The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว (อันดับที่ 2 ประจำปี 2565)

โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Keywords: โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว,การประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

3.8 วธิ สี ร้างการมสี ่วนรว่ มกบั ผ้รู บั บริการและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในแตล่ ะฤดูกาล

การสร้างความเข้าใจกับกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน คณะกรรมการจัดการชลประทาน อาสาสมัคร
ชลประทาน อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยการประชุม อบรม ดูงาน การจดั เวทชี มุ ชน ฯลฯ

โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว มีการจัดทำแผน การเนินงานเพื่อสร้างความเข้าใจกับกลุ่มผู้ใช้น้ำคณะกรรมการ

จัดการชลประทาน อาสาสมคั รชลประทาน และ ยุวชลกร ดงั น้ี

แผน เป้าประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย งปม. ระยะเวลา ผลการดำเนินงาน

1. การประชุม 1.เพ่ือให้คณะกรรมการได้ชี้แจงผล กลุ่มบริหาร - ต.ค. - สมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ เข้าใจและเห็น

ใหญป่ ระจำปี 2 การดำเนินงานในรอบปที ีผ่ า่ นมา การใชน้ ้ำฯ เม.ย. ความสำคัญในการจัดตัง้ กลุ่มเขา้ ใจบทบาทและ

คร้งั /ปี 2. สรุปบัญชีกองทนุ หน้าทีใ่ นการบริหารจัดการนำ้

3. การวางแผนทำงานในปีต่อไป

2. การอบรม 1. เพื่อให้สมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำ ฯ กลุม่ ผู้ใชน้ ำ้ ฯ - ม.ค.-มิ.ย. - ผู้เข้ารับการอบรมเห็นความสำคัญในการเป็น

ยกระดบั กล่มุ พื้นฐานเห็นความ สำคัญ ในการ พื้นฐานในเขต กลุ่มบริหารการใชน้ ้ำและการยกระดบั เป็นกลมุ่

ผู้ใช้น้ำฯ เปน็ เปน็ กลุ่มบริหารการใช้น้ำ พ้ืนที่ สบ.คบ. บรหิ ารการใช้นำ้

กลุ่มบรหิ ารการ 2. เพื่อยกระดับกลุ่มผู้ใช้น้ำฯ เป็น

ใชน้ ำ้ กล่มุ บรหิ ารการใชน้ ้ำ

3. การพัฒนา - เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะใน อ า ส า ส ม ั ค ร - กรมกำหนด อาสาสมัครชลประทานที่เข้ารับการอบรมมี

ศกั ยภาพ การปฏบิ ัติงานในพน้ื ที่ ชลประทาน ความรู้และทกั ษะในการปฏิบัติงานเพิม่ พูนและ

อาสาสมคั ร สามารถนำไปใช้ในการปฏิบตั งิ านไดจ้ ริง

ชลประทาน

4. การประชุม เพอื่ ให้คณะกรรมการฯ มกี ารช้ีแจง ค ณ ะ - - - ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบผลการปฏิบัติงาน

คณะกรรมการ ถึงผลการดำเนินงาน บทบาท กรรมการฯ ชองของคณะกรรมการฯ และมีการแลกเปลี่ยน

จัดการ หน้าทใี่ นปที ่ผี า่ นมา ทัศนะคติในการทำงานเพื่อนำไปใช้ในการ

ชลประทาน ปฏิบัตไิ ด้จรงิ

5.การฝึกอบรม เพื่อให้ยุวชลกรได้รับความรู้ในการ น ั ก เ ร ี ย น ม.ค.-มิ.ย. - ยุวชลกรไปศึกษาดูงาน รู้ถึงคุณค่าและ
ความสำคัญของการชลประทาน และมีการ
ยุวชลกร บริหารจัดการน้ำ และมีการและ โรงเรยี น แลกเปลยี่ นความรู้กัน

เปล่ยี นความคดิ เห็น ในเขตพื้นที่

98

โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว มีแผนการดำเนินการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้นำ

ชลประทาน ดังนี

แผน เป้าประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย งปม. ระยะเวลา ผลการดำเนนิ งาน

การประชมุ - เพ่อื ใหผ้ ้เู ข้าประชมุ มคี วามรู้ - สมาชิกกลุ่มผู้ใช้นำ ม.ค.-มิ.ย. - ผู้เข้าร่วมประชุมมีความ สามารถ
เสรมิ สรา้ ง และการปฏิบัตงิ านในเรอื่ งการ ชลประทาน ในการปฏิบัติงานใน เรื่องระบบ
ความเขม้ แขง็ ชลประทาน
กล่มุ ผู้ใชน้ ำ บริหารจัดการนำ , การสง่ นำ - กลมุ่ ผู้ใชน้ ำฯ มีการรวมกล่มุ กนั เพื่อ
ความเป็นองค์กรผ้ใู ช้นำฯ ทเี่ ขม้ แขง็
และบำรุงรักษาและบทบาท
ขององคก์ รผ้ใู ชน้ ำ

จากการดำเนินงานที่ผ่านมา โครงการส่งนำและบำรุงรกั ษาแม่ลาว สามารถปฏิบัติงาน ได้ตามแผน มี

การประเมินผลที่ได้ จัดทำเป็นสรุปผลการดำเนินงาน โครงการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ตามแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายใน

การปรบั ปรุงระบบการจดั การนำและพัฒนาองค์กรผู้ใชน้ ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว มีการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งอาสาสมัครชลประทาน โดยการ
จดั ทำโครงการอบรมอาสาสมัครชลประทานตามทกี่ รมฯเปน็ ผ้จู ดั

99

การวดั ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้ใชน้ ำ้ ชลประทาน และการนำผลมาปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารให้ดยี งิ่ ขน้ึ
โครงการสง่ นำและบำรุงรักษาแมล่ าว ไดร้ ว่ มกบั ฝา่ ยสง่ นำและบำรุงรักษาที่ 1-4 ในการวดั ความพงึ พอใจและไม่พึง

พอใจของผใู้ ช้นำ โดยการใช้แบบฟอร์ม สสช. P1 ทัง 18 กลุ่มบริหารฯ ปี 2563
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

ของเกษตรกรผู้ใช้น้ำในเขตชลประทาน

100

ทังนมี กี ารสุม่ เลือกตัวอย่างในการตอบแบบสอบถาม ดังนี

ฝ่ายส่งน้ำ ตัวอย่าง พอใจ ไมพ่ อใจ
ผล ร้อยละ ผล ร้อยละ

ฝ่ายสง่ นำและบำรงุ รักษาที่ 1 กลุม่ บริหารฯหนว่ ยส่งนำท่ี 6-10 100 82 100 18

ฝ่ายส่งนำและบำรงุ รกั ษาท่ี 2 กลุม่ บรหิ ารฯหน่วยสง่ นำท่ี 11-14 100 91 100 9

ฝ่ายส่งนำและบำรงุ รักษาท่ี 3 กลมุ่ บริหารฯหน่วยส่งนำท่ี 15-18 100 85 100 15

ฝา่ ยส่งนำและบำรงุ รักษาที่ 4 กลมุ่ บรหิ ารฯหน่วยส่งนำที่ 1-5 100 95 100 5

รวม 100 88 100 12

- กระบวนการสง่ นำและบำรงุ รักษาของกรมชลประทาน

- ส่ิงอำนวยความสะดวก ทก่ี รมชลประทานจดั ให้

- การส่งนำและการบำรงุ รักษาของกรมชลประทาน

ทังนี โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว ได้นำความพึงพอใจและความคิดเห็นจาก 4 ประเด็น ของแบบสำรวจ

มาเปน็ แนวทางในการปรับปรงุ การให้บริการ ดงั นี

1. การปฏิบัตงิ านใหร้ วดเรว็ ทนั ตอ่ เวลา และความต้องการของเกษตรกร

2. ปฏบิ ตั ิตามแผนงานทก่ี ำหนด และใหม้ กี ารประชาสมั พนั ธ์เชิงรุกในพนื ที่ อยา่ งต่อเนือ่ ง

3. การปรับเปล่ียนทัศนคติทดี่ ใี นการทำงานในพนื ทข่ี องเจ้าหน้าที่

4. มองเห็นผลกระทบและข้อขัดแย้งต่างๆ ที่อาจเกิดจากการดำเนินงานของโครงการ หรือจาก ผู้ใช้นำฯ

ด้วยกัน

การประเมินความเขม้ แขงองค์กรผใู้ ช้นำ้ ชลประทาน และนำผลมาปรับปรุงความเขม้ แขงองคก์ รให้ดียิง่ ขึ้น

โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว ร่วมกบั ฝา่ ยสง่ นำและบำรุงรกั ษาท่ี1-4 ในการประเมนิ ความเข้มแข็ง

องค์กรผู้ใช้นำฯ โดยใช้แบบฟอร์ม ปมอ.3 ปมอ.4 และ ปมอ.1 จาก สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรม

ชลประทาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่นำข้อมูลไปวิเคราะห์ความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้นำ โดย จำแนกเป็น อ่อนแอ ปานกลาง และ

เขม้ แขง็ ซึง่ ผลทีไ่ ด้สามารถนำไปวางแผนส่งเสรมิ ความเข้มแขง็ ให้กับองค์กรผู้ใชน้ ำ

การพัฒนาภาคเี ครอื ข่ายในการเฝ้าระวงั ภัยอนั เกิดจากน้ำและประชาสมั พนั ธ์
โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว มีการสร้างเครือข่ายภาคีในเรื่องการช่วยแจ้งเตือนภยั และแจ้งข่าวสารเวลา
เกิดเหตวุ กิ ฤต

เครอื ข่ายภาคีภายในองคก์ ร ภายนอกองค์กร
1. กลุ่มผูใ้ ช้นำฯ 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. เทศบาล อำเภอ กำนัน
2. อาสาสมัครชลประทาน ผใู้ หญบ่ า้ น
3. ยวุ ชลกร 2. สำนักงานปอ้ งกันและบรรเทาภัยจังหวดั เชยี งราย
4. เจา้ หน้าท่ีชลประทาน 3. สำนกั งานประชาสัมพันธ์จงั หวดั เชียงราย

101

หมวดที่ 4
ผลสัมฤทธิ์

102

หมวดที่ 4

ผลสัมฤทธิ์

มิตดิ ้านประสิทธิผล

ตัวชวี้ ัดที่ 1 รอ้ ยละของพ้ืนท่บี รหิ ารจดั การนำ้ ในเขตชลประทาน (Cropping Intensity)
เป็นการวัดความหนาแน่นของการปลูกพืช หรือความถี่ของการใช้พื้นที่เพื่อการเพาะปลูกในรอบปี ถ้ามีการ

ปลูกพืชเต็มพื้นที่เพียงครั้งเดียวในรอบปี Cropping Intensity ในรอบปีนั้นจะเท่ากับ 100 โดยพื้นที่ บริหารจัดการ
น้ำในเขตชลประทาน หมายถึง จำนวนพื้นที่เพาะปลูกได้แก่ นาข้าว พืชผัก พืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น อ้อย รวมทั้งพื้นที่บอ่
ปลา บ่อกุ้ง และอื่น ๆ ที่ทำการผลิตสินค้าการเกษตรในแต่ละปี ในเขตพื้นที่รับ บริการน้ำจากระบบชลประทาน ทั้ งนี้
ไมผ้ ล ไม้ยืนตน้ ออ้ ย บ่อปลา บอ่ กุ้ง และอ่นื ๆ ใหก้ รอกขอ้ มลู 1 ครงั้ /ปี (ฤดูฝน หรอื ฤดแู ล้ง)

