The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2556

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong1, 2022-01-21 01:06:35

รายงานประจำปี 2556

รายงานประจำปี 2556

Keywords: รายงานประจำปี 2556

โดยรูปแบบความร่วมมือระหว่างสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ
กับองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั อุทัยธานี องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลบ้านไร่ และหน่วยงานราชการ
จังหวัดอุทัยธานี เริ่มต้นจากการให้เจ้าหน้าท่ีองค์การบริหารส่วนจังหวัด และพนักงานจ้าง
เขา้ รว่ มเรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ิงาน เปน็ ทีมปฏบิ ัตงิ านแกน่ มะกรูดร่วมในทุกคณะทำ�งานของจังหวดั
การสำ�รวจข้อมูลเศรษฐกิจสังคม โดยทมี ปฏิบัติงานระดบั พืน้ ท่ี ซ่งึ มีคนในหมู่บา้ น เช่น
ครูพ่ีเลี้ยงเด็กเล็ก สาธารณสุขตำ�บล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน และเยาวชน
ให้ความร่วมมือเป็นทีมปฏิบัติงานสอบถามข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์รายหลังคาเรือน สรุปผล
การส�ำ รวจว่า ต�ำ บลแก่นมะกรดู ประกอบด้วย ๔ หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ หมู่ ๑ บ้านใต้ หมู่ ๒ บ้าน
คลองเสลา หมู่ ๓ บ้านใหม่คลององั วะ และหมู่ ๔ บา้ นอีมาด-อีทราย มที งั้ หมด ๔๐๓ หลังคา
เรือน ประชากรทั้งสนิ้ ๑,๕๐๓ คน ในจำ�นวนน้ี มี ๒๕ ครัวเรือนไมใ่ ห้ส�ำ รวจ เนื่องจากไม่สนใจ
เข้าร่วมโครงการ มีการแบ่งพื้นท่ีหมู่บ้านและพื้นที่เกษตรอย่างชัดเจน ประชากรส่วนใหญ่เป็น
ชาวเขากะเหรี่ยงโปว์ นับถือศาสนาพุทธและผี มีความสัมพันธ์ลักษณะเครือญาติ ไม่นิยม
เดินทางออกไปทำ�งานนอกหมู่บ้าน ประเพณีที่สำ�คัญ ได้แก่ กินข้าวใหม่และเรียกขวัญข้าว
พิธไี หว้แมโ่ พสพ ขอขมาปูย่ า่ ตายาย บูชาตน้ โพธต์ิ น้ ไทร พิธีตากผ้าทอใหม่ เป็นตน้
ประชากร แบ่งเปน็ ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มดา้ ยเหลือง ผูกข้อมือทัง้ สองข้างด้วยดา้ ยเหลอื ง
ในอดีตจะไม่ดื่มเหล้าหรือกินสัตว์ท่ีเล้ียงตามบ้านหรือซื้อมาจากตลาด จะกินเฉพาะท่ีหาได้
จากป่า และกลุ่มกินนำ้�ต้มสุก ท้ังสองกลุ่มมี เจ้าวัด เป็นผู้นำ�ทางจิตวิญญาณและผู้นำ�ใน
การประกอบพิธีกรรม ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่วนใหญ่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ข้าวโพด
มันส�ำ ปะหลงั มะละกอ

หมู่บา้ น

ประเภทขอ้ มลู บ้ามน.๑ใต้ บ้านคมล.อ๒งเสลา คบล้าอมนง.ใอ๓หงั มวะ่ บแลา้ นะคอมุ้ีมมบาด.้า๔น-อเจที า้รวาัดย รวม

จำ�นวนหลังคาเรือน ๕๑ ๙๙ ๑๒๗ ๑๒๖ ๔๐๓
ครอบครวั ๗๔ ๑๓๑ ๑๖๓ ๑๔๕ ๕๑๓
ประชากร ๒๒๔ ๔๓๒ ๖๐๒ ๕๔๕ ๑,๘๐๓
ประเภทค่าใช้จ่าย* ๑๐,๐๕๘,๙๓๒ ๑๘,๓๓๙,๔๐๑ ๒๘,๖๑๔,๕๕๕ ๒๓,๓๕๓,๕๐๗ ๘๐,๓๖๖,๓๙๕
ประเภทของรายได*้ ๘,๒๕๗,๐๙๑ ๑๖,๙๙๔,๒๒๖ ๒๗,๘๑๒,๖๕๕ ๒๕,๔๑๒,๘๖๗ ๗๘,๔๗๖,๘๓๙
มลู คา่ ทรัพย์สินทั้งหมด* ๗,๓๗๔,๕๓๐ ๒๘,๐๒๓,๘๕๕ ๔๓,๐๐๒,๔๕๘ ๔๐,๐๘๖,๔๘๗ ๑๑๘,๔๘๗,๓๓๐
ประเภทหนีส้ ินของครวั เรอื น* ๕,๒๔๘,๓๐๐ ๑๑,๕๑๗,๗๒๐ ๑๙,๔๔๖,๙๙๐ ๑๕,๓๗๓,๓๒๘ ๕๑,๕๘๖,๓๓๘
การออมทรพั ย์/แหลง่ การออม* ๕๔๔,๘๙๒ ๕๖๕,๑๕๐ ๕,๔๗๕,๖๑๘ ๑,๙๐๘,๐๗๐ ๘,๔๙๓,๗๓๐

*หนว่ ย : บาท

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 51
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

จากการส�ำ รวจในเดอื นพฤษภาคม ๒๕๕๖ พบวา่ ชาวบา้ นทน่ี ม่ี รี ายจา่ ยสงู ถงึ ๘๐,๓๖๖,๓๙๕
บาท เปน็ รายจา่ ยเพอ่ื การบรโิ ภค เพอ่ื การประกอบอาชพี (เงนิ ลงทนุ ทางการเกษตร) และคา่ ใชจ้ า่ ย
เพื่อการค้าขาย ๓ อันดับแรกเหมือนกันทุกหมู่บ้าน ซึ่งสะท้อนว่ามีลักษณะเป็นชุมชนที่ซ้ืออยู่
ซ้ือกิน รายจ่ายทีเ่ ปน็ ตน้ ทนุ เพอื่ การเกษตรมากเปน็ อันดับสอง สะทอ้ นว่าการท�ำ เกษตรในพืน้ ที่
มตี ้นทนุ การผลิตค่อนข้างสูง จ�ำ เป็นต้องหาซือ้ ปัจจัยการผลติ เกอื บทกุ อย่าง
มรี ายได้ ๗๘,๔๗๖,๘๓๙ บาท จากอาชีพ ๓ อนั ดบั แรก คอื การเกษตร การรบั จ้างและ
การค้าขาย
พืชเกษตรที่สร้างรายได้มากที่สดุ คอื ขา้ วโพด มนั สำ�ปะหลงั และมะละกอ ตามลำ�ดบั
ซ่ึงเป็นพืชเชิงเดี่ยวทั้งส้ิน รายได้จากการรับจ้างเป็นการรับจ้างในภาคการเกษตร เช่น รับจ้าง
ไถพรวน ฉดี พน่ สารเคมี เกบ็ เก่ยี ว เปน็ ต้น
ทรพั ย์สนิ ที่มีมูลค่ามาก ๓ อันดับ ไดแ้ ก่ ทอ่ี ยู่อาศัย เคร่ืองจกั รการเกษตร ยานพาหนะ
รวมเปน็ มลู ค่า ๑๑๘,๔๘๗,๓๓๐ บาท แต่ทรัพยส์ นิ ดงั กลา่ ว ไม่ใช่ตวั บ่งช้ีแสดงถึงความร่�ำ รวย
เพราะยังติดภาระหนี้สินอยู่ และอาจทำ�ให้แนวโน้มหน้ีสินในอนาคตเพิ่มข้ึน ขณะท่ีพบว่า
หนี้สินทั้งหมดของชุมชน รวมท้ังส้ิน ๕๑,๕๘๖,๓๓๘ บาท เกิดจากบริษัทขายสินค้าเงินผ่อน
สถาบันการเงนิ /ธนาคาร และนายทุน/กองทุนเงินลา้ น โดยเงินกู้จากบริษทั เงนิ ผอ่ น เป็นการกู้
เพอื่ ซื้อทรพั ยส์ นิ เชน่ รถไถพรวน เครือ่ งมือทางการเกษตร เครอ่ื งใช้ในบ้าน การกู้จากสถาบนั
การเงิน/ธนาคาร เป็นการกู้ลงทุนประกอบอาชีพเกษตรกรรม แหล่งกู้ใหญ่ คือ ธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร (ธ.ก.ส.) ซงึ่ เป็นการกทู้ ีอ่ าจเกดิ ข้ึนไดท้ กุ ปี หรือตามรอบ
การผลิต เพอ่ื ซ้อื ปจั จยั การผลติ เช่น เมล็ดพันธ์ุ ปุย๋ สารเคมี น้ำ�มนั เชอ้ื เพลงิ เปน็ ตน้ และ
จะใช้หน้ีเมื่อมีการขายผลผลิตหรือตามระยะเวลาการกู้ ส่วนการกู้จากแหล่งเงินทุนนอกระบบ
หรือกองทนุ เงนิ ลา้ น เปน็ การกูเ้ พิม่ เติมเพอื่ สมทบเงินลงทนุ ในการประกอบอาชพี กรณเี งนิ ลงทนุ
ไมเ่ พียงพอ หรือเปน็ การกกู้ นิ กู้ใช้ เปน็ เงินหมุนเวียนในครัวเรือน ทั้ง ๔ หมบู่ า้ น มียอดเงินออม
น้อย เพียง ๘,๔๙๓,๗๓๐ บาท น้อยกว่ามลู คา่ หนสี้ ินทมี่ ีอยูใ่ นชมุ ชนถงึ ๖ เทา่
การส�ำ รวจขอ้ มลู เศรษฐกจิ สงั คมของต�ำ บลแกน่ มะกรดู สามารถเชอื่ มโยงสาเหตทุ ค่ี าดวา่
เป็นปัญหาของชุมชนได้ว่า การท่ีชาวบ้านส่วนใหญ่มีเคร่ืองจักรการเกษตร เช่น รถไถพรวน
ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง เครื่องฉีดพ่นสารเคมี เครื่องสีข้าวโพด ฯลฯ ทำ�ให้เกิดภาระหน้ีสิน
เน่ืองจากต้องการความสะดวกสบาย และให้ทำ�การเพาะปลูกได้ตรงตามฤดูกาล วิธีการซื้อ
เงนิ ผอ่ นกบั บรษิ ทั ขายรถไถ หรอื บรษิ ทั ขายผอ่ นสนิ คา้ ช�ำ ระคา่ งวดเปน็ รายปดี ว้ ยรายไดจ้ ากการ
ขายผลผลิตในแต่ละรอบ ซ่ึงหากรายได้ไม่เพียงพอชำ�ระหนี้ได้หมด ก็จะต้องกู้จากแหล่งอ่ืน
มาใช้หนี้ หรือเร่งให้ได้ผลผลิตมากข้ึนด้วยการเพ่ิมปุ๋ย สารฉีดพ่น หรือขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูก
ใหม้ ากขึน้

52 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

การสำ�รวจแนวเขตพืน้ ทท่ี ำ�กิน โดยทมี ปฏิบตั ิงาน ประกอบดว้ ย อ�ำ เภอบ้านไร่ องคก์ าร
บริหารส่วนจงั หวัดอทุ ยั ธานี องค์การบริหารสว่ นตำ�บลบา้ นไร่ เขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ป่าหว้ ยขาแข้ง
สถานีควบคุมไฟป่าบ้านไร่ มูลนิธิสืบนาคะเสถียร กรมทหารพรานท่ี ๕๓ (อีมาด-อีทราย)
กำ�นัน/ผู้ใหญ่บ้านและสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ เพ่ือให้ทราบแนว
เขตพน้ื ทที่ �ำ กิน ขนาดพ้นื ที่ ผคู้ รอบครองทเี่ ปน็ จริง สำ�หรบั ใชแ้ กไ้ ขปัญหาการบกุ รกุ ปา่ และน�ำ
ขอ้ มลู ทไ่ี ดไ้ ปวางแผนเชอ่ื มโยงมติ กิ ารพฒั นาดา้ นอน่ื ๆ เชน่ การบรหิ ารจดั การน�ำ้ การปรบั ปรงุ ดนิ
การวางแผนการเกษตร การปลูกป่าเศรษฐกิจเสริมเป็นรายได้สู่ความยั่งยืน ปัญหาการออก
เอกสารสิทธิ สรปุ วา่ มพี นื้ ทที่ ำ�กนิ ทั้งหมด ๑๔,๘๗๔ ไร่ ๑,๐๘๗ แปลง ผ้คู รอบครอง ๗๔๐ ราย
ดังน้ี หมู่ ๑ บ้านใต้ ผู้ครอบครอง ๑๕๓ ราย ๒๑๓ แปลง พ้ืนท่ี ๒,๘๓๐ ไร่ หมู่ ๒ บ้านคลอง
เสลา ๑๘๙ ราย ๒๖๙ แปลง ๓,๔๙๖ ไร่ หมู่ ๓ บา้ นใหมค่ ลองอังวะ ๒๐๕ ราย ๓๐๙ แปลง
๓,๕๒๖ ไร่ หมู่ ๔ บา้ นอมี าด-อที ราย ๑๙๓ ราย ๒๙๖ แปลง ๕,๐๒๒ ไร่ มีแปลงทต่ี รวจยึด
ดำ�เนินคดี (ต้ังแต่ปี ๒๕๔๗-ปัจจุบัน) ๙๒ คดี ๑๐๖ แปลง พื้นที่ ๒๙๗-๒-๓๑ ไร่
หรอื ร้อยละ ๒
การส�ำ รวจระบบน�ำ้ พบวา่ ในพนื้ ทมี่ ี ๑๙ ล�ำ หว้ ย มอี า่ งเกบ็ น�้ำ หว้ ยแมด่ นี อ้ ย เปน็ โครงการ
พระราชดำ�ริเพอื่ ความม่ันคง สรา้ งมาตัง้ แตป่ ี ๒๕๒๖ ความจุ ๒๕๐,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ส่งน้ำ�
โดยระบบทอ่ ใยหิน กระจายนำ�้ เข้าแปลงเกษตร บ้านใต้ หมู่ ๑ และบา้ นใหมค่ ลองอังวะ หมู่ ๓
ทำ�ให้มแี หลง่ นำ�้ ต้นทุนขนาดใหญ่ และมีลำ�หว้ ยบางสายมนี ำ้�ไหลตลอดปี สามารถพฒั นาใหเ้ หน็
รปู ธรรมตวั อยา่ งการบรหิ ารจดั การน�ำ้ จากทสี่ งู มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ โดยชาวบา้ นมสี ว่ นรว่ มวางแผน
ร่วมลงมอื ทำ� เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้สึกเปน็ เจ้าของ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 53
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มีการพัฒนาระบบน้ำ� ด้วยการซ่อมแซมทางระบายนำ้�ล้น หินเรียง และท่อส่งนำ้� อ่าง
เก็บน้ำ�ห้วยแม่ดีน้อย โดยงบประมาณจากกลุ่มงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
กรมชลประทาน และด�ำ เนนิ งานตามหลักโครงการประชาอาสา คือ กรมชลประทาน จดั ซอ้ื วัสดุ
และเกษตรกรเป็นผู้ออกแรงงาน ทำ�ให้เกดิ การมีสว่ นรว่ มระหว่างภาครฐั และประชาชน และเกิด
การช่วยดแู ลเอาใจใสอ่ าคารชลประทานในพ้ืนที่
นอกจากน้ี ยังมกี ารพัฒนาแหลง่ ตน้ น้�ำ ๓ ลำ�ห้วยที่มนี �ำ้ ไหลตลอดปี คอื ห้วยถ�้ำ น้ำ�ตก
ห้วยปองโพ่ หว้ ยโปรง่ โดยการสร้างฝายอนุรักษ์ ลดความเรว็ ของนำ�้ ให้ซึมลงบนใต้ดนิ ให้เกิด
ความชมุ่ ชน้ื ในพน้ื ท่ี และสรา้ งฝายเกษตรเพอ่ื เกบ็ กกั น�ำ้ ไวส้ �ำ หรบั การเกษตร โดยสง่ น�้ำ ผา่ นระบบ
ท่อส่งนำ้�ส่บู ่อพวงเพื่อกระจายน้ำ�เขา้ สพู่ นื้ ที่ท�ำ การเกษตร โดยไม่ตอ้ งเอาน้ำ�มันไปแลกน้ำ�
พ้นื ที่ลำ�หว้ ยต้นผึ้ง มกี ารสร้างฝายหินก่อ ๑ ตวั พรอ้ มตอ่ ทอ่ สง่ นำ้�ระยะทาง ๓๕๒ ม.
เขา้ ระบบส่งนำ�้ เดิม และปรับปรงุ ระบบเก็บกักน้ำ�ท่ีมีอยูเ่ ดมิ ในหมู่ ๑ บ้านใต้ และหมู่ ๓ บ้าน
ใหมค่ ลองอังวะ สามารถมนี ้�ำ อุปโภคและบรโิ ภค ๑๓๙ ครวั เรือน พอใช้ตลอดปี พน้ื ทลี่ �ำ ห้วย
ปองโพ่ มกี ารสรา้ งฝายอนุรักษ์ ๔ ตวั ฝายหินกอ่ ๑ ตัว ก�ำ หนดตำ�แหนง่ ขุดบอ่ พวง ๔ บอ่ และ
ตอ่ ระบบทอ่ ส่งนำ�้ ระยะทาง ๑,๑๔๐ เมตร จะมพี ้ืนที่รบั น�ำ้ ๒๒ ราย พนื้ ท่ี ๔๖๗ ไร่ และพนื้ ท่ี
ล�ำ ห้วยโปรง่ มีการสร้างฝายอนุรกั ษ์ ๑ ตัว ฝายหินก่อ ๑ ตวั กำ�หนดตำ�แหนง่ บอ่ พวง ๒ บอ่
และต่อระบบท่อส่งน�ำ้ ระยะทาง ๑,๔๑๖ เมตร จะมีพ้ืนทร่ี ับน้�ำ ๑๒ ราย พน้ื ท่ี ๔๐๗ ไร่

