือข่าย เชน่ โครงการพระดาบสสญั จร มูลนิธิพระดาบส เปิด “คลินกิ เกษตร”
เชื่อมโยงองค์ความรู้ดา้ นการเกษตรให้แก่ชาวบา้ นใน ๑๐ จังหวดั มลู นิธขิ วัญขา้ ว และสถาบัน
การศกึ ษา เชน่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ เพอื่ เสนอทางเลอื ก
ใหม่ในการพัฒนาชุมชนและสังคม เช่น ให้ชุมชนจัดการตนเอง กำ�หนดรูปแบบการพัฒนา
ใหเ้ หมาะกับชุมชน พัฒนาคณุ ภาพคน โดยปลกู ฝงั จิตส�ำ นกึ รับผิดชอบต่อสงั คม และทางเลอื ก
ในการพฒั นาควรเป็นทางเลอื กทีห่ ลากหลาย เปน็ ต้น

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 5
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ความสำ�เร็จจากการพัฒนาคน ทำ�ให้สามารถแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยความคิด
ร่วมกันของคนทเี่ กย่ี วข้อง เชน่ การแบ่งปันใหท้ กุ พ้ืนทไ่ี ด้รบั ประโยชนจ์ ากน�้ำ อย่างเทา่ เทียมกนั
การร่วมกันทำ�สิ่งทีเ่ ป็นประโยชน์ส่วนรวม เช่น สร้างโรงสชี มุ ชน
ปิดทองหลังพระฯ ยังเน้นการเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าท่ีภาคสนามของมูลนิธิ ด้วยการจัด
อบรมเพ่ิมความรู้ต่างๆ ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน เสวนาร่วมกับเครือข่าย
เพ่ือน�ำ ความรู้ทไ่ี ด้มาใชใ้ นการทำ�งาน
ส�ำ หรบั ข้าราชการในพืน้ ท่ี และเจา้ หน้าทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ซึ่งเปน็ กลไกสำ�คัญ
ขับเคลื่อนการทำ�งาน ก็จะเข้ามาร่วมเรียนรู้และปฏิบัติงาน เป็นคณะทำ�งานระดับพื้นท่ี ท้ังท่ี
จงั หวัดอุทัยธานี กาฬสนิ ธุ์ เพชรบุรี ตั้งแต่การส�ำ รวจข้อมูลเศรษฐกจิ สังคม เรยี นรู้การท�ำ งาน
บนพื้นฐานความต้องการท่ีแท้จริงของชาวบ้าน เรียนรู้การทำ�งานด้วยความเข้าใจบริบท
ของชมุ ชน ปรับการท�ำ งานตามสถานการณ์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ติ ชาวบา้ น แล้ววางแผนงาน
รว่ มกัน
ในโครงการปลูกป่าต้นนำ้�จังหวัดน่าน ยังมีการฝึกอบรมหลักสูตร “ปลูกคน ปลูกป่า
ตามตำ�ราแม่ฟ้าหลวง” ให้แก่เจ้าหน้าที่ป่าไม้ท่ีปฏิบัติงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ
และเจ้าหน้าท่ีที่ทำ�หน้าท่ีหัวหน้าป่าสงวนแห่งชาติ เพ่ือสร้างบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ
ในทิศทางเดียวกัน และพร้อมจะปฏิบัติงานดูแลคุ้มครองทรัพยากรป่าไม้และฟ้ืนฟูระบบนิเวศ
โดยรวม ตามแนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์
ทกุ พระองค์

6 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ยังส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนท่ีมีความรู้ ความสามารถ
มีคุณธรรม และมีจิตอาสา ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพ่ือเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณภาพ
มีคุณธรรมและมีจิตสำ�นึกในหน้าที่การเป็นพลเมืองดี มีโอกาสทางการศึกษาต่อในระดับ
ปริญญาตรี ด้วย “ทุนเศรษฐกิจพอเพียงของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ”
พร้อมทั้งจัดกิจกรรมเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจ เพื่อให้เยาวชนเรียนรู้หลักคิดและแนวปฏิบัติ
ในการพัฒนาชีวิตตามหลกั พระพทุ ธศาสนา และศกึ ษาชมุ ชนวิถีพุทธแบบพอเพียง แลกเปล่ียน
เรียนรู้วิถีชีวิต เรียนรู้การเข้าใจผู้อ่ืน เรียนรู้และเข้าใจหลักการแนวทางพัฒนาชนบทตาม
แนวพระราชดำ�ริ เรียนรู้และเข้าใจภูมิสังคม เศรษฐกิจและสังคมของชุมชน และได้รู้จักตัวตน
มากข้ึน เพื่อเป็นจุดเรม่ิ ตน้ ของการกำ�หนดเป้าหมายชีวิต
การสร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่อีกส่วนหน่ึง ยังดำ�เนินการโดยภาคีเครือข่าย คือ มูลนิธิ
รากแก้ว ร่วมกับ ๕๑ มหาวิทยาลัย จาก ๒๓ จังหวัด เพ่ือส่งเสริมการมีจิตอาสาและสร้าง
ประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ หแ้ กน่ สิ ติ นกั ศกึ ษาผ่านการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ด้วยการใหน้ สิ ติ นกั ศึกษา
ลงพ้ืนที่สำ�รวจวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับชุมชนและวางแผนแก้ปัญหาของชุมชน โดยนำ�ความรู้
และทรัพยากร ตลอดจนความเช่ียวชาญของคณาจารย์มาพัฒนาร่วมกับชุมชน พร้อมกับ
ให้นิสิต นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการพัฒนาท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้คนใน
ภูมภิ าค และเรยี นรู้การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวพระราชดำ�ริ เพ่ือเสริมสรา้ งศักยภาพของนิสิต นักศึกษา
และสนบั สนุนให้มีจิตอาสาช่วยเหลอื สงั คมและประเทศชาติตอ่ ไป
การด�ำ เนนิ การในปี ๒๕๕๖ ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ จงึ กลา่ วไดว้ า่ เปน็ ปแี หง่ การเรมิ่
ตน้ พัฒนาคน เพอื่ ใหค้ นทกุ ภาคส่วน ทุกระดบั ชน้ั เป็นเคร่อื งมอื ส�ำ คัญที่มีประสทิ ธิภาพส�ำ หรับ
การพัฒนาชาตติ อ่ ไป.

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 7
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

สาร
ประธานกรรมการ
มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

8 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ความเหลื่อมล้ำ�ต่ำ�สูง รวมท้ังความไม่เสมอภาคในโอกาสของชีวิตในประเทศไทยเรา
ไม่ว่าจะเกิดจากปัจจัยใดๆ ก็ตาม ได้ส่งผลกระทบให้เกิดความแตกแยกและความง่อยเปลี้ย
เสียขาขององคาพยพต่างๆ ของบ้านเมือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงผลกระทบต่อชาวนาชาวไร่
ท่เี ป็นคนสว่ นใหญ่ของประเทศ ดังปรากฏในช่วงเหตกุ ารณ์ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗
แตค่ นไทยตอ้ งปลกุ เรา้ ความหวงั และรว่ มกนั ฟนั ฝา่ อปุ สรรคเพอ่ื ลกุ ขน้ึ และเดนิ ไปขา้ งหนา้
พร้อมๆ กัน
ความอยู่รอดปลอดภัยของประเทศย่อมข้ึนอยู่กับการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประชาชน
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกบั กล่มุ ผทู้ ่ียังด้อยโอกาสในชนบททเ่ี ป็นคนกลุ่มใหญ่ของประเทศ
ดังน้ันการทำ�งานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ โดยสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปดิ ทองหลงั พระฯ ในปที ผี่ า่ นมาจงึ เกดิ การเปลยี่ นแปลงอยา่ งมนี ยั ยะส�ำ คญั เปน็ การเปลย่ี นแปลง
ทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ กลา่ วคอื เกดิ การเปดิ พนื้ ทพี่ ฒั นาใหมใ่ นจงั หวดั เพชรบรุ ี อทุ ยั ธานี
และกาฬสินธ์ุ และการเริ่มกระบวนทบทวนการทำ�งานอย่างเป็นระบบทั้งในพ้ืนท่ีจังหวัดน่าน
และอุดรธานี เพือ่ ให้พ้ืนทีพ่ ฒั นาทุกแหง่ เกิดผลสมั ฤทธิอ์ ย่างเตม็ ศกั ยภาพ ตลอดจนเปน็ ตน้ แบบ
เพอ่ื การเรยี นรขู้ องประชาชนจากภมู สิ ังคมตา่ งๆ ได้อยา่ งแท้จริง
ทงั้ หมดนย้ี งั คงยดึ แนวพระราชดำ�รแิ ละบรู ณาการทง้ั ในสว่ นกลางและในพนื้ ทอ่ี ยา่ งจรงิ จงั
สมำ่�เสมอ ตามแนวทางโดยใช้ศาสตร์ของพระราชาเข้าไปแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่าง
กว้างขวาง
งานตา่ งๆ เหลา่ นี้เกิดความกา้ วหน้าตามความคาดหวังด้วยความรว่ มมือ สนับสนนุ จาก
ภาคสว่ นตา่ งๆ ทงั้ ภายในสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ และจากในพนื้ ท่ี
พัฒนา ซึ่งต่างตระหนักชัดเจนว่าความสุข ความเจริญของสังคมย่อย ย่อมนำ�มาสู่ความเจริญ
มั่นคงของส่วนรวมในท่สี ุด
ในนามประธานกรรมการมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ ผมขอขอบคณุ
ทุกๆ ท่านมาในโอกาสน้ี และขอให้งานที่สร้างความสุขแก่ประชาชนและความม่ันคงแก่ชาติ
ของเรานี้ นำ�ความสขุ และภาคภมู ใิ จแกท่ กุ ท่านตลอดไป

(ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ุณนายแพทยเ์ กษม วัฒนชยั )
ประธานกรรมการมลู นิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 9
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

สาร
ประธานกรรมการ
สถาบันสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรม
ปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

10 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันฯ ซ่ึงเป็นหนว่ ยปฏิบตั งิ าน
ให้แก่มูลนิธิ มีอายุครบ 4 ปีในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 นับจากวันท่ีสมเด็จพระเทพรัตน
ราชสุดาฯ มีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จทรงเป็นประธานในงานเปิดมูลนิธิและสถาบัน ร่วมกับ
สมาคมองคก์ ารบรหิ ารส่วนทอ้ งถิ่นต่างๆ ณ จังหวดั เชียงใหมเ่ ม่อื ปี 2553
นบั จากเวลานัน้ เป็นต้นมา งานปดิ ทองหลงั พระฯ มคี วามกา้ วหนา้ เปน็ อย่างมาก แมจ้ ะ
เปน็ ช่วงเวลาอนั สน้ั ปิดทองหลังพระฯ ไดร้ ับคำ�ชักชวนใหน้ ำ�แนวพระราชด�ำ ริไปชว่ ยแกไ้ ขปญั หา
ความเดือดร้อนของประชาชนในหลายพ้ืนท่ี ทำ�ให้ในปีที่ผ่านมา มีพื้นที่พัฒนาท่ีสำ�คัญเปิด
ขึ้นใหม่ ไดแ้ ก่ จังหวดั เพชรบรุ ี จงั หวัดอุทยั ธานี และจังหวดั กาฬสินธุ์
สำ�หรับพื้นท่ีพัฒนาที่มีอยู่เดิม ทั้งในจังหวัดน่านและจังหวัดอุดรธานี ก็ได้มีการขยาย
และปรับปรุงงานร่วมกับหน่วยงานและประชาชนในพ้ืนที่เพ่ือเพ่ิมประสิทธิผลและความเข้มแข็ง
แก่ชุมชน โดยเฉพาะในจังหวัดน่าน ซึ่งสามารถเพิ่มผลผลิตได้ย่ังยืนขึ้นอย่างน่าพอใจ ชุมชน
ทั้งในพื้นท่ีพัฒนาปิดทองหลังพระฯ และในพ้ืนที่อ่ืนๆ เข้ามาร่วมในโครงการปลูกป่า ซึ่งมี
มูลนิธิแมฟ่ า้ หลวงในพระบรมราชปู ถัมภ์เปน็ เจ้าภาพหลัก
ความก้าวหน้าดังกล่าว เป็นเคร่ืองช้ีประการหนึ่งให้เห็นว่าการบูรณาการเพื่อนำ�
แนวพระราชดำ�ริไปสู่ประชาชนนั้น เป็นหนทางท่ีถูกต้องของประเทศ เหมาะสมแก่การบรรเทา
และแกไ้ ขปญั หาความยากล�ำ บากของประชาชน ซ่ึงท่านจะเหน็ ได้จากเนอื้ หาในรายงานฉบับน้ี
อย่างไรก็ตาม แม้โครงการพัฒนาเหล่านัน้ จะมีความกา้ วหนา้ แตก่ ็มีอุปสรรคที่จะตอ้ ง
แก้ไขไปพร้อมๆ กัน โดยเฉพาะในขั้นตอนการเปลี่ยนผ่านจากระยะความอยู่รอดไปสู่ความ
พอเพยี ง หรอื ระยะความพอเพยี งไปสคู่ วามยง่ั ยนื อปุ สรรคดงั กลา่ วยงั นบั เปน็ กระบวนการเรยี นรู้
ร่วมกนั ของภาคีการพฒั นาทั้งจากสว่ นกลาง ส่วนภมู ภิ าค และท้องถนิ่
ตลอดระยะเวลาทผ่ี า่ นมา คณะกรรมการไดใ้ หค้ วามสนบั สนนุ แกก่ จิ กรรมการพฒั นาตา่ งๆ
อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ ด้วยเจตนาร่วมกันในการบำ�บัดทุกข์ของประชาชน และในปี
ที่ผ่านมา กองทัพบกได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากท่ีกาฬสินธุ์ เพ่ือร่วมช่วยเหลือประชาชนด้วย
แนวพระราชดำ�รไิ ปด้วยกนั
ผมจงึ ขอขอบคณุ กรรมการทกุ ทา่ น ตลอดจนภาคตี า่ งๆ เชน่ มลู นธิ อิ ทุ กพฒั นใ์ นพระบรม
ราชูปถัมภ์ สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรน้ำ�และการเกษตร (องคก์ ารมหาชน) สำ�นักงานพฒั นา
เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) และทุกหน่วยงานในพื้นท่ีท่ีเข้ามา
ร่วมสนับสนุนงานพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเข้มแข็งของข้าราชการในจังหวัดกาฬสินธ์ุ
ทั้งระดบั จังหวัด ท้องถิน่ ท้องท่ี และพระสงฆ์ และหวงั ว่าทกุ ท่านจะร่วมกันสร้างสังคมชนบท
ให้พัฒนาเพอื่ ความสุขของสงั คมโดยรวมตอ่ ไป

(หมอ่ มราชวงศด์ ิศนัดดา ดศิ กุล)
ประธานกรรมการสถาบันสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระ

สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 11
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