วธิ กี ารเก็บข้อมลู
โครงการส่งน้ำและบำรุงรกั ษาแมล่ าว ให้เจา้ หนา้ ท่ี สรวจเก็บข้อมูลพืน้ ท่เี พาะปลูกในเขตพื้นท่ชี ลประทานของโครงการ (รวม

ขอ้ มลู จากทกุ ฝา่ ยส่งน้ำและ บำรุงรักษา) ในฤดูฝนและฤดูแลง้ ทั้งนี้ ไม่นบั รวมในกรณที ่ีมีการสง่ นำ้ ใหเ้ กษตรกรนอกเขตชลประทาน

สูตรการคำนวณ
พนื ท่ีบริหารจดั การนำในเขตชลประทาน

พืนท่ชี ลประทาน

สถิตหิ รือข้อมูลทจ่ี ะนำมาคำนวณ (ปีการเพาะปลูก 2562/2563 และ 2563) 2562 2563
ปี พ.ศ. 2560 2561

พืนท่ีเพาะปลูกจริงฤดูฝน 145,650 145,614 143,849 142,421
49,679
พืนทเี่ พาะปลูกจริงฤดูแล้ง 22,944 58,828 51,892 192,100
รวมพืนทีเ่ พาะปลูกจริง 168,594 204,442 195,741
2563
พนื ทช่ี ลประทาน 169,624 ไร่ 113.25 %
การคานวณปี 2563
ร้อยละของพ้นื ท่ีบริหารจดั การน้ำในเขตโครงการ = 192100*100/169,624 = 113.25 % 5
ข้อมลู ย้อนหลงั (3 ป)ี 135%

2560 2561 2562

99.39 % 120.52 % 115.40 %

เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Le) 1 2 3 4

ตัวชีว้ ดั ไม่น้อยกวา่ 119% ไมน่ ้อยกวา่ 123% ไมน่ ้อยกว่า 127% ไม่นอ้ ยกวา่ 131%
รอ้ ยละของพ้นื ทบี่ ริหาร จดั การ หรอื หรอื หรือ หรอื
น้ำในเขตชลประทาน
(Cropping Intensity) ไมม่ ากกว่า 151% ไมม่ ากกว่า 147% ไมม่ ากกว่า 143% ไม่มากกว่า 139%

ค่าคะแนนท่ไี ด้ _______1_____ คะแนน

103

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

ร้อยละของพืน้ ที่บรหิ ารจัดการน้าในเขตชลประทาน

150.00 143.00 143.00 143.00 143.00
140.00 127 127 127 127
130.00 120.52 115.40 113.25

120.00

110.00

100.00 99.39
90.00

80.00 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
ปี 2560

รอ้ ยละของพนื ทบี่ รหิ ารจดั การนา้ ในเขตชลประทาน ค่ามาตรฐาน

ค่ามาตรฐาน2 เชงิ เสน้ (รอ้ ยละของพืนที่บริหารจดั การนา้ ในเขตชลประทาน)

ข้อมูลเปรยี บเทียบและความเชอ่ื มโยง (C/Li)
ร้อยละของการบรหิ ารจัดการพ้นื ท่เี พาะปลกู ของโครงการฯ ต่ำกวา่ ค่ามาตรฐานทก่ี ำหนด โดยมกี ารปรบั เปล่ียน

การใช้พื้นท่ีและการดำเนนิ ชวี ิตใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์เศรษฐกิจปจั จุบัน ดงั น้ี
1. ราคาผลผลติ ไมจ่ ูงใจในการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมจึงเปลีย่ นพฤตกิ รรมการใช้พ้ืนที่ เชน่ เปล่ียนเป็นท่ี

อยูอ่ าศยั บา้ นจดั สรร หรอื เป็นทรี่ กร้างเนื่องดว้ ยหลุดการจำนองเปน็ พ้ืนท่ขี องนายทนุ
2. ขาดแคลนแรงงาน เน่อื งดว้ ยประชาชนคนรุน่ ใหมไ่ มน่ ยิ มประกอบอาชพี ด้านการเกษตร
3. ขาดความรู้ ตน้ ทุน กำลงั ใจ ในการประกอบอาชพี การเกษตร เมื่อผลผลติ ไม่ไดต้ ามทห่ี วงั ป้องกนั ศัตรูพชื ไมไ่ ด้

เกดิ ความท้อถอยหมดกำลงั ใจในการประกอบอาชีพดงั กลา่ ว
4. ปริมาณน้ำท่ไี หลเขา้ พืน้ ท่ชี ลประทานลดลง เน่ืองด้วยประชากรต้นน้ำมปี รมิ าณมากขน้ึ มีการใช้นำ้ นอกเขต

ชลประทานในการดำรงชีวติ เพ่ิมขน้ึ

104

ตวั ช้ีวัดที่ 2 ร้อยละความเสียหายของพชื เศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอุทกภยั และภยั แลง้
คำอธิบายตวั ชีว้ ดั
เปน็ การวัดความเสียหายของพืชเศรษฐกิจ จากการบริหารจัดการน้ำของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแมล่ าว ตลอดฤดู
ฝนและฤดูแล้ง โดยพื้นที่ดังกล่าวจะต้องอยู่ในแผนการส่งน้ำของ โครงการชลประทาน/โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา
ความเสียหายของพืชเศรษฐกิจหมายถึง ไม่สามารถ เก็บเกี่ยวผลผลิตหลังจากที่ทำการเพาะปลูกไปแล้ว โดยความ
เสยี หายเกดิ จากอุทกภัยและภัยแล้ง ไม่รวมความ เสียหายท่เี กิดจากโรคพชื และแมลงศตั รูพืช
วธิ กี ารเก็บข้อมลู
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาและบำรุงรักษาแม่ลาว ให้เจ้าหน้าที่สำรวจและเก็บข้อมูลความเสียหาย ของพื้นที่
เพาะปลูก ที่เกิดจากอุทกภัยและภัยแล้งที่เสียหายโดยสิ้นเชิงในฤดูฝนและฤดูแล้ง รายงานข้อมูล การเพาะปลูกพืช
ประจำสัปดาห์ ผ่าน Website : http://wuse.rid.go.th/ ในระบบฐานข้อมูลการเกษตร กรมชลประทาน ของฝ่าย
สถติ ิการใช้นำ้ ชลประทาน สว่ นการใชน้ ้ำชลประทาน สำนกั บริหารจัดการน้ำและ อุทกวทิ ยา
สตู รการคำนวณ

พนื ทคี่ วามเสยี หายของพชื เศรษฐกจิ (ฤดฝู น + ฤดแู ลง้ )

จำนวนพนื ท่ีเพาะปลูกจรงิ (ฤดฝู น + ฤดแู ลง้ )

พืน้ ที่ได้รบั ความเสียหายจากภัยน้ำทว่ ม, พน้ื ที่ไดร้ ับความเสยี หายจากภัยแล้ง (ปี 2563)

พืนที่ได้รบั ความเสียหายจากอุทกภัยและภยั แล้ง (ปีการเพาะปลูก 2562/2563 และ 2563)

ฤดู ชนดิ พืช พืนทเี่ พาะปลูกจรงิ (ไร)่ พืนท่เี สยี หาย สาเหตุ
(ไร)่

ฤดฝู น พืชการเกษตร 145,406 0

ฤดูแลง้ พชื การเกษตร 39,664 0

รวม 185,070 0

การคำนวณปี 2563

รอ้ ยละความเสียหายของพชื เศรษฐกจิ ในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแลง้ = (0 x 100)/ 185,070 = 0

ขอ้ มลู ย้อนหลงั (3 ปี)

2560 2561 2562 2563

0000

เกณฑ์การให้คะแนน (Le)

ตวั ชวี ัด 1 2 3 4 5

รอ้ ยละความเสียหายของพืชเศรษฐกิจใน 0.245 0.195 0.145 0.095 0.045

เขตชลประทานจากอุทกภยั และภยั แลง้

ค่าคะแนนทไี่ ด้ ______5______ คะแนน

105

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

รอ้ ยละความเสียหายของพืชเศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภยั แลง้

0.16 0.145 0.145 0.145 0.145

0.14

0.12

0.1

0.08

0.06

0.04

0.02 0 0 0
0 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

0
ปี 2560

รอ้ ยละความเสียหายของพชื เศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอทุ กภัยและภยั แลง้ คา่ มาตรฐาน

ข้อมูลเปรียบเทียบและความเชอื่ มโยง (C/Li)
พื้นที่ชลประทานในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว ปราศจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เนื่องด้วยได้แก้ไข

ข้อบกพรอ่ งตา่ งๆของอาคารชลประทานอยา่ งต่อเน่ือง
เหตสุ ำคญั คอื การสอื่ สารประสานงาน สรา้ งการรับร้ใู หเ้ ขา้ ถงึ เขา้ ใจ และพฒั นา ทางดา้ นภมู ิประเทศ ท่ีมปี ริมาณใช้น้ำ

ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำทำให้ราษฎร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการในพื้นที่เข้าใจการดำเนินงานต่างๆ ของ
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว ส่งผลให้เกิดการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า แบ่งปันการใช้น้ำการระบายมิให้เกิดภัยพิบัติใน
พ้นื ที่

106

ตวั ช้ีวดั ท่ี 3 ร้อยละของอ่างเกบ็ นำ้ และทางน้ำชลประทานทค่ี ณุ ภาพน้ำไดเ้ กณฑ์มาตรฐาน
คำอธบิ ายตัวช้วี ัด
ค่าเฉลี่ยของการตรวจวัดคุณภาพน้ำตามเกณฑ์คุณภาพน้ำด้านการชลประทาน ในอ่างเก็บน้ำขนาด ใหญ่ ขนาดกลาง
และทางน้ำชลประทาน โดยค่าทีต่ รวจวดั และเกณฑค์ ณุ ภาพ ประกอบด้วย 6 พารามิเตอร์ ไดแ้ ก่
1. อุณหภมู ิ (Temperature) ไมเ่ กนิ 40 องศาเซลเซียส
2. ค่าความเปน็ กรด-ด่าง (pH) ระหว่าง 6.5-8.5
3. ค่าความนำไฟฟา้ (Electricity Conductivity; EC) ไม่เกนิ 2,000 ไมโครโมห/์ เซนติเมตร
4. ค่าออกซิเจนละลายนำ้ (Dissolved Oxygen; DO) ไมน่ ้อยกวา่ 2 มิลลกิ รมั /ลิตร
5. ปรมิ าณของแข็งทัง้ หมดท่ีละลายน้ำ (TDS) ไมเ่ กิน 1,300 มลิ ลิกรมั /ลิตร
6. ค่าความเคม็ (Salinity) ไม่เกนิ 1 กรัม/ลติ ร
วิธีการเกบ็ ข้อมูล
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว กำหนดจุดการตรวจวัดคุณภาพน้ำภายใน ขอบเขตที่รับผิดชอบ เช่น บริเวณอ่าง
เก็บน้ำ คลองส่งน้ำ และคลองระบายน้ำ โดยระบุจุดตรวจวัดให้ชัดเจน กำหนดช่วงเวลาในการตรวจวัด เช่น วัดทุก
เดือน วัดทุก 3 เดือน หรือวัดทุกสัปดาห์ เป็นต้น และดำเนินการ ตรวจวัดตามที่กำหนด ทั้งนี้ จะต้องแสดงผลการ
ตรวจวัดทั้ง 6 พารามิเตอร์ ประกอบในการพจิ ารณาดว้ ย
สตู รการคำนวณ

