The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงการชลประทานมุกดาหาร (อันดับที่ 4 ประจำปี 2565)

โครงการชลประทานมุกดาหาร (เอกสารประกอบการประเมินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ประจำปี 2565)

Keywords: โครงการชลประทานมุกดาหาร,การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

รปู ท่ี 2-1 ประชุมช้แี จงแผนพฒั นาแหลง่ น้าแบบประชารัฐ

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 51
โครงการชลประทานมุกดาหาร

2. เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย (Undrstand target)
โครงการชลประทานมุกดาหาร มุ่งเน้นการดาเนินการพัฒนาและบริหารจัดการน้า โดยให้

ความสาคัญกับการทาความเขา้ ใจ สภาพปัญหา/ข้อจากัด ของสภาพพื้นที่โครงการฯ ได้จัดลาดับความสาคัญ
ของปญั หาความเดอื นรอ้ นของประชาชน โดยมุ่งเนน้ การพัฒนาและบรหิ ารจัดการน้า ตามความจาเป็นเร่งด่วน
สอดคล้อง กบั ความตอ้ งการของพนื้ ท่ี สามารถแกป้ ัญหาลดความทกุ ข์ยากของประชาชนได้

รปู ที่ 2-2 ประชมุ การดาเนินการพฒั นาและบริหารจดั การน้า

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หน้า 52
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

3. พัฒนาศกั ยภาพเพอ่ื สรา้ งปญั ญา (Educate)
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร ไดม้ กี ารดาเนินการพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างปัญญาให้เกิดความ

เข้มแขง็ และการบริหารจดั การน้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มกี ารดาเนินการ ดงั น้ี
3.1 การสรา้ งความเขา้ ใจกบั กลมุ่ ผใู้ ชน้ า้ ชลประทาน

รูปที่ 2-3 ประชุมการดาเนนิ การพฒั นาและบรหิ ารจดั การน้า
3.2 การเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของผูใ้ ช้น้าชลประทาน คณะกรรมการจัดการชลประทาน
(JMC) และอาสาสมัครชลประทาน

รูปท่ี 2-4 การเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งของผูใ้ ชน้ า้ ชลประทาน คณะกรรมการจัดการชลประทาน (JMC) และ
อาสาสมัครชลประทาน

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 53
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

หมวด 2 การสรา้ งความสัมพันธ์

2.1 วิธีการ/กระบวนการในการใหบ้ รกิ ารกบั กลมุ่ ผรู้ ับบรกิ าร และผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย

โครงการฯระบหุ นว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง และทางานรว่ มกันเฉพาะหน่วยงานหลักๆ ท่ีสาคัญ ดูกลุ่ม

ผู้รับบริการและผู้มีสว่ นไดเ้ สยี วา่ มีก่กี ลมุ่ มคี วามตอ้ งการมคี วามคาดหวังอะไรจากการดาเนนิ งานของโครงการฯ

และมแี นวทางการส่อื สารติดต่อระหว่างกนั อย่างไร

ตารางที่ 2-1 วธิ ีการ/กระบวนการในการให้บริการกบั กลุ่มผู้รับบรกิ าร และผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี

สว่ นราชการ/องคก์ รท่เี กี่ยวข้อง บทบาทหน้าทใี่ นการ ขอ้ กาหนดทส่ี าคญั ในการ แนวทางและวธิ กี ารส่ือสาร

ปฏิบตั ิรว่ มกนั ปฏิบตั ิงาน ระหว่างกัน

สนับสนนุ ขอ้ มลู และวิชาการ สนบั สนุนดา้ น การประสานงาน ส่อื สารผ่านหนังสอื

ส่วนราชการสงั กัดกระทรวง วชิ าการการ ราชการ Wesite line

เกษตรฯ ประสานงาน อบรม/ โทรศัพทห์ รือส่ือสารออก

สมั มนา/ประชมุ และ หน่วยเคลื่อนที่

มวลชนสัมพันธ์

สนับสนุนข้อมูลพยากรณอ์ ากาศ สนบั สนุนข้อมูลดา้ น การประสานงานและ สื่อสารผ่านหนงั สือ

ส่วนราชการสงั กดั กระทรวง ติดตามสภาพอากาศ ระบบเทคโนโลยี ราชการ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการ Wesite line โทรศพั ท์

สอ่ื สาร (สถานีอุตุนิยมวิทยา หรือสอ่ื สาร

จังหวัดมกุ ดาหาร)

สนับสนุนขอ้ มลู ดา้ นพืน้ ทีแ่ ละ สนับสนนุ ขอ้ มูลพน้ื ที่ การประสานงานและ ส่ือสารผ่านหนังสอื

แหล่งนา้ การเกษตรก่อสรา้ ง ลงพ้ืนท่ี ราชการ

อบจ.มกุ ดาหาร และแหลง่ นา้ Wesite line โทรศพั ท์

สนง.ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ หรอื สือ่ สาร

สง่ิ แวดล้อมจงั หวดั มกุ ดาหาร

ส่วนราชการสงั กัด

กระทรวงมหาดไทย (จังหวัด

มกุ ดาหาร เทศบาล นายอาเภอ

กานัน ผใู้ หญ่บ้าน

สนบั สนนุ ข้อมลู ด้านงบประมาณ เบกิ -จา่ ยงบประมาณ การประสานงานลง สื่อสารผ่านหนงั สือ

สนง.คลงั จังหวดั มุกดาหาร พื้นที่ ราชการ

Wesite line โทรศัพท์

หรอื ส่อื สาร กานนั หรือ

ผู้ใหญ่บา้ น

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หนา้ 54
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

ตารางที่ 2-1 วิธกี าร/กระบวนการในการใหบ้ ริการกับกลุม่ ผู้รบั บรกิ าร และผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย (ตอ่ )

ส่วนราชการ/องค์กรท่ี บทบาทหน้าทใี่ นการปฏบิ ัติ ข้อกาหนดที่สาคญั ในการ แนวทางและวธิ ีการสือ่ สาร

เกี่ยวขอ้ ง รว่ มกัน ปฏบิ ัติงาน ระหว่างกัน

สนบั สนนุ ขอ้ มูลดา้ น เบกิ -จา่ ยงบประมาณ การประสานงานและลง สอื่ สารผา่ นหนงั สอื ราชการ

งบประมาณ พนื้ ที่ Wesite line โทรศพั ท์หรือ

ส น ง . ค ลั ง จั ง ห วั ด สอ่ื สาร

มกุ ดาหาร

สนับสนุนน้าดบิ เพอ่ื การ สนับสนนุ น้าดบิ เพอ่ื การ การประสานงานและลง สอ่ื สารผา่ นหนังสอื ราชการ

ประปา ประปา พน้ื ท่ี Wesite line โทรศพั ทห์ รือ

ส น ง . ป ร ะ ป า จั ง ห วั ด ส่ือสาร

มกุ ดาหาร

สนับสนนุ ขอ้ มลู ดา้ น ตรวจสอบกากบั ให้เปน็ ไป ระเบียบราชการและ สื่อสารผา่ นหนงั สอื ราชการ

งบประมาณ ตามระเบยี บข้อกฎหมายท่ี กฎหมายท่กี าหนดไว้ Wesite line โทรศพั ท์หรือ

สถานีตารวจภธู ร เกย่ี วขอ้ ง สื่อสาร

จังหวดั

สนง.ปุาไมจ้ งั หวดั

มุกดาหาร

สนง.ธนารักษ์จังหวัด

มกุ ดาหาร

รปู ท่ี 2-5 การประชมุ วธิ ีการ/กระบวนการในการใหบ้ รกิ ารกับกล่มุ ผรู้ บั บรกิ าร และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 55
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตางรางท่ี 2-2 ตารางกลมุ่ ผู้รับบรกิ ารและผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียหลักของโครงการชลประทาน

กลุม่ ผ้รู ับบริการ/ผมู้ สี ว่ นได้ บรกิ ารท่ใี ห้ ความตอ้ งการ/ความ แนวทางและวิธีการส่อื สาร
สว่ นเสีย
คาดหวงั ระหว่างกัน

1. เกษตรกรผู้ใช้น้า - การส่งนา้ ใหพ้ ้ืนท่ี - พืน้ ทกี่ ารเกษตรได้รับนา้ ส่ือสารโดยตรง

ชลประทาน การเกษตร เพียงพอ ทันตามเวลาที่ สอื่ สารทางอ้อมผา่ นสอื่

- ส่งเสรมิ ให้ความรู้ ตอ้ งการ ประชาสมั พนั ธ์

เก่ยี วขอ้ งกับการเกษตร - ได้รบั การจดั สรรน้า อบรม/สมั มนา

และการชลประทาน อย่างเพยี งพอ ทวั่ ถึงและ ออกหนว่ ยเคลอื่ นที่และ

เป็นธรรม รว่ มพบปะตามประเพณวี นั

- นาความรู้ไปพฒั นาการ สาคัญ

เกษตร เพือ่ การเพิม่

ผลผลติ /ลดต้นทุนการผลติ

2. หนว่ ยงานภาครฐั และ - ใหข้ อ้ มูล/คาแนะนา/ - นาความรู้ไปสร้าง ส่อื สารโดยตรง

เอกชน ความรูด้ า้ นการ ประโยชน/์ คณุ คา่ /มูลคา่ สื่อสารทางออ้ มผา่ นส่ือ

ชลประทาน การเกษตร ตอ่ ประชาชน ประชาสมั พันธ์

การพัฒนาแหลง่ น้า - ปญั หาเร่อื งน้า บรรเทา/ ประชุม/บรม

- สนับสนนุ เครอื่ งสบู น้า หมดไป สัมมนา,โทรศัพท์

เคลอ่ื นที่เพื่อปูองกันหรือ โทรสาร หนงั สอื ราชการ

แก้ปญั หาเรอ่ื งน้า การใช้ระบบอินเตอรเ์ นต็

- การพัฒนาแหล่งน้า

3. บุคคลทวั่ ไป/ชุมชนและ - ให้ข้อมูล/คาแนะนา/ - นาความรู้ไปสรา้ ง สอื่ สารโดยตรง

สงั คม ความรู้ดา้ นการ ประโยชน/์ คุณคา่ /มูลคา่ สื่อสารทางออ้ มผา่ นสอ่ื

ชลประทาน การเกษตร - ปญั หาเรือ่ งน้า บรรเทา/ ประชาสัมพนั ธ์

การพัฒนาแหลง่ น้า หมดไป อบรม/สมั มนา

- สนบั สนนุ เครอื่ งสบู นา้

เคลื่อนที่ เพือ่ แก้ปญั หา

เรื่องน้า

- การพัฒนาแหล่งนา้

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 56
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตางรางที่ 2-3 ตารางแสดงการจาแนกกล่มุ ผรู้ ับบริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี

กล่มุ ผู้รบั บรกิ าร/ผ้มู สี ่วน บรกิ ารทใ่ี ห้ ความต้องการ/ความ แนวทางและวธิ กี าร
ได้ส่วนเสีย คาดหวัง สื่อสารระหว่างกนั

1. เกษตรกรรมในเขต - สง่ น้าและระบายน้า - ได้รบั น้าทีม่ คี ณุ ภาพดี - จัดต้งั กลุม่ ผ้ใู ชน้ า้

