The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงการชลประทานมุกดาหาร (อันดับที่ 4 ประจำปี 2565)

โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Keywords: โครงการชลประทานมุกดาหาร,การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

บทสรุปสาหรับผ้บู ริหาร
การประเมินโครงการชลประทาน ประจาปี 2565 โครงการชลประทานมกุ ดาหาร โดยมงุ่ เนน้ นา

ศาสตร์พระราชา “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และพัฒนา มาประยกุ ตใ์ ช้” ในการประเมนิ ครง้ั นี้ ประกอบด้วย
1. สรุปขอ้ มลู องค์กร
2. หมวดท่ี 1 การนาองคก์ ร (เข้าใจ)
3. หมวดท่ี 2 การสรา้ งความสัมพนั ธ์ (เขา้ ถงึ )
4. หมวดท่ี 3 การบรหิ ารจดั การ (พัฒนา)
5. หมวดที่ 4 ผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน จานวน 12 ตัวชี้วดั

รูปท่ี ก - 1 เขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นา

โครงการชลประทานมุกดาหาร เป็นโครงการชลประทานในพ้ืนท่ีภาคอีสานด้านตะวันออกติด
แม่น้าโขง และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พ้ืนท่ีเป็นภูเขาสลับลูกเนินมีลุ่มน้าย่อย 5 สาย
ไหลลงแมน่ า้ โขง ฤดูแลง้ แล้งจดั ฤดูฝนเกดิ อุทกภัยเรว็ เพราะความลาดชันของลาห้วยลาดชัน ซึ่งมักจะเกิดขึ้น
บริเวณปากลาหว้ ยท้ัง 5 สาย หากฝนตกในพื้นท่ีมีความเข้มสูง ประกอบกับปริมาณน้าในแม่น้าโขงมีระดับสูง
แตจ่ ะท่วมขังอย่เู ปน็ เวลาไมน่ าน พชื ที่เพาะปลกู ส่วนใหญ่เปน็ ขา้ ว และพืชไร่ เชน่ มนั สาปะหลัง อ้อย ยางพารา
การปฏิบัติงานชลประทานจึงต้องประสานและปฏิบัติงานร่วมกับส่วนราชการระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
อีกหลายส่วน งานท่ีดาเนินการประกอบด้วย การวางแผน ควบคุม และกากับ การส่งน้าและบารุงรักษา
การระบายน้า การเก็บกักนา้ การบริหารจัดการน้า รวบรวมสถิติข้อมูลด้านอุตุ-อุทกวิทยา ติดตามตรวจสอบ
วิเคราะห์ปริมาณน้าที่ต้องส่งเข้าพ้ืนที่เพาะปลูก ประสานส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกพืชเศรษฐกิจ
เกษตรอินทรีย์ ตามแนวพระราชดาริ การบริหารจัดการน้าแบบบูรณาการ เป็นตัวแทนและประสาน
แผนปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวงฯและต่างกระทรวงฯ ให้กับสานักงานชลประทานที่ 7
ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานกับส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องตามท่ีได้รับมอบหมาย มีพ้ืนที่รับผิดชอบในเขต

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 1
โครงการชลประทานมุกดาหาร

จงั หวดั มุกดาหาร 7 อาเภอ พ้ืนท่ี 2,712,400 ไร่ เป็นท่ีการเกษตร 1.318 ล้านไร่ และเป็นพื้นที่ชลประทาน

0.050 ล้านไร่หรอื ร้อยละ 3.80 ของพื้นที่การเกษตร ซึง่ ต้องพัฒนาท้ังแหลง่ นา้ และระบบชลประทานอีกมาก

1. ข้อมูลทั่วไปของโครงการ
โครงการชลประทานมุกดาหารต้ังอยู่ที่ 60 โครงการชลประทานมุกดาหาร ตาบลมุกดาหาร

อาเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหารประมาณ 4 กิโลเมตร ปัจจุบันมี
นายไพฑูรย์ สุขต่าย เป็นผู้อานวยโครงการชลประทานมุกดาหาร มีบุคลากรท่ีปฏิบัติงาน จานวน 42 คน
แบ่งเป็น

- ข้าราชการ จานวน 12 คน
- ลูกจา้ งประจา จานวน 12 คน
- พนกั งานราชการ จานวน 18 คน

 โครงการชลประทานมุกดาหารมพี นื้ ที่ชลประทาน 49,720 ไร่

- อา่ งเก็บนา้ ขนาดกลางมพี ืน้ ทีช่ ลประทาน 27,681 ไร่

- อา่ งเก็บน้าโครงการพระราชดาริและปูองกนั ชายแดน มพี น้ื ทชี่ ลประทาน 22,039 ไร่
 มแี หลง่ น้าในความรบั ผิดชอบประกอบด้วย

- โครงการชลประทานขนาดกลาง 4 แห่ง ความจุ 54.67 ล้าน ลบ.ม.
- โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ และปอู งกันชายแดน 17 แห่ง มีความจุ 46.66 ลา้ น ลบ.ม.
ผลงานที่มคี วามโดดเดน่ ของโครงการชลประทานมกุ ดาหาร และ ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ
2.1 การบูรณาการในเชิงรุก ในการเป็นผู้นาในด้านการบริหารจัดการน้าของอาเภอต่างๆ โดยได้
นาหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น เกษตรจังหวัด พัฒนาท่ีดินจังหวัด ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
ตลอดจน นพค.24 เขา้ รว่ มประชมุ หารอื ในแต่ละอาเภอ เพ่ือจัดทาสมดุลน้าในระดับอาเภอ ให้เป็นแผนพัฒนา
ด้านแหล่งน้าของอาเภอนั้นๆ โดยในระดับอาเภอจะประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ส่วนท้องถ่ินและผู้รับผิดชอบ
ด้านแผนงานของอาเภอและ ด้านปูองกันภยั ของอาเภอ ซึ่งจะไดป้ ระชาสมั พันธแ์ ละสื่อสารข้อมูลข่าวสารอ่ืนๆ
เช่น จุดเฝูาระวังภัย จุดเสี่ยงเกิดภัย เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมในการปูองกันให้เกิดความเสียหาย
น้อยที่สุด และในแต่ละอาเภอได้กาหนดต้ังกลุ่มไลน์ “ติดตามน้า”ของอาเภอนั้น ๆ เพ่ือเป็นช่องทางในการ
ประสานงานและการส่ือสาร ทาให้ปัญหาข้อร้องเรียนลดน้อยลง และการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่างๆได้รับ
การบรู ณาการในการแก้ไขได้รวดเร็วขึน้
2.2 การจ้างเหมากลุ่มผู้ใช้นา้ ชลประทาน เน่ืองจากปัจจุบันอัตรากาลังของเจ้าหน้าท่ีชลประทาน
ลดลงอย่างต่อเนื่อง การประสานงานกับผู้ใช้น้าบางแห่งต้องใช้ลูกจ้างชั่วคราว ช่วยในการดาเนินงาน
การประสานงานและการส่ือสาร ไม่เป็นไปอย่างต่อเน่ือง จนโครงการชลประทานมุกดาหารได้กระตุ้น
ในเรื่องของกลุ่มผู้ใช้น้าชลประทาน เพ่ือให้เกิดความเข็มแข็งต่อเนื่อง ซ่ึงได้จัดให้มีการประชุมรวมทุกกลุ่ม
จานวน 19 กลุ่มผู้ใช้น้า ที่กระจายอยู่ในแต่ละอาเภอ ปีละ 2 ครั้ง คือ ช่วงก่อนฤดูนาปี และช่วงก่อนฤดูแล้ง

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 2
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เวทีสรุปผลการดาเนนิ งาน ตลอดจนแลกเปล่ียนประสบการณ์ให้กับกลุ่มผู้ใช้น้าด้วยกันเอง เพื่อจะ

ได้นาไปประยุกต์ใช้และแก้ไขปัญหาตามบริบทของกลุ่มตนเอง แต่สิ่งท่ีสาคัญและเป็นท่ียอมรับ

จากกลุ่มมากท่ีสุด คือการจ้างเหมากลุ่มผู้ใช้น้าตามแผนงาน 1 โครงการ 1 ล้านบาท แม้จะไม่ได้รับ

งบประมาณทุกกลุ่มในแต่ละปี แต่ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากทุกกลุ่มผู้ใช้น้า ที่จะนาไปพัฒนากลุ่ม

ของตนเอง ให้มีความเข็มแข็งและสามารถบริหารกลุ่มของตนเองได้ โดยมีเจ้าหน้าท่ีชลประทาน คอย

เปน็ พเี่ ลี้ยงทาใหไ้ มต่ ้องดาเนินการอบรมหรือประชุมเพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งของกลุ่มบ่อยครั้ง เจ้าหน้าที่

ชลประทานมีเครอื ขา่ ยในพ้ืนท่ีและสามารถดูแลได้ท่ัวถึง ส่วนกลุ่มผู้ใช้น้าเองได้มีการพัฒนาต่อยอด สามารถ

เข้าถึงแหล่งเงินทุน สามารถเป็นต้นแบบในด้านการทาเกษตรในพ้ืนท่ี ส่งผลให้เกษตรกรนอกชลประทานมี

ความสนใจต้องการและกระตือรือร้นท่ีจะให้มีงานพัฒนาแหล่งน้าและระบบชลประทานในพ้ืนท่ีมากขึ้น

เนื่องจากได้เล็งเห็นถงึ ความสาคัญของพ้นื ที่ในเขตชลประทาน และความมนั่ คงด้านแหล่งน้าเพื่อสนับสนุนการ

ผลิต และการรวมกลุ่ม
2.3 โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ โดยเฉพาะในเขตลุ่มน้าหว้ ยบางทรายตอนบน ต.กกตมู

อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร ซึ่งทาให้พ้ืนท่ีการเกษตรเกิดผลสัมฤทธิ์ กลายเป็นพ้ืนที่ตัวอย่าง ในหลายๆด้าน
ทาให้ราษฎรทีอ่ ยู่นอกเขตชลประทานมีความต้องการอยากให้พัฒนาขยายพ้ืนท่ีชลประทานมากขึ้นเน่ืองจาก
ได้เลง็ เหน็ ถงึ ผลประโยชนท์ ีจ่ ะไดร้ ับ ตามสิง่ ทีไ่ ดป้ ระจักษ์ดว้ ยสายตาในปจั จุบนั

2.4 งบประมาณกรมฯ ได้ให้การสนับสนนุ ในด้านพัฒนาแหลง่ นา้ ในพนื้ ท่ีของหนว่ ยงานต่างๆเชน่
สานกั งานพฒั นาแหลง่ น้าขนาดกลาง, โครงการพฒั นาแหล่งน้าขนาดเล็ก และโครงการชลประทานมกุ ดาหารที่
มงี านพฒั นาแหลง่ น้ากระจายอยู่ทั่วทง้ั จังหวัดทาใหเ้ กษตรกรมคี วามมัน่ ใจ เช่อื ใจในหนว่ ยงานกรมชลประทาน
ในการแกไ้ ขปัญหาและใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกษตรกรในพ้นื ใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรับในวงกว้าง

2.5 โครงการลุ่มนา้ ประชารัฐฯ โดยไดท้ าโครงการนาร่องที่ลาหว้ ยอีต่างตอนบน ต.บา้ นคอ้ อ.คาชะ
อซี ่งึ ทาใหเ้ กดิ ความร่วมมอื ร่วมใจกับทุกภาคสว่ นในการทาให้เกิดงานพัฒนาแหล่งน้า เพ่ือแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่
โดยเกษตรกรในพื้นที่เอง เปน็ การลดปัญหาขอ้ พิพาทในพืน้ ที่ และแก้ไขปัญหาได้ตรงตามความต้องการโดยใน
ปีนี้โครงการดังกล่าวได้รับสนับสนุนงบประมาณมาแล้ว 1 โครงการ ทาให้เกษตรกรเกิดความมั่นใจและมี
แนวคิดอยากพัฒนาในพื้นที่ชุมชนของตนเองมากขึ้น

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 3
โครงการชลประทานมุกดาหาร

สรุปขอ้ มูลองคก์ ร

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 4
โครงการชลประทานมุกดาหาร

1. พันธกจิ หรอื หน้าท่ตี ามกฎหมายของโครงการฯ และฝุายสง่ นา้

สานกั งานชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พ.ศ.2557 มหี น้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี

1. ดาเนนิ การบรหิ ารจัดการนา้ เพ่อื เกษตรกรรม การสาธารณูปโภคการอุตสาหกรรม

การคมนาคมทางนา้ การพลังงานและรักษาระบบนิเวศน์

2. ควบคุมและดาเนินการโครงการพัฒนาแหล่งน้าขนาดเล็ก โครงการอัน

เน่ืองมาจากพระราชดาริ และโครงการอื่นตามพ้ืนท่ีลุ่มน้าทีก่ รมมอบหมาย

3. วางแผน ควบคุม และประเมินผลการบริหารจัดการน้า

4. ดูแล บารุงรักษา ซ่อมแซม และปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเก่ียวกับงาน

ชลประทาน และดาเนินการเกี่ยวกบั ความปลอดภัยของเขือ่ น และอาคารประกอบ
5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและพัฒนาเสริมสร้างองค์กรผู้ใช้น้า

