The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร (อันดับที่ 4 ประจำปี 2565)

ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Keywords: ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2,โครงการชลประทานมุกดาหาร,การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

เอกสารประกอบการประเมิน
การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การฝ่ายส่งน้ำและบำรงุ รกั ษา

ประจำปี 2565

ฝ่ายส่งนำ้ และบำรุงรักษาท่ี 2 อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนกั งานชลประทานที่ 7
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์



คำนำ

ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7 มีขอบเขต
พน้ื ทีค่ วามรบั ผิดชอบ 2 อำเภอ คอื อำเภอดงหลวง(ยกเวน้ ตำบลกกตูม) กบั อำเภอหว้านใหญ่ จงั หวัดมุกดาหาร
เอกสารแนะนำฝ่ายส่งน้ำฯ เล่มนี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการประเมินการพัฒนา
คุณภาพการบริหารจัดการฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการคัดเลือกสถานบันเกษตรกรผู้ใช้น้ำ
ชลประทานดีเด่นและฝ่ายส่งน้ำและบำรงุ รักษาดีเด่น เพื่อจะได้ทราบถึงรายละเอียดข้อมูลทีส่ ำคัญขององค์กร การ
บริหารองค์กรที่ดี การบริหารจัดการน้ำและบำรุงรักษา การมีส่วนร่วมขององค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน ผลสัมฤทธ์ิ
ของงาน

ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 และคณะผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการประเมินการ
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรกั ษา จะอำนวยประโยชน์และเป็นแนวทางในการดำเนินการ
ดา้ นการสง่ น้ำและบำรงุ รกั ษาตอ่ ไป

นายศรติ วรรธน์ ดาวสุวรรณสิริ
หวั หน้าฝา่ ยส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษาที่ 2

โครงการชลประทานมุกดาหาร

สารบญั ข

คำนำ หน้า
สารบัญ ก
สารบญั รูปภาพ ข
สารบัญตาราง ง
บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร ฉ
สรุปข้อมลู องค์กร 1
หมวดท่ี 1 การนำองค์กร 4
9
(1.1) ความเขา้ ใจในนโยบายในระดับตา่ งๆ รวมถึงการแปลงนโยบายสู่ผู้ปฎบิ ัติ 11
(1.2) การจดั ทำและการจดั เก็บขอ้ มูล ตามsheet ขอ้ มลู 14
(1.3) วิธีการ/กระบวนการจัดทำแผนงานโครงการ 18
(1.4) วธิ กี ารจัดวางอตั รากำลงั บุคคลากรอย่างเหมาะสม 37
(1.5) การจำแนกกลุ่มผู้รบั บรกิ าร ผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย และการกำหนดช่องทางในการ
39
รบั รู้และวางแนวทางในการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและ 40
ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย
หมวดท่ี 2 การสร้างความสัมพันธ์ 43
(2.1) วธิ กี าร/กระบวนการ ในการใหบ้ รกิ ารกับกลุ่มผู้รบั บริการ
และผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี 48
(2.2) วธิ ีการในการเพม่ิ ขีดความสามารถ/ศกั ยภาพของทมี งานตอ่ 50
การปฏิบัตงิ านเพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพการทำงาน
หมวดที่ 3 การบริหารจัดการ 51
การบรหิ ารจดั การและการบำรงุ รกั ษา 53
(3.1) วธิ ีการรับทราบ/รบั ร้/ู คำนวณปรมิ าณน้ำตน้ ทนุ ในการจดั สรรนำ้
หรือการระบายน้ำในแต่ละฤดูกาล 55
(3.2 ) การนำปรมิ าณน้ำตน้ ทุนทีไ่ ด้รับมาวางแผนจดั สรรนำ้ /ระบายนำ้ 57
(3.3) การแจง้ ข่าวสารให้ผใู้ ชน้ ำ้ ทราบทั้งกอ่ นและระหว่างสง่ น้ำ /การแจ้ง
ขา่ วสารใหผ้ ูร้ ับบริการและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสียในลำน้ำท่ีรับผิดชอบ 58
(3.4) การควบคุมการสง่ นำ้ ในระดบั ต่างๆ การควบคุมการระบายน้ำในระดบั ตา่ งๆ
(3.5) การดำเนนิ งานป้องกนั และบรรเทาภยั จากน้ำ หรือในสภาวะวกิ ฤติ 59
(น้ำทว่ ม/น้ำแลง้ /นำ้ เสีย)
(3.6) การดำเนนิ การจัดทำบนั ทึกประวัติการตรวจสอบสภาพและการบำรงุ รักษาอาคาร
ชลประทาน/walk thru



สารบญั (ตอ่ )

หนา้

(3.7) การคดิ คน้ /นำนวตั กรรมมาใชใ้ นการปฏบิ ัติงานหรอื ปรับปรงุ วิธกี ารทำงาน 61

การบรหิ ารองค์กรผู้ใชน้ ้ำ

(3.8) วธิ ีการสร้างการมีสว่ นร่วมกับผูร้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ในแตล่ ะฤดกู าล 66

หมวดที่ 4 ผลสัมฤทธ์ิของงาน 68

ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 ร้อยละของพื้นที่บริหารจดั การน้ำในเขตชลประทาน

(Cropping Intensity) 69

ตัวช้ีวัดที่ 4 ร้อยละของผู้ใช้น้ำในเขตพื้นทช่ี ลประทานที่พึงพอใจตอ่ การบริหารจดั การน้ำ 72

ตัวชี้วัดท่ี 5 ประสทิ ธิภาพชลประทานในฤดฝู น 76

ตัวช้ีวดั ที่ 6 ประสิทธภิ าพชลประทานในฤดูแล้ง 78

ตวั ชี้วดั ที่ 7 ร้อยละของการเบิกจา่ ยงบประมาณงบลงทุนที่เปน็ ไปตามแผน 80

ตัวช้ีวัดท่ี 8 ร้อยละของอาคารควบคมุ น้ำในระบบสง่ น้ำและในระบบระบายนำ้

ทอี่ ย่ใู นสภาพใชง้ านได้ดี 89

ตวั ช้ีวดั ท่ี 9 ร้อยละของพ้ืนท่ีชลประทานทมี่ ีการจัดตง้ั กลุ่มผูใ้ ช้น้ำชลประทานพืน้ ฐาน 91

ตัวช้ีวัดท่ี 10 รอ้ ยละของพืน้ ทชี่ ลประทานที่มีการจัดตั้งกลุ่มบริหารการใช้นำ้ ชลประทาน

กลมุ่ เกษตรกรฯ สมาคมฯ และสหกรณฯ์ 93

ตวั ชี้วัดที่ 11 รอ้ ยละขององค์กรผใู้ ช้นำ้ ชลประทานท่ีมีความเขม้ แขง็ ในการบรหิ ารจัดการน้ำ 95

ตัวช้ีวัดที่ 12 ร้อยละของจำนวนเร่ืองทเี่ ผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผา่ นส่ือต่างๆ 97

ภาคผนวก

สารบัญรูป ง

รปู ท่ี ก-1 ศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เขา้ ถึง พฒั นา” หน้า
รูปที่ ก-2 แผนภูมโิ ครงสรา้ งองค์กรฝา่ ยส่งน้ำและบำรงุ รกั ษาท่ี 2 1
รปู ที่ ก-3 แผนท่ีฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรักษาท่ี 2 5
รปู ที่ 1-1 หนังสือแจง้ ผูร้ ับผดิ ชอบเป็นลายลักษณอ์ ักษร 6
11
รปู ที่ 1-2 การประชุมประจำสปั ดาห/์ ประจำเดือน และการประชมุ เรง่ ดว่ นต่างๆ 12
13
รปู ท่ี 1-3 งานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 14
รปู ที่ 1-4 การนำเสนอนโยบายผ่านส่อื Online ตา่ งๆ เชน่ Website, Facebook, Line 15
รปู ที่ 1-5 ฐานข้อมลู ดา้ นแผนงานพฒั นาแหลง่ น้ำงานซ่อมแซม ปรบั ปรงุ 16
รปู ท่ี 1-6 แผนทีแ่ สดงแหลง่ น้ำอำเภอหว้านใหญ่ 17
รปู ที่ 1-7 แผนทีแ่ สดงแหลง่ นำ้ อำเภอดงหลวง 21
รปู ที่ 1-8 แผนท่ีแสดงอาคารและพื้นที่ชลประทานในเขตลุ่มน้ำหว้ ยชะโนด (ก่อนดำเนินการ) 22
รปู ท่ี 1-9 แสดงแผนผงั การวิเคราะหส์ ถานการณ์ปจั จุบันของลำนำ้ ย่อยลำหว้ ยชะโนด 23
รปู ที่ 1-10 แผนผงั ระบบระบายนำ้ ลมุ่ น้ำหว้ ยชะโนด (ทข่ี าดนำ้ ) 25
รปู ท่ี 1-11 แผนที่แสดงอาคารและพนื้ ทชี่ ลประทานในเขตลมุ่ นำ้ ห้วยชะโนด (หลังดำเนินการ) 27
รปู ที่ 1-12 แผนทแี่ สดงอาคารและพืน้ ที่ชลประทานในเขตลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (ก่อนดำเนนิ การ) 28
รปู ที่ 1-13 แผนผังระบบระบายนำ้ ลุ่มนำ้ หว้ ยบางทราย (ที่ขาดนำ้ ) 29
รูปท่ี 1-14 แผนผงั ระบบระบายน้ำลมุ่ นำ้ ห้วยบางทราย (ท่ีขาดน้ำ ตอ่ ) 30
รูปท่ี 1-15 แผนผงั ระบบระบายน้ำลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (ท่ีขาดน้ำ ตอ่ ) 33
รูปที่ 1-16 แผนทแ่ี สดงอาคารและพ้ืนที่ชลประทานในเขตลุ่มน้ำห้วยบางทราย (หลังดำเนนิ การ) 38
รูปท่ี 1-17 การปฏิบัติภารกิจในหน้าทท่ี ่รี บั ผิดของแตล่ ะบุคคล 41
รูปที่ 2-1 การประชมุ ร่วมกับกลมุ่ ผใู้ ชน้ ้ำและเกษตรกร 42
รูปที่ 2-2 การประชมุ การบริหารจดั การน้ำ 42
รูปท่ี 2-3 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุม่ ผูใ้ ชน้ ำ้ ชลประทาน 46
รปู ที่ 2-4 การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม 14 ขนั้ ตอน
รปู ที่ 2-5 สง่ บุคลากรเขา้ รว่ มโครงการอบรมสัมมนาเชงิ การเรียนรู้ภาคการเกษตร 48