ชลประทาน เพอ่ื การเพาะปลกู ในปรมิ าณท่ีเพียงพอ และ ชลประทาน

- ระบายน้าเพอ่ื บรรเทา ตามเวลาท่ีตอ้ งการ - การจดั ประชมุ ชี้แจง

อทุ กภัย การฝึกอบรมดูงานและ

เวทปี ระชาคม

- ออกพบปะเกษตกร

- วิทยุท้องถิน่

- โทรศพั ท/์ โทรสาร

- Call Center 1460

- ส่อื สง่ั พมิ พ์

- เอกสาร

- ติดต่อดว้ ยตนเอง

2. กลุ่มผใู้ ชน้ า้ ภาค - เครอ่ื งสูบนา้ เคลือ่ นท่ี - ได้รับความช่วยเหลือ - เอกสาร
เกษตรกรรมนอกเขต ตามคาร้องขอ เครือ่ งสบู นา้ อย่าง - การประชมุ
ชลประทาน - กอ่ สรา้ งแหล่งนา้ รวดเร็วและเพียงพอ - โทรศัพท์/โทรสาร
- กอ่ สร้างระบบ - มแี หล่งเก็บน้า เชน่ - เว็บบอร์ด
3. กลุ่มผใู้ ช้น้า ชลประทาน เข่อื น ฝาย และอน่ื ๆ - Call Center 1460
ภาคอตุ สาหกรรม - นา้ เพยี งพอสาหรบั - ต้รู ับฟังความคิดเห็น
- เกษตร
- ตอ้ งการระบบ -
ชลประทาน

-

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 57
โครงการชลประทานมุกดาหาร

โครงการฯ มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย เพ่ือให้เกิดการ
สื่อสาร 2 ทาง ระหว่างโครงการฯ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ตามวิธีการท่ีกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน กาหนด ก่ีช่องทาง มีการใช้ช่องทางใดมากท่ีสุด และเม่ือได้รับข้อเสนอแนะข้อร้องเรียนแล้วได้
ดาเนนิ การตามแนวทางการจดั การ ขอ้ รอ้ งเรียนที่กองสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กาหนด เพ่ือสร้าง
ความเขา้ ใจและลดขอ้ ขดั แยง้ ในการดาเนนิ งาน

รปู ท่ี 2-6 การส่งเสรมิ กระบวนการมสี ว่ นร่วม 14 ขนั้ ตอน

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หน้า 58
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

ตางรางที่ 2-4 ตารางแสดงการกาหนดช่องทางในการรบั ฟังความคิดเห็นของผูร้ บั บรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้ส่วน

เสยี

ผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี บรกิ ารที่ให้ ความตอ้ งการ/ความ แนวทางและวธิ กี ารสือ่ สาร

คาดหวงั ระหว่างกัน

1.บุคคลผถู้ ูกเวนคืนหรือ จ่ายค่าชดเชยทรพั ยส์ นิ ไดร้ บั ค่าชดเชยทรัพย์สนิ - ทางเอกสาร

ขอใชท้ ี่ดนิ เพื่อการ ในราคาเป็นธรรมและ - มาติดตอ่ ดว้ ยตนเอง

ชลประทาน รวดเรว็ - โทรศัพท/์ โทรสาร

- เว็บบอรด์ E-Mail

- Call Center 1460

- ตรู้ บั แสดงความ

คดิ เห็น

- การดูงาน

2. องค์กรพฒั นาเอกชน ชแี้ จง ทาความเข้าใจ - ไดร้ บั ข้อมูลทีเ่ ป็น - ประชมุ ช้ีแจง

(NGO) จรงิ - เอกสาร

- ได้รับความชัดเจนใน - โทรศพั ท์/โทรสาร

การดาเนินงาน - เวบ็ บอรด์ E-Mail

- Call Center 1460

- ตรู้ บั แสดงความ

คดิ เห็น

- ข่าวสารจากสื่อมวลชน

โครงการชลประทานมุกดาหาร มีช่องทางในการรับข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนต่างๆ
ประกอบด้วย ทางหนังสือ จดหมาย ทางเว็บไซต์ Social Media (Facebook) และโครงการได้มอบหมาย
ผู้รับผิดชอบในการรับและตอบข้อเสนอแนะ ดังกล่าวข้างต้น ตามช่องทางต่างๆ กรณีเป็นเรื่องร้องเรียน
ทม่ี ผี ลกระทบหรือมีความเสยี หายตอ่ การบริหารจดั การน้าของโครงการฯ หรอื ภาพลกั ษณ์ของกรมชลประทาน
จะต้องมีการตรวจสอบอย่างละเอียดก่อนตอบผู้ร้องและรายงานสานักงานชลประทานที่7 และกรม
ชลประทาน ให้ทราบตามข้ันตอน

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หน้า 59
โครงการชลประทานมุกดาหาร

รูปท่ี 2-7 ข้นั ตอนในการรับขอ้ เสนอแนะและขอ้ รอ้ งเรียนต่างๆ

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 60
โครงการชลประทานมุกดาหาร

2.2 วิธีการในการเพิ่มขีดความสามารถ/ศักยภาพของทีมงานต่อการปฏิบัติงานเพ่ือเพ่ิม

ประสทิ ธภิ าพการทางาน

โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้ดาเนินการเพิ่มขีดความสามารถโดยมีแนวทางดาเนินการ

ดังนี้

ตารางท่ี 2-5 การกาหนดการฝึกอบรมและการพัฒนาบคุ ลากรเพอ่ื เพิม่ ขดี ความสามารถในการปฏิบัติงาน

กจิ กรรม วิธดี าเนินการ

กิจกรรมทางการบรหิ าร 1. การประเมนสมรรถนะบุคคล เพือ่ รขู้ ีดความสามารถของบุคลากรแตล่ ะบุคคล

2. เรยี นรงู้ าน และสบั เปลยี่ นหมนุ เวียนงาน เพ่ือทจ่ี ะใหส้ ามารถทาแทนกันได้

กิจกรรมทางดา้ นการฝกึ อบรม 1. การจัดฝึกอบรมภายในโครงการชลประทานมกุ ดาหาร

2. การสง่ บุคลากรไปอบรมและศึกษาดูงานการปฏบิ ตั ิงานภายนอกโครงการ

3. การอบรมการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ

4. การฝกึ อบรมในขณะปฏบิ ัตงิ านจริง

5. สอนแนะหรอื การใหค้ าปรึกษา โดยการเปน็ พเี่ ล้ียง

6. ควบคุมดแู ลเจา้ หนา้ ที่ลงมือปฏิบตั งิ านจริง

7. การสอนงานหรอื นเิ ทศงาน

กจิ กรรมร่วมระหวา่ งเจ้าหนา้ ที่ การบริหารจัดการความร้แู ละสรา้ งองคก์ รแหง่ การเรียนรู้ โดยการสง่ เสรมิ ใหท้ างานรว่ มกนั

เป็นกลมุ่ โดยมีจุดมุง่ หมายหลกั ในการรว่ มกนั พัฒนางาน หรอื คุณภาพชวี ิตการทางาน การ

สร้างทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์เพอ่ื แกป้ ญั หาการรู้จกั ใชค้ วามคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ ฯลฯ

รปู ที่ 2-8 สง่ บคุ ลากรเข้าร่วมโครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารเพ่อื เพมิ่ ขีดความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ หนา้ 61
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

 โครงการชลประทานมกุ ดาหาร มกี ารร่วมทบทวนเพอ่ื ปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพ และประสาน
เป็นประจาอย่างตอ่ เน่ืองทงั้ ในฤดฝู นและฤดแู ลง้ อยา่ งนอ้ ยปีละ 2 ครั้ง

รปู ที่ 2-9 การร่วมทบทวนเพื่อปรับปรงุ ประสิทธภิ าพ และประสานเป็นประจาอย่างต่อเน่อื ง
ทง้ั ในฤดูฝนและฤดแู ล้ง

 โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ของโครงการฯ
พัฒนาความสามารถในการทางานหรือเพ่มิ ความรู้ในการปฏบิ ตั งิ านโดยการฝึกอบรมในหลักสตู รตา่ งๆทมี่ ีความ
จาเป็นในการปฏบิ ตั ิ

รปู ที่ 2-10 การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้เจ้าหน้าท่ีของโครงการฯพัฒนาความสามารถในการทางานหรือเพิม่
ความรูใ้ นการปฏบิ ัตงิ านโดยการฝกึ อบรมในหลกั สูตรตา่ งๆทีม่ คี วามจาเป็นในการปฏิบตั ิ

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 62
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

 โครงการชลประทานมุกดาหาร มกี ารเพมิ่ ขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่โดยการสร้างการ
เรียนรู้ โดยกระบวนการจัดความรู้ (KM) เช่น การถอดบทเรียน AAR การถ่ายทอดความรู้จากพ่ีสู่น้อง การ
แลกเปล่ยี นความรู้ ซ่ึงโครงการฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้โครงการชลประทานมุกดาหาร
(KM) และไดม้ กี ารประชุมการจดั ความรู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งในปี 2561-2563 ได้มีการจัดทาคู่มือปฏิบัติงาน
จานวน 4 คู่มือ ได้แก่

- คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านด้านวศิ วกรรม
- คมู่ ือการปฏิบัติงานดา้ นจัดสรรนา้
- คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานดา้ นธุรการ
- ค่มู อื การปฏิบัตงิ านดา้ นชา่ งกล
ซึง่ คู่มอื ต่างๆเหล่านเ้ี ราได้เก็บไว้ในเพจโครงการและเวบ็ โครงการ

รปู ที่ 2-11 เจ้าหนา้ ท่โี ดยการสร้างการเรยี นรู้ โดยกระบวนการจดั ความรู้ (KM) หน้า 63

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการ
โครงการชลประทานมุกดาหาร

 โครงการชลประทานมุกดาหาร ไดม้ กี ารขออตั รากาลงั เพื่อทดแทนอตั รากาลังที่เกษยี ณ
เช่น การขอตาแหนง่ พนักงานราชการ เพื่อทดแทนลกู จา้ งประจาท่ีเกษยี ณ

รูปที่ 2-12 หนังสอื การขออัตรากาลงั เพอ่ื ทดแทนอัตรากาลังท่ีเกษียณ ฯลฯ

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 64
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

หมวดที่ 3
การบรหิ ารจัดการ

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 65
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

หมวดท่ี 3 การบริหารจดั การ
โครงการชลประทานมุกดาหารไดน้ อ้ มนาศาสตร์พระราชาในเร่อื ง “การพัฒนา” มาปรบั ใช้ดงั น้ี

1. เริ่มต้นด้วยตนเอง (Self-initiated)
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร ได้นาองคค์ วามรู้ต่างๆ ทก่ี รมชลประทานกาหนดใหม้ าใช้ในการ

พฒั นางานของโครงการฯ เช่น
 โครงการชลประทานมุกดาหาร นาคู่มือการบริหารจัดการน้า 16 เล่ม มาใช้เป็นแนวทางการ

บรหิ ารจัดการนา้
 โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้นาแนวทางการบริหารจัดการน้าโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม

รวมถึงคู่มือตา่ งๆของกองส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของประชาชนมาเปน็ แนวทางในการบริหารจัดการ
2. พ่งึ พาตนเองได้ (Self-reliance)
โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการวางแผนพฒั นาแหล่งนา้ และบรหิ ารจัดการน้า โดยเน้นการ

พึ่งพาปัจจัยต่างๆ เช่น เทคโนโลยี งบประมาณที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีการวาง
แผนการดาเนินงานทีร่ ัดกมุ ใชท้ รัพยากรท่ีมอี ยูอ่ ย่างจากัดให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด

3. ต้นแบบเผยแพร่ความรู้ (Prototype and role model)
โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการค้นหาแนวทางหรือหลักปฏิบัติมาตรฐานท่ีใช้ในการ

ปฏิบัติงาน โดยกาหนดเป็นคู่มอื ในการปฏบิ ัตงิ าน ประกอบดว้ ย
 คมู่ ือการปฏิบัตงิ านด้านวิศวกรรม
 คู่มือการปฏบิ ตั ิงานด้านจัดสรรน้า
 คู่มอื การปฏิบตั งิ านด้านธุรการ
 ค่มู ือการปฏิบตั ิงานดา้ นช่างกล