จำนวนอ่างเกบ็ นำและทางนำชลประทานที่คุณภาพนำได้เกณฑ์มาตรฐาน

จำนวนอา่ งเก็บนำและทางนำชลประทานท่ีดำเนนิ การสำรวจทงั หมด

สถิติหรือข้อมูลทจี่ ะนำมาคำนวณ

ปี พ.ศ. จำนวนอา่ งเก็บนำและทางนำชลประทาน จำนวนอ่างเกบ็ นำและทางนำชลประทาน

ทีค่ ณุ ภาพนำได้เกณฑม์ าตรฐาน ท่ี ดำเนินการสำรวจทังหมด

2560 2 2

2561 2 2

2562 2 2

2563 2 2

การคำนวณปี 2563

รอ้ ยละของอ่างเกบน้ำและทางนำ้ ชลประทานที่คุณภาพนำ้ ไดเ้ กณฑม์ าตรฐาน = (2x100) / 2 = 100%

ขอ้ มูลยอ้ นหลัง (3 ป)ี

2560 2561 2562 2563

100% 100% 100% 100%

เกณฑ์การให้คะแนน (Le)

ตวั ชวี ัด 1 2 3 4 5

รอ้ ยละของอา่ งเกบ็ นำและทางนำ

ชลประทานที่คุณภาพนำได้เกณฑ์ 80 85 90 95 100

มาตรฐาน

ค่าคะแนนท่ไี ด้ ______5.00______ คะแนน

107

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

รอ้ ยละของอา่ งเกบน้าและทางน้าชลประทานท่ีคณุ ภาพนา้ ได้เกณฑม์ าตรฐาน

100 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
90.0% 90.0%
90.0% 90.0%
80

60 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561
ปี 2558

รอ้ ยละของอ่างเก็บน้าและทางนา้ ชลประทานท่คี ณุ ภาพน้าได้เกณฑม์ าตรฐาน ค่ามาตราฐาน

ขอ้ มูลเปรยี บเทยี บและความเช่อื มโยง (C/Li)
ตง้ั แต่ปี 2558 เป็นตน้ ไป โครงการฯ มแี ผนการวัดคุณภาพนำ้ ทุกเดือนๆ ละ 1 จดุ ท่ีคลองซอย 8L-RMC ซ่ึงสง่

นำ้ ให้ประปาภูมภิ าคสาขาพาน ต่อมาได้เพ่ิมจดุ ตรวจวัดท่เี ขือ่ นแม่สรวยอกี 1 จุด เปน็ เดือนละ 2 จุด

108

ตัวช้ีวัดท่ี 4 รอ้ ยละของผูใ้ ช้นำ้ ในเขตพน้ื ที่ชลประทานที่พงึ พอใจต่อการบรหิ ารจดั การนำ้
คำอธิบายตัวชี้วดั
เป็นการวัดคุณภาพการให้บริการของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ลาวที่มีต่อเกษตรกร ตามรายละเอียดแบบ
ประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจที่กำหนด โดยจะดูใน เรื่องความพึงพอใจต่อการบริหารจดั การน้ำของโครงการส่ง
น้ำและบำรงุ รกั ษา/โครงการชลประทาน หรอื ฝ่ายส่งน้ำ และบำรงุ รกั ษา
วิธกี ารเกบ็ ข้อมลู
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ให้เจ้าหน้าที่ออกสำรวจความพึง
พอใจของเกษตรกร โดยใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ (แบบ สสช. P1) ของกอง ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ ม
ของประชาชน โดยกลุ่มตัวอย่างจะต้องครอบคลุมทั้งต้นคลอง กลางคลอง และปลายคลอง ไม่น้อยกว่า 30 ตัวอย่าง/
ฝา่ ยส่งนำ้ ฯ โดยทำการประเมนิ ช่วงเดือนสงิ หาคม - กนั ยายน ของทกุ ปี ท้ังน้ี มขี ้ันตอน การสำรวจและรายงานผล ดงั นี้

1. เจ้าหน้าท่ีอธิบายวัตถุประสงค์ในการสำรวจ และความหมายของแบบสำรวจให้ผู้รับบรกิ ารที่เป็น เกษตรกร
ผู้ใชน้ ำ้ ในเขตชลประทานไดร้ ับทราบและเขา้ ใจ

2. ผู้รับบริการที่เป็นเกษตรกรผู้ใช้น้ำในเขตชลประทาน ทั้งที่ได้รวมตัวเป็นกลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน
แลว้ กรอกแบบสำรวจโดยมีเจ้าหน้าที่อธิบายไปพร้อมกัน เพื่อใหเ้ ขา้ ใจในความหมายของแตล่ ะคำถามตรงกัน กรณีท่ีเป็น
การตอบโดยคณะกรรมการบริหารกลุ่มฯ ที่มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม จะต้องเป็นตัวแทนของ คูส่งน้ำแต่ละสายหรอื
ทอ่ รับนำ้ จากคลองแตล่ ะท่อ โดยการลงมติในแต่ละคำตอบตอ้ งครอบคลมุ คสู ่งนำ้ ทกุ สายหรอื ท่อรบั น้ำทกุ ท่อ

3. ผู้รับบริการที่เป็นเกษตรกรผู้ใช้น้ำในเขตชลประทานต้องเป็นผู้ลงมือกรอกแบบสำรวจเองเพื่อให้แน่ใจ ว่า
เปน็ ความคิดเหน็ ของผูร้ ับบริการจรงิ

4. รวบรวมแบบสำรวจที่ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวนอย่างน้อย 30 ตัวอย่าง/ฝ่ายส่งน้ำฯ กรอกผลสำรวจลง
ในแบบ Google form ตามแนวทางที่กำหนดโดยกองส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ซง่ึ ระบบจะรวบรวมผลโดย
อัตโนมัติ

5. กองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน จะคำนวณร้อยละของผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทานที่พึงพอใจ
ต่อการบริหารจัดการน้ำและรายงานผลให้โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน และ ฝ่ายส่งน้ำและ
บำรงุ รักษาทราบ

109

แบบสำรวจความพงึ พอใจของเกษตรกรผใู้ ช้น้ำในเขตชลประทาน

110

สถติ ิหรือข้อมูลทจี่ ะนำมาคำนวณ (ข้อมลู กองสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ปี 2563) สรปุ
รอ้ ยละของผ้ใู ชน้ ้ำฯ ท่ีพงึ พอใจ
78.85
โครงการ

1 2 34
โครงการส่งนำ้ และบำรุงรักษาแม่ลาว 74.10 77.17 68.15 95.97

ขอ้ มูลย้อนหลงั (3 ปี)

2560 2561 2562 2563
78.85%
76.75 % 77.71 % 87.61 %
5
เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Le)
85
ตวั ชีวัด 1 2 3 4

รอ้ ยละของผ้ใู ชน้ ำในเขตพืนท่ี

ชลประทานทีพ่ ึงพอใจต่อการบริหาร 65 70 75 80

จัดการนำ

Interpulate = (80-75) = 5, (4-3) = 1, ดงั นัน (80-78.85) = 1.15, 1.15/5*1= 0.23

จะได้คะแนน 4-0.23) = 3.77

คา่ คะแนนท่ไี ด้_______3.77_______ คะแนน

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

รอ้ ยละของผู้ใช้น้าในเขตพ้นื ทชี่ ลประทานทพี่ อใจต่อการบรหิ ารจัดการนา้

90.00 77.71 87.61 78.85
88.00 75.00 75.00 75.00
86.00 ปี 2562
84.00 ปี 2561 ปี 2563
82.00
80.00
78.00 76.75
76.00 75.00
74.00
72.00
70.00
68.00

ปี 2560

รอ้ ยละของผู้ใชน้ า้ ในเขตพนื ทชี่ ลประทานท่พี อใจตอ่ การบรหิ ารจัดการนา้
ค่ามาตรฐาน
เชงิ เสน้ (ร้อยละของผใู้ ช้นา้ ในเขตพนื ทีช่ ลประทานทีพ่ อใจต่อการบริหารจัดการนา้ )

111

ขอ้ มูลเปรยี บเทียบและความเช่ือมโยง (C/Li)
เกษตรกรผูใ้ ชน้ ำ้ มีความพงึ พอใจในการใช้บริการของโครงการฯอย่างมาก เนื่องด้วยโครงการเนน้ ย้ำผู้ปฏบิ ตั ิงานใหบ้ ริการสง่
นำ้ ปริมาณทวั่ ถึงตามเวลา ดแู ลอาคารให้พร้อมใชง้ านไดต้ ลอดเวลา

112

ตัวช้ีวัดท่ี 5 ประสทิ ธิภาพชลประทานในฤดฝู น

คำอธิบายตัวชี้วัด
เป็นการตรวจสอบถึงประสิทธิภาพของการชลประทานในฤดูฝน ซึ่งหมายถึงอัตราส่วนที่คิดเป็น เปอร์เซ็นต์

ระหว่างปริมาณน้ำสุทธิที่จะต้องให้แก่พืช (Net Water Application) ต่อปริมาณน้ำทั้งหมดที่ ต้องให้แก่พืช (Gross
Water Application)

วธิ ีการเก็บขอ้ มูล
เจ้าหน้าท่โี ครงการสง่ น้ำและบำรุงรกั ษาแมล่ าว หรือฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ต้องทำการเก็บข้อมูลปริมาณน้ำ

ที่ส่งจริงเป็นรายวัน และรวบรวมวิเคราะห์เป็นข้อมูลรายสัปดาห์ รายเดือน จนเสร็จสิ้นฤดูกาลเพาะปลูกในฤดูฝน จึง
รวบรวมวิเคราะหว์ า่ ตลอดฤดูกาลเพาะปลูกใชน้ ้ำทั้งหมดเปน็ ปริมาณเท่าใด แล้วนำมาเปรียบเทียบกบั ปรมิ าณน้ำที่ตอ้ ง
ส่งตามทฤษฎี

สตู รการคำนวณ

(ปริมาณนำ้ ตามทฤษฎี – ฝนใช้การ + การร่วั ซึม)
ปริมาณน้ำท่ีสง่ จรงิ ตลอดฤดฝู น

สถิติหรอื ข้อมลู ท่จี ะนำมาคำนวณ (ข้อมูลการสง่ น้ำ ปีการเพาะปลกู 2563)

รายการ 2560 2561 2562 2563

ปรมิ าณนำ้ ตามททฤษฎี 240,214,732 256,360,300 241,485,966 162,897,568

ปรมิ าณนำ้ จากฝนใชก้ าร 125,762,981 130,515,840 129,145,760 92,218,564

ปรมิ าณนำ้ ร่วั ซมึ 13,600,000 13,600,000 13,600,000 9,520,000

ปรมิ าณนำ้ ส่งจริง 176,694,739 176,562,754 164,522,359 113,629,651

คำนวณปี 2563

ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝน = (162,897,568 - 92,218,564 + 9,520,000 )*100/113,629,651 = 70.58 %