สาร
ปลัดสำ�นักนายกรฐั มนตรี

12 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี มีความภาคภูมิใจยิ่งที่ได้ร่วมจัดต้ังมูลนิธิ
ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทอง
หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เพื่อให้รับผิดชอบภารกิจด้านการจัดการความรู้ และการ
ส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริออกไปสู่ชุมชนอย่างเป็นระบบกว้างขวาง เพ่ือให้
แนวพระราชด�ำ ริเปน็ แนวทางพัฒนาหลักของประเทศ
มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริบูรณาการการทำ�งานกับหน่วยงาน
ทกุ ระดบั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง และประสานน�ำ ความรู้ ๓ สว่ นมาใชแ้ กไ้ ขปญั หาและพฒั นาชมุ ชน ประกอบ
ด้วย ๑. องคค์ วามรูต้ ามแนวพระราชด�ำ ริ ๒. ความรู้สากล และ ๓. ความรภู้ มู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ
นบั ไดว้ า่ เปน็ การบรหิ ารจดั การทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ กดิ การถา่ ยทอดความรไู้ ปสอู่ าสาสมคั รพฒั นาหมบู่ า้ น
และประชาชนในพ้ืนท่ดี ้วย
การดำ�เนินงานในปี ๒๕๕๖ นอกจากโครงการที่ดำ�เนินงานต่อเน่ืองมาจากปีท่ีแล้ว
คือ โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่จังหวัดน่าน ตาม
แนวพระราชดำ�ริ โครงการบริหารจัดการน้ำ�อย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำ�ห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำ�ริ จงั หวัดอุดรธานี โครงการตามแผนพฒั นาชนบทเชงิ พ้นื ทป่ี ระยุกตต์ ามพระราชดำ�ริ
บ้านโปง่ ลกึ -บางกลอย จังหวดั เพชรบรุ ี และโครงการทเ่ี ริม่ ด�ำ เนินการรว่ มกบั กองทพั บกโครงการ
พัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดกาฬสินธุ์ แล้ว มูลนิธิ
ปิดทองหลังพระฯ ได้ขยายแนวทางการดำ�เนินงานไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเป็น
รูปธรรม โดยร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย (อบจ.) ริเร่ิมโครงการพื้นที่
ต้นแบบบรู ณาการแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาพน้ื ทตี่ ำ�บลแก่นมะกรูด อำ�เภอบา้ นไร่ จงั หวัดอทุ ยั ธานี
ตามแนวพระราชดำ�ริ สร้างต้นแบบการแก้ปัญหาการพึ่งพาพืชเชิงเด่ียวของชาวบ้านใน
บรเิ วณเขตป่าสงวนแห่งชาติห้วยขาแข้ง เพือ่ ใหช้ าวบา้ นอยู่รว่ มกบั ปา่ ได้อยา่ งยงั่ ยืน นอกจากน้ี
มูลนธิ ิปดิ ทองหลังพระฯ ยังคงใหค้ วามส�ำ คัญกบั การจดั การความรคู้ วบคไู่ ปกับการพัฒนา ดว้ ย
การถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลากรและอาสาสมัครพัฒนาในพ้ืนท่ีดำ�เนินงานปิดทองหลังพระฯ
อย่างตอ่ เนอ่ื ง
การดำ�เนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในปี ๒๕๕๖ และในอนาคต จึงเน้นการ
ถ่ายทอดความรู้ทัง้ ๓ สว่ นดงั กล่าวไปสบู่ ุคลากร เจ้าหนา้ ที่ภาครฐั ในทอ้ งถิน่ อาสาสมัครพัฒนา
หมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่ ซ่ึงสอดคล้องกับวัตถุประสงค์สำ�คัญของการจัดตั้งมูลนิธิ
ปดิ ทองหลังพระฯ และสถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ
ผมขอขอบคุณทุกหน่วยงาน ท่ีนำ�แนวทางของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ไปแก้ไขปัญหา
และพัฒนาชุมชน เพือ่ ความอยดู่ ีมสี ุขของประชาชน และขอเรียนว่า สำ�นกั งานปลดั สำ�นกั นายก
รัฐมนตรียนิ ดีท่จี ะสนบั สนุนงานสบื สานแนวพระราชดำ�รอิ ยา่ งเต็มกำ�ลงั ความสามารถตอ่ ไป

(ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศ)ุ
ปลดั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 13
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๒ ความเป็นมา
มูลนิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
และสถาบันสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ
สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

     มตคิ ณะรฐั มนตรีในการประชุมเม่ือวันที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ เหน็ ชอบให้สำ�นกั งาน
ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ดำ�เนินการจัดต้ัง  “มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ”
และ “สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ” มีการ
จดทะเบียนจัดต้งั มลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เมอ่ื วันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๕๓

พนั ธกิจ

จัดการความรู้และส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และพระบรมวงศานวุ งศ์ โดยเช่ือมโยง
องค์ความรู้และบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานสืบสานแนวพระราชดำ�ริต่างๆ ภาครัฐ
เอกชน วิชาการ ท้องถิ่น ชุมชน และประชาสังคม เพ่ือให้เกิดการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
จนเปน็ แนวทางหลักในการพฒั นาประเทศอยา่ งเป็นระบบและยง่ั ยนื

14 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

วตั ถุประสงค์

๑. จัดต้ังและสนับสนุนการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทอง
หลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ ซง่ึ เปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั ขิ องมลู นธิ ิ ใหด้ �ำ เนนิ การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล
ประสทิ ธภิ าพ สอดคลอ้ งกับเจตนารมณ์แหง่ การจัดตั้ง
๒. ใหส้ ถาบัน โดยมมี ูลนิธสิ นบั สนุนให้ทนุ ดำ�เนินงาน มีวตั ถปุ ระสงค์ ดังน้ี
๒.๑) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนา
แกอ่ งคก์ ร ชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ องค์กรภาครัฐ
องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจในการดำ�เนินงานที่สอดคล้อง
กับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ เพ่ือให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่
ทีด่ ีขึ้น รวมถึงสง่ ผลตอ่ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
๒.๒) สนับสนุนการจัดการความร้ตู ามแนวพระราชดำ�ริ โดยประสานความร่วมมือ
กบั ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาโครงการสว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์
โครงการหลวง โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ องค์กรชุมชน
ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กร
ทางสังคม  สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คลงั ความรู้ การยกระดับ
ความรู้ การต่อยอดชุดความรู้ใหม่ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาในและ
นอกระบบ ตลอดจนการขยายผลเชื่อมโยงส่กู ารน�ำ ไปปฏบิ ัตอิ ย่างกวา้ งขวาง
๒.๓) ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ ภารกิจและกิจกรรมของสถาบันกับแผนชุมชน
แผนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แผนพัฒนาจังหวดั แผนหน่วยงานภาครัฐ
ท่เี กยี่ วข้อง และนโยบายรฐั บาล
๒.๔)  สนับสนุน ส่งเสริม แนะน�ำ และช่วยเหลือ องคก์ รชุมชน ประชาสงั คม องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ
ภาคธุรกิจ เพื่อให้น้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และ
เป็นแนวทางหลกั ในการพัฒนาทกุ ระดบั ของประเทศ
๒.๕) สรา้ งการรับรู้ ความเขา้ ใจ และความร่วมมอื ด�ำ เนนิ การตามแนวพระราชด�ำ ริ
อย่างตอ่ เนอื่ ง
๓. เพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การศกึ ษา และทศั นศกึ ษาทเี่ กย่ี วกบั การน�ำ แนวพระราชด�ำ ริ
ไปประยุกต์ใชแ้ ละขยายผลส่ชู มุ ชน
๔. เพ่ือส่งเสริมการประสานการดำ�เนินงานร่วมกับองค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ องคก์ รภาครัฐ องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กิจ เพอ่ื กจิ กรรม
พฒั นาและกิจกรรมสาธารณประโยชน์
๕. ไม่ด�ำ เนนิ การเก่ยี วขอ้ งกับการเมอื งแต่ประการใด

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 15
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ผลผลติ จากการดำ�เนินงาน

๑. เกิดแนวทางที่หลากหลายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศตามภูมิสังคมอย่าง
ย่งั ยนื ตามแนวพระราชด�ำ ริ
๒. เกดิ การมสี ว่ นรว่ มจากภาคที กุ ภาคสว่ นในการพฒั นายทุ ธศาสตรช์ าติ และยทุ ธศาสตร์
สาขาตามแนวพระราชด�ำ ริ
๓. เกดิ การรับรู้ เข้าใจ และความร่วมมือสนับสนุนจากภาครัฐ วชิ าการ เอกชน ทอ้ งถ่ิน
ชุมชน ประชาสังคม และนานาชาติ ในการร่วมสร้างภูมิคุ้มกันและร่วมแก้ไขปัญหาพ้ืนฐาน
ทีส่ �ำ คัญของประเทศตามแนวพระราชดำ�ริ

16 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๓ คณะกรรมการ
มลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
ในการประชุมคณะผู้ก่อต้ังมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เม่ือวันที่
๕ มกราคม ๒๕๕๓ ไดม้ ีการพจิ ารณาผ้ดู ำ�รงต�ำ แหนง่ กรรมการมูลนธิ ิปดิ ทองหลังพระ สืบสาน
แนวพระราชด�ำ ริ ซง่ึ ทีป่ ระชมุ มมี ติเห็นชอบให้ต้ังกรรมการมูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ดงั มรี ายนาม
ของกรรมการ ดงั น้ี

กรรมการ

นายเกษม วฒั นชัย นายสุเมธ ตันตเิ วชกลุ นายจิรายุ อิศรางกรู ณ อยุธยา
ประธานกรรมการ

ทา่ นผู้หญงิ บตุ รี วรี ะไวทยะ ท่านผ้หู ญิงจรุงจติ ต์ ทีขะระ หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล
กรรมการและเลขาธิการ

นายจตรุ งค์ ปญั ญาดลิ ก นายวริ ไท สนั ตปิ ระภพ
กรรมการและเหรญั ญิก

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 17
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

คณะกรรมการ
สถาบนั สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

ในการประชุมคณะกรรมการมลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระฯ ครงั้ ท่ี ๑/๒๕๕๓ เมอ่ื วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓
และคร้ังท่ี ๒/๒๕๕๓ เมื่อวันท่ี ๘ เมษายน ๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณาแต่งตั้งกรรมการสถาบันส่งเสริมและ
พฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระฯ จ�ำ นวน ๑๖ คน และคณะกรรมการมลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระฯ ได้มีมติเมือ่ วนั ท่ี ๓๐
พฤษภาคม ๒๕๕๔ เห็นชอบใหแ้ ต่งต้งั กรรมการสถาบนั ฯ เพมิ่ อีกจำ�นวน ๒ คน ดังมีรายนามคณะกรรมการฯ ดังน้ี

๑. หม่อมราชวงศด์ ศิ นดั ดา ดิศกลุ ประธานกรรมการ
๒. ทา่ นผ้หู ญงิ บตุ รี วีระไวทยะ รองประธานกรรมการ
๓. นายสุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ กรรมการ
๔. นายจิรายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา กรรมการ
๕. ท่านผหู้ ญิงจรงุ จิตต์ ทขี ะระ กรรมการ
๖. นายวริ ไท สันติประภพ กรรมการ
๗. ปลดั สำ�นักนายกรฐั มนตรี กรรมการ
๘. ปลดั กระทรวงมหาดไทย กรรมการ
๙. ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ กรรมการ
๑๐. ปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม กรรมการ
๑๑. ประธานคณะกรรมการสถาบันพฒั นาองค์กรชมุ ชน (องค์การมหาชน) กรรมการ
๑๒. เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพอ่ื ประสานงานโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชด�ำ ริ (กปร.) กรรมการ
๑๓. ผู้บญั ชาการทหารบก กรรมการ
๑๔. นายกสมาคมองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั แหง่ ประเทศไทย กรรมการ
๑๕. นายกสมาคมสนั นบิ าตเทศบาลแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
๑๖. นายกสมาคมองค์การบริหารสว่ นต�ำ บลแห่งประเทศไทย กรรมการ
๑๗. นายกสมาคมก�ำ นัน ผใู้ หญบ่ า้ นแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
๑๘. ผอู้ ำ�นวยการสถาบนั สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระ กรรมการ
สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

18 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

๔ หลกั การดำ�เนินงานและแนวทางปฏบิ ตั ิงาน

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ มีหลกั ในการดำ�เนนิ งานและแนวทาง
การปฏิบัติงาน โดยการน้อมนำ�เอาองค์ความรู้ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาปฏิบัติ
ยึดหลักการทรงงานของพระองคท์ า่ น ดงั นี้

๑. หลกั การองคค์ วามรู้ ๖ มติ ิ

คอื มติ ดิ า้ นนำ้� ดา้ นดนิ ดา้ นเกษตร ดา้ นพลงั งานทดแทน ดา้ นปา่ และดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
โดยปรับให้สอดรับเป็นไปตามสภาพของภูมิสังคมและพ้ืนที่ที่มีปัญหาความยากจน เชื่อมโยง
ความรูไ้ ปสู่การแก้ไขปญั หาและส่งเสริมใหเ้ กดิ การพฒั นาใหเ้ ปน็ ไปได้อย่างยั่งยืน

๒. หลักการพฒั นา “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา”

ต้องมีการท�ำ ความเข้าใจในชมุ ชน เขา้ ใจในสภาพพื้นท่แี ละภูมสิ ังคม การเข้าถงึ ข้อมลู
การเกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ จรงิ และน�ำ ขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ แลว้ จงึ เรม่ิ การพฒั นาโดยการน�ำ องคค์ วามรใู้ ห้
ชาวบ้านลงมือทำ�ด้วยตนเอง ปดิ ทองหลงั พระฯ เป็นผู้เชอ่ื มความรู้จากหน่วยงานที่มีองคค์ วามรู้
จากครภู มู ิปัญญา ไปให้กับชาวบ้าน

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 19
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๓. หลักการทรงงานและหลกั การโครงการ ๒๓ ขอ้

หลกั การโครงการ หลกั การทรงงาน

๑. ระเบิดจากภายใน ๑. จะท�ำ อะไรตอ้ งศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ
๒. ท�ำ งานแบบองค์รวม
๒. แกป้ ัญหาจากจุดเล็ก ๓. ไม่ตดิ ต�ำ รา
๔. ประหยัด
๓. ท�ำ ตามล�ำ ดบั ขัน้ ๕. ทำ�ใหง้ ่าย
๖. การมีส่วนร่วม
๔. ภมู ิสังคม ๗. ตอ้ งยึดประโยชน์ส่วนรวม
๘. ใช้ธรรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ
๕. บรกิ ารทีจ่ ุดเดียว ๙. ปลูกปา่ ในใจคน

๖. ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม

๗. การพ่ึงตนเอง

๘. พออยู่พอกิน

๙. ความซ่ือสัตยส์ จุ รติ จรงิ ใจต่อกนั

๑๐. ขาดทุนคือก�ำ ไร

๑ ๑. เศรษฐกิจพอเพียง

๑ ๒. ทำ�งานอย่างมีความสุข

๑ ๓. ความเพยี ร

๑๔. รู้ รกั สามัคคี

20 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๕ กรอบการดำ�เนินงานตามมติคณะกรรมการ

คณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้วางกรอบการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริม
และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลงั พระฯ ไว้ดงั นี้
๑. นำ�เสนอแผนดำ�เนินงาน ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาความ
ยากจน การส่งผลผลิตจำ�แนกกลุ่มเปา้ หมายเปน็ ๒ ระดับ ระดับศูนย์ศึกษาการพฒั นา โครงการ
สว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ
และระดบั องค์กรชุมชน ประชาสังคม องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ องคก์ รภาครัฐ องค์กรทาง
สงั คม สถาบันวชิ าการ ภาคธุรกิจ
๒. แผนงบประมาณจะจ�ำ แนกเป็น ๓ ระดบั คอื ระดบั แผนงาน ระดับโครงการ และ
ระดับกิจกรรม โดยระดบั แผนงานจะสอดคลอ้ งกบั ผลผลิตท่กี �ำ หนดไว้
๓. จ�ำ แนกแผนงานออกเป็น ๔ แผนงาน คือ
๓.๑ งานจัดการความรู้ ประกอบด้วย การรวบรวมองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำ�ริ
เป็นคลังความรู้ การนำ�องค์ความรู้จากโครงการพระราชดำ�ริ ไปช่วยแก้ไขปัญหาให้ชาวบ้าน
การจัดทำ�คู่มือ ขั้นตอนการพัฒนาและการบริหารโครงการ การติดตามประเมินผล เพ่ือเป็น
ตัวอย่างสำ�หรับโครงการขยายผลในพื้นท่ีอ่ืนๆ การจัดทำ�ความรู้พร้อมใช้ที่ประชาชนสามารถ
นำ�ไปปรับใช้กับภูมิสังคมได้ การเช่ือมโยงองค์ความรู้โดยการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง
ชาวบ้าน ผ้นู ำ�ชุมชน ปราชญ์ชาวบา้ น และผเู้ ชยี่ วชาญ การเชอ่ื มความรู้จากสถาบันการศึกษา
สชู่ ุมชน โดยมีความร่วมมือในรปู แบบตา่ งๆ กับสถาบนั อดุ มศึกษา

