The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร (อันดับที่ 4 ประจำปี 2565)

ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Keywords: ฝ่ายส่งน่ำและบำรุงรักษาที่ 2,โครงการชลประทานมุกดาหาร,การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

43

หมวด 2 การสรา้ งความสมั พนั ธ์
2.1 วิธีการ/กระบวนการในการใหบ้ ริการกับกลุ่มผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี
⚫ ฝา่ ยสง่ น้ำฯ ได้ทำงานรว่ มกบั หน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง โดยเฉพาะหน่วยงานหลกั ๆ ท่ีสำคัญ

ท่ีดูแลกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย มีความต้องการมคี วามคาดหวังจากการดำเนนิ งานของโครงการฯ
โดยมวี ิธีการตามตาราง ดังน้ี

ตารางที่ 2-1 วิธกี าร/กระบวนการในการใหบ้ ริการกบั กล่มุ ผู้รบั บริการ และผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย

สว่ นราชการ/องค์กรทเ่ี ก่ียวข้อง บทบาทหนา้ ท่ใี นการ ข้อกำหนดทีส่ ำคัญ แนวทางและวธิ ีการส่ือสาร
ปฏบิ ัตริ ว่ มกัน ในการปฏบิ ัติงาน ระหว่างกนั

สนับสนนุ ข้อมลู และวิชาการ สนับสนุนด้านวิชาการ การประสานงาน สื่อสารผ่านหนังสือราชการ

ส่วนราชการสังกดั กระทรวงเกษตรฯ ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น Wesite line โทรศัพท์หรื อ

อบรม/สัมมนา/ประชมุ สอื่ สารออกหน่วยเคลื่อนที่

และมวลชนสัมพันธ์

สนับสนนุ ข้อมูลพยากรณ์อากาศ สนับสนุนข้อมูลด้าน การประสานงานและ สื่อสารผา่ นหนงั สือราชการ

ส่วนร าช การ สัง กัดกร ะทร วง ตดิ ตามสภาพอากาศ ระบบเทคโนโลยี Wesite line โทรศัพ ท์หรื อ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สือ่ สาร
(สถานอี ุตนุ ยิ มวิทยาจังหวดั มุกดาหาร)

สนบั สนนุ ข้อมูลด้านพืน้ ที่และแหลง่ น้ำ สนับสนุนข้อมูลพื้นที่ การประสานงานและ สอ่ื สารผ่านหนังสอื ราชการ

อบจ.มุกดาหาร การเกษตรก่อสร้าง ลงพน้ื ที่ Wesite line โทรศัพท์หรื อ

สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและ และแหล่งนำ้ สอ่ื สาร
สงิ่ แวดล้อมจังหวัดมุกดาหาร

ส ่ ว น ร า ช ก า ร ส ั ง กั ด

กระทรวงมหาดไทย (จังหวัดมุกดาหาร

เทศบาล นายอำเภอ กำนัน ผ้ใู หญบ่ ้าน

สนับสนนุ ข้อมูลดา้ นงบประมาณ เบกิ -จา่ ยงบประมาณ การประสานงานลง สอ่ื สารผา่ นหนังสอื ราชการ

สนง.คลงั จงั หวดั มกุ ดาหาร พื้นที่ Wesite line โทรศัพท์หรื อ

สื่อสาร

สนับสนนุ น้ำดบิ เพ่อื การประปา สนับสนุนน้ำดิบเพ่ือ การประสานงานและ สอ่ื สารผ่านหนงั สอื ราชการ

สนง.ประปาจงั หวดั มุกดาหาร การประปา ลงพ้นื ท่ี Wesite line โทรศัพท์หรื อ

ส่ือสาร

องคก์ รท่คี วบคุมบังคับใชก้ ฎหมาย ตรวจสอบกำกับให้ ระเบียบราชการและ ส่ือสารผา่ นหนังสือราชการ

สถานีตำรวจภูธรจงั หวัดมกุ ดาหาร เป็นไปตามระเบียบขอ้ กฎหมายท่ีกำหนดไว้ Wesite line โทรศัพ ท์หรื อ

สนง.ป่าไมจ้ ังหวดั มกุ ดาหาร กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง สื่อสาร
สนง.ธนารกั ษจ์ งั หวัดมกุ ดาหาร

44

ตารางที่ 2-2 ตารางกลุ่มผูร้ บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี หลักของโครงการชลประทาน

กลมุ่ ผรู้ ับบรกิ าร/ผู้มสี ว่ น บรกิ ารท่ใี ห้ ความตอ้ งการ/ความ แนวทางและวธิ ีการ
ไดส้ ว่ นเสีย
- การส่งน้ำใหพ้ นื้ ที่ คาดหวงั สอื่ สารระหว่างกนั
1. เกษตรกรผู้ใชน้ ้ำ การเกษตร
ชลประทาน - ส่งเสรมิ ให้ความรู้ - พน้ื ท่ีการเกษตรได้รบั สือ่ สารโดยตรง
เกี่ยวขอ้ งกับการเกษตร
และการชลประทาน น้ำเพยี งพอ ทันตามเวลา สื่อสารทางออ้ มผา่ นสือ่

ที่ต้องการ ประชาสัมพันธ์

- ไดร้ บั การจัดสรรน้ำ อบรม/สมั มนา

อย่างเพยี งพอ ทั่วถงึ และ ออกหนว่ ยเคลือ่ นทีแ่ ละ

เป็นธรรม รว่ มพบปะตามประเพณี

- นำความรไู้ ปพฒั นาการ วันสำคญั

เกษตร เพ่อื การเพม่ิ

ผลผลติ /ลดตน้ ทุนการ

ผลิต

2. หน่วยงานภาครัฐและ - ให้ขอ้ มลู /คำแนะนำ/ - นำความรู้ไปสรา้ ง สอ่ื สารโดยตรง
เอกชน ความรู้ดา้ นการ
ชลประทาน การเกษตร ประโยชน์/คณุ คา่ /มูลคา่ สอ่ื สารทางอ้อมผา่ นสอ่ื
3. บคุ คลทวั่ ไป/ชมุ ชน การพัฒนาแหล่งน้ำ
และสังคม - สนบั สนนุ เครื่องสบู น้ำ ตอ่ ประชาชน ประชาสมั พันธ์
เคลือ่ นทเ่ี พ่ือปอ้ งกนั หรอื
แกป้ ัญหาเรื่องนำ้ - ปัญหาเรอื่ งนำ้ ประชมุ /อบรม
- การพัฒนาแหลง่ นำ้
- ใหข้ ้อมูล/คำแนะนำ/ บรรเทา/หมดไป สมั มนา,โทรศพั ท์
ความรู้ด้านการ
ชลประทาน การเกษตร โทรสาร หนังสือราชการ
การพัฒนาแหลง่ น้ำ
- สนับสนนุ เคร่ืองสบู นำ้ การใชร้ ะบบอนิ เตอร์เนต็
เคลอ่ื นที่ เพื่อแกป้ ญั หา
เร่ืองนำ้ - นำความรไู้ ปสรา้ ง สื่อสารโดยตรง
- การพฒั นาแหล่งนำ้ ประโยชน/์ คุณค่า/มลู คา่ สอ่ื สารทางออ้ มผา่ นสื่อ
- ปญั หาเรอ่ื งน้ำ ประชาสมั พันธ์
บรรเทา/หมดไป อบรม/สัมมนา

45

ตารางท่ี 2-3 ตารางแสดงการจำแนกกล่มุ ผรู้ บั บรกิ ารและผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี

กลมุ่ ผรู้ บั บริการ/ผมู้ สี ว่ น บรกิ ารทใี่ ห้ ความต้องการ/ความ แนวทางและวิธกี าร
ได้ส่วนเสยี
- ส่งนำ้ และระบายนำ้ คาดหวัง ส่ือสารระหว่างกนั
1. เกษตรกรรมในเขต เพอื่ การเพาะปลูก
ชลประทาน - ระบายน้ำเพ่อื บรรเทา - ได้รับนำ้ ทม่ี ีคณุ ภาพดี - จดั ตัง้ กลุ่มผใู้ ช้น้ำ
อทุ กภัย
ในปรมิ าณทเ่ี พยี งพอ และ ชลประทาน

ตามเวลาทีต่ ้องการ - การจดั ประชุมชแ้ี จง

การฝึกอบรมดูงานและ

เวทปี ระชาคม

- ออกพบปะเกษตกร

- วิทยุท้องถิ่น

- โทรศัพท์/โทรสาร

- Call Center 1460

- เอกสาร

- ตดิ ต่อดว้ ยตนเอง

2. กลุ่มผใู้ ชน้ ำ้ ภาค - เครอ่ื งสบู น้ำเคลอื่ นที่ - ได้รับความช่วยเหลอื - เอกสาร
เกษตรกรรมนอกเขต ตามคำรอ้ งขอ
ชลประทาน - ก่อสร้างแหลง่ นำ้ เครอ่ื งสบู น้ำ อยา่ งรวดเร็ว - การประชุม
- ก่อสร้างระบบ
3. กลุ่มผใู้ ชน้ ำ้ ชลประทาน และเพียงพอ - โทรศพั ท/์ โทรสาร
ภาคอุตสาหกรรม
- - มแี หล่งเก็บน้ำ เช่น - เวบ็ บอร์ด

เขอ่ื น ฝาย และอ่นื ๆ - Call Center 1460

- น้ำเพียงพอสำหรบั - ตู้รบั ฟงั ความคดิ เห็น

เกษตร

- ตอ้ งการระบบ

ชลประทาน

--

46

⚫ ฝ่ายสง่ นำ้ ฯ มีการรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้รับบริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี เพื่อให้เกิด
การสื่อสาร 2 ทาง ระหว่างโครงการฯ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ตามวิธีการที่กองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน กำหนด กี่ช่องทาง มีการใช้ช่องทางใดมากที่สุด และเมื่อได้รับข้อเสนอแนะข้อร้องเรียนแล้วได้
ดำเนนิ การตามแนวทางการจัดการ ข้อรอ้ งเรยี นที่กองสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน กำหนด เพอื่ สร้าง
ความเขา้ ใจและลดข้อขดั แยง้ ในการดำเนินงาน

รูปท่ี 2-4 การสง่ เสรมิ กระบวนการมสี ่วนร่วม 14 ขั้นตอน

47

ตารางที่ 2-4 ตารางแสดงการกำหนดช่องทางในการรับฟังความคิดเหน็ ของผ้รู บั บริการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย

ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี บริการท่ใี ห้ ความต้องการ/ความ แนวทางและวิธีการส่ือสาร
คาดหวัง ระหว่างกนั

1.บุคคลผู้ถูกเวนคืนหรือ จ่ายค่าชดเชยทรพั ย์สนิ ได้รับค่าชดเชยทรัพย์สิน - ทางเอกสาร

ขอใช้ที่ดินเพื่อการ ในราคาเป็นธรรมและ - มาตดิ ต่อดว้ ยตนเอง

ชลประทาน รวดเร็ว - โทรศัพท์/โทรสาร

- เวบ็ บอร์ด E-Mail

- Call Center 1460

- ต้รู ับแสดงความคดิ เหน็

- การดงู าน

2. องค์กรพัฒนาเอกชน ช้ีแจง ทำความเข้าใจ - ไดร้ บั ขอ้ มูลท่เี ปน็ จริง - ประชมุ ชแ้ี จง

(NGO) - ไดร้ บั ความชัดเจนในการ - เอกสาร

ดำเนนิ งาน - โทรศพั ท/์ โทรสาร

- เวบ็ บอร์ด E-Mail

- Call Center 1460

- ตู้รับแสดงความคิดเหน็

- ข่าวสารจากส่ือมวลชน

⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มีช่องทางในการรับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนต่างๆ
ประกอบดว้ ย ทางหนงั สือ จดหมาย ทางเว็บไซต์ Social Media (Facebook) และฝ่ายส่งน้ำฯ ไดม้ อบหมาย
ผู้รับผิดชอบในการรับและตอบข้อเสนอแนะ ดังกล่าวข้างต้น ตามช่องทางต่างๆ กรณีเป็นเรื่องร้องเรียนที่มี
ผลกระทบหรือมีความเสียหายต่อการบริหารจัดการน้ำของโครงการฯ หรือภาพลักษณ์ของกรมชลประทาน
จะต้องมีการตรวจสอบอย่างละเอียดแล้วรายงานโครงการฯ เพื่อตอบผู้ร้องและรายงานเสนอ สำนักงาน
ชลประทานท่ี 7 และกรมชลประทาน ใหท้ ราบตามขั้นตอน

48

2.2 วิธีการในการเพิ่มขีดความสามารถ/ศักยภาพของทีมงานต่อการปฏิบัติงานเพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพการทำงาน

ฝา่ ยสง่ นำ้ และบำรงุ รกั ษาที่ 2 ไดด้ ำเนินการเพม่ิ ขีดความสามารถ โดยมีแนวทางดำเนินการ
ดังน้ี