ข้อมูลยอ้ นหลงั (3 ป)ี

2560 2561 2562 2563

72.47 % 78.98 % 76.55 % 70.58 %

เกณฑก์ ารให้คะแนน (Le)

ตวั ชีวัด 1 2 3 4 5

ประสทิ ธิภาพชลประทานในฤดฝู น 20 30 40 50 60

คา่ คะแนนทีไ่ ด้ ______5______ คะแนน

113

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

ประสิทธภิ าพการชลประทานในฤดูฝน

100.00

90.00
80.00 72.47 78.98 76.55 70.58
70.00

60.00

50.00 40.00 40.00 40.00 40.00

40.00

30.00

20.00
1234

ประสิทธิภาพการชลประทานในฤดฝู น คา่ มาตรฐาน เชงิ เสน้ (ประสิทธภิ าพการชลประทานในฤดูฝน)

ข้อมูลเปรยี บเทยี บและความเชือ่ มโยง (C/Li)
ประสทิ ธิภาพการชลประทานในฤดฝู นของโครงการฯ แม่ลาว ในปี 2563 = 70.58 % สงู กว่าค่า
เปา้ หมายท่ีกรมฯ กำหนดไว้ท่ี 70 % และมแี นวโนม้ ทจี่ ะลดลง ตามเสน้ Trend Line เกิดจากวธิ ีการคำนวณน้ำ

114

ตวั ชี้วดั ที่ 6 ประสทิ ธภิ าพชลประทานในฤดูแล้ง

คำอธบิ ายตัวช้ีวดั
เป็นการตรวจสอบถึงประสิทธิภาพของการชลประทานในฤดูแล้ง ซึ่งหมายถึงอัตราส่วนที่คิดเป็น เปอร์เซ็นต์

ระหว่างปริมาณน้ำสุทธิที่จะต้องให้แก่พืช (Net Water Application) ต่อปริมาณน้ำท้ังหมดที่ ต้องให้แก่พืช (Gross
Water Application)

วิธกี ารเกบ็ ข้อมลู
เจ้าหนา้ ที่โครงการสง่ น้ำและบำรุงรักษาแม่ลาว หรอื ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ตอ้ งทำการเก็บข้อมูลปริมาณน้ำ

ที่ส่งจริงเป็นรายวัน และรวบรวมวิเคราะห์เป็นข้อมูลรายสัปดาห์ รายเดือน จนเสร็จส้ินฤดูกาลเพาะปลูกในฤดูแล้ง จึง
รวบรวมวิเคราะหว์ า่ ตลอดฤดูกาลเพาะปลูกใชน้ ้ำทั้งหมดเป็น ปริมาณเท่าใด แล้วนำมาเปรียบเทียบกับปรมิ าณน้ำทีต่ อ้ ง
ส่งตามทฤษฎี

สตู รการคำนวณ

(ปรมิ าณนำตามทฤษฎี – ฝนใชก้ าร + การรว่ั ซมึ )
ปรมิ าณนำท่สี ง่ จริงตลอดฤดแู ลง้

สถติ หิ รอื ข้อมูลทจี่ ะนำมาคำนวณ (ข้อมลู การสง่ น้ำ ปีการเพาะปลูก 2563)

รายการ 2560 2561 2562 2563

ปริมาณนำตามทฤษฎี 95,255,100 108,455,198 98,786,300 57,894,406

ปริมาณนำจากฝนใชก้ าร 45,811,900 25,812,690 46,566,055 20,650,152

ปรมิ าณนำรว่ั ซมึ 7,840,000 7,840,000 7,840,000 5,488,000

ปริมาณนำสง่ จรงิ 59,774,327 123,537,225 71,889,445 61,448,128

คำนวณปี 2563

ประสทิ ธิภาพชลประทานในฤดแู ล้ง = (57,894,406 - 20,650,152 + 5,488,000)*100/61,448,128 = 69.54 %

ขอ้ มูลยอ้ นหลงั (3 ป)ี

2560 2561 2562 2563

95.83 % 73.24 % 83.55 % 69.54 %

เกณฑก์ ารให้คะแนน (Le)

ตวั ชวี ดั 1 2 3 4 5

ประสทิ ธภิ าพชลประทานในฤดูแล้ง 20 30 40 50 60

คา่ คะแนนที่ได้ ______5_____ คะแนน

115

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T) ประสิทธภิ าพการชลประทานในฤดูแลง้ 69.54
40.00
120.00 83.55
100.00 95.83 73.24
80.00

60.00

40.00 40.00 40.00
40.00

20.00

0.00
1234

ประสิทธภิ าพการชลประทานในฤดูแล้ง ค่ามาตรฐาน เชิงเสน้ (ประสทิ ธิภาพการชลประทานในฤดแู ลง้ )

ขอ้ มูลเปรยี บเทยี บและความเชื่อมโยง (C/Li)
ประสิทธภิ าพการชลประทานในฤดแู ลง้ ของโครงการฯ แม่ลาว ในปี 2563 = 69.54 % สงู กวา่ ค่า
เปา้ หมายทีก่ รมฯ กำหนดไวท้ ่ี 40 % และมแี นวโน้มที่จะลดลง ตามเสน้ Trend Line เกิดจากวิธีการคำนวณน้ำ

116

ตัวช้ีวัดที่ 7 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทนุ ทเ่ี ป็นไปตามแผน
การพิจารณาผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน จะใช้อัตราการเบิกจ่าย เป็นตัวชี้วัด ความสามารถใน

การเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายลงทุนของโครงการ (ตามเล่ม พรบ.งบประมาณประจำปี) โดย ข้อมูลที่ใช้ก่อน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จะเป็นการรายงานผ่าน Website ระบบตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงานและ การใช้จ่ายงบประมาณ
แบบ Online ของกองแผนงาน และตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จะเป็นการรายงาน ผ่าน Website ระบบติดตาม
CEN-PROJECT ของกองแผนงาน เป็นหลกั
วิธกี ารเก็บข้อมลู

โครงการฯ หรือฝ่ายส่งน้ำฯ ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ตามเล่ม พรบ.งบประมาณ ประจำปี
แล้วรายงานผลเบิกจ่ายทาง Online ให้กองแผนงาน และงบประมาณ ตามพรบ. จะใช้วงเงิน งบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน เป็นฐานในการคำนวณ

สูตรการคำนวณ

ข้อมลู สถติ ิท่ีนำมาคำนวณ งบประมาณ ปี 2563

ลำดับ รายการ เงนิ จัดสรร เบกิ จ่าย คงเหลอื การเบิกจา่ ย ผลการ
ท่ี (บาท) (บาท) (บาท) % ดำเนนิ การ %

1 บำรุงรักษาทางลำเลยี งใหญ่ โครงกำรสง่ นำและ 163,086 163,08 0.00 100.00 100
บำรงุ รกั ษาแม่ลาว 0.00 100.00 100
0.00 100.00 100
ระยะทาง 70 กโิ ลเมตร ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว
จังหวดั เชียงราย 0.00 100.00 100

2 บริหารการสง่ นำในเขตโครงการสง่ นำ 735,930 735,930 117
และบำรุงรกั ษาแมล่ าว พนื ท่ชี ลประทาน 148,300 ไร่
ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จังหวัดเชยี งราย

3 บำรงุ รักษาหวั งานและคลองส่งนำ พืนที่ 600 ไร่ ความ 4,499,202 4,499,202
ยาว 70

กิโลเมตร โครงกำรสง่ นำและบำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลดง
มะดะ

อำเภอแมล่ าว จังหวดั เชียงราย

4 กำจดั วัชพืชในเขตโครงการ ปรมิ าณ 433 ไร่ โครงการสง่ 984,040 984,040
นำและ

บำรุงรกั ษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลำว จงั หวัด
เชียงราย

5 ปรับปรุงคันคลองซอย 1R-LMC โครงกำรส่งนำและ 6,400,075 6,398,288 1,787.00 99.97 100
บำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว จังหวัด 99.98 100
เชยี งราย - 99.65 100
99.96 100
6 ปรบั ปรุงคันคลองซอย 2R-LMC โครงกำรสง่ นำและ 4,838,760 4,837,610 1,150.00 99.97 100
บำรุงรักษาแมล่ าว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว จงั หวัด 100
เชียงราย - 100.00 100
99.90 100
7 ปรบั ปรงุ คนั คลองซอย 3R-LMC โครงการส่งนำและ 4,514,500 4,498,480 16,020.00 99.94
บำรุงรกั ษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว จงั หวดั 100
เชียงราย
100
8 ปรบั ปรุงคันคลองซอย 4R-LMC โครงการสง่ นำและ 4,856,000 4,853,823 2,177.00
บำรุงรกั ษาแมล่ ำว ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ ำว จงั หวัด 100
เชยี งราย
100
9 ปรับปรุงคนั คลอง RMC ระยะท่ี 3 โครงกำรสง่ นำและ 11,741,950 11,738,343 3,607.00
บำรุงรกั ษาแม่ลาว

ระยะทาง 3.200 กม. ตำบลสันกลาง อำเภอพาน จงั หวดั
เชียงราย

10 ปรับปรุงคันคลอง 4L-RMC โครงกำรสง่ นำและ 16,778,570 16,778,434 136.00
บำรุงรักษาแม่ ลาว ระยะทำง 3.650 กม.ตำบลสนั ติสุข
อำเภอพาน จงั หวัดเชียงราย

11 ปรบั ปรงุ คนั คลองซอย 3L-RMC โครงการส่งนำและ 11,851,840 11,840,140 11,700.00
บำรงุ รักษาแมล่ าว ระยะทำง 3.200 กม. ตำบลทรายขำว
อำเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย

12 ซ่อมแซมคลองส่งนำ 22L-RMC จำนวน 3,000 ตาราง 1,428,346 1,427,433 913.00
เมตร

โครงการส่งนำและบำรงุ รักษาแมล่ าว ตำบลศรถี อ้ ย
อำเภอแม่ ใจ จังหวัดพะเยา

13 ขุดลอกคลองโดยรถขุดดำเนินการเอง คลองสง่ นำและ 3,993,550 3,993,550 0.00 100.00
คลองระบายนำ 645,387 0.00 100.00
618,683 0.00 100.00
โครงการสง่ นำและบำรุงรกั ษาแมล่ าว จำนวน 102,564 1,496,029 960.00 99.94
ลูกบาศกเ์ มตร

ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จงั หวดั เชียงราย

14 ซอ่ มแซมคลองซอย 7L-RMC จำนวน 438 ตารางเมตร 645,387
โครงการสง่ นำและบำรงุ รักษาแม่ลาว ตำบลป่าหุ่ง อำเภอ
พาน
จังหวดั เชยี งราย

