รายงานผล
การนเิ ทศ ตดิ ตาม การดำเนนิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ภาคเรยี นที่ 2/2565 กลมุ่ โรงเรียนสายน้ำวัง
นางสาวปราณี แกว้ มา
นางสาวลักขณา จิว๋ ปญั ญา
ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต 1
กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
คำนำ
รายงานผลการนิเทศ ติดตาม การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2565 กลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพอื่
ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง ให้ได้รับโอกาสในการ
พัฒนาอย่าง ทั่วถึง ข้อมูลในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วยผลการการนเิ ทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล ทั้ง 3
ประเด็น คือ 1) การกำหนดแผนการดำเนินงานด้านความปลอดภัย ในด้านความปลอดภัยในโรงเรียน ความ
พรอ้ มดา้ นอาคารสถานท่ี เชน่ ความสะอาด บรรยากาศห้องเรยี น สนามหญ้า อาคารประกอบ เครือ่ งเล่นสนาม
(ที่พร้อมใช้งาน) 2) การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) การสังเกตการณ์จัด
กิจกรรมการเรียนการสอนของผู้รับการนเิ ทศ ประกอบด้วย 2 ดา้ นดังนี้ ด้านท่ี 1 ดา้ นทักษะการจดั การเรียนรู้
และการจดั การชนั้ เรยี น ดา้ นที่ 2 ด้านผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
ขอขอบคุณผู้อำนวยการโรงเรียน รักษาการโรงเรียน และคณะครูกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ทุกท่าน ที่อำนวยความสะดวกและให้ข้อมูลรวมทั้งให้
ข้อเสนอแนะ เปน็ อย่างดียิ่ง
ผูจ้ ดั ทำ
นางสาวปราณี แก้วมา
นางสาวลกั ขณา จิ๋วปญั ญา
ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ตาก เขต 1
(1)
สารบัญ
ตอนที่ หน้า
คำนำ............................................................................................................................. (1)
1 การนิเทศ ตดิ ตามการดำเนินการพัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 กลมุ่ โรงเรยี นสายน้ำวงั 1
➢ วัตถปุ ระสงค์………………………………………………………………………………………………… 1
➢ กลุ่มเปา้ หมาย โรงเรียนในอำเภอสามเงา กลุ่มโรงเรยี นสายนำ้ วงั ………………………. 1
➢ เป้าหมาย การนเิ ทศ ประกอบด้วย………………………………………………………………… 3
➢ กระบวนการดำเนินงานการนิเทศ………………………………………………………………….. 4
2 ผลการนเิ ทศในภาพรวมของกลุ่มโรงเรียนสายนำ้ วัง…………………………………………… 10
➢ผลการนิเทศ ติดตาม การดำเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565………………………………………………….. 10
3 ผลการนิเทศรายโรงเรยี น………………………………………………………………………………..... 13
➢โรงเรียนวังหวายวิทยาคม…………………………………………………………………………………. 14
➢โรงเรียนบา้ นใหมส่ ามคั คี…………………………………………………………………………………. 18
➢โรงเรียนบ้านวังโพ……………………….………………………………………………………………… 22
➢โรงเรียนบา้ นนาตาโพ……………………………………………………………………………………. 26
➢โรงเรียนบ้านวงั ไคร้มติ รภาพท่ี 102…………………………………………………………….. 30
➢โรงเรยี นบา้ นทา่ ไผ่………………………………………………………………………………………. 35
➢โรงเรยี นชุมชนบ้านแมร่ ะวานสองแคว…………………………………………………………… 39
➢โรงเรียนบ้านหนองเชยี งคา………...........……………………………………………………………... 44
➢โรงเรียนบ้านดงลาน……................…………………………………………………………………… 48
➢โรงเรยี นหม่บู ้านตัวอย่าง………………………………………………………………………………. 52
➢โรงเรยี นบา้ นปากทางเข่ือนภูมิพล……………………………………………………………….. 58