54 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลจากการพฒั นา สามารถส่งนำ�้ เพอ่ื อุปโภคและบรโิ ภคใหห้ มูท่ ่ี ๑ บ้านใต้ และหมทู่ ี่ ๓
บ้านใหมค่ ลองอังวะ ๑๓๙ หลังคาเรือน ๖๔๗ คน มีพื้นท่รี บั น้�ำ จากลำ�หว้ ยเข้าพื้นทีก่ ารเกษตร
ประมาณ ๘๗๔ ไร่ เม่ือรวมกับการปรับปรุงระบบส่งนำ้�อ่างเก็บนำ้�ห้วยแม่ดีน้อย ท่ีจะส่งนำ้�
เข้าพ้ืนท่ีการเกษตรได้อีก ๕๐๐ ไร่ จะมีพ้ืนที่เกษตรได้รับนำ้�จากการพัฒนาระบบนำ้� รวม
๑,๓๗๔ ไร่
คณะท�ำ งานดา้ นการเกษตรและสง่ เสรมิ อาชพี จะวางแผนการเกษตร ประมง และพฒั นา
อาชพี ตอ่ เนอื่ งจากการพฒั นาระบบน�ำ้ เพอ่ื ลดรายจา่ ย สรา้ งรายได้ โดยจดั ท�ำ รปู แบบการเกษตร
ซึ่งจะเลือกพืชที่ชาวบ้านต้องการ พร้อมคำ�นวณต้นทุน และประมาณการรายได้ โดยคำ�นึงถึง
แรงงานคนทีส่ ามารถทำ�ได้ด้วย เริ่มจากเกษตรกรท่สี นใจปรับเปล่ียนตัวเอง หมบู่ า้ นละ ๑๐-๒๐
รายกอ่ น เพอื่ เปน็ ตัวอย่างขยายผลสู่คนอื่นๆ ต่อไป
รูปแบบการเกษตรท่ีจัดไว้ มี ๓ รูปแบบ คือ ๑. ปลูกพืชตามระดับความสูงในพ้ืนท่ี
ลาดชัน (อาศัยนำ้�ฝนเท่านนั้ ) พน้ื ที่ ๒๐ ไร่ จดั ทำ�ระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้ำ�ตามล�ำ ดับชัน้ ความสูง
ชัน้ ที่ ๑ ปลกู พืชป้องกันการชะลา้ งพังทลายของหนา้ ดิน เช่น ไผ่ ช้นั ที่ ๒ ปลกู กล้วย เพอ่ื เพม่ิ
ความชมุ่ ชืน้ กบั ดิน ช้นั ท่ี ๓ ปลูกไมผ้ ล ไมย้ ืนต้น ช้นั ท่ี ๔ ปลูกพชื ทใ่ี ช้บรโิ ภคในครัวเรอื น เชน่
ข้าว พริก ชัน้ ที่ ๕ พืชไร่ ๒. ปลูกพืชผสมผสานแบบประณตี ในพื้นที่ลาดชนั นอ้ ย พ้นื ที่ ๕ ไร่
มีแหลง่ น้ำ�กระจายถึง โดยปลกู ไม้ผล ไม้ยืนตน้ มไี ม้แซมไม้ยนื ต้น ประเภทสมนุ ไพร และเสริม
ด้วยพืชผักเมืองหนาว และ ๓. เกษตรผสมผสาน ปลูกพืชร่วมกับการเล้ียงสัตว์ในพื้นท่ี
ลาดชนั นอ้ ย พนื้ ที่ ๕ ไร่ มแี หลง่ น�้ำ กระจายถงึ เนน้ พนื้ ทท่ี ม่ี สี ระในพนื้ ทเ่ี กษตร โดยมกี ารสนบั สนนุ
สุกร เปด็ ไข่ ปลานลิ และกบ เพมิ่ เตมิ ซึง่ จะมกี ารบูรณาการหน่วยงานเกษตรตา่ งๆ ถา่ ยทอด
ความรู้ให้เกษตรกรอย่างตอ่ เน่อื ง
ท้ังนี้ การดำ�เนินการในพื้นที่โครงการฯ จะเป็นไปตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความ
ร่วมมือในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และพัฒนาป่าไม้ ระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ และมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชด�ำ ริ ลงวนั ท่ี ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 55
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

พ้ืนท่ขี ยายผลปดิ ทองหลงั พระฯ จังหวดั เชียงใหม่

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ติดตามผลการเช่ือมโยงองค์ความรู้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่บ้านอมแรด อำ�เภอแม่แจ่ม พบว่า
การพฒั นาทก่ี อ่ เกดิ ประโยชน์แกป่ ระชาชน คือ โครงการอนรุ ักษแ์ ละฟ้ืนฟปู า่ ต้นนำ้� ดว้ ยการท�ำ
ฝายอนรุ กั ษช์ ว่ ยชะลอการไหลของน�้ำ ดกั ตะกอนดนิ เพมิ่ ความชมุ่ ชนื้ แกป่ า่ ตน้ น�้ำ โครงการฟน้ื ฟู
คณุ ภาพดนิ ชว่ ยลดการใช้ปุย๋ เคมลี งได้ สามารถปรับปรุงดินโดยวธิ ธี รรมชาตแิ ละลดการเผาได้
ทั้งยังฟื้นฟูหน้าดิน แต่ยังไม่มีความชัดเจนในเร่ืองความเหมาะสมของดินกับการเพาะปลูก
ขณะท่ีการพัฒนาระบบน้ำ� ยังไม่สามารถช่วยต่อยอดกิจกรรมปลูกข้าวได้เพียงพอตลอดปี
และทำ�ให้ผลผลิตสูงขึ้นได้ เพราะสระเก็บนำ้�อยู่ระหว่างการทดนำ�้ เพ่อื เกบ็ กกั ยังไมส่ ามารถน�ำ
น้�ำ เขา้ ระบบได้ และโครงการสง่ เสริมการเลีย้ งสุกรลกู ผสมเหมยซาน ยงั ไมส่ ามารถลดรายจา่ ย-
เพม่ิ รายไดเ้ สริมใหช้ าวบ้านได้ เนือ่ งจากยงั ขาดแคลนน้�ำ สะอาดในการเลีย้ งสุกร และยังมปี ัญหา
ขาดแคลนวัตถดุ ิบพืชอาหาร ทำ�ใหส้ ุกรมีสภาพร่างกายไม่สมบูรณ์ ขาดสารอาหาร

56 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในพนื้ ที่ ยงั มนี อ้ ย เนอื่ งจากชาวบา้ นยงั ไมม่ คี วามเขา้ ใจทช่ี ดั เจน
เรื่องบทบาทหน้าท่ี เครือข่ายและแกนนำ�อยู่ในระยะเริ่มต้น ยังไม่เข้มแข็งพอจะดำ�เนินการ
รว่ มกบั เจ้าหน้าที่ ในเร่อื งทช่ี าวบา้ นมคี วามเขา้ ใจไดด้ ี ยังไมส่ ามารถถา่ ยทอดความรูใ้ หค้ นอืน่ ได้
และไม่สามารถประยุกต์องค์ความรู้มาใช้ได้ การพัฒนาบางอย่างขัดกับความเช่ือของคน
พ้ืนถิน่ เช่น การทำ�คอกเลย้ี งสัตว์ ขดั กับความเชื่อของชาวปกากะญอ เปน็ ตน้ และในบางคร้ัง
ความตอ้ งการของชาวบ้านไม่สอดคล้องกบั หน่วยงาน

ส่วนพ้ืนที่บ้านปาง อำ�เภอไชยปราการนั้น ทีมปฏิบัติการอำ�เภอมีการดำ�เนินกิจกรรม
ตามแผน พัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ�ริท้ังหมด ๙ กิจกรรม ชาวบ้านปาง
ร้อยละ ๘๙ ทราบวา่ มกี ารดำ�เนินงานโครงการปดิ ทองหลงั พระฯ รอ้ ยละ ๖๗ ของผทู้ ที่ ราบวา่
มีโครงการฯ เข้าร่วมกิจกรรมโครงการฯ อย่างน้อย ๑ กิจกรรม โดยกิจกรรมท่ีมีผู้เข้าร่วม
มากที่สุด ๓ ลำ�ดับแรก ได้แก่ การสร้างฝายชะลอน้ำ�และการปลูกป่า การพัฒนาระบบน้ำ�
และการสง่ เสริมการปลกู พืช

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 57
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ทั้งนี้ ปัจจัยความสำ�เร็จเกิดจากความสอดคล้องของลักษณะกิจกรรมกับวิถีชีวิตของ
ชาวบ้าน ซึ่งมีความพร้อมในการดำ�เนินกิจกรรม ไม่ต้องใช้ความพยายามมากนัก รวมทั้งได้
ประโยชนโ์ ดยตรง เชน่ กจิ กรรมการส่งเสริมการปลกู พืช ความสำ�เร็จของกิจกรรม ชว่ ยท�ำ ให้
เกดิ การขยายผลตอ่ ทงั้ ในกจิ กรรมเดมิ และกจิ กรรมใหม่ เมอ่ื กจิ กรรมไดผ้ ลดี กอ่ ใหเ้ กดิ แรงกระตนุ้
ให้ชาวบ้านเข้าร่วมกิจกรรม การรวมกลุ่มดำ�เนินกิจกรรม ทำ�ให้มีพลัง เพราะสามารถแบ่งปัน
ข้อมูลและช่วยเหลือกันในกลุ่ม ความต่อเน่ืองของการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก ท้ังใน
ด้านงบประมาณ ความรู้ เทคโนโลยี และปจั จัยอ่ืนๆ
อย่างไรก็ตาม พบว่าปัญหาและอุปสรรคสำ�คัญในภาพรวม คือ การประสานงานและ
การสร้างความเข้าใจหลักการโครงการฯ ยังไม่ครบถ้วนในระยะแรก เนื่องจากความรีบเร่งใน
การดำ�เนินงาน กอปรกับระยะเวลาในการดำ�เนินโครงการยังน้อยมาก ทำ�ให้การประเมินผล
อาจเร็วเกินไป เช่น การพัฒนาระบบนำ้� การปลูกป่า หรือการสร้างฝาย อาจต้องใช้เวลาอีก
๓-๔ ปีจึงจะเห็นภาพชดั เจน
นอกจากนี้ ยังมีความซำ้�ซ้อนของกิจกรรมในโครงการฯ กับภาระงานของส่วนราชการ
ท่ีแม้จะเป็นภารกิจปกติของหน่วยงานราชการ แต่ขาดการบูรณาการร่วมกัน และเง่ือนไข
ในการใช้งบประมาณหรือทรัพยากรของทางราชการ ทำ�ให้กิจกรรมบางอย่างมีความล่าช้า
มีการอนุมัติงบประมาณเกือบทุกกิจกรรมในระยะเวลาไล่เลี่ยกัน ทำ�ให้ชาวบ้านบางคนที่อยาก
เข้ารว่ ม ไม่สามารถจดั เวลาเข้าร่วมได้ เป็นตน้

58 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการทุนเศรษฐกิจพอเพียง

มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ ยงั สรา้ ง “คน” ตั้งแตเ่ ยาวชน ดว้ ยการ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนท่ีมีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม และมีจิตอาสา ได้รับ

การพัฒนาศักยภาพ เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณภาพ มีคุณธรรม และมีจิตสำ�นึกในหน้าที่

การเป็นพลเมืองดี ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพร้อมทำ�ประโยชน์ให้กับชุมชน

สงั คม และประเทศชาติ ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาต่อในระดับปรญิ ญาตรี ด้วย “ทุนเศรษฐกจิ
พอเพียงของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ” ปัจจุบันมีนักเรียนทุน ๓ รุ่น
รวม ๔๘ คน จากโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒๐ แห่ง

กำ�ลังศกึ ษาอยูใ่ นสถาบนั อดุ มศกึ ษาต่างๆ ๒๘ แหง่ ทว่ั ทุกภาค

ในปี ๒๕๕๖ โครงการทนุ ฯ มกี ารจัดกจิ กรรมต่างๆ เชน่ กิจกรรมเสรมิ สรา้ งพ้ืนฐาน

จิตใจ หวั ข้อเร่ือง “ชีวติ กบั ความสุข ตามแนวทางของชาวพุทธ” ณ หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส
อินทปัญโญ กรุงเทพฯ และวัดญาณเวศกวัน จังหวัดนครปฐม เพ่ือได้เรียนรู้หลักคิดและแนว

ปฏิบัติในการพัฒนาชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา และศึกษาชุมชนวิถีพุทธแบบพอเพียงที่

ชุมชนปฐมอโศก แลกเปล่ียนเรียนรู้วิถีชีวิตการพัฒนายุวชนและได้เรียนรู้การเข้าใจผู้อ่ืน และ

ทดลองปฏิบัติภาวนาตามหลักอานาปานสติ ตลอดจนเรียนรู้หลักธรรมและการอยู่วัดปฏิบัติตน

แบบชาววัด

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 59
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

กิจกรรมเข้าค่ายช่วงปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน ณ พ้ืนท่ีต้นแบบและพ้ืนที่ขยายผล
จังหวัดน่าน เพื่อให้นักเรียนทุนมีความรู้และเข้าใจกระบวนการทำ�งานและพัฒนาพื้นที่ของ
ปดิ ทองหลังพระฯ ได้ศกึ ษาเรยี นรูว้ ิถีชวี ิต วัฒนธรรม ประเพณีท้องถน่ิ เรียนร้แู ละท�ำ ความเข้าใจ
หลักการแนวทางพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำ�ริ เรียนรู้และทำ�ความเข้าใจข้อมูลภูมิสังคม
ขอ้ มลู กายภาพ ทงั้ ๖ มติ ิ ขอ้ มลู เศรษฐกจิ และสงั คมของชมุ ชนทเ่ี ปน็ หมบู่ า้ นขยายผลของโครงการ
เพ่ือเข้าใจขัน้ ตอนการท�ำ งานตามกระบวนการ “เข้าใจ เขา้ ถงึ และพฒั นา” รวมทัง้ ได้รจู้ ักตัวตน
อุปนิสัยนิสัย ความถนัด ความสนใจของตนเองมากขึ้น เพื่อเป็นจุดเร่ิมต้นของการกำ�หนด
เปา้ หมายชีวติ ฯลฯ
ในปี ๒๕๕๖ โครงการทุนฯ ได้มอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนทุนรุ่นที่ ๓ จำ�นวน
๒๐ ทุน เมือ่ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องเทเวศร์ สำ�นักงานทรัพยส์ นิ ส่วนพระมหากษตั ริย์
โดย ดร.จริ ายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ประธานอนกุ รรมการธรุ กิจเพื่อสังคม (CSR)
ท้ังน้ี โครงการทุนฯ ได้รับการสนับสนุนเงินบริจาค รวมท้ังสิ้น ๒๔,๓๕๐,๐๐๐ บาท
จากมูลนิธิสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ๑๒ ล้านบาท มูลนิธิเอสซีจี ๕ ล้านบาท
ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จำ�กดั (มหาชน) ๕ ลา้ นบาท บรษิ ทั บางจากปิโตรเลยี ม จ�ำ กดั (มหาชน)
๒.๕ แสนบาท บรษิ ัท ผลติ ไฟฟ้า จ�ำ กดั (มหาชน) ๑ ลา้ นบาท บรษิ ทั ปตท. จ�ำ กดั (มหาชน)
๑ ลา้ นบาท และ บรษิ ทั ปตท.สำ�รวจและผลิตปโิ ตรเลยี ม จำ�กดั (มหาชน) ๑ แสนบาท