15 ซอ่ มแซมคลองแยกซอย 1R - 13L - RMC จำนวน 618,683
1,650 ตารางเมตร

โครงกำรส่งนำและบำรงุ รักษาแม่ลาว ตำบลทานตะวนั
อำเภอพาน
จังหวัดเชยี งราย

16 ซ่อมแซมคอนกรีตดาดคลอง RMC จำนวน 3,525 ตาราง 1,496,989
เมตร

โครงการส่งนำและบำรงุ รักษาแมล่ าว ตำบลทรายขาว
อำเภอพาน
จงั หวดั เชียงราย

118

17 ซอ่ มแซมคอนกรตี ดาดคลองซอย 13L - RMC จำนวน 1,417,953 1,417,953 0.00 100.00 100
3,776 ตารางเมตร 0.00 100.00 100
0.00 100.00 100
โครงการสง่ นำและบำรุงรักษาแมล่ าว ตำบล ทานตะวัน 0.00 100.00 100
อำเภอพาน 0.00 100.00 100
จังหวัดเชยี งราย 0.00 100.00 100
0.00 100.00 100
18 ซอ่ มแซมคอนกรตี ดาดคลองซอย 15L - RMC จำนวน 1,376,229 1,376,229 0.00 100.00 100
3,760 ตารางเมตร
0.00 100.00 100
โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแมล่ ำว ตำบลแมเ่ ยน็ 0.00 100.00 100
อำเภอพาน

จงั หวัดเชยี งราย

19 ซ่อมแซมคอนกรีตดาดคลองซอย 1L-RMC จำนวน 883 295,214 295,214
ตารางเมตร

โครงการส่งนำและบำรงุ รกั ษาแมล่ ำว ตำบลธารทอง
อำเภอพาน
จังหวดั เชียงราย

20 ซอ่ มแซมคอนกรีตดาดคลองซอย 4L-RMC จำนวน 1,493,342 1,493,342
3,985 ตารางเมตร

โครงการส่งนำและบำรุงรกั ษาแมล่ าว ตำบลสันตสิ ขุ
อำเภอพาน จงั หวัดเชียงราย

21 ซอ่ มแซมคอนกรตี ดำดคลองซอย 5L-RMC จำนวน 770 298,085 298,085
ตารางเมตร 799,545 799,545

โครงการส่งนำและบำรุงรกั ษาแม่ลาว ตำบลสนั กลาง
อำเภอพาน
จังหวดั เชยี งราย

22 ซอ่ มแซมคอนกรตี ดาดคลองซอย 8L-RMC จำนวน
1,043 ตารางเมตร

โครงการสง่ นำและบำรงุ รักษาแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย

23 ซ่อมแซมคอนกรตี ดาดคลองสายใหญฝ่ งั่ ซา้ ย จำนวน 1,992,941 1,992,941
5,320 ตารางเมตร

โครงกำรส่งนำและบำรงุ รกั ษาแมล่ ำว ตำบลดงมะดะ
อำเภอแมล่ าว จังหวดั เชยี งราย

24 ซอ่ มแซมคนั คลองซอย 4L-RMC จำนวน 10,150 ตาราง 513,050 513,050
เมตร

โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแมล่ าว ตำบลสนั ติสุข
อำเภอพาน

จงั หวดั เชยี งราย

25 ซ่อมแซมคันคลองแยกซอย 1R-4L-RMC จำนวน 210 299,788 299,788
ตารางเมตร

โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแมล่ าว ตำบลเมอื งพาน
อำเภอพาน

จงั หวัดเชียงราย

26 ซ่อมแซมบ่อพักนำคลอง RMC จำนวน 2,000 ตาราง 3,350,070 3,350,070
เมตร

โครงการสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแมล่ าว ตำบลธารทอง
อำเภอพาน

จังหวัดเชียงราย

119

27 ซอ่ มแซมบำรงุ รักษาระบบชลประทาน ตามข้อเสนอของ 997,462 997,462 0.00 100.00 100
เกษตรกรผใู้ ช้นำ 0.00
0.00 100.00 100
ชลประทาน จำนวน 10 รายการ โครงการส่งนำและ 100.00 100
บำรงุ รักษาแม่ลาว 99.98 100
100.00 100
ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชยี งราย
100.00 100
28 ซอ่ มแซมฝายท้าวแก่นจนั ทรพ์ รอ้ มระบบส่งนำ ระยะที่ 2 4,556,022 4,556,022 99.33 100
จำนวน 6,320 100.00 100
99.99 100
ตารางเมตร โครงการสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแมล่ าว 99.96 100
จงั หวดั เชยี งราย 0.16 -

29 ซ่อมแซมเสริมคนั คลองซอย 3L-RMC จำนวน 2,134 598,541 598,541
ตารางเมตร โครงการสง่ นำและบำรุงรกั ษาแมล่ าว ตำบล
ทรายขาว อำเภอพาน จังหวดั เชยี งราย

30 งานปรบั ปรงุ บอ่ พักนำ 8L-RMC โครงการส่งนำและ 3,503,821 3,503,280 541
บำรงุ รักษาแมล่ าว

ตำบลป่าหุง่ อำเภอพาน จงั หวัดเชยี งราย

31 ปรบั ปรุงคลองแยกซอย FTO 2 R-LMC พรอ้ มอาคาร 929,139 929,094 45
ประกอบ

โครงการสง่ นำและบำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ
อำเภอแมล่ าว
จังหวัดเชียงราย

32 ปรบั ปรุงบอ่ พกั นำ 4L-RMC โครงการสง่ นำและ 3,998,083 3,998,035 48
บำรงุ รกั ษา แมล่ าว

ตำบลสนั ติสขุ อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

33 ปรบั ปรงุ บ่อพักนำ สันขเี บา้ โครงการส่งนำและ 5,596,496 5,559,017 37,479
บำรงุ รกั ษาแม่ลาว

ตำบลมว่ งคำ อำเภอพาน จังหวดั เชยี งราย

34 ปรบั ปรุงอาคารรับนำเข้าคลอง LMC จำนวน 8 แห่ง 1,932,928 1,932,890 38
โครงการสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแม่ลาว ตำบลบวั สลี 785
อำเภอแมล่ าว
จงั หวดั เชียงราย

35 ปรบั ปรงุ บ่อพักนำ สนั ตน้ มว่ ง โครงการสง่ นำและ 5,817,827 5,817,042
บำรงุ รกั ษาแมล่ าว

ตำบลเจรญิ ราษฏร์ อำเภอแม่ใจ จังหวดั พะเยา

36 งานป้องกนั การกดั เซาะตลิ่งในลำนำสรวย เขื่อนแมส่ รวย 14,788,436 14,782,283 6,153
ระยะที่ 1

ความยาว 3.827 กม. ตำบลแมส่ รวย อำเภอแม่สรวย
จังหวดั เชยี งราย

37 งานปรับปรุงทที่ ำการ โครงการสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแม่ 15,862,000 25,435 15,836,565
ลาว

ตำบล ดงมะดะ อำเภอแม่ลาว จงั หวัดเชยี งราย (รายการ
โอนเปลยี่ นแปลง

120

การคำนวน รายการ งปม. ผลการ คะแนนท่ี รอ้ ยละเฉลี่ยถว่ ง
(ลา้ น ดำเนินงาน ได้ นำหนกั
ลำดับ บาท) (Y) (M)
ที่ X (%)
0.16 (Z) 5.00 0.16x100%=16%
1 บำรงุ รกั ษาทางลำเลียงใหญ่ โครงกำรสง่ นำและบำรุงรักษาแม่ลาว
ระยะทาง 70 กิโลเมตร ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย 0.74 100

2 บรหิ ารการสง่ นำในเขตโครงการส่งนำ 4.50 100 5.00 0.74x100%=74%
และบำรงุ รกั ษาแม่ลาว พนื ท่ีชลประทาน 148,300 ไร่ ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่
ลาว จังหวัดเชียงราย 0.98 100 5.00 4.50x100%=450%

3 บำรุงรักษาหวั งานและคลองส่งนำ พนื ท่ี 600 ไร่ ความยาว 70 6.40 100 5.00 0.98x100%=98%
กิโลเมตร โครงกำรสง่ นำและบำรงุ รักษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ 100 4.99 6.40x100%=640%
อำเภอแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย 4.84 100 5.00 4.84x100%=484%

4 กำจดั วัชพชื ในเขตโครงการ ปริมาณ 433 ไร่ โครงการสง่ นำและ
บำรุงรักษาแมล่ าว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลำว จงั หวดั เชยี งราย

5 ปรับปรงุ คนั คลองซอย 1R-LMC โครงกำรสง่ นำและ
บำรุงรกั ษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย -

6 ปรบั ปรุงคันคลองซอย 2R-LMC โครงกำรส่งนำและ
บำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จังหวดั เชยี งราย -

7 ปรับปรงุ คนั คลองซอย 3R-LMC โครงการสง่ นำและ 4.51 100 4.93 4.51x100%=451%

บำรงุ รักษาแมล่ าว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว จงั หวัดเชยี งราย

8 ปรับปรงุ คันคลองซอย 4R-LMC โครงการส่งนำและ 4.86 100 4.99 4.86x100%=486%

บำรงุ รักษาแม่ลำว ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ ำว จงั หวัดเชยี งราย

9 ปรบั ปรงุ คันคลอง RMC ระยะที่ 3 โครงกำรสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแม่ลาว 11.74 100 4.99 11.74x100%=1174%
ระยะทาง 3.200 กม. ตำบลสนั กลาง อำเภอพาน จงั หวดั เชียงราย

10 ปรบั ปรงุ คันคลอง 4L-RMC โครงกำรสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแม่ ลาว ระยะทำง 16.78 100 5.00 16.78x100%=1678%
3.650 กม.ตำบลสนั ตสิ ุข อำเภอพาน จงั หวัดเชยี งราย 100 4.98 11.85x100%=1185%

11 ปรับปรงุ คนั คลองซอย 3L-RMC โครงการส่งนำและ 11.85 100 4.99 1.43x100%=143%
100 5.00 3.99x100%=399%
บำรุงรักษาแมล่ าว ระยะทำง 3.200 กม. ตำบลทรายขำว อำเภอพาน จงั หวัด 100 5.00 0.65x100%=65%
100 5.00 0.62x100%=62%
เชียงราย

12 ซอ่ มแซมคลองสง่ นำ 22L-RMC จำนวน 3,000 ตาราง เมตร 1.43
โครงการสง่ นำและบำรุงรกั ษาแม่ลาว ตำบลศรถี อ้ ย อำเภอแม่ ใจ
จงั หวัดพะเยา

13 ขุดลอกคลองโดยรถขดุ ดำเนินการเอง คลองส่งนำและ คลองระบายนำ 3.99
โครงการสง่ นำและบำรุงรักษาแม่ลาว จำนวน 102,564 ลกู บาศก์เมตร
ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จังหวัด เชยี งราย

14 ซ่อมแซมคลองซอย 7L-RMC จำนวน 438 ตารางเมตร 0.65
โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลปา่ หุ่ง อำเภอพาน
จังหวดั เชียงราย

15 ซ่อมแซมคลองแยกซอย 1R - 13L - RMC จำนวน 1,650 ตารางเมตร 0.62
โครงกำรสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแมล่ าว ตำบลทานตะวัน อำเภอพาน
จงั หวัดเชียงราย

121

16 ซ่อมแซมคอนกรตี ดาดคลอง RMC จำนวน 3,525 ตาราง เมตร 1.50 100 4.99 1.50x100%=150%
โครงการส่งนำและบำรงุ รกั ษาแม่ลาว ตำบลทรายขาว อำเภอพาน
จงั หวัดเชียงราย