ชลประทานให้มคี วามเข้มแข็ง

6. ดาเนินการเกย่ี วกบั การปูองกนั ความเสยี หายอนั เกดิ จากนา้

7. ศึกษา จัดทารายงานเบื้องต้น สารวจและออกแบบโครงการชลประทาน และ

โครงการอ่นื ตามพื้นท่ลี ุ่มน้าตามทีก่ รมมอบหมาย

8. ควบคุมและกากับดูแลการใช้ท่ีราชพัสดุในส่วนท่ีกรมรับผิดชอบ ทางน้า

ชลประทานและการบรหิ ารทรพั ยส์ ินของกรม

9. บูรณาการแผนงานและยทุ ธศาสตรร์ ่วมกบั จังหวดั และส่วนราชการที่เกีย่ วข้อง

10. ใหค้ าปรกึ ษาในการบารุงรักษาอาคารชลประทานและภารกจิ ทถี่ า่ ยโอน

11. ปฏบิ ัตงิ านร่วมกบั หรอื สนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

โครงการชลประทาน ตามคาสั่งกรมชลประทาน ท่ี 60/2558 เร่ือง การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของ
(จังหวัด) หน่วยงานภายในสานักและกอง ส่ัง ณ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2558 มีหน้าที่และ

ความรบั ผดิ ชอบ ดงั น้ี

1. เป็นหน่วยงานทาหน้าที่แทนกรมชลประทาน ในระดับจังหวัด ดาเนินการ

ประสานงาน บูรณาการแผนงานด้านการบริหารจัดการน้าและพัฒนาแหล่งน้ากับ

หน่วยงานหรอื องคก์ รภาครฐั เอกชน ชุมชน เพื่อให้เกดิ ความรว่ มมือและผลสัมฤทธิ์ที่

กอ่ ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ประชาชน

2. วางแผน ควบคมุ ตรวจสอบ ประเมินผล การบริหารจดั การน้า การเก็บกัก ทดน้า

ส่งนา้ ระบายนา้ การรกั ษาระบบนเิ วศทางนา้ ชลประทาน การปูองกันภัยอันเกิดจาก

น้าในพื้นท่ีจังหวัดตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย เพื่อให้การบริหารจัดการน้ามี

ประสิทธิภาพตามเปาู หมาย

3. กากบั ดูแล การพจิ ารณาโครงการ สารวจ ออกแบบเบอ้ื งต้นงานชลประทาน เพื่อ

เตรียมความพร้อมโครงการให้ถูกหลักวิชาการ สอดคล้องกับนโยบายและความ

ถกู ต้องของผู้รบั บริการ

4. วางแผนงานและงบประมาณ ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง บารุงรักษา ระบบ

ชลประทาน ทางนา้ ชลประทาน อาคารประกอบ โครงการสบู นา้ ดว้ ยไฟฟูา โครงการ

ปูองกนั น้าเค็ม โครงการตามพระราชดาริ โครงการปอู งกันตนเอง (ปชด.) และ

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 5
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

โครงการ โครงการพเิ ศษอนื่ ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย เพ่อื ใหอ้ าคารและระบบชลประทานมีสภาพพรอ้ มใชง้ าน
ชลประทาน 5. กากบั ดูแล และควบคุมการบริหารงานทั่วไป ได้แก่ งานพัสดคุ รุภณั ฑ์ สินทรัพย์ งานธุรการและงานการเงิน
(จงั หวดั ) และบัญชี รวมทั้งเป็นหน่วยเบิกจ่ายให้กับหน่วยงานสังกัดกรมชลประทานในจังหวัด เพื่อให้การบริหารงาน
(ตอ่ ) ถกู ต้องสอดคลอ้ งกับกฎหมายและระเบียบของทางราชการที่เก่ียวข้อง

6. ตดิ ตาม ตรวจสอบ วเิ คราะห์ข้อมูลดา้ นอุตุ-อุทกวิทยา ข้อมลู น้าท่า น้าฝน ปริมาณน้าในอ่างเก็บน้า ฝายทด
นา้ และประตรู ะบายนา้ ข้อมลู ดา้ นการเกษตรและปริมาณน้าที่ส่งเข้าพ้ืนท่ีชลประทาน ข้อมูลด้านสารสนเทศ
ภมู ิศาสตร์และอนื่ ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง เพ่ือใช้เป็นขอ้ มลู ในการบรหิ ารจัดการน้า และปูองกันภัยอันเกิดจากน้าในเขต
จังหวัด และแจ้งให้จงั หวดั และหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องทราบ
7. จัดต้ัง พัฒนา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและให้ความรู้ แก่องค์กรผู้ใช้น้า เกษตรกร ยุวชลกร และประชาชน
รวมทั้งดาเนินการจัดการข้อร้องเรียน และข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่จังหวัด เพื่อเพ่ิมขีด
ความสามารถและความเขม้ แขง็ ของผ้ใู ชน้ า้ ทุกภาคส่วนในการบรหิ ารจดั การน้าชลประทานอยา่ งทวั่ ถงึ และเป็น
ธรรม
8. กากับ ควบคมุ ดแู ล ซ่อมแซม บารุงรักษา การใช้งานยานพาหนะ เครื่องจักรกล เครื่องกว้านบานระบาย
ระบบไฟฟูา ประปา โทรมาตร เครอื่ งจักรกลสบู นา้ เครอ่ื งมอื สื่อสารและระบบสารสนเทศของโครงการ เพอ่ื ให้
มีเครือ่ งจักรเคร่อื งมือมีความพร้อมสนับสนุนการใชง้ านได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
9. กากับดแู ล ควบคุมการกอ่ สร้างระบบสูบน้าควบคุมเคร่ืองจักรกลสูบน้า และส่งเสริมสนับสนุนด้านเทคนิค
วชิ าการในการพฒั นาซ่อมแซม บารุงรักษาเคร่ืองสูบน้าด้วยไฟฟูาพร้อมอุปกรณ์ ระบบไฟฟูาและระบบส่งน้า
รวมท้งั อาคารประกอบใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรสาหรับการอุปโภค-บริโภค
การเกษตร การปอู งกนั อทุ กภยั
10. ควบคุม กากับ ดูแลการใช้ท่ีราชพัสดุ และทางน้าชลประทานที่อยู่ในพื้นท่ีโครงการ เพ่ือให้ถูกต้องตาม
กฎหมายและระเบยี บทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
11. อานวยการ กากับ ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ ให้คาแนะนาในการจ้างเหมาและบริหารสัญญาการสารวจ
ออกแบบ ซ่อมแซม ปรับปรงุ รกั ษางานชลประทาน และอ่ืนๆทีโ่ ครงการชลประทาน(จังหวัด) ได้รับมอบหมาย
เพอื่ ใหเ้ ป็นไปตามรปู แบบรายการท่กี าหนดอย่างมคี ุณภาพแล้วเสร็จตามกาหนดเวลา
12. ให้คาแนะนา และเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับการบริหารจัดการน้า การซ่อมแซมบารุงรักษาอาคาร
ชลประทานให้แก่เกษตรกรผู้ใช้น้าและผู้เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีโครงการอย่างถูกต้องเหมาะสม เพ่ือให้การใช้น้ามี
ประสทิ ธิภาพสูงสุด
13. ปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง เพื่อให้ภารกิจของสา
นกั งานชลประทน กรมชลประทาน หรือภารกิจอื่นทไี่ ดร้ บั มอบหมายประสบผลสาเรจ็ ตามเปูาหมาย

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 6
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ฝ่ายสง่ นา้ ตามคาส่ังกรมชลประทาน ที่ 82/2558 เร่ือง การแบ่งงานและการกาหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบของ
และ สานกั งานชลประทานท่ี 1 – 17 สงั่ ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 มหี นา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบ ดงั นี้
บารงุ รักษา 1. วางแผน ควบคุม ดูแลการส่งน้าและการระบายนา้ การวางแผนการปลูกพชื และการบรหิ ารจดั การนา้ เพ่ือให้
สอดคลอ้ งกับปริมาณนา้ ตน้ ทนุ ท้ังในฤดฝู น-ฤดูแลง้ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
2. จัดทาประมาณการงานปรับปรงุ ซ่อมแซมและบารุงรักษาระบบชลประทาน งานพัฒนาแหล่งน้าขนาดเล็ก
โครงการสถานสูบนา้ ดว้ ยไฟฟูา โครงการพัฒนาอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ โครงการปูองกันและบรรเทาภัย
จากนา้ และโครงการพิเศษตา่ งๆ เพ่ือใหป้ ริมาณงานถกู ต้องตามแบบรปู รายการทางวิศวกรรมรวมท้ังกฎหมาย
และระเบยี บทเ่ี กี่ยวข้อง
3. บนั ทกึ รวบรวม ตรวจสอบ ข้อมลู ดา้ นอุทกวิทยาและอตุ นุ ยิ มวิทยา ความตอ้ งการใชน้ ้า เพอื่ ใช้ในการพัฒนา
แหล่งน้า บริหารจัดการน้า บรรเทา/แก้ไขปัญหาอุทกภัยและการขาดแคลนน้า ด้านการอุปโภค การเกษตร
และระบบนเิ วศน์ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. ดูแลทีร่ าชพสั ดแุ ละทางนา้ ชลประทานในเขตพ้ืนท่รี ับผดิ ชอบ เพอ่ื ใหเ้ กิดการใชพ้ ้ืนที่อย่างเหมาะสม ถูกต้อง
ตามกฎหมายและระเบียบ รวมทั้งไม่มผี ลกระทบตอ่ งานชลประทาน
5. สารวจ ตรวจสอบสภาพความเข้มแข็ง ม่ันคง ปลอดภัยของเข่ือนและอาคารชลประทานเบื้องต้น เพื่อ
รายงานสภาพความพร้อมใช้งานของอาคารชลประทาน
6. ดาเนนิ การและควบคุมการก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซม บารุงรักษาอาคารชลประทานและบารุงรักษาทาง
ชลประทานในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ เพื่อให้การดาเนินการก่อสร้าง ปรับปรุง บารุงรักษาถูกต้องตามหลัก
วชิ าการและเปาู หมายของโครงการ
7. ประสานงานและร่วมดาเนินการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้า จัดฝึกอบรมและให้คาแนะนาแก่กลุ่มผู้ใช้น้าฯ
คณะกรรมการจัดการชลประทาน (JMC) ยุวชลกร อาสาสมคั รชลประทาน ใหเ้ รยี นรู้การใช้น้าชลประทานและ
บารงุ รกั ษาระบบชลประทานในเขตพน้ื ทีร่ ับผิดชอบอย่างถูกวิธี เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วม และเสริมสร้างความ
เขม้ แขง็ ของผูใ้ ช้นา้
8. ดาเนนิ การงานก่อสร้างสถานสบู น้าด้วยไฟฟูา ควบคุมเครื่องจักรสูบน้าด้วยไฟฟูาพร้อมอุปกรณ์ สนับสนุน
ดา้ นเทคนิควิชาการในการพัฒนาซ่อมแซม บารงุ รกั ษาเครอ่ื งสูบน้าด้วยไฟฟูาพร้อมอุปกรณ์ ระบบไฟฟูา และ
ระบบส่งนา้ รวมทั้งอาคารประกอบให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรสาหรับอุปโภค-
บริโภค การเกษตร การปอู งกันอุทกภัย
9. ปฏิบัตงิ านรว่ มกับหรอื สนบั สนุนการปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอน่ื ที่เก่ียวขอ้ งหรอื ได้รบั มอบหมาย เพอื่ ให้การ
ดาเนนิ งานเป็นไปตามเปาู หมาย

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 7
โครงการชลประทานมุกดาหาร

แผนภมู ิโครงสรา้ งองคก์ รโครงการชลประทานมกุ ดาหาร

รูปท่ี ข-1 แผนภูมโิ ครงสรา้ งองคก์ รโครงการชลประทานมกุ ดาหาร

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หน้า 8
โครงการชลประทานมุกดาหาร

การวิเคราะหส์ ภาวะแวดลอ้ ม

จังหวดั มุกดาหาร ประกอบดว้ ยลุม่ น้าย่อยจานวน 5 ลมุ่ น้า ไดแ้ ก่ ล่มุ นา้ โขงส่วนท่ี 9(ห้วยชะโนด) ลมุ่
นา้ ห้วยบางทราย ลุ่มนา้ หว้ ยมกุ ล่มุ นา้ ห้วยบงั อี่ และลมุ่ นา้ โขงตอนลา่ งมีพืน้ ที่ลมุ่ นา้ รวม 4,287 ล้านไร่เปน็
พ้นื ทป่ี าุ 7.34 ลา้ นไร่ พน้ื ทก่ี ารเกษตร 1.318 ล้านไร่ ท่เี หลอื เป็นพ้นื ท่ีเมอื งและอืน่ ๆซง่ึ สามารถวเิ คราะห์
สภาวะแวดลอ้ มของภาคตะวนั ออกได้ดังน้ี

1.1 ผลการวิเคราะห์จดุ แขง็ (Strength)

- พ้นื ทล่ี มุ่ นา้ ทั้ง 5 ลุม่ นา้ มปี รมิ าณน้าฝนเฉล่ยี รายปีสูง ปริมาณน้าท่าจานวนมาก

- บคุ ลากรของโครงการชลประทานมุกดาหาร มีความรคู้ วามสามารถและความเช่ยี วชาญ
การวิเคราะหแ์ ละดาเนินการบรหิ ารจัดการตามยทุ ธศาสตร์ได้