หมวด 3 การบริหารจดั การ
การบรหิ ารจัดการน้าและบารงุ รกั ษา
3.1 วธิ ีการรับทราบ/รบั รู้/คานวณปรมิ าณน้าต้นทุนในการจดั สรรน้า หรอื การระบายนา้ ในแตล่ ะ

ฤดูกาล
โครงการชลประทานมกุ ดาหารไดจ้ าแนกดังน้ี
3.1.1 โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้มีการวิเคราะห์ปริมาณน้าต้นทุนและจัดทาแผนการ

บริหารจัดการน้าของอ่างเก็บน้าขนาดกลาง จานวน 4 แห่ง และอ่างเก็บน้าโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ และปอู งกันชายแดน 17 แห่ง ทั้งนี้ ในการวางแผนจัดสรรน้า ได้พิจารณาจัดสรรน้าเพ่ือกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ได้ดงั นี้

 เพื่ออปุ โภค-บรโิ ภค
 เพือ่ รักษาระบบนเิ วศ
 เพอ่ื การเกษตร

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 66
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตารางท่ี 3-1 ตัวอยา่ งตารางแผนการจัดสรรน้า

แบบฟอร์ม สบอ.จน. - 1

ตารางแผนการจดั สรรนา้ รายสปั ดาหจ์ าก อา่ งเกบ็ นา้ หว้ ยขี้เหลก็ โครงการชลประทานมุกดาหาร จงั หวดั มุกดาหาร

ในช่วงฤดูแล้งปี 2563/64

( ระหวา่ งเดือน พฤศจกิ ายน 2563 ถงึ เดือน เมษายน 2564 )

สัปดาห์ ช่วงวนั ที่ การเกษตร ความต้องการนา้ จากอา่ งฯ (ล้าน ลบ.ม.) อน่ื ๆ รวม หมายเหตุ
ที่ อปุ โภคบรโิ ภค อตุ สาหกรรม รกั ษาระบบนิเวศ

1 1 - 7 พ.ย. 63 0.11 0.00 0.00 0.00 0.00 0.12 ความตอ้ งการนา้ รายเดอื น - ลา้ น ลบ.ม.

2 8 - 14 พ.ย. 63 0.11 0.00 0.00 0.04 0.00 0.15 พ.ย.-63 0.61

3 15 - 21 พ.ย. 63 0.11 0.00 0.00 0.04 0.00 0.15 ธ.ค.-63 0.73

4 22 - 28 พ.ย. 63 0.11 0.00 0.00 0.04 0.00 0.15 ม.ค.-64 0.75

5 29 พ.ย. - 5 ธ.ค.63 0.11 0.00 0.00 0.04 0.00 0.15 ก.พ.-64 0.64

6 6 - 12 ธ.ค. 63 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17 ม.ี ค.-64 0.8

7 13 - 19 ธ.ค. 63 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17 เม.ย.-64 0.7

8 20 - 26 ธ.ค. 63 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

9 27 ธ.ค. 63 - 2 ม.ค.64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17 รวม 4.23

10 3 - 9 ม.ค. 64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

11 10 - 16 ม.ค. 64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

12 17 - 23 ม.ค. 64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

13 24 - 30 ม.ค. 64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

14 31 ม.ค. - 6 ก.พ.64 0.12 0.00 0.00 0.04 0.00 0.16

15 7 - 13 ก.พ. 64 0.12 0.00 0.00 0.04 0.00 0.16

16 14 - 20 ก.พ. 64 0.12 0.00 0.00 0.04 0.00 0.16

17 21 - 27 ก.พ. 64 0.12 0.00 0.00 0.04 0.00 0.16

18 28 ก.พ. - 6 มี.ค.64 0.14 0.00 0.00 0.04 0.00 0.18

19 7 - 13 มี.ค. 64 0.14 0.00 0.00 0.04 0.00 0.18

20 14 - 20 มี.ค. 64 0.14 0.00 0.00 0.04 0.00 0.18

21 21 - 27 มี.ค. 64 0.14 0.00 0.00 0.04 0.00 0.18

22 28 มี.ค. - 3 เม.ย.64 0.12 0.00 0.00 0.04 0.00 0.16

23 4 - 10 เม.ย. 64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

24 11 - 17 เม.ย. 64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

25 18 - 24 เม.ย. 64 0.13 0.00 0.00 0.04 0.00 0.17

26 25 - 30 เม.ย. 64 0.09 0.00 0.00 0.03 0.00 0.13

รวม (ล้าน ม.3) 3.23 0.00 0.00 0.87 0.00 4.25

3.1.2 การระบายน้าฤดูฝนจะมกี ารประสานการระบายน้ารว่ มกับจงั หวดั ,อาเภอให้มตี อนบนให้
มีความสมั พันธ์กับปริมาณน้า ในช่วงฤดูน้าหลาก เช่น กรณีอ่างฯมีความจุเต็มเก็บกัก ต้องมีการระบายน้าลง
ลุ่มนา้ ตา่ งๆ เพอ่ื ใหอ้ า่ งฯสามารถรองรับน้าฝนใหม่ได้ หรือการเปิดบานระบาย ปตร.ที่อยู่ริมโขง เมื่อระดับน้า
ในแม่น้าโขงมรี ะดบั ลดลง

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 67
โครงการชลประทานมุกดาหาร

3.2 การนาปริมาณน้าต้นทนุ ทไี่ ด้รับมาวางแผนจัดสรรนา้ /ระบายน้า
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้มีการจัดทาปฏิทินการปลูกพืชในอ่างเก็บน้าขนาดกลาง

ในความรับผิดชอบ รวม 21 แห่ง โดยได้มีการประชุมร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น้าของแต่ละกลุ่มเพ่ือกาหนดชนิดพืช
และจานวนพื้นท่ีเพาะปลูกโดยยดึ น้าต้นทนุ เปน็ หลกั

ตารางที่ 3-2 แผนการจัดสรรนา้ และการเพาะปลกู พชื ฤดูฝน 2564

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ หน้า 68
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

ตารางท่ี 3-3 ตารางแสดงผลการเพาะปลกู พชื ฤดูฝน 2563

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 69
โครงการชลประทานมุกดาหาร

3.3 การแจ้งข่าวสารให้ผู้ใช้น้าทราบท้ังก่อนและระหว่างส่งน้า/การแจ้งข่าวสารให้ผู้รับบริการ

และผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ในลาน้าทรี่ บั ผิดชอบ

ตารางที่ 3-4 ตารางการแจง้ ข่าวสารใหผ้ ้ใู ชน้ า้ ทราบทั้งกอ่ นและระหว่างสง่ น้า หรือการแจ้งข่าวสารให้รับบริการ

และผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทราบ

กรณี การดาเนนิ งาน ชอ่ งทางแจ้งขา่ วสาร

ก่อนการส่งนา้ - ประสานงานกับหน่วยงาน - ประชุมประจาเดือน ระดับ

ราชการท่ีเก่ียวข้องในพื้นที่ที่ จงั หวดั

อาจจะมผี ลกระทบ - หนงั สือราชการ

- แจง้ ประธานกลุ่มผูใ้ ช้น้า หรือ - การกลุ่มผใู้ ช้น้า ท่ที าการ

หัวหน้ากลุ่มผุ้ใช้น้าตามพื้นที่ ผู้ใหญบ่ ้าน

ต่ า ง ๆ ใ ห้ ท ร า บ ข่ า ว ส า ร - หอกระจายขา่ วประจา

แผน ก าร ส่ง น้า และ ก าร หม่บู า้ น

ระบายน้า - จัดประชุมทุกกลุ่มผู้ใชน้ ้าเพื่อ

รบั ทราบสถานการณ์นา้ และ

แนวทางการจัดการน้า

- Line

ระหวา่ งการส่งนา้ - ติดตามออกตรวจเย่ียมกล่มุ - เจา้ หน้าท่ีฝาุ ยฯพบปะกับ

ผใู้ ช้นา้ กล่มุ ผู้ใช้นา้ โดยตรง

- ตรวจสอบการส่งน้าว่าเปน็ ไป - แจง้ หอกระจายข่าวประจา

ตามแผนการส่งน้าหรือไม่ หมู่บ้าน

- Line

- ปรบั แผนการสง่ น้าให้ - ทที่ าการกลมุ่ ผใู้ ช้น้า ที่ทาการ

เหมาะสมตามกิจกรรม ผใู้ หญบ่ ้าน

เพาะปลกู และพ้นื ทเ่ี พาะปลกู - หอกระจายข่าวประจา

จริงตลอดฤดกู าลส่งน้า หมู่บ้าน

- Line

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 70
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตารางที่ 3-4 ตารางการแจ้งข่าวสารให้ผู้ใช้น้าทราบทั้งก่อนและระหว่างส่งน้า หรือการแจ้งข่าวสารให้

ผูร้ ับบริการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียทราบ (ต่อ)

กรณี การดาเนินงาน ช่องทางแจ้งขา่ วสาร

ปอู งกันและบรรเทาภัยจากน้า กรณีนา้ แลง้ - ประชุมกลุ่มผูใ้ ช้นา้

- รว่ มประชุมกลุ่มผู้ใช้นา้ เพอื่ - ติดปาู ยประชาสัมพันธ์ทที่ า

ชแี้ จงทาความเข้าใจ และตกลง การกลมุ่ ผู้ใชน้ า้ ที่ทาการ

ลดพ้นื ท่กี ารเพาะปลูกร่วมกัน ผใู้ หญ่บ้าน

- - ประชาสัมพนั ธใ์ หใ้ ชน้ า้ อยา่ ง - แจกแผน่ พับประชาสมั พันธ์

- ประหยดั - หอกระจายข่าวประจา

- - วางแผนจดั สรรนา้ ให้เหมาะสม หมู่บ้าน

- กบั สภาพื้นทีอ่ ยา่ มีประสทิ ธิภาพ - Line

กรณนี ้าหลาก - โทรทศั น์

- - วางแผนปฏิบตั ิการเตรยี มความ

- พรอ้ ม

- - แจ้งประชาชนในพื้นทท่ี ราบ

- - แจง้ ขอ้ มลู ข่าวสารของกรมอตุ ุ

- วทิ ยา

- - แจง้ สถานการณน์ ้าใหเ้ ปน็

- ปัจจุบนั

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ หนา้ 71
โครงการชลประทานมุกดาหาร

โครงการชลประทานมุกดาหาร มีวิธีการแจ้งข่าวสารให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ท้ังก่อนส่งนา้ ระหว่างส่งน้า และการปูองกันภัยจากน้า โดยการประชุมชี้แจงข่าวสารเพื่อสร้างการรับรู้ให้กับ
กลุ่มผูใ้ ชน้ ้าฯ

รปู ที่ 3-1 ประชุมชี้แจงขา่ วสารเพอ่ื สรา้ งการรบั รู้ให้กับกลุ่มผู้ใชน้ า้ ฯ

3.4 การควบคุมการสง่ น้าในระดบั ต่าง ๆ/การควบคมุ การระบายน้าในระดบั ต่าง ๆ
โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการตรวจสอบและควบคุมการส่งน้า โดยให้ ฝุายส่งน้าและ

บารงุ รกั ษา มกี ารควบคุมการสง่ นา้ ใหถ้ ึงเกษตรกรตามแผนท่วี างไว้ โดยเจา้ หน้าทีฝ่ ุายฯ จะให้ความรู้เรื่องการ
ควบคุมการส่งนา้ ฝึกอบรมเกษตรกรใหร้ ู้จักการทางานของระบบ และการใชน้ า้ ชลประทานอย่างประหยัดและ
ถูกวิธี ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นท่ี และแต่ละช่วงเวลา การแจ้งข่าวสารให้ผู้ใช้น้าทราบทั้งก่อนและ
ระหว่างส่งน้า หรือการแจ้งข่าวสารให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในลาน้าท่ีรับผิดชอบ (สาหรับ
โครงการท่ีไม่มีอา่ งเก็บนา้ )