⚫ กจิ กรรมทางการบรหิ าร
- การประเมนิ สมรรถนะบุคคล เพอ่ื รขู้ ดี ความสามารถของบุคลากรแตล่ ะบุคคล
- เรียนร้งู าน หมนุ เวียนงาน เพือ่ ทจี่ ะใหส้ ามารถทำแทนกนั ได้
⚫ กจิ กรรมทางด้านการฝกึ อบรม
- การจัดฝกึ อบรมภายในฝ่ายสง่ นำ้ ฯ
- การส่งบุคลากรไปอบรมและศึกษาดงู านการปฏิบตั ิงานภายนอกโครงการ
- การอบรมการประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร
- การฝกึ อบรมในขณะปฏบิ ัตงิ านจรงิ
- สอนแนะหรือการให้คำปรกึ ษา โดยการเป็นพเี่ ล้ียง
- ควบคุมดูแลเจา้ หน้าทล่ี งมอื ปฏิบัติงานจรงิ
- การสอนงานหรือนิเทศงาน
⚫ กิจกรรมรว่ มระหวา่ งเจ้าหนา้ ท่ี
- การบรหิ ารจดั การความรแู้ ละสร้างองค์กรแห่งการเรยี นรู้ โดยการสง่ เสรมิ ให้ทำงาน
ร่วมกนั เป็นกลุ่ม โดยมจี ดุ มงุ่ หมายหลักในการรว่ มกันพัฒนางานหรือคุณภาพชีวิตการทำงาน การสร้างทักษะ
ในการคิด วเิ คราะหเ์ พอ่ื แก้ปัญหาการรจู้ ักใช้ความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ ฯลฯ

รปู ท่ี 2-5 สง่ บุคลากรเข้าร่วมโครงการอบรมสัมมนาการเรียนร้รู ว่ มกบั หนว่ ยงานภายนอก

49

- ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มีการร่วมทบทวนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ และ
ประสานงานเป็นประจำอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในฤดูฝนและฤดแู ล้งอยา่ งน้อยปีละ 2 คร้ัง

รูปที่ 2-6 การร่วมทบทวนเพอื่ ปรบั ปรุงประสิทธิภาพ และประสานงานเป็นประจำอย่างต่อเนอ่ื ง
ทัง้ ในฤดฝู นและฤดแู ล้ง

50

หมวดท่ี 3
การบริหารจัดการ

51

หมวดที่ 3 การบริหารจัดการ
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้นอ้ มนำศาสตร์พระราชาเรื่องความ “พฒั นา” มาปรบั ใชด้ ังน้ี
1. เริ่มต้นด้วยตนเอง (Self-initiated)
ฝา่ ยสง่ นำ้ และบำรงุ รักษาท่ี 2 ไดน้ ำองคค์ วามรตู้ ่างๆ ที่กรมชลประทานกำหนดให้มาใช้ใน

การพฒั นางานของโครงการฯ เชน่
1.1 ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 นำคู่มือการบริหารจัดการน้ำ 16 เล่ม มาใช้เป็นแนว

ทางการบริหารจดั การน้ำ
1.2 ฝา่ ยส่งน้ำและบำรงุ รกั ษาท่ี 2 ไดน้ ำแนวทางการบรหิ ารจัดการน้ำโดยเกษตรกรมีส่วน

ร่วม รวมถึงคู่มือตา่ งๆ ของกองส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนมาเปน็ แนวทางในการบรหิ ารจดั การ
2. พึ่งพาตนเองได้ (Self-reliance)
ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษาที่ 2 มกี ารวางแผนพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ โดยเน้น

การพึง่ พาปจั จัยต่างๆ เช่น เทคโนโลยี งบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกดั ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสงู สุด โดยมีการวาง
แผนการดำเนนิ งานทรี่ ัดกุม ใชท้ รพั ยากรที่มอี ยู่อย่างจำกัดให้เกิดประสทิ ธิภาพสูงสุด

3. ตน้ แบบเผยแพร่ความรู้ (Prototype and role model)
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มีการค้นหาแนวทางหรอื หลักปฏิบัติมาตรฐานทีใ่ ช้ในการ

ปฏิบัติงาน โดยกำหนดเปน็ คู่มอื ในการปฏบิ ัติงาน ประกอบด้วย
⚫ คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านดา้ นวศิ วกรรม
⚫ คูม่ อื การปฏบิ ัติงานดา้ นจัดสรรนำ้

หมวด 3 การบรหิ ารจดั การ
การบริหารจดั การนำ้ และบำรุงรกั ษา
3.1 วิธีการรับทราบ/รับรู้/คำนวณปริมาณน้ำต้นทุนในการจัดสรรน้ำ หรือการระบายน้ำใน

แต่ละฤดูกาล
⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้นำ ROS มาคำนวณปริมาณน้ำต้นทุนและวางแผน

จดั สรรน้ำของอ่างเกบ็ น้ำท่ีดแู ลรบั ผิดชอบจำนวน 5 แหง่ ได้พิจารณาจดั สรรน้ำเพ่อื กิจกรรมตา่ ง ๆ ไดด้ ังน้ี
- เพ่อื อปุ โภค-บรโิ ภค
- เพอ่ื รักษาระบบนเิ วศ
- เพ่อื การเกษตร

⚫ เกณฑ์การบรหิ ารและจัดสรรน้ำ
- หลักและวิธีการพัฒนาโคง้ ของกฎการปฏบิ ัติงานอา่ งเกบ็ นำ้ (Rule Curve)

รวมถึงศึกษาการบรหิ ารจดั การนำ้ โดยใช้ ROS
- ผลการดำเนินการ

52

รปู ท่ี 3-1 การวางแผนการใช้น้ำจากโปรแกรม ROS อา่ งฯห้วยชะโนด
- การส่งน้ำจำเปน็ จะตอ้ งติดตามและแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ในสนามจงึ จำเปน็ ตอ้ งประยกุ ต์
การคำนวณจากโปรแกรมROS เพอ่ื มาปรบั ใช้ในการบริหารจดั การนำ้ ควบคกู่ นั ไปตัวอย่างเชน่ Rule Curve
ของอ่างฯหว้ ยชะโนด

รปู ท่ี 3-2 Rule Curve ของอา่ งฯห้วยชะโนดปี 2563

53

⚫ การระบายน้ำฤดฝู นจะมีการประสานการระบายน้ำร่วมกบั ผู้ใหญ่บ้านกลมุ่ ผ้ใู ช้นำ้ ฯ
เพอื่ ประชาสมั พันธ์ให้ประชาชนในพ้นื ท่ีทราบ ในช่วงฤดนู ้ำหลาก เช่น กรณีอา่ งฯ มคี วามจุเต็มเก็บกัก ต้องมี
การระบายนำ้ ลงลมุ่ นำ้ ต่างๆ เพื่อใหอ้ ่างฯ สามารถรองรบั นำ้ ฝนใหม่ได้ หรือการเปดิ บานระบาย ปตร.ท่ีอยู่ริม
แมน่ ำ้ โขง เมื่อระดบั น้ำในแม่น้ำโขงมรี ะดบั ลดลง

3.2 การนำปรมิ าณน้ำต้นทนุ ทไ่ี ดร้ บั มาวางแผนจัดสรรน้ำ/ระบายนำ้
ฝา่ ยส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาท่ี 2 ได้มีการจดั ทำปฏทิ นิ การปลกู พืชในอ่างเก็บน้ำท่ีสำคัญ หรือ

ทด่ี ูแลอยูอ่ ย่างเปน็ ระบบ การจดั ทำปฏทิ นิ การปลูกพืช ในเขตรับผิดชอบการส่งน้ำฝ่ายฯ จะมีปฏิทินการปลูก
พืชกำหนดไวใ้ นช่วงฤดูกาล เชน่ ฤดฝู นจะเริ่มส่งน้ำในต้นเดือนมิถุนายนและส้นิ สุดในเดือนตุลาคมของทุกปี
ฤดูแล้งจะเรมิ่ สง่ นำ้ ในต้นเดือนธนั วาคม และสิ้นสุดในเดือนเมษายนของทกุ ปี

ฝา่ ยส่งน้ำฯ จะเปน็ ผู้ดูแลและกำหนดพน้ื ท่เี พาะปลูก พร้อมท้ังวางแผนการส่งน้ำตาม
ศกั ยภาพของน้ำต้นทุน และตรวจสอบปริมาณตน้ ทนุ ในต้นฤดูกาลวา่ จะสามารถสง่ น้ำให้พืน้ ที่เพาะปลูกได้มาก
น้อยเพียงใด โดยการจัดทำการวางแผนการใช้น้ำ ROS ของอ่างเก็บน้ำ เพื่อศึกษาว่าปริมาณน้ำต้นทุนจะ
สอดคล้องกบั พน้ื ท่ีปลกู พชื เปน็ จำนวนเทา่ ใด

สำรวจข้อมูลความต้องการใช้น้ำของผู้ใช้นำ้ กอ่ นสง่ น้ำ ฝ่ายฯ ได้สำรวจขอ้ มูลความตอ้ งการ
ปลูกพืช และจะได้วางแผนการสง่ นำ้ ให้แก่เกษตรกรใหไ้ ด้รับน้ำอยา่ งทั่วถงึ และเพยี งพอกับความต้องการของ
พชื

ฝ่ายส่งน้ำฯ ได้จัดทำแผนจัดสรรน้ำรายฤดูกาล/รายเดือน/รายสัปดาห์ ก่อนจะดำเนินการ
ส่งนำ้ และมกี ารตรวจสอบกับการส่งนำ้ จรงิ

ปฏทิ นิ การเพาะปลูกพชื ฤดแู ล้ง ปี 2562/2563 และฤดฝู น 2564

โครงการชลประทานมุกดาหาร จงั หวัดมุกดาหาร

ล้าดบั ท่ี ฝา่ ยสง่ น้าฯ/อา่ งฯ พน้ื ที่ ชป. ชนดิ ของพืช ช่วงระยะเวลาการเพาะปลกู
(ไร่) พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
1 ฝ่ายส่งนา้ และบา้ รุงรกั ษาท่ี 2
อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด 18,000 ฤดแู ลง้ ฤดฝู น ฤดแู ลง้ ฤดฝู น

ข้าวเหนยี ว ชนิด ข้าว กข 6 จา้ นวน - 15,287 ไร่

(นาดา้ )

ข้าวเหนียว ชนิด ข้าว กข 6 จ้านวน 513 ไร่

(นาหว่าน

ไม่ขึ้นน้า)

พชื ไร่ ชนดิ จ้านวน 130 - ไร่
ไร่
ออ้ ย จา้ นวน 12

พชื ผกั ชนิด จ้านวน 48 ไร่

ผลไม้ ชนดิ จ้านวน -

ไม้ยืนตน้ 609 609 ไร่

บอ่ ปลา ชนดิ จ้านวน 224 224 ไร่

อนื่ ๆ ชนดิ (ดอกไม้) จ้านวน 97 - ไร่

รปู ท่ี 3-3 ปฏิทนิ การเพาะปลกู พืช

54

ตารางท่ี 3-1 ตารางสรปุ แผนการเพาะปลูกพชื ฤดูแลง้

รายงานสรปุ แผน/ผลการเพาะปลกู พืชฤดูแลง้ ปี 2563/2564 ในเขตชลประทานจงั หวัดมุกดาหาร

ระหว่างวันท่ี 1 พ.ย. 2563 - 30 เม.ย. 2564 หน่วย:ไร่

ล้าดบั โครงการ พ้ืนที่ ช.ป./ไร่ ข้าวนาปรงั พืชไร่ พืชผัก ออ้ ย ไม้ผล ไม้ยืนต้น บ่อปลา/บอ่ กงุ้ อน่ื ๆ รวมแผน รวมผล ระยะการปลกู
แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล

ฝ่ายสง่ นา้ และบา้ รงุ รกั ษาที่ 2

1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด 16,000 0 0 77 70 12 12 12 10 0 0 909 909 224 224 0 0 1,234 1,225 99%

2 อ่างเกบ็ น้าห้วยหินลบั 1,700 0 0 30 28 12 10 15 13 0 0 338 338 22 22 0 0 417 411 99%

3 อา่ งเก็บน้าห้วยไร่ 1,500 0 0 0 0 4 4 90 80 8 6 292 292 34 34 0 0 428 416 97%

4 อา่ งเกบ็ น้าห้วยแคน 750 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 100 100 0 0 0 0 100 100 100%

5 อ่างเก็บน้าห้วยขาหน้า 1,300 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 150 150 0 0 0 0 150 150 100%