- พื้นทจ่ี ังหวัดมกุ ดาหารเป็นพน้ื ที่ทม่ี ีศกั ยภาพในการพัฒนาแหล่งนา้ โครงการชลประทาน
ขนาดต่างๆได้เปน็ จานวนมาก

- โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการนาระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ และแผนที่
Agri-Map มาใช้ได้

- จงั หวัดมุกดาหารเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วสาคัญของประเทศ
- รัฐบาลกาหนดให้จงั หวัดมกุ ดาหารเป็นเขตเศรษฐกจิ พิเศษ
- พ้ืนทีบ่ ริเวณรมิ แมน่ า้ โขง สามารถนาน้ามาใชไ้ ด้ทัง้ ปี
- มกี ารบูรณาการทดี่ ีทางดา้ นยทุ ธศาสตร์ร่วมกบั หวั หนา้ สว่ นราชการต่างๆในระดบั จงั หวัด
- มีการบรหิ ารจดั การนา้ ตามปริมาณน้าต้นทุนของพ้นื ทชี่ ลประทานทง้ั 21 อา่ งฯ ได้ตลอด

ฤดกู าล
- มกี ารบรู ณาการในการบรหิ ารจัดการน้าร่วมกบั สมาคม กลุ่มผุใ้ ชน้ า้ เกษตรกร และสว่ น

ราชการทเี่ ก่ยี วข้องในพนื้ ทไี่ ดเ้ ป็นอย่างดี
- มีความเชอื่ มน่ั และไวว้ างใจจากสปป.ลาว ในการพัฒนาแหลง่ นา้ เพอ่ื การเกษตร
- สามารถเชื่อมโยงความสมั พนั ธไมตรีกบั ตา่ งประเทศ โดยจัดอบรมให้ความรู้ด้าน

ชลประทานใหก้ ับ สปป.ลาว
- เจ้าหน้าที่โครงการชลประทานมกุ ดาหาร มีการประชุมระดมความคิดเห็น เพอื่ วางแผน

และแกไ้ ขปญั หาร่วมกนั
- โครงการพฒั นาลุ่มนา้ ห้วยบางทรายตอนบนอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ เป็นแหลง่

เรยี นรใู้ นด้านแนวทางตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หน้า 9
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

- กลุม่ เกษตรกรมคี วามรู้ความสามารถในการเผยแพรข่ ้อมูลโครงการพัฒนาลมุ่ นา้ ห้วยบาง
ทรายตอนบนอันเนือ่ งมาจากพระราชดารแิ กก่ ล่มุ เกษตรรายอ่นื ๆและสาธารณะชนได้

1.2 ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness)
- พ้นื ที่จงั หวดั มุกดาหารไม่เหมาะสมในการพัฒนาแหลง่ น้าขนาดใหญ่
- ลานา้ มีลักษณะลาดชันสงู เปน็ อปุ สรรคตอ่ การเก็บนา้ ไมเ่ ต็มศักยภาพ
- การเพ่มิ พนื้ ทีช่ ลประทานตอ้ งใช้ระบบท่อทมี่ ตี ้นทนุ สงู
- บคุ ลากรมีจานวนจากัด จึงไม่สามารถบรหิ ารจัดการน้าได้อยา่ งเตม็ ที่
- เครอื ขา่ ยเทคโนโลยีในการติดตอ่ สือ่ สารยงั ไมค่ รอบคลมุ ท่วั ทั้งจงั หวดั
- เครอ่ื งมือในการบริหารจัดการน้า และการกอ่ สร้าง ในการพฒั นาแหลง่ น้าไมเ่ พยี งพอ
- ขาดความต่อเน่อื งในการถ่ายทอดงานจากรุน่ สู่รุ่น
- โครงการชลประทานมุกดาหาร มบี คุ ลากรในการสร้างความเข้าใจด้านการพฒั นาแหล่งน้า
แกช่ ุมชนไมเ่ พียงพอกับความต้องการ
- ไม่มรี ะบบในการจัดเกบ็ ข้อมลู ทดี่ ีพอ

1.3 ผลการวเิ คราะห์โอกาส (Opportunities)

- นโยบายรฐั บาลสนับสนุนใหม้ กี ารพัฒนาอาชพี ด้านต่างๆ

- นโยบายรัฐบาลสนบั สนุนการค้าเสรี AEC ตามแนวชายแดน

- นโยบายรฐั บาลสนบั สนุนการจดั โซนน่งิ ภาคการเกษตร (เกษตรแปลงใหญ่)

- จังหวัดมกุ ดาหารมีแหลง่ เก็บกกั นา้ ไม่เพียงพอสาหรับรองรับการเจรญิ เติบโตเขตพืน้ ที่
เศรษฐกิจพเิ ศษ

- มกี ารแต่งตง้ั คณะกรรมการเข้ามาดูแลบรหิ ารจัดการน้าอย่างมีระบบ

- มีการจัดทาแผนแบบบรู ณาการทงั้ หน่วยงานภาครฐั และเอกชน

- ประชาชนและผูน้ าทอ้ งถ่นิ ในจงั หวดั ใหค้ วามสนใจและร่วมมอื ในการพฒั นาแหล่งน้า

- จงั หวัดมุกดาหารมีพ้ืนที่ชลประทานน้อยเมือ่ เทยี บสัดส่วนกบั พ้ืนท่ีภาคการเกษตร

- จงั หวัดมุกดาหารให้ความสาคญั ในดา้ นการบริหารจดั การน้าและการพฒั นาแหลง่ น้า

- มีแม่นา้ โขง เป็นแม่สาคัญในการสง่ เสรมิ อาชีพและพฒั นาการเกษตร

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ หนา้ 10
โครงการชลประทานมุกดาหาร

1.4 ผลการวเิ คราะหอ์ ุปสรรค (Threat)
- นโยบายในการพัฒนาแหลง่ น้าไมแ่ น่นอนและขาดความตอ่ เนอ่ื ง
- จังหวดั มุกดาหาร ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณไมเ่ พยี งพอกบั ศกั ยภาพและความต้องการใน
การพัฒนาแหล่งน้า
- จงั หวดั มุกดาหาร ให้ความสาคญั กับการพัฒนาแหล่งนา้ แต่ราษฎรยังไมใ่ หก้ ารสนบั สนนุ
เรื่องทีด่ ินเทา่ ท่ีควร
- มีการบกุ รุกท่สี าธารณะประโยชนท์ าใหก้ ารพฒั นาแหลง่ น้ามคี วามยากยง่ิ ข้นึ
- มีความแปรปรวนของสภาพภมู ิอากาศ
- ขาดการบรู ณาการทางข้อมูลระหว่างหนว่ ยงานอย่างเปน็ ธรรม
- ขาดระบบขอ้ มูลในรปู แบบของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
- มีขอ้ จากดั ในการใช้ลมุ่ น้านานาชาติ
- มีขอ้ กาหนดในด้านกฎหมายการใชท้ ่ีดิน เพือ่ การพัฒนาแหล่งนา้

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 11
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

2. วิสัยทัศน์ เปูาประสงคห์ ลัก ค่านยิ ม และวฒั นธรรมของสว่ นราชการหรอื ของโครงการฯ

วิสยั ทัศน์ โครงการชลประทานมุกดาหาร เปน็ หน่วยงานย่อยของกรมชลประทาน
พนั ธกิจ จึงถือวิสัยทัศน์ของกรมชลประทานเป็นหลักในการทางาน เพื่อให้
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สอดคล้องและเป็นไปตามนโยบายของกรมชลประทาน
"กรมชลประทานเป็นองค์กรอัจฉริยะ ที่มุ่งสร้างความม่ันคงด้านน้า
คา่ นิยม (Water Security) เพ่อื เพิ่มคณุ คา่ การบรกิ าร ภายในปี 2580"
วฒั นธรรมองคก์ ร 1. พัฒนาแหล่งน้าและเพ่ิมพ้ืนที่ชลประทานตามศักยภาพของลุ่มน้าให้
เกดิ ความสมดุล
2. บรหิ ารจัดการนา้ อยา่ งบูรณาการใหเ้ พียงพอ ท่วั ถงึ และเป็นธรรม
3. ดาเนินการปูองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้าตามภารกิจอย่าง
เหมาะสม
4. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาแหล่งน้า และการ
บริหารจัดการน้า
1. การพฒั นาแหล่งนา้ และเพิ่มพ้ืนท่ีชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุ่มน้า
(Basin-based Approach)
2. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้าอย่างบูรณาการ ตาม
วัตถุประสงคก์ ารใช้นา้
3. การปอู งกนั ความเสียหายและสนบั สนนุ การบรรเทาภยั อันเกดิ จากน้า
4. การเสริมอานาจประชาชนในระดับพื้นท่ี (Empowering) การสร้าง
เครือข่าย และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในงานบริหารจัดการน้า
ชลประทาน (Networking Collaboration Participation)
5. การปรับเปลี่ยนสู่องค์กรอัจฉริยะ (Turnaround to Intelligent
Organization)
WATER for all
Work Smart : เกง่ งาน เกง่ คิด
Accountability : รบั ผดิ ชอบงาน
Teamwork & Networking : ร่วมมอื ร่วมประสาน
Expertise : เชี่ยวชาญงานท่ีทา
Responsiveness : นาประโยชน์สู่ประชาชน
“เช่ยี วชาญเรอ่ื งน้าทางานมมี าตรฐาน บรู ณาการเพ่อื ประชาชน”
กรมชลประทาน พัฒนาแหล่งน้าและบริหารจัดการน้า ด้วยความเชี่ยวชาญ
อย่างมืออาชีพ ปฏิบัติงานด้วยระบบงานมาตรฐานอันทันสมัย ใส่ใจการมี
สว่ นรว่ มของประชาชนทกุ ภาคสว่ น เพ่ือขับเคล่ือนองค์กรสู่ความสาเร็จอย่าง
ม่ันคง

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ หน้า 12
โครงการชลประทานมุกดาหาร

แผนทีย่ ุทธศาสตรก์ รมชลประทาน

รปู ที่ ข-2 แผนทีย่ ุทธศาสตรก์ รมชลประทาน พ.ศ.2561 – 2580

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ หน้า 13
โครงการชลประทานมุกดาหาร

รปู ที่ ข-3 Roadmap ยทุ ธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หนา้ 14
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

รูปที่ ข-4 หลกั คดิ และหลักปฏบิ ตั ิของอธิบดีกรมชลประทาน หนา้ 15

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

รูปท่ี ข-5 คา่ นิยมกรมชลประทาน หน้า 16

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ
โครงการชลประทานมุกดาหาร

3. โครงการชลประทานมกุ ดาหาร จงั หวัดมุกดาหาร สานกั งานชลประทานที่ 7
4. ท่ีตง้ั หวั งานของโครงการชลประทานมกุ ดาหาร เลขที่ 60 ตาบลมุกดาหาร อาเภอเมอื งมุกดาหาร

จังหวดั มุกดาหาร รหัสไปรษณีย์ 49000 โทรศพั ท์ 042-611568-9
5. รายละเอียดแหลง่ น้าในเขตรับผดิ ชอบ
ตารางที่ ข-1 ตารางแสดงอ่างเกบ็ น้าขนาดกลาง และโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ

ขอ้ มลู แหลง่ ในเขตชลประทานมกุ ดาหาร

อ่างเก็บนา้ ขนาดกลางและโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชด้าริ โครงการชลประทานมกุ ดาหาร สา้ นกั งานชลประทานที่ 7

ลาดบั จังหวดั อาเภอ ตาบล พกิ ดั ปรมิ าณนา้ เกบ็ กกั พ้ืนที่ (ไร)่ หมายเหตุ
โครงการ ลุ่มน้าหลัก ประเภทโครงการ
E N Zone (ล้าน ลบ.ม.) ชป.
ที่

1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยข้ีเหลก็ มกุ ดาหาร นิคมคาสร้อย นิคมคาสรอ้ ย 454274 1808633 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 26.75 10,025 สบ.1

2 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยชะโนด มกุ ดาหาร ดงหลวง หนองบัว 452863 1859159 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 18.40 16,000 สบ.2

3 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยคนั แทใหญ่ มกุ ดาหาร คาชะอี คาชะอี 429879 1827734 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 4.62 - สบ.3

4 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยมกุ มกุ ดาหาร คาชะอี นา้ เที่ยง 436537 1831477 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 4.90 1,656 สบ.3

5 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยไผ่ มกุ ดาหาร ดงหลวง กกตมู 414156 1844772 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 12.80 1,600 สบ.3

6 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยพ(ุ ห้วยแข)้ มกุ ดาหาร ดงหลวง กกตมู 413463 1850607 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 4.50 3,000 สบ.3

7 อา่ งเกบ็ น้าห้วยพงุ มกุ ดาหาร ดงหลวง กกตมู 408964 1855467 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 4.00 1,405 สบ.3

8 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหินลบั มกุ ดาหาร ดงหลวง หนองแคน 445483 1855465 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 4.00 1,700 สบ.2

9 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยไร่ มกุ ดาหาร ดงหลวง หนองแคน 442551 1857715 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 2.80 1,500 สบ.2

10 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยทา มกุ ดาหาร ดงหลวง กกตมู 417960 1847802 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 2.23 1,200 สบ.3

11 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยหอย มกุ ดาหาร ดงหลวง กกตมู 410234 1851708 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 2.00 1,300 สบ.3