17 ซอ่ มแซมคอนกรตี ดาดคลองซอย 13L - RMC จำนวน 3,776 ตารางเมตร 1.42 100 5.00 1.42x100%=142%
โครงการส่งนำและบำรงุ รักษาแมล่ าว ตำบล ทานตะวนั อำเภอพาน
จงั หวดั เชยี งราย

18 ซ่อมแซมคอนกรตี ดาดคลองซอย 15L - RMC จำนวน 3,760 ตารางเมตร 1.38 100 5.00 1.38x100%=138%
โครงการสง่ นำและบำรงุ รักษาแม่ลำว ตำบลแม่เยน็ อำเภอพาน
จงั หวัดเชียงราย

19 ซอ่ มแซมคอนกรีตดาดคลองซอย 1L-RMC จำนวน 883 ตารางเมตร 0.30 100 5.00 0.30x100%=30%
โครงการสง่ นำและบำรุงรักษาแมล่ ำว ตำบลธารทอง อำเภอพาน
จังหวัดเชยี งราย

20 ซ่อมแซมคอนกรีตดาดคลองซอย 4L-RMC จำนวน 3,985 ตารางเมตร 1.49 100 5.00 1.49x100%=149%
โครงการส่งนำและบำรุงรกั ษาแม่ลาว ตำบลสันตสิ ุข
อำเภอพาน จังหวดั เชียงราย

21 ซ่อมแซมคอนกรตี ดำดคลองซอย 5L-RMC จำนวน 770 ตารางเมตร 0.30 100 5.00 0.30x100%=30%
โครงการสง่ นำและบำรุงรกั ษาแมล่ าว ตำบลสนั กลาง อำเภอพาน
จงั หวดั เชยี งราย

22 ซ่อมแซมคอนกรตี ดาดคลองซอย 8L-RMC จำนวน 1,043 ตารางเมตร 0.80 100 5.00 0.80x100%=80%
โครงการสง่ นำและบำรงุ รักษาแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย

23 ซอ่ มแซมคอนกรตี ดาดคลองสายใหญฝ่ ัง่ ซา้ ย จำนวน 5,320 ตารางเมตร โครง 1.99 100 5.00 1.99x100%=199%
กำรส่งนำและบำรงุ รกั ษาแม่ลำว ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จงั หวัดเชียงราย

24 ซอ่ มแซมคนั คลองซอย 4L-RMC จำนวน 10,150 ตาราง เมตร 0.51 100 5.00 0.51x100%=51%
โครงการสง่ นำและบำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลสนั ติสุข อำเภอพาน
จังหวดั เชียงราย

25 ซ่อมแซมคันคลองแยกซอย 1R-4L-RMC จำนวน 210 ตารางเมตร โครงการส่ง 0.30 100 5.00 0.30x100%=30%
นำและบำรงุ รักษาแม่ลาว ตำบลเมืองพาน อำเภอพาน
จังหวดั เชยี งราย

26 ซ่อมแซมบ่อพกั นำคลอง RMC จำนวน 2,000 ตารางเมตร 3.35 100 5.00 3.35x100%=335%
โครงการส่งนำและบำรุงรกั ษาแมล่ าว ตำบลธารทอง อำเภอพาน
จังหวัดเชยี งราย

27 ซ่อมแซมบำรุงรักษาระบบชลประทาน ตามข้อเสนอของเกษตรกรผู้ใช้นำ 1.00 100 5.00 1.00x100%=100%
ชลประทาน จำนวน 10 รายการ โครงการสง่ นำและ บำรงุ รกั ษาแมล่ าว
ตำบลดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย

28 ซอ่ มแซมฝายทา้ วแก่นจันทรพ์ รอ้ มระบบสง่ นำ ระยะท่ี 2 จำนวน 6,320 4.56 100 5.00 4.56x100%=456%
ตารางเมตร โครงการสง่ นำและบำรงุ รักษาแม่ลาว จงั หวดั เชียงราย

29 ซอ่ มแซมเสรมิ คันคลองซอย 3L-RMC จำนวน 2,134 ตารางเมตร โครงการส่ง 0.60 100 5.00 0.60x100%=60%
นำและบำรงุ รกั ษาแม่ลาว ตำบลทรายขาว อำเภอพาน จงั หวัดเชียงราย

30 งานปรับปรงุ บอ่ พักนำ 8L-RMC โครงการส่งนำและ บำรงุ รกั ษาแม่ลาว 3.50 100 5.00 3.50x100%=350%
ตำบลปา่ หงุ่ อำเภอพาน จงั หวดั เชียงราย

31 ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 2 R-LMC พรอ้ มอาคาร ประกอบ 0.93 100 5.00 0.93x100%=93%
โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว
จังหวัดเชียงราย

122

32 ปรับปรงุ บอ่ พกั นำ 4L-RMC โครงการสง่ นำและบำรงุ รกั ษา แมล่ าว ตำบลสันติ 4.00 100 5.00 4.00x100%=400%
สขุ อำเภอพาน จังหวดั เชยี งราย 100 4.87 5.60x100%=560%
100 5.00 1.93x100%=193%
33 ปรับปรงุ บอ่ พกั นำ สันขเี บ้า โครงการสง่ นำและบำรงุ รักษาแมล่ าวตำบลมว่ งคำ 5.60
อำเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย 100 5.00 5.82x100%=582%
100 4.99 14.79x100%=1479%
34 ปรับปรุงอาคารรบั นำเขา้ คลอง LMC จำนวน 8 แห่ง 1.93 0 0.00 15.86x0%=0%
โครงการส่งนำและบำรุงรักษาแม่ลาว ตำบลบวั สลี อำเภอแม่ลาว
จังหวัดเชียงราย 13,012.00

35 ปรบั ปรุงบอ่ พักนำ สันต้นมว่ ง โครงการสง่ นำและบำรงุ รกั ษาแม่ลาว 5.82
ตำบลเจริญราษฏร์ อำเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา

36 งานปอ้ งกนั การกัดเซาะตล่ิงในลำนำสรวย เขื่อนแมส่ รวย ระยะท่ี 1 ความยาว 14.79
3.827 กม. ตำบลแมส่ รวย อำเภอแม่สรวย จงั หวดั เชียงราย

37 งานปรบั ปรงุ ทท่ี ำการ โครงการสง่ นำและบำรุงรกั ษาแม่ลาว 15.86
ตำบล ดงมะดะ อำเภอแมล่ าว จังหวัดเชียงราย (รายการโอนเปลยี่ นแปลง

145.98

รอ้ ยละของการเบกิ จา่ ยงบประมาณงบลงทนุ ทีเ่ ปน็ ไปตามแผนเฉล่ยี ที่ได้ 2563
= 13,012/145.98 89.09
= 89.09 %

ข้อมลู ยอ้ นหลัง (3 ปี)
2560 2561 2562

99.75 99.42 88.85

เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Le) 12 34 5
ตวั ชีวดั 80 85 90 95 100

ร้อยละของการเบิกจา่ ยงบประมาณงบ
ลงทนุ ทเี่ ปน็ ไปตามแผน

Interpolate = (90-85) = 5 ,(3 - 2) = 1, (90-89.09) = 0.91 ,0.91/5 = 0.182 3-0.182 =2.818
คา่ คะแนนทไ่ี ด้ ______2.82_____ คะแนน

123

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

รอ้ ยละของการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุนทีเ่ ป็นไปตามแผน

120.00

115.00

110.00

105.00 99.75% 99.42%
100.00

95.00 89.09%
90.0%
90.00 90.0% 90.0% 88.85%
90.0% ปี 2563
85.00

80.00

75.00

70.00 คา่ มาตรฐานปี 2562
รอ้ ยละของการเปบีกิ 2จ5่า6ย0งบประมาณงบลงทนุ ทีเ่ ป็นไปตาปมีแ2ผ5น61

เชิงเสน้ (ร้อยละของการเบกิ จ่ายงบประมาณงบลงทนุ ท่ีเปน็ ไปตามแผน)

ข้อมูลเปรียบเทยี บและความเช่อื มโยง (C/Li)
รอ้ ยละของการเบิกจา่ ยงบประมาณงบลงทนุ ในปี 2563 = 88.09% ใกลเ้ คยี งกับคา่ เป้าหมายท่ีกรมฯ

กำหนดไวท้ ี่ 90% แต่มีแนวโนม้ ลดลง ตามเส้น Trend Line
วเิ คราะห์ความเช่ือมโยง เนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โครงการฯ แมล่ าว ได้รบั งบประมาณค่าจ้างเหมา

ก่อสรา้ งท่ีทำการโครงการใหม่ ซง่ึ ไดร้ ับปลายปงี บประมาณจึงตอ้ งกันเงนิ เหลอ่ื มปี ทำให้เปอรเ์ ซ็นต์การเบิกจ่ายลดลง

124

ตวั ชี้วัดท่ี 8 ร้อยละของอาคารควบคมุ นำ้ ในระบบสง่ น้ำและในระบบระบายน้ำท่ีอยใู่ นสภาพใช้งานไดด้ ี

คำอธิบายตัวชี้วัด

เปน็ การตรวจสอบถึงสภาพอาคารชลประทานของโครงการส่งนำและบำรงุ รักษา/โครงการ

ชลประทาน หรือฝา่ ยส่งนำและบำรุงรกั ษา ว่าอยูใ่ นสภาพใช้งานได้ดเี ปน็ จำนวนเท่าใด เมื่อเทียบกับจำนวนอาคาร

ชลประทานทังหมด เพ่ือจะดูถึงความสอดคล้องกับการตงั งบประมาณงานซ่อมแซม ปรบั ปรงุ ของโครงการฯ หรือ

ฝ่ายส่งนำฯ

วิธกี ารเกบขอ้ มูล

โครงการส่งนำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน หรือฝา่ ยสง่ นำและบำรงุ รักษา ใหเ้ จ้าหน้าทอ่ี อก

สำรวจสภาพอาคารชลประทานทังหมด (Walk Thru) ท่ีอย่ใู นความรับผิดชอบ ว่าอยู่ในสภาพทใ่ี ชง้ านได้เป็น

จำนวนเทา่ ไร เพ่ือเปรยี บเทียบกับจำนวนอาคารชลประทานทงั หมดของโครงการฯ หรอื ฝ่ายสง่ นำและบำรุงรักษา

โดยนำข้อมูลท่ีได้บันทึกลงในฐานขอ้ มลู บญั ชีประวัตอิ าคารชลประทานของโครงการฯ หรือฝ่ายส่งนำฯ

สตู รการคำนวณ

(จำนวนอาคารควบคมุ นำในระบบสง่ นำ และระบบระบายนำที่มสี ภาพพรอ้ มใชง้ าน) x 100

(จำนวนอาคารควบคุมนำในระบบสง่ นำ และระบบระบายนำทงั หมด)