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 21
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๓.๒ งานส่งเสริมการพัฒนา ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการบูรณาการระดับพื้นท่ี
และโครงการพัฒนาระบบความร่วมมือภาคีเครือข่ายสืบสานแนวพระราชดำ�ริ มุ่งส่งเสริม
ความรว่ มมอื กบั ภาคพี ฒั นาทกุ ภาคสว่ น ในการแกไ้ ขปญั หาความยากจน ฟนื้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม โดยต้องนำ�ไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพระราชดำ�ริ สนับสนุนให้ชุมชน
ท้องถิ่นร่วมเป็นกลไกขับเคล่ือนหลัก และเป็นเจ้าของการพัฒนา ท้ังนี้การพัฒนาน้ัน
ต้องสอดคล้องกับภูมิสังคมและสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับ
ภาคีพฒั นา ท้ังหน่วยงานพื้นที่ หนว่ ยงานภารกิจ หน่วยงานนโยบาย และท้องถ่ิน ชุมชน องค์กร
ทางสงั คม เพอ่ื ใหม้ โี ครงการตน้ แบบการพฒั นาอยา่ งเหมาะสม และสนบั สนนุ ใหม้ โี ครงการขยาย
ผลในระดับจังหวัด โดยมีแนวทางหลักคือ ควรเป็นพ้ืนที่ที่มีการต่อยอดโครงการที่ชุมชน
ได้ดำ�เนินการตามแนวพระราชดำ�ริอยู่แล้ว หรือชุมชนมีความเข้มแข็งและต้องการดำ�เนินการ
ตามแนวพระราชด�ำ ริ และควรกระจายตัวตามภูมิภาคต่างๆ ไม่ซ้�ำ พ้นื ที่เดมิ
๓.๓ งานสื่อสารและภาคีสัมพันธ์ ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการรับรู้และเข้าใจ
แนวพระราชด�ำ รขิ องประชาชน สอ่ื มวลชน สง่ เสรมิ การสอ่ื สารเพอ่ื การรบั รเู้ ขา้ ใจ การปรบั ทศั นคติ
ท้ังในระดับส่วนกลาง ระดับจังหวัด และชุมชน ตลอดจนบทบาทในการเชื่อมโยงสื่อมวลชน
เรียนรู้ชนบท นำ�สื่อมวลชนลงพื้นที่ต้นแบบและพื้นที่ขยายผลปิดทองหลังพระฯ การเผยแพร่
กิจกรรมของมูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระฯ ใหเ้ ปน็ ท่ีรบั รขู้ องสาธารณชน
๓.๔ งานบริหารจัดการสำ�นักงาน ประกอบด้วย การติดตามสนับสนุนงานฝ่ายต่างๆ
และงานโครงการอย่างต่อเน่ือง การบริหารการเงิน ควบคุมดูแลค่าใช้จ่าย จัดทำ�งบการเงิน
ประจำ�ปี การบริหารสำ�นักงาน อำ�นวยความสะดวกต่อการทำ�งาน การติดตามประเมินผล
โดยการพฒั นาระบบสารสนเทศ การจดั ประชมุ คณะกรรมการ และคณะอนกุ รรมการ งานธรุ การ
ต่างๆ คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำ�ริ เหน็ ชอบกับการท�ำ ยทุ ธศาสตร์การดำ�เนนิ งาน ดงั นี้

22 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

วสิ ยั ทัศน์

เปน็ องค์กรขบั เคลื่อนการพัฒนาประเทศ โดยขยายผลแนวพระราชดำ�ริใหเ้ กิดประโยชนแ์ ก่
ประชาชนอย่างกว้างขวาง

กลยทุ ธ์หลัก

“เชื่อมโยง และ ร่วมเรียนรู้” (Link & Learn)

ยทุ ธศาสตร์

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

สง่ เสริมใหเ้ กดิ พัฒนาโครงการ สร้างภาคี สอ่ื สารกบั ภาคี พัฒนาระบบ
การพฒั นาเชิงพ้ืนที่ ขยายผล แนวรว่ ม พฒั นาและ บรหิ ารจัดการ
(Extension สาธารณชน
แบบบรู ณาการ project) องคก์ ร
(Area based

project)

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

๑. สร้างพ้ืนท่ีต้นแบบ ๑. ชุมชนได้ความรู้ที่ ๑. เพ่ิมหน่วยงาน ๑. ให้สาธารณชนรับรู้ ๑. พฒั นากระบวนการ
การบรู ณาการเชอ่ื มโยง สามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ องค์กรท่ีจะเป็นแนว ว่าแนวพระราชดำ�ริ หลักเพื่อรองรับการ
ความรู้มาใช้แก้ปัญหา ใชไ้ ดเ้ ร็ว ร่วมเชงิ ยทุ ธศาสตร์กบั สามารถแก้ปญั หาและ ทำ�งานท้งั ๔ ด้านให้
ได้จริง ๒. ชมุ ชนสามารถ สถาบันฯ พัฒนาชีวิตความเป็น รวดเรว็ ถกู ตอ้ ง
๒. มีระบบการบริหาร แบ่งปัน แลกเปลี่ยน ๒. มีโครงการความ อยูไ่ ดจ้ ริง ๒. พัฒนาระบบสาร
การพัฒนาโดยความ เรยี นรู้ การแกไ้ ขปญั หา ร่วมมือกับหน่วยงาน ๒. ให้ภาครี บั รู้ เขา้ ใจ สนเทศและฐานข้อมลู
รว่ มมอื หลายฝ่าย และพฒั นารว่ มกับ ภาคี แ ล ะ ข ย า ย ผ ล สู่ ก า ร พัฒนาทักษะบุคลากร
ชมุ ชนอืน่ ปฏบิ ตั จิ ริง ในการทำ�งาน
๓. เกิด อปท.น�ำ รอ่ ง
ที่มีความพร้อมในการ
ขยายผลความสำ�เรจ็

คา่ นิยมร่วม (shared value)

๑) ศรัทธาในแนวพระราชด�ำ ริ
๒) เชอื่ ในพลังของการเรยี นรู้
๓) ขับเคลือ่ นด้วยความร่วมมือของทอ้ งถนิ่ /ชุมชน
๔) ประชาชนต้องได้รับประโยชน์จากการด�ำ เนินงานขององค์กร

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 23
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๖ สรปุ การดำ�เนินงานปิดทองหลังพระฯ

การดำ�เนินงานตลอดช่วงปี ๒๕๕๖ มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ มุ่งเน้น
การสรา้ ง “คน” เพ่อื ให้ “คน” เป็นเคร่ืองมือที่ทรงประสิทธิภาพทสี่ ดุ ของการพฒั นาอย่างย่งั ยืน
มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ร่วมกับภาคีเครือข่าย เช่น มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรม
ราชถู มั ภ์ มูลนธิ ริ ากแกว้ หนว่ ยงานราชการ ทั้งกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งส่วนกลางและหน่วยงานในพ้ืนท่ีระดับจังหวัด
และอ�ำ เภอ รวมทงั้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สถาบนั การศกึ ษา และภาคเอกชน จงึ ระดมสรรพ
กำ�ลังร่วมกันพัฒนาคนในทุกระดับ ต้ังแต่เจ้าหน้าที่อาสาสมัครพัฒนาหมู่บ้าน ชาวบ้าน
ในพ้ืนท่ีโครงการ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทั้งส่วนกลางและท้องถ่ิน จนถึงนิสิต นักศึกษา
เยาวชนคนรุ่นใหม่ ท่จี ะเปน็ กำ�ลังส�ำ คญั ของการพัฒนาในอนาคต เพื่อเพิ่มศกั ยภาพ สรา้ งเสรมิ
ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ทั้งข้อมูลข้อเท็จจริง สภาพปัญหา และส่งเสริมความรู้ท้ังภาคทฤษฎี
และภาคปฏบิ ัติ ผ่านการฝกึ อบรม การศกึ ษาดูงาน และการสนบั สนนุ ทนุ การศกึ ษา
เป้าหมายการทำ�งานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และสถาบันฯ ในการสร้างและฟื้นฟู
ศักยภาพของคน ปรากฏผลชัดเจนเป็นรูปธรรมในทุกพื้นท่ีดำ�เนินงานของปิดทองหลังพระฯ
ไม่ว่าจะเป็นจงั หวดั น่าน อุดรธานี เพชรบรุ ี อุทัยธานี เชียงราย และกาฬสินธ์ุ

24 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

พน้ื ทต่ี น้ แบบบรู ณาการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพนื้ ทจี่ งั หวดั นา่ น
ตามแนวพระราชด�ำ ริ

หลังจาก ๔ ปีของการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหา

และพัฒนาพื้นท่ีจังหวัดน่าน ท่ีทำ�ให้ชุมชนพ้นจากสภาพกู้กินกู้ใช้ ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้

และชำ�ระหน้ีสินได้ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ก็ถึงเวลาของการ “ปลูกป่า” ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ในกระบวนการพัฒนา “อยู่รอด - พอเพียงและยง่ั ยืน” ตามแนวทางของปิดทองหลังพระฯ
หัวใจของความสำ�เรจ็ ในการปลูกปา่ ทีป่ ิดทองหลงั พระฯ และมูลนิธแิ ม่ฟ้าหลวง เชื่อม่นั

คือ “คน” ที่จะเป็นแรงขับเคล่ือนสู่เป้าหมายและวัตถุประสงค์ด้วยการให้ชุมชนมีส่วนร่วม
ตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ ส�ำ รวจสภาพปา่ ไม้ รวมทงั้ พนั ธไ์ุ ม้ ซงึ่ นอกจากจะท�ำ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู เชงิ ลกึ แลว้ ยงั ท�ำ ให้

ชาวบา้ นเหน็ ขอ้ มลู จรงิ ตระหนกั และเขา้ ใจพนื้ ทต่ี น้ ทนุ ทรพั ยากรของตน วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการฯ

รวมทงั้ ศกั ยภาพ โอกาส ทางเลอื กและขอ้ จ�ำ กดั ของชมุ ชน และเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื จงึ สง่ เสรมิ

ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกขั้นตอน ตั้งแต่การเพาะกล้าไม้ จนถึงการสนับสนุนให้ชุมชน

ในพื้นที่จัดตั้งคณะกรรมการดูแลป่า และจัดทำ�กฎระเบียบชุมชนว่าด้วยการใช้ประโยชน์และ

ดแู ลรกั ษาปา่ อนรุ กั ษแ์ ละปา่ ใชส้ อย เพอื่ ใหช้ มุ ชนรสู้ กึ ถงึ ความเปน็ เจา้ ของ สามารถบรหิ ารจดั การ

ทรพั ยากรในพืน้ ทข่ี องตนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและยัง่ ยนื

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 25
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ขา้ ราชการก็เป็นอกี หนึ่งกลไกสำ�คัญในการปลกู ป่าอย่างยัง่ ยนื การด�ำ เนนิ การ “ปลูกป่า”
อย่างเข้มข้นในพื้นที่โครงการปิดทองหลังพระฯ จังหวัดน่าน ภายใต้แผนงานท่ีจะดำ�เนินการ
ระหวา่ งปี ๒๕๕๖-๒๕๖๐ ครอบคลมุ พน้ื ที่ ๒๕๐,๐๐๐ ไร่ จึงต้องมกี ารสรา้ งบุคลากรให้มคี วามรู้
ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน และพร้อมท่ีจะปฏิบัติงานดูแลคุ้มครองทรัพยากรป่าไม้และ
ฟนื้ ฟรู ะบบนเิ วศโดยรวม จงึ มกี ารจดั ฝกึ อบรมหลกั สตู ร “ปลกู คน ปลกู ปา่ ตามต�ำ ราแมฟ่ า้ หลวง”
ให้แก่เจ้าหน้าท่ีปา่ ไมท้ ป่ี ฏิบัติงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ และเจา้ หน้าทีท่ ่ที �ำ หน้าท่ี
หวั หน้าป่าสงวนแหง่ ชาติ จ�ำ นวน ๙๑ คน ระหวา่ งวันท่ี ๒๗ เมษายน - ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖
โดยฝกึ อบรมและศึกษาดูงานในพน้ื ท่จี งั หวัดเชียงรายและจังหวดั นา่ น
หลังจากเรียนรู้และดูงานในพื้นที่แล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีการแบ่งกลุ่มตามพ้ืนที่
ปฏิบัติงาน เพ่ือร่วมกันจัดทำ�แผนงาน/โครงการในลักษณะแผนพัฒนาเชิงพื้นท่ี เพื่อเช่ือมโยง
และสนับสนนุ “โครงการประชาอาสา ปลูกป่า ๘๐๐ ลา้ นกลา้ ๘๐ พรรษา มหาราชนิ ี” และน�ำ
เสนอแผนงานโครงการ โดยยึดหลักการตามแนวพระราชดำ�รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั
และพระบรมวงศานุวงศ์ ข้อเสนอแนะและแนวทางการปฏิบัติงานของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง
ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวมทั้งข้อมูลจากการฝึกอบรมและศึกษาดูงานครั้งนี้ มาประกอบ
ในการจดั ทำ�แผนงาน
นอกจากนี้ การพัฒนา “คน” ตามแนวทางมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในพ้ืนท่ีโครงการ
จังหวัดน่าน ยังสนับสนุนชุมชนในพ้ืนท่ีโครงการ ให้มีการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพ่ือเพิ่ม
ความรู้ด้านการเกษตร ท่ีไร่อมฤทธ์ิ อำ�เภอปัว และอบรมการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
โดยอาจารย์ณภัทรทัพพ์ โสรพขจี นักวิชาการดา้ นเกษตร จงั หวดั ราชบรุ ี รวม ๓ คร้ัง

26 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

เพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากรภาคสนาม ด้วยการอบรมเพ่ิมความรู้ด้านคอมพิวเตอร์
เพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กร ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมู่บ้านที่ประสบความสำ�เร็จใน
พน้ื ที่จงั หวัดน่าน อบรมเสวนาร่วมเครอื ข่ายทอ่ี �ำ เภอปัว และอำ�เภอเวียงสา รวม ๙ ครั้ง เพอื่ น�ำ
ความรู้ท่ีได้มาใช้ในการสง่ เสริมตลาดชุมชนให้เป็นจุดรวมสนิ ค้าเกษตรขนาดใหญ่ท่ีบ้านเปียงก่อ
และพัฒนาพ้ืนที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศตามรูปแบบการพัฒนาของโครงการปิดทอง
หลังพระฯ รวมท้ังพัฒนาศักยภาพด้านระบบข้อมูลในการติดตามการจัดทำ�บัญชีครัวเรือน
และบัญชีสุขภาพ ๑๘ หมู่บ้าน พัฒนาระบบติดตามผลการปฏิบัติงานและจัดทำ�ฐานข้อมูล
ดว้ ยระบบ Scorecard Cockpit และจัดทำ�บอรด์ Scorecard Cockpit ๘ ชดุ
ผลจากการพัฒนาคน ก่อให้เกิดความสามารถในการคิดริเร่ิมงานใหม่ คือ โครงการ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ต่อยอดการพัฒนาร่วมกับศูนย์ประสานงานประชาคม จังหวัดน่าน
มูลนิธิฮักเมืองน่าน และกลุ่มฮักเมืองน่าน ทั้ง ๓ องค์กร เสร็จเรียบร้อยแล้วใน ๗ หมู่บ้าน
๔ อ�ำ เภอ ได้แก่ บ้านนากน๋ึ บ้านบ่อหยวกใต้ บา้ นบอ่ หยวกกลาง บา้ นหว้ ยขาบ อ�ำ เภอบ่อเกลอื
บ้านห้วยพ่าน อำ�เภอเชียงกลาง บ้านมอน อำ�เภอปัว บ้านฮวก อำ�เภอท่าวังผา และมีการ
ต่อยอด โดยใช้งบท่ีเหลือในอีก ๔ หมู่บ้าน ๒ อำ�เภอ คือ บ้านน้ำ�สอด อำ�เภอทุ่งช้าง
บ้านส้อเด่นพัฒนา บ้านนำ้�มีด บ้านตึ๊ดใหม่ อำ�เภอเชียงกลาง บ้านตาแวน อำ�เภอเมือง
และบ้านกวิ่ มว่ ง อำ�เภอสันติสุข