60 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการรากแก้ว

การสร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่อีกส่วนหน่ึง ยังดำ�เนินการโดยมูลนิธิรากแก้ว เพื่อส่งเสริม
การมีจิตอาสาและสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่นิสิต นักศึกษาผ่านการลงมือปฏิบัติจริง
ด้วยการให้นิสิต นักศึกษาลงพ้ืนที่สำ�รวจวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับชุมชนและวางแผนแก้ปัญหา
ของชุมชน โดยนำ�ความรู้และทรัพยากร ตลอดจนความเชี่ยวชาญของคณาจารย์มาพัฒนา
ร่วมกับชมุ ชน
ในปี ๒๕๕๖ มลู นธิ ริ ากแกว้ มกี ารประชาสมั พนั ธโ์ ครงการในภมู ภิ าค เพอ่ื ชแ้ี จงรายละเอยี ด
แนวทางการดำ�เนินโครงการให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้ง ๖๕ แห่งได้เตรียมความพร้อมในการ
ดำ�เนินโครงการฯ โดยเน้นประชาสัมพันธ์และทำ�ความเข้าใจในระดับผู้ปฏิบัติ รวมท้ังนักศึกษา
ที่ทำ�กจิ กรรมสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์โครงการฯ
มูลนิธิรากแก้ว ยังจัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการให้ตัวแทนนิสิต นักศึกษาและอาจารย์
ทป่ี รกึ ษาทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ ประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ ตามภมู ภิ าค ๕ ครง้ั โดยใชแ้ หลง่ เรยี นรทู้ ศ่ี นู ยศ์ กึ ษา
การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
เขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดฉะเชิงเทรา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน
อนั เนื่องมาจากพระราชด�ำ ริ จงั หวัดสกลนคร และศูนยก์ ารเรียนรแู้ ละปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ตามพระราชด�ำ รฯิ ภาคใต้ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี เพอ่ื ใหน้ สิ ติ นกั ศกึ ษาลงพนื้ ทเ่ี รยี นรกู้ ระบวนการ
พฒั นาทหี่ ลากหลายและสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นในภมู ภิ าคของตน และเรยี นรกู้ ารประยกุ ต์
ใช้แนวพระราชดำ�ริ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาและสนับสนุนให้มีจิตอาสา
ช่วยเหลอื สังคมและประเทศชาติ

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 61
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มลู นธิ ริ ากแกว้ ยงั เชอ่ื มโยงองคค์ วามรขู้ องจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สพู่ นื้ ทโี่ ครงการพฒั นา
ด้วยการนำ�นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะผู้บริหารและอาจารย์ลงพ้ืนที่โป่งลึก-บางกลอย
จังหวดั เพชรบุรี เพื่อดศู กั ยภาพและแนวทางในการนำ�องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญของคณาจารย์
มาใชใ้ นโครงการพัฒนาพ้นื ทรี่ ว่ มกับมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระฯ
มูลนิธิรากแก้ว ยังมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับมหาวิทยาลัยท่ัวประเทศ เพื่อสร้างความ
เข้าใจเก่ียวกับโครงการฯ และเปน็ วิทยากรสรา้ งแรงบนั ดาลใจแกค่ ณาจารย์ นิสติ นักศกึ ษาใน
การทำ�งานพฒั นาชมุ ชน และรว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นรศู้ กึ ษาดงู านโครงการพฒั นาชมุ ชน หรอื รบั ใช้
สงั คมของมหาวิทยาลยั ต่างๆ รวม ๕๑ มหาวิทยาลัยจาก ๒๓ จงั หวัด
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ยังร่วมกับสถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์ จัดประชุมวิชาการระดับชาติ “การพัฒนาคน ชุมชน องค์การและสังคม
พฒั นบรหิ ารศาสตรก์ บั ทางเลอื กใหมด่ า้ นการพฒั นาในอนาคต” เมอ่ื วนั ที่ ๑๓-๑๔ มถิ นุ ายน ๒๕๕๖
เพ่ือแลกเปล่ียนประสบการณ์การพัฒนาชนบทและชุมชนท้องถิ่นในประเทศไทยท่ีผ่านมา
และเสนอทางเลือกใหม่ท่ีเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคปัจจุบัน ในการประชุมมีการ
นำ�เสนอผลงานวิชาการจากผู้มีประสบการณ์และใกล้ชิดกับการพัฒนาชุมชนและสังคม เช่น
ม.ร.ว.ดิศนดั ดา ดศิ กลุ ประธานกรรมการสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลงั พระฯ
นายมชี ยั วรี ะไวทยะ นายกสมาคมพฒั นาประชากรและชมุ ชน (สปช.) ศ.ดร.ชาตชิ าย ณ เชยี งใหม่
ทปี่ รกึ ษาสถาบนั สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระฯ และ ศ.ดร.ชัยอนนั ต์ สมทุ วณิช
ราชบณั ฑติ เป็นตน้

62 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

การประชมุ มขี อ้ เสนอส�ำ หรบั ทางเลอื กการพฒั นา ๓ ทางเลอื ก คอื ๑. ชมุ ชนจดั การตนเอง
เน้นการสร้างเครือข่ายชุมชนและให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ยึดคนและภูมิสังคมเป็น
ตัวต้ัง แลว้ จึงก�ำ หนดรูปแบบการพฒั นาใหเ้ หมาะกับชมุ ชนนั้นๆ ๒. การพฒั นาคณุ ภาพคน โดย
ปลูกฝังจิตสำ�นึกรับผิดชอบต่อสังคมให้อยู่ในระบบการศึกษา การนำ�หลักพุทธธรรมมาปรับใช้
ในการพัฒนา และการเรยี นรู้จากชุมชน เพราะเมอื่ ชมุ ชนมกี ารส่ังสมความรู้และประสบการณ์
ด้านการพัฒนาไว้ในระดับหน่ึง ชุมชนจะเกิดการเรียนรู้ถึงข้อดีข้อเสียของการพัฒนาน้ัน และ
๓. ทางเลอื กในการพฒั นา ควรจะเปน็ ทางเลอื กที่หลากหลาย ไม่ใช่มีแค่ทศิ ทางเดียว และควร
จดั ใหท้ างเลอื กที่หลากหลายนนั้ สามารถคงอยูไ่ ดโ้ ดยไม่มีระบบใดๆ ครอบง�ำ ไปเสยี ทงั้ หมด
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ยังจัดทำ�โครงการทุนสนับสนุน
การทำ�วทิ ยานิพนธแ์ ละดุษฎีนิพนธ์ใหแ้ ก่นิสติ นกั ศึกษา ตงั้ แต่ระดบั ปรญิ ญาโทข้นึ ไป ท่ีศึกษา
ในมหาวทิ ยาลัยของรัฐและเอกชนทวั่ ประเทศ ทนุ ละ ๑๐,๐๐๐ บาท โดยวิทยานิพนธ์หรอื ดษุ ฎี
นิพนธ์ท่ีเสนอขอรับทุน ต้องมีเน้ือหาและวัตถุประสงค์เก่ียวกับการประยุกต์แนวพระราชดำ�ริ
ในการพฒั นา ๖ มติ ิ การนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละความร้ทู างดา้ นภูมสิ ังคมมาผสมผสาน
เพื่อให้มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตอบสนองความต้องการได้ดีที่สุดในแต่ละพื้นท่ี และหลัก
การทรงงาน คือ การพ่ึงตนเอง มีเหตุมีผล มีภูมิคุ้มกัน มีฐานความรู้ เรียบง่าย ประหยัด
คุ้มค่าคุ้มทุน มีการวางแผนเป็นขั้นตอน เข้าใจปัญหาของตัวเอง พ่ึงพาคนอื่นให้น้อยที่สุด
และทำ�ตวั ใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อคนอื่นได้ โดยในปี ๒๕๕๖ สถาบันฯ ให้การสนับสนุนทนุ การศกึ ษา
ทง้ั ส้นิ ๖ ทุน เป็นระดับปริญญาเอก ๒ ทุน และปรญิ ญาโท ๔ ทนุ
สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ไดร้ ว่ มกบั โครงการพระดาบสสญั จร
มูลนิธิพระดาบส เปิด “คลินิกเกษตร” เพื่อเช่ือมโยงองค์ความรู้ด้านการเกษตรให้แก่ชาวบ้าน
ตั้งแต่เดือนตลุ าคม ๒๕๕๕-กนั ยายน ๒๕๕๖ รวม ๑๐ คร้งั ท่จี ังหวดั ศรสี ะเกษ ชลบุรี กาญจนบุรี
พะเยา แพร่ สพุ รรณบุรี พระนครศรีอยธุ ยา นครราชสีมา อา่ งทอง และชยั ภูมิ โดยนักวิชาการ
จากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานราชการในพื้นที่ไปให้คำ�แนะนำ�แก้ไขปัญหาด้านการเกษตร
ท้ังเร่ืองการป้องกันโรคในพืชไร่ (อ้อย มันสำ�ปะหลัง) การเพ่ิมผลผลิตข้าว การป้องกันโรค
และแมลงศัตรพู ืช การเล้ยี งปลาในกระชัง การแปรรปู หน่อไม้ การท�ำ น�ำ้ หมักไล่แมลง แนะน�ำ
พนั ธุข์ ้าวทเ่ี หมาะสมกบั แต่ละพ้ืนที่ แมลงท่เี ป็นศัตรพู ืชและแมลงท่ีก�ำ จัดศตั รูพืช เป็นต้น ท�ำ ให้
เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีตรงกับปัญหาของชาวบ้าน และชาวบ้านได้พูดคุยซักถามปัญหา
จากผเู้ ชย่ี วชาญได้โดยตรง ลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งหนว่ ยงานราชการกบั ชุมชน

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 63
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

การดำ�เนินงานดา้ นสือ่ สารสาธารณะและภาคีสมั พนั ธ์

การดำ�เนินงานของแผนกส่ือสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์ สถาบันส่งเสริมและพัฒนา

กิจกรรมทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ก็เป็นไปในทิศทางท่ีจะส่งเสริมและพัฒนา
“คน” เชน่ กัน โดยมงุ่ เน้นส่งเสรมิ การเรยี นร้แู นวพระราชด�ำ ริ ผ่านการเยี่ยมชมและศกึ ษาดูงาน
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร และการประชมุ แลกเปลย่ี นความรแู้ ละประสบการณก์ ารพฒั นา เปน็ ตน้

นอกจากนี้ ยังเนน้ การทำ�งานรว่ มกบั องคก์ รภาคี เชน่ มูลนิธชิ ัยพัฒนา มูลนิธิสง่ เสริมศลิ ปาชพี

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก

พระราชดำ�ริ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

มหาวิทยาลัยและชมรมส่ือมวลชน เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วมในการสืบสานแนวพระราชดำ�ริไปสู่

ประชาชน

ในการเผยแพร่กิจกรรมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ มีการประชาสัมพันธ์ผ่าน

สือ่ มวลชน ทัง้ วทิ ยุ โทรทัศน์ หนังสอื พมิ พ์ นิตยสาร และเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์อยา่ งตอ่ เน่อื ง

นอกจากนี้ ยังร่วมกับภาคีจัดแสดงนิทรรศการในวาระโอกาสต่างๆ เช่น ร่วมกับศูนย์ศึกษา
การพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไครจ้ ดั แสดงนทิ รรศการ “โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ : ทกุ พระบาท
ยาตรา ปวงประชาเป็นสุข” โดยนำ�เสนอพ้ืนท่ีการดำ�เนินงานตามแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ประยุกต์
ตามพระราชด�ำ ริ จงั หวดั เชยี งใหม่ รว่ มกบั ภาคปี ดิ ทองหลงั พระฯ จดั กจิ กรรมวนั เดก็ ณ โรงเรยี น

ต�ำ รวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งลึก บางกลอย อำ�เภอแก่งกระจาน จงั หวัดเพชรบุรี เพื่อส่งเสริม

การมสี ว่ นรว่ มของหนว่ ยงานภาคใี นพนื้ ท่ี สรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี รี ะหวา่ งผปู้ ฏบิ ตั งิ านและชาวบา้ น

ในพน้ื ที่ สร้างขวญั และกำ�ลังใจใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชนทอี่ ยูใ่ นพน้ื ทหี่ ่างไกล

64 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

จดั นทิ รรศการในการประชมุ สมาคมสนั นบิ าตเทศบาลแหง่ ประเทศไทย (ส.ท.ท.) ณ ศนู ย์
ประชมุ และแสดงนทิ รรศการนานาชาติ จงั หวดั เชยี งใหม่ น�ำ เสนอหลกั ปรชั ญาการท�ำ งานปดิ ทอง
หลงั พระฯ และองคค์ วามรใู้ นการแกไ้ ขปญั หาตามแนวพระราชดำ�ริ และรว่ มจดั แสดงนทิ รรศการ
ในงานนิทรรศการโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ณ ศูนย์ราชการ ถนนแจ้งวัฒนะ โดยนำ�เสนอหลักปรัชญาการทำ�งานปิดทอง
หลังพระฯ หลักการทรงงานและแนวพระราชดำ�ริในการแก้ไขปัญหา เป็นต้น รวมท้ังการนำ�
สื่อมวลชน หน่วยงานภาคี และภาคเอกชน ศึกษาดูงานในพน้ื ทดี่ ำ�เนินงานโครงการ และพ้ืนที่
โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชด�ำ รติ า่ งๆ ทวั่ ทกุ ภูมภิ าค
การดำ�เนินงานในรอบปีท่ีผ่านมา สามารถสร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชน หน่วยงาน
องคก์ ร และภาคสว่ นตา่ งๆ ผา่ นกจิ กรรมของสถาบนั ฯ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การน�ำ คณะสอื่ มวลชน
ทุกแขนง เดินทางเรียนรู้โครงการพระราชดำ�ริและเยี่ยมชมพ้ืนท่ีปฏิบัติการปิดทองหลังพระฯ
การด�ำ เนนิ งานของสถาบนั ฯ จงึ ได้รับความสนใจและถกู เผยแพร่ผา่ นสอ่ื ตา่ งๆ อยา่ งกว้างขวาง
รวม ๓,๔๔๓.๒๖ คอลัมน์นิ้ว คิดเป็นมูลค่าประชาสัมพันธ์ ๑๖,๒๙๘,๑๓๑.๖๐ บาท และ
การประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ยังได้รับความสนใจจากประชาชน ติดตาม
และแลกเปล่ียนความคิดเหน็ เกยี่ วกับการด�ำ เนินงานของสถาบันฯ อย่างตอ่ เน่อื ง

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 65
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

๗ งบการเงนิ ปี ๒๕๕๖

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
งบการเงนิ
วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

รายงานของผู้สอบบญั ชีรับอนุญาต

เสนอ คณะกรรมการของมูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

ข้าพเจา้ ไดต้ รวจสอบงบการเงนิ ของมูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ ซง่ึ ประกอบดว้ ยงบแสดงฐานะ
การเงิน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ และงบกำ�ไรขาดทุน และงบแสดงการเปล่ยี นแปลงส่วนของทุนสำ�หรบั
ปสี ิ้นสุดวนั เดยี วกนั รวมถึงหมายเหตุสรปุ นโยบายการบัญชีทส่ี ำ�คัญและหมายเหตุเรอื่ งอ่ืนๆ

ความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารต่องบการเงิน

ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน
การรายงานทางการเงนิ ส�ำ หรบั กจิ การทไ่ี มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ และรบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การควบคมุ ภายในทผ่ี บู้ รหิ าร
พจิ ารณาวา่ จ�ำ เปน็ เพอื่ ใหส้ ามารถจดั ท�ำ งบการเงนิ ทปี่ ราศจากการแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระส�ำ คญั
ไมว่ า่ จะเกดิ จากการทจุ รติ หรอื ขอ้ ผดิ พลาด

ความรับผดิ ชอบของผูส้ อบบญั ชี

ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้
ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณ
รวมถึงวางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเช่ือมน่ั อย่างสมเหตสุ มผลว่า งบการเงนิ ปราศจากการแสดง
ข้อมูลท่ีขดั ตอ่ ข้อเท็จจริงอนั เปน็ สาระส�ำ คญั หรือไม่