รว่ มกบั หนว่ ยงานภายนอก 49
รูปที่ 2-6 การรว่ มทบทวนเพ่ือปรับปรงุ ประสิทธิภาพ และประสานงานเป็นประจำอยา่ งต่อเน่อื ง 52
52
ทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง้ 53
รูปที่ 3-1 การวางแผนการใช้นำ้ จากโปรแกรม ROS อ่างฯห้วยชะโนด
รูปท่ี 3-2 Rule Curve ของอา่ งฯห้วยชะโนด
รูปท่ี 3-3 ปฏิทินการเพาะปลกู พืช

สารบัญรปู (ตอ่ ) จ

รูปที่ 3-4 แบบสำรวจข้าวตอ่ ไร่ จบ.1-27 หน้า
รปู ที่ 3-5 การควบคุมนำ้ ในระดับต่างๆ 54
รปู ท่ี 3-6 รูปการเสริมกระสอบทรายในช่วงปลายฤดูฝน 57
รูปท่ี 3-7 รูปอาคารชลประทานทพ่ี ร้อมใชง้ าน 59
รปู ที่ 3-8 ภาพถ่ายมุมสูงจาก Drone 59
รปู ที่ 3-9 รปู การณ์ใช้ไลน์ (Line) ในการติดตามงานต่างๆ 61
รปู ท่ี 3-10 รูปการณอ์ บรมใหค้ วามรู้เร่ืองการนำนวัตกรรมเขา้ มาใช้ในการเกษตร 62

เพอื่ ลดการใช้น้ำและเพิ่มผลผลติ 63
รูปที่ 3-11 รูปการศึกษาดูงานการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นขา้ วและชาวนา กรมการขา้ ว 63
รปู ที่ 3-12 รูปการทำระบบน้ำหยด 64
รูปที่ 3-13 รปู การปรับพ้นื ที่ด้วยเลเซอร์ (Laser Land Leveling) 65
รูปที่ 3-14 รูปการณเ์ ล้ียงเป็ดแบบไล่ทุ่ง 65
รูปที่ 3-15 รปู การณก์ ำจดั วัชพชื ในคลองส่งน้ำโดยกลมุ่ ผใู้ ชน้ ำ้ ฯ 67

สารบญั ตาราง ฉ

ตารางที่ ก-1 ตารางแสดงอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง และโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หน้า
ตารางที่ ก-2 ตารางแสดงการปลูกพชื และผลผลิตของเกษตรกร 6
ตารางที่ 1-1 ตารางแสดงโครงการพัฒนาแหลง่ นำ้ ท่ีมอี ยใู่ นปจั จุบันในลมุ่ นำ้ หว้ ยชะโนด 7
ตารางท่ี 1-2 แสดงความตอ้ งการใชน้ ้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคของลุ่มน้ำห้วยชะโนด 18

ในปจั จุบันและอนาคตของอำเภอในเขตลุ่มน้ำหว้ ยชะโนด 19
20
ตารางที่ 1-3 แสดงพ้ืนท่ีชลประทานและพ้ืนทรี่ บั ประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขายอ่ ย (กอ่ นดำเนินการ) 24

ตารางที่ 1-4 แสดงพ้นื ท่ชี ลประทานและพนื้ ที่รับประโยชน์ในลำน้ำสาขายอ่ ย (หลังดำเนินการ) 26
ตารางที่ 1-5 แสดงความตอ้ งการใชน้ ้ำเพื่อการอปุ โภคบริโภคของล่มุ น้ำหว้ ยบางทราย 31
32
ในปจั จุบันและอนาคตของอำเภอในเขตลมุ่ น้ำหว้ ยบางทราย 34
ตารางที่ 1-6 แสดงพ้ืนทช่ี ลประทานและพ้นื ที่รบั ประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขายอ่ ย (หลังดำเนินการ) 36
ตารางท่ี 1-6 แสดงพืน้ ทชี่ ลประทานและพ้นื ทร่ี บั ประโยชนใ์ นลำน้ำสาขาย่อย (หลังดำเนนิ การ ตอ่ ) 37
ตารางที่ 1-7 แผนปฏิบัติการ 5 ปี ตามยทุ ธศาสตรข์ องโครงการในแตล่ ะด้าน 39
ตารางที่ 1-8 แผนการควบคุมภายในและแผนบริหารความเสย่ี งตามแนวทางท่ีกรมฯกำหนด
ตารางที่ 1-8 แผนการควบคมุ ภายในและแผนบริหารความเสี่ยงตามแนวทางทก่ี รมฯกำหนด(ต่อ)
ตารางที่ 1-9 ตารางการจำแนกกลุม่ ผูร้ ับบรกิ าร ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี

ตารางท่ี 2-1 วธิ กี าร/กระบวนการในการให้บริการกับกลมุ่ ผ้รู ับบรกิ าร และผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี 43
ตารางท่ี 2-2 ตารางกลมุ่ ผูร้ บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียหลกั ของโครงการชลประทาน 44
ตารางท่ี 2-3 ตารางแสดงการจำแนกกลุม่ ผู้รบั บริการและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี 45
ตารางที่ 2-4 ตารางแสดงการกำหนดช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นของผูร้ บั บริการ
47
และผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี 54
ตารางท่ี 3-1 ตารางสรปุ แผนการเพาะปลกู พืชฤดูแล้ง 55
ตารางท่ี 3-2 แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพืชฤดฝู น
ตารางที่ 3-3 ตารางการแจ้งข่าวสารใหผ้ ใู้ ช้น้ำทราบทง้ั ก่อนและระหว่างสง่ น้ำ หรือการแจง้ ขา่ วสาร 56

ใหผ้ ู้รับบริการและผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียทราบ 60
ตารางที่ 3-4 จัดทำบันทึกประวัตกิ ารตรวจสภาพและการบำรงุ รักษาอาคารชลประทาน

/Walk thru

สารบญั ตาราง (ภาคผนวก) ช

ตารางท่ี 1-10 ตารางแสดงโครงการพัฒนาแหล่งนำ้ ขนาดกลางในล่มุ น้ำห้วยชะโนดในปัจจบุ ัน หนา้
ตารางท่ี 1-11 ตารางแสดงโครงการพัฒนาแหล่งน้ำอา่ งเก็บนำ้ ขนาดเล็ก 104

ในลุ่มน้ำหว้ ยชะโนดในปัจจบุ ัน 104
ตารางท่ี 1-12 ตารางแสดงโครงการพฒั นาแหลง่ น้ำขนาดเลก็ (ฝาย)
105
ในลมุ่ นำ้ ห้วยชะโนดในปจั จุบนั 106
ตารางที่ 1-13 ตารางแสดงโครงการสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าในลุม่ น้ำห้วยชะโนดในปจั จบุ ัน 106
ตารางที่ 1-14 ตารางแสดงงานท่อลอดตา่ ง ๆ ในลมุ่ นำ้ หว้ ยชะโนดในปจั จุบนั 107
107
ตารางท่ี 1-15 ตารางแสดงโครงการสถานี Box Culvert ในลุ่มนำ้ ห้วยชะโนดในปจั จบุ ัน
ตารางท่ี 1-16 ตารางแสดงโครงการศักยภาพแหลง่ น้ำในลุ่มน้ำห้วยชะโนด 108
ตารางที่ 1-17 ตารางสรปุ ผลการวเิ คราะห์การใช้นำ้ ในกจิ กรรมท่ีสำคัญท้ัง 22 ลำน้ำยอ่ ย
109
ลำหว้ ยชะโนด
ตารางท่ี 1-18 แนวทางแก้ไขลำหว้ ยที่ขาดแคลนน้ำและที่สามารถพฒั นาได้ 110

โดยใช้มาตรการสิ่งก่อสรา้ ง 111
ตารางที่ 1-18 แนวทางแก้ไขลำหว้ ยท่ขี าดแคลนน้ำและที่สามารถพัฒนาได้ 112

โดยใช้มาตรการสิง่ ก่อสรา้ ง(ต่อ) 113
ตารางที่ 1-18 แนวทางแก้ไขลำหว้ ยทข่ี าดแคลนน้ำและท่ีสามารถพัฒนาได้
114
โดยใช้มาตรการส่ิงก่อสร้าง (ต่อ) 115
ตารางที่ 1-19 ตารางแสดงโครงการพฒั นาแหลง่ นำ้ ขนาดกลางในลุ่มน้ำห้วยบางทรายในปัจจบุ นั 115
ตารางที่ 1-20 ตารางแสดงโครงการพฒั นาแหลง่ น้ำอา่ งเก็บน้ำขนาดเล็ก 116

ในลุ่มน้ำหว้ ยบางทรายในปัจจุบนั 117
ตารางท่ี 1-21 ตารางแสดงโครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเลก็ (ฝาย)
118
ในล่มุ นำ้ ห้วยบางทรายในปัจจุบัน
ตารางที่ 1-22 ตารางแสดงโครงการสถานีสูบนำ้ ดว้ ยไฟฟ้าในลมุ่ นำ้ หว้ ยบางทรายในปัจจุบนั 119
ตารางท่ี 1-23 ตารางแสดงโครงการแก้มลงิ ในลุ่มนำ้ ห้วยบางทรายใหญ่ในปจั จุบัน
ตารางท่ี 1-24 ตารางแสดงโครงการศักยภาพแหลง่ นำ้ ในลุ่มน้ำหว้ ยบางทราย
ตารางที่ 1-25 ตารางการวเิ คราะหส์ ถานการนำ้ ในกจิ กรรมทส่ี ำคัญท้ัง 32 ลำนำ้ ย่อย

ลำห้วยบางทราย
ตารางที่ 1-26 แนวทางแก้ไขลำหว้ ยทีข่ าดแคลนนำ้ และท่ีสามารถพัฒนาได้

โดยใช้มาตรการสิ่งก่อสรา้ ง
ตารางที่ 1-26 แนวทางแก้ไขลำห้วยทข่ี าดแคลนน้ำและที่สามารถพัฒนาได้

โดยใช้มาตรการสิ่งก่อสรา้ ง (ต่อ)