3.4.1 การดาเนนิ งานปูองกนั และบรรเทาภยั จากนา้
 การดาเนินงานปอู งกันและบรรเทาภัยจากนา้ ในพืน้ ทโี่ ครงการ สามารถดาเนินการได้

ดังนี้
- แจง้ ข่าวสารในโอกาสท่ีมกี ารประชุมกลุ่มผ้ใู ชน้ า้
- แจ้งทางหนงั สือถงึ ผ้นู าชมุ ชนขอความร่วมมือประกาศทางหอกระจายขา่ ว

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 72
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

- แจ้งโดยพนักงานส่งน้า นักประสานงานชุมชนชลประทาน และอาสาสมัคร
ชลประทานมีการควบคมุ การส่งน้าจรงิ ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนที่กาหนดให้เพอ่ื กระจายไปยังพ้นื ที่เพาะปลูกตลอด
ทง้ั โครงการอยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม

3.4.2 การควบคุมการสง่ น้าในระดบั ต่างๆ
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้มีการควบคมุ การสง่ นา้ (การระบายนา้ ) ในระดับต่างๆ

มกี ารควบคมุ ในระดบั ตา่ งๆ ดังนี้
- ระดับโครงการหรืออ่างเก็บน้าควบคุมโดยเจ้าหน้าที่โครงการท่ีได้รับการสั่งการจาก

โครงการฯ ฝาุ ยส่งน้าฯ
- ระดับคลองสายใหญ่ สายซอยโดยพนักงานส่งน้า หรือสมาชิกผู้ใช้น้าท่ีได้รับการ

มอบหมาย
- ระดับคูส่งน้าโดยสมาชิกผู้ใช้น้าที่ทาหน้าที่หัวหน้าคูส่งน้าน้ัน ๆการรายงาน การ

ประสานงาน และการแจง้ ข่าวสารหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในภาวะวิกฤติ
- ระดับโครงการรายงานประสานงานและแจ้งข่าวสารโดยผู้อานวยการโครงการหรือผู้

แทนท่ไี ด้รับมอบหมายทางโทรศัพท์ หนังสือดว่ นฯ
- ในระดบั พืน้ ท่โี ดยฝาุ ยสง่ น้าและบารุงรกั ษา และเจ้าหน้าทป่ี ระจาอ่างฯ

รปู ท่ี 3-2 การดาเนินงานปูองกนั และบรรเทาภยั จากน้าในพนื้ ท่ีโครงการ
โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการควบคุมการส่งน้าและการระบายน้า โดยมีการติดต้ัง
วิธกี ารควบคุมบานกับระดบั นา้ ไว้ที่ ปตร. หรอื อาคาร และมกี ารจัดทาสแี สดงเกณฑก์ ารควบคุมในภาวะวิกฤต
รวมถึงการติดตามในอ่างเก็บน้าขนาดกลาง 21 แห่ง โดยได้มอบหมายเจ้าหน้าที่ควบคุม และติดตามระดับ
คลอง/คูส่งน้า และมีหัวหน้าฝุายส่งน้าและบารุงรักษาท่ี 1-3 ควบคุมและติดตามอีกชั้นหนึ่ง รวมท้ังกรณี
ที่มีการระบายน้า เพ่ือแก้ปัญหาในภาวะวิกฤติ เช่น น้าแล้ง ได้มีการควบคุมการระบายน้าของอ่างเก็บน้า/
เข่ือนต่างๆ ในความรับผิดชอบ โดยมีการแจ้งรายงานข้อมูลเป็นรายวันให้กับภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง เช่น
จังหวัดมุกดาหารปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) มุกดาหาร COO คณะกรรมการพัฒนาการระดับ
จงั หวดั เป็นต้น

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 73
โครงการชลประทานมุกดาหาร

รปู ที่ 3-3 การแจ้งรายงานขอ้ มูลเป็นรายวันใหก้ ับภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้องเพอื่ รบั ทราบสถานการณ์ทุกวัน

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หนา้ 74
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

3.4.3 การดแู ลตรวจสอบคุณภาพนา้
โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้มีการส่งเสริมให้มีการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพน้า

ในพ้ืนที่โครงการฯ โดยมีการเก็บตัวอย่างน้าในอ่างฯ ส่งไปให้ส่วนจัดสรรน้า สชป.7 ทาการตรวจวิเคราะห์
คณุ ภาพนา้ ในอา่ งฯและแมน่ ้าโขง

- การส่งเสริมใหม้ กี ารควบคุมแลตรวจสอบคุณภาพน้าในพื้นท่โี ครงการ

รูปท่ี 3-4 ผลการดาเนินงานการตรวจสอบคุณภาพของน้าในแต่ละเดือน

3.5 การดาเนนิ งานปอ้ งกันและบรรเทาภัยจากน้าหรอื ในสภาวะวกิ ฤติ (น้าท่วม/น้าแลง้ /น้าเสยี )
 โครงการชลประทานมุกดาหารได้ทาการดาเนินงานปูองกันและบรรเทาภัยจากน้าในพ้ืนท่ี

โครงการโดยสามารถปูองกันและบรรเทาด้วยแผนการบริหารจัดการน้าที่ได้วางไว้และได้แจ้งกับทุกฝุายที่
เกีย่ วขอ้ ง

 โดยปรับแผนตามสถานการณ์ที่เหมาะสม เช่น การส่งน้าและร่องน้าก่อนเข้าสู่ฤดูน้าหลาก
หรอื เก็บกักน้าใหม้ ากกอ่ นหมดฤดฝู นเพื่อสารองน้าไวใ้ ช้อย่างเพียงพอในชว่ งฤดแู ล้ง โดยติดตามสภาวะอากาศ
อย่างใกล้ชดิ

เกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ หนา้ 75
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

รปู ท่ี 3-5 การดาเนินงานปอู งกนั และบรรเทาภยั จากนา้ หรอื ในสภาวะวกิ ฤติ

3.5.1 การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในภาวะวกิ ฤติ
ดาเนินการในรูปคณะทางานของโครงการตามกรอบภารกิจ ท่ีได้รับการมอบหมาย

จากคณะกรรมการระดบั จงั หวดั มกุ ดาหาร ซึ่งโครงการชลประทานฯได้เตรียมการช่วยเหลือในเรื่องของเครื่อง
สูบน้า เพ่ือบรรเทาปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย รถบรรทุกสนับสนุนการขนย้ายต่างๆ รถขุดหน้าตักหลัง
สนบั สนนุ ในกรณีเกดิ ภัย

รูปท่ี 3-6 การใหค้ วามชว่ ยเหลือในภาวะวกิ ฤติ

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 76
โครงการชลประทานมุกดาหาร

3.5.2 การซอ่ มแซมและบารงุ รกั ษา
 การดาเนินงานบารุงรักษาปกติเชิงปูองกันและกรณีเร่งด่วนและการประเมินผลการ

บารุงรกั ษา
- บารงุ รกั ษาปกติก่อนถงึ ฤดกู าลส่งน้า
- บารงุ รักษาเชงิ ปอู งกนั หากพบวา่ จะเกิดความเสยี หายลุกลาม
- บารงุ รกั ษาเร่งดว่ นในกรณีให้ใชง้ านได้โดยเร็วเพอื่ ไม่ให้เกิดความเสียหายหรือใช้การ

ไม่ได้จนเกิดผลกระทบต่อการส่งน้าฯ

รูปท่ี 3-7 การดาเนนิ งานบารงุ รักษา
3.5.3 การดาเนินงานซ่อมแซมปรบั ปรุงและการรายงานประเมินผลการซ่อมแซม

รูปที่ 3-8 การดาเนินงานซอ่ มแซมปรับปรงุ หน้า 77

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

3.6 การดาเนินการจัดทาบนั ทึกประวตั ิการตรวจสภาพและการบารุงรักษา อาคารชลประทาน/
Walk thru

โครงการฯมีการจดั ทาบนั ทึกบัญชีอาคารชลประทาน ประวัติ การซ่อมแซมบารุงรักษาอาคาร
ชลประทาน ผู้รับผิดชอบในการดาเนินการกรอกข้อมูล จัดทาบันทึกฐานข้อมูล การตรวจสภาพประวัติการ
บารงุ รักษา บัญชีอาคารตา่ งๆในโครงการฯ

โครงการชลประทานมุกดาหาร มีการจัดทาบันทึกอาคารชลประทาน ประวัติการซ่อมแซม
บารุงรักษาอาคารชลประทาน และรายละเอียดอื่นๆที่เกี่ยวข้องของอาคารชลประทานในความรับผิดชอบ
ประกอบดว้ ย

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 78
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตารางที่ 3-5 จดั ทาบนั ทกึ ประวัตกิ ารตรวจสภาพและการบารงุ รกั ษาอาคารชลประทาน/Walk thru