66 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

การตรวจสอบ รวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเก่ียวกับจำ�นวนเงินและ
การเปดิ เผยข้อมลู ในงบการเงนิ วธิ กี ารตรวจสอบทเี่ ลอื กใชข้ ้นึ อยูก่ ับดลุ ยพินิจของผสู้ อบบญั ชี ซ่งึ รวมถึงการประเมิน
ความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต
หรอื ขอ้ ผดิ พลาด ในการประเมนิ ความเสยี่ งดงั กลา่ ว ผสู้ อบบญั ชพี จิ ารณาการควบคมุ ภายในทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจดั ท�ำ
และการน�ำ เสนองบการเงนิ โดยถกู ตอ้ งตามทคี่ วรของกจิ การ เพอ่ื ออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณ์
แต่ไม่ใช่เพ่ือวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ
รวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ
ทางบัญชีทจ่ี ัดท�ำ ขน้ึ โดยผบู้ ริหาร รวมท้งั การประเมนิ การนำ�เสนองบการเงินโดยรวม

ขา้ พเจา้ เชอ่ื วา่ หลกั ฐานการสอบบัญชที ่ขี ้าพเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสม เพอ่ื ใชเ้ ป็นเกณฑใ์ นการแสดงความเห็น
ของขา้ พเจ้า

ความเห็น

ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นน้ีแสดงฐานะการเงินของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ และผลการดำ�เนินงานสำ�หรับปีส้ินสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควร
ในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินส�ำ หรับกจิ การทไ่ี มม่ ีสว่ นได้เสียสาธารณะ

สุขมุ าภรณ์ วงศอ์ ริยาพร
ผสู้ อบบัญชรี บั อนญุ าตเลขท่ี ๔๘๔๓
บริษทั ไพรซ้ วอเตอร์เฮาส์คูเปอรส์ เอบเี อเอส จำ�กัด

กรงุ เทพมหานคร
๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 67
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕

หมายเหตุ บาท บาท

สินทรพั ย์

สนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น

เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด ๓ ๓๑,๗๐๘,๑๘๑ ๑๖,๗๗๖,๑๘๕
๗๕๕,๐๕๙,๙๗๔ ๘๒๐,๒๙๘,๖๘๐
เงนิ ลงทุนชั่วคราว ๔ ๑๒,๘๕๗,๒๙๔
๕,๑๒๖,๑๓๗
ลกู หนี้อืน่ ๕ ๙๒๔,๘๗๒ ๗๑๗,๗๒๘
๑๓,๒๔๗
เงินสำ�รองจ่าย ๖ ๕๐,๕๔๑

สินทรพั ย์หมุนเวยี นอื่น

รวมสนิ ทรัพย์หมุนเวียน ๘๐๐,๕๖๓,๕๖๘ ๘๔๒,๙๖๙,๒๗๑

สินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น

เงินลงทนุ ระยะยาว ๗ ๓๒๒,๐๐๐,๐๐๐ -

อปุ กรณ์ - สุทธิ ๘ ๑๙,๗๗๒,๘๕๙ ๑๓,๖๘๑,๒๘๔

สินทรพั ย์ไม่มตี วั ตน - สทุ ธ ิ ๙ ๖๙,๘๘๙ ๑๐๔,๘๖๙

เงินมัดจำ�ระยะยาว ๑,๑๗๑,๐๔๖ ๑,๐๗๙,๙๕๔

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ๓๔๓,๐๑๓,๗๙๔ ๑๔,๘๖๖,๑๐๗

รวมสินทรพั ย์ ๑,๑๔๓,๕๗๗,๓๖๒ ๘๕๗,๘๓๕,๓๗๘



ประธานกรรมการมลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ร ิ


ประธานกรรมการสถาบนั ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเปน็ สว่ นหนึง่ ของงบการเงินน้ี

68 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
บาท บาท

หน้ีสนิ และส่วนของทนุ

หน้สี ินหมนุ เวียน

เจ้าหน ้ี ๑,๒๑๒,๙๗๙ ๒,๐๔๐,๒๕๕
ค่าใชจ้ า่ ยคา้ งจ่าย ๗๘๖,๕๓๗ ๑,๙๕๖,๖๕๑
หนสี้ ินหมนุ เวียนอื่น ๒๔๑,๙๕๘
๒,๘๘๐,๔๙๘

รวมหน้ีสินหมนุ เวียน ๔,๘๘๐,๐๑๔ ๔,๒๓๘,๘๖๔

รวมหน้ีสนิ ๔,๘๘๐,๐๑๔ ๔,๒๓๘,๘๖๔

ส่วนของทนุ

ทุนจดทะเบียน ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐

รายได้สงู กว่าคา่ ใช้จา่ ยสะสม ๑,๑๓๘,๒๒๙,๕๔๓ ๘๕๓,๐๙๗,๘๓๔

กำ�ไร(ขาดทุน)ท่ยี ังไม่เกิดขนึ้ จริง

จากการวดั มลู ค่าเงนิ ลงทุนเผ่ือขาย ๒๖๗,๘๐๕ ๒๙๘,๖๘๐

รวมสว่ นของทุน ๑,๑๓๘,๖๙๗,๓๔๘ ๘๕๓,๕๙๖,๕๑๔

รวมหนส้ี นิ และสว่ นของทนุ ๑,๑๔๓,๕๗๗,๓๖๒ ๘๕๗,๘๓๕,๓๗๘

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปน็ ส่วนหน่ึงของงบการเงนิ น ี้

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 69
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
งบแสดงรายได้และค่าใชจ้ า่ ย
สำ�หรบั ปีสิน้ สุดวันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕

หมายเหต ุ บาท บาท



รายได ้

เงนิ จดั สรรจากงบประมาณแผ่นดิน ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐
๒๓,๐๕๔,๕๐๐ ๓๓,๔๕๐,๕๙๐
รายรับจากเงินบรจิ าค ๑๐ ๔๓,๔๙๑,๔๑๕ ๑๓,๖๕๒,๑๔๖
๑,๒๒๓,๑๖๙
ดอกเบยี้ รับ ๒๐,๒๘๘,๗๖๓ -
-
กำ�ไรขาดทนุ ทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการจ�ำ หน่ายเงนิ ลงทนุ เผอื่ ขาย

รายไดอ้ ่นื

รวมรายได้ ๓๘๘,๐๕๗,๘๔๗ ๓๔๗,๑๐๒,๗๓๖

คา่ ใชจ้ ่าย

ค่าใช้จ่ายบุคลากร ๒๙,๘๓๔,๔๐๖ ๒๔,๕๕๒,๐๙๒
ค่าตอบแทนบคุ คลภายนอก ๑๑,๔๖๒,๐๒๒ ๑๐,๒๕๒,๙๐๐
คา่ ธรรมเนยี มวชิ าชีพ
คา่ ใชจ้ า่ ยการเดนิ ทาง ๑๒๑,๘๘๕ ๑๒๔,๐๗๕
ค่าวสั ดสุ ิ้นเปลือง ๘,๖๘๕,๔๗๐ ๙,๔๔๒,๖๕๗
คา่ เช่าอาคารและอุปกรณ ์ ๙,๒๗๓,๗๐๕ ๔,๘๑๓,๐๓๘
ค่าซ่อมแซมและบำ�รงุ รักษาอปุ กรณ์/คา่ ติดตัง้ ระบบโทรศัพท์ ๔,๓๔๒,๑๖๑ ๓,๔๗๕,๙๕๖
คา่ เสอ่ื มราคา ๑,๓๐๔,๐๗๙
ค่าตดั จำ�หนา่ ยสินทรัพยไ์ มม่ ตี ัวตน ๕,๔๐๘,๗๑๔ ๘๓๑,๗๙๐
ค่าสาธารณปู โภค ๓,๖๙๔,๗๐๖
ค่ารบั รอง ๓๔,๙๘๐
คา่ ประกนั ภัย ๑,๗๒๕,๖๒๕ ๓๔,๘๘๔
คา่ ประชาสัมพันธแ์ ละจัดนทิ รรศการ ๖,๗๖๓,๔๐๔ ๑,๑๕๗,๐๔๓
เงนิ อุดหนนุ ๕,๐๓๐,๘๗๓
คา่ ขนสง่ ๒๑๐,๕๕๕
คา่ ใชจ้ ่ายอนื่ ๆ ๑๐,๔๙๙,๙๒๗ ๑๑๖,๗๑๔
๑๒,๓๐๖,๙๖๐ ๘,๗๑๐,๐๑๑
๓๘,๓๗๒,๒๐๕
๙๓,๕๖๘
๘๕๘,๖๗๗ ๙๗,๓๘๕
๙๕๕,๖๒๘

รวมคา่ ใชจ้ า่ ย ๑๐๒,๙๒๖,๑๓๘ ๑๑๑,๖๖๑,๙๕๗
๒๓๕,๔๔๐,๗๗๙
รายได้สงู กว่า(ตำ่�กวา่ )ค่าใชจ้ ่ายสทุ ธสิ ำ�หรับปี ๒๘๕,๑๓๑,๗๐๙

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของงบการเงินน้ี

70 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
งบแสดงการเปลย่ี นแปลงส่วนของทนุ
ส�ำ หรับปสี ้นิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ผลก�ำ ไร(ขาดทนุ )

ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ

รายไดส้ งู กวา่ (ต�ำ่ กวา่ ) จากการวดั มลู คา่

ทนุ จดทะเบยี น คา่ ใชจ้ า่ ยสะสม เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย รวม

หมายเหต ุ บาท บาท บาท บาท

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๐๐,๐๐๐ ๖๑๗,๖๕๗,๐๕๕ - ๖๑๗,๘๕๗,๐๕๕

ผลก�ำ ไรทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ

จากการวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย ๔ - - ๒๙๘,๖๘๐ ๒๙๘,๖๘๐

รายไดส้ งู กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ �ำ หรบั ป ี - ๒๓๕,๔๔๐,๗๗๙ - ๒๓๕,๔๔๐,๗๗๙

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒๐๐,๐๐๐ ๘๕๓,๐๙๗,๘๓๔ ๒๙๘,๖๘๐ ๘๕๓,๕๙๖,๕๑๔



ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒๐๐,๐๐๐ ๘๕๓,๐๙๗,๘๓๔ ๒๙๘,๖๘๐ ๘๕๓,๕๙๖,๕๑๔

ผลก�ำ ไร(ขาดทนุ )ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ

จากการวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย ๔ - - (๓๐,๘๗๕) (๓๐,๘๗๕)

รายไดส้ งู กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ �ำ หรบั ป ี - ๒๘๕,๑๓๑,๗๐๙ - ๒๘๕,๑๓๑,๗๐๙

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๐๐,๐๐๐ ๑,๑๓๘,๒๒๙,๕๔๓ ๒๖๗,๘๐๕ ๑,๑๓๘,๖๙๗,๓๔๘

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเป็นส่วนหนง่ึ ของงบการเงินน ้ี 71
รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖

ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปีส้ินสุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๖

๑ ขอ้ มูลท่ัวไป

มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ (“มูลนิธิ”) ได้จดทะเบียนจัดต้ังมูลนิธิตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ต่อนายทะเบียนมูลนิธิกรุงเทพมหานคร เลขทะเบียนลำ�ดับท่ี กท ๑๙๑๙
เมอ่ื วันท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมีท่ีอยทู่ ี่ไดจ้ ดทะเบียนดังนี้

สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ทำ�เนียบรัฐบาล เลขท่ี ๑ ถนนนครปฐม แขวงจิตรลดา เขตดุสิต
กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐

มูลนิธเิ ป็นองค์การหรอื สถานสาธารณกุศล โดยมวี ตั ถุประสงคใ์ นการด�ำ เนินงาน ดังน้ี

๑) ให้จัดตั้งและสนับสนุนการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติของมูลนิธิ ให้ดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิผล
ประสทิ ธิภาพ สอดคลอ้ งกับเจตนารมณ์แห่งการจดั ต้ัง

๒) ให้สถาบนั โดยมีมลู นธิ ิ สนับสนุนใหท้ ุนดำ�เนินงาน มีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี

ก) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาแก่องค์กรชุมชน
ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสงั คม สถาบันวิชาการ
ภาคธุรกิจ ในการดำ�เนินงานท่ีสอดคล้องกับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ เพ่ือให้
ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมถึงส่งผลต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม

ข) สนับสนุนการจัดการความรู้ตามแนวพระราชดำ�ริโดยประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษา
การพฒั นา โครงการสว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการ
อนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำ ริ องค์กรชุมชน ประชาสงั คม องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ องคก์ ร
ภาครัฐ องค์กรทางสงั คม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพือ่ ให้เกิดคลงั ความรู้ การยกระดับ
ความรู้ การตอ่ ยอดขมุ ความรใู้ หม่ การพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาในและนอกระบบ ตลอดจน
การขยายผลเช่อื มโยงส่กู ารนำ�ไปปฏิบตั อิ ย่างกวา้ งขวาง

72 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ส�ำ หรบั ปีสนิ้ สุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ​๒๕๕๖

๑ ข้อมูลทั่วไป (ตอ่ )

มูลนิธิเป็นองคก์ ารหรอื สถานสาธารณกุศล โดยมีวตั ถุประสงค์ในการดำ�เนินงาน ดังนี้ (ตอ่ )

๒) ให้สถาบัน โดยมีมลู นิธิ สนับสนุนใหท้ นุ ด�ำ เนนิ งาน มวี ตั ถุประสงค์ ดงั นี้ (ตอ่ )

ค) ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ ภารกิจและกิจกรรมของสถาบัน กับแผนชุมชน แผนองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ แผนพฒั นาจงั หวดั แผนหนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และนโยบายรฐั บาล

ง) สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำ� และช่วยเหลือ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพื่อให้น้อมนำ�
แนวพระราชดำ�ริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาทุกระดับ
ของประเทศ

จ) สรา้ งการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมอื ดำ�เนนิ การตามแนวพระราชดำ�ริอย่างต่อเน่อื ง

๓) เพ่ือสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การศกึ ษา และทัศนศึกษาที่เกีย่ วกบั การนำ�แนวพระราชด�ำ รไิ ปประยกุ ตใ์ ช้
และขยายผลสู่ชุมชน

๔) เพ่ือส่งเสริมการประสานการดำ�เนินงานร่วมกับองค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอ่ื กจิ กรรมพฒั นาและกจิ กรรม
สาธารณประโยชน์

๕) ไม่ดำ�เนินการเกยี่ วข้องกับการเมอื งแต่ประการใด

งบการเงนิ น้ีได้รับอนมุ ตั ิจากคณะกรรมการมูลนิธิเมอื่ วนั ท่ี ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 73
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำ�หรับปสี ้นิ สุดวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๖

๒ นโยบายการบญั ชี

นโยบายการบญั ชีทีส่ ำ�คัญซึง่ ใช้ในการจัดท�ำ งบการเงินมดี งั ต่อไปน้ี
๒.๑ เกณฑก์ ารจดั ทำ�งบการเงนิ
งบการเงนิ นจี้ ดั ท�ำ ขน้ึ ภายใตม้ าตรฐานการรายงานทางการเงนิ ส�ำ หรบั กจิ การทไ่ี มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ
ทอี่ อกโดยสภาวชิ าชีพบัญชี
งบการเงินได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน
ยกเว้นเงนิ ลงทนุ เผอื่ ขายที่แสดงมลู คา่ ตามมลู ค่ายตุ ิธรรม
งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษจัดทำ�ข้ึนจากงบการเงินตามกฎหมายท่ีเป็นภาษาไทย ในกรณีท่ีมี
เน้ือความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมาย
ฉบับภาษาไทยเปน็ หลัก
๒.๒ เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสด หมายรวมถึงเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท แต่ไม่รวมเงินฝากธนาคาร
ประเภทที่ต้องจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กำ�หนด (เงินฝากประจำ�) และบัตรเงินฝากที่ออกโดย
ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอ่ืน และไม่รวมเงินฝากธนาคารที่มีข้อจำ�กัดในการเบิกถอน
และรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด รวมถงึ เงนิ ลงทนุ ระยะสนั้ อน่ื ทมี่ สี ภาพคลอ่ งสงู ซง่ึ มอี ายไุ มเ่ กนิ สามเดอื น
นับจากวันท่ไี ด้มา
๒.๓ เงินลงทนุ ชัว่ คราว
เงินลงทุนช่วั คราว หมายรวมถึง
เงนิ ฝากประจ�ำ
เงินฝากประจำ�ที่เป็นเงินลงทุนช่ัวคราวคือ เงินฝากประจำ�ที่มีอายุต้ังแต่วันฝากจนถึงวันครบกำ�หนด
อยูร่ ะหว่าง ๓ ถงึ ๑๒ เดอื น และเงินฝากประจำ�ท่ีมอี ายุตัง้ แตว่ นั ฝากจนถึงวนั ครบก�ำ หนดมากกวา่
๑๒ เดอื น แตจ่ ะครบก�ำ หนดในอกี ๑๒ เดอื นขา้ งหนา้ ส�ำ หรบั เงนิ ฝากประจ�ำ ทจ่ี ะครบก�ำ หนดมากกวา่
๑๒ เดอื น ณ วันสนิ้ งวดจะแสดงเป็นเงินลงทุนระยะยาว
เงนิ ฝากประจำ� วดั มูลคา่ ดว้ ยวิธรี าคาทุน