1

บทสรุปสำหรบั ผู้บริหาร
การประเมินฝา่ ยส่งน้ำและบำรุงรักษาประจำปี 2565 ฝา่ ยสง่ นำ้ และบำรงุ รกั ษาท่ี 2 โครงการ

ชลประทานมกุ ดาหาร โดยมงุ่ เนน้ นำศาสตรพ์ ระราชา “เข้าใจ เขา้ ถึง และพัฒนา มาประยุกตใ์ ช้” ในการ
ประเมินคร้ังน้ี ประกอบด้วย

1. สรุปข้อมูลองค์กร
2. หมวดที่ 1 การนำองค์กร (เขา้ ใจ)
3. หมวดท่ี 2 การสรา้ งความสมั พนั ธ์ (เข้าถึง)
4. หมวดที่ 3 การบริหารจดั การ (พฒั นา)
5. หมวดที่ 4 ผลสัมฤทธิข์ องงาน จำนวน 10 ตัวชี้วัด

ศาสตร์พระราชา “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พัฒนา”

รูปท่ี ก-1 ศาสตรพ์ ระราชา “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พัฒนา”
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร มีพื้นที่รับผิดชอบดูแลในเขต
จังหวัดมุกดาหารตอนบน จำนวน 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอดงหลวง และอำเภอหว้านใหญ่ ทิศเหนือติดกับ
จงั หวัดนครพนม และสกลนคร ทศิ ตะวนั ออกตดิ แมน่ ำ้ โขง และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทศิ ใต้
ติดกับ อำเภอเมืองและอำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดกาฬสินธุ์ ลักษณะของภูมิ
ประเทศจะเปน็ ภเู ขาสลับลูกเนินทางทิศตะวันตกและลาดเทลงมาเป็นพนื้ ราบทางทิศตะวันออก มลี ุ่มน้ำย่อย 2
สาย ไหลลงแม่น้ำโขง ได้แก่ ห้วยบางทราย และห้วยชะโนด ในฤดูแล้ง แล้งจัด ฤดูฝนเกิดอุทกภัยเร็วเพราะ
ความลาดชันของลำหว้ ยหากฝนตกในพ้ืนที่มีความเข้มสงู พืชที่เพาะปลูกสว่ นใหญเ่ ป็นข้าว และพืชไร่ เช่นมัน
สำปะหลัง ออ้ ย ยางพารา การปฏบิ ตั งิ านชลประทานจงึ ตอ้ งประสานและปฏิบัตงิ านรว่ มกับส่วนราชการระดับ
อำเภอและจังหวัด งานที่ดำเนนิ การประกอบด้วย การวางแผน ควบคุม และกำกับ การส่งน้ำและบำรุงรักษา

2

การระบายน้ำ การเก็บกักน้ำ การบริหารจัดการน้ำ รวบรวมสถิติข้อมูลด้านอุตุ-อทุ กวทิ ยา ติดตามตรวจสอบ

วิเคราะห์ปริมาณน้ำที่ต้องส่งเข้าพื้นที่เพาะปลูก ประสานส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกพืชเศรษฐกิจ

เกษตรอินทรีย์ ตามแนวพระราชดำริ การบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ เป็นตัวแทนและประสาน

แผนปฏิบตั ิงานระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวงฯและต่างกระทรวงฯ ใหก้ บั โครงการชลประทานมุกดาหาร

สำนักงานชลประทานท่ี 7 ให้การสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านกับส่วนราชการท่ีเกยี่ วข้องตามที่ได้รับมอบหมาย มี

พ้ืนทีร่ ับผิดชอบในเขตจงั หวัดมกุ ดาหาร 2 อำเภอ พ้นื ท่ี 723,566 ไร่ เป็นทก่ี ารเกษตร 275,000 ไร่ และเป็น

พื้นที่ชลประทาน 21,250 ไร่หรือร้อยละ 7.72 ของพื้นที่การเกษตร ซึ่งต้องพัฒนาทั้งแหล่งน้ำและระบบ

ชลประทานอีกมาก

1. ข้อมูลทวั่ ไปของฝา่ ยส่งน้ำ
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร ตั้งอยู่เลขที่ 106 หมู่ที่ 2 บ้าน

หนองหนาว ตำบลหนองบัว อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 50
กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายศรติ วรรธน์ ดาวสุวรรณสริ ิ เปน็ หวั หนา้ ฝ่ายฯ มบี คุ ลากรท่ีปฏิบัติงาน จำนวน 4 คน
แบ่งเป็น

- ขา้ ราชการ จำนวน 1 คน
- ลูกจ้างประจำ จำนวน 2 คน
- พนักงานราชการ จำนวน 1 คน

 ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร มีพ้นื ท่ีชลประทาน 21,250 ไร่

 มีแหล่งน้ำในความรับผิดชอบประกอบด้วย โครงการชลประทานขนาดกลาง และโครงการอนั

เน่ืองมาจากพระราชดำริ 5 แหง่ ได้แก่

1.อ่างเก็บนำ้ ห้วยชะโนด พืน้ ทช่ี ลประทาน 16,000 ไร่

2.อ่างเกบ็ นำ้ ห้วยไร่ พื้นทช่ี ลประทาน 1,500 ไร่

3.อา่ งเก็บนำ้ หว้ ยหนิ ลบั พน้ื ทช่ี ลประทาน 1,700 ไร่

4.อ่างเก็บน้ำห้วยแคน พืน้ ทชี่ ลประทาน 750 ไร่

5.อ่างเก็บน้ำห้วยขาหน้า พื้นทช่ี ลประทาน 1,300 ไร่

ผลงานที่มีความโดดเด่นของฝ่ายส่งนำ้ และบำรงุ รักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร และปัจจัยแห่ง

ความสำเร็จ

1. การบรู ณาการในเชิงรุก ในการเปน็ ผนู้ ำในด้านการบรหิ ารจัดการน้ำทางอำเภอต่างๆ โดยได้

นำหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับอำเภอ เข้าร่วมประชุมในแต่ละอำเภอ เพื่อจัดทำสมดุลน้ำในระดับอำเภอ

เพื่อจัดทำเป็นแผนพัฒนาในด้านแหล่งน้ำของอำเภอนนั้ ๆ โดยในระดบั อำเภอจะประกอบดว้ ย เจ้าหน้าที่ของ

ท้องถิ่นและผู้รับผิดด้านแผนงานของอำเภอ ด้านป้องกันและบรรเทาภัย ซึ่งจะได้ประชาสัมพันธ์และสื่อสาร

ข้อมูลข่าวสารอื่นๆ เช่น จุดเฝ้าระวังภยั จุดเสี่ยงเกิดภัย เพื่อเป็นการเตรียมการป้องกันให้เกิดความเสียหาย

น้อยที่สุด โดยแต่ละอำเภอได้กำหนดกลุ่มไลน์ ติดตามน้ำของอำเภอนั้นๆ สำหรับใช้เป็นช่องทางในการ

3

ประสานงานและการส่ือสารประชาสัมพันธ์ในด้านต่างๆ ทำให้ปัญหาข้อรอ้ งเรียนในพืน้ ที่ลดน้อยลง และการ
ชว่ ยเหลือแก้ไขปญั หาต่างๆได้รับการบรู ณาการจากหน่วยงานในการแก้ไขได้รวดเรว็ ข้ึน และได้มาซึ่งแผนการ
พฒั นาลมุ่ น้ำห้วยชะโนดและลุ่มนำ้ หว้ ยบางทรายทงั้ ลุ่มนำ้

2. การจา้ งเหมากลุ่มผูใ้ ช้นำ้ ชลประทาน เน่อื งจากปัจจุบันอัตรากำลงั ของเจา้ หน้าที่ชลประทาน
ลดลงอย่างต่อเนื่องการประสานงานกับกลุ่มผู้ใช้นำ้ บางแหง่ งต้องใช้ลูกจ้างชั่วคราวช่วยในการดำเนินงานการ
ประสานงานและการสื่อสารจึงไมเ่ ปน็ ไปอย่างต่อเนื่อง ฝ่ายฯจึงไดก้ ระตุ้นและให้ความสำคัญในเร่ืองของกลุ่ม
ผูใ้ ชน้ ้ำชลประทานเพ่ือให้เกิดความเข้มแข็ง โดยได้ประชมุ รวมทกุ กลุ่ม จำนวน 6 กล่มุ ผู้ใช้น้ำท่ีกระจายอยู่ใน
แต่ละอำเภอ ปีละ 2 ครั้ง คือ ช่วงก่อนฤดูนาปี และช่วงก่อนฤดูแล้ง เพื่อให้เป็นเวทีนำเสนอปัญหาและ
ข้อเสนอแนะของกลุ่มตนเอง แต่ทัง้ น้สี ง่ิ ที่สำคญั และเปน็ ที่ใหก้ ารยอมรับจากกลมุ่ ผู้ใช้น้ำมากท่ีสุด คือการจ้าง
เหมากลุ่มผู้ใช้น้ำ ตามแผนงาน 1 โครงการ 1 ล้านบาท แม้จะไม่ได้ทุกกลุม่ ในแต่ละปี แต่ก็ได้รับการตอบรับ
เป็นอย่างดีจากกลุ่มผู้ใช้น้ำ ที่จะนำไปพัฒนากลุ่มฯให้มีความเข้มแข็งและสามารถบริหารจัดการกลุ่มของ
ตนเองได้ โดยมีเจ้าหนา้ ที่ชลประทานคอยเปน็ พี่เลย้ี ง และสามารถดแู ลไดท้ ว่ั ถงึ นอกจากน้นั บางกลมุ่ ฯสามารถ
พฒั นาด้วยต่อยอดเขา้ ถึงแหลง่ เงนิ ทนุ เป็นตัวอย่างในการทำการเกษตรในพื้นท่ี ส่งผลให้เกษตรกรซ่ึงอยู่นอก
เขตชลประทานมีความสนใจต้องการที่จะให้มีงานพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทานในพื้นที่เพ่ิมมากขึ้น
เนอื่ งจากเลง็ เหน็ ถงึ ความสำคัญของพื้นที่ในเขตชลประทาน และความม่ันคงดา้ นการผลติ

สรปุ ขอ้ มูลองคก์ ร

5

1. อัตรากำลัง

แผนภูมโิ ครงสรา้ งองค์กร
ฝ่ายสง่ น้ำและบำรงุ รักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร

รูปที่ ก-2 แผนภูมโิ ครงสร้างองคก์ รฝา่ ยส่งน้ำและบำรุงรกั ษาท่ี 2

6

2. รายละเอยี ดแหล่งน้ำในเขตรบั ผดิ ชอบ
ตารางที่ ก-1 ตารางแสดงอา่ งเก็บน้ำขนาดกลาง และโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ

3. พื้นท่ีฝ่ายสง่ น้ำและบำรุงรักษา พน้ื ที่รับผดิ ชอบ

ฝา่ ยสง่ น้ำและบำรงุ รักษาท่ี 2

รูปที่ ก-3 แผนที่ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษาที่ 2 คป.มุกดาหาร

7

4. ปรมิ าณน้ำตน้ ทนุ 29.00 ลา้ น ลบ.ม.
5. ปรมิ าณน้ำผ่านสูงสุดของฝา่ ยส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษา 255.86 ลบ.ม./วินาที
6. พืน้ ทีโ่ ครงการฯ 22,795 ไร่ และพ้ืนท่ชี ลประทาน 21,250 ไร่
7. คลองสง่ นำ้ ความยาวรวม 79.987 กม. และอาคารประกอบ 519 แหง่
8. ระบบคันคนู ำ้ 97 สาย ความยาว 49.85 กม.
9. สถานีวัดน้ำฝน 2 แห่ง ปรมิ าณฝนเฉลีย่ 1,614 มม./ปี
10. การปลกู พืชและผลผลิตของเกษตรกร (แยกตามชนิดพชื หลัก เช่น ขา้ ว ขา้ วโพด อ้อย ฯลฯ)

ตารางท่ี ก-2 ตารางแสดงการปลกู พืชและผลผลิตของเกษตรกร

โครงการฯ/ฝา่ ยสง่ นำ้ ฯ ชนดิ พชื พ้นื ที่ ปรมิ าณ ผลผลิต มูลคา่ หมาย
เพาะปลูก นำ้ ทใ่ี ช้ รวม (ตน้ ) (ลา้ น เหตุ
(ล้าน บาท)
(ไร่) ลบ.ม.) 11,133
- 167.01
ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาท่ี 2 ขา้ ว 11,342 9.91 - -
(ฤดูฝน) พืชไร่ 300 2.29 - -
พืชผกั 0 0 - -
(ฤดูแล้ง) อ้อย 0 0 - -
ไมผ้ ล 8 0.65 - -
ไม้ยืนต้น 1,789 0.89 - -
บ่อปลา 280 1.02 - -
อ่นื ๆ(มนั สำปะหลงั ,ถวั่ ) 0 0 - -
ข้าว 0 0 - -
พืชไร่ 107 2.56 65 -
พชื ผัก 28 5.56 - 1
ออ้ ย 117 3.02 - -
ไมผ้ ล 8 1.36 - -
ไม้ยืนต้น 1,789 2.65 - -
บ่อปลา 280 2.37 -
อืน่ ๆ(มันสำปะหลงั ,ถั่ว) 0 0

8

11. ปริมาณน้ำทใี่ ชใ้ นการเพาะปลูกพืชฤดูฝน 18.10 ลา้ น ลบ.ม. ฤดแู ล้ง 19.02 ล้าน ลบ.ม. รวม 37.12 ล้าน
ลบ.ม.
12. กจิ กรรมการใชน้ ำ้

(1) เพ่อื การอุปโภคบริโภค 0.13 ล้าน ลบ.ม./ปี
(2) เพื่อการเกษตรกรรมหรอื การเลย้ี งสัตว์ 37.12 ล้าน ลบ.ม./ปี
(3) เพื่อการรักษาระบบนิเวศ 0.91
13. ประสิทธภิ าพการชลประทาน ฤดฝู น 34.83 % ฤดแู ลง้ 56.73%
14. จำนวนองคก์ รผ้ใู ช้นำ้ ปัจจุบัน มดี ังน้ี
 กลมุ่ บริหารฯ 6 กลุ่ม มพี ืน้ ท่ี 21,250 ไร่
 กลุ่มพ้นื ฐาน 212 กลุ่ม มพี ้นื ท่ี 21,250 ไร่
15. จำนวนครัวเรอื นในพน้ื ที่ 1,757 ครัวเรอื น พน้ื ที่ถอื ครองเฉล่ีย 12 ไร่/ครวั เรอื น และรายไดเ้ ฉลีย่ 95,600
บาท/ครัวเรือน
16. ปญั หาและขอ้ เสนอแนะ
ฝ่ายส่งนำ้ และบำรุงรักษาท่ี 2 โครงการชลประทานมกุ ดาหาร ปญั หาและขอ้ เสนอแนะดงั นี้
1. การสูญเสียพน้ื ท่ีปา่ ทำให้เกิดปัญหาความแห้งแล้งและน้ำหลากอย่างรวดเรว็
2. การบุกรุกลำน้ำและที่สาธารณะ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรทำให้ความต้องการใช้น้ำ
และใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มมากขึ้นปัญหาต่างๆดังกล่าวต้องได้รับการประสานแก้ไขด้วยความร่วมมืออย่าง
แท้จริง
3. เพ่ิมปรมิ าณน้ำต้นทุนแหล่งน้ำขนาดเล็กให้กบั ชมุ ชนพร้อมกับการพัฒนาแหลง่ น้ำขนาดกลาง
ที่มีอยู่ควบคู่กันไปเพ่ือเก็บกักน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้งและสามารณบรรเทาอุทกภัยได้ในฤดูน้ำหลาก โดยเน้น
วางแผนให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและจริงจงั เน้นการมสี ่วนร่วมของภาคประชาชนเปน็ สำคญั
4.กอ่ สร้างประตูระบายน้ำ ปากลำห้วยหลัก พรอ้ มสถานสี บู นำ้ ขนาดใหญ่ เพอ่ื นำน้ำมาใช้ในการ
อปุ โภค - บริโภค และเพอื่ การเกษตร อยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ
5. พัฒนาแหล่งน้ำ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สถานีสูบน้ำ แก้มลิง คันพนังกั้นน้ำ ขุดลอกแหล่งน้ำ
โดยพัฒนาให้เกิดระบบชลประทานและระบบแพร่กระจายน้ำให้กับพืน้ ที่ให้มากที่สุดรองรบั การขยายตัวของ
ชุมชนทัง้ ในปัจจบุ นั และอนาคตเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแลง้ และอทุ กภยั
6. แหล่งเกบ็ กักนำ้ ตน้ ทนุ สำหรบั ฤดแู ล้งมีไมเ่ พียงพอกบั ปริมาณความตอ้ งการใชน้ ้ำ
7. การเจริญเติบโตของชุมชนเมืองและการขยายตัวของเมือง รวมทั้งการขยายตัวของการทำ
เกษตรกรรมฤดูแล้งทำใหค้ วามต้องการใชน้ ้ำฤดแู ล้งมีเพม่ิ มากขึ้นจึงสง่ ผลกระทบต่อการใช้น้ำภาคเกษตรและ
การใช้น้ำภาคต่างๆ
8. แหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น หนอง คลอง บึง ยังขาดการเอาใจใส่อย่างถูกต้อง ถูกละเลยและถกู
บุกรกุ แหล่งน้ำจงึ ขาดความอดุ มสมบูรณ์ ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ไมเ่ ต็มท่ี

9

หมวดที่ 1
การนำองคก์ ร

10

หมวดที่ 1 การนำองคก์ ร
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรกั ษาที่ 2 ไดน้ ้อมนำศาสตรพ์ ระราชา เรอื่ ง “เขา้ ใจ”มาปรับใชด้ งั น้ี

1. ข้อมลู ทมี่ อี ย่แู ล้ว
ฝา่ ยส่งน้ำและบำรุงรกั ษาท่ี 2 ได้นำข้อมลู ทไ่ี ดม้ ีการจดั เก็บโดยเจ้าหน้าทที่ ี่รับผิดชอบในส่วนงาน

ต่างๆ มาวางแผน การขับเคลือ่ นงานด้านบรหิ ารจัดการน้ำ ของจังหวัดมุกดาหาร รวมถึงได้มีการจัดเกบ็ ขอ้ มูล
อย่างตอ่ เนอ่ื ง เพือ่ ใช้เป็นข้อมลู ในการวางแผนการพฒั นาในอนาคต

2. การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มีการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ ในการดำเนินการวางแผนบริหาร

จดั การน้ำ เช่น ข้อมูลสถิติน้ำฝน-น้ำทา่ ตา่ งๆ ทีม่ ีการจัดเก็บเป็นรายวัน-รายชัว่ โมง รวมถงึ ขอ้ มูลเกษตรกร และ
แปลงเพาะปลูกในเขตชลประทาน ซึง่ ได้มีการลงสำรวจทำให้ขอ้ มลู มีความถูกต้องและแม่นยำตรงตามความเป็น
จริง

3. การวิเคราะหแ์ ละวจิ ยั
ฝ่ายส่งนำ้ และบำรุงรักษาท่ี 2 ได้นำผลการวิเคราะห์และวิจัยรวมถงึ องค์ความรู้ในเรื่องการใช้น้ำ

ในแปลงนาแบบประหยัดในรูปแบบต่างๆ ซึ่งดำเนินการโดยกรมชลประทานมายึดเปน็ แนวทางในการเผยแพร่
และส่งเสริมใหเ้ กษตรกรไปใช้ในพื้นที่ เชน่ “หลักการปลูกขา้ วแบบเปียกสลับแห้ง”เป็นต้น

4. การทดลองจนไดผ้ ลจริง
ฝ่ายส่งน้ำและบำรงุ รักษาที่ 2 ได้วางแผนบรหิ ารจัดการน้ำท้งั ลุ่มน้ำ โดยปัจจุบันราษฎรและส่วน

ทอ้ งถ่นิ ต่างนำเร่ืองเสนอขอความช่วยเหลือลดความเดอื ดร้อนเขา้ มา ซงึ่ ตรงกับแผนท่ีฝา่ ยฯ มีทำใหด้ ำเนินการ
ได้รวดเรว็ และเป็นปจั จยั ข้อมลู ในการพัฒนาพ้นื ทีต่ ่อไป