21,250 0 0 107 98 28 26 117 103 8 6 1,789 1,789 280 280 0 0 2,329 2,302 99%

รูปท่ี 3-4 แบบสำรวจข้าวต่อไร่ จบ.1-27

55

ตารางท่ี 3-2 แผนการจัดสรรน้ำและการเพาะปลูกพชื ฤดูฝน

ตารางที่3แผนการจดั สรรนา้ และการเพาะปลูกพืชฤดูฝนปี 2564

โครงการชลประทานมกุ ดาหารสานักงานชลประทานที่7

ลำดบั พ้ืนที่ ปริมำณน้ำ(ลำ้ นม.3) พ้ืนทคี่ ำดกำรณ์(ไร่) ระยะเวลำกำรปลกู พืช
ท่ี รวม เริ่ม สิ้นสุด
โครงกำร/อำ่ งเกบ็ น้ำ ชป. (ไร่) เกษตร อปุ โภค-อตุ สำห- ระบบ อื่นๆ รวม ขำ้ วปี พืชไร่ พืชผกั ออ้ ย ไมผ้ ล ไมย้ ืนตน้ บอ่ ปลำ บอ่ กงุ้ อืน่ ๆ
บริโภค กรรม นิเวศน์

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

1 อำ่ งเกบ็ น้ำห้วยชะโนด 16,000 10.300 0.360 10.660 15,100 61 6 609 224 16,000 1-พ.ค.-64 31-ต.ค.-64

2 อำ่ งเกบ็ น้ำห้วยไร่ 1,500 0.990 0.000 0.990 850 0 630 20 1,500 1-พ.ค.-64 31-ต.ค.-64

3 อำ่ งเกบ็ น้ำหว้ ยหินลบั 1,700 1.470 0.000 1.470 1,235 60 100 65 0 210 30 1,700 1-พ.ค.-64 31-ต.ค.-64

4 อำ่ งเกบ็ น้ำห้วยแคน 750 0.730 0.730 470 45 0 0 0 230 5 - - 750 1-พ.ค.-64 31-ต.ค.-64

5 อำ่ งเกบ็ น้ำหว้ ยขำหน้ำ 1,300 1.400 1.400 1,000 189 - - - 110 1 - - 1,300 1-พ.ค.-64 31-ต.ค.-64

รวม 21,250 14.890 0.360 15.250 18,655 355 106 65 0 1,789 280 0 0 21,250

หมำยเหตุ:1.รวบรวมขอ้ มลู ของโครงกำรชลประทำนและโครงกำรส่งน้ำและบำรุงรกั ษำ
2.กำรส่งน้ำเพื่อกจิ กรรมตำ่ งๆในฤดฝู นอำศยั น้ำฝนเป็นหลกั และสนบั สนุนน้ำชลประทำนเสริมในชว่ งตนฤดฝู นหรือฝนทงิ้ ชว่ ง

3.3 การแจ้งข่าวสารให้ผู้ใช้น้ำทราบทั้งก่อนและระหว่างส่งน้ำ/การแจ้งข่าวสารให้
ผ้รู ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ในลำนำ้ ที่รับผดิ ชอบ

ฝ่ายส่งนำ้ และบำรงุ รักษาที่ 2 มีวิธกี ารแจ้งขา่ วสารให้ผู้ใชบ้ ริการและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสีย ทั้ง
กอ่ นส่งน้ำ ระหวา่ งส่งนำ้ และการปอ้ งกันภยั จากน้ำ โดยการประชุมชีแ้ จงขา่ วสารเพือ่ สรา้ งการรับรู้ใหก้ ับกลุ่ม
ผใู้ ช้น้ำฯ โดยแยกประเภท ดังน้ี

56

ตารางท่ี 3-3 ตารางการแจง้ ขา่ วสารให้ผใู้ ช้นำ้ ทราบท้งั กอ่ นและระหวา่ งส่งนำ้ หรอื การแจง้ ขา่ วสารให้
ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ทราบ

กรณี การดำเนินงาน ช่องทางแจง้ ข่าวสาร

ก่อนการสง่ นำ้ - ประสานงานกบั หน่วยงานราชการท่ี - ประชุมประจำเดอื น ระดบั จงั หวดั

เกี่ยวข้องในพื้นที่ ที่อาจจะมี - หนังสอื ราชการ

ผลกระทบ

- แจ้งประธานกลุ่มผู้ใช้น้ำ หรือ - ทท่ี ำการกลมุ่ ผู้ใชน้ ำ้ ทที่ ำการผู้ใหญบ่ า้ น

หัวหน้ากลุ่มผุ้ใช้น้ำตามพื้นที่ต่างๆ - หอกระจายขา่ วประจำหม่บู า้ น

ให้ทราบข่าวสาร แผนการส่งน้ำ - จัดประชุมทุกกลุ่มผู้ใช้น้ำเพื่อรับทราบ

และการระบายนำ้ สถานการณ์น้ำและแนวทางการจัดการนำ้

- Line

ระหวา่ งการสง่ นำ้ - ตดิ ตามออกตรวจเยย่ี มกล่มุ ผูใ้ ชน้ ้ำ - เจ้าหน้าที่ฝ่ายฯพบปะกับกลุ่มผู้ใช้น้ำ

- ตรวจสอบการส่งน้ำว่าเป็นไปตาม โดยตรง

แผนการส่งนำ้ หรอื ไม่ - แจง้ หอกระจายข่าวประจำหมบู่ ้าน

- Line

- ปรับแผนการสง่ น้ำให้เหมาะสมตาม - ที่ทำการกลมุ่ ผใู้ ชน้ ้ำ ที่ทำการผใู้ หญบ่ ้าน

กิจกรรมเพาะปลูกและพ ื้น ที่ - หอกระจายข่าวประจำหมูบ่ า้ น

เพาะปลกู จรงิ ตลอดฤดกู าลส่งน้ำ - Line

ป ้ อ ง ก ั น แ ล ะ กรณนี ำ้ แลง้ - ประชุมกลมุ่ ผใู้ ช้นำ้

บรรเทาภัยจากนำ้ - ร่วมประชุมกลุ่มผู้ใช้น้ำ เพื่อชี้แจง - ตดิ ปา้ ยประชาสมั พันธ์ทที่ ำการกลุ่มผู้ใช้น้ำ

ทำความเข้าใจ และตกลงลดพื้นท่ี ท่ีทำการผใู้ หญ่บา้ น

การเพาะปลูกรว่ มกนั - แจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์

- ประชาสัมพันธ์ให้ใช้น้ำอย่าง - หอกระจายข่าวประจำหม่บู า้ น

ประหยดั - Line

- วางแผนจัดสรรน้ำให้เหมาะสมกับ

สภาพพืน้ ทอ่ี ย่างมีประสิทธิภาพ

กรณนี ำ้ หลาก

- วางแผนปฏิบัติการเตรียมความ

พร้อม

- แจ้งประชาชนในพน้ื ทีท่ ราบ

- แจง้ ข้อมูลขา่ วสารของกรมอุตวุ ทิ ยา

- แจ้งสถานการณน์ ำ้ ใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั

57

3.4 การควบคุมการสง่ นำ้ ในระดับตา่ งๆ/การควบคมุ การระบายนำ้ ในระดับต่าง ๆ
⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 มีการตรวจสอบและควบคุมการส่งน้ำ โดยให้มีการควบคมุ

การสง่ น้ำ ใหถ้ ึงเกษตรกรตามแผนทีว่ างไว้ โดยเจา้ หน้าท่ฝี ่ายฯ จะใหค้ วามร้เู ร่ืองการควบคุมการส่งน้ำ ฝึกอบรม
เกษตรกรให้ร้จู กั การทำงานของระบบ และการใชน้ ้ำชลประทานอย่างประหยดั และถกู วิธี ซึง่ มวี ธิ กี ารส่งน้ำตาม
ความเหมาะสมในแตล่ ะพ้นื ท่ี และแต่ละชว่ งเวลา การแจง้ ข่าวสารให้ผูใ้ ชน้ ำ้ ทราบทัง้ ก่อนและระหว่างสง่ น้ำ หรือ
การแจ้งขา่ วสารใหผ้ ู้รับบรกิ าร และผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสียในลำนำ้ ทีร่ บั ผดิ ชอบการดำเนนิ งานป้องกันและบรรเทาภัย
จากน้ำในพน้ื ท่ีโครงการ สามารถดำเนนิ การได้ ดงั น้ี

- แจ้งข่าวสารในโอกาสทม่ี กี ารประชุมกลุม่ ผู้ใช้น้ำ
- แจ้งทางหนงั สอื ถึงผ้นู ำชุมชนขอความรว่ มมือประกาศทางหอกระจายขา่ ว
- แจง้ โดยพนักงานสง่ น้ำ นกั ประสานงานชมุ ชนชลประทาน และอาสาสมัคร
ชลประทาน
⚫ ฝ่ายสง่ น้ำและบำรุงรกั ษาที่ 2 ไดม้ กี ารควบคุมการส่งน้ำ (การระบายน้ำ) ในระดับต่างๆมี
การควบคุมในระดับตา่ งๆ ดงั นี้
- ระดบั ฝ่ายฯ หรอื อ่างเกบ็ นำ้ ควบคมุ โดยเจา้ หนา้ ที่อา่ งฯ ทไ่ี ดร้ บั การมอบหมายจากฝ่ายฯ
- ระดับคลองสายใหญ่ สายซอยโดยพนักงานส่งน้ำ หรอื สมาชกิ ผ้ใู ชน้ ำ้ ทไ่ี ด้รบั การมอบหมาย
- ระดับคูส่งน้ำโดยสมาชิกผู้ใช้น้ำทท่ี ำหนา้ ทีห่ ัวหนา้ คูส่งนำ้ นัน้ ๆ การรายงาน
การประสานงาน และการแจ้งข่าวสารหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในภาวะวิกฤติ
- ระดับฝ่ายฯ รายงานประสานงานและแจ้งข่าวสารโดยหัวหน้าฝ่ายฯ หรือผู้แทนที่ได้รับ
มอบหมายทางโทรศัพท์ หนังสือดว่ นฯ
- ในระดบั พนื้ ทโี่ ดยหัวหน้าฝา่ ยฯ และเจ้าหนา้ ทปี่ ระจำอา่ งฯ

รปู ท่ี 3-5 การควบคุมนำ้ ในระดับต่างๆ

58

⚫ การควบคุมคุณภาพน้ำนับได้ว่าเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นมาก จึงควรมีการพิจารณา
ดำเนนิ การในเรื่องดังตอ่ ไปน้ี

- การสรา้ งจิตสำนกึ ให้กับผู้ใช้น้ำ เด็กและเยาวชนรวมถึงผทู้ ่ีมสี ่วนเก่ยี วขอ้ งในทุกภาคส่วน
รว่ มกนั อนุรักษ์ ดูแลและบรู ณะแหล่งนำ้ ทีม่ ีอย่ตู ามธรรมชาติและแหลง่ นำ้ ท่ีรฐั สรา้ งไว้ไมใ่ ห้มีสภาพเสอื่ มโทรม

- การขอความรว่ มมือไม่ทง้ิ ขยะมลู ฝอยและสิ่งปฏกิ ูลต่างๆ ลงสู่แหลง่ น้ำ
- ให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ตรวจสอบ เพื่อช่วยกันป้องกันและ
แก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ในการควบคุมคุณภาพน้ำ
- การดูแล รกั ษาและปอ้ งกันมลภาวะในแหลง่ น้ำอยา่ งจริงจังและตอ่ เนือ่ ง
⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้เก็บตัวอยา่ งน้ำเพื่อสง่ ให้ตรวจสอบคุณภาพน้ำทุกๆ 3
เดือนรวมทั้งได้มีการส่งเสริมให้มีการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพน้ำในพื้นที่โครงการฯ โดยมีการเก็บ
ตัวอย่างนำ้ ในอ่างฯส่งไปให้ฝ่ายจัดสรรน้ำโครงการฯ เพื่อรวบรวมนำส่งสำนักงานชลประทานท่ี 7 ในการสง่
ตรวจวเิ คราะห์คณุ ภาพนำ้ ในอ่างฯ
3.5 การดำเนินงานปอ้ งกันและบรรเทาภยั จากน้ำหรอื ในสภาวะวิกฤต (น้ำทว่ ม/น้ำแล้ง/น้ำ
เสีย)

3.5.1 การดำเนินงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจากนำ้
ฝา่ ยฯได้มกี ารแจง้ ขอ้ มูลขา่ วสารต่างๆ เมือ่ เกิดภาวะฉุกเฉนิ เช่น ขอ้ มูลปรมิ าณฝน ข้อมูล
น้ำท่วม เพอ่ื เป็นการเตรียมความพร้อมในการปอ้ งกนั เพ่อื ไม่ให้เกิดความเสยี หายแกพ่ ืชผลทางการเกษตรและ
ทรพั ย์สิน การปฏบิ ัติงานในภาวะวกิ ฤติ
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรกั ษาที่ 2 มมี าตรการในการปฏิบัติงานในภาวะวิกฤติดังน้ี
- เพิ่มศักยภาพในการเก็บกักน้ำของอ่างเก็บน้ำเพื่อป้องกันการขาดแคลน/เช่นการเสริม
กระสอบทรายในชว่ งปลายฤดูฝน
- เพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการนำ้
- เสริมความแข็งแรงของอาคารชลประทาน และตรวจสอบความแข็งแรงของอาคาร
ชลประทานอยเู่ สมอ
- เพมิ่ ศักยภาพของกลมุ่ ผใู้ ชน้ ้ำ
- ทำงานแบบบรู ณาการเพือ่ ประสานงานกบั หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
- เพ่มิ ศกั ยภาพของบุคลากรทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
- มีการประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจและลดปัญหาอันเกิดจากภาวะวิกฤติ / ให้ทักษะ
เพิ่มความรู้ในการสังเกตพฤติกรรมความมั่นคงของเขื่อนต่างๆในช่วงน้ำหลากและการระบายน้ำเพื่อความ
ปลอดภัยของเข่อื น