74 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
ส�ำ หรับปีสนิ้ สุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ​๒๕๕๖

๒ นโยบายการบญั ชี (ตอ่ )

๒.๓ เงนิ ลงทุนช่ัวคราว (ต่อ)

เงนิ ลงทุนเผอ่ื ขาย
เงินลงทุนเผ่ือขาย คือ เงินลงทุนท่ีจะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพ่ือเสริมสภาพคล่อง
หรือเม่ืออัตราผลตอบแทนเปลี่ยนแปลง โดยได้แสดงไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน ฝ่ายบริหารแสดง
เจตจำ�นงท่ีจะถือไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่า ๑๒ เดือนนับแต่วันท่ีในงบแสดงฐานะการเงิน เงินลงทุน
เผอื่ ขายแสดงในงบแสดงฐานะการเงนิ ดว้ ยมลู คา่ ยตุ ธิ รรม รายการก�ำ ไรและขาดทนุ ทยี่ งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ
ของเงินลงทุนเผ่ือขายรับรู้ในส่วนของทุน จนกระท่ังมูลนิธิจำ�หน่ายเงินลงทุนดังกล่าว จึงบันทึก
การเปล่ยี นแปลงมลู คา่ นน้ั ในงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่าย

เงนิ ลงทนุ ทถ่ี ือไว้จนครบกำ�หนด
เงินลงทุนท่ีถือไว้จนครบกำ�หนด คือ เงินลงทุนท่ีมีกำ�หนดเวลาและผู้บริหารต้ังใจแน่วแน่
และมคี วามสามารถถอื ไวจ้ นครบก�ำ หนดไดแ้ สดงรวมไวใ้ นสนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวยี น เวน้ แตจ่ ะครบก�ำ หนด
ภายใน ๑๒ เดอื นนับแตว่ นั สนิ้ รอบระยะเวลารายงานก็จะแสดงไว้ในสนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น เงนิ ลงทนุ
ที่ถือไว้จนครบกำ�หนดแสดงในงบแสดงฐานะการเงินด้วยวิธีราคาทุนหักด้วยค่าเผ่ือการลดลง
ของมูลค่า (ถ้ามี)

มูลนิธิจะทดสอบค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าของเงินลงทุนเมื่อมีข้อบ่งช้ีว่าเงินลงทุนนั้นอาจมีค่าเผ่ือ
การลดลงของมลู คา่ เกดิ ขน้ึ หากราคาตามบญั ชขี องเงนิ ลงทนุ สงู กวา่ มลู คา่ ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั คนื มลู นธิ ิ
จะบันทกึ รายการขาดทนุ จากคา่ เผ่ือการลดลงของมลู คา่ รวมไวใ้ นงบแสดงรายได้และคา่ ใชจ้ ่าย

ในการจ�ำ หนา่ ยเงนิ ลงทนุ ผลตา่ งระหวา่ งมลู คา่ ยตุ ธิ รรมของผลตอบแทนสทุ ธทิ ไี่ ดร้ บั จากการจ�ำ หนา่ ย
เมื่อเปรียบเทียบกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยู่ในงบแสดงรายได้และค่าใช้จ่าย
กรณที จ่ี �ำ หนา่ ยเงนิ ลงทนุ ทถ่ี อื ไวใ้ นตราสารหนห้ี รอื ตราสารทนุ ชนดิ เดยี วกนั ออกไปบางสว่ น ราคาตาม
บญั ชขี องเงนิ ลงทนุ ทจ่ี �ำ หนา่ ยจะก�ำ หนดโดยใชว้ ธิ ถี วั เฉลยี่ ถว่ งน�ำ้ หนกั ดว้ ยราคาตามบญั ชจี ากจ�ำ นวน
ทง้ั หมดทีถ่ ือไว้

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 75
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปีสิ้นสดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๖

๒ นโยบายการบัญชี (ต่อ)

๒.๔ เงินสำ�รองจ่าย

เงินสำ�รองจ่ายเป็นเงินทดรองจ่ายให้แก่พนักงานและหน่วยงานต่างๆ เพื่อใช้สำ�หรับการดำ�เนินงาน
ในกจิ กรรมต่างๆ ของมูลนิธิ ซง่ึ รับรู้เรม่ิ แรกดว้ ยมูลค่าตามจ�ำ นวนเงินทดรองท่ีจ่ายจรงิ และจะวัด
มูลค่าตอ่ มาดว้ ยจำ�นวนเงนิ ที่เหลือหลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กิดขนึ้ จรงิ ในระหวา่ งงวด

๒.๕ อุปกรณ์

อุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหกั ดว้ ยค่าเสอื่ มราคาสะสม และคา่ เผือ่ การลดลงของมูลค่า (ถ้าม)ี

ราคาทุนของอปุ กรณ์ รวมถงึ ราคาซือ้ อากรขาเข้า ภาษซี ้อื ทเ่ี รียกคืนไมไ่ ด้ (หลงั หกั สว่ นลดการค้า
และจำ�นวนท่ไี ด้รบั คืนจากผขู้ าย) และตน้ ทุนทางตรงอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การจัดหาสินทรพั ยเ์ พ่ือให้
สินทรัพย์นั้นอยู่ในสถานที่และสภาพท่ีพร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ของฝ่ายบริหาร รวมท้ัง
ตน้ ทุนทป่ี ระมาณทด่ี ีทสี่ ุดสำ�หรบั การร้อื การขนยา้ ย และการบูรณะสถานท่ตี งั้ ของสนิ ทรพั ย์ ซง่ึ เปน็
ภาระผูกพันของกิจการท่ีเกิดข้ึนเม่ือกิจการได้สินทรัพย์น้ันมาหรือเป็นผลจากการใช้สินทรัพย์นั้น
ในช่วงเวลาหน่ึง

มูลนิธิจะรับรู้ต้นทุนในการเปล่ียนแทนส่วนประกอบของสินทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชี
ของสินทรัพย์ท่ีเกี่ยวข้องเม่ือต้นทุนน้ันเกิดข้ึนและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
แก่มลู นธิ ิ และจะตดั มูลค่าตามบญั ชีของชิ้นส่วนทถ่ี ูกเปลยี่ นแทนออกจากรายการสินทรพั ย์ ส�ำ หรบั
ค่าซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาอื่นๆ มูลนิธิจะรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดงรายได้และ
คา่ ใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึ้น

ค่าเสื่อมราคาคำ�นวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพ่ือลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอายุ
การใหป้ ระโยชนท์ ปี่ ระมาณการไวข้ องสินทรพั ย์ ดังต่อไปนี้:

เครอ่ื งตกแตง่ และตดิ ตั้ง ๕ ป ี
ยานพาหนะ ๕ ป ี
เครอ่ื งจักร ๑๐ ปี
อปุ กรณส์ ำ�นักงาน ๓-๕ ปี

76 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

มลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำ�หรับปีสนิ้ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒​ ๕๕๖

๒ นโยบายการบัญชี (ต่อ)

๒.๕ อุปกรณ์ (ต่อ)

มูลนิธิมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือ อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และวิธีการคิดค่าเส่ือมราคา
อยา่ งสม่�ำ เสมอ

รายการกำ�ไรและขาดทุนจากการจำ�หน่ายคำ�นวณโดยเปรียบเทียบจากส่ิงตอบแทนที่ได้รับกับ
ราคาตามบัญชี และจะรวมไวใ้ นงบแสดงรายไดแ้ ละค่าใช้จ่าย

ในกรณีท่ีมีขอ้ บง่ ชว้ี ่า อปุ กรณม์ ีมลู ค่าลดลงอยา่ งถาวรและราคาตามบัญชีสงู กว่าราคาขายหักตน้ ทนุ
ในการขาย ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับราคาขายหักต้นทุนในการขายทันที และจะรับรู้
ผลขาดทุนจากการลดมูลค่าของอุปกรณ์ในงบแสดงรายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่าย

๒.๖ สินทรพั ย์ไมม่ ตี วั ตน

สนิ ทรัพยไ์ มม่ ีตัวตน ไดแ้ ก่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยท่ีซ้ือมามีลักษณะเฉพาะบันทึกเป็นสินทรัพย์โดยคำ�นวณ
จากต้นทุนในการได้มาและการดำ�เนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถนำ�มาใช้งานได้
ตามประสงค์ โดยจะตดั จ�ำ หนา่ ยตลอดอายปุ ระมาณการใหป้ ระโยชนภ์ ายในระยะเวลาไมเ่ กนิ ๓-๕ ปี

ต้นทุนท่ีใช้ในการพัฒนาและบำ�รุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดข้ึน
ต้นทุนโดยตรงในการจัดทำ�โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมูลนิธิเป็นผู้ดูแลและมีลักษณะเฉพาะเจาะจง
ซึ่งอาจให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจท่ีมากกว่าต้นทุนเป็นเวลาเกินกว่าหน่ึงปีจึงจะบันทึกเป็นสินทรัพย์
ไม่มีตัวตน ต้นทุนโดยตรงรวมถึงต้นทุนพนักงานที่ทำ�งานในทีมพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และ
ค่าใช้จา่ ยท่เี กี่ยวขอ้ งในจ�ำ นวนเงนิ ท่ีเหมาะสม

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 77
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
ส�ำ หรับปสี น้ิ สุดวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ.​๒๕๕๖

๒ นโยบายการบญั ชี (ตอ่ )

๒.๗ ประมาณการหน้ีสิน

มูลนิธิจะบันทึกประมาณการหน้ีสินซึ่งเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลง
ท่ีจดั ท�ำ ไว้ อันเปน็ ผลสืบเนอ่ื งมาจากเหตุการณใ์ นอดตี ซงึ่ การช�ำ ระภาระผกู พันนั้นมีความเปน็ ไปได้
ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้มูลนิธิต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการท่ีน่าเช่ือถือ
ของจ�ำ นวนทต่ี ้องจา่ ย

๒.๘ การรบั ร้รู ายได้

เงินจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดิน รายรับจากเงินบริจาค และรายได้ดอกเบ้ียรับรู้เป็นรายได้
ตามเกณฑค์ งคา้ ง

๓ เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
บาท บาท

๑๘๘,๘๓๘ ๑๒๕,๙๗๕

เงินสดในมอื ๓๑,๕๑๙,๓๔๓ ๑๖,๖๕๐,๒๑๐
เงนิ ฝากธนาคารประเภทจ่ายคนื เมื่อทวงถาม
๓๑,๗๐๘,๑๘๑ ๑๖,๗๗๖,๑๘๕


เงนิ ฝากธนาคารประเภทจา่ ยคนื เมอ่ื ทวงถามมอี ตั ราดอกเบย้ี ถวั เฉลย่ี อยทู่ ร่ี อ้ ยละ ๐.๗๕ ตอ่ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕ :
ร้อยละ ๐.๗๕ ตอ่ ป)ี

78 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำ�หรับปสี ้ินสุดวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒​ ๕๕๖

๔ เงินลงทุนช่วั คราว

เงนิ ลงทนุ ชั่วคราวมีรายละเอยี ดดงั นี้ พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
บาท บาท

เงินฝากประจำ� ๗๐๒,๕๖๙,๐๐๐ ๔๒๐,๐๐๐,๐๐๐
เงนิ ลงทนุ เผื่อขาย
เงนิ ลงทุนทถ่ี ือไวจ้ นครบกำ�หนด ๕๒,๔๙๐,๙๗๔ ๑๐๐,๒๙๘,๖๘๐
รวม
- ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐

๗๕๕,๐๕๙,๙๗๔ ๘๒๐,๒๙๘,๖๘๐

ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เงินลงทุนช่ัวคราวที่เป็นเงินฝากประจำ�กับธนาคารที่จะครบกำ�หนด
ภายใน ๑๒ เดือน มอี ตั ราดอกเบยี้ ระหว่างร้อยละ ๓.๒๐-๓.๖๕ ต่อปี (พ.ศ. ๒๕๕๕ : ร้อยละ ๓.๒๐-๓.๙๐
ต่อป)ี

เงินลงทุนเผ่ือขายเป็นเงินลงทุนในกองทุนเปิดไทยพาณิชย์ตราสารรัฐตลาดเงิน และกองทุนเปิดธนชาต
บริหารเงิน แสดงค่า ณ วันสิน้ ปีดว้ ยมลู คา่ ยุตธิ รรมโดยใช้ราคาปิดของราคาหน่วยลงทุนของกองทุนดงั กล่าว

เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบกำ�หนดเป็นเงินลงทุนในกองทุนเปิดไทยพาณิชย์ตราสารหน้ีต่างประเทศ ๑Y๒๔

มอี ายโุ ครงการ ๑ ปี แสดงคา่ ณ วันสน้ิ ปี ดว้ ยวธิ ีราคาทนุ เงนิ ลงทุนดังกลา่ วครบก�ำ หนดเมื่อวนั ที่ ๒๐

กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

เงนิ ลงทนุ ทีถ่ อื ไว้

เงินลงทนุ เผอื่ ขาย จนครบกำ�หนด

บาท บาท

สำ�หรับปีสนิ้ สุดวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ราคาตามบัญชตี น้ งวด - สุทธ ิ ๑๐๐,๒๙๘,๖๘๐ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐

เพม่ิ ขึน้ ระหว่างป ี ๕๔,๐๐๐,๐๐๐ -

ลดลงระหวา่ งปี (๑๐๑,๗๗๖,๘๓๑) (๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐)

การปรบั มลู ค่ายตุ ธิ รรมของเงินลงทุน (๓๐,๘๗๕) -

ราคาตามบัญชีปลายงวด - สทุ ธ ิ ๕๒,๔๙๐,๙๗๔ -

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 79
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
ส�ำ หรับปสี น้ิ สุดวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๖

๕ ลกู หนอี้ ่ืน พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
บาท บาท

๒,๒๗๖,๒๑๗ ๒,๐๓๗,๕๗๗

คา่ ใช้จ่ายจา่ ยลว่ งหนา้ ๑๐,๕๘๑,๐๗๗ ๓,๐๘๘,๕๖๐

ดอกเบย้ี ค้างรับ ๑๒,๘๕๗,๒๙๔ ๕,๑๒๖,๑๓๗



๖ เงินส�ำ รองจา่ ย พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
บาท บาท

๗๐๓,๖๓๗ ๖๕๓,๘๐๙
เงินส�ำ รองจา่ ยแกพ่ นกั งาน
- ๖๓,๙๑๙
เงนิ ส�ำ รองจ่ายแก่สำ�นักงานส่งเสรมิ การจดั ประชุม ๑๐๐,๐๐๐ -
๙๒,๖๐๐ -
และนทิ รรศการ (องคก์ ารมหาชน) ๒๘,๖๓๕ -
๙๒๔,๘๗๒
เงินส�ำ รองจา่ ยแก่มลู นิธริ ากแก้ว ๗๑๗,๗๒๘

เงนิ สำ�รองจ่ายแก่จังหวัดน่าน

เงินส�ำ รองจา่ ยแกจ่ งั หวัดอดุ รธานี



๗ เงนิ ลงทนุ ระยะยาว

เงินลงทนุ ระยะยาวมีรายละเอียดดังน้ี พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
บาท บาท
-
๓๒๒,๐๐๐,๐๐๐

เงินฝากประจ�ำ

ณ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เงนิ ลงทนุ ระยะยาวเป็นเงนิ ฝากประจำ�ประเภท ๑๕ เดือน กับธนาคาร
และครบกำ�หนดเกิน ๑๒ เดือน ณ วันส้ินงวด มีอัตราดอกเบ้ียระหว่างร้อยละ ๓.๕๐-๓.๕๕ ต่อปี
(พ.ศ. ๒๕๕๕ : ไมม่ ี)

80 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำ�หรบั ปสี ิ้นสดุ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ​๒๕๕๖

๘ อปุ กรณ์ - สุทธิ

เครอ่ื งตกแตง่ อปุ กรณ์ รวม
และตดิ ตง้ั ยานพาหนะ เครอ่ื งจกั ร ส�ำ นกั งาน บาท
บาท บาท บาท
บาท

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕

ราคาทนุ ๗,๔๒๓,๔๑๘ ๖,๙๘๕,๖๘๗ ๑,๘๙๘,๓๗๐ ๕,๖๓๓,๑๕๖ ๒๑,๙๔๐,๖๓๑

หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๔,๐๗๗,๘๐๗) (๑,๓๙๔,๘๓๖) (๒๕๔,๖๘๐) (๒,๕๓๒,๐๒๔) (๘,๒๕๙,๓๔๗)