จากการทดลองทำนาแบบเปียกสลับแห้ง พบข้อจำกัด ในการทำคือพื้นที่ที่มสี ภาพเป็นดนิ ทราย
น้ำซึมหายอย่างรวดเร็ว ภายในเวลาไม่ถึง 7 วัน สภาพพื้นที่ไม่ราบเรียบเสมอกัน ควบคุมการให้น้ำลำบาก
ชาวบ้านต้องทำงานหนักขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประหยัดน้ำตามนโยบายของกรม ทำให้เกษตรกรขาด
แรงจงู ใจ

ฝ่ายฯ ได้รับผลการตอบรับท่ีดี โดยกลุ่มเกษตรกร กระตือรือร้น ขอไปร่วมฟัง ร่วมดูงานและ
เรียนรู้จริง ในส่วนต่างๆ ซึ่งแตกต่างจากเมื่อ 3-4 ปีก่อนหน้า ซึ่งฝ่ายฯ ได้ขยายความสำคัญถึงสภาวะการณ์
ภูมิอากาศแปรปรวน โลกร้อน ให้เกษตรกรได้ตระหนักถึงความจริง ที่ฝ่ายฯ ต้องเรียนรู้เพื่อพร้อมจะ
เปลย่ี นแปลง

จากการชักชวนแกมบังคับในการใหท้ ดลองทำเปียกสลับแหง้ แกล้งข้าว ฝา่ ยฯ ไดป้ รบั เปล่ยี น โดย
ใชศ้ าสตรพ์ ระราชาคือให้เกษตรกร มคี วามต้องการมาจากขา้ งใน ฝ่ายฯ จงึ ได้นำความรู้ท่มี ีหลากหลายด้าน ท้ัง
การทำนาแบบระบบสปรงิ เกอร์ แบบระบบน้ำหยด โดยการปรับพน้ื ท่ี การทำนาแบบผสมผสาน การเลี้ยงแหน
แดง การเล้ยี งเปด็ ไล่ทุ่ง ลดตน้ ทนุ ในการทำนาแตไ่ ดผ้ ลผลติ เพม่ิ จากการปรบั ปรุงคุณภาพดนิ พฒั นาทดี่ ิน และ
การเข้าฝึกทกั ษะกับโรงเรยี นขา้ วและชาวนา ผลตอบรับจากการตระหนักรแู้ ละอยากเรยี นรูด้ ว้ ยตัวเองมากข้นึ

11

หมวด 1 การนำองค์กร
1.1 ความเขา้ ใจนโยบายในระดับตา่ งๆรวมถึงการแปลงนโยบายสู่ผู้ปฏิบตั ิงาน
⚫ ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาท่ี 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร มวี ิธีการถ่ายทอดหรือแปลง

นโยบายของโครงการชลประทานมุกดาหาร และสำนักงานชลประทานที่ 7 ให้ผู้ปฏบิ ัติงานภายในฝ่ายฯ ได้รับ
ทราบนโยบายผ่านช่องทางการรบั ร้ใู นรูปแบบตา่ งๆ ไดแ้ ก่

- การมอบนโยบายของฝ่ายฯ สั่งการผู้รับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร เน้นให้ผู้รับผิดชอบ
ศึกษาและสรา้ งความเข้าใจดว้ ยตนเอง โดยสอบถามจากผูร้ บั ผิดชอบของโครงการฯ และสำนกั งานชลประทาน
ที่ 7 หรอื เจา้ ของเรื่องโดยตรงจากหน่วยมอบนโยบายน้ันๆ

รปู ท่ี 1-1 หนงั สือแจง้ ผู้รับผดิ ชอบเป็นลายลักษณ์อักษร

12

- การประชุมประจำสปั ดาห/์ ประจำเดือน หรอื การประชุมเพือ่ มอบนโยบายเรง่ ด่วน/
สำคญั เพอ่ื ตดิ ตามผลการดำเนินงาน สรา้ งความร้คู วามเข้าใจและแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างถกู ต้องและรวดเรว็

รูปที่ 1-2 การประชมุ ประจำเดอื น

13

- ฝา่ ยสง่ น้ำและบำรุงรักษาท่ี 2 ไดด้ ำเนินงานขบั เคลอ่ื นตามนโยบายสำคัญของกระ-
ทรวงเกษตรและสหกรณ์ เชน่ ศนู ยเ์ รยี นร้กู ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพสินคา้ เกษตร (ศพก.) เกษตรแปลงใหญ่ เกษตร
ทฤษฎใี หม่ Zoning by Agri-Map เป็นต้น ซ่ึงทางฝ่ายฯไดม้ ีการดำเนินการสนบั สนนุ นและให้ความร่วมมือกับ
เกษตรกรและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อใหก้ ารดำเนนิ งานสามารถสำเรจ็ ลุล่วงตามวตั ถปุ ระสงค์

รูปที่ 1-3 งานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

14

- การนำเสนอนโยบายผ่านส่อื Online ตา่ งๆ เชน่ Website, Facebook, Line

รปู ที่ 1-4 การนำเสนอนโยบายผา่ นส่อื Online ต่างๆ เชน่ Website, Facebook, Line

1.2 การจัดทำและจัดเก็บขอ้ มูลตาม sheet ขอ้ มลู
⚫ ฝ่ายส่งนำ้ และบำรงุ รักษาที่ 2 ได้มีการรวบรวมและจดั ทำขอ้ มูลเพื่อใช้ในการดำเนินงาน

และบริหารจัดการน้ำของฝ่ายฯ ในรูปแบบของ Digital file และมีการสำเนาเก็บเพื่อสำรองข้อมูล (Hard
copy) ไวเ้ ปน็ ข้อมูลอีกทาง โดยมรี ปู แบบของการจดั เกบ็ ประกอบดว้ ย

- Excel file ซึ่งเป็นฐานข้อมูลด้านแหล่งน้ำที่พัฒนาแล้วจากอดีตถึงปัจจุบัน (Existing) ,
ข้อมูลแผนพัฒนาแหล่งน้ำในอนาคต (Planning) รวมถึงข้อมูลสถานการณ์น้ำรายวัน, รายสัปดาห์, รายเดือน
รายปี ของอา่ งเก็บน้ำขนาดใหญ่ อา่ งเก็บน้ำขนาดกลาง ฝายยางงานกปร. และปชด. ในเขตพ้นื ที่ทรี่ ับผดิ ชอบ มี
การ Update ข้อมูลตามประเภทของขอ้ มลู

15

-
รปู ท่ี 1-5 ฐานขอ้ มูลด้านแผนงานพฒั นาแหล่งน้ำงานซอ่ มแซม ปรบั ปรุง

16

ข้อมลู สารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) ซึ่งเปน็ ฐานข้อมูลทีม่ กี ารเกบ็ รวบรวมโดยมี ชั้นข้อมูล
ตา่ งๆ ครอบคลุมตามทก่ี รมชลประทานกำหนด

รูปที่ 1-6 แผนทแี่ สดงแหล่งนำ้ อำเภอหว้านใหญ่

รปู ที่ 1-7 แผนที่แสดงแหลง่ นำ้ อำเภอดงหลวง

17

18

1.3 วธิ กี าร/กระบวนการจดั ทำแผนงานโครงการ
⚫ ฝา่ ยสง่ นำ้ และบำรุงรกั ษาที่ 2 ได้จัดทำแผนงานกระบวนการ โดยมขี ้อควรพิจารณา ดงั นี้
ก. การจัดทำแผน 5 ปี
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 วางแผนในการจัดทำแผน 5 ปี ให้สอดรับกับประเด็น

ยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน ในด้านการบริหารจัดการน้ำ และการป้องกันภัยอันเกิดจากน้ำพร้อมทั้งต้อง
สอดรบั กบั ความต้องการของผรู้ บั บรกิ าร และผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียของโครงการและนำขอ้ มลู มาจดั การแผนงานใน
ด้านตา่ งๆต่อไป

ฝ่ายส่งน้ำฯ ร่วมกับ กลุ่มพิจารณาโครงการสำนักงานชลประทานที่ 7 ได้ร่วมจัดทำ

แผนพัฒนาลุ่มน้ำ ห้วยชะโนดและลุ่มน้ำห้วยบางทราย โดยจัดทำเป็นเล่มพิจารณาโครงการทั้งลุ่มน้ำ สำรวจ

ความต้องการและศกั ยภาพลุ่มน้ำตามความจำเปน็ ความต้องการใชน้ ำ้ ของแต่ละพน้ื ท่ีเพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการ

พัฒนาลุม่ น้ำ รายละเอียดบางส่วนอยูใ่ นภาคผนวกด้านทา้ ยเลม่ ซึ่งสรปุ รายละเอยี ดสำคัญดังตัวอย่างตารางที่

1-1 – 1-6

ตารางท่ี 1-1 ตารางแสดงโครงการพฒั นาแหลง่ นำ้ ท่ีมีอยู่ในปัจจบุ นั ในลุ่มนำ้ ห้วยชะโนด

ลำดับ ประเภทโครงการ อำเภอ จังหวดั จำนวน ความจุ พน้ื ท่ีชลประทาน หมายเหตุ
โครงการ (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่)

1 โครงการชลประทาน ดงหลวง มกุ ดาหาร 1 18.400 8,443 กอ่ สรา้ งปี 2522-2527
ขนาดกลาง

โครงการชลประทาน เมอื ง มุกดาหาร 2 0.414 802
ขนาดเลก็ 3 0.484 1,030
2 หว้านใหญ่ มุกดาหาร 0.402
1 80
ดงหลวง มกุ ดาหาร 1 19.700 550
4 1,955
3 โครงการสูบน้ำด้วย เมือง มุกดาหาร 6 2,319
ไฟฟ้า หว้านใหญ่ มุกดาหาร 7 1,313
22 7,146
เมือง มกุ ดาหาร 2 401
7 743
4 ฝาย หว้านใหญ่ มกุ ดาหาร 1 0

ดงหลวง มุกดาหาร 13 1,925

5 งานทอ่ ลอดต่าง ๆ หว้านใหญ่ มกุ ดาหาร 70 26,707.00
ดงหลวง มุกดาหาร

หว้านใหญ่ มุกดาหาร
6 Box Culvert ดงหลวง มกุ ดาหาร

รวม

19

ตารางที่ 1-2 แสดงความตอ้ งการใช้น้ำเพือ่ การอุปโภคบริโภคของลมุ่ นำ้ หว้ ยชะโนด
ในปจั จุบนั และอนาคตของอำเภอในเขตลมุ่ น้ำหว้ ยชะโนด