12 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยตะไถ มกุ ดาหาร ดงหลวง กกตมู 412096 1857081 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 0.83 400 สบ.3

13 อา่ งเกบ็ น้าบ้านสานแว้ มกุ ดาหาร ดงหลวง กกตมู 410167 1853186 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 0.54 500 สบ.3

14 อา่ งเกบ็ น้าห้วยแคน มกุ ดาหาร ดงหลวง หนองแคน 438545 1848943 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 2.10 750 สบ.2

15 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยขาหน้า มกุ ดาหาร ดงหลวง พงั แดง 433917 1852706 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 1.70 1,300 สบ.2

16 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยไร่ 2 มกุ ดาหาร เมอื ง ดงมอน 445723 1849510 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 2.68 3,284 สบ.3

17 อา่ งเกบ็ นา้ ห้วยสงิ ห์ มกุ ดาหาร เมอื ง นาสนี วน 475226 1820915 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 0.74 800 สบ.3

18 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหมากไฟ มกุ ดาหาร เมอื ง โพนทราย 459744 1841080 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 1.50 800 สบ.3

19 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหินลาด มกุ ดาหาร เมอื ง ดงเย็น 460167 1808432 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 1.35 - สบ.3

20 อ่างเก็บนา้ หว้ ยข้ีเหล็กตอนบน มกุ ดาหาร ดอนตาล นาสะเมง็ 477216 1797140 48 โขง อา่ งเกบ็ นา้ 1.20 1,000 สบ.1

21 อา่ งเกบ็ นา้ ถา้ ไมด้ ู่ มกุ ดาหาร คาชะอี คาชะอี 429672 1826079 48 โขง อา่ งเกบ็ น้า 1.70 1,500 สบ.3

รวม 101.34 49,720

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 17
โครงการชลประทานมุกดาหาร

6. โครงการชลประทานมุกดาหาร ประกอบด้วยฝุายส่งนา้ และบารงุ รักษา จานวน 3 ฝุาย

รปู ที่ ข-6 แผนที่โครงการส่งนา้ และบารุงรกั ษา 1-3 คป.มกุ ดาหาร

7. ปรมิ าณนา้ ตน้ ทนุ (ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้าต้นทุน หมายเหตุ
(ลา้ น ลบ.ม.)
ท่ี โครงการ 101.34
27.95
โครงการชลประทานมุกดาหาร 29.00
1. ฝาุ ยส่งน้าและบารงุ รักษาที่ 1 44.39
2. ฝาุ ยสง่ น้าและบารงุ รกั ษาที่ 2
3. ฝาุ ยส่งน้าและบารุงรักษาท่ี 3

8. ปรมิ าณน้าผ่านสงู สดุ ของโครงการฯและฝุายสง่ น้าและบารุงรกั ษา (ลบ.ม./วินาท)ี

ที่ โครงการ/ฝาุ ยสง่ นา้ ฯ ปรมิ าณน้าผ่านสูงสุด หมายเหตุ
(ลบ.ม./วินาท)ี

โครงการชลประทานมุกดาหาร 380.88

1. ฝาุ ยส่งน้าและบารงุ รกั ษาท่ี 1 62.56

2. ฝาุ ยส่งนา้ และบารุงรกั ษาที่ 2 255.86

3. ฝาุ ยส่งน้าและบารงุ รกั ษาที่ 3 380.88

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หนา้ 18
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

9. พ้นื ทโี่ ครงการชลประทานมกุ ดาหาร และพน้ื ที่ชลประทาน (ไร)่

ที่ โครงการฯ/ฝุายส่งนา้ ฯ พ้นื ท่ี (ไร่) หมายเหตุ
โครงการฯ ชลประทาน

โครงการชลประทานมุกดาหาร 54,459 49,720

1. ฝุายสง่ นา้ และบารงุ รกั ษาท่ี 1 11,025 11,025

2. ฝุายสง่ นา้ และบารงุ รักษาท่ี 2 22,795 21,250

3. ฝาุ ยส่งนา้ และบารงุ รักษาที่ 3 20,639 17,445

10. คลองสง่ นา้ คลองระบายนา้ และอาคารประกอบ

ความยาวคลอง (กม.) อาคาร หมาย
ประกอบ เหตุ
ท่ี โครงการฯ/ฝาุ ยสง่ นา้ ฯ คลองสง่ น้า คลอง (แหง่ )
ระบาย 1,485

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 214.914 - 294
519
1. ฝาุ ยสง่ น้าและบารุงรกั ษาท่ี 1 52.593 - 672

2. ฝุายส่งน้าและบารุงรักษาท่ี 2 79.987 -

3. ฝุายส่งน้าและบารุงรกั ษาท่ี 3 87.614 -

11. ระบบจดั รูปทดี่ ิน

ระบบจัดรูปทด่ี นิ อาคาร

ที่ โครงการฯ/ฝุายสง่ นา้ ฯ คสู ง่ นา้ ครู ะบายน้า ชลประทาน หมายเหตุ

จานวน ความยาว จานวน ความยาว (แหง่ )
(สาย) (กม.) (สาย) (กม.)

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร - - - - -

1. ฝาุ ยส่งนา้ และบารุงรักษาที่ 1 - - - - -

2. ฝาุ ยส่งน้าและบารงุ รักษาท่ี 2 - - - - -

3. ฝุายส่งน้าและบารุงรกั ษาที่ 3 - - - - -

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 19
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

12. ระบบคันคนู า้

ระบบคันคนู า้ อาคาร
ชลประทาน
ที่ โครงการฯ/ฝุายส่งน้าฯ คสู ่งนา้ ครู ะบายนา้ หมายเหตุ
(แห่ง)
จานวน ความยาว จานวน ความยาว
-
(สาย) (กม.) (สาย) (กม.) -
-
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 202 110.65 - - -

1. ฝาุ ยส่งน้าและบารุงรกั ษาท่ี 1 105 60.80 - -

2. ฝุายส่งน้าและบารุงรกั ษาที่ 2 97 49.85 - -

3. ฝุายส่งนา้ และบารงุ รักษาที่ 3 105 55.65 - -

13. แผนทค่ี ลองสง่ น้าและอาคารชลประทาน
แผนทีค่ ลองส่งนา้ และอาคารชลประทานของโครงการสง่ นา้ และบารงุ รกั ษา/โครงการชลประทาน และ
ฝุายสง่ น้าและบารุงรกั ษา (Schematic Diagram)

รูปที่ ข-7 Schematic Diagram ของอ่างเก็บนา้ หว้ ยชะโนด หน้า 20

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ
โครงการชลประทานมุกดาหาร

14. ข้อมูลดา้ นอุตุ-อุทกวทิ ยา

สถานีอตุ ุ-อุทกวิทยา

ท่ี โครงการฯ/ฝุายส่งนา้ ฯ สถานวี ัดนา้ ฝน สถานวี ดั การระเหย หมายเหตุ
จานวน ปรมิ าณฝนเฉลีย่ จานวน อตั ราการระเหย

(แหง่ ) (มม./ปี) (แหง่ ) (มม./ป)ี

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 5 1,548.43 - -

1. ฝุายส่งนา้ และบารงุ รกั ษาท่ี 1 1 1,415.80 - -

2. ฝาุ ยส่งน้าและบารงุ รกั ษาท่ี 2 2 1,614.00 - -

3. ฝาุ ยส่งน้าและบารงุ รักษาท่ี 3 2 1,615.50 - -

15. การปลกู พชื และผลผลิตของเกษตรกร (แยกตามชนดิ พชื หลกั เช่น ขา้ ว ข้าวโพด ออ้ ย ฯลฯ)

ที่ โครงการฯ/ฝาุ ยส่งนา้ ฯ ชนดิ พืช พ้ืนท่ี ปรมิ าณ ผลผลิต มลู คา่ หมาย
เพาะปลูก นา้ ท่ีใช้ รวม (ล้าน เหตุ
(ลา้ น (ตัน) บาท)
(ไร่) ลบ.ม.)

ขา้ ว 25,997 32.6 21,059 315.92

พชื ไร่ 786 8.58 - -

พชื ผกั 350 1.50 - -

ชป.มุกดาหาร (ฤดฝู น) อ้อย 217 1.80 720 2
ไม้ผล 428 2.00 - -

ไม้ยนื ตน้ 5,392 2.30 - -

บอ่ ปลา 648 2.52 - -

อน่ื ๆ(มันสาปะหลงั ,ถั่ว) 10 1.10 - -

ขา้ ว 0 0.00 0.00 0.00

พชื ไร่ 254 8.95 - -

พืชผกั 184 9.98 - -

ชป.มุกดาหาร (ฤดูแล้ง) อ้อย 165 6.57 584 3
ไม้ผล - 9.20 - -

ไมย้ นื ต้น - 11.98 - -

บอ่ ปลา - 9.25 - -

อื่นๆ(มนั สาปะหลัง,ถ่วั ) 0 0.00 - -

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 21
โครงการชลประทานมุกดาหาร

15. การปลูกพืชและผลผลติ ของเกษตรกร (แยกตามชนดิ พชื หลัก เช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย ฯลฯ)

(ต่อ)

โครงการฯ/ฝุายสง่ นา้ ฯ ชนิดพืช พ้นื ท่ี ปรมิ าณ ผลผลิต มลู คา่ หมาย
เพาะปลกู นา้ ท่ีใช้ รวม (ลา้ น เหตุ
(ล้าน (ตนั ) บาท)
(ไร)่ ลบ.ม.)

ข้าว 8,410 10.28 4,300 64.51

พชื ไร่ 56 3.99 - -

พืชผกั 350 1.50 - -

ฝุายส่งนา้ และบารงุ รกั ษาที่ ออ้ ย 190 0.77 300 1
1 (ฤดฝู น) ไมผ้ ล -
356 0.75 -

ไมย้ ืนต้น 513 0.76 - -

บ่อปลา 119 0.98 - -

อื่นๆ(มันสาปะหลัง,ถ่ัว) 0 0.00 - -

ขา้ ว 0 0.00 - -

พืชไร่ 0 0.00 - -

พชื ผัก 0 0.00 - -

ฝาุ ยสง่ น้าและบารงุ รกั ษาที่ ออ้ ย 0 0.00 - -
1 (ฤดแู ล้ง) ไมผ้ ล 0 6.02 - -

ไม้ยืนต้น 0 4.25 - -

บ่อปลา 0 4.23 - -

อนื่ ๆ(มันสาปะหลงั ,ถว่ั ) 0 0.00 - -

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 22
โครงการชลประทานมุกดาหาร

15. การปลูกพชื และผลผลติ ของเกษตรกร (แยกตามชนดิ พืชหลัก เช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย ฯลฯ)

(ต่อ)

โครงการฯ/ฝุายสง่ น้าฯ ชนดิ พชื พืน้ ที่ ปริมาณ ผลผลิต มลู ค่า หมาย
เพาะปลูก น้าทีใ่ ช้ รวม (ลา้ น เหตุ
(ล้าน (ตนั ) บาท)
(ไร)่ ลบ.ม.)

ข้าว 11,342 9.91 11,133 167.01

พืชไร่ 300 2.29 - -

พืชผกั 0 0.00 - -

ฝาุ ยส่งน้าและบารุงรักษาที่ อ้อย 0 0.00 - -
2 (ฤดูฝน) ไม้ผล 8 0.65 - -

ไมย้ ืนต้น 1,789 0.89 - -

บอ่ ปลา 280 1.02 - -

อ่ืนๆ(มันสาปะหลงั ,ถ่ัว) 0 0.00 - -

ข้าว 0 0.00 - -

พชื ไร่ 107 2.56 - -

พืชผัก 28 5.56 - -

ฝาุ ยสง่ นา้ และบารงุ รกั ษาท่ี อ้อย 117 3.02 65 1
2 (ฤดูแล้ง) ไมผ้ ล 0 1.36 - -

ไมย้ นื ต้น 0 2.65 - -

บ่อปลา 0 2.37 - -

อ่ืนๆ(มันสาปะหลัง,ถ่ัว) 0 0.00 - -

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ หนา้ 23
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

15. การปลูกพืชและผลผลติ ของเกษตรกร (แยกตามชนิดพืชหลัก เช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย ฯลฯ)

(ต่อ)

โครงการฯ/ฝาุ ยส่งน้าฯ ชนิดพืช พ้นื ท่ี ปรมิ าณ ผลผลิต มูลคา่ หมาย
เพาะปลกู น้าทใ่ี ช้ รวม (ลา้ น เหตุ
(ลา้ น (ตนั ) บาท)
(ไร)่ ลบ.ม.)

ข้าว 6,245 12.41 5,626 84.40

พชื ไร่ 430 2.30 - -

พชื ผกั 0 0.00 - -

ฝุายส่งนา้ และบารงุ รกั ษาที่ อ้อย 27 1.03 420 1
3 (ฤดฝู น) ไมผ้ ล
64 0.60 - -

ไมย้ ืนตน้ 3,090 0.65 - -

บอ่ ปลา 249 0.52 - -

อื่นๆ(มันสาปะหลัง,ถว่ั ) 10 0.30 - -

ข้าว 0 0.00 - -

พืชไร่ 147 6.39 - -

พชื ผัก 156 4.42 - -

ฝาุ ยส่งน้าและบารุงรกั ษาที่ ออ้ ย 48 3.55 230 1
3 (ฤดูแล้ง) ไมผ้ ล
0 1.82 - -

ไมย้ ืนต้น 0 5.08 - -

บ่อปลา 0 2.65 - -

อนื่ ๆ(มนั สาปะหลงั ,ถ่ัว) 0 0.00 - -

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 24
โครงการชลประทานมุกดาหาร

16. ปรมิ าณนา้ ท่ใี ชใ้ นการเพาะปลูกพืชทง้ั หมด

ที่ โครงการฯ/ฝาุ ยสง่ นา้ ฯ ปริมาณน้าท่ีใชใ้ นการเพาะปลูกพืช (ล้าน ลบ.ม.) รวม (ล้าน หมายเหตุ

ฤดฝู น ฤดแู ลง้ ลบ.ม.)