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 27
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

นอกจากการพัฒนา “คน” แลว้ ในพืน้ ที่โครงการจังหวัดน่าน ยังมกี ารพัฒนาทางดา้ น
กายภาพเพื่อแกไ้ ขปัญหาในมิติต่างๆ อกี ด้วย ดังน้ี


• มติ นิ ้ำ� ประกอบดว้ ย

- สรา้ งและซ่อมแซมฝายการเกษตร
มีการก่อสร้างฝายเพ่ือการเกษตร ๕ ตัว คือ ฝายหินก่อห้วยจานและฝายหินก่อ
ห้วยหาด ที่บ้านด่าน ฝายหินก่อห้วยป่าเกาะ และฝายหินก่อห้วยสะออ ท่ีบ้าน
เปยี งกอ่ และฝายหนิ กอ่ หว้ ยนอ้ ย ทบี่ า้ นสะเกย้ี ง แลว้ เสรจ็ ทง้ั หมดโดยใชว้ สั ดเุ หลอื ใช้
จากฝายหลักและวัสดุที่มีอยู่ และมีงานซ่อมแซมด้วยการขุดลอกหน้าฝายลุงก่ำ�
บา้ นน้�ำ ป้าก ซอ่ มแซมท้ายฝายน็อกดาวน์ ฝายหลังโรงเรยี น บา้ นหว้ ยธนู และเสริม
ทา้ ยฝายอีก ๑๕ ตวั

- สร้างระบบทอ่ สง่ และกักเกบ็ นำ�้
เพม่ิ ระบบทอ่ สง่ น�้ำ ฝายผาบอ่ ง บา้ นหว้ ยธนู ระยะทาง ๑,๑๐๐ เมตร เพม่ิ ระบบกาลกั น�้ำ
บา้ นน�้ำ ป้าก ๒๖ บ่อ หว้ ยธนู ๑๐ บอ่ โดยใชว้ ัสดทุ ม่ี ีอยู่ ต่อเตมิ ระบบท่อสง่ น�ำ้ เขา้
พน้ื ทก่ี ารเกษตรโซนหว้ ยผปี า่ บา้ นผาหลกั ตดิ ตามการจดั การบรหิ ารระบบน�้ำ ในแปลง
เกษตรโซนหว้ ยจอก (พชื หลงั นา) ระบบทอ่ ๒ นว้ิ สรา้ งระบบสง่ น�้ำ เขา้ พนื้ ทก่ี ารเกษตร
บ้านนำ�้ รี ระยะทาง ๑,๘๐๐ เมตร บ้านน�ำ้ ชา้ ง ๑,๕๐๐ เมตร บา้ นเปยี ๓๘๙ เมตร
บ้านด่าน ๑๕๐ เมตร บ้านนาคุ ๒๐๐ เมตร และระบบส่งน้ำ�เข้าพื้นท่ีการเกษตร
บา้ นห้วยกานต์ ๒,๘๙๐ เมตร

- ซ่อมแซมระบบทอ่ ส่งและกกั เกบ็ น�ำ้
ซ่อมแซมถังเก็บน�้ำ ชลประทานเดิมทบี่ า้ นน�ำ้ รี (โซนภูพยคั ฆ์) ๑๑ ถงั บ้านเปียงซ้อ
๖ ถัง ขยบั แนวทอ่ ส่งน้ำ�ขนาด ๒” โซนหว้ ยนำ้�บอน บ้านผาหลกั ด�ำ เนนิ การแลว้ เสรจ็
โดยกลุ่มผู้ใชน้ำ� ซ่อมแซมผ้าพลาสติกบ่อพวงสันเขา ได้แล้วเสร็จ ๑๑ บ่อจาก
เป้าหมาย ๑๕ บ่อ เสริมระบบท่อ PE จากฝายหินก่อห้วยนำ้�ช้าง เข้าสู่ถังเก็บนำ้�
ชลประทาน ระยะทาง ๔๐๐ เมตร โดยใช้ท่อที่มีอยู่ และเสริมระบบท่อส่งนำ้�
ถังเก็บน้ำ�ใหม่บ้านเปียงซ้อ ซ่ึงได้รับการสนับสนุนงบประมาณก่อสร้างจากองค์การ
บริหารส่วนตำ�บล ๓ ถัง ระยะทาง ๖๐ เมตร โดยใช้ทอ่ ท่ีมอี ยู่

28 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

• มิติดนิ

การปรับปรุงสภาพดิน โดยใช้โดโลไมท์ ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากพัฒนาท่ีดินน่าน
และส่งเสริมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ (ปุ๋ย PR) โซน ๖ บ้านบน มาใช้ในแปลง
ทดลอง และมีการต้ังกฎระเบียบการใช้พ้ืนที่ทำ�กิน โดยดำ�เนินการร่วมกับโครงการ
ปลกู ป่าของมูลนธิ ิแมฟ่ ้าหลวงฯ

• มิติเกษตร การสง่ เสรมิ อาชีพเกษตร/ปศุสตั ว์

มีการสง่ เสริมใหป้ ลูกพชื หลงั นาและพืชข้างนา ทั้งหมด ๑๙ ชนิด ในพนื้ ทีเ่ ปา้ หมาย
๗๐๕ ไร่ ดำ�เนินการไปแล้ว ๒๒๙ ไร่ ในพ้ืนท่ี อำ�เภอท่าวังผา ๕๙ ไร่ อำ�เภอ
สองแคว ๘๕ ไร่ และอำ�เภอเฉลิมพระเกยี รติ ๑๑๕ ไร่ มกี ารใชจ้ ่ายเงนิ ๒,๕๔๒,๑๖๔
บาท ในการจัดซื้อเมล็ดพันธ์ุ วัสดุอุปกรณ์การเพาะกล้า ค่าแรงงานในการ
เพาะกล้าไม้และขนส่ง พร้อมท้ังจัดต้ังศูนย์ถ่ายทอดและเรียนรู้งานด้านส่งเสริม
อาชีพการเกษตรประณีตท่ีบ้านตีนตก อำ�เภอปัว และมีการนำ�ผลผลิตที่ได้ไป
จำ�หน่ายท่ีตลาดในอำ�เภอเมืองน่านและตลาดอ่ืนๆ สร้างรายรับได้เป็นเงินทั้งส้ิน
๑๕๕,๒๓๒ บาท

ส่งเสริมการเพาะเห็ดหอมเพื่อเสริมรายได้ ๕ แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์เรียนรู้
บ้านน้ำ�ป้าก บา้ นยอด บ้านเปียงซอ้ บา้ นเปียงก่อและบ้านนำ�้ รี

นอกจากนี้ ยังมีการติดตามการดำ�เนินงานของกองทุนต่างๆ ท้ังกองทุนโรงสีข้าว
กองทนุ อาหารสัตว์ กองทนุ เมล็ดพนั ธข์ุ ้าว กองทนุ เคร่ืองบดขา้ วโพด กองทุนเมลด็ พันธุ์ขา้ วโพด
การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ (ปุ๋ย PR) มีการเก็บคืนลูกสุกร และจัดตั้งกองทุนหัตถกรรม/
การแปรรูป ปรับปรุงโรงเรือนแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะแข่น เพ่ือรับมาตรฐาน อย. ส่งเสริม
และสนับสนุนกระบวนการผลิตพืชเศรษฐกิจเดิมในพื้นท่ี เช่น มะนาว ส้มโอ มะแข่น พ้ืนที่
ต�ำ บลยอด โดย ดร.รวี เศรษฐภกั ดี มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 29
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการบรหิ ารจัดการน�ำ้ อยา่ งย่งั ยนื
อา่ งเกบ็ น้�ำหว้ ยคล้ายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จงั หวดั อุดรธานี

เม่ือปิดทองหลังพระฯ ด�ำเนินงานพัฒนาเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่บ้าน
โคกล่าม-แสงอร่าม อ�ำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี มาได้ ๓ ปี จากการตดิ ตามประเมิน
ผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าเกิดปัญหาอุปสรรคบางเรื่อง แต่สามารถแก้ไขได้ด้วย
การฟื้นฟูศักยภาพของคน ด้วยการเชื่อมโยงและถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆ จากนักวิชาการ
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้กับชาวบ้าน เกษตรกร และอาสาสมัครพัฒนาหมู่บ้านในพื้นที่
เช่น การอบรมและฝึกปฏิบัติแปรรูปหมูโดยวิทยาลัยสารพัดช่าง และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุดรธานี การถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่มผู้ใช้น�้ำโดยโครงการชลประทาน
จงั หวดั อดุ รธานี การถา่ ยทอดความรู้การผลิตขา้ วอนิ ทรีย์ครบวงจรโดยศูนย์เมลด็ พนั ธุข์ า้ ว และ
ฝึกปฏิบัติ การผลิตข้าวอินทรีย์โดยมูลนิธิข้าวขวัญ การผลิตเมล็ดข้าวพันธุ์ดีและท�ำศูนย์ข้าว
ชุมชน โดยส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอหนองวัวซอ การยกระดับผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารสู่โอทอป
และการบรหิ ารจัดการกลุ่มกองทุน โดยส�ำนกั งานพัฒนาชมุ ชนอ�ำเภอหนองวัวซอ และการดูแล
สุขภาพสตั วเ์ ลีย้ งในพน้ื ท่ี ได้แก่ หมู เปด็ กระบอื โดยส�ำนกั งานปศุสัตวอ์ �ำเภอหนองววั ซอ

30 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ผลจากการฟื้นฟูคน ท�ำให้ปัญหามีการแก้ไขให้ลุล่วงไปได้ด้วยความคิดร่วมกันของ
“คน” ที่เกี่ยวข้อง เช่น หลังจากมีการต่อท่อส่งน้�ำจากฝายข้ีเกียเม่ือเดือนมิถุนายน ๒๕๕๖
ระยะทาง ๙๐๒ เมตร มาเช่ือมต่อกับระบบท่อเดิมที่ต่อไว้ในปี ๒๕๕๕ ท�ำให้มีความยาวท่อ
ส่งน้�ำรวมทั้งสิ้น ๖,๒๙๐.๐๖ เมตร พ้ืนที่รับน�้ำ ๑,๒๙๗.๔๐ ไร่ ๑๓๙ แปลง ผู้รับประโยชน์
๑๒๙ ราย เกนิ กว่าเปา้ หมายที่ก�ำหนดไว้ ๑,๒๔๓.๒๔ ไร่ ๑๒๑ แปลง ผู้รับประโยชน์ ๑๐๒ ราย
แต่มีปัญหาท่ีเกษตรกรผู้ใช้น�้ำบางส่วนไม่ปฏิบัติตามระเบียบกลุ่มผู้ใช้น�้ำ มีการลักลอบเปิดน้�ำ
ใส่แปลงนาของตน ท�ำให้เกษตรกรท่ีอยู่ปลายท่อไม่ได้รับน้�ำ และเกษตรกรตามแนวล�ำห้วย
ขเี้ กยี ไมม่ นี ำ�้ ท�ำนา เนอื่ งจากนำ�้ จากฝายหว้ ยขเ้ี กยี ไหลเขา้ ทอ่ ทต่ี อ่ ใหม่ ไมไ่ หลลงล�ำหว้ ย ชาวบา้ น
จึงประชุมร่วมกัน และหาวิธีแก้ไขได้ส�ำเร็จด้วยการน�ำท่อไปต่อเพิ่มให้มีช่องทางส�ำหรับน�้ำไหล
ลงล�ำหว้ ยได้
การส่งเสริมเล้ียงหมูเหมยซาน ซ่ึงปรากฏว่า จากหมูท่ีสนับสนุนเริ่มต้นในปี ๒๕๕๔
จำ�นวน ๙๔ ตัว มหี มเู หมยซานทง้ั หมด ๑๘๔ ตัว ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๖ มลี ูกหมู
คืนเข้ากองทุนแล้ว ๑๕๙ ตัว แต่การท่ีหมูดำ�ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด จึงไม่มีผู้ต้องการ
เล้ยี งอีก การคืนหมูเขา้ กองทนุ กลายเปน็ ภาระของกองทุน กลุ่มแม่บ้านกองทนุ ตลาด จึงทดลอง
แปรรปู อาหารจากหมู เชน่ ไส้กรอกอสี าน และแหนมส้ม ซงึ่ สามารถจ�ำ หนา่ ยไดด้ ี
โครงการข้าวอินทรีย์ครบวงจร โดยสถาบันฯ ร่วมกับ โดยศูนย์เมล็ดพันธ์ุข้าวอุดรธานี
กรมการข้าว ส่งเสริมการปลูกข้าวอินทรีย์ครบวงจร เพ่ือลดต้นทุนการผลิตและเป็นแหล่ง
ปลูกข้าวอินทรีย์ครบวงจรของจังหวัดอุดรธานี มีเกษตรกรนำ�ร่อง ๔๑ ราย รวม ๔๗ แปลง
เนื้อท่ี ๒๕๔ ไร่ ๑ งาน โดยศนู ย์เมลด็ พนั ธ์ุข้าวสนับสนุนปจั จยั การผลิต ท้งั เมล็ดพันธุ์ อุปกรณ์

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 31
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ทำ�ปุ๋ยอินทรีย์ และอบรมให้ความรู้การทำ�ข้าวอินทรีย์ ๘ ครั้ง ซ่ึงเมื่อเก็บเก่ียวผลผลิตแล้ว
ศนู ยเ์ มล็ดพนั ธ์ขุ า้ วจะนำ�ข้าวไปตรวจวา่ ผ่านมาตรฐานข้าวอนิ ทรยี ์หรือไม่
นอกจากนี้ ยังมีโครงการศูนย์เมล็ดข้าวชุมชน ซึ่งสำ�นักงานเกษตรอำ�เภอหนองวัวซอ
ส่งเสริมการทำ�ศูนย์ฯ โดยคัดเลือกเกษตรกร ๒๐ ราย มาเป็นผู้ผลิตเมล็ดข้าวพันธ์ุดี และ
สนับสนุนเมล็ดพันธข์ ้าว ๓,๐๐๐ กก.ในปี ๒๕๕๕ และ ๒,๐๐๐ กก.ในปี ๒๕๕๖ ซ่ึงเกษตรกร
ต้องคืนข้าว ๔๐ กก. ต่อการนำ�เมลด็ พันธไ์ุ ป ๒๕ กก. การดำ�เนินงานในปี ๒๕๕๕ เกษตรกร
นำ�ข้าวมาคนื ครบ และผลการตรวจพันธปุ์ นผ่าน ๙ ราย ส่วนปี ๒๕๕๖ การรอผลตรวจพนั ธปุ์ น
ใชร้ ะยะเวลานาน ชาวบา้ นจงึ ขายข้าวไปกอ่ น
การพฒั นา “คน” กอ่ ใหเ้ กดิ ความรูร้ อบดา้ น ทง้ั ดา้ นเทคนิคที่ชาวบา้ นได้รบั การถา่ ยทอด
จากหนว่ ยงานภายนอก เชน่ การท�ำนำ�้ หมกั ชวี ภาพไลแ่ มลง การท�ำนาโยน การท�ำนาขา้ วอนิ ทรยี ์
และการแปรรูปหมเู หมยซาน เป็นต้น
ความรู้ด้านการบริหารจัดการ เช่น การบริหารจัดการน้�ำตามแนวท่อของกลุ่มผู้ใช้น้�ำ
โดยสลับการปิดเปิดวาล์วให้เกษตรกรแต่ละโซนได้รับน้�ำท�ำนาท่ัวถึง และเม่ือมีปัญหาพื้นที่
บางโซนขาดนำ�้ กม็ กี ารประชมุ ปรบั ตารางปดิ เปดิ นำ้� ใหเ้ กษตรกรพนื้ ทด่ี อนไดร้ บั นำ�้ ตามแนวทอ่ ดว้ ย
เป็นต้น รวมท้ังการบริหารจัดการกองทุนการตลาด ที่แก้ปัญหาสุกรเหมยซานด้วยการแปรรูป
น�ำไปจ�ำหนา่ ยในวนั ประชมุ หนว่ ยงานระดบั อ�ำเภอและตลาดใกลบ้ ้าน
ความรู้ด้านการสร้างกระบวนการ เช่น ชาวบ้านหมุนเวียนสับเปล่ียนกันมาลงแรงสร้าง
โรงสีข้าวชุมชน ซ่ึงสะท้อนถึงกระบวนการมีส่วนร่วมทำ�สิ่งที่เป็นประโยชน์ส่วนรวม และการใช้
การสื่อสารแบบไมเ่ ปน็ ทางการ เชน่ การพูดคุยกันมาสนบั สนุนการพฒั นา
ท่ีสำ�คัญ คือ ความรู้จากการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาของชาวบ้าน เช่น การใช้เปลือก
กระโดน ซึ่งเปน็ สมุนไพรป่ามารกั ษาอาการท้องร่วงของหมู ทำ�ให้ชาวบา้ นแก้ปญั หาเบอื้ งตน้ ได้
ไมต่ อ้ งพ่งึ ยาของกองทุนยาและเวชภัณฑ์สตั ว์
การฟน้ื ฟแู ละพัฒนาคน ท�ำ ใหก้ ารดำ�เนินงานของกองทนุ ท้งั ๑๐ กองทุน มผี ลประกอบ
การเปน็ ทนี่ า่ พอใจ กล่าวคอื ณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๖