อำเภอ จำนวนประชากร จำนวน จำนวนคน การใช้นำ้ เพอ่ื การอุปโภค
ดงหลวง ปี 2557 ประชากร บรโิ ภค (ลา้ น ลบ.ม./ป)ี
41,031 41,837
หว้านใหญ่ ปีที่ n 42,659 3.76
19,043 5 44352 3.84
เมอื ง 10 46,111 4.00
139,390 20 19,418 4.15
30 19,799 1.75
5 20,584 1.78
10 21,401 1.85
20 142,128 1.93
30 144,920 12.80
150,700 13.04
5 156,645 13.56
14.10
10

20

30

20

ตารางที่ 1-3 แสดงพ้ืนท่ชี ลประทานและพื้นท่รี บั ประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขาย่อย (ก่อนดำเนนิ การ)

ลำดบั ลุ่มน้ำสาขา พ้ืนทชี่ ลประทาน พน้ื ทร่ี ับประโยชน์
(ไร่) (ไร่)
1 หว้ ยชะโนดตอนบน - 1,202
2 ห้วยระฮัง - 695
3 ห้วยนาโสก - 1,050
4 ห้วยไม่มีชื่อ (1) - 450
5 ห้วยทราย - 2,965
6 ห้วยขี้หมู - 595
7 ห้วยเขางู - 1,835
8 ห้วยไม่มีชื่อ (2) - 1,580
9 ห้วยไมม่ ีช่อื (3) - 1,110
10 ห้วยประสงค์ - 805
11 หว้ ยไม่มชี อ่ื (4) - -
12 หว้ ยหลอกกอก - 1,930
13 หว้ ยมะนาว - 550
14 หว้ ยหมากยาง - 2,010
15 ห้วยไม่มชี ื่อ (5) - 1,065
16 ห้วยอ่างหนองเมก็ - 720
17 ห้วยศาลา - 3,500
18 หว้ ยคำใหญ่ - 1,755
19 ห้วยหินลับ - 335
20 หว้ ยนาดี - 1,245
21 ห้วยแทด - 3,430
22 ห้วยชะโนด 2,185 14,710
23 อา่ งเกบ็ นำ้ ห้วยชะโนด 8,443 -
10,628 43,537
รวมท้งั สนิ้

รปู ที่ 1-8 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ หว้ ยชะโนด (กอ่ นดำเนนิ การ)

21

รปู ที่ 5-22 แสดงแผนผงั การวิเคราะหส์ ถานการณ์ปจั จุบันของลำน้ำยอ่ ยลำหว้ ยชะโนด
รปู ที่ 5-22 แสดงแผนผังการวิเคราะหส์ ถานการณ์ปัจจบุ นั ของลำนำ้ ยอ่ ยลำห้วยชะโนด

รปู ท่ี 1-9 แสดงแผนผังการวเิ คราะห์สถานการณป์ จั จบุ นั ของลำนำ้ ย่อยลำหว้ ยชะโนด

22

23

รูปที่ 1-10 แผนผงั ระบบระบายน้ำลุ่มน้ำหว้ ยชะโนด (ทขี่ าดน้ำ) พรนิ้ A3ในไฟลถ์ งึ จะชดั เจน
23

24

ตารางที่ 1-4 แสดงพ้นื ท่ีชลประทานและพ้ืนทร่ี บั ประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขายอ่ ย (หลังดำเนนิ การ)

ลำดบั ล่มุ นำ้ สาขา พน้ื ที่ชลประทาน พืน้ ท่รี ับประโยชน์
(ไร)่ (ไร่)
1 หว้ ยชะโนดตอนบน - 175.60
2 ห้วยระฮัง - 42.00
3 ห้วยนาโสก - 58.00
4 หว้ ยไมม่ ีช่ือ (1) 62.00 73.00
5 ห้วยทราย 105.00 193.00
6 ห้วยขหี้ มู - 70.00
7 หว้ ยเขางู - 155.00
8 หว้ ยไมม่ ีชอ่ื (2) - 470.00
9 หว้ ยไมม่ ีช่ือ (3) 240.00 -
10 ห้วยประสงค์ 103.00 -
11 หว้ ยไมม่ ชี ื่อ (4) - -
12 หว้ ยหลอกกอก 590.00 290.00
13 หว้ ยมะนาว - -
14 หว้ ยหมากยาง 140.00 60.00
15 ห้วยไม่มชี ื่อ (5) 480.00 -
16 หว้ ยอา่ งหนองเมก็ 240.00 -
17 หว้ ยศาลา 230.00 477.00
18 ห้วยคำใหญ่ 650.00 140.00
19 ห้วยหนิ ลบั 110.00 110.00
20 หว้ ยนาดี 80.00 80.00
21 ห้วยแทด 460.00 900.00
22 ห้วยชะโนด 960.00 700.00

รวมทั้งสิน้ 4,470.00 3,997.60

รปู ที่ 1-11 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ หว้ ยชะโนด (หลงั ดำเนินการ)

25

26

ตารางท่ี 1-5 แสดงความตอ้ งการใชน้ ้ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคของล่มุ น้ำหว้ ยบางทราย ในปัจจุบนั และ

อนาคตของอำเภอในเขตลมุ่ นำ้ หว้ ยบางทราย

อำเภอ จำนวนประชากร จำนวนประชากร จำนวนคน การใช้นำ้ เพอื่ การอุปโภคบรโิ ภค

ปี 2557 ปีท่ี n (ล้าน ลบ.ม./ป)ี

ดงหลวง 41,031 5 41,837 3.76

10 42,659 3.84

20 44352 4.00

30 46,111 4.15

หว้านใหญ่ 19,043 5 19,418 1.75

10 19,799 1.78

20 20,584 1.85

30 21,401 1.93

เมือง 139,390 5 142,128 12.80

10 144,920 13.04

20 150,700 13.56

30 156,645 14.10

รปู ที่ 1-12 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (กอ่ นดำเนินการ)

27

28

รปู ท่ี 1-13 แผนผงั ระบบระบายนำ้ ลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (ที่ขาดนำ้ )

29

รปู ที่ 1-14 แผนผงั ระบบระบายน้ำลมุ่ นำ้ หว้ ยบางทราย (ที่ขาดน้ำ ตอ่ )

30

รปู ที่ 1-15 แผนผงั ระบบระบายน้ำลมุ่ นำ้ หว้ ยบางทราย (ที่ขาดน้ำ ตอ่ )

31

ตารางที่ 1-6 แสดงพืน้ ที่ชลประทานและพื้นทร่ี ับประโยชน์ในลำนำ้ สาขาย่อย (หลังดำเนินการ)

ลำดบั ลุม่ น้ำสาขา พืน้ ทชี่ ลประทาน พ้นื ทร่ี ับประโยชน์
(ไร่) (ไร่)
1 ลำห้วยไผ่ - 375
2 ลำห้วยทา 300 -
3 ลำหว้ ยกระพุง - 1,118
4 ลำหว้ ยบางทรายน้อย 94 845
5 ลำหว้ ยเบือก - 1,570
6 ลำหว้ ยลดั แตน - -
7 ลำห้วยโป่ง - -
8 ลำห้วยตาเปอะ 730 -
9 ลำห้วยเลา - -
10 ลำห้วยขาหน้า - 715
11 ลำห้วยอีเลดิ - -
12 ลำห้วยผีป่าช้า 106 -
13 ลำหว้ ยหลัก - -
14 ลำห้วยหวายดนิ 80 -
15 ลำห้วยไร่ - 100
16 ลำห้วยแคน - 1,285
17 ลำห้วยหนิ ลบั - 1,578
18 ลำห้วยไร่ 2 - 685
19 ลำหว้ ยปลาเคิง - 450
20 ลำห้วยเขากวาง - 80
21 ลำหว้ ยเสียว 300 -
22 ลำหว้ ยป่ง 75 180

32

ตารางท่ี 1-6 แสดงพน้ื ที่ชลประทานและพืน้ ท่ีรับประโยชนใ์ นลำนำ้ สาขาย่อย (หลังดำเนนิ การ ตอ่ )

ลำดบั ลุ่มน้ำสาขา พนื้ ท่ีชลประทาน พ้ืนท่ีรับประโยชน์
(ไร่) (ไร่)
23 ลำหว้ ยดนิ สอ - 1,310
24 ลำหว้ ยคำใหญ่ 380 150
25 ลำหว้ ยมะไฟ - -
26 ลำหว้ ยสะเอิง 660 830
27 ลำหว้ ยหมากไฟ 300 100
28 ลำห้วยดานสะเอิง 440 180
29 ลำห้วยแก้ง - 585
30 ลำหว้ ยสามขา - 1,720
31 ลำหว้ ยบ้านดอนม่วย 340 749.42
32 ลำห้วยนอ้ ย - 800
3,805 10,398
รวมท้งั สิ้น

รปู ที่ 1-16 แผนที่แสดงอาคารและพื้นท่ชี ลประทานในเขตลุ่มนำ้ ห้วยบางทราย (หลงั ดำเนินการ) 33

34

ตารางท่ี 1-7 แผนปฏิบตั ิการ 5 ปี ตามยุทธศาสตร์ของโครงการในแตล่ ะด้าน

ข. วธิ กี ารในการจัดลำดบั ความสำคัญในการแกไ้ ขปญั หา และการจัดสรรงบประมาณ
ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาที่ 2 มีวธิ ีจดั การความสำคัญของปัญหาในพน้ื ท่ี เพือ่ จัดทำเป็น

แผนรวมของฝา่ ยฯโดยจะพิจารณาถงึ หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาความจำเป็น และตอบโจทยก์ ารแก้ไขปัญหาใน
พื้นที่เพ่อื ผลสัมฤทธ์ติ อ่ ภารกิจของฝ่ายฯใหเ้ ป็นไปตามวสิ ยั ทศั น์ เปา้ ประสงค์ และพันธกิจของโครงการฯ

ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้มีการประชุมวางแผนการจัดลำดับความสำคัญของงาน
ต่างๆ ให้สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ และความต้องการของผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการจัด

35

แผนงานโครงการจัดทำเป็น 3 ระยะ ได้แก่แผนงานระยะสั้น แผนงานระยะกลาง และแผนงานระยะยาว
เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั ประเดน็ ยทุ ธศาสตรข์ องกรมชลประทาน ซงึ่ มีรายละเอียด ดังน้ี