กลมุ่ ระบบสง่ น้า-ระบบระบายน้า กล

ช่ือคลอง ทตี่ งั้ ณ จดุ เร่ิมตน้ คลอง ชนิดคลอง ลกั ษณะการ ประเภทคลอง รหัสลุ่ม รหัสลุม่ ฝ่ายส่งน้า ช่ืออาคารหวั งาน
ใชง้ าน (สายใหญ่/สายซอย/ น้าหลกั น้าย่อย และ
RMC ตาบล อาเภอ จังหวัด Latitude Longitude (ลกั ษณะ สายแยกซอย/สายแยก
1L-RMC บารุงรักษา
1R-RMC ทาง ซอยแยก/คสู ่งน้า) ท่ี
2R-RMC
3R-RMC กายภาพ)
LMC
RMC ป่าไร่ ดอนตาล มกุ ดาหาร 16.25314 104.78810 1 1 1 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขี้เหลก็ (ตอนบน)
1L-RMC มกุ ดาหาร 16.26971 104.80471 1 1
1R-LMC นาสะเมง็ ดอนตาล มกุ ดาหาร 16.25488 104.80264 1 1 2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขเี้ หลก็ (ตอนบน)
2R-LMC มกุ ดาหาร 16.26971 104.80471 1 1
3R-LMC นาสะเมง็ ดอนตาล มกุ ดาหาร 16.27046 104.80553 1 1 2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขี้เหล็ก(ตอนบน)
4R-LMC มกุ ดาหาร 16.81408 104.55731 1 1
5R-LMC นาสะเมง็ ดอนตาล มกุ ดาหาร 16.80206 104.55734 1 1 2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยข้เี หล็ก(ตอนบน)
6R-LMC มกุ ดาหาร 16.79853 104.60781 1 1
7R-LMC นาสะเมง็ ดอนตาล มกุ ดาหาร 16.81399 104.57013 1 1 2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขเ้ี หลก็ (ตอนบน)
1L-1L-RMC มกุ ดาหาร 16.81876 104.62419 1 1
1R-1L-RMC หนองบวั ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.81847 104.59896 1 1 1 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
2L-1L-RMC มกุ ดาหาร 16.82508 104.61505 1 1
2R-1L-RMC หนองบัว ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.83008 104.63202 1 1 1 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
3L-1L-RMC มกุ ดาหาร 16.83214 104.64359 1 1
3R-1L-RMC ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.82997 104.65376 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
1R-1L-1L-RMC มกุ ดาหาร 16.80442 104.61241 1 1
1R-2L-1L-RMC หนองบวั ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.80100 104.61347 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
LMC มกุ ดาหาร 16.80580 104.61817 1 1
1R-LMC หนองบัว ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.80560 104.61671 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
2R-LMC มกุ ดาหาร 16.80695 104.62013 1 1
3R-LMC ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.80580 104.61817 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
มกุ ดาหาร 16.80476 104.61182 1 1
LMC ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.80677 104.67128 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
RMP มกุ ดาหาร 16.56477 104.40531 1 1
1L-LMC ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.56477 104.40537 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
1R-LMC มกุ ดาหาร 16.56900 104.41071 1 1
MP ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.57667 104.40174 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
LMP มกุ ดาหาร 16.47067 104.76691 1 1
RMP ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.46929 104.76879 1 1 2 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
1L-RMP มกุ ดาหาร 16.48269 104.77430 1 1
1R-LMP ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.48513 104.77451 1 1 3 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
2L-RMP มกุ ดาหาร 16.76119 104.15738 1 1
3L-RMP ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.75539 104.37765 1 1 3 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
RMP มกุ ดาหาร 16.75613 104.37914 1 1
1R-RMP ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.76633 104.38048 1 1 3 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
2L-RMP มกุ ดาหาร 16.76729 104.36650 1 1
RMC ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.77123 104.38031 1 1 3 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
LMP มกุ ดาหาร 16.77293 104.38033 1 1
MP ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.72238 104.42495 1 1 3 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
1R-LMP มกุ ดาหาร 1 1
2R-LMP ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.72247 104.42349 1 1 3 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
LMC มกุ ดาหาร 16.72247 104.42349 1 1
RMC ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.79443 104.17483 1 1 4 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยชะโนด
1L-LMC มกุ ดาหาร 16.53882 104.31831 1 1
1R-LMC ชะโนดน้อย ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.53757 104.31744 1 1 4 2 0234 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยชะโนด
LMP มกุ ดาหาร 16.52034 104.34691 1 1
LMP น้าเทยี่ ง คาชะอี มกุ ดาหาร 16.51932 104.34939 1 1 1 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยมกุ
RMP มกุ ดาหาร 16.71268 104.23069 1 1
1L-RMP น้าเทยี่ ง คาชะอี มกุ ดาหาร 16.70817 104.22993 1 1 2 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยมกุ
1R-LMP มกุ ดาหาร 16.71621 104.23955 1 1
2L-RMP น้าเทย่ี ง คาชะอี มกุ ดาหาร 16.71663 104.23787 1 1 2 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยมกุ
3L-RMP มกุ ดาหาร 16.68563 104.19428 1 1
1L-2L-RMP น้าเทยี่ ง คาชะอี มกุ ดาหาร 16.73690 104.18672 1 1 2 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยมกุ
1R-2L-RMP มกุ ดาหาร 16.73670 104.19034 1 1
2R-2L-RMP นาสีนวน เมอื งมกุ ดาหาร มกุ ดาหาร 16.73873 104.19479 1 1 1 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยสงิ ห์
1R-2R-2L-RMP มกุ ดาหาร 16.74274 104.18528 1 1
LMP นาสนี วน เมอื งมกุ ดาหาร มกุ ดาหาร 16.73745 104.19763 1 1 1 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยสิงห์
1L-LMP มกุ ดาหาร 16.73221 104.20201 1 1
1R-LMP นาสีนวน เมอื งมกุ ดาหาร มกุ ดาหาร 16.74735 104.19986 1 1 2 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยสงิ ห์
LMC มกุ ดาหาร 16.73827 104.19844 1 1
1L-LMC นาสนี วน เมอื งมกุ ดาหาร มกุ ดาหาร 16.74252 104.20029 1 1 2 2 0236 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยสิงห์
2L-LMC มกุ ดาหาร 16.74450 104.21171 1 1
3L-LMC กกตมู ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.78103 104.14696 1 1 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าบา้ นสานแว้
1L-2L-LMC มกุ ดาหาร 16.77850 104.17080 1 1
1R-1L-2L-LMC พงั แดง ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.77832 104.17103 1 1 1 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขาหน้า
LMP มกุ ดาหาร 16.80208 104.46291 1 1
RMP พงั แดง ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.78771 104.46991 1 1 1 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขาหน้า
1L-RMP มกุ ดาหาร 16.77975 104.47016 1 1
1R-LMP พงั แดง ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.77188 104.47098 1 1 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขาหน้า
1R-RMP มกุ ดาหาร 1.67569 104.49389 1 1
2L-RMP พงั แดง ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.78180 104.47506 1 1 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขาหน้า
3L-RMP มกุ ดาหาร 16.72994 104.49031 1 1
MC พงั แดง ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.72779 104.49106 1 1 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขาหน้า
1L-MC มกุ ดาหาร 16.73497 104.50560 1 1
1R-MC พงั แดง ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.74215 104.50573 1 1 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขาหน้า
LMP มกุ ดาหาร 16.73336 104.51085 1 1
1R-LMP หนองแคน ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.73026 104.51581 1 1 1 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยแคน
1L-1R-LMP มกุ ดาหาร 16.72827 104.52181 1 1
1R-1R-LMP หนองแคน ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.65182 104.62249 1 1 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยแคน
2R-1R-LMP มกุ ดาหาร 16.65549 104.64093 1 1
3R-1R-LMP หนองแคน ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.65430 104.63948 1 1 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยแคน
LMP มกุ ดาหาร 16.74702 104.15816 1 1
RMP กกตมู ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.75429 104.17224 1 1 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยตะไถ
1R LMP มกุ ดาหาร 16.75296 104.17994 1 1
1R-LMP คาชะอี คาชะอี มกุ ดาหาร 16.75219 104.17886 1 1 1 2 0237 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยถ้าไมด้ ู่
2R-LMP มกุ ดาหาร 16.75296 104.17994 1 1
3R-LMP คาชะอี คาชะอี มกุ ดาหาร 16.75739 104.18642 1 1 1 2 0237 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยถ้าไมด้ ู่
LMC มกุ ดาหาร 16.78148 104.48846 1 1
RMC คาชะอี คาชะอี 16.78114 104.48549 1 1 2 2 0237 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยถ้าไมด้ ู่
1R3-LMC 1 1
1R-LMC คาชะอี คาชะอี 1 1 2 2 0237 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยถ้าไมด้ ู่
2R1-LMC 1 1
2R-LMC กกตมู ดงหลวง 1 1 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยทา
3R-LMC 1 1
4R-LMC กกตมู ดงหลวง 1 1 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยทา
1L-1R-LMC 1 1
1R-2R-LMC กกตมู ดงหลวง 1 1 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยทา
1 1
กกตมู ดงหลวง 1 1 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยทา
1 1
กกตมู ดงหลวง 1 1 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไผ่
1 1
กกตมู ดงหลวง 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยพุ

กกตมู ดงหลวง 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยพุ

กกตมู ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 3 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 3 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 3 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 4 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพุ

กกตมู ดงหลวง 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพงุ

กกตมู ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพงุ

กกตมู ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยพงุ

หนองแคน ดงหลวง 1 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่

หนองแคน ดงหลวง 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่

หนองแคน ดงหลวง 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่

หนองแคน ดงหลวง 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่

หนองแคน ดงหลวง 3 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่

หนองแคน ดงหลวง 4 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่

หนองแคน ดงหลวง 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่ 2

ดงมอน เมอื งมกุ ดาหาร 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่ 2

ดงมอน เมอื งมกุ ดาหาร 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่ 2

หนองแคน ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่ 2

ดงมอน เมอื งมกุ ดาหาร 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยไร่ 2

ดงมอน เมอื งมกุ ดาหาร 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยไร่ 2

ดงมอน เมอื งมกุ ดาหาร 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยไร่ 2

โพนทราย เมอื งมกุ ดาหาร 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหมากไฟ

โพนทราย เมอื งมกุ ดาหาร 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหมากไฟ

โพนทราย เมอื งมกุ ดาหาร 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหมากไฟ

กกตมู ดงหลวง 1 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหอย

กกตมู ดงหลวง 2 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหอย

กกตมู ดงหลวง 3 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหอย

กกตมู ดงหลวง 3 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหอย

กกตมู ดงหลวง 3 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหอย

กกตมู ดงหลวง 3 2 0235 3 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหอย

หนองแคน ดงหลวง 1 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหนิ ลับ

หนองแคน ดงหลวง 1 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหินลบั

2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหินลับ

หนองแคน ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.76859 104.49047 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าห้วยหินลับ
หนองแคน ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.76863 104.49468
หนองแคน ดงหลวง มกุ ดาหาร 16.76240 104.51140 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหินลบั
นิคมคาสร้อย นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.35988 104.57016
นิคมคาสร้อย นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.35768 104.57374 2 2 0235 2 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยหนิ ลับ
มกุ ดาหาร 16.37704 104.57058
นากอก นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.37985 104.56454 1 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขี้เหล็ก
นากอก นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.37870 104.55637
นากอก นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.39551 104.55122 1 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขเ้ี หลก็
นากอก นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.40533 104.54926
นากอก นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.41865 104.53816 2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขี้เหล็ก
นากอก นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.38751 104.56681
นากอก นิคมคาสร้อย มกุ ดาหาร 16.39476 104.55472 2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขเ้ี หลก็
นากอก นิคมคาสร้อย
2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขเ้ี หลก็

2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขี้เหลก็

2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขี้เหล็ก

2 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขี้เหล็ก

3 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าหว้ ยขเ้ี หลก็

3 2 0237 1 อา่ งเกบ็ น้าห้วยขี้เหล็ก

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ หนา้ 79
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

- จัดทารายงานการประเมินการสง่ น้าประจาฤดกู าล สรปุ ผลเป็นรปู เล่ม ทันเวลา
- จัดทารายงานการประเมนิ การสง่ น้าประจาสรุปผลเป็นรปู เล่มมเี นอ้ื หาครบถ้วน

 มีการชี้แจงและทาความเข้าใจในเรื่องของแบบฟอร์มต่าง ๆ ให้กับผู้เก่ียวข้อง ในการจัดทา
บันทกึ ประวัติการตรวจสอบสภาพ และการบารงุ รกั ษาอาคารชลประทาน

รูปที่ 3-9 ช้ีแจงและทาความเข้าใจในเรื่องของแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ หนา้ 80

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

3.7 การคดิ ค้น/นานวตั กรรมมาใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน หรือปรับปรงุ วธิ ีการทางาน

โครงการชลประทานมกุ ดาหาร ได้นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์ เคร่ืองไม้เคร่ืองมือ

ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม ส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งภายหลังการนาเทคโนโลยีมาใช้จะส่งผลให้มีความถูกต้องของงานมากข้ึน

โดยประโยชน์ของการนาเทคโนโลยมี าใช้ มดี ังต่อไปน้ี

1. ลดเวลา 4. รวดเรว็

2. ลดคน 5. เชื่อถือได้

3. ลดงบประมาณ 6. แม่นยา

โดยมีรปู แบบของเทคโนโลยีท่ีนามาใช้ ดังนี้
3.7.1 ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS)

รปู ท่ี 3-10 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS)

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หน้า 81
โครงการชลประทานมุกดาหาร

3.7.2 คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงพร้อมอุปกรณ์

รูปที่ 3-11 คอมพิวเตอร์สมรรถนะสงู พร้อมอปุ กรณ์
3.7.3 อากาศยานไรค้ นขับ (Drone)

รูปที่ 3-12 อากาศยานไร้คนขับ (Drone) หน้า 82

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ
โครงการชลประทานมุกดาหาร

การบรหิ ารองคก์ รผใู้ ช้น้า
3.8 วธิ กี ารสรา้ งการมสี ่วนร่วมกบั ผู้รบั บริการและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียในแต่ละฤดูกาล
โครงการชลประทานมุกดาหารมีการดาเนินการดงั นี้
3.8.1 การจดั ทาปฏทิ นิ กิจกรรมประจาปี และการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามแผน

โดยกาหนดให้ทุกกลุ่มมีแผนดาเนินกิจกรรมของตนเอง โดยเฉพาะกิจกรรมหลักที่ต้องดาเนินการ คือการ
ประชุมกอ่ นการส่งนา้ เพ่ือการเพาะปลกู พืชฤดฝู นฤดูแล้ง การออกตรวจสอบติดตามการส่งน้า-การรับน้า ราย
สปั ดาห์ การประชุมย่อยเพ่ือหารือการดาเนินกจิ กรรมของกลมุ่ ทั้งในพื้นท่ี และเพ่อื สาธารณะประโยชน์