๑. กองทุนสุกร ผูร้ ับประโยชน์ ๓๕ ราย มรี ายรบั ๓๒,๙๐๐ บาท รายจา่ ย ๔,๒๘๐ บาท
เงินคงเหลอื ๘๐,๒๔๐ บาท
๒. กองทุนเปด็ ผรู้ บั ประโยชน์ ๓๓ ราย มีรายรบั ๓๗,๓๗๖ บาท รายจา่ ย ๑๙,๒๖๓ บาท
เงินคงเหลอื ๑๘,๑๑๓ บาท
๓. กองทนุ ปยุ๋ ผรู้ บั ประโยชน์ ๕๐ ราย มรี ายรบั ๑๖๐,๕๒๐ บาท รายจา่ ย ๑๔๕,๗๘๐ บาท
เงินคงเหลอื ๖๖,๖๑๘ บาท
๔. กองทุนยาและเวชภณั ฑ์ ผู้รบั ประโยชน์ ๓๕ ราย มีรายรบั ๖,๕๑๐ บาท ไมม่ รี ายจา่ ย
จึงมีเงนิ คงเหลอื ๖,๕๑๐ บาท
๕. กองทนุ โรงสีข้าว ผู้รบั ประโยชน์ ๕๒ ราย ยังไม่มีการด�ำ เนนิ การ มเี งนิ คงเหลือเปน็
มลู คา่ หนุ้ ๑๑๖,๖๐๐ บาท
๖. กองทุนเมล็ดพันธุ์ผัก ผู้รับประโยชน์ ๓๐ ราย มีรายรับ ๖,๕๓๖ บาท รายจ่าย
๓,๐๘๐ บาท เงนิ คงเหลือ ๒๘,๓๐๕ บาท

32 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๗. กองทุนเมลด็ พันธุ์ขา้ ว ผูร้ บั ประโยชน์ ๔๑ ราย มีรายรบั ๒๓,๗๐๐ บาท ไมม่ ีรายจา่ ย
เงนิ คงเหลือ ๑๒๔,๘๑๐ บาท
๘. กองทนุ ตลาด ผรู้ บั ประโยชน์ ๓๐ ราย มรี ายรบั ๗๑,๐๐๙ บาท รายจา่ ย ๖๗,๖๔๙ บาท
เงินคงเหลอื ๗,๓๑๐ บาท
๙. กองทนุ ศึกษาดงู าน มผี มู้ าดูงาน ๒,๕๙๑ ราย มรี ายรับ ๔๘๘,๔๙๕ บาท รายจ่าย
๔๖๗,๔๕๙ บาท เงนิ คงเหลอื ๙๙,๐๘๑ บาท
๑๐. กองทุนกลุ่มผู้ใช้นำ้� ผู้รับประโยชน์ ๑๒๙ ราย มีรายรับ ๔,๕๙๐ บาท รายจ่าย
๑,๘๓๐ บาท เงินคงเหลอื ๓,๗๔๐ บาท

จากประชากรทั้งสองหมู่บ้าน จำ�นวน ๒๕๘ ครัวเรือน มีชาวบ้านที่เข้าร่วมต้ังแต่เร่ิม
โครงการจนถงึ ปัจจุบัน ๑๐๔ ครัวเรอื น คดิ เป็นร้อยละ ๔๐.๓๑ เคยเขา้ รว่ มกิจกรรม แตป่ จั จุบนั
หยุดทำ�แล้ว ร้อยละ ๘.๙๑ ชาวบ้านที่ไม่เข้าร่วมโครงการหรือไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้
ร้อยละ ๕๐.๗๗ การเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกับชาวบ้านท่ีเข้าร่วมโครงการ คือ ลดรายจ่าย
เพิม่ รายได้ รอ้ ยละ ๓๔ ของการเปล่ียนแปลงท้ังหมด
สร้างอาชีพ ร้อยละ ๒.๕ มีน้�ำท�ำการเกษตร ร้อยละ ๒๐.๒๕ มีที่ปรึกษาช่วยให้องค์
ความรู้ในการประกอบอาชีพ ร้อยละ ๗ ภูมิใจท่ีชุมชนเป็นที่รู้จักของบุคคลภายนอก ร้อยละ
๕.๒๕ มีความสุขเพราะลูกหลานกลับมาท�ำงานที่บ้าน ร้อยละ ๒ ชุมชนมีกิจกรรมและมี
การส่อื สารกนั มากขึน้ รอ้ ยละ ๑.๗๕ ของการเปลยี่ นแปลงทัง้ หมด

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 33
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

บทเรียนท่ีเกิดขึ้นจากการดำ�เนินโครงการฯ คือ การติดตามผลการปฏิบัติงานมีความ
จ�ำ เปน็ มาก เพือ่ รกั ษาความศรัทธาและผลท่ีเกิดขนึ้ ให้คงอย่ตู ่อเน่ือง รวมท้ังเปน็ การสรา้ งระบบ
ให้ชุมชนดูแลรักษาร่วมกัน ควรระวังการพูดหรือการให้ข้อมูลที่จะเป็นการสร้างความคาดหวัง
ให้แก่ชาวบ้านมากไป ควรถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการกองทุนให้กับชาวบ้าน
ต้ังแต่ต้ังกองทุน เช่น บทบาทหน้าที่กรรมการและสมาชิกกองทุน การจดบัญชีรายรับรายจ่าย
ของกองทนุ การตงั้ ระเบยี บกองทนุ และประชาสมั พนั ธผ์ ลการด�ำ เนนิ งานกองทนุ เพอ่ื ใหช้ าวบา้ น
ได้รบั ประโยชนท์ ่วั ถึงและมีความโปรง่ ใส
นอกจากนี้ การขยับงานพัฒนาแต่ละช่วง ควรดูความพร้อมของชาวบ้านจริงๆ เช่น
ความต้องการโรงสี แต่ยังไม่มีไฟฟ้าสามเฟส ทำ�ให้เดินเคร่ืองโรงสีไม่ได้ และการเลี้ยงหมู
โดยยังไม่ปลูกต้นกล้วยท่ีเป็นอาหารหมู หรือต้นกล้วยโตไม่ทันหมู เป็นต้น การทำ�งานกับ
ชาวบ้านควรทำ�ความเข้าใจภมู สิ ังคม และหลักเหตุผล วธิ ีคดิ และการมองโลกของชาวบ้าน และ
ปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับเหตุผลและภูมิสังคมของชาวบ้าน และควรมีการวางแผนร่วมกัน
ระหว่างหน่วยงานราชการท่ีเข้ามาทำ�งานในพื้นที่กับชาวบ้าน เพื่อให้จัดกิจกรรมตามแผนงาน
ตรงกับชว่ งเวลาท่ชี าวบ้านตอ้ งการ

34 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการพัฒนาชนบทเชิงพ้นื ทีป่ ระยกุ ตต์ ามพระราชดำ�ริ
บ้านบางกลอย–โปง่ ลกึ จ.เพชรบุรี

เพื่อแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตชาวกะหร่าง หมู่บ้าน
บางกลอยและบ้านโป่งลึก ต�ำบลห้วยแม่เพรียง อ�ำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ใจกลาง
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ซ่ึงเสี่ยงต่อการที่ป่าอาจถูกบุกรุกท�ำลาย สัตว์ป่าถูกล่าเพ่ือ
การด�ำรงชีพ เนื่องจากปัญหาพ้ืนที่ท�ำการเกษตรของชาวบ้านมีลักษณะลาดเอียงตามแนวภูเขา
ท้ังยังขาดแคลนน้�ำ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ผลผลิตการเกษตรต�่ำ มีข้าวและแหล่งอาหาร
ไมเ่ พียงพอตอ่ การบรโิ ภคในครวั เรอื น
ในปงี บประมาณ ๒๕๕๖ สถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ในฐานะ
ผูป้ ระสานเช่ือมโยงการท�ำ งานในพนื้ ท่ี จึงร่วมกับหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง ดำ�เนินการแกไ้ ขปญั หา
ท้ังระยะเร่งด่วน และส่งเสริมแผนการพัฒนาตามงบประมาณปกติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โดยหลกั การส�ำ คญั คอื ขา้ ราชการในพนื้ ที่ เปน็ กลไกส�ำ คญั ในการท�ำ งาน ตามค�ำ สงั่ ผวู้ า่ ราชการ
จังหวัด ท่ี ๒๓๙/๒๕๕๖ แต่งตง้ั คณะทำ�งานบูรณาการขับเคลอื่ นโครงการตามแผนพฒั นาชนบท
เชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ�ริ บ้านบางกลอย-โป่งลึก ประกอบด้วยคณะทำ�งานฯ
ดา้ นอำ�นวยการ และคณะทำ�งานฯ ด้านปฏบิ ตั ิการ โดยมีหัวหน้าอทุ ยานแห่งชาตแิ กง่ กระจาน
ในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่ เป็นผู้ดำ�เนินการหลัก และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเป็นผู้สนับสนุน
การท�ำ งาน

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 35
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

สำ�หรับแผนแก้ไขปัญหาระยะเร่งด่วน เป็นกิจกรรมเพ่ือสร้างความเช่ือม่ันศรัทธาให้
ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วมตัดสินใจ และร่วมเป็นเจ้าของในทุกกิจกรรม
การพฒั นา ผ่านกิจกรรมการพฒั นาทีเ่ กดิ ขึ้น ๒ เร่ือง ไดแ้ ก่
๑. การจัดท�ำแปลงสาธิตชาวบ้านปลูกผักกินเอง เพราะจากการส�ำรวจข้อมูลพื้นที่
พบว่ารายจ่ายอันดับ ๓ ของหมู่บ้านรองจากข้าวและเคร่ืองดื่มมึนเมา คือ การท่ีชาวบ้าน
ต้องเสียเงินซ้ืออาหาร ไม่สามารถปลูกกินเองได้เพียงพอ ปิดทองหลังพระฯ จึงเร่ิมให้ความรู้
จากการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ เชน่ การยกแปลง กรณฝี นตกตอ้ งท�ำในลกั ษณะแปลงทส่ี งู มรี อ่ งนำ�้ ไหล
ท�ำใหผ้ กั ไมเ่ น่าเสีย ไดผ้ ลผลิตมาก มกี ารสรา้ งตวั อยา่ งรว่ มกับชาวบ้านในการปลูกผักไวบ้ รโิ ภค
ในครอบครัวกอ่ น เชน่ ผักบ้งุ แตงกวา ถว่ั ฝกั ยาว บวบเหล่ียม ผกั ชี มะเขือม่วง มะเขือยาว
หอมต้น คะนา้ กวางตุง้ แฟง ผักกาดขาว สะระแหน่ โดยบูรณาการความรว่ มมอื กับหน่วยงาน
ต่างๆ ช่วยกันด�ำเนินการ ท้ังเกษตรอ�ำเภอ พัฒนาที่ดิน ปศุสัตว์อ�ำเภอ พัฒนาการอ�ำเภอ
ประมงจงั หวดั รว่ มกบั ผนู้ �ำชมุ ชนและเจา้ หนา้ ทม่ี ลู นธิ แิ มฟ่ า้ หลวงฯ โดยใชพ้ นื้ ทส่ี าธารณประโยชน์
เป็นแปลงสาธิตปลูกผัก และชาวบ้านมีส่วนร่วมออกแบบการท�ำแปลงสาธิตปลูกผัก และวาง
ระบบน�ำ้
ผลที่เกิดขึ้น นอกจากชาวบ้านมีผักไว้กินแล้ว ในช่วงเวลาการปลูกประมาณ ๓ เดือน
ผลผลิตที่ได้ท้ังหมดประมาณ ๑,๓๒๘ กิโลกรัม ชาวบ้านสามารถลดรายจ่ายจากการซื้อ
เทียบกับราคาซ้อื ปกติ คดิ เปน็ มูลคา่ ประมาณ ๓๔,๗๐๐ บาท หรือเฉล่ียประมาณ ๒๖๐ บาท
ต่อครัวเรือน ท่ีสำ�คัญคือ เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่สำ�คัญของชาวบ้านในการบริหารจัดการ
ด้วยตนเอง โดยเร่ิมจากจุดเล็กๆ ที่ชาวบ้านดูแลแปลงผักมีการแบ่งโซน แบ่งกลุ่มย่อย ดูแล
รดน�้ำ ใสป่ ยุ๋ ก�ำ จดั วชั พชื และวางแผนรปู แบบการจดั แปลงผกั มกี ารประยกุ ตแ์ นวทางของสถาบนั ฯ
มาปลูกพชื ผกั ท้องถนิ่ ตามความตอ้ งการของชาวบา้ นเอง
๒. การพัฒนาระบบน�้ำระยะเร่งด่วน สนองพระราชด�ำริสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม
ราชินีนาถ ในการจดั หาน้ำ� ให้ชาวบา้ นใชท้ �ำการเกษตร และทนั ใช้ในฤดกู ารเพาะปลกู ปี ๒๕๕๖
โดยวิธีสูบน้�ำดว้ ยเคร่ืองยนต์ดีเซล ขนาด ๔ สูบ จากแม่นำ้� เพชรบุรมี ายังถังพกั นำ้� (ถังเก็บนำ�้
ส�ำหรับแก้ไขปัญหาภัยแล้ง) แล้วสูบต่อไปยังสระเก็บน�้ำขนาด ๑,๘๐๐ ลูกบาศก์เมตร ที่บ้าน
บางกลอย และสระเก็บน�ำ้ ขนาด ๑,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ทบ่ี า้ นโปง่ ลกึ โดยมีระบบการกระจาย
น้�ำสแู่ ปลงนา คอื
ท่ีบ้านบางกลอย ใช้ท่อส่งน้�ำ รวมระยะทางประมาณ ๓,๘๔๓ เมตร และกระจายน้�ำ
โดยใช้วิธีกาลักน้�ำ กระจายลงสู่แปลงนาท้ัง ๓ โซนท่ีอยู่ต�่ำกว่าสระ ๑,๘๐๐ ลูกบาศก์เมตร
ส่วนพื้นท่ีท่ีอยู่สูงกว่าสระ ใช้การสูบน้�ำจากสระขึ้นไปยังถังเก็บน�้ำ ๒,๐๐๐ ลิตร ๙ ใบ แล้ว
ต่อท่อกระจายสแู่ ปลงนา
ทบ่ี า้ นโปง่ ลกึ (โซนบน) พน้ื ทป่ี ระมาณ ๑๕๓ ไร่ ใชร้ ะบบกาลกั นำ้� จากสระ ๑,๐๐๐ ลกู บาศก์
เมตร ระยะทอ่ ประมาณ ๑,๘๐๗ เมตร กระจายสแู่ ปลงนาท่แี บ่งเปน็ ๓ โซน
การด�ำเนินงานดังกล่าว พบว่า ต้องใช้น้�ำมันดีเซลในการสูบน�้ำเคร่ืองละประมาณ
๓๐-๓๕ ลติ รต่อวัน หรือ ๖๕ ลติ รตอ่ วัน ซงึ่ ไม่ค้มุ ค่าตอ่ การลงทนุ ทงั้ ยังไมม่ ่ันคงหากอปุ กรณ์