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 52.40 55.93 108.33

1. ฝุายสง่ นา้ และบารุงรกั ษาท่ี 1 13.00 14.50 27.50

2. ฝาุ ยส่งนา้ และบารุงรกั ษาท่ี 2 18.10 19.02 37.12

3. ฝุายสง่ นา้ และบารุงรกั ษาท่ี 3 21.30 22.41 43.71

17. กจิ กรรมการใชน้ ้า

ท่ี โครงการฯ/ฝุายสง่ นา้ 1 2 กจิ กรรมการใชน้ ้า (ล้านลบ.ม./ปี)
3 4 5 6 7 8 9 10 11

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 0.57 108.33 3.29 - - - - - - - -

1. ฝาุ ยสง่ นา้ และบารงุ รักษาที่ 1 0.13 27.50 0.87 - - - - - - - -

2. ฝาุ ยส่งน้าและบารุงรกั ษาที่ 2 0.13 37.12 0.91 - - - - - - - -

3. ฝาุ ยสง่ นา้ และบารุงรักษาที่ 3 0.31 43.71 1.51 - - - - - - - -

หมายเหตุ : กิจกรรมการใชน้ ้าประเภทตา่ งๆ

(1) เพ่อื การอุปโภคบรโิ ภค (5) เพ่ือการบรรเทาสารธารณภัย (9) เพ่ือการพลงั งานไฟฟาู

(2) เพื่อการเกษตรกรรมหรือการเลี้ยงสตั ว์ (6) เพื่อการคมนาคม (10) เพอื่ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ยี ว

(3) เพ่ือการรกั ษาระบบนเิ วศ (7) เพอ่ื อตุ สาหกรรมในครัวเรอื น (11) อื่นๆ (ระบ)ุ

(4) เพ่อื จารีตประเพณี (8) เพ่อื การประปา

18. แหล่งนา้ ในพน้ื ทีก่ ารเกษตร

แหลง่ นา้ ในพ้นื ทก่ี ารเกษตร

ที่ โครงการฯ/ฝาุ ยส่งน้าฯ บ่อสบู น้าต้นื สระเก็บนา้ อืน่ ๆ

จานวน ปรมิ าตร จานวน ปรมิ าตร จานวน ปรมิ าตร

(บอ่ ) (ลา้ น ลบ.ม.) (บอ่ ) (ลา้ น ลบ.ม.) (บ่อ) (ลา้ น ลบ.ม.)

โครงการชลประทานมุกดาหาร - - - - - -

1. ฝุายสง่ น้าและบารงุ รกั ษาที่ 1 - - - - - -

2. ฝุายส่งนา้ และบารุงรกั ษาที่ 2 - - - - - -

3. ฝุายส่งน้าและบารุงรกั ษาที่ 3 - - - - - -

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หน้า 25
โครงการชลประทานมุกดาหาร

19. ประสทิ ธภิ าพการชลประทาน

ท่ี โครงการฯ/ฝาุ ยสง่ น้าฯ ประสทิ ธภิ าพการชลประทาน (%) หมายเหตุ
ฤดฝู น ฤดูแลง้

โครงการชลประทานมุกดาหาร 36.40 58.57

1. ฝุายส่งนา้ และบารุงรกั ษาท่ี 1 37.52 59.85

2. ฝุายส่งน้าและบารงุ รักษาที่ 2 34.80 56.73

3. ฝาุ ยสง่ นา้ และบารุงรกั ษาที่ 3 37.04 59.30

20. การคานวณปรมิ าณนา้ ชลประทานทีต่ อ้ งส่งใหพ้ น้ื ที่เพาะปลูก
โครงการชลประทานชลประทานมุกดาหาร ได้รวบรวมและตรวจสอบการคานวณปริมาณ

นา้ ชลประทานทตี่ ้องสง่ ให้พื้นทีเ่ พาะปลูก จากฝุายส่งน้าและบารุงรักษาที่ 1-3 เพื่อเป็นภาพรวมชลประทาน
ของโครงการฯ ที่ต้องส่งให้พ้ืนท่ีการเกษตร ในเขตรับผิดชอบของโครงการฯ โดยฝุายส่งน้าและบารุงรักษา
ท่ี 1-3 ได้คานวณปริมาณน้าชลประทานท่ีต้องส่งให้พ้ืนท่ีเพาะปลูก โดยจากการทา ROS ของอ่างเก็บน้า
ทร่ี บั ผดิ ชอบ โดยคานวณจากความต้องการใช้น้าของพืช ชนดิ ต่างๆ เชน่ ขา้ ว พชื ผัก พืชไร่ เปน็ ต้น

21. ข้นั ตอนและวิธีการในการดาเนนิ การส่งน้า/การระบายนา้
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้ตรวจสอบและแนะนาให้ฝุายส่งน้าและบารุงรักษา

ที่ 1-3 ดาเนินการ ส่งนา้ ให้พื้นท่เี พาะปลกู โดยยดึ ถอื แนวทาง/คู่มือการสง่ นา้ 14 ขัน้ ตอนของกรมชลประทาน

22. การสอบเทียบอาคาร

การสอบเทยี บอาคาร

ที่ โครงการฯ/ฝุายสง่ น้า อาคารในคลองสาย อาคารในคลองซอย อาคารในคลองแยก ทอ่ ส่งนา้ เขา้ นา ไมม่ ี
ฯ ใหญ่ ซอย การ
จานวน ช่วงเวลา สอบ
โครงการชลประทาน จานวน ชว่ งเวลา จานวน ชว่ งเวลา จานวน ชว่ งเวลา (แห่ง) (ว/ด/ป) เทียบ
มกุ ดาหาร (แห่ง) (ว/ด/ป) (แห่ง) (ว/ด/ป) (แห่ง) (ว/ด/ป)
-- √
1. ฝุายสง่ น้าและบารุงรกั ษาที่ 1 -- ---- -- √
2. ฝุายสง่ นา้ และบารงุ รักษาท่ี 2 -- √
3. ฝาุ ยสง่ น้าและบารุงรกั ษาที่ 3 -- ---- -- √
-- ----
-- ----

ในปี 2563 ไม่ไดท้ าการสอบเทยี บอาคารชลประทาน เน่อื งจากไมม่ อี ุปกรณ์เครอ่ื งมอื แตท่ งั้ นี้
โครงการฯได้ทาหนงั สือขอความอนเุ คราะหจ์ ากสานกั อทุ กฯใหเ้ ข้ามาช่วยดาเนนิ การในปี 2565 แลว้

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 26
โครงการชลประทานมุกดาหาร

23. จานวนองค์กรผูใ้ ช้น้าปจั จบุ นั

จานวนองคก์ รผใู้ ช้นา้ ชลประทาน

ท่ี โครงการฯ/ฝุายสง่ สหกรณ์ผู้ใชน้ ้า สมาคมผใู้ ชน้ า้ กลุม่ บริหารฯ กล่มุ เกษตรกรฯ กลุ่มพนื้ ฐานฯ
นา้ ฯ จานวน พน้ื ท่ี จานวน พ้นื ท่ี จานวน พน้ื ท่ี จานวน พ้นื ท่ี จานวน พ้นื ที่
(กล่มุ ) (ไร่) (กล่มุ ) (ไร)่ (กลุม่ ) (ไร่)
(สหกรณ)์ (ไร่) (สมาคม) (ไร่) 694 49,720

โครงการชลประทาน - - 1 10,025 19 49,720 - - 161 11,025
มกุ ดาหาร
212 21,250
1. ฝุายส่งนา้ และ - - 1 10,025 1 11,025 - -
321 17,445
บารุงรักษาที่ 1

2. ฝาุ ยส่งน้าและ - -- - 5 19,950 - -

บารงุ รกั ษาที่ 2

3. ฝุายส่งน้าและ - - - - 13 17,445 - -

บารุงรักษาที่ 3

24. จานวนครัวเรือนในพน้ื ท่ี พน้ื ที่ถอื ครองเฉล่ีย และรายไดเ้ ฉล่ยี

ท่ี โครงการฯ/ฝุายส่งนา้ ฯ จานวน พน้ื ท่ถี อื ครอง รายได้โดยเฉลย่ี หมายเหตุ
ครวั เรอื นใน เฉลย่ี (บาท/ครวั เรือน)

พ้นื ท่ี (ไร่/ครัวเรอื น)
(ครวั เรอื น)

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 5,292 9.40 62,700

1. ฝุายสง่ นา้ และบารุงรกั ษาท่ี 1 1,112 10 63,600

2. ฝาุ ยส่งน้าและบารุงรกั ษาที่ 2 1,757 12 95,600

3. ฝุายส่งนา้ และบารงุ รกั ษาท่ี 3 2,423 7 35,600

25. การบารงุ รักษาโดยองคก์ รผใู้ ชน้ ้า

สมาชิกร่วมกัน การบารุงรักษาโดยองค์กรผใู้ ชน้ า้
บารุงรักษา
ท่ี โครงการฯ/ฝุายส่งน้าฯ (คร้งั /ปี) รว่ มแรงกันทา จา้ งผูร้ บั เหมา อนื่ ๆระบุ หมายเหตุ

ระยะ ปรมิ าณ ระยะ ปริมาณ ระยะ ปรมิ าณ

(เมตร (ลบ.ม.) (เมตร (ลบ.ม.) (เมตร (ลบ.ม.)

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 16 81.9 1,303 - - - - -

1. ฝุายส่งนา้ และบารงุ รกั ษาท่ี 1 4 22 350 - - - - -
2. ฝาุ ยส่งนา้ และบารุงรักษาท่ี 2 9 37.9 603 - - - - -
3. ฝาุ ยส่งนา้ และบารงุ รักษาที่ 3 3 22 350 - - - - -

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 27
โครงการชลประทานมุกดาหาร

26. การประชมุ องค์กรผใู้ ชน้ า้ ฯ เจา้ หนา้ ท่จี ัดประชมุ อบรม ดูงาน หมายเหตุ
จดั ประชุมเอง จัดเวทีประชุม กบั องค์กรผใู้ ช้นา้ ฯ
ท่ี โครงการฯ/ฝุายส่งนา้ ฯ
(ครง้ั /ป)ี (คร้งั /ปี)
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร 40 57

1. ฝุายส่งน้าและบารงุ รักษาที่ 1 4 4
2. ฝุายส่งน้าและบารุงรกั ษาที่ 2
3. ฝุายส่งนา้ และบารงุ รักษาท่ี 3 12 12

24 41

27. อัตรากาลงั ของโครงการชลประทานมุกดาหาร

ข้าราชการ

ตาแหนง่ /อายุ/วฒุ ิ โครงการฯ ฝาุ ยส่งน้าที่ 1 ฝุายส่งนา้ ท่ี 2 ฝุายสง่ นา้ ท่ี 3 รวม
การศึกษา
1 12
ตาแหน่ง 91 1 - 1
- 3
1.ผู้อานวยการ 1- - - 2
- 2
2.ฝุายบริหาร 3- - - 1
1 3
3. ฝุายวศิ วกรรม 2- -
42 40
4. ฝุายจัดสรรนา้ ฯ 2- - 15 15

5. ฝาุ ยช่างกล 1- - - 3
- 5
6. ฝาุ ยส่งน้าและบารงุ รกั ษา - 1 1 1 4
- -
อายุ 1 12

1. อายุตวั เฉล่ีย 46.35 35 45 ฝาุ ยสง่ น้าท่ี 3 รวม

2. อายุราชการเฉล่ีย 22.43 10 20 - 4
- 1
วฒุ ิการศึกษา - 1
- 4
1. ต่ากว่าปริญญาตรี 2 1 - 1 2
- 1
2. ปริญญาตรี 4- 1
3. ปริญญาโท 3- -

4. ปริญญาเอก -- -

รวม 91 1

ลกู จ้างประจา

ตาแหนง่ /อาย/ุ วฒุ ิ โครงการฯ ฝุายส่งนา้ ท่ี 1 ฝุายสง่ นา้ ที่ 2
การศึกษา

ตาแหน่ง

1.ชา่ งฝีมอื สนาม 21 1

2.ชา่ งฝีมือโรงงาน 1- -

3. ช่างก่อสรา้ ง -- 1

4. พนักงานพมิ พ์ 4 - -
5. พนกั งานการเกษตร - 1 -

6. พนกั งานขับรถยนต์ 1 - -

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 28
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