3.8.2 การเข้าร่วมบริหารจัดการน้าของกลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน กลุ่มผู้ใช้น้า
ชลประทานพ้ืนฐาน อาสาสมัคร และคณะกรรมการจัดการชลประทานโดยกลุ่มผู้ใช้น้าพ้ืนฐานจะรับผิดชอบ
ดูแลพื้นที่ แฉกส่งน้าของตนส่วนกลุ่มบริหารการใช้น้าฯจะดูแลพื้นที่ทั้งหมดของกลุ่ม โดยอาสาสมัคร
ชลประทานจะเข้าไปชว่ ยเหลือการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหน้าท่ีและกลุ่มผู้ใช้น้าฯ โดยอาศัยคณะกรรมการจัดการ
ชลประทานเข้ามาร่วมกาหนดแกไ้ ขปญั หา และร่วมกันพฒั นาในภาพรวมขององคก์ รท่มี ที ้องถนิ่ เขา้ มสี ว่ นรว่ ม

3.8.3 การบารุงรักษาอาคารชลประทานให้มีสภาพดีอยู่เสมอเม่ือมีการประชุมใหญ่ และการ
ประชุมพบปะจะเน้นและให้ความรู้ในการดูแลบารุงรักษาอาคารชลประทาน และให้มีส่วนร่วมในการดูแล
บารงุ รักษากับสมาชิกผ้ใู ชน้ ้าเสมอ

3.8.4 การส่งเสริมให้มีท่ีทาการกลุ่มและบอร์ดสาหรับติดประกาศต่างๆด้วยการให้ข้อคิดเห็น
และเห็นความสาคัญของการมีที่ทาการกลุ่มเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการงานโดยสนับสนุนวัสดุ
ในบางส่วน หากมีความพร้อมในการดาเนินการ

3.5.5 การจ้างเหมากลุ่มผู้ใช้น้าบารุงรักษาอาคารชลประทานโดยพิจารณาให้กลุ่มเข้ามามี
บทบาทในการบารงุ รกั ษาอาคารชลประทาน ของตนเองด้วยงบประมาณซึ่งเกษตรกรผู้ใช้น้าจะต้องเป็นผู้ออก
แรงเปน็ สว่ นใหญ่โครงการจะสนบั สนุน วสั ดุ อุปกรณ์ และคาแนะนา ในการบารงุ รักษา และพัฒนากจิ กรรมใน
เบอ้ื งตน้ โดยเน้นกระจายให้ทุกฝุายส่งน้าฯของโครงการฯ

3.5.6 การสง่ เสริมให้มีการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางน้า เพ่ือคุณภาพน้าที่ดีในโอกาสท่ีมีการ
ประชมุ ฝกึ อบรม หรอื การประชุมพบปะ จะเน้นถึงการอนรุ กั ษ์สภาพแวดล้อมในพืน้ ท่ีอยูเ่ สมอ เพราะจะส่งผล
กระทบกบั กลมุ่ ผใู้ ช้น้าโดยตรง เช่น การใช้นา้ ไม่ประหยัดจนน้าแห้งอ่างฯ การใช้สารเคมใี นปริมาณมาก การใช้
ยาฆ่าหญ้า การปลกู พชื อยา่ งเดียวท่ีสง่ ผลกระทบต่อระบบการชะล้างของดิน เปน็ ต้น

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 83
โครงการชลประทานมุกดาหาร

รปู ที่ 3-13 วธิ ีการสร้างการมีสว่ นรว่ มกบั ผู้รับบริการและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียในแต่ละฤดูกาล

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 84
โครงการชลประทานมุกดาหาร

โครงการชลประทานมุกดาหาร ได้มีการส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มผู้ใช้น้าฯ จัดกิจกรรมในการ
ดูแลและบารุงรักษาอาคารชลประทาน เช่น การกาจัดวัชพืชในคลองส่งน้า ขุดลอกตะกอนดิน ตรวจสภาพ
คลองส่งน้า หากพบรอยแตกหรือรอยรัว่ จะไดท้ าการซอ่ มแซมต่อไปเพ่อื ให้มีสภาพพร้อมใช้งาน สามารถส่งน้า
ให้กับพ้นื ที่ชลประทานไดอ้ ยา่ งเต็มประสิทธิภาพ ปลี ะ 2 ครั้ง คอื ช่วงก่อนการส่งน้าฤดูนาปี และช่วงก่อนการ
ส่งนา้ ฤดูแลง้

รปู ที่ 3-14 การส่งเสริมสนับสนุนใหก้ ลุม่ ผู้ใช้น้าฯ จัดกจิ กรรมในการดแู ลและบารงุ รกั ษา
อาคารชลประทาน ต่างๆ

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หน้า 85
โครงการชลประทานมุกดาหาร

หมวดท่ี 4
ผลสัมฤทธิ์ของงาน

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 86
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

มติ ิในประสิทธพิ ล
ตัวชี้วัดที่ 1 รอ้ ยละของพ้นื ทบ่ี รหิ ารจัดการนา้ ในเขตชลประทาน (Cropping Intensity
คาอธบิ ายตวั ชีว้ ดั
เป็นการวัดความหนาแน่นของการปลกู พืช หรอื ความถ่ีของการใช้พ้ืนท่ีเพื่อการเพาะปลูกใน
รอบปีถ้ามีการปลูกพืชเต็มพ้ืนที่เพียงครั้งเดียวในรอบปี Cropping Intensity ในรอบปีนั้น
จะเท่ากับ 100 โดยพื้นท่ีบริหารจัดการน้าในเขตชลประทาน หมายถึง จานวนพ้ืนที่
เพาะปลูกไดแ้ ก่ นาข้าว พืชผัก พืชไร่ ไม้ผลไม้ยืนต้น อ้อย รวมทั้งพื้นท่ีบ่อปลา บ่อกุ้ง และ
อื่น ๆ ที่ทาการผลิตสินค้าการเกษตรในแต่ละปี ในเขตพ้ืนที่รับบริการน้าจากระบบ
ชลประทาน ทัง้ นี้ ไม้ผล ไม้ยนื ตน้ อ้อย บอ่ ปลา บ่อกุง้ และอ่นื ๆ ให้กรอกข้อมลู 1 ครง้ั /ปี
(ฤดฝู น หรือฤดูแลง้ )พืชไร่ หมายถึง พืชไร่ท่ีปลูกและเก็บเกี่ยวในระยะส้ัน 3-4 เดือน ได้แก่
ถว่ั ลสิ ง ถ่ัวเหลอื ง ถว่ั เขยี วยาสูบ แตงโม ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันเทศ แตงไทย
งา มนั แกว เผือก ข้างฟุาง แห้วจีน ฯลฯพืชไร่ท่ีอายุยาวกว่าน้ีไม่นับรวมเป็นพืชไร่ ซึ่งได้แก่
อ้อย มันสาปะหลัง และสับปะรดพืชผัก หมายถึง ผักต่าง ๆ ได้แก่ กระเทียม หอมแดง
หอมหัวใหญ่ แตงกวา แตงร้าน ถว่ั ฝักยาว พรกิ มะเขือ ฟกั แฟง ฟักทอง บวบ คะน้า ผักกาด
หัว กวางตุ้ง ผกั บุ้ง ผกั ชี ข้าวโพดฝักอ่อน หน่อไม้ฝรั่ง มะเขือเทศมันฝรั่ง ฯลฯอ้อย เป็นพืช
ไรท่ ่สี าคัญและมอี ายยุ าวนานกวา่ พชื ไร่ ซึ่งมีเฉพาะทไี่ ม้ผล ได้แก่ ขนุน องุ่น ส้มต่างๆ กล้วย
เงาะ ทุเรียน มังคุด ลิ้นจี่ ลาไย มะม่วง ฯลฯไม้ยืนต้น ได้แก่ ปาล์ม ยางพารา กาแฟ
พริกไทย กระถิน ยูคาลิปตัส สน อินทนิล แค กระถินณรงค์ตะแบก ฯลฯบ่อปลา หมายถึง
พนื้ ที่ผิวน้าทีใ่ ช้เลยี้ งปลานา้ จดื แต่ละชนดิ บ่อกุ้ง หมายถงึ พื้นท่ีผิวน้าทั้งหมดของบ่อเล้ียงทุก
บ่อทใี่ ชเ้ ล้ยี งกงุ้ ภายในฟาร์มอ่นื ๆ หมายถึง พืชอนื่ ๆ ท่ไี ม่ได้กาหนดไว้ เชน่ พืชไรท่ ี่มีช่วงการ
เจริญเติบโตยาวนานกว่าพืชไร่ หรือพืชประเภทอื่น ๆ ได้แก่ สับปะรด มันสาปะหลัง
กระชาย ชะอม ไม้ดอก ไม้ประดับ ฯลฯ

วธิ กี ารเกบ็ ข้อมูล
โครงการสง่ น้าและบารุงรักษา/โครงการชลประทาน หรือฝุายส่งน้าและบารุงรักษา ให้

เจา้ หนา้ ท่สี ารวจเก็บขอ้ มูลพนื้ ทเี่ พาะปลกู ในเขตพนื้ ทีช่ ลประทานของโครงการ (รวมข้อมูลจาก
ทุกฝุายส่งน้าและบารุงรักษา) ในฤดูฝนและฤดูแล้ง ทั้งนี้ไม่นับรวมในกรณีที่มีการส่งน้าให้
เกษตรกรนอกเขตชลประทาน

สตู รการคานวณ

พ้นื ท่บี รหิ ารจดั การน้าในเขตชลประทาน x100
พืน้ ที่ชลประทาน

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หน้า 87
โครงการชลประทานมุกดาหาร

สถติ ิหรอื ขอ้ มูลที่จะนามาคานวณป 2563

ชนิดพชื พ้ืนท่ีเพาะปลกู จรงิ พนื้ ท่เี พาะปลูกจรงิ รวมพน้ื ทปี่ ลูกจรงิ
ฤดูฝน (ไร่) ฤดูแล้ง (ไร)่ (ไร)่
0 25,997
ข้าว 25,997

พืชไร่ 786 254 1,040

พืชผัก 350 184 534

ออ้ ย 217 165 382

ไม้ผล 428 0 428

ไมย้ นื ต้น 5,392 0 5,392

บอ่ ปลา/บอ่ กงุ้ 648 0 648

อนื่ ๆ 10 0 10

รวม 33,828 603 34,431

พ้นื ที่ชลประทาน 49,720
หมายเหตุ : ใหใ้ ส่ขอ้ มูลที้งหมด 4 ปี คอื ปปี ัจจบุ ัน และ 3 ปี ยอ้ นหลงั
การคานวณป 2563
ร้อยละของพ้นื ท่บี รหิ ารจัดการนา้ ในเขตโครงการ = (33,828+603)x100/49,720=69.25
ข้อมลู ยอ้ นหลงั (3 ป)

2560 2561 2562 2563
80.10 102.01 103.55 69.25

เกณฑก์ ารให้คะแนน (Le)

ตวั ชี้วดั 1 ระดบั คะแนน
2 3 45
รอ้ ยละของพ้นื ที่ ไมน่ อ้ ยกวา่
บริหารจดั การน้าใน 119% หรือ ไม่น้อยกว่า ไมน่ อ้ ยกว่า ไม่น้อยกว่า 135%
เขตชลประทาน ไม่มากกว่า 123% หรือ 127% หรอื 131% หรือ
(Cropping Intensity) 151% ไม่มากกวา่ ไม่มากกว่า ไมม่ ากกว่า
147% 143% 139%

คา่ คะแนนที่ได้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หน้า 88
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

กราฟแสดงผลและแนวโนม (Le/T)