36 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ขัดข้อง ชาวบ้าน เจ้าหน้าที่อุทยานฯ และเจ้าหน้าท่ีสถาบันฯ ปรึกษาหารือและมีความเห็น
รว่ มกนั วา่ ควรหาน้ำ� ต้นทนุ ท่ลี ดการสูบน้ำ� ได้ โดยเฉพาะในช่วงฤดฝู น เกิดกระบวนการเรยี นรู้
ในการแก้ปัญหาที่บา้ นโป่งลึก ด้วยการต่อทอ่ จากหว้ ยสระหินมายังสระ ๑,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร
ระยะทาง ๑,๑๐๐ เมตร ใช้ทอ่ ๖ นวิ้ ๑๓๕ ท่อน ท่อ ๓ นิ้ว ๗๓ ทอ่ น และใช้เวลาต่อทอ่
๓ วนั ดว้ ยแรงงานวนั ละ ๒๐ คน ส�ำเร็จเรียบรอ้ ย มแี หลง่ น�้ำธรรมชาตใิ ชใ้ นสระบา้ นโปง่ ลกึ
ต้ังแต่เดือนมถิ ุนายน-มกราคมของทุกปี
ส่วนที่บ้านบางกลอย ชาวบ้านเสนอให้สร้างฝายท่ีห้วยกระทุ้งกลอง ความสูงประมาณ
๒๓๘ ม.รทก. ซ่ึงมีปริมาณน�้ำในเดือนกันยายน ๔๘๗ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และต่อท่อส่งน้�ำ
ขนาด ๖ นิ้ว ลด ๔ นว้ิ ลดเหลือ ๓ นวิ้ แยกเป็น ๒ ทาง ระยะทาง ๕,๙๐๐ เมตร เขา้ ถัง
เก็บน้�ำสูง ๒๐๒ ม.รทก. และสระ ๑,๘๐๐ ลูกบาศก์เมตร แล้วกระจายน�้ำเข้าสู่แปลงนา
ซ่ึงแผนน้ีได้รับความเห็นชอบจากโครงการชลประทานเพชรบุรีและสถานีพัฒนาท่ีดินเพชรบุรี
แลว้ ตอ่ จากแผนระยะเรง่ ดว่ น จะเปน็ แผนพฒั นาตามงบประมาณปกตขิ องหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
ไดแ้ ก่
๑. แผนงานด้านการเกษตร ประกอบด้วย โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ การทำ�นา
ขน้ั บนั ได การปรบั ปรุงดินให้เหมาะสมกับการปลกู พชื การสนบั สนุนพนั ธ์ุขา้ ว การดแู ลรกั ษาขา้ ว
การเก็บเก่ียวการปลูกพืชระยะส้ันและระยะยาว เน้นการจัดการพ้ืนที่ ๒ ไร่ต่อครอบครัว
ด้านปศุสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ต้องไม่มีผลกระทบต่ออุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และการใช้
แหล่งอาหารในชุมชนเพ่ือการเลี้ยงสัตว์ เช่น หมูเหมยซาน ปลาแม่น้ำ�เพชรบุรี (ปลาพวง)
และมีการบรหิ ารจัดการในรปู แบบของกองทนุ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 37
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๒. การจัดการที่ดินที่ท�ำกิน ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ เร่ิมจากการปรับพ้ืนท่ีท�ำกินเดิม
โดยน�ำแนวทางการผอ่ นผันตามมติ ครม. ๒๕๔๑ มาปรบั ใช้ ในปี ๒๕๕๖ น้ี มีการเปิดพน้ื ท่ี
และปรับเป็นข้ันบันได ๔๙๔.๘๓ ไร่ ทีบ่ า้ นบางกลอย และ ๒๙๗.๑๓ ไร่ ท่ีบ้านโปง่ ลกึ ๑๙๗.๗๐
ไร่ เพ่อื ปลกู นาขัน้ บันได ๑๓๓.๓๙ ไร่ โดยชาวบ้าน ๖๓ ราย ในจ�ำนวนนี้ ๒๑ ราย ไมม่ ีทเี่ ปน็
ของตนเอง และอาศัยท�ำกินในพ้ืนที่ท่ีญาติแบ่งให้ใช้ประโยชน์ ชาวบ้าน ๓๗ ราย ปลูกพืช
ในสภาพพื้นที่ลาดเอียง ๑๖๐.๒๑ ไร่ เป็นพ้ืนที่ว่างเปล่า ๑๘๔.๐๗ ไร่ และเป็นพื้นท่ีส�ำหรับ
สิง่ ปลกู สรา้ งต่างๆ เชน่ สระเกบ็ นำ�้ บอ่ ดักตะกอน แปลงเพาะ กระท่อมพกั ท�ำนา ๑๗.๑๖ ไร่ มี
การปลกู ขา้ วดว้ ยวธิ ดี งั้ เดมิ ๒๐ ราย ๔๙.๑๘ ไร่ และท�ำการเกษตรผสมผสาน ๓๒ ราย ๒๖๖.๑๖ ไร่
๓. การบำ�รุงรักษาดิน ดำ�เนินการภายใต้โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำ� ตั้งแต่เดือน
พฤศจิกายน ๒๕๕๕ มีการสำ�รวจสภาพชุดดินในพ้ืนท่ีว่ามีความเหมาะสมต่อการเพาะปลูก
หรือไม่ เหมาะกับการเพาะปลูกพืชประเภทใด พร้อมกับปรับสภาพพ้ืนท่ีที่มีลักษณะลาดชัน
หรอื เนนิ เขาใหเ้ ปน็ ขน้ั บนั ได โดยอทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ กระจาน รว่ มกบั สถานพี ฒั นาทดี่ นิ เพชรบรุ ี
เป็นผ้ถู า่ ยทอดความรแู้ ละควบคุมดูแล โดยการปรบั พ้ืนท่เี ปน็ นาขั้นบันไดจะใช้การส่องกล้องวัด
ระดับตามแนวเส้น contour และหาแนวระดับของพ้ืนที่ร่วมกับการส่องกล้อง เอ-เฟรม คือ
อุปกรณ์ใช้หาแนวระดับสำ�หรับปลูกพืชขวางแนวลาดชัน ซึ่งเป็นอุปกรณ์ง่ายๆ ที่เกษตรกร
สามารถท�ำ ใชไ้ ดเ้ อง
การทำ�แปลงนาขน้ั บันได ได้รับความรว่ มมอื ด้านแรงงานจากชาวบ้านทง้ั ๒ หมู่บ้านเปน็
อย่างดี ท�ำ ให้สามารถเปดิ พืน้ ทแ่ี ละปรับเปน็ ขน้ั บนั ได รวมทัง้ ๒ หมู่บา้ นได้ ๔๙๗ ไร่ จากพ้ืนที่
เปา้ หมาย ๕๕๕ ไร่

38 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ทง้ั น้ี สถานพี ฒั นาทด่ี นิ เพชรบรุ ไี ดเ้ ขา้ มาสนบั สนนุ ใหค้ วามรเู้ รอ่ื งในการปรบั ปรงุ บ�ำ รงุ ดนิ
ดว้ ยการหว่านปอเทือง ถั่วพรา้ โดโลไมท์ และการปลกู หญา้ แฝกเพอื่ อนุรักษ์ดนิ และน�้ำ
๔. การเกษตร ในปี ๒๕๕๖ มีการส่งเสริมการปลูกข้าวอินทรีย์อย่างครบวงจรในนา
ขั้นบนั ได มีชาวบา้ นเข้ารว่ มจำ�นวน ๖๖ ราย พ้ืนท่ี ๑๔๕.๐๙ ไร่ เพิม่ ขึน้ จากปี ๒๕๕๕ ท่มี ี
ชาวบ้านเขา้ ร่วมปลูกขา้ วเพยี ง ๓๓ ราย มีการแบง่ พ้ืนที่ออกเปน็ ๔ โซน คอื โซน A B และ C
ทบี่ า้ นบางกลอย โซน D อยทู่ บ่ี า้ นโปง่ ลกึ แตล่ ะโซนจะมผี เู้ ชย่ี วชาญมาถา่ ยทอดความรแู้ ละลงมอื
ปฏิบัติการจริง โดยสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ และจังหวัดเพชรบุรี
เป็นผู้เช่ือมโยงผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ มาดำ�เนินโครงการข้าวอินทรีย์อย่างครบวงจร
๔ คณะ คอื
พื้นท่ีโซน A ดูแลรับผิดชอบโดยนายรัชยุทธ วรรณศิริบุญและคณะ ส่งเสริมให้ความรู้
ดา้ นการเกษตรรูปแบบ P.R. Model เน้นการเตรียมดนิ ก่อนการปลกู ขา้ ว โดยการใส่ปยุ๋ P.R.
ในอตั ราสว่ นประมาณ ๘๐ กก.ตอ่ ไร่ เพื่อปรับปรงุ บำ�รงุ ดิน เสริมธาตอุ าหารในดินใหเ้ หมาะกับ
การเพาะปลูก หลังจากต้นข้าวเจริญเติบโตประมาณ ๒๐-๓๐ วัน จะใส่ปุ๋ยเพ่ือบำ�รุงต้นข้าว
โดยแนะน�ำ ใหพ้ น่ ผงซปุ เปอรโ์ ซคอน และน�ำ้ ฮวิ มกิ ทผี่ สมกบั กรดอะมโิ น เพอ่ื เรง่ การเจรญิ เตบิ โต
ของตน้ ข้าว
ปัญหาทพี่ บจากการด�ำ เนนิ งานท่ีผ่านมา คอื ตน้ ข้าวเหลอื ง รากเน่าตาย โดยมสี าเหตุ
จากนำ้�ขังในแปลงนาหลายวนั เพราะพันธขุ์ ้าวไร่ไม่ชอบนำ�้ ขงั วิธแี กป้ ญั หา คอื ปลอ่ ยนำ้�ออก
จากแปลงนาให้หมด ให้ดินมีความชื้นก็พอ แล้วใช้เครื่องพ่นหรือหว่านซุปเปอร์โซคอนให้ท่ัว
กระทงนาที่มีปญั หา ในปริมาณ ๑๐ กก.ตอ่ ไร่ ตน้ ขา้ วที่ตายใหป้ ลกู ซอ่ ม ไมต่ อ้ งไถพรวนใหม่
เพราะดนิ ท่หี วา่ นปยุ๋ P.R. แล้ว เป็นดนิ ที่พรอ้ มปลูกได้เลย เมอ่ื ข้าวฟนื้ ได้ ๕-๗ วัน ใหพ้ น่ น�้ำ
ฮวิ มิก เน้นทหี่ นา้ ดินหรอื โคนต้นขา้ ว ในอัตราสว่ นน้�ำ ฮวิ มิก ๑ ลติ รตอ่ นำ้� ๒๐ ลิตร ปญั หาข้าว
ไมง่ อก แก้ดว้ ยการหยอดขา้ วซอ่ ม โดยน�ำ พนั ธขุ์ ้าวแช่นำ�้ ๑ วัน อบไว้ ๑ คืน แล้วนำ�มาคลุกกับ
ซปุ เปอร์โซคอนก่อนนำ�ไปหยอด
ผลการด�ำ เนนิ งานในปจั จบุ นั มกี ารใสป่ ยุ๋ บ�ำ รงุ ตน้ ขา้ วเปน็ ระยะ แตย่ งั พบปญั หาขา้ วเหลอื ง
บริเวณทม่ี นี ้ำ�ขงั วิธแี กป้ ญั หา ปล่อยน้�ำ ออกจากแปลงนา และฉดี น�้ำ ฮิวมิกทผ่ี สมกับกรดอะมิโน
และโซคอน เนน้ ฉีดบริเวณท่ีขา้ วเหลอื ง บรเิ วณทีข่ ้าวสมบรู ณ์ฉดี บ�ำ รุงปกติ
พ้ืนท่ีโซน B ดูแลรับผิดชอบโดยมูลนิธิข้าวขวัญ ส่งเสริมให้ความรู้แบบเกษตรย่ังยืน
เนน้ ให้ชาวบา้ นปลกู ข้าวตามวิถเี ดิม และตดิ ตามการเจริญเติบโต ดสู ภาพปัญหาและหาแนวทาง
การแกไ้ ขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการปลูกขา้ ววิถีเดิม
ปัญหาท่ีพบจากการดำ�เนินงานท่ีผ่านมา คือ มีเพล้ียมากินต้นข้าว ต้นข้าวเหลือง
ข้าวไม่งอก วัชพืชข้ึนในแปลงนามากและแดดร้อน ทำ�ให้ดินแข็ง ข้าวไม่สามารถเติบโตได้
วิธีแก้ปัญหา คือ หยอดข้าวซ่อมเฉพาะหลุมที่ข้าวไม่ข้ึน ปล่อยน้ำ�เข้าแปลงเพ่ือให้ความชุ่มช้ืน
กบั ดนิ แตห่ ากแดดรอ้ นจดั จะไม่ปล่อยนำ�้ เพราะอาจท�ำ ให้รากข้าวเนา่ กำ�จัดวชั พืช เมอื่ ข้าวโต
ประมาณ ๕๐ ซม. จะฉีดปยุ๋ น้�ำ อนิ ทรียเ์ อส-แมททริกซ์ สตู ร ๑ เพื่อบำ�รุงตน้ ขา้ วและเรง่ การเจรญิ
เติบโต สามารถแกไ้ ขไดบ้ างสว่ น

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 39
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลการดำ�เนนิ งานในปจั จบุ นั มกี ารใสป่ ยุ๋ บำ�รงุ ตน้ ขา้ ว แตพ่ บปญั หาแมลงศตั รพู ชื รบกวน
แก้ไขโดยฉีดพ่นปุ๋ยน้ำ�เอส-แมททริกซ์ สูตร ๔ และนำ้�หมักสะเดาเพื่อไล่แมลง หลังจากฉีด
พบปัญหาลดลง
พ้ืนที่โซน C ดูแลรับผิดชอบโดยสถานีพัฒนาท่ีดินเพชรบุรี ส่งเสริมให้ความรู้การเพิ่ม
ผลผลิตการเกษตรดว้ ยนวัตกรรมของกรมพฒั นาทีด่ ิน ในขนั้ ตอนเตรียมดนิ แนะน�ำ ใหช้ าวบ้าน
ใส่ปุ๋ยหมักอินทรีย์คุณภาพสูง เพ่ือปรับปรุงบำ�รุงดินและเสริมธาตุอาหารในดินในอัตราส่วน
ประมาณ ๑๐๐ กก.ต่อไร่ และฉีดพ่นปุ๋ยน้ำ�หมักชีวภาพที่หมักจากเศษอาหารและผลไม้ให้
ทวั่ แปลงนา เพอ่ื เพม่ิ ธาตอุ าหารในดนิ หลงั จากทข่ี า้ วเจรญิ เตบิ โตไดป้ ระมาณ ๒๐-๓๐ วนั แนะน�ำ
ให้ฉีดปุ๋ยน้ำ�หมักชีวภาพเพื่อบำ�รุงต้นข้าว และป้องกันและกำ�จัดแมลงศัตรูพืชโดยการใช้ปุ๋ย
น้ำ�หมัก (พด.๗) ทใ่ี ช้พชื สมุนไพรที่หาได้ในพ้ืนท่ี เช่น หัวกลอย ฝักคนู สาบเสือ บอระเพ็ด
พรกิ เมลด็ สะเดา เป็นวตั ถดุ บิ
ปัญหาท่ีพบ คือ ขา้ วไมง่ อก เนื่องจากพ้ืนทม่ี ีหนิ มาก วิธีแกป้ ญั หา คอื หวา่ นปุ๋ยหมกั เพม่ิ
และฉีดปุ๋ยน้ำ�หมักชีวภาพเพ่ือเตรียมดิน เพ่ือเพิ่มดิน และหยอดข้าวซ่อม และแก้ปัญหา
หยอดข้าวแล้วมีมดและนกมากินเมล็ดข้าวด้วยการฉีดพ่นนำ้�หมักสารควบคุมแมลงศัตรูพืช
โดยใช้สารเรง่ ซุปเปอร์ พด.๗ ในอัตราส่วน ๕ ช้อนโต๊ะกับปยุ๋ น้ำ�หมักชวี ภาพ ๒ ชอ้ นโตะ๊ ตอ่ น้ำ�
๒๐ ลติ ร และท�ำ หุ่นไลก่ า เพือ่ ไล่นก