59

รปู ท่ี 3-6 รปู การเสริมกระสอบทรายในชว่ งปลายฤดูฝน
3.6 การดำเนินการจัดทำบันทึกประวัติการตรวจสภาพและการบำรุงรักษา อาคาร
ชลประทาน/Walk thru

⚫ ฝา่ ยส่งนำ้ ฯ มีการจดั ทำบนั ทึกบญั ชีอาคารชลประทาน ประวัตกิ ารซ่อมแซมบำรุงรักษา
อาคารชลประทาน ผ้รู บั ผดิ ชอบในการดำเนินการกรอกข้อมูล จัดทำบันทึกฐานขอ้ มูล การตรวจสภาพประวัติ
การบำรงุ รกั ษา บัญชอี าคารตา่ งๆ ในโครงการฯ

รูปท่ี 3-7 รูปอาคารชลประทานท่ีพรอ้ มใชง้ าน

60

ตารางที่ 3-4 จดั ทำบนั ทึกประวตั กิ ารตรวจสภาพและการบำรงุ รักษาอาคารชลประทาน/Walk thru

61

3.7 การคดิ คน้ /นำนวัตกรรมมาใช้ในการปฏบิ ัติงาน หรอื ปรับปรงุ วธิ ีการทำงาน
⚫ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 ได้นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์ เครื่องไม้

เคร่ืองมือ ในการปฏบิ ตั ิงานท่ีเหมาะสม ส่งิ อำนวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อใหเ้ จา้ หน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล เชน่

- อากาศยานไร้คนขบั หรอื Drone เพอื่ ตรวจสอบพน้ื ท่โี ดยรอบเขตชลประทานรวมถึง
ลำนำ้ และจุดท่ีชำรุดเสียหาย

รปู ท่ี 3-8 ภาพถ่ายมุมสงู จาก Drone

62

- ในการติดตามงาน แจง้ ข่าวสารต่างๆ ของ ฝ่ายส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษาท่ี 2 โดยการใช้
โปรแกรมไลน์ (Line) เข้ามาตดิ ต่อส่ือสาร เพอ่ื ความสะดวกรวดเร็วในการทำงาน

รปู ท่ี 3-9 รปู การใช้ไลน์ (Line) ในการตดิ ตามงานต่างๆ

63

- ในการส่งเสริมการเกษตรทางฝา่ ยสง่ นำ้ ฯ ได้มีการจดั อบรมเพ่ือแนะนำแนวทางและให้

ความรู้เรื่องการนำนวัตกรรมต่างๆเข้ามาใช้ในภาคการเกษตร เพื่อลดการใช้น้ำแต่ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ซึ่งมี
นวตั กรรมตา่ งๆ ดังนี้

รปู ท่ี 3-10 รูปการอบรมให้ความรเู้ ร่ืองการนำนวตั กรรมเขา้ มาใช้ในการเกษตรเพ่ือลดการใช้น้ำและเพ่มิ ผลผลิต

รูปท่ี 3-11 รูปการศกึ ษาดูงานการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการโรงเรียนขา้ วและชาวนา กรมการขา้ ว

64

⚫ นวัตกรรมระบบน้ำหยดและฉีดฝอย (Drip - Irrigation) สามารถควบคุมการให้น้ำได้
ง่าย ทำให้ประหยดั น้ำพรอ้ มทัง้ เพิม่ ผลผลติ และคณุ ภาพพืช ระบบน้ำหยดไมต่ ้องการเเรงดันนำ้ มาก ให้น้ำได้
ตรงจดุ โดยคอ่ ยๆปล่อยน้ำทำให้ดนิ รบั น้ำได้ทัน น้ำไม่ไหลไปจดุ อื่นและสามารถควบคมุ ปริมาณการจ่ายน้ำได้
ดี ทำใหป้ ระหยัดน้ำ โดยระบบน้ำหยดจะเหมาะสำหรบั การรดน้ำบริเวณโคนตน้ ไม้กระถาง พ้ืนท่ีต่างระดับ(มี
เวลาให้น้ำซมึ ลงดนิ ช้าๆ ทำใหน้ ้ำไม่ไหลไปพ้ืนท่ีต่ำกวา่ )

รปู ท่ี 3-12 รปู การทำระบบน้ำหยด
⚫ การปรับพื้นที่ด้วยเลเซอร์ (Laser Land Leveling) เป็นการพัฒนาการทำงานของ
ใบมีดแบบลากท้าย (Drag Scrapper) โดยการติดตั้งที่ตัวส่งสญั ญาณไว้ข้างแปลง และติดตัวรับสญั ญาณไว้ท่ี
drag scrapper เพือ่ สง่ั การทำงานปรับข้นึ -ลง ของใบมดี ได้อตั โนมัติ เปน็ ไปตามระดบั ท่ีเราต้องการ แต่อาจมี
อุปสรรคในการทำงานคือฝุ่นในแปลงที่ขัดขวางสัญญาณแสงเลเซอร์ระหว่างตัวส่งและตัวรับ และความไม่
ยืดหยุ่นเรื่องการปรับระนาบการทำงาน ทั้งนี้ในปัจจุบันการปรับพืน้ ท่ีด้วยเลเซอรไ์ ด้รับความนิยมแพรห่ ลาย
มากที่สุดและในตลาดเครื่องจักรกลการเกษตรมีผู้ประกอบการหลายรายที่พัฒนาและผลิตให้เกษตรกรได้
เลอื กใช้งาน

65

รูปท่ี 3-13 รปู การปรับพื้นที่ดว้ ยเลเซอร์ (Laser Land Leveling)
⚫ การเลี้ยงเปด็ แบบไล่ทุ่ง โดยการไล่ฝูงเป็ดไปตามแหลง่ ทีม่ ีอาหาร ซง่ึ อาจจะเป็นทุ่งนา
ทเี่ พิง่ เกบ็ เกยี่ วเสร็จซ่ึงจะมีขา้ วตกหล่นอยู่ หรือตามแหลง่ น้ำธรรมชาติ หนองบึงตา่ ง ๆ ทม่ี ีสัตว์น้ำ จำพวกปลา
ปู กุ้ง และหอยอยู่มาก แต่ผู้เลี้ยงจะต้องให้อาหารเสริมในตอนเชา้ หรือตอนเย็นวันละมอ้ื และก่อนท่ีจะนำมา
เลี้ยงปล่อยทุ่ง จะต้องกกลูกเป็ดให้แข็งแรงเสียก่อนประมาณ 1-2 สัปดาห์ แล้วจึงปล่อยใหล้ ูกเป็ดหาอาหาร
กินเอง และเมื่อถึงระยะส่งตลาดอาจจะนำมาขุนด้วยปลายข้าวหรืออาหารข้น ประมาณ 1-2 สัปดาห์ก่อน
ส่งไปชำแหละ ปัจจุบันการเลี้ยงเป็ดเนื้อแบบไล่ทุ่งนี้ได้ลดจำนวนลง เนื่องจากมีปัญหาราคาเป็ดเนื้อตกต่ำ
คุณภาพซากสู้เป็ดทเ่ี ล้ียงในโรงเรือนไมไ่ ด้ โรคระบาดมากและปญั หาจากการใช้ยาฆ่าแมลงในฤดทู า้ ขา้ วนาปรัง

รูปท่ี 3-14 รปู การเลย้ี งเปด็ แบบไล่ท่งุ

66

การบริหารองคก์ รผใู้ ชน้ ้ำ
3.8 วิธีการสรา้ งการมสี ่วนรว่ มกบั ผรู้ บั บริการและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียในแตล่ ะฤดกู าล
⚫ ฝ่ายส่งนำ้ และบำรงุ รกั ษาที่ 2 มกี ารดำเนนิ การดังน้ี

- การจัดทำปฏิทินกิจกรรมประจำปี และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผน
โดยกำหนดให้ทุกกลุ่มมีแผนดำเนินกิจกรรมของตนเอง โดยเฉพาะกิจกรรมหลักที่ต้องดำเนินการ คือการ
ประชุมกอ่ นการส่งน้ำเพอ่ื การเพาะปลกู พืชฤดฝู นฤดูแลง้ การออกตรวจสอบตดิ ตามการสง่ น้ำ-การรับน้ำ ราย
สัปดาห์ การประชุมยอ่ ยเพอ่ื หารอื การดำเนินกิจกรรมของกลุ่มท้งั ในพื้นท่ี และเพอื่ สาธารณะประโยชน์

- การเข้าร่วมบริหารจัดการน้ำของกลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน กลุ่มผู้ใช้น้ำ
ชลประทานพื้นฐาน อาสาสมัคร และคณะกรรมการจัดการชลประทานโดยกลมุ่ ผูใ้ ช้นำ้ พื้นฐานจะ รับผิดชอบ
ดูแลพื้นท่ี แฉกส่งน้ำของตนส่วนกลุ่มบริหารการใช้น้ำฯจะดูแลพื้นที่ทั้งหมดของกลุ่ม โดยอาสาสมัคร
ชลประทานจะเขา้ ไปชว่ ยเหลือการปฏิบัตงิ านของเจ้าหน้าทแี่ ละกล่มุ ผ้ใู ชน้ ้ำฯ โดยอาศยั คณะกรรมการจัดการ
ชลประทานเข้ามาร่วมกำหนดแกไ้ ขปัญหา และรว่ มกันพัฒนาในภาพรวมขององค์กรทมี่ ที ้องถนิ่ เข้ามีส่วนรว่ ม

- การบำรุงรักษาอาคารชลประทานให้มีสภาพดีอยู่เสมอเมื่อมีการประชุมใหญ่ และการ
ประชุมพบปะจะเน้นและให้ความรู้ในการดูแลบำรุงรักษาอาคารชลประทาน และให้มีส่วนร่วมในการดูแล
บำรงุ รักษากับสมาชกิ ผใู้ ช้นำ้ เสมอ

- การส่งเสริมให้มีที่ทำการกลุ่มและบอร์ดสำหรับติดประกาศต่างๆด้วยการให้ข้อคิดเห็น
และเห็นความสำคัญของการมีที่ทำการกลุ่มเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการงานโดยสนับสนุนวัสดุใน
บางส่วน หากมีความพร้อมในการดำเนนิ การ

- การจ้างเหมากลุ่มผู้ใช้น้ำบำรุงรักษาอาคารชลประทานโดยพิจารณาให้กลุ่มเข้ามามี
บทบาทในการบำรงุ รกั ษาอาคารชลประทาน ของตนเองด้วยงบประมาณซึ่งเกษตรกรผู้ใชน้ ้ำจะตอ้ งเป็นผู้ออก
แรงเป็นส่วนใหญ่โครงการจะสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และคำแนะนำ ในการบำรุงรักษา และพัฒนากิจกรรม
ในเบ้ืองตน้ โดยเน้นกระจายให้ทกุ ฝา่ ยสง่ นำ้ ฯของโครงการฯ

- การส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางน้ำ เพื่อคุณภาพน้ำท่ีดีในโอกาสที่มีการ
ประชมุ ฝกึ อบรม หรอื การประชุมพบปะ จะเนน้ ถงึ การอนรุ กั ษส์ ภาพแวดลอ้ มในพ้นื ทอ่ี ยู่เสมอ เพราะจะส่งผล
กระทบกบั กลุ่มผู้ใชน้ ้ำโดยตรง เช่น การใช้นำ้ ไมป่ ระหยัดจนนำ้ แห้งอ่างฯ การใช้สารเคมีในปรมิ าณมาก การ
ใชย้ าฆา่ หญา้ การปลูกพืชอยา่ งเดียวที่สง่ ผลกระทบตอ่ ระบบการชะล้างของดิน เป็นตน้

67

- การส่งเสริมสนบั สนุนให้กลมุ่ ผู้ใชน้ ้ำฯ จดั กจิ กรรมในการดูแลและบำรงุ รักษาอาคาร
ชลประทาน เช่น การกาจดั วัชพืชในคลองส่งน้ำ ขุดลอกตะกอนดนิ ตรวจสภาพคลองสง่ น้ำ หากพบรอยแตก
หรือรอยรั่วจะได้ทำการซ่อมแซมต่อไปเพื่อให้มีสภาพพร้อมใช้งาน สามารถส่งน้ำให้กับพื้นที่ชลประทานได้
อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ ปลี ะ 2 คร้งั คือ ช่วงกอ่ นการสง่ น้ำฤดนู าปี และช่วงกอ่ นการสง่ น้ำฤดูแลง้