⚫ แผนงานระยะสน้ั ได้แก่ แผนงานทีด่ ำเนินการในปี พ.ศ.2564 โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้
- พ.ศ. 2564 คือ โครงการที่เสนอใหด้ ำเนินการในปี พ.ศ.2564 ได้แก่ โครงการที่มีการ

แก้ไขปัญหาในพื้นที่ความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที โดยมีหลักเกณฑ์ที่สำคัญ คือ มีการออกแบบ
รายละเอยี ดแล้วเสร็จ

⚫ แผนงานระยะกลาง ได้แก่ แผนงานที่เสนอให้ดำเนินการในปี พ.ศ.2565 ถึง พ.ศ.2568
โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

- พ.ศ. 2565 ไดแ้ ก่ โครงการท่มี คี วามพรอ้ มด้านการก่อสร้าง โครงการทีม่ ีการออกแบบ
รายละเอยี ดแล้วเสร็จแต่ยังมีปัจจยั อ่ืน ๆ ทยี่ ังไม่สามารถดำเนนิ โครงการได้ เช่น ปญั หาราษฎรคัดค้านการขอ
ใช้พื้นที่ป่าไม้ และโครงการที่มีผลการศึกษาความเหมาะสมหรือความเหมาะสมเบื้องต้นแล้ว และจะต้อง
ดำเนินการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมตอ่ ไป

- พ.ศ. 2566 ได้แก่ โครงการที่มีความพร้อมด้านการก่อสร้าง เหลือเพียงขั้นตอนที่ต้อง
ดำเนินการออกแบบเพียงอย่างเดียว หรือทบทวนการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดลอ้ มอย่างใดอยา่ งหนึง่ ใช้
เวลาภายใน 2 ปี

- พ.ศ. 2567 ได้แก่ โครงการท่มี ีความพร้อมด้านการก่อสรา้ งทเ่ี หลือต้องดำเนินการศึกษา
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และออกแบบโดยใชเ้ วลาภายใน 3 ปี

- พ.ศ. 2568 ได้แก่ โครงการท่ีมคี วามพรอ้ มด้านการกอ่ สร้างทเี่ หลอื ต้องดำเนินการศึกษา
ผลกระทบดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และออกแบบโดยใชเ้ วลาภายใน 4 ปี

⚫ แผนงานระยะยาว แผนงานที่ดำเนนิ การในปี พ.ศ. 2569 เป็นตน้ ไป ได้แก่ โครงการที่มี
ศักยภาพในการดำเนินการ หรือโครงการทอี่ ยู่ในแผนหลกั ต่างๆ ทีจ่ ะตอ้ งศึกษาเพม่ิ เตมิ ถึงความเป็นไปได้และ
รายละเอยี ดตอ่ ไป

ค. วิธกี ารวิเคราะห์การจัดทำแผนควบคมุ ภายในและแผนบรหิ ารความเสย่ี งตามแนวทางท่ีกรมฯ
กำหนด ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มกี ารจดั ทำแผนบรหิ ารความเส่ียง และแผนควบคุมภายในตามท่ีกรมฯ
กำหนด ปค.4, ปค.5 และนำมาใช้ควบคุมกับการดำเนินงาน เพื่อให้ลดความเสีย่ งที่จะเกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้
สามารถดำเนินงานไดบ้ รรลเุ ป้าหมายตามท่ีต้ังไว้

ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง และนำมาใช้ในการ
บรหิ ารฝ่ายฯ เพ่อื ลดความเสี่ยงที่จะเกิดข้นึ ประจำปีอยแู่ ล้วโดยการจดั ทำรายการควบคมุ ภายในโดยรวบรวม
ข้อมูลมาเป็นภาพรวมของโครงการฯ และติดตามความก้าวหน้าทุกเดือน ซึ่งจะส่งผลให้แผนงานของฝ่ายฯ
สามารถดำเนนิ งานได้บรรลุเปา้ หมาย

36

ตารางที่ 1-8 แผนการควบคุมภายในและแผนบริหารความเส่ยี งตามแนวทางทกี่ รมฯกำหนด

แผนการควบคุมภายในและแผน

บริหารความเสีย่ งตามแนวทางท่กี รมฯ ด้านการบริหารจัดการนำ้

กำหนด

วธิ ีการ ศึกษา วางแผน ติดตาม ตรวจสอบ กำกับดูแล การบริหารจัดการน้ำใน

ระดับลุ่มน้ำ ระดับโครงการฯ ตลอดปี พร้อมเสนอแนะแนวทางแก้ไข

พัฒนาปรับปรุงเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำของแหล่งเก็บกักน้ำพร้อม

บรหิ ารจัดการนำ้ ท่ีทั่วถึง

วัตถุประสงค์ - เพื่อควบคุมการส่งน้ำ/ระบายน้ำในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ได้อย่างทั่วถึง

เป็นธรรม และไดป้ ระโยชน์สงู สุด

- เพื่อควบคุมการเก็บกักน้ำ/ระบายน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งด้าน

ปริมาณและตามระยะเวลาที่ต้องการ ให้มีประสทิ ธิภาพ

- ใช้เทคโนโลยที ่ที นั สมัยมาใช้ในการบรหิ ารจดั การน้ำ (ระบบโทรมาตร)

จุดอ่อนของการควบคุมหรือความเสีย่ งที่ - จากความแปรปรวนของสภาวะอากาศที่ทำให้เกิดภัยธรรมชาติส่ง

ยงั มอี ยู่ ผลกระทบตอ่ การบรหิ ารจดั การน้ำ

- ข้อจำกัดของระบบชลประทานทีไ่ ม่เหมาะสมในการระบายนำ้ หลาก

- ประชาชนต่อต้าน ไมใ่ ห้มีการระบายนำ้ ในพน้ื ที่แกม้ ลิง

- ไม่มีอำนาจในการตัดสินใจขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐและไม่ได้รับความ

รว่ มมือทกุ ภาคส่วน ทำให้ไมส่ ามารถบริหารจัดการน้ำได้ตามแผนที่วาง

ไว้

การปรบั ปรุง - ปรับเกณฑ์การบริหารจัดการน้ำในแต่ละพื้นทีใ่ ห้สอดคล้องกับสภาพที่

เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการในกรณี

ต่างๆเพ่อื ลดผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากภาวะขาดแคลนน้ำและอทุ กภยั

- ติดตามควบคุมการใช้น้ำให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แจ้งเตือน

หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งรวมท้งั เกษตรกร ใหไ้ ดร้ ับทราบขอ้ มูลทช่ี ัดเจน

กำหนดผู้รบั ผิดชอบ ผคป., จน.คป., สบ.คป.

สรปุ ผลการประเมิน/ข้อคิดเหน็ - ปรับแผนการส่งน้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดกลางในเขตโครงการฯให้

สอดคล้องกับปรมิ าณนำ้ ตน้ ทุนและพนื้ ท่ีเพาะปลูก

-ติดตามและควบคุมการรับน้ำในเขตลุ่มน้ำโขงตามมาตรการที่กำหนด

และประชาสมั พนั ธใ์ หเ้ กษตรกรไดร้ ับทราบ ข้อมูลนำ้ ตน้ ทุน รวมทั้งการ

รณรงคง์ ดทำนาปรงั

วิธีการ ศกึ ษา วางแผน ติดตาม ตรวจสอบ กำกบั ดแู ล การพฒั นาแหล่งน้ำรวมกับ

ประชาชนผู้รบั บรกิ ารและผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย

วัตถปุ ระสงค์ เพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามความ

ต้องการของผู้รบั บรกิ ารและผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสีย

37

ตารางที่ 1-8 แผนการควบคุมภายในและแผนบริหารความเสย่ี งตามแนวทางท่กี รมฯกำหนด(ตอ่ )

แผนการควบคมุ ภายในและแผนบรหิ าร

ความเสีย่ งตามแนวทางทก่ี รมฯกำหนด ด้านการบริหารจัดการน้ำ

จดุ ออ่ นของการควบคมุ หรือความเสี่ยงที่ - การขออนุญาตใชพ้ นื้ ท่อี ุทยาน/เขตรักษาพันธส์ ัตว์ป่าเพื่อทำ

ยังมอี ยู่ การ ก่อสรา้ ง

- ราษฎรไมใ่ หค้ วามยินยอมในเรือ่ งที่ดินในบรเิ วณก่อสรา้ ง

- ประชาชนไม่ไดร้ ับขอ้ มลู ข่าวสารท่ีเพียงพอ

การปรับปรงุ - จัดทำแผนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมและประสานงาน

เบื้องต้นกับทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อทำประชาพจิ ารณ์ เสนอ

แนวคิด วธิ ีการแกไ้ ขปญั หาและหาข้อยุติ

- ทำการประชาสมั พันธเ์ ชิงรุก เพ่ือช้แี จงประโยชน์ ผลกระทบ

และการแกไ้ ขผลกระทบอย่างต่อเน่ือง

- ดำเนินการจดั ต้งั คณะกรรมการเพอ่ื ติดตามและประเมนิ ผล

กำหนดผู้รับผิดชอบ ผคป., จน.คป., สบ.คป.