ราคาตามบญั ชี - สทุ ธ ิ ๓,๓๔๕,๖๑๑ ๕,๕๙๐,๘๕๑ ๑,๖๔๓,๖๙๐ ๓,๑๐๑,๑๓๒ ๑๓,๖๘๑,๒๘๔

ส�ำ หรบั ปสี น้ิ สดุ

วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ราคาตามบญั ชตี น้ ปี - สทุ ธ ิ ๓,๓๔๕,๖๑๑ ๕,๕๙๐,๘๕๑ ๑,๖๔๓,๖๙๐ ๓,๑๐๑,๑๓๒ ๑๓,๖๘๑,๒๘๔

ซอ้ื สนิ ทรพั ย ์ ๔,๑๖๙,๙๐๐ ๗,๐๔๘,๖๗๓ ๔๖๖,๑๗๐ ๑,๘๒๒,๐๑๙ ๑๓,๕๐๖,๗๖๒

จ�ำ หนา่ ยสนิ ทรพั ย์ - สทุ ธ ิ - (๕๔๙,๕๖๑) (๑,๔๓๓,๑๒๕) (๒๓,๗๘๗) (๒,๐๐๖,๔๗๓)

คา่ เสอ่ื มราคา (๑,๙๑๖,๔๑๐) (๑,๙๒๔,๒๑๖) (๒๑๑,๔๑๙) (๑,๓๕๖,๖๖๙) (๕,๔๐๘,๗๑๔)

ราคาตามบญั ชปี ลายปี - สทุ ธ ิ ๕,๕๙๙,๑๐๑ ๑๐,๑๖๕,๗๔๗ ๔๖๕,๓๑๖ ๓,๕๔๒,๖๙๕ ๑๙,๗๗๒,๘๕๙

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ราคาทนุ ๑๑,๕๙๓,๓๑๘ ๑๒,๗๘๕,๓๖๐ ๔๙๒,๕๔๐ ๗,๒๒๒,๑๘๖ ๓๒,๐๙๓,๔๐๔

หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๕,๙๙๔,๒๑๗) (๒,๖๑๙,๖๑๓) (๒๗,๒๒๔) (๓,๖๗๙,๔๙๑) (๑๒,๓๒๐,๕๔๕)

ราคาตามบญั ชี - สทุ ธ ิ ๕,๕๙๙,๑๐๑ ๑๐,๑๖๕,๗๔๗ ๔๖๕,๓๑๖ ๓,๕๔๒,๖๙๕ ๑๙,๗๗๒,๘๕๙

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 81
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
ส�ำ หรับปสี น้ิ สุดวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๖

๙ สนิ ทรัพย์ไม่มตี ัวตน - สุทธิ

บาท

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑๗๔,๙๐๐
ราคาทนุ (๗๐,๐๓๑)
๑๐๔,๘๖๙
หกั ค่าตดั จ�ำ หน่ายสะสม

ราคาตามบญั ชี - สทุ ธ ิ

ส�ำ หรับปีสิน้ สุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๐๔,๘๖๙
ราคาตามบัญชตี น้ ปี - สุทธ ิ -

เพม่ิ ขึ้นระหวา่ งป ี (๓๔,๙๘๐)
๖๙,๘๘๙
คา่ ตดั จ�ำ หนา่ ย

ราคาตามบัญชปี ลายปี - สทุ ธิ

ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๗๔,๙๐๐
ราคาทุน (๑๐๕,๐๑๑)

หัก ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม ๖๙,๘๘๙

ราคาตามบัญชี - สทุ ธิ

๑๐ รายรับจากเงนิ บรจิ าค พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
บาท บาท

๑๐๔,๕๐๐ ๗๓๕,๕๙๐
สมทบทุนมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ
สมทบทุนโครงการทนุ เศรษฐกจิ พอเพียงฯ ๒๒,๙๕๐,๐๐๐ ๓๒,๗๑๕,๐๐๐

๒๓,๐๕๔,๕๐๐ ๓๓,๔๕๐,๕๙๐

82 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
ส�ำ หรบั ปสี ิ้นสดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ​๒๕๕๖

๑๑ ภาระผูกพัน

มลู นธิ ไิ ดท้ �ำ สญั ญาเชา่ อาคาร ยานพาหนะและอปุ กรณ์ เป็นระยะเวลา ๑-๕ ปี สัญญานีถ้ ือเป็นสัญญาเชา่

ดำ�เนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ยอดรวมของจำ�นวนเงินขั้นตำ่�ท่ีต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดำ�เนินงาน

ท่ไี มส่ ามารถยกเลิกได้มดี ังน้ี

พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๕

บาท บาท

ภายใน ๑ ปี ๔,๘๙๘,๑๕๐ ๓,๕๕๗,๓๕๙

เกินกวา่ ๑ ปี แต่ไม่เกิน ๕ ปี ๖,๙๑๖,๐๕๖ ๑,๔๔๑,๘๑๑

๑๑,๘๑๔,๒๐๖ ๔,๙๙๙,๑๗๐

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 83
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนและงบประมาณประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนงาน งบประมาณ กล่มุ เป้าหมาย
หน่วย บาท

ด้านการจัดการความรู้

๑. งานสนบั สนุนการพฒั นาชนบทเชิงพนื้ ที่ ๑๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๑.๑ ขยายผลการพฒั นาตามแนวพระราชดำ�ร ิ กิจกรรมสร้าง ๕,๐๐๐,๐๐๐ • แหล่งน�้ำขนาดเลก็ ใน
ในพน้ื ทแ่ี หล่งน�ำ้ ขนาดเล็ก จ.อุดรธานี ความเขา้ ใจ จังหวดั อดุ รธานี ๓ แหง่
- กจิ กรรมสร้างความเขา้ ใจ เขา้ ถึง
- งานมหกรรมเวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ๓ ครัง้
งานมหกรรม

๑ ครงั้

๑.๒ สมั มนาสรุป “เข้าใจ เข้าถึง” ๓ ครงั้ ๓,๐๐๐,๐๐๐ มีผรู้ ว่ มแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
และแลกเปลยี่ นเรียนรู้ จาก ๑๐ จังหวัด ประมาณ ๕๐๐ คน
พนื้ ท่ขี ยายผล ๑๐ จังหวดั • คณะทำ�งานในพ้นื ทีข่ ยายผล
• สถาบันอุดมศกึ ษาในพ้นื ท่ี

๑.๓ สนบั สนนุ การอบรมหลกั สตู รผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ๖ รุน่ ๑,๐๐๐,๐๐๐ แหล่งนำ้�ขนาดเลก็ ใน
พัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำ�ริ ๔๖ จงั หวดั ๑๔๒ แห่ง
(รว่ มกบั สถาบันด�ำ รงราชานุภาพ
และสำ�นักงานนโยบายและแผน
กระทรวงมหาดไทย)

๑.๔ เชอ่ื มโยงและถ่ายทอดความรู้แกช่ มุ ชน ๑๐ คร้ัง ๑,๒๐๐,๐๐๐ พนื้ ที่ขยายผล ๑๐ จังหวัด
ในพืน้ ทต่ี ้นแบบ และพน้ื ทข่ี ยายผล • ชุมชนในพ้ืนท่ขี ยายผล
(ร่วมกบั สถาบนั อดุ มศกึ ษา • คณะทำ�งานปดิ ทองหลงั พระ
และหน่วยงานสบื สานแนวพระราชด�ำ ริ) ในจังหวัดขยายผล
พน้ื ท่ตี ้นแบบ ๒ พนื้ ท่ี

๑.๕ ถอดความรู้จากการปฏบิ ตั ิ ๓๐ เร่อื ง ๙๐๐,๐๐๐ • ชมุ ชนในพื้นทีข่ ยายผล ๑๐ จังหวดั
ในพน้ื ที่ต้นแบบ และพน้ื ท่ีขยายผล • พ้ืนทต่ี น้ แบบน่าน และอดุ รธานี
(ทำ�รว่ มกบั สถาบนั อุดมศกึ ษา)

84 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

วัตถุประสงค์ ผลผลิต

๑) ขยายพืน้ ที่การพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ ริ ๑) มีพ้นื ที่พฒั นาตามแนวพระราชด�ำ ริ เพม่ิ ขึ้น
๒) น�ำ เสนอผลการพฒั นาและองค์ ๒) เกิดเครอื ขา่ ยความรเู้ พิม่ ขึ้น
๓) มีชดุ ความร้จู ากการพัฒนาในพ้ืนท่ี
ความรทู้ ่เี กดิ ขึ้นจากการท�ำ งาน
๓) เพ่ือแลกเปลยี่ นประสบการณ์

๑) เพอ่ื สรุปปจั จยั ความสำ�เรจ็ ๑) เกิดเครอื ข่ายการทำ�งานสบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
และปญั หาในกระบวนการ ๒) ได้บทเรียนความสำ�เรจ็ และ
การสร้างความเข้าใจ เขา้ ถึง ปญั หาอปุ สรรค ที่จะนำ�ไปปรบั
๒) เพ่อื แลกเปลีย่ นข้อมลู
และสถานการณข์ องพนื้ ท่ขี ยายผล ใชใ้ นพ้นื ที่ขยายผลแตล่ ะแหง่

๑) เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจทีถ่ ูกตอ้ ง ๑) ไดท้ ีมปฏบิ ัตกิ ารระดบั อำ�เภอทีม่ วี ิธีคิดและทกั ษะการทำ�งาน
ในการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ พฒั นาที่ยดึ ถือผลลัพธ์ทป่ี ระชาชนจะไดร้ บั
๒) เพอ่ื พัฒนาความรู้ ทักษะ ทางการบริหาร ๒) มที มี ปฏบิ ัติงานระดบั ตำ�บล หมบู่ า้ น ทม่ี คี วามเช่ือม่นั
ที่จำ�เปน็ ต่อการขับเคลือ่ นแผนพฒั นา และทักษะในการจัดการพฒั นา
ชนบทเชิงพน้ื ท่ี ๓) มีโครงการกิจกรรมการพฒั นาในหมูบ่ ้านเป้าหมาย
ท่ีแก้ปญั หาพ้ืนฐานการด�ำ รงชวี ติ

๑) เพอ่ื ให้ชุมชนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ ๑) ชุมชนในพืน้ ทข่ี ยายผลและคณะท�ำ งาน เกิดความรู้
องคค์ วามรูต้ ามแนวพระราชด�ำ ริ และเกดิ ความเข้าใจ และมขี ้อมูลเพียงพอต่อการนำ�ไปจดั ท�ำ
ความเช่อื มนั่ ว่า แนวพระราชด�ำ ริสามารถ แผนพฒั นาชนบทเชิงพ้นื ท่ปี ระยกุ ต์ตามพระราชดำ�ริ
น�ำ ไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาของชมุ ชนได้

๑) เพอ่ื สบื คน้ องคค์ วามรูจ้ ากการปฏบิ ตั ใิ นพื้นท่ี ๑) ไดช้ ุดความรู้จากการปฏบิ ัติจริงในด้านกระบวนการ

ดา้ นกระบวนการเขา้ ใจ เขา้ ถึงและพัฒนา และองค์ความรทู้ ัง้ ๖ มติ ิ

๒) เพอ่ื สกัดความรใู้ หม่จากการนำ� ๒) ทำ�สอื่ การเรียนการสอนในสถาบันอุดมศกึ ษา

แนวพระราชดำ�รไิ ปประยกุ ต์ใช้

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 85
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

แผนและงบประมาณประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลุ่มเป้าหมาย
หนว่ ย บาท

๑.๖ ปรับปรุง และเพิ่มเตมิ ข้อมลู พ้ืนฐาน พ้ืนทีต่ ้นแบบ ๕๐๐,๐๐๐ • พ้นื ทต่ี น้ แบบ
ของพ้ืนท่ีตน้ แบบและพื้นท่ขี ยายผล ๒ แหง่ • พืน้ ทีข่ ยายผล

พน้ื ทข่ี ยายผล ๒,๔๐๐,๐๐๐ • ชมุ ชนในพื้นทโ่ี ครงการ
๒ แหง่ • คณะทำ�งานโครงการ
• หน่วยงานภาคีท่เี กย่ี วข้อง
๑.๗ ติดตามผลการพฒั นาพ้นื ทต่ี น้ แบบ พนื้ ที่ตน้ แบบ
และพ้นื ท่ขี ยายผล ๑ แหง่
(ทำ�ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา)
พืน้ ท่ขี ยายผล
๒ แหง่

๒. งานบรกิ ารเชือ่ มโยงองคค์ วามรู้ ๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๒.๑ เชื่อมโยงความรู้ใหแ้ ก่ อบต. ๖๐ แห่ง ๓,๐๐๐,๐๐๐ • อบต.ในโครงการ
เทศบาล อบจ. และชุมชนอ่นื ๆ ๓,๐๐๐,๐๐๐ พระดาบสสัญจร ปี ๒๕๕๖
ท่ีเสนอขอองคค์ วามรู้ จำ�นวน ๑๒ แหง่
(ทำ�ร่วมกบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ) • อบต.ท่เี สนอเพิ่ม ๑๐ แห่ง
• เทศบาล เสนอเพม่ิ ๓๐ แหง่
๒.๒ ติดตามผลการเชอื่ มโยงความรใู้ ห้แก่ ๖๐ แหง่ • ชุมชนอ่นื ๆ ท่เี สนอ
อบต. เทศบาล อบจ.และชมุ ชนอื่น ขอองคค์ วามรู้
(ท�ำ ร่วมกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ )
• อบต.ในโครงการ
พระดาบสสญั จร ปี ๒๕๕๕
จำ�นวน ๑๒ แห่ง
• อบต.ท่ีเสนอเพิ่ม ๑๐ แหง่
• เทศบาล เสนอเพ่ิม ๓๐ แห่ง
• ชมุ ชนอ่นื ๆ ทเ่ี สนอขอองคค์ วามรู้

๒.๓ ประชุมวชิ าการด้านการนำ�แนว ๑ ครง้ั ๒,๐๐๐,๐๐๐ • นกั วชิ าการทีม่ งี านวิจยั
พระราชดำ�ริไปประยุกต์ใช้ หรือทำ�งานเกีย่ วขอ้ งกบั
(ท�ำ ร่วมกบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น) การนำ�แนวพระราชด�ำ ริ
ไปประยกุ ตใ์ ช้
• ภาคีสืบสานแนวพระราชดำ�ริ
ซง่ึ มีองค์ความรแู้ นว
พระราชด�ำ รดิ า้ นต่างๆ

86 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลติ

๑) เพ่อื ใหข้ ้อมลู ถูกต้อง เปน็ จรงิ ๑) ไดช้ ดุ ข้อมูลทีน่ ำ�มาเสนอใหเ้ หน็ ผลการเปลี่ยนแปลง
และนำ�มาวิเคราะห์เสนออย่างเป็นระบบ จากการพฒั นา
๒) เพอ่ื น�ำ ไปต่อยอดการพัฒนา

๑) เพ่ือตดิ ตามผลการพฒั นา ๑) รายงานสถานการณ์และการตดิ ตามผลการพัฒนา
และการนำ�องค์ความรไู้ ปใชใ้ นพ้ืนที่ เพ่อื นำ�ไปสกู่ ารปรบั แผนระยะตอ่ ไป
รวมถงึ ขอ้ เสนอแนะด้านต่างๆ

๑) เพ่ือเผยแพรแ่ นวพระราชดำ�ริ ๑) เครือขา่ ยท้องถน่ิ ปิดทองหลงั พระฯ
สูก่ ารปรบั ใช้ของชมุ ชนท้องถ่ิน ๒) เกิดเครอื ข่ายผู้เช่ียวชาญ
๒) สรา้ งความรจู้ ากการประยกุ ต์ใช้ ๓) เกดิ ความรูใ้ หม่จากการประยกุ ตใ์ ช้ของชุมชน

๑) เพอื่ ตดิ ตามผลลพั ธท์ ีช่ าวบ้านในพน้ื ทไ่ี ด้รับ ๑) สรุปความรใู้ หม่ทเ่ี กดิ ขึน้ จากการปฏิบตั ิจริงของชุมชน

จากการนำ�องค์ความรไู้ ปใช้แกป้ ญั หา ๒) เกดิ อปท.ต้นแบบทนี่ �ำ แนวพระราชดำ�รไิ ปประยกุ ต์ใช้ส�ำ เรจ็

ไดอ้ ย่างย่ังยนื ๓) เกดิ ชุดความรูพ้ ร้อมใช้ของ อปท.