สถติ ิหรือข้อมลู ทีจ่ ะนำมาคำนวณ

ปี2560 ป2ี 561 ป2ี 562 ปี2563

จำนวนอาคารควบคมุ นำใน ระบบส่ง

นำ และระบบระบายนำทมี่ สี ภาพ 992 996 992 1011

พร้อมใชง้ าน

จำนวนอาคารควบคมุ นำในระบบส่งนำ 1054 1054 1054 1054
และระบบระบายนำทังหมด

การคำนวณปี 2563

ร้อยละของอาคารควบคมุ นำในระบบสง่ นำและในระบบระบายนำทอี่ ยใู่ นสภาพใช้งานได้ดี = (1011 × 100) ÷ 1054 = 95.92 %

ข้อมูลย้อนหลัง (ไม่น้อยกว่า 3 ปี)

2560 2561 2562 2563
94.12 94.50 94.78 95.92

เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Le)

ตวั ชีวดั ระดบั คะแนน

1 23 4 5

ร้อยละของอาคารควบคมุ นำในระบบสง่ นำและ 60 70 80 90 100

ในระบบระบายนำท่ีอยู่ในสภาพใชง้ านไดด้ ี

Interpolate =(100 - 90) = 10, (5-4) = 1 , (100 – 95.92) = 4.08 , 4.08/10 = 0.408 , 5-0.408= 4.55

คา่ คะแนนท่ีได้ ______4.55______ คะแนน

125

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

รอ้ ยละของอาคารควบคุมน้าในระบบสง่ น้าและระบบระบายน้าท่อี ยูใ่ นสภาพใช้งานไดด้ ี

100.00 94.50% 94.78% 95.92%
94.12%

90.00

80.00 80.0% 80.0% 80.0%
80.0%

70.00

60.00 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
ปี 2560

รอ้ ยละอาคารชลประทาน ระบบสง่ นา้ และระบบระบายนา้ อยใู่ นสภาพใช้งานไดด้ ี
คา่ มาตราฐาน
เชงิ เส้น (รอ้ ยละอาคารชลประทาน ระบบส่งน้าและระบบระบายน้าอย่ใู นสภาพใช้งานไดด้ ี)

ข้อมูลเปรยี บเทยี บและความเช่อื มโยง (C/Li)
รอ้ ยละของจำนวนอาคารชลประทาน ท่ีอยใู่ นสภาพพร้อมใช้งาน ในปี 2563 = 97.89 % และมี

แนวโน้มทเี่ พม่ิ ขนึ อยา่ งตอ่ เนื่อง ตามเสน้ Trend Line โดยมเี ปา้ หมายของกรมอยทู่ ่ี 80%
คลองสง่ นำและอาคารชลประทานของโครงการฯ แมล่ าว ก่อสรา้ งและใช้งานมามากกว่า 40 ปี ทำให้มี

สภาพทรุดโทรมค่อนข้างมาก โครงการฯ จึงมีการตรวจสอบสภาพคลอง และอาคารชลประทานเป็นประจำ และจัดทำเปน็
แผนงานซอ่ มแซมระยะ 5 ปี โดยรบั ฟงั ข้อคิดเห็นจากผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี และดำเนนิ การตามแผน ทำให้อาคาร
ชลประทานของโครงการฯ ท่ีอยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งานมเี พมิ่ มากขนึ ทกุ ปี

126

ตัวชว้ี ดั ท่ี 9 รอ้ ยละของพ้ืนที่ชลประทานที่มีการตั้งกลมุ่ ผใู้ ชน้ ำ้ ชลประทานพื้นฐาน

คำอธิบายตวั ช้ีวัด

เป็นการวัดถงึ โครงการส่งนำและบำรุงรกั ษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายส่งนำและบำรุงรักษา

วา่ มีการจดั ตังกลุม่ ผใู้ ช้นำชลประทานพนื ฐาน ครอบคลมุ พืนท่ีชลประทานทรี่ บั ผดิ ชอบ

วธิ กี ารเกบข้อมลู

โครงการส่งนำและบำรงุ รักษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายส่งนำและบำรงุ รักษา รวบรวมขอ้ มลู

พนื ท่ขี องกลุม่ ผ้ใู ชน้ ำชลประทานพืนฐานจากฐานข้อมลู องค์กรผ้ใู ชน้ ำชลประทานของโครงการฯ หรือ

ฝา่ ยส่งนำฯ ซ่ึงรายงานข้อมูลผา่ นระบบออนไลนใ์ น Website : http://wug.rid.go.th/ ระบบบริหารจัดการ

ผ้ใู ช้นำ ของกองสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของประชาชน

สูตรการคำนวณ

พืนท่ขี องกล่มุ ผู้ใช้นำชลประทานพนื ฐาน x 100

พนื ท่ชี ลประทาน

สถติ ิหรือข้อมูลที่จะนำมาคำนวณ

ปี พ.ศ. 2560 2561 2562 2563

พ้ืนทขี่ องกลุ่มผู้ใช้นำ้ 137,169 137,169 137,169 137,169

ชลประทานพ้ืนฐาน

พื้นที่ชลประทาน 169,624 169,624 169,624 169,624

หมายเหตุ : ใหใ้ สข่ ้อมลู ทังหมด 4 ปี คอื ปปี จั จบุ ัน และ 3 ปยี อ้ นหลัง

การคำนวณปี 2563

ร้อยละของพนื ทีช่ ลประทานที่มีการตังกลมุ่ ผใู้ ช้นำชลประทานพนื ฐาน = (137,169 × 100) ÷ 169,624

= 80.87%

ข้อมูลย้อนหลงั (3 ปี)

2560 2561 2562 2563

80.87% 80.87% 80.87% 80.87%

เกณฑ์การให้คะแนน (Le) 1 ระดบั คะแนน 5
ตัวชวี ดั 50 234 90
60 70 80
ร้อยละของพืนทช่ี ลประทานท่ีมีการตัง
กลมุ่ ผู้ใชน้ ำชลประทานพนื ฐาน

คา่ คะแนนทไ่ี ด้ _____4.09_______ คะแนน

127

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

95.00 80.87% 80.87% 80.87%
85.00 80.87%

75.00
65.00 70.0% 70.0% 70.0% 70.0%
55.00

45.00

35.00

25.00

15.00 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

5.00

ร้อยละพนื ท่ีชลประทานทมี่ ีการจดั ตงั กลุม่ พนื ฐาน ค่ามาตราฐาน Trend

ขอ้ มูลเปรียบเทยี บและความเชื่อมโยง (C/Li)
ร้อยละของพนื ท่ีชลประทานท่ีมกี ารตงั กล่มุ ผใู้ ช้นำชลประทานพืนฐาน ในปี 2563 = 80.7 % สงู กว่า

คา่ เปา้ หมาย ท่กี รมฯ กำหนดไว้
โครงการสง่ นำและบำรงุ รักษาแม่ลาวปัจจบุ ันมีพนื ชลประทานเดมิ รวมกับพนื ทชี่ ลประทานใหมท่ ่รี ับมอบ

169,624 ไร่ โดยพนื ที่ชลประทานเดิมได้มกี ารจดั ตังกลุ่มฯพืนฐานเต็มพนื ท่ี สำหรับพืนท่ีชลประทานใหม่ โครงการฯได้
กำหนดเป็นแผนงานหลกั เพ่ือตอบสนองยุทธศาสตรข์ องกรมฯ โดยกำหนดเป้าหมายเต็มพนื ท่ี ในปี 2565

128

ตัวชว้ี ดั ท่ี 10 รอ้ ยละของพ้นื ทช่ี ลประทานทมี่ ีการต้งั กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน กลุม่ เกษตรกร

สมาคมฯ และสหกรณ์ฯ

คำอธิบายตัวชี้วดั
เป็นการวัดถงึ โครงการส่งนำและบำรงุ รกั ษา/โครงการชลประทาน หรือฝา่ ยส่งนำและบำรุงรักษา
วา่ มกี ารจัดตงั กลุม่ บรหิ ารการใชน้ ำชลประทาน กลุม่ เกษตรกร สมาคมฯ และสหกรณ์ฯ ครอบคลุม
พืนท่ีชลประทานท่ีรับผิดชอบ

วธิ ีการเกบขอ้ มูล
โครงการส่งนำและบำรงุ รกั ษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายส่งนำและบำรุงรักษา รวบรวมขอ้ มูล
พืนที่ของกลมุ่ บรหิ ารการใชน้ ำชลประทาน กลุ่มเกษตรกร สมาคมฯ และสหกรณฯ์ จากฐานข้อมูลองค์กร
ผ้ใู ช้นำชลประทานของโครงการฯ หรือฝ่ายส่งนำฯ ซงึ่ รายงานขอ้ มูลผา่ นระบบออนไลนใ์ น Website :
http://wug.rid.go.th/ ระบบบริหารจัดการผู้ใช้นำ ของกองสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

สูตรการคำนวณ

พนื ทขี่ องกลุ่มบริหารการใช้นำชลประทาน กลมุ่ เกษตรกร สมาคมฯ และสหกรณ์ฯ x 100
พืนทีช่ ลประทาน

สถิติหรือข้อมลู ทจ่ี ะนำมาคำนวณ

ปี พ.ศ. 2560 2561 2562 2563

พ้ืนทข่ี องกลุ่มผใู้ ช้น้ำ 135,932 135,932 135,932 135,932
ชลประทานพื้นฐาน

พ้นื ทีช่ ลประทาน 169,624 169,624 169,624 169,624

หมายเหตุ : ใหใ้ ส่ข้อมลู ทังหมด 4 ปี คือ ปีปัจจบุ นั และ 3 ปียอ้ นหลงั

การคำนวณปี 2563
รอ้ ยละของพืนท่ีชลประทานทม่ี ีการตงั กลุม่ บริหารการใชน้ ำชลประทาน กลมุ่ เกษตรกร สมาคมฯ และ
สหกรณ์ฯ = (135,932×100) ÷ 169,624=80.13 %

ขอ้ มูลย้อนหลัง (3 ปี)

2560 2561 2562 2563

80.13 80.13 80.13 80.13

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (Le)

ตัวชวี ัด ระดับคะแนน

12 3 4 5
90
รอ้ ยละของพนื ทชี่ ลประทานทมี่ กี ารตงั กล่มุ บรหิ าร 50 60 70 80

การใชน้ ำชลประทานกลมุ่ เกษตรกรฯ สมาคมฯ และ

สหกรณ์ฯ

Interpolate = (90-80)=10,(5-4)=1,(90-80.87)=9.13,9.13/10=0.913 , 5-0.913 = 4.087

ค่าคะแนนท่ีได้ _____4.01_______ คะแนน

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

129

ร้อยละของพืนท่ีชลประทานทมี่ กี ารตังกลุ่มบรหิ ารการใชน้ า้ ชลประทาน

100.00 80.13% 80.13% 80.13% 80.13%
95.00
90.00 70.0% 70.0% 70.0% 70.0%
85.00 ปี 2563
80.00 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
75.00
70.00
65.00
60.00

ร้อยละพืนทีช่ ลประทานที่มกี ารจัดตงั กลมุ่ บริหารการใชน้ า้ ฯ
ค่ามาตราฐาน
เชิงเสน้ (ร้อยละพนื ท่ีชลประทานที่มีการจดั ตังกลมุ่ บริหารการใชน้ า้ ฯ)

ขอ้ มูลเปรยี บเทยี บและความเชื่อมโยง (C/Li)
ร้อยละของพืนท่ีชลประทานท่ีมกี ารตังกลุ่มบริหารการใช้นำชลประทาน ในปี 2563 = 80.13 % สูง