รปู ท่ี 3-15 รูปการกำจดั วัชพืชในคลองส่งนำ้ โดยกล่มุ ผูใ้ ชน้ ำ้ ฯ

68

หมวดท่ี 4
ผลสัมฤทธิ์ของงาน

69

มิติดา้ นประสทิ ธผิ ล
ตัวช้ีวัดท่ี 1 รอ้ ยละของพื้นที่บรหิ ารจัดการนำ้ ในเขตชลประทาน (Cropping Intensity)

คำอธบิ ายตัวชีว้ ดั
เป็นการวัดความหนาแน่นของการปลูกพืช หรือความถี่ของการใช้พื้นที่เพื่อการเพาะปลูกในรอบปี

ถ้ามีการปลูกพืชเตม็ พื้นที่เพียงครั้งเดียวในรอบปี Cropping Intensity ในรอบปีนั้นจะเท่ากับ 100 โดยพื้นท่ี
บริหารจัดการน้ำในเขตชลประทาน หมายถึง จำนวนพื้นที่เพาะปลูกได้แก่ นาข้าว พืชผัก พืชไร่ ไม้ผล
ไม้ยืนต้น อ้อย รวมทั้งพื้นท่ีบ่อปลา บ่อกุ้ง และอื่น ๆ ที่ทำการผลิตสินค้าการเกษตรในแต่ละปี ในเขตพื้นที่รับ
บริการน้ำจากระบบชลประทาน ทั้ งน้ี ไมผ้ ล ไม้ยนื ตน้ ออ้ ย บอ่ ปลา บ่อกุ้ง และอื่นๆ ให้กรอกขอ้ มูล 1 คร้ัง/ปี
(ฤดฝู น หรือฤดูแลง้ )

พืชไร่ หมายถึง พืชไร่ที่ปลูกและเก็บเกี่ยวในระยะสั้น 3-4 เดือน ได้แก่ ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ถั่วเขียว
ยาสูบ แตงโม ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันเทศ แตงไทย งา มันแกว เผือก ข้างฟ่าง แห้วจีน ฯลฯ
พืชไรท่ ่ีอายุยาวกว่านไี้ ม่นบั รวมเปน็ พืชไร่ ซ่ึงไดแ้ ก่ อ้อย มนั สำปะหลงั และสบั ปะรด

พืชผัก หมายถึง ผักต่าง ๆ ได้แก่ กระเทียม หอมแดง หอมหัวใหญ่ แตงกวา แตงร้าน ถั่วฝักยาว พริก
มะเขือ ฟักแฟง ฟักทอง บวบ คะน้า ผักกาดหัว กวางตุ้ง ผักบุ้ง ผักชี ข้าวโพดฝักอ่อน หน่อไม้ฝรั่ง มะเขือเทศ
มันฝรง่ั ฯลฯ

ออ้ ย เป็นพชื ไร่ทีส่ ำคัญและมีอายยุ าวนานกว่าพืชไร่ ซ่งึ มเี ฉพาะที่
ไมผ้ ล ได้แก่ ขนนุ องุ่น สม้ ตา่ งๆ กล้วย เงาะ ทเุ รยี น มังคดุ ล้นิ จี่ ลำไย มะม่วง ฯลฯ
ไม้ยืนต้น ได้แก่ ปาล์ม ยางพารา กาแฟ พริกไทย กระถิน ยูคาลิปตัส สน อินทนิล แค กระถินณรงค์
ตะแบก ฯลฯ
บอ่ ปลา หมายถึง พนื้ ทีผ่ วิ น้ำที่ใช้เลี้ยงปลาน้ำจดื แต่ละชนดิ
บ่อกุ้ง หมายถงึ พนื้ ท่ีผวิ นำ้ ทงั้ หมดของบ่อเลยี้ งทกุ บอ่ ที่ใชเ้ ลย้ี งกุ้งภายในฟาร์ม
อืน่ ๆ หมายถึง พชื อนื่ ๆ ทไ่ี ม่ไดก้ ำหนดไว้ เชน่ พืชไรท่ ีม่ ชี ว่ งการเจรญิ เตบิ โตยาวนานกวา่ พืชไร่ หรือพืช
ประเภทอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ สับปะรด มันสำปะหลงั กระชาย ชะอม ไมด้ อก ไม้ประดบั ฯลฯ

วิธกี ารเก็บข้อมลู
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ให้เจ้าหน้าท่ี

สำรวจเก็บข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกในเขตพื้นที่ชลประทานของโครงการ (รวมข้อมูลจากทุกฝ่ายส่งน้ำและ
บำรงุ รักษา) ในฤดูฝนและฤดแู ล้ง ทง้ั น้ี ไม่นบั รวมในกรณที ่มี ีการส่งนำ้ ใหเ้ กษตรกรนอกเขตชลประทาน

สูตรการคำนวณ

พนื้ ที่บรหิ ารจดั การนำ้ ในเขตชลประทาน x 100
พื้นทช่ี ลประทาน

70

สถิติหรอื ข้อมูลทจี่ ะนำมาคำนวณ (ปกี ารเพาะปลกู 2562/2563 และ 2563)

ชนดิ พืช พน้ื ที่เพาะปลูกจริงฤดูฝน พ้นื ที่เพาะปลูกจริงฤดูแลง้ รวมพืน้ ที่ปลูกจรงิ
(ไร่) (ไร)่ (ไร่)

ข้าว 11,342 0 11,342
407
พืชไร่ 300 107 28
117
พืชผัก 0 28
8
อ้อย 0 117 1,789
280
ไมผ้ ล 8 -
0
ไมย้ นื ตน้ 1,789 - 13,971

บ่อปลา 280 -

อืน่ ๆ - -

รวม 13,719 252
พ้ืนท่ชี ลประทาน 21,250 ไร่

หมายเหตุ : ใหใ้ สข่ ้อมูลทงั้ หมด 4 ปี คือ ปปี ัจจบุ ัน และ 3 ปีย้อนหลัง

การคำนวณปี 2563
ร้อยละของพ้นื ทบี่ ริหารจดั การน้ำในเขตชลประทาน = (13,971*100) / 21,250 =65.74%

ข้อมูลย้อนหลัง (3 ปี)
2560 2561 2562 2563
89.18 79.31 75.05 65.74

เกณฑก์ ารให้คะแนน (Le)

ตวั ชี้วัด 1 ระดบั คะแนน 4 5

ร้อยละของพืน้ ท่บี รหิ าร ไมน่ อ้ ยกวา่ 119% 23 ไมน่ ้อยกวา่ 131% 135%
จัดการน้ำในเขตชลประทาน หรอื หรือ
(Cropping Intensity) ไมน่ อ้ ยกวา่ 123% ไมน่ อ้ ยกวา่ 127%
ไมม่ ากกวา่ 151% หรือ หรือ ไมม่ ากกวา่ 139%

ไมม่ ากกวา่ 147% ไมม่ ากกวา่ 143%

ค่าคะแนนทไ่ี ด้ ______1______ คะแนน

71

กราฟแสดงผลและแนวโนม (Le/T)
ร้ อยละของพืน้ ท่ีบริหารจัดการนา้ ในเขตชลประทาน

150
143 143 143 143

130 127 127 127 127

110

90 89.18 79.31 75.05 ร้อยละความคาดเคลอ่ื นจากแผนการ
70 เพาะปลกู ของโครงการ
65.74 ค่ามาตรฐาน

50 คา่ มาตรฐาน 2

30 เชิงเส้น (ร้อยละความคาดเคลอ่ื นจาก
ปี 2 5 6 0 แผนการเพาะปลกู ของโครงการ)

ปี 2 5 6 1 ปี 2 5 6 2 ปี 2 5 6 3

คำอธิบาย
1. จากกราฟค่าจะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน สาเหตุเนื่องจากในชว่ งทีผ่ ่านมา เกิดภาวะฝนทิ้งช่วง การเพาะปลูกจึง
ต้องวางแผนตามปรมิ าณน้ำต้นทุนของแต่ละอ่างฯ ต้องงดทำนาปรัง ขอความรว่ มมือลดพื้นที่ปลูกพืชฤดูแล้ง เพ่ือ
ลดการสูญเสยี ของพชื ผลทางการเกษตร ทำใหไ้ มส่ ามารถสง่ เสริมการเพาะปลูกพชื ฤดูแล้งได้
2. แต่เพื่อให้เพิ่มพื้นที่การเพาะปลูกในฤดูแล้งมากขึ้น ฝ่ายฯ จะประชาสัมพันธ์และร่วมบูรณาการกับหน่วยงาน
สังกัดกระทรวงเกษตรฯ ในการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลกู พชื ใช้น้ำนอ้ ยแทนการทำนาปรัง ให้ไดม้ ากทส่ี ดุ

72

มติ ิดา้ นคุณภาพการให้บริการ

ตวั ชวี้ ดั ที่ 4 ร้อยละของผใู้ ชน้ ำ้ ในเขตพน้ื ทช่ี ลประทานทพี่ งึ พอใจต่อการบรหิ ารจดั การน้ำ

คำอธิบายตัวช้ีวัด
เป็นการวัดคุณภาพการให้บริการของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายส่งน้ำ

และบำรุงรักษาที่มีต่อเกษตรกร ตามรายละเอียดแบบประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจที่กำหนด โดยจะดูใน
เรอื่ งความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการน้ำของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายส่งน้ำ
และบำรุงรักษา

วธิ กี ารเก็บข้อมูล
ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ให้เจ้าหน้าที่ออกสำรวจความพึงพอใจของเกษตรกร โดยใช้แบบประเมินความ

พึงพอใจและไม่พึงพอใจ (แบบ สสช. P1) ของกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยกลุ่มตัวอย่างจะต้อง
ครอบคลมุ ทงั้ ตน้ คลอง กลางคลอง และปลายคลอง ไม่นอ้ ยกวา่ 30 ตัวอยา่ ง/ฝ่ายสง่ น้ำฯ โดยทำการประเมินช่วง
เดอื นสงิ หาคม - กันยายน ของทุกปี ทั้งน้ี มขี ้นั ตอนการสำรวจและรายงานผล ดงั นี้

1. เจ้าหน้าที่อธิบายวัตถุประสงค์ในการสำรวจ และความหมายของแบบสำรวจให้ผู้รับบริการที่เป็น
เกษตรกรผใู้ ช้นำ้ ในเขตชลประทานไดร้ ับทราบและเขา้ ใจ

2. ผู้รับบริการที่เป็นเกษตรกรผู้ใช้น้ำในเขตชลประทาน ทั้งที่ได้รวมตัวเป็นกลุ่มบริหารการใช้น้ำ
ชลประทานแล้ว กรอกแบบสำรวจโดยมีเจ้าหน้าที่อธิบายไปพร้อมกัน เพ่ือใหเ้ ข้าใจในความหมายของแต่ละคำถาม
ตรงกัน กรณที ่ีเป็นการตอบโดยคณะกรรมการบริหารกลมุ่ ฯ ท่มี ีสว่ นร่วมในการตอบคำถาม จะต้องเปน็ ตวั แทนของ
คสู ง่ นำ้ แตล่ ะสายหรอื ทอ่ รับนำ้ จากคลองแต่ละท่อ โดยการลงมตใิ นแต่ละคำตอบตอ้ งครอบคลุมคูสง่ นำ้ ทกุ สายหรือ
ท่อรบั น้ำทกุ ทอ่

3. ผรู้ ับบริการท่ีเป็นเกษตรกรผใู้ ชน้ ้ำในเขตชลประทานต้องเปน็ ผูล้ งมอื กรอกแบบสำรวจเอง เพือ่ ให้แน่ใจ
ว่าเป็นความคดิ เห็นของผรู้ ับบริการจริง

4. รวบรวมแบบสำรวจที่ดำเนนิ การแลว้ เสร็จ จำนวนอยา่ งนอ้ ย 30 ตัวอยา่ ง/ฝา่ ยส่งน้ำฯ กรอกผลสำรวจ
ลงในแบบ Google form ตามแนวทางที่กำหนดโดยกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งระบบจะ
รวบรวมผลโดยอัตโนมัติ

5. กองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน จะคำนวณร้อยละของผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทาน
ที่พึงพอใจต่อการบริหารจัดการน้ำ และรายงานผลให้โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน และ
ฝ่ายสง่ น้ำและบำรุงรกั ษา ทราบ

73

แบบสำรวจความพงึ พอใจของเกษตรกรผใู้ ช้น้ำในเขตชลประทาน (แบบ สสช. P1)

74

สถติ หิ รอื ข้อมลู ที่จะนำมาคำนวณ (ข้อมลู กองส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ปี2563)

ลำดับท่ี โครงการ ร้อยละของของผใู้ ชน้ ำ้ ฯ ที่พงึ พอใจ สรปุ
1 ฝ่ายสง่ นำ้ และบำรุงักษาที่ 2 สบ.2 คป.มกุ ดาหาร 0