➢โรงเรยี นบา้ นคลองไมแ้ ดง……………………………………………………………………………….. 63
(2)
สารบัญ (ตอ่ )
ตอนท่ี หนา้
ภาคผนวก............................................................................................................ 68
➢ ภาคผนวก ก ปฏทิ ินการนเิ ทศ …………………………………………………….. 69
➢ ภาคผนวก ข เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการนิเทศ ตดิ ตาม ฯ………………………….. 71
➢ ภาคผนวก ค สำเนาขออนญุ าตไปราชการ............................................. 76
➢ ภาคผนวก ง สำเนาบนั ทกึ การนเิ ทศ..................................................... 79
➢ ภาคผนวก จ ขอ้ มลู ครูและบคุ ลากรของโรงเรยี น................................ 93
ผจู้ ัดทำ................................................................................................................ 94
(3)
1
ตอนที่ 1
การนเิ ทศ ตดิ ตาม การดำเนนิ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
กลุม่ โรงเรียนสายน้ำวัง
สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
ผูน้ ิเทศ นางสาวปราณี แกว้ มา ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ
นางสาวลกั ขณา จ๋วิ ปญั ญา ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ
ระยะเวลา ระหวา่ งวันท่ี วันท่ี 9-11 , 17-18 และ 22 พฤศจิกายน 2565
วตั ถุประสงค์ 1.เพอ่ื นิเทศ ตดิ ตามการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ของ สพป.ตาก เขต 1 ของโรงเรยี นกลุ่มสายนำ้ วัง ตามประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้
1.1 สำรวจขอ้ มลู ทัว่ ไป
1.2 การนิเทศตดิ ตาม งานตามนโยบาย
1.3 กำหนดแผนการดำเนินงานดา้ นความปลอดภัยในโรงเรียน
- มาตรการด้านการปอ้ งกนั โรคระบาดต่างๆ
- มาตรการดา้ นความปลอดภัยตา่ งๆในโรงเรียน
1.4 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เชน่ ความสะอาด บรรยากาศหอ้ งเรยี น สนาม
หญ้า
1.5 การจดั ทำแผนยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
- มแี ผนยกระดับฯทีเ่ ปน็ ปจั จุบัน
- มีแนวทาง/วิธกี าร/ขั้นตอนการดำเนินงานในการทำแผนลงสูก่ ารปฏบิ ัตทิ ี่ชัดเจน
1.6 การสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรูข้ องครู ใน 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสงั คมศกึ ษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม
2. เพื่อนเิ ทศ ติดตามการการดำเนินงานพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น
งานนโยบายดา้ นการศึกษา และงานตามหนา้ ท่ที ีร่ ับผดิ ชอบต่าง ๆ
3. เพ่ือใหค้ ำปรึกษาและสร้างขวัญและกำลังใจให้กบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาใน
โรงเรียน ใหส้ ามารถพฒั นางานได้อยา่ งมีคณุ ภาพและมปี ระสิทธภิ าพ
กลุม่ เปา้ หมาย โรงเรยี นในอำเภอสามเงา โรงเรียนในกลุ่มสายน้ำวงั 12 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นบ้าน
ปากทางเขื่อนภมู พิ ล โรงเรียนหมู่บา้ นตวั อย่าง โรงเรียนบา้ นดงลาน โรงเรียนวงั หวายวทิ ยาคม โรงเรยี น
บา้ นใหมส่ ามัคคี โรงเรียนบ้านนาตาโพ โรงเรยี นบ้านวังโพ โรงเรียนชุมชนบ้าน
แมร่ ะวานสองแคว โรงเรียนบา้ นหนองเชยี งคา โรงเรียนบา้ นวังไคร้มติ รภาพท่ี 102
โรงเรียนบา้ นท่าไผ่ และโรงเรยี นบา้ นคลองไม้แดง ดงั ปฏทิ ินดังต่อไปนี้
2
โรงเรยี น
วัน เดอื น ปี ภาคเชา้ ภาคบา่ ย ประเด็นการนเิ ทศ/แลกเปลยี่ น
08.30 - 12.00 น. 13.00 - 16.30 น.