๒) เพือ่ สร้างความร้จู ากการประยุกตใ์ ชใ้ นพื้นที่

๑) เพื่อเปน็ เวทีแลกเปลย่ี นความรู้ ๑) ได้ฐานขอ้ มลู นักวิชาการท่ีมคี วามเชย่ี วชาญการน�ำ

และเพ่ิมพนู ความร้แู นวพระราชด�ำ ริ แนวพระราชดำ�ริไปปฏบิ ตั ิในมิติตา่ งๆ

ในมิตติ า่ งๆ ๒) ได้ชดุ ความรู้แนวพระราชด�ำ ริ ๖ มิติ

๒) เพื่อสร้างเครือขา่ ยนักวชิ าการและผเู้ ชีย่ วชาญ ทผี่ า่ นการ verify โดยผ้เู ช่ยี วชาญทกุ สาขา

ทสี่ นับสนนุ การเชอื่ มโยงองค์ความรู้

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 87
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนและงบประมาณประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลุม่ เปา้ หมาย
หน่วย บาท

๒.๔ การบริการความร้พู ร้อมใช้ บนหน้า ๕๐ เรื่อง - • เกษตรกรทเ่ี ปน็ สมาชกิ
เวบ็ ไซต์ และส่งข้อความสน้ั (SMS) ๒๗๐,๐๐๐ ราย
ผา่ นทางโทรศัพท์เคลอ่ื นท่รี ะบบ DTAC
(ร่วมกับมลู นธิ สิ ำ�นกึ รักบ้านเกิด)

๓. สนับสนนุ การนำ�องคค์ วามรูเ้ ขา้ ไปใชใ้ นในสถาบันการศึกษา ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๓.๑ ท�ำ ความร่วมมือกบั สถาบนั อดุ มศกึ ษา ๑๐ แห่ง ๕,๐๐๐,๐๐๐ • สถาบนั อดุ มศกึ ษาในจังหวัด
พ้ืนท่ีขยายผล ๑๐ แหง่
• สถาบันการศกึ ษาอ่นื ๆ
• โครงการ SIFE
• วทิ ยาลัยชุมชน

๓.๒ สนบั สนนุ ทุนการทำ�วิทยานพิ นธ์ ๑๐๐ ทุน ๒,๐๐๐,๐๐๐ • สารนิพนธ์ และวทิ ยานิพนธ์ ๑๐๐
สารนิพนธ์ และภาคนพิ นธ์ ใหแ้ ก ่ จ�ำ นวน ๑๐๐ เรื่อง
นักศกึ ษาในสถาบนั อุดมศึกษา ทม่ี ีหวั ข้อ • นำ�รอ่ งที่ NIDA
เรอื่ งการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำ ริ • สถาบันอดุ มศกึ ษาอืน่ ๆ
ในจงั หวัดพน้ื ทข่ี ยายผล ๑๐ แห่ง

๓.๓ การท�ำ สอ่ื การเรยี นการสอน ๖ เรือ่ ง ๒,๐๐๐,๐๐๐ • โรงเรียนในพ้ืนทตี่ น้ แบบ
e-learning และขยายผล

๔. การสรา้ งฐานขอ้ มูลและคลังความรู้ ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ครภู มู ิปัญญา ๓๐ ราย
๓๐ เร่อื ง • ครูภูมิปัญญาทอ่ี ย่นู อก
๔.๑ ถอดความรจู้ ากครูภูมิปัญญา พนื้ ทขี่ องโครงการ
และศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ่างๆ • ศูนย์กสกิ รรมธรรมชาติ
• ศนู ย์การเรยี นรู้
เศรษฐกิจพอเพียง

88 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

วัตถุประสงค์ ผลผลติ

๑) เพอ่ื ขยายผลแนวพระราชด�ำ ริให้ประชาชน ๑) ได้ชดุ ความรพู้ รอ้ มใช้ สำ�หรบั ส่งใหม้ ลู นธิ ิสำ�นกึ รกั บ้านเกิด
ไดร้ บั ความรทู้ ี่เปน็ ประโยชนต์ ่อการประกอบ ๒) ได้เครอื ข่ายเพมิ่ ขน้ึ
อาชีพและด�ำ เนินชีวิต
๒) เพ่อื ขยายเครือข่ายสร้างความเข้าใจ
ให้กวา้ งขวางย่งิ ข้นึ

๑) เพ่ือขยายเครอื ข่ายความเขา้ ใจ ๑) เกิดความรว่ มมือกบั สถาบันอุดมศึกษาในพืน้ ท่ี ท่ที ำ�หน้าท่ี

แนวพระราชด�ำ ริ สูก่ ารปรับใชข้ องนกั เรยี น เปน็ node ในการบรกิ ารเช่ือมโยงความรู้ และถอดบทเรียน

นักศึกษา การนำ�แนวพระราชดำ�รไิ ปปฏบิ ตั ิ

๒) เพอ่ื ให้อาจารย์ และนกั ศึกษา ได้มโี อกาส

เรยี นรู้ชุมชนท่นี �ำ แนวพระราชด�ำ ริไปปฏิบัติ

๑) เพ่อื เผยแพรแ่ นวพระราชด�ำ รสิ ่กู ารปรบั ใช้ ๑) ได้วิทยานพิ นธ์ สารนิพนธ์ และภาคนิพนธ์ ที่มเี นื้อหาสาระ
ของนักศึกษา เกยี่ วกับการนำ�แนวพระราชดำ�ริไปปฏิบัติ
๒) เพอื่ ส่งเสริมการเรยี นร้แู นวพระราชดำ�ริ
จากประสบการณจ์ ริงในภูมสิ ังคมตา่ งๆ

๑) เพอื่ เป็นส่ือการเรยี นการสอนแนวพระราชด�ำ ริ ๑) ไดส้ อื่ ส�ำ หรบั การเรยี นการสอน

๑) รวบรวมขอ้ มูลส�ำ หรบั ใสใ่ นระบบคลงั ความรู้ ๑) ได้ขอ้ มูลสำ�หรบั นำ�ขนึ้ ระบบจดั การความรู้

และบรกิ ารความรู้ และเวบ็ ไซตข์ องสถาบนั ฯ รวมทัง้ เป็นฐานขอ้ มูล

๒) จัดทำ�ฐานขอ้ มลู ครภู ูมิปญั ญาและผเู้ ชย่ี วชาญ สำ�หรบั ใหบ้ รกิ ารความรูไ้ ด้

แตล่ ะดา้ น

๓) น�ำ ไปจัดทำ�ชุดความรู้พรอ้ มใช้

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 89
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

แผนและงบประมาณประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลุ่มเป้าหมาย
หนว่ ย บาท

๔.๒ การเผยแพรฐ่ านขอ้ มูลและองค์ความรู้ ๓ รปู แบบ ๑,๕๐๐,๐๐๐ • ชมุ ชนในพนื้ ทต่ี ้นแบบ
• ตลาดนัดความรู้ออนไลน์ และพ้ืนท่ขี ยายผล
• จัดระบบเผยแพร่ทางเว็บไซต์ • นกั เรยี น นักศกึ ษา
• จดั พมิ พเ์ อกสารชดุ ความรู้พรอ้ มใช้ • ชุมชนท่ีเปน็ นักปฏบิ ตั ิจริง

๕. งานนวตั กรรม ๗,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๑ ครง้ั ๗,๐๐๐,๐๐๐ ผเู้ ขา้ รว่ มงานประมาณ ๑,๐๐๐ คน
• บคุ คล, องคก์ ร
๕.๒ International conference ทงั้ ในและต่างประเทศ
(จดั รว่ มกบั ภาคีสบื สานแนวพระราชดำ�ร)ิ ทม่ี ีประสบการณก์ ารพัฒนา
ตามแนวปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง
• ภาคสี บื สานแนวพระราชดำ�ริ

๖. งานสนบั สนนุ โครงการ/กจิ กรรมเฉพาะกจิ ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๖.๑ กิจกรรมสนับสนนุ การพฒั นาขอ้ มลู ๔ พื้นท่ี ๑,๐๐๐,๐๐๐ • พ้ืนทต่ี ้นแบบ
และระบบรายงาน • พื้นท่ีขยายผล

๖.๒ กิจกรรมจัดการความรู้ เชน่ เชอื่ มโยง ๔ ครง้ั ๒,๐๐๐,๐๐๐ • ชาวบา้ น อสพ.ครูภูมปิ ญั ญา
ความรู้ ถอดความรู้ สรปุ บทเรียน • ภาคีสืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
การศกึ ษาดงู าน อบรม • หนว่ ยงานรัฐ ทอ้ งถ่ิน
และการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้

๖.๓ กิจกรรมงานพฒั นากระบวนการทำ�งาน ๓ ครง้ั ๒,๐๐๐,๐๐๐ • องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
ร่วมกนั บูรณาการตามแนวพระราชด�ำ ริ • หนว่ ยงานราชการ

๖.๔ สนับสนนุ การนำ�โครงการไปปฏบิ ตั ิ ๔ พนื้ ที่ ๑,๐๐๐,๐๐๐ • พน้ื ทตี่ ้นแบบ
และการติดตามความกา้ วหน้างาน • พนื้ ที่ขยายผล

90 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลิต

๑) เพื่อน�ำ ฐานข้อมูลและองคค์ วามรู้ตามแนว ๑) ได้เอกสาร และส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท่ีรวบรวมชุดความรู้
พระราชด�ำ รทิ มี่ กี ารน�ำ ไปใชแ้ ล้วส�ำ เร็จ พร้อมใชส้ �ำ หรับเผยแพรใ่ หผ้ ู้สนใจ
มาเผยแพร่

๑) เพื่อเผยแพร่ความรู้และประสบการณ์ ๑) เกดิ เครอื ขา่ ยปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในระดับนานาชาติ
จากการประยุกต์ใชแ้ นวพระราชด�ำ ริ ๒) ยกระดับความรขู้ องชมุ ชนสรู่ ะดบั นานาชาติ
ทไ่ี ด้ผล ให้แก่นานาชาติ
๒) เพอ่ื เพิม่ พนู ความรปู้ ระสบการณ์
จากกรณศี กึ ษาในต่างประเทศ

๑) เพื่อจัดระบบข้อมลู สำ�หรับนำ�เสนอการ ๑) ได้ระบบขอ้ มลู และการรายงานผลท่ีน�ำ ส่กู ารตดั สนิ ใจ
รายงานผลและพฒั นาต่อยอดงานในพน้ื ที่ พัฒนางาน

๑) เพอ่ื แลกเปลีย่ นความรู้และ ๑) เกดิ องค์ความรใู้ หม่
สกัดความรใู้ หมจ่ ากการปฏบิ ัตจิ ริง ๒) เกิดการขยายผลแนว
๒) เพ่อื ขยายองค์ความรแู้ นวพระราชด�ำ ริ
พระราชด�ำ ริไปสู่การปฏิบัติจรงิ

๑) เพือ่ สรา้ งเครอื ข่ายการทำ�งาน สบื สานแนว ๑) เกดิ เครือขา่ ยการท�ำ งานสบื สานแนวพระราชดำ�ริ
พระราชด�ำ ริและเชอื่ มโยงแผนงานกับภาคี

๑) เพอ่ื ใหเ้ กิดผลการพฒั นา และปรับปรุง ๑) เกิดผลการด�ำ เนนิ งานตามท่กี ำ�หนดไวใ้ นแผนงาน
การทำ�งานให้ดยี ่งิ ขนึ้ และข้อเสนอแนะตอ่ การปรบั ปรงุ งาน

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 91
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนและงบประมาณประจำ�ปี ๒๕๕๗ มลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ กลุ่มเปา้ หมาย
หน่วย บาท

๖.๕ งานสนับสนนุ ยทุ ธศาสตร์ ๕ พนื้ ที่ ๓,๐๐๐,๐๐๐ • พื้นท่ีต้นแบบ
การพฒั นาประเทศ และนโยบายรฐั บาล • พื้นที่ขยายผล
• พน้ ทต่ี ามนโยบายรัฐบาล

๗. ค่าใชจ้ า่ ยส�ำ หรับบรหิ ารจัดการ ๕๐๐,๐๐๐
รวมงบประมาณ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐

ด้านการส่งเสรมิ การพฒั นา

๑. การสง่ เสรมิ การแก้ไขปญั หาและพัฒนาระดับพ้ืนที่ ๑๐๖,๙๐๐,๐๐๐ บาท

๑.๑ โครงการพัฒนาพ้นื ทต่ี ้นแบบบรู ณา ๑๙ หมบู่ า้ น ๔๐,๕๐๐,๐๐๐
การแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพ้นื ทจี่ ังหวัดนา่ น ๑,๖๗๒ ครวั เรอื น
ตามแนวพระราชดำ�ริ ชาวบ้านในพื้นทต่ี น้ แบบ
๑) การเสรมิ สรา้ งความพอเพยี ง และเพยี งพอ ท้องถิ่น / ทอ้ งท่ี
- การแปรรูปเพื่อเพมิ่ ผลผลิต จังหวดั
ทางการเกษตร ภาคใี นพื้นที่
- การใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรนำ�้

อย่างยง่ั ยืน
- การปรับปรงุ ดนิ ให้เหมาะสมกับ
การเพาะปลูก
- การปลูกพืชเศรษฐกจิ และพืชหลังนา

แบบพอเพยี ง
- การบริหารจัดการกองทนุ
๒) การเตรยี มการเพือ่ ส่คู วามยั่งยืน
- พฒั นาบุคลากรในพน้ื ทด่ี ำ�เนินงาน

(การฝึกอบรม และการศกึ ษาดงู าน
เพิม่ เตมิ )
- การเช่ือมโยงแผนชมุ ชนกบั แผน
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
และหน่วยงานราชการปกติ
- การปลกู ป่าเศรษฐกจิ และป่าใชส้ อย
ระยะท่ี ๒

92 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

วัตถุประสงค์ ผลผลติ

๑) เพอื่ น�ำ องค์ความรจู้ ากการทำ�งานตามแนวทาง ๑) เกิดการรบั รแู้ ละนำ�แนวทางปดิ ทองหลังพระฯ
ของปิดทองหลังพระฯ ขยายผลใหห้ นว่ ยงาน สู่การปฏบิ ตั ใิ นพนื้ ทีท่ ่ีหลากหลาย สอดคลอ้ งนโยบายรัฐบาล
ในภาคส่วนตา่ งๆ น�ำ ไปประยุกตใ์ ช้

๑.) พัฒนาให้ชาวบ้านมรี ายไดส้ มำ�่ เสมอ ๑.) ผลผลติ ของพื้นทีม่ ีมาตรฐานตรงตามความตอ้ งการ
ชีวิตพอสบายขน้ึ และใช้หนีห้ มด ของตลาด
๒.) เป็นตน้ แบบส�ำ หรบั การเรียนรใู้ นการพัฒนา ๒.) เกดิ กองทนุ การพัฒนาทบ่ี รหิ ารจัดการเองโดยชาวบา้ น
ตามแนวพระราชดำ�ริท่คี รบวงจร

๑) เตรยี มการรองรับขัน้ การพฒั นาย่งั ยืน ๑) เกิดพนื้ ทป่ี ลูกปา่ เศรษฐกจิ และป่าใช้สอยจ�ำ นวน
ทชี่ าวบ้านมรี ายไดเ้ พิ่มขึน้ และสามารถ ๑๖,๐๐๐ ไร่ ทเ่ี หลอื จากการท�ำ ไร่หมนุ เวยี น
พง่ึ พาตนเองได้

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 93
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

แผนและงบประมาณประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ กลุ่มเป้าหมาย
หนว่ ย บาท

๓.) คา่ ใช้จา่ ยบรหิ ารจดั การในพื้นท่ี จ.นา่ น ๑๕๒ ครวั เรอื น ๗,๔๐๐,๐๐๐ เจา้ หนา้ ทีป่ ฏิบตั ิการพืน้ ท่ี จ.น่าน
- เงินเดือน / คา่ จ้าง ๒ พน้ื ท่ี ๕๙,๐๐๐,๐๐๐ ภาคีเครือขา่ ยในพื้นท่ี
- ค่าสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
- คา่ ใช้จ่ายในการจดั ประชุม / แสดง ชุมชน
ท้องถิ่น / ท้องที่
นิทรรศการ จงั หวัด
๑.๒ โครงการบรหิ ารจดั การนำ�้ อยา่ ง ภาคีสบื สานแนวพระราชดำ�ริ
ยงั่ ยืน อ่างเก็บน้ำ� หว้ ยคลา้ ยอนั เนอื่ งมาจาก
พระราชด�ำริ ชุมชน
๑) การเสรมิ สรา้ งความพอเพยี ง และเพยี งพอ ทอ้ งถ่ิน / ทอ้ งที่
จังหวัด
- การพัฒนาด้านการเกษตรแบบ หน่วยงานสืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
ผสมผสาน การปลกู พืชหลังนา

และการปศสุ ตั ว์ ในรปู แบบของ
ฟารม์ ตวั อย่างในสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชนิ ีนาถ