12 3 4
00 0 0

ข้อมูลย้อนหลงั (3 ปี) 2561 2562 2563
2560 56.81 50.76 0
60.29
1 ระดบั คะแนน 5
เกณฑก์ ารให้คะแนน (Le) 65 234 85
70 75 80
ตวั ช้ีวดั

รอ้ ยละของผูใ้ ช้น้ำในเขตพน้ื ท่ี
ชลประทานทพี่ ึงพอใจต่อการ
บรหิ ารจดั การน้ำ

ค่าคะแนนท่ไี ด้ 1 คะแนน

75

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

ร้ อยละของผู้ใช้ นา้ ในเขตพืน้ ท่ีชลประทานท่ีพึงพอใจต่ อ
ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร นา้

80 75 75 75
75 56.81 50.76
0 ร้อยละของพนื ้ ทีช่ ลประทานที่ได้รับนา้ ต่อพนื ้ ท่ี
70 ปี 2 5 6 1 ปี 2 5 6 2 ปี 2 5 6 3 เปา้ หมาย ฤดฝู น
คา่ มาตรฐาน
60 60.29
เชิงเส้น (ร้อยละของพนื ้ ท่ีชลประทานทไ่ี ด้รับนา้ ตอ่
50 พนื ้ ทีเ่ ปา้ หมาย ฤดฝู น)

40

30

20

10

0
ปี 2 5 6 0

คำอธบิ าย
เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่ร้อยละ 75 ผลงานต่ำกว่าเกณฑ์ และเส้นแนวโน้มลดลงจากผลการสำรวจ
ยอ้ นหลัง พบว่าคะแนนยังต่ำในเรื่องการเอาใจใส่และรับฟังความเห็นของผู้ใช้น้ำ ของ จนท.ชลประทาน ฝ่ายฯ จึง
ได้กำหนดกระบวนการท่จี ะใหไ้ ดร้ ับความพึงพอใจเพ่มิ ข้ึน ในปี 2565 โดย

1. การกำหนดใหป้ ระชุมและตดิ ตามผลการสง่ น้ำของ จนท.แต่ละอ่างฯ ร่วมกบั กลมุ่ ฯ ทกุ ๆ ต้นเดือน
2. จัดทำแผนให้ จนท.แตล่ ะอา่ งฯ ออกตดิ ตามและพบปะเกษตรกรในพน้ื ทสี่ ปั ดาห์ละละ 1 คร้งั

(สำหรับในปี 2563 ยังไม่มีข้อมูลปรากฏในเอกสารของ กสช.กรมชลประทาน เนื่องจากขณะนัน้ ฝ่ายฯ ยังไม่ได้คีย์
ข้อมูลลงในระบบออนไลน์ แต่ภายหลังจากสิ้นสุดฤดูกาลส่งน้ำ ฝ่ายฯ ได้สำรวจข้อมูลดังกล่าวและบันทึกลงใน
ระบบแล้ว ผลการสำรวจความพึงพอใจของเกษตรกรผู้ใช้น้ำ คิดเป็นประมาณร้อยละ 76 ) ให้ จนท.แต่ละฝ่ายฯ
ออกตดิ ตามและพบปะเกษตรกรในพ้ืนที่สปั ดาห์ละละ 1 คร้ัง

76

มิติดา้ นประสทิ ธิภาพของการปฏิบตั ริ าชการ

ตัวชว้ี ัดที่ 5 ประสิทธิ์ภาพชลประทานในฤดฝู น

คำอธบิ ายตัวชี้วดั

เป็นการตรวจสอบถงึ ประสิทธิภาพของการชลประทานในฤดูฝน ซง่ึ หมายถงึ อตั ราส่วนท่คี ิดเป็นเปอร์เซ็นต์
ระหว่างปริมาณน้ำสุทธิที่จะต้องใหแ้ ก่พืช (Net Water Application) ต่อปริมาณน้ำทั้งหมดที่ต้องให้แก่พืชGross
Water Application)

วธิ ีการเกบ็ ขอ้ มูล

สบ.2 คป. ตอ้ งการเก็บข้อมูลปรมิ าณน้ำทีส่ ง่ จริงเป็นรายวนั และรวบรวมวเิ คราะห์เป็นข้อมูลรายสัปดาห์
รายเดือน จนเสร็จส้นิ ฤดกู าลเพาะปลกู ในฤดูฝน จงึ รวบรวมวิเคราะห์วา่ ตลอดฤดูกาลเพาะปลูกกาลเพาะปลูกใช้น้ำ
ทัง้ หมดเปน็ ปรมิ าณเทา่ ใด แล้วนำมาเปรยี บเทียบกับปริมาณนำ้ ทตี่ อ้ งส่งตามทฤษฏี

สตู รการคำนวณ

(ปริมาณนำ้ ตามทฤษฎี – ฝนใชก้ าร + การร่วั ซมึ ) x 100

ปริมาณน้ำทสี่ ง่ จริงตลอดฤดฝู น
สถิตหิ รอื ข้อมลู ทีจ่ ะนำมาคำนวณขอ้ มูลการส่งน้ำปีการเพาะปลูก

รายการ ลบ.ม.

ปรมิ าณนำ้ ตามทฤษฎี 14,770,000

ปรมิ าณน้ำจากฝนใชก้ าร 9,860,000

ปรมิ าณน้ำรว่ั ซมึ 1,390,000

ปรมิ าณนำ้ ส่งจริง 18,100,000

พ้นื ท่ีสง่ น้ำจริงฤดฝู น = 21,250 ไร่

หมายเหตุ : 1 เพ่มิ Back up sheet
2 ให้ใสข่ อ้ มูลทัง้ หมด 4 ปี คือ ปปี จั จบุ นั และ 3 ปยี อ้ นหลัง

การคำนวณปี 2563
ประสิทธภิ าพชลประทานในฤดฝู น = (14,770,000-9,860,000+1,390,000)X100 / 18,100,000= 34.80%

ข้อมูลย้อนหลงั (ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปี) 2561 2562 2563
2560

43.22 38.56 35.34 34.80

77

คา่ คะแนนทไี่ ด้

ตัวชี้วดั ระดบั คะแนน
12345
ประสิทธิภาพชลประทานในฤดแู ล้ง 20% 30% 40% 50% 60%
2.48 คะแนน
ค่าคะแนนที่ได้
กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

ร้ อยละของพืน้ ท่ีชลประทานท่ีได้ รั บนา้ ต่ อพืน้ ท่ีเป้ าหมาย

ฤ ดู ฝ น ร้อยละของพนื ้ ทีช่ ลประทานที่ได้รับนา้ ต่อพืน้ ทเี่ ปา้ หมาย

ฤดฝู น
ค่ามาตรฐาน

80
เชงิ เส้น (ร้อยละของพนื ้ ทชี่ ลประทานทีไ่ ด้รับนา้ ต่อพนื ้ ท่ี

70 เปา้ หมาย ฤดฝู น)

60

50 384.056 40 40
43.22 35.34 34.8

40 40

30

20

10

0 ปี 2 5 6 1 ปี 2 5 6 2 ปี 2 5 6 3
ปี 2 5 6 0

คำอธบิ าย
เมอื่ เปรยี บเทยี บกับเกณฑม์ าตรฐานท่ีร้อยละ 40 ผลงานต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานประสิทธภิ าพชลประทานในฤดูฝน
มีแนวโนม้ ลดลงเล็กน้อย เนอ่ื งจากมีการใชน้ ้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคของราษฎรในพ้ืนท่ีด้วย ทำให้มีการใช้น้ำมาก
ข้ึนกวา่ แผนทก่ี ำหนด ซ่งึ ฝา่ ยฯจะได้เร่งแก้ไขใหก้ ารสง่ น้ำเปน็ ไปตามแผนมากท่ีสุด

78

ตวั ช้ีวัดที่ 6 ประสทิ ธิภาพชลประทานในฤดแู ล้ง

คำอธบิ ายตัวชี้วดั

เป็นการตรวจสอบถึงประสิทธิภาพของการชลประทานในฤดูแล้ง ซึ่งหมายถึงอัตราส่วนที่คิดเป็น
เปอร์เซน็ ตร์ ะหว่างปริมาณน้ำสทุ ธิที่ต้องการให้แก่พืช (Net Water Application) ต่อปริมาณนำ้ ท้ังหมดท่ีต้องการ
ให้แก่พืช (Gross Water Application)

วธิ กี ารเก็บข้อมลู

สบ.2 คป. ต้องทำการเก็บข้อมูลปริมาณน้ำที่ส่งจริงเป็นรายวัน และรวบรวมวิเคราะห์เป็นข้อมูลราย
สัปดาห์ รายเดือน จนเสร็จสิ้นฤดูกาลเพาะปลูกในฤดูแล้ง จึงรวบรวมวิเคราะห์ว่าตลอดฤดูกาลเพาะปลูกใช้น้ำ
ทง้ั หมดเป็นปริมาณเท่าใด แล้วนำมาเปรียบเทยี บกับปรมิ าณน้ำทตี่ ้องการสง่ ตามทฤษฎี

สูตรการคำนวณ

(ปรมิ าณน้ำตามทฤษฎี – ฝนใช้การ + การร่ัวซึม) x 100

ปริมาณน้ำทีส่ ง่ จริงตลอดฤดูแลง้

สถิตหิ รอื ข้อมลู ที่จะนำมาคำนวณ

รายการ ลบ.ม.
ปรมิ าณน้ำตามทฤษฎี 9,910,000
ปรมิ าณนำ้ จากฝนใช้การ 410,000
ปรมิ าณน้ำร่ัวซึม 1,290,000
ปรมิ าณน้ำส่งจริง 19,020,000

พน้ื ทสี่ ง่ น้ำจริงฤดูแลง้ = 2,130 ไร่

หมายเหตุ : 1 เพม่ิ Back up sheet
2 ให้ใส่ขอ้ มูลทง้ั หมด 4 ปี คือ ปปี จั จุบัน และ 3 ปยี อ้ นหลัง

การคำนวณปี 2563

ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูแล้ง = (9,910,000-410,000+1,290,000)X100 / 19,020,000= 56.73%

ขอ้ มูลย้อนหลงั (ไมน่ ้อยกว่า 3 ปี) 2561 2562 2563
2560

54.35 55.20 55.98 56.73

79

คา่ คะแนนที่ได้

ตวั ชวี้ ัด ระดับคะแนน
12345
ประสิทธิภาพชลประทานในฤดแู ล้ง 20% 30% 40% 50% 60%
ค่าคะแนนทไ่ี ด้ 4.67 คะแนน

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

ร้ อยละของพืน้ ท่ีชลประทานท่ีได้ รั บนา้ ต่ อพืน้ ท่ีเ ป้ าหมาย ฤดูแล้ ง

160

140 ร้อยละของพนื ้ ท่ีชลประทานท่ีได้รับนา้ ตอ่ พืน้ ทเ่ี ปา้ หมาย ฤดู
แล้ง

120 คา่ มาตรฐาน

100 เชิงเส้น (ร้อยละของพนื ้ ที่ชลประทานทีไ่ ด้รับนา้ ต่อพนื ้ ที่
เปา้ หมาย ฤดแู ล้ง)

80

60 55.2 55.98 56.73
54.35

40 40 40 40 40

20

0 ปี 2 5 6 1 ปี 2 5 6 2 ปี 2 5 6 3
ปี 2 5 6 0

คำอธิบาย
เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่ร้อยละ 40 ผลงานสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพชลประทานในฤดู
แล้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากการระบบส่งน้ำส่วนใหญ่จะเป็นระบบท่อ มีการควบคุมน้ำที่ส่งให้ได้ใน
ระดับหนึ่ง แตป่ ระสิทธิภาพยังไม่สูงมากนักเน่ืองจากมีการใชน้ ้ำเพื่อการอปุ โภคบริโภคของราษฎรในพ้ืนท่ีด้วย ทำ
ใหม้ ีการใช้น้ำมากข้นึ กวา่ แผนที่กำหนด ซง่ึ ฝา่ ยฯ จะไดเ้ ร่งแกไ้ ขใหก้ ารสง่ นำ้ เปน็ ไปตามแผนมากทส่ี ุด

80

ตัวชว้ี ดั ท่ี 7 ร้อยล่ะของการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุนที่เปน็ ไปตามแผน

คำอธบิ ายตวั ช้ีวดั
การพิจารณาผลการเบกิ จ่ายเงนิ งบประมาณรายจา่ ยลงทุน จะใชอ้ ัตราการเบิกจ่าย เป็นตวั ชว้ี ดั

ความสามารถในการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจา่ ยลงทุนของโครงการ (ตามเล่ม พรบ.งบประมาณประจำปี) โดย
ขอ้ มลู ท่ีใช้ก่อนปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จะเป็นการรายงานผ่าน Website ระบบตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงานและ
การใช้จา่ ยงบประมาณแบบ Online ของกองแผนงาน และต้งั แตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จะเป็นการรายงาน
ผา่ น Website ระบบตดิ ตาม CEN-PROJECT ของกองแผนงาน เป็นหลัก
วิธกี ารเก็บขอ้ มลู