สรุปผลการประเมนิ /ขอ้ คิดเห็น - โครงการฯไม่ได้รบั งบประมาณในส่วนนี้ แต่มีการดำเนินการ

เชิงรุกในขั้นตอนการศึกษาความเหมาะสม มีการจัดเวทีรับ

ฟังความคิดเห็นโครงการพัฒนาแหล่งนำ้ ทั้งงานในแผนและ

นอกแผน

ง. วธิ กี ารติดตามคาดการณ์ และทบทวน ผลการดำเนินการของแผนปฏบิ ัติการ 5 ปี
ฝ่ายฯ มีระบบการติดตามคาดการณ์และทบทวนผลการดำเนนิ การของแผนปฏบิ ัติการโดย

พจิ ารณาจากผลลพั ธก์ ารได้รับจัดสรรงบประมาณในแต่ละปี ผลประโยชน์ทเี่ กิดจากการดำเนนิ โครงการทั้งเชิง
ปริมาณและคุณภาพ ประชุม และนำข้อมูลดังกล่าว มาใช้ในการปรับปรุงแผนงานที่ไม่ได้จัดทำแผน MTEF
ใหม่ รวมถึงการปฏิบัตงิ านทไี่ ม่เปน็ ไปตามเป้าหมาย ทง้ั นมี้ ุง่ เนน้ ใหผ้ ลการดำเนนิ งานเป็นไปตามเปา้ หมายของ
โครงการ และสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรแ์ ละวิสัยทัศน์ของกรมฯเป็นหลกั

1.4 วธิ กี ารจดั วางอัตรากำลังบุคลากรอย่างเหมาะสม
ฝ่ายสง่ น้ำและบำรุงรกั ษาที่ 2 ไดม้ กี ารจดั วางอัตรากำลังให้สอดคลอ้ งกบั ระบบงาน เพอ่ื ให้

งานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยพิจารณาทั้งประเภท และสัดส่วนการใช้กำลังคนในแต่ละประเภท
ภารกิจ การบรหิ ารกำลงั คนให้สอดคล้องกบั ความจำเปน็ ตามพันธกจิ

⚫ ใช้บุคลากรทม่ี ีอยใู่ หเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด
⚫ ใหค้ วามสำคญั ตอ่ การบริหารและพฒั นาบคุ ลากรเชงิ ปรมิ าณ (จำนวนบุคลากร) และเชิง
คณุ ภาพ (ขดี สมรรถนะและศักยภาพ)
⚫ การจัดบคุ ลากรใหม้ ีความสอดคล้องกบั ความจำเป็น ในการปฏบิ ตั ิภารกจิ ในปัจจุบัน
และอนาคตแนวทางในการจดั วางอัตรากำลังบคุ ลากรฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาท่ี 2

38

- ภารกจิ หลกั (Core Function)
เป็นงานตามกฎหมาย นโยบาย งานหลักตามภารกิจ และพันธกิจของหน่วยงานท่ี
จำเปน็ ตอ้ งดำเนินการเพื่อให้สัมฤทธิผ์ ลตามเป้าหมายทกี่ ำหนด
- ภารกจิ รอง (Non-core Function)
เป็นงานสนับสนุนให้การดำเนินการ ตามภารกิจหลักสัมฤทธิ์ผลตามเปา้ หมายทก่ี ำหนด
- ภารกจิ สนับสนนุ (Supporting Function)
เปน็ งานด้านอำนวยการ งานธรุ การ งานดา้ นบริการ เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ งานตามภารกจิ หลัก
และภารกิจรอง สมั ฤทธผ์ิ ลตามเปา้ หมายทก่ี ำหนด

รปู ท่ี 1-17 การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในหน้าทีท่ ีร่ ับผดิ ของแตล่ ะบคุ คล

39

1.5 การจำแนกกลมุ่ ผู้รับบริการ ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียมีและการกำหนดชอ่ งทางในการรบั รู้

และวางแนวทางในการตอบสนองความตอ้ งการของผู้รับบริการ และผ้มู ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี

⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มีการกำหนดและจัดลำดับความสำคัญในการจำแนก

ปัญหาของกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและจำแนก เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบรกิ าร

และผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย โดยจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มที่รับบริการในเขตชลประทานและกลมุ่

ผูร้ บั บรกิ ารนอกเขตชลประทาน โดยจำแนกตามวัตถปุ ระสงค์การใชน้ ้ำ

- กลมุ่ ผู้ใชน้ ้ำภาคเกษตรกรรม

- กลุ่มผ้ใู ช้น้ำภาคการอุปโภคบริโภค

สำหรับผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียที่ได้รบั ผลกระทบในทางลบ สามารถจำแนกออกเปน็ 1 กลุม่ คอื

- กล่มุ ผ้รู บั ผลกระทบจากภยั ทางนา้

ตารางท่ี 1-9 ตารางการจำแนกกลุม่ ผูร้ ับบรกิ าร ผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี

วธิ ีการกำหนด/จำแนกกลุ่ม ผลการจำแนกกลุ่ม วธิ ีการพิจารณา ผู้รบั บรกิ ารที่คาดวา่
ผู้รับบรกิ ารในอนาคต จะเพมิ่ ขึน้ ในอนาคต

1. กลมุ่ ผรู้ บั บริการ 1. กลุ่มผู้ต้องการน้ำ - นโยบายรัฐบาล กลุ่มผู้รับบริการท่ี

- จำแนกกลุ่มผู้รับบริการ นอกชลประทาน - สภาพแวดลอ้ มทาง คาดว่าเพิ่มขึ้นใน

ตามที่กำหนดไว้ตามประเด็น 2. กลุ่มผู้ใช้น้ำในเขต สังคม อนาคต คือ ภาค

ยุทธศาสตรแ์ ละพนั ธกิจ ชลประทานภาคเกษตร - ก ฎ ห ม า ย ที่ อุตสาหกรรม,ภาค

อุปโภค-บริโภค และ เกี่ยวข้องต่อภารกิจ รัฐวิสาหกิจ (ผลิต

อตุ สากรรม อำนาจหน้าที่ของ นำ้ ประปา)

3. กลุ่มผู้ประสบภัย กรมชลประทาน

จากน้ำในเขต

ชลประทาน

2. กลุ่มผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี กลุ่มมีส่วนได้ส่วนเสีย

- จำแนกกลุ่มผู้รับบริการ จำแนกได้ดังนี้

ตามที่กำหนดไว้ตามประเด็น 1.บุคคลผู้ถูกเวนคืน

ยทุ ธศาสตร์และพนั ธกจิ หรือขอใช้ที่ดินเพือ่ การ

ชลประทาน

40

หมวดที่ 2
การสร้างความสมั พนั ธ์

41

หมวดท่ี 2 การสรา้ งความสัมพนั ธ์
ฝ่ายส่งนำ้ และบำรุงรักษาที่ 2 ได้น้อมนำศาสตร์พระราชาเรื่องความ“เขา้ ถึง” มาปรบั ใช้ดังนี้
การพัฒนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือกลุ่มผู้รับบริการ โดยฝ่ายฯ ได้เข้าไปสร้าง

กระบวนการท่ีกลมุ่ ฯดังกล่าว ใหร้ ู้สกึ อยากทจ่ี ะพฒั นาตนเองก่อน ไมไ่ ดเ้ กิดจากการบังคบั ของเจา้ หนา้ ท่ี ซึ่งจะ
ไม่เกิดความยั่งยืนซึ่งควรมุ่งเน้นที่การพัฒนาคน ให้กลุ่มฯ เกิดการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อน แล้วจึงเข้าไป
พัฒนาเปล่ียนแปลง ซึ่งเป็นการเขา้ ถึงกอ่ นพฒั นาไม่ใช่นำการพฒั นาเขา้ ไปโดยท่กี ลมุ่ ฯ ยงั ไม่ตระหนกั หรือเห็น
ความสำคัญของการฝ่ายส่งน้ำฯ มีการบริหารจัดการน้ำโดยมุ่งเน้นส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน ตาม
RID.1 ข้อที่ 5 ของกรมชลประทาน โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนทั้งใน และนอกเขต
ชลประทาน โดยเฉพาะในเขตชลประทานไดม้ ีการส่งเสรมิ และพัฒนากลุ่มผู้ใช้น้ำ ให้มีความเข้มแข็งสามารถ
บริหารจัดการน้ำชลประทานของกลุ่มฯไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยในชว่ งหลายปีท่ีผา่ นมาไดม้ กี ารสร้างความ
เขม้ แข็งกลมุ่ พัฒนา

1. ระเบดิ จากข้างใน (Inside-out Blasting)
⚫ ฝา่ ยส่งน้ำและบำรงุ รักษาที่ 2 ได้มีการดำเนินการส่งเสริมให้กบั กลุ่มผู้รับบริการและผู้มี

สว่ นได้ส่วนเสีย ในการสร้างความเขา้ ใจกบั กลุ่มผู้ใชน้ ำ้ ในพน้ื ท่ี โดยการจัดประชมุ ประจำปีของกลุ่มบริหารฯ ปี
ละ 2 คร้งั เพ่ือจะเกิดความเขา้ ใจ และมีการประชาสัมพนั ธอ์ ย่างต่อเน่ืองและทั่วถึง มีวิธีการดงั นี้

- การรับฟังความคิดเห็น กลุ่มบริหารฯ คณะกรรมการ อาสาสมัครชลประทาน ได้มีส่วน
เสนอขอ้ มลู ตา่ งๆ

- ให้เกษตรกร สมาชิกกลุ่มฯ ได้เสนออุปสรรคและปัญหาต่างๆ เพื่อนำไปเสนอต่อ
คณะกรรมการกลุ่มฯ เพื่อเป็นแนวทางตดั สนิ ใจ และนำไปพจิ ารณาปฏิบัตติ อ่ ไป

- ยึดจากการประชาสมั พันธข์ องกรมชลประทาน เพอ่ื เปน็ แนวทางดำเนินการ

รปู ท่ี 2-1 การประชุมรว่ มกับกลุม่ ผู้ใชน้ ้ำและเกษตรกร

42

2. เข้าใจกลุม่ เปา้ หมาย (Undrstand Target)
⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้ให้ความสำคัญในการดำเนินการพัฒนาและบริหาร

จัดการน้ำและทำความเข้าใจ สภาพปัญหา/ข้อจำกัด ของสภาพพื้นที่โครงการฯ ได้จัดลำดับความสำคัญของ
ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและบริหารจัดการน้ำ ตามความจำเป็นเร่งด่วน
สอดคล้อง กับความตอ้ งการของพื้นท่ี สามารถแกป้ ญั หาลดความทุกขย์ ากของประชาชนได้

รปู ที่ 2-2 การประชุมการบรหิ ารจัดการนำ้
3. พัฒนาศักยภาพเพื่อสรา้ งปญั ญา (Educate)

⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้มีการดำเนินการพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างปัญญาให้
เกิดความเขม้ แขง็ และการบรหิ ารจัดการน้ำอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มีการดำเนินการ ดังนี้

⚫ การสรา้ งความเข้าใจกับกลมุ่ ผ้ใู ช้น้ำชลประทาน
⚫ การเสริมสร้างความเขม้ แข็งของผู้ใช้น้ำชลประทาน คณะกรรมการจัดการชลประทาน
(JMC) และอาสาสมัครชลประทาน

รูปท่ี 2-3 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ใชน้ ำ้
ชลประทาน


Click to View FlipBook Version