ลูกจ้างประจา

อายุ 82 2 - 12
1. อายตุ ัวเฉล่ีย 55 58
2. อายุราชการเฉลี่ย 55 58 57 36 38

วฒุ ิการศกึ ษา 38 32 36 1 12
1. ต่ากว่าปริญญาตรี - 1
2. ปรญิ ญาตรี 72 2 - -
3. ปริญญาโท 1- - - -
4. ปริญญาเอก -- - - 12
-- -
รวม 82 2 ฝุายส่งนา้ ท่ี 3 รวม
18
ตาแหนง่ /อายุ/วฒุ กิ ารศกึ ษา โครงการฯ พนักงานราชการ 1 5
16 ฝาุ ยส่งนา้ ที่ 1 ฝุายสง่ นา้ ท่ี 2 1 1
ตาแหนง่ 3 - 1
1. นายชา่ งชลประทาน 1 -1 - 1
2. นายชา่ งไฟฟาู 1 -1 - 5
3 . เ จ้ า พ นั ก ง า น เ ค รื่ อ ง 1 -- - 1
คอมพวิ เตอร์ 5 -- - 4
4. ช่างเครือ่ งกล 1 -- -
5. พนกั งานเครอ่ื งจักรกล 4 -- 50
6. ยาม -- 39 50
7. เจา้ พนักงานราชการ 50 -- 8
20 17
อายุ - 38 1 1
1. อายุตัวเฉลยี่ 15 -9 - -
2. อายรุ าชการเฉลยี่ 1 - -
- -1 - 18
วฒุ ิการศึกษา - -- 1
1. ต่ากว่าปริญญาตรี 16 --
2. ปรญิ ญาตรี --
3. ปรญิ ญาโท -1
4. ปริญญาเอก

รวม

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 29
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

28. โครงการบรหิ ารงานภายในโครงการฯ (Organization Chart)

รปู ที่ ข-8 ผังโครงการสร้างองคก์ ร

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ หนา้ 30
โครงการชลประทานมุกดาหาร

29. งบประมาณทีไ่ ดร้ บั

งบประมาณ โครงการฯ ฝุายส่งนา้ ฯท1่ี ฝาุ ยสง่ นา้ ฯที่ 2 ฝุายสง่ น้าฯท่3ี

2560 537,170 502,630 970,080
267,400 267,400 267,400
1. เงินเดอื น 11,329,490 10,960,000 8,675,00
- 15,690,300
2. บรหิ าร 250,831.18 35,000,000 -
- -
3. ซ่อมแซมบารุงรกั ษา 37,636.21 - 11,730,030.00 16,927,780.00
35,804,570.00
4. ปรบั ปรุง 61,013,363 304,660 514,860
267,400 267,400
5. อื่นๆ - 10,960,000 8,675,00
15,690,300
รวมปี 2560 72,631,320.39 -
- -
2561 9,908,490 287,620 11,532,060.00 16,472,560.00
1. เงนิ เดอื น 81,783,280.67 267,400
2. บรหิ าร 9,817,097.62 8,00,630 562,170 485,850
3. ซ่อมแซมบารงุ รักษา 35,000,000 267,400 267,400
4. ปรบั ปรงุ - 15,560,000 10,960,000
5. อื่นๆ -
101,508,868.82 35,555,020.00 - -
รวมปี 2561 - -
2562 11,144,642 303,060 16,389,570.00 11,713,250.00
1. เงนิ เดือน 502,649.68 189,200
2. บรหิ าร 36,682,000 13,849,500 562,120 514,860
3. ซ่อมแซมบารงุ รักษา 10,000,000 10,000,000 267,400 287,200
4. ปรบั ปรุง 13,466,000 11,675,000
5. อนื่ ๆ - 24,341,760.00 16,690,300
58,329,290.00 -
รวมปี 2562 - -
14,295,520 29,167,360
2563 12,379,220 319,310
1. เงนิ เดอื น 1,172,865.27 165,230
2. บรหิ าร 36,909,500 7,545,000
3. ซ่อมแซมบารุงรักษา 10,000,000
4. ปรบั ปรุง -
5. อนื่ ๆ - -
60,461,585 8,029,540
รวมปี 2563

30. ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 31
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

โครงการชลประทานมุกดาหาร มขี อ้ ปัญหาดังน้ี
 การสญู เสียพนื้ ที่ปาุ ทาให้เกิดปัญหาความแหง้ แลง้ และน้าหลากอย่างรวดเรว็
 การบุกรกุ ลาน้าและท่ีสาธารณะ การเพ่ิมข้ึนของจานวนประชากรทาให้ความต้องการ

ใชน้ า้ และใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ เพ่มิ มากขนึ้ ปญั หาตา่ งๆดงั กลา่ วตอ้ งได้รับการประสานแก้ไขด้วยความร่วมมืออย่าง
แท้จริง

 การจัดการนา้ ในลาน้าสายหนึง่ มหี ลายหน่วยงานรับผิดชอบ การบริหารจัดการจะต้อง
บูรณาการข้อมูลขา่ วสารร่วมกันแต่สภาพข้อเท็จจริงยังขาดการบูรณาการทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ

 ทาแผนบริหารจัดการน้าทั้งแผนหลักและแผนปฏิบัติการตามสถานการณ์โดยอาศัย
ขอ้ มูลและสถติ มิ าวิเคราะห์ ประเมินสถานการณใ์ นการแก้ไข

 แหล่งเก็บกกั นา้ ต้นทุนสาหรบั ฤดูแลง้ มีไม่เพยี งพอกับปริมาณความต้องการใช้นา้
 การเจริญเติบโตของชมุ ชนเมืองและการขยายตวั ของเมอื ง รวมทั้งการขยายตัวของการ
ทาเกษตรกรรมฤดูแล้งทาให้ความต้องการใช้น้าฤดูแล้งมีเพ่ิมมากข้ึนจึงส่งผลกระทบต่อการใช้น้าภาคเกษตร
และการใช้น้าภาคตา่ งๆ
 ยังขาดการบริหารจัดการแหล่งน้าธรรมชาติหรือแหล่งน้าขนาดเล็กที่มีอยู่แล้วให้
สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดส้ งู สุด
 การทาลายปาุ ต้นนา้ ลาธารและแหล่งนา้ ธรรมชาติซง่ึ เป็นแหลง่ กาเนิดการดูดซับน้าหรือ
ชะลอน้าฝน เปน็ เหตุให้ลาธารเกิดความแห้งไม่มนี า้ ไหลในฤดูแลง้
แหล่งน้าธรรมชาติ เช่น หนอง คลอง บึง ยังขาดการเอาใจใส่อย่างถูกต้อง ถูกละเลย
และถูกบุกรกุ แหลง่ นา้ จงึ ขาดความอดุ มสมบูรณ์ ใชป้ ระโยชน์ได้ไมเ่ ต็มที่
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร มขี ้อเสนอแนะดงั นี้
 ส่วนการสูญเสียพื้นท่ีปุาและการบุกรุกลาน้าท่ีสาธารณะก็ต้องมีการบังคับใช้กฎหมาย
อยา่ งจริงจัง จึงจะแกไ้ ขปญั หาให้บรรเทาลงได้
 เพ่ิมปรมิ าณนา้ ตน้ ทนุ แหล่งนา้ ขนาดเลก็ ให้กับชมุ ชนพร้อมกบั การพฒั นาแหล่งนา้ ขนาด
กลางท่ีมีอยู่ควบคู่กันไปเพื่อเก็บกักน้าไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้งและสามารณบรรเทาอุทกภัยได้ในฤดูน้าหลาก โดย
เนน้ วางแผนให้เกิดการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ งและจริงจัง เน้นการมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชนเป็นสาคัญ
 ฟนื้ ฟสู ภาพปุาโดยเฉพาะต้นนา้ ลาธารให้เกิดความอุดมสมบูรณ์อยา่ งย่งั ยนื
 จดั ทาแผนการใชท้ ด่ี ินให้สอดคล้องกบั ศักยภาพของนา้ ทมี่ ีอยู่อยา่ งจริงจงั
 เสรมิ สรา้ งจติ สานึกของคนในพ้นื ที่ให้ตระหนกั ถึงคณุ และโทษของน้าให้มากขึน้
 กอ่ สรา้ งประตูระบายน้า ปากลาหว้ ยหลักทง้ั 5 ห้วย พรอ้ มสถานีสูบน้าขนาดใหญ่ เพื่อ
นาน้ามาใชใ้ นการอปุ โภค - บรโิ ภค และเพือ่ การเกษตร อย่างเตม็ ประสิทธิภาพ
 พัฒนาแหล่งน้า ขนาดกลาง ขนาดเล็ก สถานีสูบน้า แก้มลิง คันพนังก้ันน้า ขุดลอก
แหล่งน้าโดยพัฒนาให้เกิดระบบชลประทานและระบบแพร่กระจายน้าให้กับพ้ืนท่ี ให้มากที่สุดรองรับการ
ขยายตวั ของชุมชนท้ังในปัจจบุ ันและอนาคตเพ่อื บรรเทาปัญหาภัยแล้งและอทุ กภัย

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ หน้า 32
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

หมวดท่ี 1
การนาองค์กร

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 33
โครงการชลประทานมุกดาหาร

หมวดท่ี 1 การนาองค์กร
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร ได้นอ้ มนาศาสตร์พระราชา เรื่อง “เขา้ ใจ”มาปรับใช้ ดังนี้

1. ข้อมูลท่มี ีอยู่แลว้
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้นาข้อมูลท่ีได้มีการจัดเก็บโดยเจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบจากฝุาย/

งานต่างๆ เช่น ฝุายวิศวกรรม, ฝุายจัดสรรน้า, ฝุายช่างกล และ ฝุายส่งน้าและบารุงรักษาท่ี 1-3 มาวางแผน
การขับเคล่ือนงานด้านบริหารจัดการน้า ของจังหวัดมุกดาหาร รวมถึงได้มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างต่อเน่ือง
เพอ่ื ใช้เป็นขอ้ มูลในการวางแผนการพัฒนาในอนาคต

2. การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการใช้ข้อมูลประจักษ์ ในการดาเนินการวางแผนบริหาร

จัดการน้า เช่น ข้อมูลสถิติน้าฝน-น้าท่า ต่างๆ ที่มีการจัดเก็บเป็นรายวัน-รายชั่วโมง รวมถึงข้อมูลเกษตรกร
และแปลงเพาะปลูกในเขตชลประทาน ซ่ึงได้มีการลงสารวจ และจัดเก็บโดยตรงจากฝุายส่งน้าและ
บารงุ รักษาที่ 1-3 ทาใหข้ อ้ มลู มีความถกู ตอ้ งและแมน่ ยาตรงตามความเป็นจริง

3. การวิเคราะหแ์ ละวจิ ัย
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร ได้นาผลการวเิ คราะห์และวจิ ยั รวมถึงองค์ความรูใ้ นเรื่องการใช้น้า

ในแปลงนาแบบประหยัดในรปู แบบตา่ งๆ ซึง่ ดาเนนิ การโดยกรมชลประทานมายึดเป็นแนวทางในการเผยแพร่
และส่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรไปใชใ้ นพ้ืนที่ เช่น “หลักการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแหง้ ”เปน็ ต้น

4. การทดลองจนได้ผลจรงิ
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้วางแผนบริหารจัดการน้าทั้งลุม่ นา้ โดยเฉพาะในฝุายส่งน้าและ

บารงุ รักษาท่ี 2 ปัจจบุ นั ราษฎรและสว่ นทอ้ งถ่ิน ได้นาเรื่องเสนอขอความช่วยเหลือแกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อน
เข้ามา ซ่ึงตรงกบั แผนงานที่โครงการฯได้ศึกษาไวอ้ ยูแ่ ล้ว ทาใหส้ ามารถดาเนนิ การไดร้ วดเรว็ ขน้ึ และเป็นข้อมูล
พน้ื ฐานในการพัฒนาพน้ื ทีต่ ่อไป

สาหรบั การทดลองทานาแบบเปียกสลับแหง้ พบข้อจากดั ในการทา คือพืน้ ทีท่ ีม่ สี ภาพเปน็ ดินทราย
น้าซึมหายอย่างรวดเร็ว ภายในเวลาไมถ่ ึง 7 วนั สภาพพน้ื ทีไ่ มร่ าบเรียบเสมอกัน ควบคมุ การให้น้า
ลาบากเกษตรกรตอ้ งมภี าระมากขน้ึ เพอื่ ประหยดั น้าตามนโยบายของกรม ทาให้เกษตรกรขาดแรงจงู ใจ

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ หน้า 34
โครงการชลประทานมุกดาหาร

หมวด 1 การนาองค์กร
1.1 ความเข้าใจนโยบายในระดบั ต่างๆรวมถึงการแปลงนโยบายสู่ผ้ปู ฏิบตั ิงาน
โครงการชลประทานมุกดาหาร มีวิธีการถ่ายทอดหรือแปลงนโยบายให้ผู้ปฏิบัติงานภาย

ในนโยบายของรฐั บาล ผา่ นช่องทางการรบั รู้ในรปู แบบต่างๆได้แก่
1.1.1 การมอบนโยบายโครงการฯ สัง่ การผู้รับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร เน้นให้ผู้รับผิดชอบ

ศึกษาและสร้างความเขา้ ใจดว้ ยตนเอง โดยสอบถามจากผู้รับผิดชอบโครงการของกรมชลประทาน กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ และเจ้าของเรอ่ื งโดยตรงจากหนว่ ยมอบนโยบายน้นั ๆ

รูปท่ี 1-1 คาส่ังและข้อสัง่ การตา่ งๆ

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 35
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

1.1.2 การประชุมประจาสปั ดาห์/ประจาเดอื น หรือการประชุมเพ่ือมอบนโยบายเร่งด่วน/สาคญั

รปู ท่ี 1-2 การประชมุ ต่างๆตามนโยบายฯขอ้ ส่ังการ

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 36
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