กวา่ ค่าเป้าหมายท่กี รมฯ กำหนดไว้ท่ี 70% แต่มแี นวโนม้ ทจ่ี ะเพิม่ ขึน ตามเส้น Trend Line
วิเคราะหค์ วามเช่ือมโยง กลุม่ ผใู้ ชน้ ำระดบั บริหารท่ีจัดตังไปแลว้ สว่ นใหญอ่ ยูใ่ นเขตพนื ทีโ่ ครงการฯ แม่

ลาวซึ่งมีการจดั ตงั กลุ่มบริหาร เต็มเกอื บทุกคลองซอย

130

ตวั ช้วี ดั ที่ 11 รอ้ ยละขององคก์ รผูใ้ ช้น้ำชลประทานท่ีมคี วามเข้มแขง็ ในการบรหิ ารจัดการนำ้

คำอธบิ ายตัวช้ีวดั

เป็นการวดั ความเขม้ แข็งของกลุ่มบรหิ ารการใช้นำชลประทาน กลุม่ เกษตรกร สมาคมผู้ใชน้ ำ

ชลประทาน และสหกรณ์ผูใ้ ช้นำชลประทาน ตามแบบประเมนิ ความเข็มแข็งองค์กรผู้ใช้นำชลประทาน

วิธกี ารเกบข้อมูล

เจา้ หน้าท่โี ครงการสง่ นำและบำรุงรกั ษา/โครงการชลประทาน หรือฝา่ ยส่งนำและบำรุงรักษา

ให้เจา้ หน้าท่อี อกสำรวจและประเมนิ ความเข้มแข็งขององค์กรผใู้ ช้นำชลประทาน (กลุ่มบริหารการใชน้ ำฯ

ขนึ ไป) โดยใช้แบบประเมนิ ความเข้มแข็งขององคก์ รผใู้ ชน้ ำชลประทาน (แบบ ปมอ.3 และแบบ ปมอ.4) ของ

กองส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของประชาชน โดยทำการประเมินชว่ งเดอื นสิงหาคม - กันยายน ของทุกปี โดย

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รายงานทาง Google form ตามแนวทางทกี่ ำหนดโดยกองสง่ เสริมการมีสว่ น

รว่ มของประชาชน และตงั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จะเป็นการรายงานข้อมลู ผ่านระบบออนไลนใ์ น

Website : http://wug.rid.go.th/ ระบบบริหารจดั การผ้ใู ช้นำ ของกองส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของ

ประชาชน ซึ่งระบบจะรวบรวมผลโดยอตั โนมัติ ทังนี จะรายงานผลใหโ้ ครงการฯ และฝ่ายส่งนำฯ ทราบ

สูตรการคำนวณ

จำนวนองค์กรผ้ใู ช้นำฯ ท่ีมเี กณฑป์ ระเมนิ อยใู่ นระดับเข้มแข็ง x 100

จำนวนองค์กรผูใ้ ชน้ ำฯ ทงั หมดท่ตี อ้ งทำการประเมินฯ

สถิติหรอื ข้อมูลท่จี ะนำมาคำนวณ

ปี จำนวนองค์กรผ้ใู ชน้ ำฯท่ีมีเกณฑ์ จำนวนองค์กรผใู้ ชน้ ำฯ ทังหมดทตี่ อ้ ง

ประเมินอย่ใู นระดับเขม้ แขง็ ทำการประเมนิ

2560 10 18

2561 12 18

2562 13 18

2563 7 12

การคำนวณปี 2563

รอ้ ยละขององค์กรผู้ใชน้ ำชลประทานที่มีความเข้มแข็งในการบรหิ ารจดั การนำ= (7 x 100) ÷ 12 = 58.33 %

ข้อมลู ยอ้ นหลงั (3 ป)ี

2560 2561 2562 2563

55.56 66.67 72.22 58.33

เกณฑ์การให้คะแนน (Le)

ตวั ชีวัด ระดับคะแนน

12 3 45

รอ้ ยละขององค์กรผู้ใช้นำชลประทานท่ี มคี วาม 50 60 70 80 90

เขม้ แขง็ ในการบรหิ ารจัดการนำ

Interpolate = (60-50)=10,(2-1)=1,(60-58.33)=1.67,1.67/10=0.167 , 2-0.167 = 1.83

คา่ คะแนนทไ่ี ด้ ______1.83______ คะแนน

131

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

รอ้ ยละของกลมุ่ ผู้ใชน้ ้าชลประทานทมี่ ีความเขม้ แขง็ ในการบริหารจัดการน้า

100.00

90.00

80.00 70.0% 70.0% 70.0%
70.00 66.67% 72.22% 58.33%
60.00
50.00 55.56%

40.00 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
ปี 2560

ร้อยละขององคก์ รผู้ใชน้ า้ ชลประทานทีม่ ีความเข้มแข็งในการบรหิ ารจัดการน้า คา่ มาตราฐาน Trend

ขอ้ มูลเปรียบเทียบและความเช่ือมโยง (C/Li)
รอ้ ยละของกลุ่มผูใ้ ชน้ ำชลประทานที่มีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการนำ ในปี 2563 = 58.33 %

วเิ คราะหค์ วามเช่ือมโยง แนวโนม้ ร้อยละของกลุม่ ผใู้ ช้นำชลประทานท่ีมีความเขม้ แขง็ ในการบริหารจดั การนำมีแนวโนม้
เพ่มิ ขนึ สอดคล้องกับแผนการส่งเสริมกจิ กรรมต่อในพืนท่ี และการท่ีหวั หน้ากล่มุ บรหิ ารและคณะกรรมการ ไดเ้ ขา้ รว่ ม
กจิ กรรม ในการพัฒนาและเสรมิ สร้างบทบาทหน้าที่ ความรับผดิ ชอบ และการปฏบิ ตั ิงาน ผ่านหลักสตู รเสรมิ สรา้ งความ
เขม้ แข็งขององค์กรผ้ใู ช้นำ และนำไปปฏิบตั ิเพ่ือพฒั นาองค์กรของตนเอง

132

ตวั ช้ีวดั ที่ 12 รอ้ ยละของจำนวนเร่อื งทีเ่ ผยแพร่และประชาสมั พันธผ์ า่ นสอ่ื ต่าง ๆ

คำอธิบายตวั ช้ีวัด

เปน็ การพจิ ารณาผลผลิตของการเผยแพร่ประชาสมั พนั ธเ์ พื่อใหผ้ ูร้ ับบรกิ ารและประชาชนได้รับรู้ และเข้าใจ

ภารกิจและผลงานของกรมชลประทานอย่างต่อเนอ่ื งและทั่วถึง ซ่งึ เรอื่ งทเ่ี ผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ควรมคี วาม

นา่ เช่ือถอื กระชบั ถูกตอ้ ง และเข้าใจงา่ ย และเพ่ือใหก้ ารประชาสัมพันธ์มีความทวั่ ถึงจงึ ควร ดำเนินการผ่านสอ่ื

ตา่ งๆ ดังนี

1) สอ่ื โทรทัศน์

2) ส่ือวทิ ยกุ ระจายเสยี ง

3) สื่อ สิ่งพิมพ์

4) เอกสารสง่ิ พมิ พ์

5) สอ่ื Internet Website Facebook เปน็ ตน้

6) ปา้ ยประชาสัมพันธ์

7) สื่อกิจกรรม

8) สอื่ นทิ รรศการ

วธิ กี ารเกบข้อมลู

เจา้ หนา้ ท่ีโครงการสง่ นำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน หรือฝา่ ยส่งนำและบำรุงรกั ษา ทำการรวบรวม

สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการเผยแพร่และประชาสมั พันธเ์ กีย่ วกับภารกิจของโครงการฯ หรอื ฝา่ ยสง่ นำฯ ผา่ นสื่อตา่ ง ๆ

เพือ่ ให้ผ้เู กยี่ วข้องรบั ทราบอย่างทว่ั ถงึ ซงึ่ จะตอ้ งสามารถแสดงหลักฐาน ประกอบการพิจารณาไดด้ ้วย

สูตรการคำนวณ

จำนวนเร่ืองท่ีผลิตและเผยแพร่และประชาสัมพันธผ์ ่านสื่อต่าง ๆ  100

จำนวนเรือ่ งที่ต้องดำเนนิ การทงั หมดตามแผนทว่ี างไว้

สถิตหิ รอื ข้อมูลท่ีจะนำมาคำนวณ

สื่อเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ 2560 2561 2562 2563
ผ่านส่ือตา่ งๆ แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล
00 00 00 00
1. ส่อื โทรทศั น์ 00 00 00 65
2. สื่อวทิ ยกุ ระจายเสยี ง 00 00 22 22
3. ส่ือสง่ิ พิมพ์ 00 00 22 22
4. เอกสารส่ิงพิมพ์ 00 00 22 12 12
5.ส่อื Internet Website Facebook เปน็ ต้น 00 00 28 28 33 33
6.ปา้ ยประชาสมั พันธ์ 00 00 00 00
7. สอ่ื กจิ กรรม 00 00 00 00
8. สอื่ นิทรรศการ 00 00 34 34 55 54

รวม

หมายเหตุ : ใหใ้ สข่ ้อมลู ทังหมด 4 ปคี อื ปปี จั จบุ นั และ 3 ปียอ้ นหลัง

การคำนวณปี 2563
ร้อยละของจำนวนเร่ืองทีเ่ ผยแพร่และประชาสมั พันธ์ผ่านสอ่ื ตา่ ง ๆ
= (83.33 +100 +100+100+100) ÷ 5 = 96.67 %

133

ข้อมูลย้อนหลัง (3 ปี)

2560 2561 2562 2563

- - 100 96.67 %

เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Le)

ตวั ชีวดั ระดบั คะแนน

12 3 4 5

รอ้ ยละของจำนวนเร่ืองที่ 80 85 90 95 100

เผยแพร่และ ประชาสัมพนั ธ์

ผา่ นสอื่ ตา่ งๆ

Interpolate = (100-95)= 5,(5-4)=1,(100-98.18)= 1.82, 1.82 /5=0.364 , 5-0.364= 4.636

คา่ คะแนนทไี่ ด้ _____4.64_______ คะแนน

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

ร้อยละของจำนวนเรื่องที่เผยแพร่และประชำสมั พนั ธ์ผำ่ นสื่อต่ำง ๆ

100.0% 96.7%

100

80 80.0% 80.0% 80.0%
80.0%

60

40

20

0.0% 0.0% ปี 2562 ปี 2563
0 ปี 2561

ปี 2560

ร้อยละของจำนวนเรื่องที่เผยแพร่และประชำสมั พนั ธผ์ ำ่ นส่ือต่ำง ๆ ค่ำมำตรำฐำน Trend

ข้อมูลเปรยี บเทยี บและความเช่อื มโยง (C/Li)
ผลจากความพงึ พอใจของเกษตรกร คอื การตดิ ต่อสื่อสารประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรใู้ ห้ประชาชนเข้าใจการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่
ของโครงการ ปรมิ าณนำทีส่ ามารถจดั สรรได้ และโครงการต้องเขา้ ใจปญั หาอุปสรรคของราษฎรในพนื ที่ เพ่ือปรบั วิธกี าร
ทำงานให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ

134


Click to View FlipBook Version