ฝ่ายส่งน้ำฯ ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรรตามเล่ม พรบ.งบประมาณประจำปี แล้ว
รายงานผลเบิกจา่ ยทาง Online ให้กองแผนงานและงบประมาณ ตามพรบ. จะใช้วงเงนิ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ณ วันท่ี 30 กันยายน เปน็ ฐานในการคำนวณ

สูตรการคำนวณ

ลำดับท่ี รายการ งปม. ผลการดำเนนิ คะแนนที่ ร้อยละเฉลยี่ ถ่วง
(X) งาน (%) ได้ น้ำหนกั
(Z) (y) (m)

1 ซ่อม 1 X1 Z1 Y1 X1Z1

2 ปรับปรงุ 1 X2 Z2 Y2 X2Z2

∑X ∑(m)

o m= (X x Z)

o ร้อยละเฉล่ยี ท่ีได้=∑ (m)/ ∑X

หมายเหตุ : 1 นับผลงาน ณ 30 ก.ย. ของทกุ ปี

2 ใสข่ อ้ มูลรายการงานปรบั ปรุง หรืองานซอ่ มแซมในสว่ นท่โี ครงการฯ หรือ สบ. ได้รบั มอบหมาย

3 ผลการดำเนนิ งาน คอื ผลการเบิกจ่ายงบประมาณของโครงการฯหรอื ฝ่ายส่งน้ำฯยกเว้นการ

บันทกึ ฯ แจ้งการคืนงบประมาณเหลือจ่ายใหก้ องแผนงาน ตามระยะเวลาท่กี องแผนงานกำหนดถือ

วา่ ผลการดำเนนิ งาน 100 %

81

สถิตหิ รอื ข้อมูลท่ีจะนำมาคำนวณ

ลำดบั รายการ เงนิ จัดสรร งบประมาณ การ ผลการ หมายเหตุ
ที่ เบกิ จ่าย คงเหลอื เบกิ จา่ ย ดำเนนิ งาน
(บาท) (บาท) (บาท)
(%) (%)
299,777 0
กำจดั วัชพชื อ่างเก็บนำ้
549,526 0
1 ห้วยชะโนด ปรมิ าณ 299,777 100.00 100.00
449,834 0
92 ไร่
699,970 0
ซอ่ มแซมคลองสง่ นำ้ 629,907 0

สายซอย 1L- 2L-LMC 669,906 0

2 อา่ งเกบ็ น้ำหว้ ยไร่ 549,526 949,906 0 100.00 100.00
จำนวน 1 สาย ปรมิ าณ

คอนกรตี ดาด 52

ลูกบาศก์เมตร

ซ่อมแซมคลองสง่ น้ำ

สายซอย 2L-LMC อ่าง

3 เกบ็ น้ำหว้ ยไร่ จำนวน 449,834 100.00 100.00
1 สาย ปรมิ าตร 100.00 100.00
100.00 100.00
คอนกรีตดาด 42.12 100.00 100.00
100.00 100.00
ลูกบาศกเ์ มตร

ซอ่ มแซมคนั คลอง

4 LMC อา่ งเก็บนำ้ ห้วย 699,970
ชะโนด จำนวน 1 สาย

ความยาว 850 เมตร

ซ่อมแซมคนั คลอง

5 LMC อา่ งเกบ็ นำ้ ห้วยไร่ 629,907
จำนวน 1 สาย ความ

ยาว 800 เมตร

ซอ่ มแซมถนนเลียบ

แนวทอ่ ส่งนำ้ สาย

6 LMP2 อ่างเกบ็ นำ้ หว้ ย 669,906

หนิ ลับ จำนวน 1 สาย

ความยาว 900 เมตร

ซ่อมแซมหินทิ้งหนา้

7 ทำนบดิน อา่ งเก็บนำ้ 949,906
ห้วยขาหนา้ จำนวน 1

สาย

82

ลำดับที่ งบประมาณ ผลการ
เบิกจ่าย คงเหลือ ดำเนินงาน
รายการ เงนิ จัดสรร (บาท) (บาท) การ หมายเหตุ
(บาท) เบิกจ่าย (%)
690,392 0
(%)
778,328 0
ซอ่ มแซมหินทิง้ หนา้
746,714 0
8 ทำนบดิน อ่างเกบ็ นำ้ 690,392 100.00 100.00
ห้วยขาหน้า จำนวน 1 849,528 0

สาย 619,152 830

ซ่อมแซมอาคารทอ่ 669,687 0

ระบายนำ้ คลองส่งน้ำ 849,689 0

9 สายใหญฝ่ งั่ ซา้ ย อา่ ง 778,328 100.00 100.00

เกบ็ น้ำหว้ ยไร่ จำนวน

5 แห่ง

ซอ่ มแซมอาคารทอ่

10 ระบายน้ำ สาย RMP2 746,714 100.00 100.00
อ่างเก็บน้ำห้วยแคน

จำนวน 7 แห่ง

ซ่อมแซมอาคารระบาย

นำ้ ลน้ อา่ งเก็บน้ำห้วย

11 ขาหน้า จำนวน 1 สาย 849,528 100.00 100.00

ปรมิ าตรหินเรียง 329

ลกู บาศกเ์ มตร

ซอ่ มแซมถนนขนานท่อ

ส่งน้ำสาย LMP อ่าง

12 เก็บน้ำหว้ ยขาหน้า 619,982 99.87 100.00

จำนวน 1 สาย ความ

ยาว 700 เมตร

ซอ่ มแซมถนนขนานทอ่

ส่งนำ้ สาย LMP อ่าง

13 เก็บน้ำหว้ ยหนิ ลับ 669,687 100.00 100.00

จำนวน 1 สาย ความ

ยาว 730 เมตร

ซ่อมแซมถนนขนานทอ่

ส่งนำ้ สาย LMP2 อา่ ง

14 เก็บนำ้ ห้วยหินลับ 849,689 100.00 100.00

จำนวน 1 สาย ความ

ยาว 925 เมตร

83

ลำดับ รายการ งบประมาณ การ ผลการ หมายเหตุ
ที่ เงินจัดสรร เบกิ จา่ ย คงเหลอื เบิกจา่ ย ดำเนินงาน

ซอ่ มแซมถนนขนานท่อ (บาท) (บาท) (บาท) (%) (%)
100.00
ส่งน้ำสาย RMP อา่ ง 979,925 979,925 0 100.00
100.00
15 เกบ็ น้ำห้วยขาหนา้ 499,735 499,735 0 100.00
100.00
จำนวน 1 สาย ความ 649,850 649,850 0 100.00
100.00
ยาว 1,100 เมตร 24,863,701 23,631,819 1,231,882 95.05 100.00
9,592,559 9,588,879 3,680 100.00
ซอ่ มแซมถนนขนานท่อ 34,053,839 28,581,883 5,471,956 99.96 100.00
799,724 799,724 0 83.93
สง่ น้ำสาย RMP1 อ่าง 100.00

16 เก็บนำ้ หว้ ยแคน

จำนวน 1 สาย ความ

ยาว 545 เมตร

ซ่อมแซมถนนขนานท่อ

สง่ นำ้ สาย RMP2 อ่าง

17 เกบ็ น้ำหว้ ยแคน

จำนวน 1 สาย ความ

ยาว 710 เมตร

สถานสี ูบนำ้ ดว้ ยไฟฟา้

18 จำนวน 1 เครื่อง
พรอ้ มระบบส่งน้ำ

ความยาว 3,350 เมตร

ปรบั ปรงุ คลองสายซอย

19 ฝง่ั ซา้ ย อ่างเกบ็ นำ้ หว้ ย
ชะโนด จำนวน 4 สาย

ความยาว 4,870 เมตร

แกม้ ลิงลำหว้ ยชะโนด

20 พรอ้ มอาคารประกอบ

ระยะ 2

ซ่อมแซมถนนเขา้ หวั

21 งาน อา่ งเก็บน้ำหว้ ยขา
หน้า จำนวน 1 สาย

ความยาว 1,550 เมตร

84

คำนวณ

ลำดบั รายการ งปม. ผลการ คะแนนท่ี ร้อยละเฉลี่ยถว่ ง
ท่ี (ลา้ น บาท) ดำเนนิ งาน(%) ได้ นำ้ หนกั
(m)
กำจัดวัชพชื อ่างเกบ็ นำ้ (x) (z) (y)
0.29 100 5 0.29x100=29%
1 ห้วยชะโนด ปรมิ าณ 92
0.54 100 5 0.54x100=54%
ไร่
0.44 100 5 0.44x100=44%
ซ่อมแซมคลองสง่ น้ำสาย
0.69 100 5 0.69x100=69%
ซอย 1L- 2L-LMC อ่าง
0.62 100 5 0.62x100=62%
2 เก็บน้ำห้วยไร่ จำนวน 1
0.66 100 5 0.66x100=66%
สาย ปรมิ าณคอนกรีตดาด
0.94 100 5 0.94x100=94%
52 ลกู บาศก์เมตร 0.69 100 5 0.69x100=69%

ซ่อมแซมคลองส่งน้ำสาย

ซอย 2L-LMC อา่ งเก็บนำ้

3 ห้วยไร่ จำนวน 1 สาย

ปรมิ าตรคอนกรตี ดาด

42.12 ลกู บาศก์เมตร

ซ่อมแซมคนั คลอง LMC

4 อ่างเกบ็ นำ้ ห้วยชะโนด
จำนวน 1 สาย ความยาว

850 เมตร

ซอ่ มแซมคนั คลอง LMC

5 อา่ งเกบ็ น้ำหว้ ยไร่ จำนวน
1 สาย ความยาว 800

เมตร

ซ่อมแซมถนนเลียบแนว

ทอ่ ส่งนำ้ สาย LMP2 อ่าง

6 เก็บนำ้ หว้ ยหินลับ จำนวน

1 สาย ความยาว 900

เมตร

ซ่อมแซมหินทงิ้ หนา้ ทำนบ

7 ดิน อ่างเกบ็ นำ้ ห้วยขาหน้า

จำนวน 1 สาย

ซ่อมแซมหนิ ท้งิ หนา้ ทำนบ

8 ดนิ อา่ งเกบ็ นำ้ ห้วยขาหนา้
จำนวน 1 สาย

85

ลำดับ รายการ งปม. ผลการ คะแนนท่ี รอ้ ยละเฉลย่ี ถว่ งน้ำหนัก
ที่ (ลา้ น บาท) ดำเนินงาน(%) ได้ (m)
(y)
(x) (z)
0.77
ซอ่ มแซมอาคารท่อระบาย
0.74
9 น้ำคลองส่งน้ำสายใหญฝ่ ัง่ 100 5 0.77x100=77%
ซา้ ย อา่ งเก็บนำ้ หว้ ยไร่ 0.84

จำนวน 5 แหง่ 0.6199

ซอ่ มแซมอาคารทอ่ ระบาย 0.66

10 น้ำ สาย RMP2 อา่ งเกบ็ 0.84 100 5 0.74x100=74%
นำ้ ห้วยแคน จำนวน 7
0.97
แหง่

ซอ่ มแซมอาคารระบายน้ำ

ลน้ อา่ งเกบ็ น้ำห้วยขาหนา้

11 จำนวน 1 สาย ปริมาตร 100 5 0.84x100=84%

หินเรยี ง 329 ลูกบาศก์

เมตร

ซอ่ มแซมถนนขนานท่อส่ง

12 นำ้ สาย LMP อ่างเกบ็ นำ้ 99.87 5 0.6191x100=61.91%
ห้วยขาหน้า จำนวน 1 100 5 0.66x100=66%
100 5 0.84x100=84%
สาย ความยาว 700 เมตร

ซ่อมแซมถนนขนานทอ่ สง่

13 น้ำสาย LMP อา่ งเกบ็ น้ำ
ห้วยหนิ ลบั จำนวน 1 สาย

ความยาว 730 เมตร

ซอ่ มแซมถนนขนานทอ่ สง่

14 นำ้ สาย LMP2 อา่ งเกบ็ น้ำ
หว้ ยหินลบั จำนวน 1 สาย

ความยาว 925 เมตร

ซอ่ มแซมถนนขนานท่อส่ง

นำ้ สาย RMP อา่ งเก็บนำ้

15 ห้วยขาหน้า จำนวน 1 100 5 0.97x100=97%

สาย ความยาว 1,100

เมตร

86

ลำดบั รายการ งปม. ผลการ คะแนนท่ี รอ้ ยละเฉลีย่ ถว่ งน้ำหนกั
ที่ (ลา้ น บาท) ดำเนนิ งาน(%) ได้ (m)
(y)
(x) (z)
0.49
ซ่อมแซมถนนขนานทอ่ ส่ง
0.64
16 นำ้ สาย RMP1 อ่างเกบ็ น้ำ 100 5 0.49x100=49%
หว้ ยแคน จำนวน 1 สาย 24.86