- การพฒั นามาตรฐานของผลติ ภัณฑ์
ทต่ี รงตามความตอ้ งการตลาด

- การปรับปรงุ และพัฒนาระบบน�ำ้
๒) คา่ ใชจ้ ่ายบริหารจัดการในพ้นื ท่จี งั หวัด
อดุ รธานี

- เงนิ เดอื น ค่าเช่า คา่ สาธารณูปโภค
อุปกรณ์

๑.๓ พื้นท่ีต้นแบบบรู ณาการแกไ้ ขปญั หา
และพัฒนาพ้ืนที่
๑) กระบวนการเขา้ ใจ เข้าถงึ และการ

จัดทำ�แผนพัฒนาชนบทฯ
๒) การจดั ต้งั ศูนย์ปฏิบัติการและเชอื่ มโยง
การท�ำ งานของพ้ืนที่ต้นแบบ
และคา่ บรหิ ารจัดการในศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร
๓) การสนบั สนุนการแก้ไขปญั หาเร่งดว่ น
ของพน้ื ที่
๔) การสนบั สนุนกจิ กรรมเชงิ พนื้ ท่ี ๖ มติ ิ

94 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

วัตถปุ ระสงค์ ผลผลิต

๑.) เพื่อมีระบบสนบั สนนุ การทำ�งาน ๑.) เกดิ การสนบั สนนุ การท�ำ งานของพน้ื ทีต่ ้นแบบ
ของพ้นื ทีต่ ้นแบบ ที่มีประสิทธภิ าพ

๑) เพ่ิมรายได้ ลดรายจา่ ยในครัวเรือน ๑.) ชาวบ้านลดภาระรายจ่ายจากการซ้อื สินคา้ เพื่อบรโิ ภค
เน้นการปลกู พชื ทีบ่ รโิ ภคในชวี ติ ประจ�ำ วนั และมีรายไดเ้ พิ่มข้ึน
และมรี ายได้ตลอดปี ๒.) ลดอตั ราการเดนิ ทางออกนอกพ้ืนที่ เพือ่ หางานทำ�ในเมือง
๒.) พัฒนาคุณภาพผลผลติ เปน็ ที่ยอมรับ
สามารถแขง่ ขันในตลาดได้
๓.) ใหเ้ กดิ การบริหารจัดการทรพั ยากรทม่ี อี ย ู่
ในพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ
๔.) เป็นพ้ืนท่ีต้นแบบการเรียนรู้
ในการบริหารจดั การนำ้�
และการสรา้ งรายไดด้ า้ นเกษตรแกค่ รวั เรอื น
ในพื้นทีภ่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 95
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

แผนและงบประมาณประจำ�ปี ๒๕๕๗ มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลุ่มเปา้ หมาย
หน่วย บาท

๒. การดำ�เนนิ งานตามแผนพฒั นาชนบทเชงิ พื้นที่ประยุกตต์ ามพระราชดำ�ริ ๒๘,๑๐๐.๐๐๐ บาท

๒.๑ การสร้างความเข้าใจ เข้าถงึ และการ ๓๕ หมบู่ า้ น ๑๐,๕๐๐,๐๐๐ ชุมชน
จดั ทำ�แผนพฒั นาชนบทเชิงพื้นประยกุ ต์ ทอ้ งถิ่น / ท้องที่
ตามพระราชดำ�ริ ๗ ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ ๓๕ หม่บู า้ น จังหวดั
๑) การท�ำ ความเข้าใจ ๓๕ หม่บู ้าน ภาคสี ืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
๒) การสำ�รวจและวิเคราะห์ขอ้ มลู พื้นท ี่ ชมุ ชนรอบๆ พ้นื ทขี่ ยายผล
ในทกุ มิติ
๓) การวิเคราะห์ปญั หา ๑๐,๖๐๐๐,๐๐๐ ชมุ ชน / ท้องถนิ่ / ทอ้ งท่ี /
และความตอ้ งการของชาวบา้ น ๗,๐๐๐,๐๐๐ จังหวดั / ภาคีสบื สาน
๔) จัดทำ�แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม แนวพระราชดำ�ริ
เพอ่ื แก้ปัญหาชมุ ชน
๕) ท�ำ แผนชีวิตชุมชน
๖) บรู ณาการแผนหน่วยงาน
และแผนชวี ติ ชมุ ชน
๗) จัดทำ�แผนพัฒนาชนบทเชิงพืน้ ที่

ประยกุ ตต์ ามพระราชด�ำ ริ
๒.๒ การสนบั สนุนทุนกจิ กรรมการพัฒนา
แบบบูรณาการ (กจิ กรรมการแกป้ ัญหาใน
ระยะเรง่ ด่วนของหม่บู ้าน Quick Win)
๒.๓ การพฒั นาอาสาสมัครพัฒนาหม่บู า้ น

๓ การสง่ เสริมการเรยี นรใู้ นพน้ื ท่ีสืบสานแนวพระราชด�ำ ริ ๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๓.๑ พน้ื ทีต่ ้นแบบและขยายพนื้ ที่ ๘,๐๐๐,๐๐๐ หน่วยงานภาครัฐ
ปดิ ทองหลังพระฯ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
๓.๒ พื้นทส่ี ืบสานแนวพระราชดำ�ริ สถาบนั การศกึ ษา
เอกชน
ครูภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่
ส่อื มวลชน

รวมงบประมาณ ๑๔๓,๐๐๐,๐๐๐

96 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

วัตถุประสงค์ ผลผลิต

๑) ชาวบ้านมคี วามเขา้ ใจในขอ้ มูลท่เี ปน็ จริง ๑) เกิดแผนพฒั นาชนบทเชิงพน้ื ท่ีทเี่ ปน็ การบูรณาการท�ำ งาน
ของหมบู่ ้าน รปู ปัญหาและความต้องการ ทุกภาคส่วน และสอดคลอ้ งกบั หลกั การองคค์ วามรู้ ๖ มติ ิ
ของตนในทกุ มิติ ประหยดั เรยี บงา่ ย ได้ประโยชน์สูงสุด และผลลัพธว์ ดั ผล
๒) ชาวบา้ นมอี งคค์ วามรู้และพรอ้ มที่ ทชี่ าวบ้านได้อะไรจากกจิ กรรมการพัฒนา
จะลุกขนึ้ มาท�ำ งานดว้ ยตนเอง ๒) ขา้ ราชการและชาวบา้ นได้รบั ความร้เู ชงิ กระบวนการ
ทุกกระบวนการ (เขา้ ใจ เขา้ ถึง และสามารถถ่ายทอดตอ่ ในการขยายผลได้
และพัฒนา)
๓) การทำ�งานร่วมกันระหวา่ งชาวบ้าน
และข้าราชการอย่างบูรณาการ
๔) การขยายผลการพัฒนาสบื สานแนว
พระราชดำ�รสิ ู่พน้ื ที่ชุมชนครอบคลมุ
ท้งั จงั หวัด

๑) สร้างการรบั รู้และความเข้าใจเก่ียวกบั ๑) กลุ่มการขยายผลสพู่ ื้นท่ีชุมชนอ่ืนๆ
แนวทางการสบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
ตอ่ กลุม่ เปา้ หมาย

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ 97
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

แผนและงบประมาณประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ กลุม่ เป้าหมาย
หน่วย บาท

ด้านการส่ือสารสาธารณะและภาคีสมั พนั ธ์

๑. งานเผยแพร่กิจกรรมพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ รขิ องมูลนธิ ิและสถาบันฯ (เผยแพร)่ ๑๐,๕๐๐,๐๐๐ บาท

- งานสง่ เสริมการพฒั นา ๑ ครั้ง ๕๐๐,๐๐๐ ครม. ส�ำ นกั งบประมาณ
(กิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ต่างๆ ๓ ครั้ง ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ กรรมาธกิ ารงบประมาณฯ
ภายในพืน้ ทตี่ ้นแบบและขยายผล) หน่วยงานภาครฐั เอกชน
- งานจัดการความรู้ ส่ือมวลชน
(องค์ความรู้ปิดทองใหมๆ่ ทเี่ กิดขึ้น) องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
- ดำ�เนินงานร่วมกับส่ือมวลชน ภาคเี ครอื ขา่ ย สถาบนั การศึกษา
และภาคเี ครือข่ายปดิ ทอง ผูน้ �ำ เยาวชนเยาวชนคนรุ่นใหม่
- เชอ่ื มโยงและขบั เคลอื่ นผา่ นกลมุ่ เยาวชน ประชาชนท่วั ไป
คนรุ่นใหม่
๑.๑ จัดกิจกรรมพบปะและแลกเปล่ยี น
ความคิดเห็น ระหว่างผบู้ รหิ าร
และสอ่ื มวลชน ๒๕๕๗
(press conference)
๑.๒ การเผยแพรผ่ า่ นสอ่ื ตา่ งๆ เชน่ ทวี ี
วิทยุ โทรทัศน์ หนงั สอื พิมพ์ นติ ยสาร
สอื่ มัลตมิ ีเดยี Social Media เป็นตน้

๒. งานผลิตสอ่ื ประชาสัมพันธ์ (งานผลิต) ๓๐,๑๐๐,๐๐๐ บาท

๒.๑ จดหมายขา่ วปิดทองรายเดือน ๑๒ ครงั้ ๓,๖๐๐,๐๐๐ หนว่ ยงานภาครัฐ เอกชน
๒.๒ งานผลิตวดี ทิ ัศน์ เยาวชน สถาบันการศกึ ษา
๒.๒.๑ หนงั ส้ัน “เร่อื งเล่าของชุมชน” ๑ คร้งั ๕,๐๐๐,๐๐๐ ส่ือมวลชน
๒.๒.๒ คลิปองคค์ วามรปู้ ดิ ทอง ๑๐ เร่ือง ๒,๕๐๐,๐๐๐ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
๒.๓ สารคดปี ดิ ทองหลงั พระ (เร่อื งวิถีชวี ติ ) ๔ ครง้ั ๖,๐๐๐,๐๐๐ ภาคีเครือขา่ ย ประชาชนทว่ั ไป
๒.๔ Spot ปดิ ทองหลงั พระฯ
๒.๔.๑ spot โทรทศั น์ ๓,๐๐๐,๐๐๐
๒.๔.๑ spot วิทยุ ๕๐๐,๐๐๐
๒.๕ คลงั ข้อมูลส�ำ หรบั ส่อื มวลชน ๑,๐๐๐,๐๐๐
๒.๖ รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖ ๑,๐๐๐,๐๐๐

98 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๖
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

วัตถปุ ระสงค์ ผลผลติ

๑) กลมุ่ เป้าหมายได้รับทราบผลการด�ำ เนนิ ๑) สถาบันฯเป็นองคก์ รขับเคลอื่ นการพฒั นาประเทศ
กจิ กรรมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ โดยขยายผลแนวพระราชด�ำ รใิ ห้เกดิ ประโยชน์แก่ประชาชน
(กิจกรรมปดิ ทองหลังพระฯ) อยา่ งกว้างขวาง
ของมูลนิธิและสถาบัน ๒) กจิ กรรมและองคค์ วามร้ปู ิดทองหลงั พระ เป็นทางเลอื กใหม่
๒) กลุ่มเป้าหมายน�ำ กจิ กรรม ในการแก้ไขปญั หาและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้นึ
และองค์ความรปู้ ิดทองหลงั พระไปปรบั ใช้ ๓) เกดิ พื้นท่ีดำ�เนนิ งานปดิ ทองหลงั พระฯ กระจายตวั เพิ่มขน้ึ
พัฒนาตอ่ ยอดในพืน้ ทท่ี อ้ งถ่นิ ได้ ทวั่ ประเทศ
๓) กลุ่มเป้าหมายเกดิ ความศรัทธา ๔) แนวพระราชดำ�รเิ ป็นแนวทางหลักในการแกไ้ ขปัญหา
ในแนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนา และพัฒนาประเทศ
ตามแนวพระราชด�ำ ริ
๔) เกดิ การรับรกู้ ารด�ำ เนนิ งาน
ปดิ ทองหลงั พระในพื้นทขี่ ยายผล
และพ้ืนทีอ่ ่นื ๆ

เพ่ือเป็นเครอ่ื งมือสนับสนุนการเผยแพร่ ๑) เกิดส่อื ประชาสัมพนั ธท์ ่มี ปี ระสิทธิภาพในการเผยแพร่
กิจกรรมการพฒั นาตามแนวพระราชดำ�ริ กิจกรรมการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำ ริของมลู นธิ ิ
ของมูลนธิ แิ ละสถาบันฯ องคค์ วามรู้ และสถาบนั ฯ องคค์ วามรู้ ข่าวสาร และกิจกรรมของมลู นธิ ิ
ปิดทองหลังพระฯ ขา่ วสารและกจิ กรรม และภาคปี ิดทองหลังพระฯ ไปยงั แต่ละกลุ่มเป้าหมาย
ความร่วมมอื ระหว่างภาคปี ดิ ทองหลงั พระฯ ๒) มูลนิธิและสถาบันฯ เปน็ ที่รู้จกั กวา้ งขวางมากข้ึน
ไปยงั แตล่ ะกลุม่ เปา้ หมาย โดยปรบั เปลยี่ น
ตามพฤตกิ รรมการรบั ส่ือของแตล่ ะ
กล่มุ เปา้ หมาย (telemate)

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖ 99
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

แผนและงบประมาณประจำ�ปี ๒๕๕๗ มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ กลุม่ เปา้ หมาย
หนว่ ย บาท

๒๗. งานสื่อประชาสัมพนั ธ์อื่นๆ ๑ โครงการ ๑,๐๐๐,๐๐๐
๒.๗.๑ เอกสารแนะนำ�ปดิ ทองหลงั พระ ๗๐๐,๐๐๐
๒.๗.๒ นทิ รรศการปิดทองเคลอื่ นที่ ๓ ครงั้ ๓,๐๐๐,๐๐๐
๒.๗.๓ ท�ำ หนงั สอื สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งาน ๖ คร้ัง
๑๕ คร้งั ๒,๓๐๐,๐๐๐
พ้ืนทีป่ ิดทอง ๓ คร้ัง
๒.๗.๔ สมดุ บนั ทกึ ของชำ�ร่วย เส้อื ๓ คร้งั ๕๐๐,๐๐๐
ถุงผา้ และอืน่ ๆ
๒.๘ งานพฒั นาและบรหิ ารจัดการเว็บไซดฯ์ ๖๐๐,๐๐๐ กรมประชาสัมพนั ธ์
หนงั สือพมิ พ์ วทิ ยุ
๓. สอ่ื มวลชนสัมพันธ์ ๗,๖๐๐,๐๐๐ บาท ๒,๐๐๐,๐๐๐ โทรทัศน์ เคเบิลทีวี
สมาคมผ้สู ่ือขา่ วส่วนกลาง
๓.๑ จัดกิจกรรมพบปะและแลกเปล่ยี น ๓,๐๐๐,๐๐๐
ความคดิ เหน็ (press meeting) ๑,๐๐๐,๐๐๐
๓.๒ น�ำ สอ่ื มวลชนเดนิ ทางลงพน้ื ทด่ี �ำ เนนิ การ
ปิดทองหลังพระ (press tour) ๑,๐๐๐,๐๐๐
๓.๓ เดนิ ทางเขา้ พบสอ่ื มวลชนในโอกาสพเิ ศษ
๓.๔ นำ�ส่อื มวลชนศกึ ษาดงู านโครงการ
พระราชด�ำ รอิ ่นื ๆ
๓.๕ กิจกรรมร่วมกบั ชมรมสอ่ื มวลชน

๔. งานในพน้ื ทดี่ ำ�เนนิ การปดิ ทองหลังพระฯ ๖,๒๐๐,๐๐๐ บาท

๔.๑ การแถลงขา่ วในพน้ื ท่ี สรปุ การด�ำ เนนิ งาน ๔ ครง้ั ๑,๐๐๐,๐๐๐ ประชาสมั พนั ธจ์ ังหวดั
ในพ้ืนท่ี (press conference) ๔ คร้ัง ๒๐๐,๐๐๐ สอ่ื มวลชนทอ้ งถ่นิ
๔.๒ เดนิ ทางเข้าพบแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น (วทิ ยุชุมชน เคเบิลทีวี
ส่ือมวลชนท้องถ่นิ (press visit) ๕,๐๐๐,๐๐๐ หนงั สอื พิมพท์ ้องถ่ิน)
(๕๐,๐๐๐ บาท/ครง้ั ) หน่วยงานภาครฐั เอกชน
๔.๓ การสนบั สนนุ ส่ือทอ้ งถ่นิ ใหม้ สี ่วนร่วม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
ในการเผยแพรก่ ารด�ำ เนนิ งาน ชุมชน สถาบันการศึกษา
ปดิ ทองหลงั พระฯ ในพน้ื ท่ี) ประชาชนทัว่ ไป

100 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๖
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ


Click to View FlipBook Version