1.1.3 โครงการชลประทานมุกดาหารได้ดาเนินงานขับเคลื่อนตามนโยบายสาคัญของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์และกรมชลประทานต่างๆ เช่นศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพสินค้าเกษตร (ศพก.)
เกษตรแปลงใหญ่ เกษตรทฤษฎีใหม่ Zoning by Agri-Map เป็นต้น ซ่ึงทางโครงการฯได้มีการดาเนินงาน
แบบบูรณาการกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง เพือ่ ให้การ
ดาเนินงานขบั เคลอื่ นตามนโยบายสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกรมชลประทาน สามารถสาเร็จ
ลลุ ว่ งตามวตั ถุประสงค์

รูปท่ี 1-3 แผนงานสนับสนนุ เกษตรแปลงใหญ่

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 37
โครงการชลประทานมุกดาหาร

 ศนู ย์การเรยี นรูแ้ ละเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ คา้ การเกษตร(ศพก.) จานวน7 ศูนย์
- จดั ทาบอร์ดติดแสดงผลงานของกรมชลประทาน
- จัดทาแผนทลี่ มุ่ น้าครบ 7 อาเภอ
- จดั ทาเอกสารด้านคู่มือการใชน้ า้ 35 ชุด
- จดั ทาปาู ยส่ือประชาสัมพนั ธ์ 35 ชดุ
- จัดทาแผน่ พับ 700 ชุด
- จดั ทา Model เปียกสลับแห้ง 7 ชุด

รูปที่ 1-4 แนวทางการปฏบิ ตั ิเพ่ือการขับเคลื่อน

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 38
โครงการชลประทานมุกดาหาร

1.1.4 การนาเสนอนโยบายผา่ นส่ือ Online ต่างๆ เช่น Website, Facebook, Line

รปู ที่ 1-5 การนาเสนอนโยบายผา่ นสอื่ Online ต่างๆ

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 39
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

1.2 การจัดทาและจัดเกบ็ ข้อมูลตาม sheet ข้อมลู
โครงการชลประทานมุกดาหาร มกี ารรวบรวมและจัดทาข้อมูลเพอ่ื ใช้ในการดาเนินงานหรือการ

บรหิ ารจดั การน้าของโครงการฯ ในรปู แบบของ Digital file และมกี ารสาเนาเกบ็ เพื่อสารองขอ้ มูล (Hard
copy) ไวเ้ ปน็ ขอ้ มลู อกี ทาง โดยมรี ูปแบบของการจดั เกบ็ ประกอบดว้ ย

1.2.1 Excel file ซึ่งเป็นฐานข้อมูลด้านแหล่งน้าที่พัฒนาแล้วจากอดีตถึงปัจจุบัน (Existing) ,
ขอ้ มลู แผนพฒั นาแหล่งน้าในอนาคต (Planning) รวมถึงข้อมูลสถานการณ์น้ารายวัน, รายสัปดาห์, รายเดือน
รายปี ของอ่างเกบ็ น้าขนาดใหญ่ อา่ งเกบ็ นา้ ขนาดกลาง ฝายยางงานกปร. และปชด. ในพ้ืนที่จังหวัดมุกดาหาร
และข้อมูลอื่นๆ ของแต่ละฝุายประกอบด้วย ฝุายวิศวกรรม เป็นข้อมูลด้านแผนงาน, ฝุายจัดสรรน้า,
ฝาุ ยการเงิน,ฝุายพสั ดุ มีการ Update ข้อมลู ตามประเภทของข้อมูล

รูปท่ี 1-6 ฐานข้อมูลด้านแหล่งนา้ ทีพ่ ฒั นาแลว้ จากอดีตถงึ ปัจจุบนั (Existing)

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 40
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

1.2.2 ขอ้ มูลสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) ซง่ึ เป็นฐานข้อมูลท่ีมีการเก็บรวบรวม โดยมีชั้นข้อมูล
ต่างๆ ครอบคลุมตามท่ีกรมชลประทานกาหนด เช่น ท่ีต้ังโครงการชลประทานขนาดใหญ่ ,ขนาดกลาง,ขนาด
เลก็ , สถานสี บู นา้ ด้วยไฟฟาู , ขอบเขตพน้ื ทโ่ี ครงการชลประทาน, แปลงกรรมสิทธ์ิ ฯลฯ เป็นต้น

รูปที่ 1-7 ขอ้ มูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) หนา้ 41

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การ
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

1.2.3 มกี ารจดั เก็บและนาเสนอข้อมลู ในรปู ของ File Presentation (Power point)
โดยเนน้ การนาเสนอข้อมลู ด้านชลประทานให้กับผู้บรหิ ารหนว่ ยงานของกรมชลประทาน, จังหวดั มุกดาหาร

และหนว่ ยงานอ่ืน ๆ

รูปท่ี 1-8 การจดั เก็บและนาเสนอข้อมูลในรูปของ File Presentation (Power point)

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หน้า 42
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตารางท่ี 1-1 รายการรายละเอียดข้อมูลท่ีต้องแสดง และการตรวจสอบ

ที่ รายละเอยี ดขอ้ มูล มขี ้อมูลครบถ้วน มีข้อมลู บางส่วน ไม่มีขอ้ มลู

1 สถติ ิน้าฝน 

2 สถติ นิ ้าท่า 

3 ปรมิ าณน้าผ่านอาคาร 

4 ขอ้ มลู ระดบั รายวนั 

5 แผน/ผลการจัดสรรน้ารายสัปดาห์ 

6 พนื้ ทเ่ี พาะปลกู รายแปลงของเกษตรกร 

7 แบบสารวจผลผลติ 

8 ทะเบยี นองคก์ รผใู้ ชน้ า้ ชลประทาน 

9 แบบประเมินความพงึ พอใจ 

10 แบบประเมินความเข็มแข็งขององค์กรผู้ใช้น้า 

ชลประทาน

11 บัญชอี าคารชลประทาน 

12 การสอบเทียบอาคารชลประทาน

13 บญั ชีงานซอ่ มแซม ปรับปรงุ และบารุงรักษา 

14 อัตรากาลังภายในองค์กรของตนเอง 

15 ขอ้ มูลอน่ื ๆทีต่ ้องแสดง 

1.3 วธิ ีการ/กระบวนการจดั ทาแผนงานโครงการ
ก. การจดั ทาแผน 5 ปี และ 1 ปี ตามยุทธศาสตรข์ องโครงการในแต่ละด้าน
โครงการชลประทานมุกดาหาร วางแผนในการจัดทาแผน 5 ปีและ 1 ปี ให้สอดรับกับประเด็น

ยุทธศาสตรข์ องกรมชลประทาน ในด้านการบริหารจัดการน้า และการปูองกันภัยอันเกิดจากน้าพร้อมทั้งต้อง
สอดรับกบั ความตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ าร และผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ของโครงการทาการประชุม กลุ่มบริหารการใช้
น้าเกษตร และผู้รบั บรกิ ารตา่ งๆ ในพ้ืนท่รี ับทราบปัญหาว่าต้องการอะไร เช่น งานซ่อมแซมอาคาร หรือว่าจะ
เปน็ งานทเี่ กี่ยวกบั งานปรบั ปรงุ หรอื งานด้านจัดสรรนา้ ที่อาจเกิดปัญหาน้าไม่ทั่วถึง ทั้งพื้นท่ีของรับบริการแล้ว
นาข้อมูลทีไ่ ด้มาจดั ทาเปน็ แผนงานดา้ นตา่ ง ๆ

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 43
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตารางท่ี 1-2 แผนปฏิบัติการ 5 ปี ตามยุทธศาสตร์ของโครงการในแต่ละด้าน

ลาดับ แผนปฏิบัติการ 2564 2565 2566 2567 2568
ท่ี

ผลผลติ : 3 โครงการปรบั ปรงุ งานชลประทาน (ขุดลอก ซ่อมแซมโครงการชลประทาน)

1 การปรบั ปรงุ งานชลประทาน 43.59 147.22 55.00 70.00 2.00

ผลผลติ : 4 ก่อสร้างแหลง่ น้าและระบบส่งนา้ เพอื่ ชุมชน/ชนบท (ชป.เล็ก)

1 กอ่ สร้างแหลง่ นา้ และระบบสง่ น้าเพือ่ ชมุ ชน/ชนบท 45.00 155.70 60.00 30.00 69.00
(ชป.เล็ก)

ผลผลิต : 5 โครงการปูองกันและบรรเทาภัย

1 ปอู งกันและบรรเทาอุทกภยั 127.50 144.89 15.00 0.00 0.00

แผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้า : ด้านอื่นๆ ทีเ่ สนอของบนอกเหนือจากแผนบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา้
เช่น งานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ

ผลผลติ : 1 ผลผลติ การจดั การน้าชลประทาน (กาจัดวชั พชื ,งานบารงุ รกั ษา,งานปรับปรงุ สะพาน , ทีท่ าการบ้านพกั เป็นตน้ )

1 การจดั การงานชลประทาน (ซ่อมแซม บารุงรกั ษา) 11.01 17.44 4.50 0.00 0.00

ผลผลิต : 2 โครงการสง่ เสริมการดาเนินงานอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ (ศูนย์พฒั นา พรด.,ซ่อมแซมโครงการ พรด, ก่อสรา้ ง
แหล่งนา้ สนับสนนุ โครงการอันเน่อื งมาจาก พรด. เปน็ ต้น)

1 ก่อสร้างแหลง่ น้าสนบั สนนุ โครงการอนั เนอื่ งมาจาก 0.00 42.00 82.90 42.00 11.96
พระราชดาริ

2 การจัดการงานชลประทาน (ซอ่ มแซม บารงุ รกั ษา) 6.23 98.90 224.72 84.00 23.92

ผลผลิต : 10 โครงการสง่ เสริมการใช้ยางในหนว่ ยงานภาครฐั

1 การปรบั ปรงุ งานชลประทาน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ข. วิธกี ารในการจดั ลาดบั ความสาคัญในการแกไ้ ขปญั หา และการจัดสรรงบประมาณ
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้รับแผนงานจากฝุายส่งน้าและบารุงรักษาของโครงการฯ
ซึ่งแผนงานได้จากข้อเสนอของเกษตรกรผู้ใช้น้า หรือผู้รับบริการในพื้นที่ โดยเรียงลาดับมาเบื้องต้นแล้ว
มารวบรวมเป็นภาพรวมของโครงการฯ ประชุมวางแผนการจัดลาดับความสาคัญของงานต่างๆ ให้สอดรับ
กับประเด็นยทุ ธศาสตร์ และความต้องการของผรู้ บั บริการผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย มีการจัดแผนงานโครงการจัดทา
เป็น 3 ระยะ ได้แก่แผนงานระยะส้ัน แผนงานระยะกลาง และแผนงานระยะยาวโดยมีหลักเกณฑ์ที่สาคัญ
ในการวางแผน คือ สถานภาพความพร้อมของโครงการ ระดับความเสียหายของอาคารต่อการบังคับน้า

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หน้า 44
โครงการชลประทานมุกดาหาร

และกระจายโครงการให้ทั่วถึงในระดับลุ่มน้า ให้สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน
ซึ่งมีรายละเอยี ด ดงั นี้

 แผนงานระยะสนั้ ได้แก่ แผนงานท่ีดาเนินการในปี พ.ศ.2564 โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้
- พ.ศ. 2564 คือ โครงการท่ีเสนอให้ดาเนินการในปี พ.ศ.2564 ได้แก่ โครงการท่ีมีการ

แก้ไขปัญหาในพื้นท่ีความพร้อมท่ีจะดาเนินการได้ทันที โดยมีหลักเกณฑ์ท่ีสาคัญ คือ มีการออกแบบ
รายละเอยี ดแล้วเสร็จ

 แผนงานระยะกลาง ได้แก่ แผนงานท่ีเสนอให้ดาเนินการในปี พ.ศ.2565 ถึง พ.ศ.2568
โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

- พ.ศ. 2565 ได้แก่ โครงการที่มีความพร้อมด้านการก่อสร้าง โครงการที่มีการออกแบบ
รายละเอยี ดแลว้ เสร็จแตย่ ังมีปัจจยั อนื่ ๆ ท่ียังไมส่ ามารถดาเนินโครงการได้ เช่น ปัญหาราษฎรคัดค้านการขอ
ใช้พื้นท่ีปุาไม้ และโครงการท่ีมีผลการศึกษาความเหมาะสมหรือความเหมาะสมเบื้องต้นแล้ว และจะต้อง
ดาเนินการศึกษาด้านผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มตอ่ ไป

- พ.ศ. 2566 ได้แก่ โครงการท่ีมีความพร้อมด้านการก่อสร้าง เหลือเพียงข้ันต้อนท่ีต้อง
ดาเนินการออกแบบเพียงอย่างเดียว หรือทบทวนการศึกษาด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่ง ใช้
เวลาภายใน 2 ปี

- พ.ศ. 2567 ได้แก่ โครงการที่มีความพร้อมด้านก่อสร้างที่เหลือต้องดาเนินการศึกษา
ด้านผลกระทบส่ิงแวดล้อม และออกแบบ ใช้เวลาภายใน 3 ปี

- พ.ศ. 2568 ได้แก่ โครงการท่ีมีความพร้อมด้านก่อสร้างท่ีเหลือต้องดาเนินการศึกษา
ดา้ นผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม และออกแบบ ใชเ้ วลาภายใน 4 ปี