40 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ผลการด�ำ เนนิ งาน แมจ้ ะมกี ารฉีดปยุ๋ นำ�้ หมกั ชีวภาพเป็นระยะ แต่ยังพบปญั หาข้าวโตช้า
จงึ แกป้ ญั หาดว้ ยการใสป่ ยุ๋ หมกั อนิ ทรยี ค์ ณุ ภาพสงู และฉดี ปยุ๋ น�ำ้ หมกั ชวี ภาพมากกวา่ เดมิ ปญั หา
แมลงศตั รพู ชื หนอนมว้ นใบ รบกวนตน้ ข้าว แกด้ ้วยการฉดี พ่นน้�ำ หมักสารควบคมุ แมลงศัตรพู ชื
ที่ใชส้ ารเรง่ ซปุ เปอร์ พด. ๗ ในอัตราส่วน ๕-๗ ช้อนโตะ๊ ตอ่ น�ำ้ ๒๐ ลติ ร ช่วงระยะระบาดใหฉ้ ดี
ทกุ ๓ วนั
พน้ื ทโ่ี ซน D จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยดแู ลรับผิดชอบ มีการส่งเสรมิ ใหค้ วามรู้การเกษตร
ธรรมชาติด้วยเทคโนโลยี EM การใส่ปุ๋ยเตรียมดิน แนะนำ�ให้ใส่ปุ๋ยโบกาฉิให้ท่ัวและพรวนดิน
และไถกลบในอัตราส่วนประมาณ ๑๐๐ กก.ต่อไร่ และฉีด EM เพอ่ื ใหด้ นิ มจี ุลนิ ทรยี ์ ช่วยปรบั
สภาพความเปน็ กรด-ด่าง ในดนิ ให้มคี วามสมดุล ใหด้ ินมคี วามรว่ นซยุ อมุ้ น�ำ้ และอากาศผา่ น
ได้ดี หลงั จากขา้ วมอี ายุ ๒๐-๓๐ วนั ใหฉ้ ดี EM เพ่ือบ�ำ รุงตน้ ข้าว
ปัญหาท่ีพบ คือ ขา้ วไมง่ อก ซ่งึ สาเหตอุ าจมาจากเมลด็ พนั ธ์เุ ปียกฝน ทำ�ให้จมูกข้าวเน่า
เมล็ดข้าวเสีย เมื่อนำ�ไปปลูก รากก็จะไม่งอก หรืออาจจะนำ�เมล็ดพันธุ์แช่นำ้� EM ที่มีความ
เข้มข้นนานเกินไป วิธีแก้ปัญหา คือ หยอดข้าวซ่อมในหลุมท่ีไม่งอก ถ้าไม่หยอดซ่อมให้แยก
ต้นขา้ วจากหลมุ ทขี่ ้ึนเยอะไปปลกู
แม้มีการฉีด EM เพ่ือบำ�รุงต้นข้าวเป็นระยะ แต่ยังพบปัญหาแมลงศัตรูพืชรบกวน
เช่น หนอนม้วนใบ หนอนกอ แต่ไม่ถึงข้ันระบาด จึงแก้ปัญหาด้วยการเพ่ิมความเข้มข้น
ของ EM จาก ๕-๖ ชอ้ นโตะ๊ เป็น ๑ แกว้ ต่อน้ำ� ๒๐ ลิตร และฉดี พน่ น�ำ้ สม้ ควันไมร้ ่วมดว้ ย
นอกจากนี้ ยังพบปัญหาใบไหม้ ซึ่งเกิดหลังจากการเข้าทำ�ลายของหนอน ทำ�ให้เช้ือราเข้าไป
ท�ำ ลายตน้ ขา้ ว

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 41
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

นอกจากการเช่ือมโยงความรู้จากผู้เช่ียวชาญท้ัง ๔ คณะ มาดำ�เนินโครงการผลิต
ข้าวอินทรีย์ครบวงจรแล้ว ยังมีการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของข้าวรายแปลง ในทุกโซน
พ้ืนที่ ๑ ตารางเมตร เพ่ือดูความสมบูรณ์ ความเคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงของต้นข้าวทุกแปลง
ในทุกโซน เป็นข้อมลู เปรียบเทยี บกัน

ข้อมูลเปรยี บเทียบผลผลิตขา้ วจ�ำ แนกตามโซน (วิธกี ารปรบั ปรุงดนิ และใส่ปยุ๋ )

ผลผลติ โซน ชื่อ-นามสกุล พ้ืน(ทไร่ปี )่ ลกู ผลผ(กลกิต.ท) ่ไี ด้ ผลกผกล.ิต/ไเฉรล่ ี่ย

บ้านบางกลอย นายทองดี ชายา
ผลผลิตสงู สุด นายบุญชู พุกาด ๓.๑๙ ๑,๑๗๒ ๓๖๗.๔
ผลผลิตต�่ำ สดุ A ๐.๙๕ ๒๔ ๒๕.๒๖

ผลผลติ สูงสุด B นายทิโจ เจริญสขุ ๑.๔๓ ๓๙๕.๔ ๒๗๖.๕
ผลผลิตต่ำ�สดุ นางสาวบลุ พกุ าด ๒.๐๕ ๑๐๐.๒ ๔๘.๙๘
ผลผลิตสงู สุด นายตุลุ ปานดุก ๒.๗๒ ๑,๐๔๐.๖ ๓๘๒.๕๗
ผลผลิตตำ่�สุด C นายยอ แครจ ี ๓.๓๔ ๑๒๔.๘ ๓๗.๓๗

บ้านโป่งลึก นายนก วชั ระ ๑.๗๖ ๔๘๑.๔ ๒๗๓.๕๒
ผลผลิตสูงสดุ นายตะเคยี นทอง เจริญสขุ ๐.๘๔ ๘๐.๔ ๙๕.๗๑
ผลผลิตต�่ำ สดุ D

(ข้อมูล ณ วนั ที่ ๑๐ ธ.ค. ๒๕๕๖)

42 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

การดำ�เนินงานระยะต่อไป นอกจากการปลูกพืชหลังนา ท่ีเกษตรอำ�เภอแก่งกระจาน
จะสง่ เสรมิ ตามความต้องการของชาวบา้ นดว้ ยพืช ๖ ชนิด คือ ถ่วั เขียว ถ่วั เหลือง ฟักทองพันธ์ุ
ผวิ คางคก ถั่วฝกั ยาว ข้าวโพด พรกิ และหาตลาดรองรบั ผลผลติ ของชาวบ้านให้ ยงั มีโครงการ
พัฒนาการเกษตรพื้นทล่ี าดเอยี ง คอื การจัดท�ำ รปู แบบการเพาะปลกู ที่เหมาะสมกบั สภาพพนื้ ที่
๗ รูปแบบ เพื่อสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านด้วยไม้ผล พืชไร่ พืชผักสวนครัว และสมุนไพร
โดยสอบถามความตอ้ งการปลกู พชื ของชาวบา้ นแลว้ น�ำ มาพจิ ารณาความเหมาะสมกบั สภาพพน้ื ท่ี
สภาพภมู ิอากาศ และปริมาณการใช้นำ�้
ท้ังน้ี หลกั ในการทำ�แผน คือ “ทำ�แผนบนกระดาษ” ก่อนลงมือปฏิบัติการจริง เนน้ การ
มอี ยมู่ ีกิน การเชอื่ มโยงกับทฤษฎีใหม่ การปลกู พืชอาหารเพอ่ื บริโภคในครอบครวั ใหม้ ีกินกอ่ น
เหลือแล้วจึงขาย และเพื่อให้ผลผลิตต่อเนื่อง จึงใช้รูปแบบการทำ�ไร่นาสวนผสมให้ชาวบ้าน
มรี ายไดร้ ายวัน รายเดอื น รายปี โดยมีกระบวนการระดมความเหน็ การทำ�ประชาคมหมู่บา้ น
และการบูรณาการงบประมาณร่วมกันของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการสนับสนุนการดำ�เนินงาน
ของชาวบา้ น เพอื่ สนบั สนนุ ใหช้ าวบา้ นปลกู ขา้ ว และพชื ผลการเกษตรอนื่ ๆ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ พอเพยี ง
เล้ยี งครอบครัว เช่น รปู แบบการใชพ้ ้ืนที่ ๒ ไร่ แบง่ เปน็ การปลกู พชื ย่ังยืน ๑ ไร่ (ทุเรียน กลว้ ย
น�ำ้ ว้า ขมิ้น พรกิ กะเหรี่ยง) ปลูกพืชหมนุ เวยี น ๒ งาน (มะเขือ ฟกั ทอง ขา้ วโพด) และปลูกพืช
สวนครัว-เล้ยี งสตั ว์สำ�หรับรบั ประทานในครอบครัว ๒ งาน โดยมีปริมาณความตอ้ งการพชื ดังนี้

ความต้องการปลกู พชื ตามสภาพพน้ื ทล่ี าดเอยี ง (ตน้ )

ชอ่ื รวม ชือ่ รวม

ทุเรยี น ๒,๔๔๗ มะไฟ ๔๐
เงาะ ๔๖๐ มะกรดู ๕
ลองกอง ๕๘๒ มะนาว ๗๓๓
มังคุด ๑,๐๓๐ ไมไ้ ผ่ ๕๐
มะพร้าวน�ำ้ หอม ๓๗๕ ไผ่หวาน ๑๐
มะขาม ๓๐๐ ลำ�ไย ๕๐
ส้มโอ ๔๕ ชมพู่ ๔๐
มะขามเปร้ยี ว ๕ มะม่วงมนั ๔๐
มะปรงิ ๒๐ สม้ ๒๐
มะปราง ๒๐

นอกจากน้ี ยังมุ่งเน้นกระบวนการเสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั วิธกี ารเพาะปลกู
ให้ได้ผลผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ เน้นผลผลิต Green Food ไม่มีการใช้สารเคมี รวมทั้ง
การเพาะปลูกให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ี สภาพอากาศ ศักยภาพด้านการตลาด ความถนัด และ
ความต้องการของชาวบ้าน เช่น การคัดเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมสำ�หรับการเพาะปลูก
การท�ำ EM Ball การผลิตเช้ือไตรโคเดอรม์ า เพื่อควบคุมโรคเชือ้ ราโรคพชื เช่น รากเน่าโคนเน่า
โดยเกษตรอ�ำ เภอแกง่ กระจาน เปน็ ต้น

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 43
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

• ปศสุ ตั ว์ ส�ำ รวจและพจิ ารณาความเหมาะสม ประเภทและรปู แบบทเ่ี หมาะสมกบั สภาพ
พื้นท่ี และความต้องการของชาวบ้าน ท่ีต้องไม่มีผลกระทบต่ออุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
โดยผลสรุปประเภทการเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ สุกรพันธุ์เหมยซาน ไก่พันธุ์พ้ืนเมือง และเป็ดเทศ
โดยมีการบริหารจดั การในรูปกองทุน
• ประมง สำ�นักงานประมงอำ�เภอแก่งกระจานดำ�เนินการตรวจสอบสภาพแหล่งน้ำ�
ในพ้ืนท่ีเพื่อปล่อยพันธุ์ปลาที่เหมาะสมให้ขยายพันธุ์ในพ้ืนท่ีกลางน้ำ�และปลายนำ้�ต่อไป มีการ
ปลอ่ ยพันธ์ปุ ลาแลว้ ๒ ครงั้ รวม ๒๐๐,๐๐๐ ตัว ไดแ้ ก่ ปลาจาด ปลาพวง ปลาสร้อยนกเขา
ซึง่ เป็นปลาพันธ์พุ ื้นถิน่ และปลอ่ ยพันธ์ุปลาพ้ืนถิน่ ประเภทกนิ พชื อกี ๕๐,๐๐๐ ตัว ตามบอ่ พวง
ในพ้ืนท่ีเพ่ิมเติม เช่น ปลาจีน ปลายี่สก ปลานิล ปลาตะเพียน เป็นต้น เพื่อเสริมศักยภาพ
แหล่งอาหารให้กับชาวบ้าน นอกจากน้ี ยังสนับสนุนพันธ์ุปลาและพันธ์ุกบให้อุทยานแห่งชาติ
แก่งกระจานมอบใหช้ าวบ้านน�ำ ไปขยายพนั ธ์ุตอ่ ไป
• ประเพณีวัฒนธรรม รักษาความสัมพันธ์กับผู้นำ�ทางจิตวิญญาณในพ้ืนที่ เป็นการ
ให้ความเคารพ ให้เกียรติและให้ความสำ�คัญ รับรองการเป็นผู้นำ�ชาวบ้านสำ�หรับการพัฒนา
ในอกี ทางหนง่ึ ส่งเสรมิ และอนุรักษ์ประเพณวี ฒั นธรรมของชาวบา้ นในพืน้ ทโ่ี ดยจดั พิธีวางแมข่ า้ ว
เมือ่ วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ท่ีแปลงนาของนายทองดี ชายา บริเวณดา้ นหลงั แปลงเกษตร
ทดลองบ้านบางกลอย ซึ่งเป็นพิธีที่ทำ�ช่วงก่อนการปลูกข้าว เพ่ือบอกกล่าวขอให้พระแม่โพสพ
ช่วยดูแลข้าวที่กำ�ลังจะปลูกให้เจริญงอกงามดี ส่วนใหญ่ชาวบ้านจะเริ่มปลูกข้าวในเดือน ๘
และวนั ท่ีเหมาะในการท�ำ พธิ คี ือ วันจันทร์ พธุ ศุกร์ ท่ีตรงกับวันขา้ งขึน้
• อนุรักษ์สัตว์ป่า รณรงค์อย่างจริงจังในการห้ามล่าสัตว์ป่าเด็ดขาด โดยให้ชาวบ้าน
ช่วยกันควบคุม ดูแลกันเอง ควบคู่กับการตรวจสอบสถิติสัตว์ป่าท่ีตาย หรือซากสัตว์ป่าท่ี
ตรวจพบ ซ่งึ ใชเ้ ป็นตัวชีว้ ัดได้ทางหน่ึง ท�ำ ใหม้ ีรอยเท้าสตั วป์ า่ เชน่ เก้ง กวาง หมูปา่ มาปรากฏ
ในพื้นทเี่ พาะปลูกของชาวบา้ น นอกจากนอ้ี ุทยานแหง่ ชาติแกง่ กระจาน ร่วมกบั สถาบนั ส่งเสริม
และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลงั พระฯ ยงั ทำ�การส�ำ รวจพ้ืนทใ่ี ชป้ ระโยชนข์ องสัตวป์ า่ เพ่อื ศกึ ษา
และวิเคราะห์ น�ำ ไปใช้เป็นตวั ช้วี ัดความสำ�เร็จ ในการหาแนวทางทเี่ หมาะสมใหส้ ัตวป์ ่าสามารถ
ดำ�รงชวี ิตร่วมกับชาวบ้านในพ้นื ท่ีได้

44 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการพัฒนาแกม้ ลงิ หนองเลงิ เปอื ยอนั เนอื่ งมาจาก
พระราชด�ำ ริ จังหวัดกาฬสินธ์ุ

คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำ�ริมีมติเม่ือวันท่ี ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ เห็นชอบความร่วมมือระหว่างกองทัพบก
กับสถาบันฯ ในการดำ�เนินโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ
เพื่อสร้างต้นแบบการประยุกต์แนวพระราชดำ�ริ “แก้มลิง” ให้เกิดประโยชน์เต็มศักยภาพ
เพื่อแก้ไขปัญหาให้กับราษฎรในพ้นื ทจี่ ังหวัดกาฬสินธุ์ รว่ มกับอกี ๖ หน่วยงาน คือ ส�ำ นกั งาน
คณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ (กปร.) มูลนิธิ
อุทกพัฒน์ในพระบรมราชูปถัมป์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส�ำ นักงานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ
(องค์การมหาชน) หรือ Gistda โดยปิดทองหลังพระฯ เป็นผู้ประสานความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงานทง้ั หมด
โครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เร่ิมต้นอย่างเป็น
รปู ธรรม เมอื่ วันที่ ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๖ หลังจากจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ แต่งตัง้ คณะกรรมการอ�ำ นวย
การระดับจังหวัด ซ่ึงมี ผอ.กอ.รมน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ เป็นประธานกรรมการและหัวหน้าส่วน
ราชการระดับจงั หวดั ที่เกยี่ วขอ้ งทั้งหมดเป็นกรรมการ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 45
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

พร้อมทั้งคณะทำ�งานดำ�เนินงานโครงการฯ ในพื้นที่ ๒ คณะ คือ คณะทำ�งานด้าน
ระบบน้ำ� ประกอบดว้ ยผู้แทนจากสำ�นกั งานโครงการชลประทานท่ี ๖ และสำ�นกั กิจกรรมพเิ ศษ
กรมชลประทาน ส�ำ นกั งานทรพั ยากรนำ้� ภาคท่ี ๔ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในพ้ืนท่ี ก�ำ นนั
ผใู้ หญบ่ า้ น ส�ำ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (Gistda) มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
และสถาบันสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
คณะท่ี ๒ คือ คณะทำ�งานดา้ นงานมวลชน มนี ายอ�ำ เภอรอ่ งค�ำ และนายอ�ำ เภอกมลาไสย
เป็นประธานร่วมคณะทำ�งาน ประกอบด้วย ปลัดอำ�เภอ พัฒนาการอำ�เภอ เกษตรอำ�เภอ
ปศุสัตว์อำ�เภอ ประมงจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นท่ี กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน และ
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ มีการดำ�เนินกิจกรรม ๗ เรื่อง ได้แก่ การสร้างความเข้าใจ
สรุปผลการจัดเวทีสร้างความเข้าใจ สรุปการสำ�รวจข้อมูลเศรษฐกิจ สังคม จัดประชุมคืน
ข้อมูลให้ชาวบ้าน การดำ�เนินงานของกรมท่ีดิน การแถลงข่าวเกี่ยวกับโครงการพัฒนาแก้มลิง
หนองเลิงเปือยฯ กิจกรรมการพัฒนาของ ๖ กองพันทหารช่างและการลงพื้นท่ีปฏิบัติงาน
ของทหารหนว่ ยปฏิบตั ิการจิตวิทยา

46 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

กจิ กรรมการสรา้ งความเขา้ ใจ มที งั้ การสรา้ งความเขา้ ใจกบั หนว่ ยงานราชการระดบั อ�ำ เภอ/
จงั หวัด เพอื่ วางแนวทางการทำ�งานและจดั ทำ�แผนปฏบิ ัติ และการสร้างความเขา้ ใจกบั ชาวบา้ น
ท้ังเวทีท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพ่ือสอบถามความคิดเห็นของชาวบ้านและชักชวน
ให้ชาวบ้านมีความเขา้ ใจและมสี ว่ นรว่ มตลอดกระบวนการพัฒนา
ผลการจัดเวทสี รา้ งความเขา้ ใจแกช่ าวบ้าน ๕๓ หมบู่ า้ น ๑๕ ครง้ั แตล่ ะครง้ั มชี าวบา้ น
เข้าร่วมเฉลี่ยร้อยละ ๗๘.๓๓ จาก ๔,๗๕๓ ครัวเรือน และมีมติเห็นชอบให้ดำ�เนินการ
เป็นเอกฉันท์ทุกคร้ัง โดยรูปแบบการดำ�เนินงาน มีการปรับตามลักษณะภูมิสังคมและลักษณะ
ทางประชากรศาสตร์ คือ ใหช้ าวบ้านเป็นผู้ก�ำ หนดเวลาท่พี รอ้ มใหร้ าชการเข้าไปท�ำ ความเขา้ ใจ
ก่อนจดั เวทีฯ ทีมปฏิบตั ิการพืน้ ที่จะตอ้ งท�ำ ความเข้าใจบรบิ ทชมุ ชนก่อน โดยศึกษาข้อมลู ลงไป
ดใู หเ้ หน็ กบั ตา และท�ำ ความเขา้ ใจเบอื้ งตน้ กบั ก�ำ นนั ผใู้ หญ่ บา้ น เพอ่ื สรา้ งกระบอกเสยี งทส่ี �ำ คญั
บอกตอ่ ชาวบ้านไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
มกี ารปรบั รปู แบบเวทตี ามสถานการณ์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ชาวบา้ นและกลมุ่ เปา้ หมาย
ซึง่ มีรูปแบบทไ่ี มต่ ายตวั เชน่ ให้ชาวบ้านเปน็ คนต้ังคำ�ถามท่สี งสยั ราชการเป็นฝ่ายตอบ ในกรณี
ท่ีชาวบ้านมีพื้นฐานความรู้อยู่แล้ว เป็นต้น ใช้ส่ือช่วยในการสร้างความเข้าใจ ท้ังคลิปเสียง
วีดทิ ศั น์ เปน็ ต้น และหลังจบเวที ทีมปฏบิ ตั ิงานจะลงพื้นทก่ี ระตุ้นความเขา้ ใจอยา่ งตอ่ เน่อื ง
การส�ำ รวจข้อมลู เศรษฐกจิ สังคม โดยคณะทำ�งานเก็บขอ้ มูลระดับต�ำ บล ๔ คณะ รว่ มกบั
จติ อาสาในหมบู่ ้าน ๓๗๖ คน ในปี ๒๕๕๖ สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ได้แล้วเสรจ็ ๔,๐๐๖ หลงั คาเรอื น
คิดเปน็ ร้อยละ ๘๔.๓ จากจ�ำ นวนหลงั คาเรอื นท่อี ยจู่ รงิ ใน ๕๓ หมู่บา้ น ๔,๗๕๓ หลงั คาเรือน

สรปุ สำ�รวจขอ้ มลู เศรษฐกจิ สังคม ๗ ลุม่ น้�ำ

จ�ำ นวนหลงั คาเรียน ผลส�ำ รวจ

ช่อื ล่มุ น�้ำ ทัง้ หมดตาม จำ�นวนตาม บ้านร้าง/ สถานที่ ไมร่ ว่ ม จ�ำ นวนคง คิดเป็น จ�ำ นวน คดิ เป็น
ทะเบียน ทอี่ าศัยอยู่ ไมม่ ผี อู้ าศัย/ ราชการ โครงการฯ เหลือ % ส�ำ รวจ %
ราษฎร์ เสร็จ
จริง ทำ�งานนอก ส�ำ รวจ
พน้ื ท่ี

ลมุ่ น้�ำ หว้ ยนาเรียง ๒๖๗ ๒๓๗ ๒๖ ๔ ๒๓๗ ๑๐๐.๐ ๐ ๐.๐
ลุ่มนำ�้ หว้ ยขี้นาค ๕๗๕ ๔๖๒ ๑๐๙ ๔ ๔๖๒ ๑๐๐.๐ ๐ ๐.๐
ลุ่มน�้ำ หว้ ยอคั คะ ๓๙๑ ๓๑๘ ๖๗ ๖ ๓๑๘ ๑๐๐.๐ ๐ ๐.๐
ลุม่ น�ำ้ หนองเลงิ เปือย ๑,๙๔๕ ๑,๕๕๒ ๓๗๕ ๑๕ ๓ ๑,๔๓๕ ๙๒.๕ ๑๑๗ ๗.๕
ลุ่มน้ำ�ห้วยทราย ๑,๗๕๖ ๑,๒๐๘ ๕๓๔ ๑๔ ๗๘๕ ๖๕.๐ ๔๒๓ ๓๕.๐
ลมุ่ นำ�้ ลำ�ปาว ๖๐๗ ๕๕๐ ๔๘ ๙ ๕๐๖ ๙๒.๐ ๔๔ ๘.๐
ลุม่ น้�ำ ชตี อนล่าง ๔๗๘ ๔๒๖ ๔๙ ๓ ๒๖๓ ๖๑.๗ ๑๖๓ ๓๘.๓
รวม ๖,๐๑๙ ๔,๗๕๓ ๑,๒๐๘ ๕๕ ๓ ๔,๐๐๖ ๘๔.๓ ๗๔๗ ๑๕.๗

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 47
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การจัดประชุมคืนข้อมูลให้ชาวบ้าน เมื่อวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ มีชาวบ้าน
เขา้ ร่วม ๘๗๒ คน หนว่ ยงานราชการ ๘๕ คน ไดข้ ้อสรุปวา่ จะดำ�เนินการขุดลอกหนองเลงิ เปือย
๘๘๗ ไร่ โดยขุดลึก ๓ เมตร ทำ�ชานพัก ๔ เมตร และขุดลึกไปอีก ๓ เมตร รวมท้งั การท�ำ
ความเข้าใจว่า ประโยชน์ท่ีชาวบ้านจะได้รับจากการดำ�เนินงานโครงการฯ คือ มีปริมาณน้ำ�
เพม่ิ ขึน้ ส�ำ หรบั ทำ�เกษตรจาก ๓.๕ เป็น ๖.๘ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี พื้นท่ี ๕,๒๐๐ ไร่ มีน้ำ�ใช้
สำ�หรับการเพาะปลูก พ้ืนที่หนองเลิงเปือย ปลาวางไข่ได้และส่งเสริมการเล้ียงปลาในกระชัง
๒๒ ไร่ พื้นท่ี ๑,๐๗๕ ไร่ ได้รับการบรรเทาน�ำ้ ทว่ มซ�ำ้ ซาก สถานพี ฒั นาท่ดี ินจะส่งเสริมปรับปรุง
ดนิ ด้วยปอเทือง ตรวจดนิ ทกุ แปลงเพื่อจัดทำ�ปยุ๋ สั่งตดั ท่ีเหมาะสมกบั พืชทจ่ี ะปลกู
ทงั้ นี้ รปู แบบการพฒั นาจะเรม่ิ ตน้ จากการพฒั นาจติ ใจของคนกอ่ น โดยใชห้ ลกั พทุ ธศาสนา
เพ่ือปรับทัศนคติ วิธีคิด การทำ�งานอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ให้พัฒนาแบบพึ่งพาตนเอง พ่ึงพา
กันเอง (รวมกล่มุ ) การเพม่ิ เครือข่าย และยกระดับฐานการเรียนร้ผู ่านกิจกรรมทางการเกษตรท่ี
เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี โดยการประยุกต์แนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ในพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ ัว
• กิจกรรมการพัฒนา เร่ิมต้นโดยสำ�นักงานท่ีดินจังหวัดกาฬสินธุ์ ดำ�เนินการสำ�รวจ
และรกั ษาต�ำ แหนง่ ท่ีดิน โดยใช้เครอ่ื งรับสัญญาณดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GPS) ระหว่างวนั ท่ี
๒๕ พฤศจิกายน-๓ ธันวาคม ๒๕๕๖ เพ่ือสำ�รวจแนวเขตการครอบครองของชาวบ้านและ
ชน้ั ระดบั ความสงู ของภมู ิประเทศ และเพ่ือจดั ทำ�ค่าพกิ ัดลงในตำ�แหนง่ แปลงท่ีดิน (Re-Locate)
ท่ีชัดเจนภายหลังการถมดิน และ GISTDA จะประมวลปริมาณและทิศทางการไหลของนำ้�
ตามปรมิ าณจากขอ้ มลู ของกรมทดี่ นิ พรอ้ มทงั้ เสนอระดบั ความสงู ในการถมดนิ ใหท้ หารพจิ ารณา
ท�ำ งานตอ่ ไป

48 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

• ทหารหน่วยปฏิบัติการจิตวิทยา ร่วมกับเจ้าหน้าที่สถาบันฯ และ อสพ. มีการ
ประชาสมั พนั ธส์ รา้ งความเขา้ ใจอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผ่านระบบเสียงไร้สาย ของ อบต.สามัคคี และฝึก
อบรมนกั เรียน ร.ร.กุดลงิ วิทยาคม ต.รอ่ งคำ� อ.ร่องคำ� เกี่ยวกับความมีระเบียบวินัย ความรัก
ความสามัคคีภายในหมู่คณะ ความจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์ และการป้องกันแก้ไขปัญหา
ยาเสพติดในสถานศึกษาและในชุมชน จัดรายการวิทยุทางสถานีวิทยุชุมชนคนฮักห่มม่วง
คนโพนงาม ระบบ FM คล่นื ความถ่ี ๙๐.๐ MHz รายการ “รกั บ้านเรา”
• กองทัพบก โดยกองทัพภาคท่ี ๒ และกรมการทหารช่าง เร่ิมเข้าพ้ืนที่ตั้งแต่วันท่ี
๒๒ พฤศจิกายน. ๒๕๕๖ เพื่อขดุ ลอกหนองเลิงเปอื ยลึก โดยกำ�ลงั พล ๖ กองพนั ประกอบด้วย
กองพันทหารชา่ งที่ ๒๐๒ กองพนั ทหารชา่ งที่ ๒๐๑ กองพนั ทหารชา่ งที่ ๓ กองพนั ทหารชา่ งที่ ๖
กองพันทหารช่างท่ี ๑๑๑ และกองพันทหารช่างเคร่ืองมือพิเศษ รวมปริมาณดินที่ต้องขุดลอก
ทัง้ หมด ๔,๙๐๕,๖๑๖ ลบ.ม.
• กระบวนการขุดลอก เป็นไปตามขั้นตอน คอื แบ่งพ้ืนที่ขุดเปน็ ๖ โซน ถมกั้นคันดนิ
เป็นเส้นทางล�ำ ลองไปยังพน้ื ที่ขุดเพอื่ ใหเ้ ครื่องจกั รเข้าพน้ื ทีไ่ ด้ ทำ�คันดนิ กั้นและสูบน้ำ�ออกไปพัก
ไว้แตล่ ะโซน เตรยี มพน้ื ที่ ไดแ้ ก่ การถากถางวัชพืช ขนยา้ ยวัชพชื เปดิ หนา้ ดิน พร้อมปรับเกลย่ี
ขุดดินให้ไดร้ ะดับตามแบบ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 49
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการบรู ณาการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาพน้ื ท่ี
จังหวัดอทุ ัยธานี

โครงการพ้ืนที่ต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนที่ ตำ�บลแก่นมะกรูด
อำ�เภอบ้านไร่ จงั หวดั อุทัยธานี ตามแนวพระราชดำ�ริ เปน็ ความร่วมมอื ระหว่างสถาบนั ส่งเสรมิ
และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อทุ ยั ธานี
และจงั หวดั อุทยั ธานี
คณะท�ำ งานโครงการฯ ซงึ่ แตง่ ตง้ั โดยค�ำ สง่ั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั อทุ ยั ธานี ลงวนั ท่ี ๘ มนี าคม
๒๕๕๖ มีจำ�นวน ๔ คณะ ร่วมกันบูรณาการทำ�งานในพ้ืนท่ี ประกอบด้วย คณะทำ�งานด้าน
การกำ�หนดแนวเขตท่ีดิน มีผู้อำ�นวยการสำ�นักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด
อทุ ยั ธานี เปน็ หวั หนา้ คณะ คณะท�ำ งานดา้ นบรหิ ารจดั การน�ำ้ มนี ายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั
อทุ ยั ธานี เป็นหัวหน้าคณะ คณะทำ�งานด้านการเกษตรและพฒั นาอาชีพ มเี กษตรและสหกรณ์
จงั หวดั อทุ ยั ธานี เป็นหวั หนา้ คณะ และทีมปฏบิ ัตงิ านระดับพื้นท่ี มีนายอำ�เภอบา้ นไรเ่ ปน็ หวั หน้า
ทีมปฏิบตั งิ าน

50 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ


Click to View FlipBook Version