ความยาว 545 เมตร 9.59

ซอ่ มแซมถนนขนานท่อสง่ 34.05

17 นำ้ สาย RMP2 อ่างเกบ็ นำ้ 0.79 100 5 0.64x100=64%
ห้วยแคน จำนวน 1 สาย 80.72

ความยาว 710 เมตร

สถานสี ูบนำ้ ดว้ ยไฟฟา้

18 จำนวน 1 เคร่ือง พรอ้ ม 95.05 4 23.63x100=2,363%
ระบบสง่ นำ้ ความยาว

3,350 เมตร

ปรับปรุงคลองสายซอยฝงั่

19 ซ้าย อ่างเกบ็ น้ำหว้ ยชะ 99.96 5 9.58x100=958%
โนด จำนวน 4 สาย ความ 83.93 1 28.58x100=2,858%
100 5 0.79x100=79%
ยาว 4,870 เมตร
7,401.91%
แก้มลงิ ลำห้วยชะโนด

20 พร้อมอาคารประกอบ

ระยะ 2

ซ่อมแซมถนนเขา้ หวั งาน

21 อา่ งเก็บน้ำห้วยขาหนา้
จำนวน 1 สาย ความยาว

1,550 เมตร

หมายเหตุ : ให้ใส่ขอ้ มลู ทงั้ หมด 4 ปี คือ ปีปัจจุบัน และ 3 ปี ยอ้ นหลงั

87

การคำนวณปี 2563
รอ้ ยละของการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุนท่ีเปน็ ไปตามแผนเฉล่ยี ทไ่ี ด้
= 7,401.91/80.72
= 91.69 %

ขอ้ มลู ย้อนหลงั ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปี
2560 2561 2562 2563
95.25 93.80 92.58 91.69

เกณฑ์การให้คะแนน (Le) 1 ระดบั คะแนน 5
80 23 4 100
ตัวช้วี ดั
85 90 95
ร้อยละของการเบกิ จา่ ยงบประมาณงบ
ลงทนุ ทีเ่ ปน็ ไปตามแผน

Interpolate = (95 – 90 ) = 5 , (4 – 3) = 1 ดังนั้น (100-100 ) = 0 , 0/5 = 0
จะได้คะแนน = (3 - 0) = 3

ค่าคะแนนทีไ่ ด้ 3.16 คะแนน

88

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

ร้ อยละของการเบิกจ่ ายงบประมาณงบลงทุนท่ีเป็ นไปตามแ ผน

120

100 9930.8 929.058 919.069 ร้อยละของการเบกิ จา่ ยงบประมาณงบลงทนุ ที่
95.25 เป็นไปตามแผน
90

80 ค่ามาตรฐาน

60 เชิงเส้น (ร้อยละของการเบกิ จ่ายงบประมาณ
งบลงทนุ ท่เี ป็นไปตามแผน)

40

20

0 ปี 2 5 6 1 ปี 2 5 6 2 ปี 2 5 6 3
ปี 2 5 6 0

คำอธบิ าย
1. เมอ่ื เปรียบเทียบกับเกณฑม์ าตรฐานท่ีรอ้ ยละ 90 ผลงานสูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน
2. กราฟมีแนวโน้มคงที่ และสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของกรมฯ และฝ่ายฯ จะได้รักษามาตรฐานให้อยู่ในระดับที่ดี
ต่อเนื่องต่อไป โดยจะปฏิบัติตั้งแต่การกำหนดตั้งแผนงานที่จะขอสนับสนุนงบประมาณในแต่ละครั้งในวงเงินที่ไม่สูง
มากเกินไป การปฏิบัติงานให้ใช้ระยะเวลาดำเนินงานแล้วเสร็จไม่เกิน 3 เดือน ก่อนจะเข้าฤดูฝนหรือเริ่มการส่งน้ำ
วางแผนงานทเ่ี ปน็ แพก็ เก็จและแผนงานดว่ นตา่ งๆที่ไดร้ ับอนมุ ัติ ให้แล้วเสรจ็ ภายในปีงบประมาณ

89

ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของอาคารควบคุมนำ้ ในระบบสง่ น้ำและในระบบระบายน้ำอย่ใู นสภาพพร้อมใช้งานดี

คำอธิบายตัวชว้ี ัด

เปน็ การตรวจสอบถึงสภาพอาคารชลประทานของฝา่ ยสง่ น้ำและบำรุงรักษาว่าอยู่ในสภาพใช้งานได้
ดเี ปน็ จำนวนเท่าใด เมือ่ เทียบกับปริมาณอาคารท้ังหมด เพือ่ จะดูถงึ ความสอดคล้องกับการต้ังงบประมาณ
งานซ่อมแซมปรับปรงุ ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรกั ษาที่ 2

วิธกี ารเก็บข้อมลู

ออกสำรวจสภาพอาคารชลประทานทงั้ หมดของฝ่ายสง่ น้ำและบำรุงรกั ษาท่ี 2 วา่ อยูใ่ นสภาพทใี่ ช้
งานได้เป็นจำนวนเท่าไร เพื่อเปรียบเทียบกับจำนวนอาคารชลประทานทั้งหมดของฝ่ายส่งน้ำและ
บำรุงรักษาท่ี 2 โดยนำขอ้ มลู ทีไ่ ดบ้ นั ทึกลงในบัญชปี ระวัติอาคารชลประทาน

สูตรการคำนวณ

(จำนวนอาคารควบคุมนำ้ ใน ระบบส่งนำ้ และระบบระบายน้ำท่ีมีสภาพพร้อมใชง้ าน)x 100

(จำนวนอาคารควบคุมนำ้ ในระบบสง่ น้ำ และระบบระบายนำ้ ทง้ั หมด)

สถติ ิหรอื ข้อมลู ที่จะนำมาคำนวณ

ปี 2563

จำนวนอาคารควบคุมน้ำในระบบส่งนำ้ และระบบระบายนำ้ ทม่ี ี 689
สภาพสภาพพร้อมใชง้ าน

จำนวนอาคารควบคมุ น้ำในระบบสง่ น้ำ และระบบระบายน้ำ 703
ทงั้ หมด

การคำนวณปี 2563
ร้อยละของอาคารควบคุมนำ้ ในระบบส่งนำ้ และในระบบระบายนำ้ ทอี่ ยู่ในภาพใชง้ านไดด้ ี

=(689X100)/703 = 98.01%

ขอ้ มูลย้อนหลงั (ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปี)

2560 2561 2562 2563

100 % 100 % 100 % 98.01 %

90

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (Le)

1 234 5

ร้อยละของอาคารควบคมุ นำ้ ในระบบส่งน้ำและใน 60 % 70 % 80 % 90 % 100 %
ระบบระบายนำ้ อยใู่ นสภาพพรอ้ มใช้งานดี

คา่ คะแนนทไี่ ด้ 4.801 คะแนน
กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

ร้ อยละของอาคารควบคุมนา้ ในระบบส่ งนา้ และในระบบระบ าย
นา้ ท่ีอยู่ในสภาพพร้ อมใช้ ได้ ดี

120

100 100 100 100 98.01
80 80 80 80 80

60 ปี 2 5 6 1 ปี 2 5 6 2 ปี 2 5 6 3 ร้อยละของจานวนอาคารชลประทาน ท่ีอยใู่ นสภาพ
พร้ อมใช้ งาน
40 คา่ มาตรฐาน

20 เชิงเส้น (ร้อยละของจานวนอาคารชลประทาน ท่อี ย่ใู น
สภาพพร้ อมใช้ งาน)
0
ปี 2 5 6 0 ปี 2 5 6 4

คำอธิบาย
1. เมือ่ เปรยี บเทียบกบั เกณฑ์มาตรฐานที่ รอ้ ยละ 80 ผลงานสูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน

2. แนวโนม้ ท่ีดีข้ึน เนือ่ งจากการไดร้ ับงบประมาณมาซอ่ มแซมบำรุงรักษา แตก่ ็ยังไม่ครบถว้ นต้องเน้นอาคาร

ที่ต้องซ่อมแซมเร่งดว่ นก่อน แต่ได้วางมาตรการป้องกันแลว้ โดยนำเขา้ ไปในกฎระเบยี บของกลุ่มผูใ้ ช้น้ำ การ
ประชาสัมพันธ์เน้นให้เกษตรกรที่อยู่ใกล้อาคารชลประทานต่างๆ เช่น ท่อส่งน้ำเข้านา ให้ช่วยกันสอดส่อง
ดูแลบำรุงรักษา ไม่ให้เกิดความเสียหาย หรือถูกลักขโมย เพื่อให้อาคารต่างๆพร้อมใช้งาน
มากที่สุด

91

ตัวชีว้ ัดที่ 9 ร้อยละของพื้นท่ีชลประทานที่มีการตงั้ กลุ่มผู้ใชน้ ำ้ ชลประทานพ้ืนฐาน
คำอธิบายตัวชี้วัด

เปน็ การวดั ถงึ โครงการส่งน้ำและบำรุงรกั ษา/โครงการชลประทาน หรือฝ่ายสง่ น้ำและบำรุงรักษา วา่ มี

การจดั ตง้ั กลุ่มผใู้ ชน้ ้ำชลประทานพื้นฐาน ครอบคลุมพ้ืนที่ชลประทานท่ีรับผิดชอบ

วิธีการเกบ็ ขอ้ มูล

รวบรวมข้อมลู พ้ืนท่ขี องกลุ่มผ้ใู ช้นำ้ ชลประทานพืน้ ฐานจากฐานข้อมลู องค์กรผ้ใู ชน้ ำ้ ชลประทานของ
โครงการฯ หรอื ฝ่ายส่งน้ำและบำรงุ รกั ษาที่กรอกขอ้ มูลในระบบออนไลน์

สตู รการคำนวณ

พ้ืนที่ของกลุ่มผ้ใู ชน้ ำ้ ชลประทานพน้ื ฐาน x 100
พืน้ ทช่ี ลประทาน

สถิติหรอื ข้อมูลที่จะนำมาคำนวณ

พน้ื ทขี่ องกลุ่มผ้ใู ชน้ ำ้ ชลประทานพืน้ ฐาน (ไร่) พื้นท่ชี ลประทานของฝ่ายส่งน้ำฯ (ไร)่

21,250 21,250

หมายเหตุ : ใหใ้ ส่ข้อมูลทัง้ หมด 4 ปี คอื ปีปัจจบุ นั และ 3 ปยี อ้ นหลงั

การคำนวณปี 2563
ร้อยละของพน้ื ท่ีของกลมุ่ ผู้ใช้น้ำชลประทานพน้ื ฐาน = (21,250X100) / 21,250= 100%

ขอ้ มูลย้อนหลงั (ไม่น้อยกวา่ 3 ปี) 2561 2562 2563
100% 100% 100%
2560
100%

92

ค่าคะแนนท่ีได้

ตวั ช้วี ัด ระดบั คะแนน
234
ร้อยละของพนื้ ท่ีชลประทานท่ีมีการตงั้ กลุ่ม 1 70 80 90 5
บรหิ ารการใชน้ ำ้ ชลประทานกลมุ่ เกษตรกรฯ 60 100
5 คะแนน
สมาคมฯ และสหกรณฯ์

คา่ คะแนนที่ได้

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

ร้ อยละของงานพัฒนาและเสริมสร้ างความเข้ มแข็งองค์ กร
ผู้ใช้ นา้ ท่ีแล้ วเสร็จตามแผนใน แต่ ละปี

120

100 100 100 100 100
80 80 80 80
60 80
ปี 2 5 6 1 ปี 2 5 6 2
40 ร้อยละของพนื ้ ทีช่ ลประทานท่มี ีการ 9 ตงั ้ กลมุ่ ผ้ใู ช้นา้ ชลประทาน
กลมุ่ เกษตรกรฯ สมาคมฯและสหกรณ์ฯ
20 คา่ มาตรฐาน
เชิงเส้น (ร้อยละของพนื ้ ทชี่ ลประทานทมี่ กี าร 9 ตงั ้ กลมุ่ ผ้ใู ช้นา้
0 ชลประทาน กลมุ่ เกษตรกรฯ สมาคมฯและสหกรณ์ฯ)
ปี 2 5 6 0 ปี 2 5 6 3

คำอธิบาย
1. เม่อื เปรียบเทยี บกับเกณฑ์มาตรฐานทีร่ อ้ ยละ 70 ผลงานสงู กว่าเกณฑ์มาตรฐาน
2. แนวโนม้ คงท่ี และสูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐานของกรมฯ และฝ่ายฯ จะได้รกั ษามาตรฐานในตวั ชีว้ ัดน้ีให้อยู่ในระดับ
ทีด่ ีตอ่ เนอื่ งและตอ่ ไป โดยมีแผนท่จี ะกระตุ้นฟื้นฟูกลมุ่ ให้มีความเข้มมากมากยิ่งข้นึ เร่ือย ใหส้ ามารถบรหิ ารจัดการ
ได้เองในทกุ เร่อื ง และพฒั นาองค์กรใหม้ ีระดบั สงู ขน้ึ และส่งเสรมิ งานนโยบายกระทรวงฯ


Click to View FlipBook Version