 แผนงานระยะยาว แผนงานที่ดาเนินการในปี พ.ศ. 2569 เป็นต้นไป ได้แก่ โครงการที่มี
ศักยภาพในการดาเนนิ การ หรอื โครงการทีอ่ ยใู่ นแผนหลกั ต่างๆ ท่ีจะต้องศึกษาเพ่ิมเติมถึงความเป็นไปได้และ
รายละเอียดตอ่ ไป

ค. วิธีการวิเคราะห์การจัดทาแผนควบคุมภายในและแผนบริหารความเสี่ยงตามแนวทาง
ที่ กรมฯกาหนด โครงการชลประทาน มกี ารจัดทาแผนบรหิ ารความเสี่ยง และแผนควบคุมภายในตามที่กรมฯ
กาหนด ปค.4 ปค.5 และแบบติดตาม และนามาใช้ควบคุมกับการดาเนินงานของโครงการฯ เพื่อให้โครงการ
ชลประทานมกุ ดาหาร ได้มีการจดั ทาแผนบรหิ ารความเสี่ยง และนามาใชใ้ นการบรหิ ารฝาุ ยฯ หรือแผนงานเพื่อ
ลดความเส่ียงที่จะเกิดข้ึน ประจาปีอยู่แล้วโดยการจัดทารายการควบคุมภายในโดยรวบรวมข้อมูลจากฝุาย/
งานมาเป็นภาพรวมของโครงการฯ และติดตามความก้าวหน้าทุกเดือน ซ่ึงจะส่งผลให้แผนงานของโครงการ
สามารถดาเนินงานไดบ้ รรลุเปาู หมาย

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 45
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตารางท่ี 1-3 แผนการควบคมุ ภายในและแผนบรหิ ารความเสยี่ งตามแนวทางที่กรมฯกาหนด

แผนการควบคุม

ภายในและแผน

บรหิ ารความเสี่ยง ด้านการบรหิ ารจัดการนา้

ตามแนวทางท่ีกรมฯ

กาหนด

วธิ กี าร ศึกษา วางแผน ตดิ ตาม ตรวจสอบ กากับดูแล การบริหารจัดการน้าในระดับลุ่มน้า

ระดับโครงการฯ ตลอดปี พรอ้ มเสนอแนะแนวทางแก้ไขพัฒนาปรับปรุงเกณฑ์การ

บรหิ ารจดั การน้าของแหลง่ เกบ็ กักน้าพร้อมบริหารจัดการนา้ ทีท่ ่ัวถงึ

วัตถุประสงค์ - เพื่อควบคุมการส่งน้า/ระบายน้าในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ได้อย่างทั่วถึง เป็น

ธรรม และได้ประโยชน์สงู สุด

- เพื่อควบคุมการเกบ็ กกั นา้ /ระบายนา้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ทงั้ ด้านปริมาณและ

ตามระยะเวลาท่ตี อ้ งการ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

- ใช้เทคโนโลยที ่ีทนั สมัยมาใช้ในการบริหารจัดการนา้ (ระบบโทรมาตร)

จุดอ่อนของการ - จากความแปรปรวนของสภาวะอากาศที่ทาให้เกิดภัยธรรมชาติส่งผลกระทบ

ควบคุมหรอื ความ ตอ่ การบริหารจดั การน้า

เสี่ยงท่ียงั มีอยู่ - ข้อจากดั ของระบบชลประทานท่ไี ม่เหมาะสมในการระบายน้าหลาก

- ประชาชนต่อตา้ น ไม่ให้มกี ารระบายน้าในพน้ื ที่แก้มลิง

- ไมม่ ีอานาจในการตัดสนิ ใจขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐและไม่ได้รับความร่วมมือ

ทกุ ภาคส่วน ทาให้ไม่สามารถบรหิ ารจัดการน้าได้ตามแผนทว่ี างไว้

การปรับปรงุ - จัดทาแผนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมและประสานงานเบ้ืองต้นกับทุกฝุายที่

เก่ียวข้อง เพื่อทาประชาพิจารณ์ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ไขปัญหาและหาข้อ

ยตุ ิ

- ทาการประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพื่อช้ีแจงประโยชน์ ผลกระทบและการแก้ไข

ผลกระทบอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

- ดาเนินการจัดต้ังคณะกรรมการเพอื่ ติดตามและประเมนิ ผล

กาหนดผรู้ ับผิดชอบ - ผคป., จน.คป., สบ.คป.

สรปุ ผลการประเมนิ / - โครงการฯไมไ่ ด้รับงบประมาณในส่วนนี้ แต่มีการดาเนินการเชิงรุกในขั้นตอน

ข้อคิดเหน็ การศึกษาความเหมาะสม มีการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นโครงการพัฒนา

แหลง่ นา้ ทง้ั งานในแผนและนอกแผน

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 46
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

ง. วธิ กี ารตดิ ตามคาดการณ์ และทบทวน ผลการดาเนินการของแผนปฏิบัติการ 5 ปี เพื่อให้ผล
การดาเนนิ การเปน็ ไปตามเปาู หมายทก่ี าหนด

โครงการฯ มีระบบการตดิ ตามคาดการณแ์ ละทบทวนผลการดาเนินการของแผนปฏบิ ัตกิ ารโดย
พิจารณาจากผลลัพธก์ ารไดร้ บั จัดสรรงบประมาณในแตล่ ะปี ผลประโยชน์ที่เกิดจากการดาเนินโครงการท้ังเชิง
ปรมิ าณและคุณภาพ นาเสนอเป็นสรุปรายงานประจาปีของโครงการ ประชุม และนาข้อมูลดังกล่าว มาใช้ใน
การปรบั ปรงุ แผนงานที่ไมไ่ ด้รับจัดสรรงบประมาณ รวมถงึ การปฏิบัตงิ านทไี่ ม่เปน็ ไปตามเปูาหมาย ท้ังน้ีมุ่งเน้น
ให้ผลการดาเนินงานเป็นไปตามเปูาหมายของโครงการ และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ของกรมฯ
เป็นหลกั โดยยึดหลกั กรณีไมเ่ ป็นไปตามแผนจะมกี ารทบทวนและปรบั ปรุงแผนตามความเหมาะสม

1.4 วิธกี ารจดั วางอตั รากาลังบคุ ลากรอยา่ งเหมาะสม
โครงการชลประทานชลประทานมุกดาหาร ไดม้ กี ารจดั วางอัตรากาลังให้สอดคล้องกับปริมาณ

งาน ระบบงาน เพื่อใหง้ านมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลโดยพิจารณาทงั้ ประเภท และสัดสว่ นการใช้กาลังคน
ในแต่ละประเภทภารกจิ การบริหารกาลงั คนให้สอดคล้องกับความจาเปน็ ตามพันธกิจ

 ใชบ้ ุคลากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
 ให้ความสาคัญต่อการบริหารและพัฒนาบุคลากรเชิงปริมาณ (จานวนบุคลากร) และเชิง
คณุ ภาพ (ขีดสมรรถนะและศักยภาพ)
 การจัดบุคลากรให้มีความสอดคล้องกับความจาเป็นในการปฏิบัติภารกิจในปัจจุบัน และ
อนาคตแนวทางในการจัดวางอตั รากาลงั บุคลากรโครงการชลประทานมุกดาหาร

- ภารกิจหลกั (Core Function)
เป็นงานตามกฎหมาย นโยบาย งานหลักตามภารกิจ และพันธกิจของหน่วยงานท่ี
จาเป็นตอ้ งดาเนนิ การเพื่อให้สมั ฤทธผ์ิ ลตามเปูาหมายที่กาหนด
- ภารกจิ รอง (Non-core Function)
เปน็ งานสนับสนนุ ให้การดาเนินการ ตามภารกิจหลกั สมั ฤทธผ์ิ ลตามเปาู หมายทีก่ าหนด
- ภารกิจสนับสนนุ (Supporting Function)
เป็นงานด้านอานวยการ งานธุรการ งานด้านบริการ เพ่ือให้การดาเนินงานตามภารกิจหลัก และภารกิจรอง
สมั ฤทธผิ์ ลตามเปาู หมายทีก่ าหนด

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หน้า 47
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

รปู ที่ 1-9 วธิ กี ารจัดวางอตั รากาลังบคุ ลากรอยา่ งเหมาะสม

1.5 การจาแนกกลมุ่ ผูร้ ับบรกิ าร ผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียมีและการกาหนดช่องทางในการรบั รู้และวาง
แนวทางในการตอบสนองความต้องการของผู้รับบรกิ าร และผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี

โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการกาหนดหรือจาแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย โดยจาแนกออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มที่รับบริการในเขตชลประทานและกลุ่มผู้รับบริการ
นอกเขตชลประทาน โดยจาแนกตามวัตถปุ ระสงค์การใช้น้า

- กลมุ่ ผู้ใชน้ ้าภาคเกษตรกรรม
- กล่มุ ผู้ใช้น้าภาคการอุปโภคบริโภค
สาหรบั ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี ท่ีไดร้ ับผลกระทบในทางลบ สามารถจาแนกออกเปน็ 1 กลมุ่ คอื
- กล่มุ ผู้รับผลกระทบจากภยั ทางนา้

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 48
โครงการชลประทานมุกดาหาร

หมวดท่ี 2
การสร้างความสมั พนั ธ์

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 49
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

หมวดที่ 2 การสรา้ งความสัมพนั ธ์
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้นอ้ มนาศาสตร์พระราชา เรอ่ื งความ “เขา้ ถึง” มาปรบั ใชด้ งั นี้

1. ระเบิดจากข้างใน (Inside-out blasting)
การพัฒนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือกลุ่มผู้รับบริการ ต้องเกิดจากโครงการส่งน้าและ

บารุงรักษา/โครงการชลประทาน เข้าไปสร้างกระบวนการท่ีกลุ่มฯดังกล่าว รู้สึกอยากท่ีจะพัฒนาตนเองก่อน
ไม่ได้เกดิ จากการบงั คบั ของโครงการฯ ซงึ่ จะไมเ่ กดิ ความยง่ั ยนื ซ่ึงควรมุ่งเน้นทก่ี ารพฒั นาคน ให้กลุ่มฯ เกิดการ
เปลย่ี นแปลงตนเองก่อน แลว้ จึงเขา้ ไปพฒั นาเปลย่ี นแปลง ซ่ึงเปน็ การเข้าถงึ ก่อนพัฒนาไม่ใช่นาการพัฒนาเข้า
ไปโดยที่กลุ่มฯ ยังไมต่ ระหนักหรอื เห็นความสาคัญของการโครงการชลประทานมุกดาหาร มีการบริหารจัดการ
น้าโดยม่งุ เนน้ สง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของประชาชน ตาม RID.1 ข้อท่ี 5 ของกรมชลประทาน โดยมุ่งเน้นการมี
สว่ นร่วมของภาคประชาชนท้งั ใน และนอกเขตชลประทาน โดยเฉพาะในเขตชลประทานได้มีการส่งเสริมและ
พฒั นากล่มุ ผู้ใช้นา้ ให้มีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการน้าชลประทานของกลุ่มฯได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยในชว่ งหลายปีท่ีผ่านมาได้มกี ารสรา้ งความเข้มแข็งกลุ่มพฒั นา

โครงการชลประทานมุกดาหารและฝุายส่งน้าและบารุงรักษาท่ี 1 ถึง 3 เข้าไปดาเนินการสร้าง
กระบวนการให้ แต่เน่อื งจากกลุ่มผู้ใช้น้ายังไม่มีความเข้มแข็งพอจึงมีความจาเป็นที่จะต้องให้โครงการฯ และ
ฝุายส่งนา้ ฯ เขา้ ไปส่งเสริมและสร้างกระบวนการ จนกวา่ กลุ่มจะเริ่มมีความพร้อมมีความเข้าใจ จึงจะสามารถ
ให้กลุ่มเริ่มกระบวนการระเบิดจากข้างใน (Inside-out blasting) ได้ ซ่ึงจะต้องเร่ิมดาเนินการโดยค่อยเป็น
คอ่ ยไป

ทั้งน้ีโครงการชลประทานมุกดาหารได้ริเร่ิมกระบวนการคิดโครงการพัฒนาแหล่งน้าในพ้ืนท่ี
โครงการพฒั นาลุ่มนา้ แบบประชารัฐลาน้าหว้ ยอีต่าง(ตอนบน) ตาบลบ้านค้อ อาเภอคาชะอี จังหวัดมุกดาหาร
เป็นโครงการท่ีนาแนวคิดและแผนยุทธศาสตร์การดาเนินงานภาครัฐมาผสมผสานกัน ซ่ึงได้แก่ ยุทธศาสตร์
ประชารัฐ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้าแห่งชาติ และยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของกรม
ชลประทาน โดยมีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชนตลอดจนชุมชนในแต่ละลาน้าได้มี
ส่วนร่วมทุกขั้นตอนในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับลาน้าร่วมกันหารูปแบบและ
วิธดี าเนินการแก้ไขปัญหาแบบบรู ณาการในทกุ มิตเิ พือ่ ให้เกิดผลสัมฤทธ์ใิ นการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้า และ
ปราศจากความขดั แย้งในสังคมทง้ั ในระยะสัน้ และระยะยาว

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 50
โครงการชลประทานมุกดาหาร


Click to View FlipBook Version