คาอธิบาย
1. จากกราฟค่าจะต่ากวา่ เกณฑ์มาตรฐาน สาเหตุเน่ืองจากในชว่ งที่ผ่านมา เกิดภาวะฝนท้ิงชว่ ง การ
เพาะปลูกจงึ ต้องวางแผนตามปริมาณน้าต้นทุนของแต่ละอ่างฯ ตอ้ งงดทานาปรัง ขอความรว่ มมอื ลดพืน้ ที่
ปลูกพชื ฤดแู ล้ง เพอ่ื ลดการสญู เสยี ของพชื ผลทางการเกษตร ทาให้ไม่สามารถสง่ เสริมการเพาะปลกู พืชฤดู
แล้งได้
2. แต่เพอ่ื ใหเ้ พ่มิ พ้ืนที่การเพาะปลกู ในฤดแู ลง้ มากขนึ้ โครงการฯจะประชาสมั พนั ธ์และรว่ มบรู ณาการกับ
หนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงเกษตรฯในการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกพืชใชน้ า้ นอ้ ยแทนการทานาปรงั ให้
ได้มากทีส่ ุด

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ หน้า 89
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตัวช้ีวัดท่ี 2 รอ้ ยละความเสียหายของพืชเศรษฐกจิ ในเขตชลประทานจากอุทกภยั และภยั แลง้
คาอธบิ ายตวั ชีว้ ัด

เป็นการวัดความเสียหายของพชื เศรษฐกจิ จากการบรหิ ารจดั การนา้ ของโครงการสง่ นา้ และ
บารงุ รกั ษา/โครงการชลประทาน ตลอดฤดูฝนและฤดแู ลง้ โดยพนื้ ทดี่ งั กลา่ วจะต้องอยใู่ นแผนการส่งนา้
ของโครงการชลประทาน/โครงการสง่ น้าและบารุงรกั ษา ความเสยี หายของพืชเศรษฐกจิ หมายถึง ไม่
สามารถเกบ็ เก่ยี วผลผลิตหลงั จากทีท่ าการเพาะปลกู ไปแลว้ โดยความเสยี หายเกดิ จากอทุ กภยั และภัย
แล้ง ไมร่ วมความเสียหายที่เกดิ จากโรคพืช และแมลงศตั รูพชื
วธิ ีการเกบ็ ขอ้ มูล

เจา้ หน้าทโ่ี ครงการฯ หรือฝุายสง่ นา้ ฯ ให้เจ้าหน้าที่สารวจและเก็บข้อมูลความเสียหายของพ้ืนที่
เพาะปลูก ท่ีเกดิ จากอุทกภัยและภยั แล้งทเ่ี สียหายโดยสิ้นเชงิ ทัง้ ในฤดูฝนและฤดแู ล้ง
สูตรการคานวณ

(พ้นื ที่ความเสียหายของพืชเศรษฐกิจในฤดูฝน + ฤดแู ลง้ ) x 100
จานวนพืน้ ท่เี พาะปลกู จริง (ฤดฝู น + ฤดูแล้ง)

พื้นทไ่ี ดร้ บั ความเสียหายจากภัยน้าท่วม, พืน้ ทไ่ี ดร้ บั ความเสียหายจากภยั แลง้ (ป 2563)

ฤดู ชนดิ พชื พื้นทีเ่ พาะปลูกจรงิ (ไร)่ พน้ื ที่ทเ่ี สยี หาย (ไร)่ สาเหตุ
-
ฝน ข้าวนาปี 25,997 0 -
-
แลง้ ขา้ วนาปรงั 0 0

รวม 25,997 0

จานวนพ้ืนที่เพาะปลูกจริงของฝุายส่งน้าและบารุงรกั ษา = 25,997 ไร่
หมายเหตุ : ให้ใสข่ อ้ มูลท้งั หมด 4 ปี คือ ปปี ัจจบุ ัน และ 3 ปีย้อนหลัง
การคานวณป 2563
ร้อยละความเสียหายของพืชเศรษฐกิจในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแล้ง = (0*100)/25,997=
0.00
ข้อมลู ยอ้ นหลงั (3 ป)

2560 2561 2562 2563
0.00 0.00 0.00 0.00

เกณฑก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 90
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

ตวั ชวี้ ดั ระดับคะแนน
12345
ร้อยละความเสียหายของพืชเศรษฐกจิ ใน
เขตชลประทานจากอทุ กภัยและภัยแลง้ 0.245 0.195 0.145 0.095 0.045

ค่าคะแนนท่ีได้ 5 คะแนน
กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

คาอธิบาย
เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่ 0.145 ผลงานต่ากว่าเกณฑ์ แต่ท้ังนี้เนื่องจากเป็นตัวช้ีวัดเชิงลบ
จึงถือว่าดีกว่า แนวโน้มความเสียหายของพืชคงท่ี ไม่มีความเสียหาย เน่ืองจากเกษตรกรให้ความร่วมมือ
ปฏิบตั ติ ามแผนการเพาะปลูก โครงการฯจะได้พยายามรักษามาตรฐานดังกล่าวไว้ ไม่ให้เกิดความเสียหาย
ของพืชในเขตพื้นท่ีชลประทานเป็นอันขาด โดยจะเน้นในเร่ืองของการส่งน้าให้ทั่วถึง การติดตามน้า
การวางแผนการปลูกพชื ในแต่ละฤดู และเนน้ การประชาสมั พนั ธข์ อความรว่ มมอื กับเกษตรกรให้ปฏิบัติตาม
แผนการปลูกพืช

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ หน้า 91
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตวั ชีว้ ัดที่ 3 ร้อยละของอา่ งเก็บนา้ และทางน้าชลประทานทีค่ ุณภาพน้าได้เกณฑม์ าตรฐาน

คาอธบิ ายตัวช้ีวดั
คา่ เฉลยี่ ของการตรวจวัดคุณภาพนา้ ตามเกณฑ์คุณภาพนา้ ด้านการชลประทาน ในอ่างเกบ็ นา้

ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และทางนา้ ชลประทาน โดยคา่ ที่ตรวจวัดและเกณฑ์คุณภาพ ประกอบด้วย 6
พารามิเตอร์ได้แก่
1. อุณหภมู ิ (Temperature) ไมเ่ กิน 40 องศาเซลเซยี ส
2. คา่ ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH) ระหว่าง 6.5-8.5
3. คา่ ความนาไฟฟูา (Electricity Conductivity; EC) ไม่เกิน 2,000 ไมโครโมห/์ เซนติเมตร
4. คา่ ออกซิเจนละลายนา้ (Dissolved Oxygen; DO) ไม่นอ้ ยกวา่ 2 มิลลิกรมั /ลติ ร
5. ปรมิ าณของแขง็ ทง้ั หมดท่ีละลายน้า (TDS) ไม่เกิน 1,300 มิลลิกรัม/ลิตร
6. คา่ ความเคม็ (Salinity) ไม่เกนิ 1 กรัม/ลิตร

วธิ ีการเก็บข้อมลู

ให้โครงการฯ หรือฝาุ ยส่งนา้ ฯ กาหนดจดุ การตรวจวัดคณุ ภาพนา้ ภายในขอบเขตที่รับผิดชอบ เช่น

บรเิ วณอา่ งเกบ็ นา้ คลองส่งน้า และคลองระบายน้า โดยระบุจดุ ตรวจวัดให้ชัดเจน และกาหนดช่วงเวลาใน

การตรวจวัด เช่น วัดทุกเดือน วัดทุก 3 เดือน หรือวัดทุกสัปดาห์ เป็นต้น และดาเนินการตรวจวัดตามท่ี

กาหนด ท้ังนี้ จะต้องแสดงผลการตรวจวดั ทัง้ 6 พารามเิ ตอร์ ประกอบในการพจิ ารณาดว้ ย

สตู รการคานวณ

จานวนอ่างเก็บนา้ และทางน้าชลประทานทคี่ ุณภาพนา้ ได้เกณฑม์ าตรฐาน x 100

จานวนอ่างเก็บน้าและทางน้าชลประทานท่ีดาเนนิ การสารวจทง้ั หมด

สถิตหิ รอื ขอ้ มลู ท่จี ะนามาคานวณ

จานวนอา่ งเกบ็ นา้ และทางนา้ จานวนอ่างเก็บนา้ และทางนา้ ชลประทาน

ปี พ.ศ. ชลประทานที่คณุ ภาพน้าได้เกณฑ์ ทด่ี าเนนิ การสารวจทั้งหมด

มาตรฐาน

2560 12 12

2561 15 15

2562 15 15

2563 15 15

หมายเหตุ : ใหใ้ สข่ ้อมลู ทงั้ หมด 4 ปี คอื ปปี ัจจุบนั และ 3 ปียอ้ นหลัง

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หนา้ 92
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

การคานวณป 2563
ร้อยละของการวัดคณุ ภาพนา้ ชลประทานตามจุดวัดท่กี าหนด
= 15x100/15=100%

เกณฑ์การให้คะแนน (Le) ระดบั คะแนน 5
1234 100
ตัวชี้วดั
60 70 80 90
รอ้ ยละของการวัดท่จี ดุ วัดคณุ ภาพน้า
ชลประทานตามจดุ วดั คุณภาพน้า
ชลประทานท่กี าหนด

ค่าคะแนนทีไ่ ด้ 5 คะแนน

กราฟแสดงผลและแนวโนม้ (Le/T)

คาอธิบาย
1. เมือ่ เปรียบเทียบกบั เกณฑ์มาตรฐานท่ี ร้อยละ 80 ผลงานสงู กวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 20 %
2. แนวโนม้ สูงกว่า และยังแสดงให้เห็นว่ามีการปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนท่ีกาหนด เพ่ือการติดตามและ
ควบคมุ คุณภาพนา้ ในอ่างเกบ็ นา้ และทางนา้ ชลประทานให้สามารถนาไปใช้ประโยชนก์ บั การเกษตร
3. โครงการฯจะรักษามาตรฐานดังกล่าวให้คงอยู่ในระดับนี้ต่อไป และนอกจากน้ันจะส่งเสริมในเรื่องใน
การรกั ษาคณุ ภาพน้าโดยการประชาสมั พนั ธ์ ขอความร่วมมือเกษตรกรให้ลดการใช้สารเคมี ลดการเผาตอ
ซังข้าว งดทงิ้ ขยะมูลฝอยและส่ิงปฏกิ ลู ลงในแหลง่ น้า จดั ทาแผ่นปาู ยประกาศติดต้ังบริเวณอ่างฯและคลอง
ตลอดใชเ้ วทีในการประชุมคณะกรรมการ JMC เพื่อกระตุ้นให้เกษตรกรและประชาชนในพื้นท่ีได้ช่วยกัน
รกั ษาความสะอาด

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ หนา้ 93
โครงการชลประทานมุกดาหาร

มติ ิดา้ นคณุ ภาพการใหบ้ ริการ

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4 รอ้ ยละของผใู้ ชน้ ้าในเขตพ้นื ทชี่ ลประทานทพ่ี ึงพอใจตอ่ การบรหิ ารจดั การน้า

คาอธิบายตวั ชว้ี ดั
เป็นการวัดคณุ ภาพการให้บรกิ ารของโครงการสง่ น้าและบารงุ รักษา/โครงการชลประทาน หรือฝุาย

สง่ น้าและบารงุ รักษาทีม่ ตี อ่ เกษตรกร ตามรายละเอียดแบบประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจท่ีกาหนด
โดยจะดูในเร่ืองค วามพึงพอใจต่อการบริหารจัดการน้าของโครงการส่งน้าและบารุงรักษา/โค รงการ
ชลประทาน หรอื ฝุายส่งน้า และบารุงรกั ษา
วิธกี ารเก็บขอ้ มลู

เจ้าหนา้ ที่โครงการฯ หรือฝุายส่งน้าฯ ให้เจ้าหน้าท่ีออกสารวจความพึงพอใจของเกษตรกร โดยใช้
แบบประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ (แบบ สสช. P1) ของกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
โดยกลมุ่ ตวั อย่างจะต้องครอบคลุมท้ังต้นคลอง กลางคลอง และปลายคลอง โดยทาการประเมินช่วงเดือน
สงิ หาคม - กันยายน ของทุกปไี มน่ อ้ ยกวา่ 30 ตัวอยา่ ง/ฝาุ ยสง่ น้าฯ
1. เจ้าหน้าท่ีอธบิ ายวัตถปุ ระสงค์ในการสารวจ และความหมายของแบบสารวจใหผ้ ูร้ ับบริการท่ีเปน็ เกษตรกร
ผใู้ ชน้ า้ ในเขตชลประทานไดร้ ับทราบและเข้าใจ
2. ผรู้ บั บรกิ ารทีเ่ ป็นเกษตรกรผู้ใช้น้าในเขตชลประทาน ทัง้ ที่ได้รวมตัวเป็นกลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน
แล้ว กรอกแบบสารวจโดยมีเจ้าหน้าที่อธิบายไปพร้อมกัน เพื่อให้เข้าใจในความหมายของแต่ละคาถาม
ตรงกัน กรณีท่ีเป็นการตอบโดยคณะกรรมการบริหารกลุ่มฯ ที่มีส่วนร่วมในการตอบคาถาม จะต้องเป็น
ตวั แทนของคูส่งนา้ แต่ละสายหรอื ท่อรับน้าจากคลองแต่ละท่อ โดยการลงมติในแต่ละคาตอบต้องครอบคลุม
คูสง่ น้าทุกสายหรอื ทอ่ รับนา้ ทกุ ท่อ
3. ผู้รับบรกิ ารที่เป็นเกษตรกรผใู้ ชน้ า้ ในเขตชลประทานตอ้ งเป็นผู้ลงมือกรอกแบบสารวจเอง เพ่ือให้แน่ใจว่า
เปน็ ความคิดเหน็ ของผู้รับบรกิ ารจริง
4. รวบรวมแบบสารวจที่ดาเนินการแล้วเสร็จ จานวนอย่างน้อย 30 ตัวอย่าง/ฝุายส่งน้าฯ กรอกผลสารวจ
ลงในแบบ Google form ตามแนวทางที่กาหนดโดยกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งระบบจะ
รวบรวมผลโดยอตั โนมตั ิ
5. กองส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของประชาชน จะคานวณร้อยละของผู้ใช้น้าในเขตพื้นท่ีชลประทานท่ีพึงพอใจ
ตอ่ การบรหิ ารจดั การนา้ และรายงานผลให้โครงการสง่ น้าและบารุงรักษา/โครงการชลประทาน และฝุายส่ง
น้าและบารงุ รักษา ทราบ

เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ หนา้ 94
โครงการชลประทานมุกดาหาร

เกณฑ์การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 95
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

สถติ หิ รอื ข้อมูลที่จะนามาคานวณ (ข้อมูลกองส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของประชาชน ป 2563)

ลา ร้อยละ

ดับ โครงการ คป.มุกดาหาร สรุป

ที่ 1 2 3 4

1 โครงการชลประทานมุกดาหาร 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ขอ้ มลู ย้อนหลงั (3 ป)
2560 2561 2562 2563
60.29 56.81 50.76 0.00

เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Le)

ตวั ช้วี ัด ระดับคะแนน 5
1234 85

รอ้ ยละของผใู้ ชน้ ้าในเขตพื้นท่ี

ชลประทานทพ่ี งึ พอใจตอ่ การบริหาร 65 70 75 80

จดั การนา้

ค่าคะแนนท่ไี ด้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 96
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

คาอธิบาย
เม่ือเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานท่ีร้อยละ 75 ผลงานต่ากว่าเกณฑ์ และเส้นแนวโน้มลดลง
จากผลการสารวจยอ้ นหลัง พบว่าคะแนนยังต่าในเรือ่ งการเอาใจใส่และรับฟังความเห็นของผู้ใช้น้า ของ จนท.
ชลประทาน โครงการฯฯจงึ ไดก้ าหนดกระบวนการที่จะให้ไดร้ ับความพงึ พอใจเพ่ิมข้ึน ในปี 2565 โดย

1 การกาหนดให้ประชมุ และตดิ ตามผลการสง่ น้าของ จนท.แต่ละฝาุ ยฯร่วมกับกลมุ่ ฯ ทุกๆ ตน้ เดอื น
2 จดั ทาแผนให้ จนท.แต่ละฝาุ ยฯ ออกตดิ ตามและพบปะเกษตรกรในพื้นที่สปั ดาห์ละละ 1 ครง้ั
(สาหรับในป 2563 ยังไมม่ ีขอ้ มูลปรากฏในเอกสารของ กสช.กรมชลประทาน เน่อื งจากขณะนั้นโครงการฯ
ยังไม่ได้คีย์ข้อมูลลงในระบบออนไลน์ แต่ภายหลังจากส้ินสุดฤดูกาลส่งน้า ฝ่ายฯต่างๆได้สารวจข้อมูล
ดังกล่าวและบันทึกลงในระบบแลว้ ผลการสารวจความพงึ พอใจของเกษตรกรผู้ใช้น้า คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76 )

เกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การ หนา้ 97
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

มิตดิ ้านประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ
ตวั ชี้วัดท่ี 5 ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝน
คาอธบิ ายตัวช้ีวัด

เป็นการตรวจสอบถึงประสิทธิภาพของการชลประทานในฤดูฝน ซ่งึ หมายถงึ อัตราสว่ นท่ีคิดเปน็
เปอรเ์ ซ็นตร์ ะหว่างปรมิ าณนา้ สุทธิทีจ่ ะตอ้ งใหแ้ กพ่ ืช (Net Water Application) ตอ่ ปริมาณนา้ ท้ังหมดที่
ต้องให้แก่พชื (Gross Water Application
วิธกี ารเก็บขอ้ มลู

เจา้ หนา้ ท่ีโครงการฯ หรือฝาุ ยสง่ นา้ ฯ ต้องทาการเกบ็ ขอ้ มลู ปรมิ าณนา้ ท่ีสง่ จรงิ เป็นรายวนั และ
รวบรวมวิเคราะห์เปน็ ขอ้ มลู รายสัปดาห์ รายเดอื น จนเสรจ็ ส้ินฤดูกาลเพาะปลกู ในฤดูฝน จงึ รวบรวม
วเิ คราะหว์ า่ ตลอดฤดกู าลเพาะปลกู ใชน้ ้าทั้งหมดเปน็ ปรมิ าณเทา่ ใด แลว้ นามาเปรียบเทยี บกับปริมาณน้าที่
ต้องส่งตามทฤษฎี
สูตรการคานวณ

(ปรมิ าณนา้ ตามทฤษฎี – ฝนใชก้ าร + การรว่ั ซมึ ) x 100
ปรมิ าณนา้ ท่ีส่งจริงตลอดฤดฝู น

สถิตหิ รือข้อมูลที่จะนามาคานวณ (ขอ้ มูลการส่งนา้ ปการเพาะปลูก 2563)

รายการ ลบ.ม.
ปริมาณน้าตามทฤษฎี 42,540,000
ปริมาณน้าจากฝนใช้การ 31,070,000
ปริมาณนา้ รว่ั ซึม 7,600,000
ปริมาณน้าส่งจริง 52,400,000

พนื้ ที่ส่งนา้ จริงฤดฝู น = 49,720 ไร่

หมายเหตุ : 1 เพ่มิ Back up sheet
2 ให้ใสข่ อ้ มูลทั้งหมด 4 ปี คอื ปีปจั จบุ นั และ 3 ปีย้อนหลงั

การคานวณป 2563
ประสทิ ธิภาพชลประทานในฤดูฝน = (42,540,000 - 31,070,000 + 7,600,000)*100/52,400,000

= 36.40 %

เกณฑ์การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ หน้า 98
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร

ขอ้ มลู ย้อนหลัง (3 ป) 2561 2562 2563
2560 33.96 % 34.89 % 36.40%
32.60 %

เกณฑ์การให้คะแนน (Le) 1 ระดับคะแนน 5
ตวั ช้ีวดั 20% 234 60%
30% 40% 50%
ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝน

คา่ คะแนนทไี่ ด้ ______2.64______ คะแนน

กราฟแสดงผลและแนวโน้ม (Le/T)

คาอธบิ าย
เม่ือเปรยี บเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐานทรี่ ้อยละ 40 ผลงานตา่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน
ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝนมีแนวโน้มลดลง และยังคงต่ากว่ามาตรฐานของกรมฯ สาเหตุท่ีแนวโน้ม
ลดลงจากการร่ัวซึมหรือชารุดของท่อและอุปกรณ์ ตลอดจนการใช้น้าของอ่างฯในเขตห้วยบางทรายตอนบน
อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ซ่งึ จะสนับสนนุ นา้ เพอ่ื การอปุ โภคบริโภคของราษฎรในพนื้ ทด่ี ว้ ย ทาใหม้ ีการใช้น้า
มากข้นึ ไม่เปน็ ไปตามแผน ซึ่งโครงการฯจะไดเ้ รง่ แกไ้ ขใหก้ ารสง่ น้าเปน็ ไปตามแผนมากที่สุด

เกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ หนา้ 99
โครงการชลประทานมุกดาหาร

ตัวชว้ี ดั ที่ 6 ประสทิ ธิภาพชลประทานในฤดแู ล้ง

คาอธิบายตัวช้ีวดั
เปน็ การตรวจสอบถงึ ประสิทธิภาพของการชลประทานในฤดูแล้ง ซ่ึงหมายถึงอัตราส่วนที่คิดเป็น

เปอร์เซ็นต์ระหว่างปริมาณน้าสุทธิท่ีจะต้องให้แก่พืช (Net Water Application) ต่อปริมาณน้าทั้งหมดที่
ตอ้ งใหแ้ ก่พืช (Gross Water Application)
วธิ กี ารเกบ็ ข้อมูล

เจ้าหน้าที่โครงการฯ หรือฝุายส่งน้าฯ ต้องทาการเก็บข้อมูลปริมาณน้าท่ีส่งจริงเป็นรายวัน
และรวบรวมวิเคราะห์เป็นข้อมลู รายสปั ดาห์ รายเดอื น จนเสร็จสนิ้ ฤดูกาลเพาะปลูกในฤดูแล้ง จึงรวบรวม
วเิ คราะหว์ า่ ตลอดฤดูกาลเพาะปลูกใช้นา้ ทัง้ หมดเปน็ ปริมาณเท่าใด แล้วนามาเปรียบเทียบกับปริมาณน้าท่ี
ตอ้ งส่งตามทฤษฎี
สตู รการคานวณ

(ปริมาณนา้ ตามทฤษฎี – ฝนใช้การ + การรัว่ ซมึ ) x 100

ปริมาณน้าทีส่ ง่ จรงิ ตลอดฤดแู ลง้
สถิตหิ รอื ขอ้ มลู ทีจ่ ะนามาคานวณ

รายการ ลบ.ม.
ปรมิ าณน้าตามทฤษฎี 26,950,000
ปริมาณน้าจากฝนใชก้ าร 1,230,000
ปริมาณนา้ รัว่ ซึม 7,038,000
ปรมิ าณน้าสง่ จรงิ 55,930,000

พนื้ ที่สง่ น้าจริงฤดูแลง้ = 7,071 ไร่

หมายเหตุ : 1 เพิ่ม Back up sheet
2 ใหใ้ ส่ขอ้ มูลท้ังหมด 4 ปี คือ ปปี ัจจุบัน และ 3 ปยี อ้ นหลงั

การคานวณป 2563
ประสทิ ธภิ าพชลประทานในฤดูแลง้ = (26,950,000 -1,230,000+7,038,000)*100/55,930,000
= 58.57 %

เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการ หน้า 100
โครงการชลประทานมกุ ดาหาร


Click to View FlipBook Version