1. สำรวจข้อมูลทว่ั ไป
9 พฤศจิกายน 2565 วงั หวายวทิ ยาคม บ้านใหม่สามัคคี 2. การนเิ ทศติดตาม งานตามนโยบาย
2.1 กำหนดแผนการดำเนนิ งานดา้ นความปลอดภัย
ในโรงเรียน
10 พฤศจิกายน 2565 บ้านวงั โพ บา้ นนาตาโพ - มาตรการด้านการป้องกนั โรคระบาดต่างๆ
- มาตรการด้านความปลอดภัยต่างๆในโรงเรยี น
11 พฤศจกิ ายน 2565 บ้านวงั ไครม้ ิตรภาพ บ้านท่าไผ่ 2.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เช่น ความ
ท่ี ๑๐๒ สะอาด บรรยากาศหอ้ งเรียน สนามหญา้
2.3 การจัดทำแผนยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
- มีแผนยกระดับฯที่เป็นปจั จุบัน
17 พฤศจิกายน 2565 บา้ นดงลาน บา้ นคลองไมแ้ ดง - มีแนวทาง/วิธีการ/ข้ันตอนการดำเนินงานใน
การทำแผนลงสกู่ ารปฏบิ ัติทีช่ ัดเจน
18 พฤศจิกายน 2565 ชุมชนบา้ นแม่ระวาน บา้ นหนองเชยี งคา 3. การสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ใน 5
สองแคว กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา
22 พฤศจิกายน 2565 บา้ นปากทางเข่ือน หมู่บา้ นตวั อยา่ ง และวฒั นธรรม
ภูมิพล รปู แบบท่ีใช้ในการนิเทศ ตดิ ตาม
ปฏิทินการนเิ ทศ 1. สมั ภาษณ์
ผู้นิเทศ ได้กำหนดปฏิทินการนิเทศไว้ดังต่อไปน้ี ปฏิทินการ 2. สงั เกตการจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ นชั้นเรียน
นิเทศ ติดตามและตรวจเยี่ยมความพร้อมเปิดภาคเรียนท่ี 2 ของกลุ่ม 3. แลกเปลย่ี น
โรงเรียนสายนำ้ วงั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 4. ให้ข้อเสนอแนะ
ปีการศึกษา 2565 ในวันที่ 9 – 11, 17-18 และ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 5. การตดิ ตามร่องรอยเอกสาร
2565
3
เป้าหมาย การนเิ ทศ ประกอบด้วย
กำหนดประเดน็ การนิเทศ เป็น 3 ตอน ประกอบดว้ ย
1. ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
- ชือ่ โรงเรียน กลมุ่ โรงเรียน
- ชอ่ื ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น/รักษาการในตำแหน่งผอู้ ำนวยการ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา
- จำนวนนกั เรยี น
- ขนาดโรงเรียน
2. ประเดน็ การนิเทศ สภาพการดำเนนิ งาน ข้อเสนอแนะ ขอ้ แลกเปลีย่ น
1.การกำหนดแผนการดำเนนิ งานดา้ นความปลอดภยั
1.1 ดา้ นความปลอดภัยในโรงเรียน
- มาตรการด้านการป้องกนั โรคระบาดตา่ งๆ และโรคอบุ ัติใหม่
- มาตรการด้านความปลอดภัยตา่ งๆ ในโรงเรียน เชน่ การป้องกันอุบตั ิเหตุ ในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรยี นไปศึกษานอกสถานที่
- แนวทาง/วธิ ีการป้องกันเหตุท่อี าจเกดิ โดยไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่อ
อาชญากรรม การปอ้ งกนั ภยั อนั เกิดจากภัยธรรมชาติ
1.2 ความพรอ้ มดา้ นอาคารสถานที่ เช่น ความสะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนาม หญ้า
อาคารประกอบ เครื่องเล่นสนาม (ทพี่ ร้อมใชง้ าน)
2. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
2.1 มแี ผนยกระดับฯทีเ่ ปน็ ปัจจุบัน มแี นวทาง/วิธกี าร/ข้ันตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสูก่ าร
ปฏบิ ตั ิท่ีชัดเจน
3. การสงั เกตการณจ์ ัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของผรู้ บั การนเิ ทศ ประกอบดว้ ย 2 ด้านดงั น้ี
ด้านท่ี 1 ด้านทักษะการจัดการเรียนรูแ้ ละการจดั การชั้นเรยี น
ด้านที่ 2 ดา้ นผลลพั ธก์ ารเรียนรขู้ องผู้เรยี น
เครื่องมือนเิ ทศ
-การสมั ภาษณ์ สงั เกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แลกเปลี่ยนให้ข้อเสนอแนะ การตดิ ตามร่องรอย/เอกสาร
4
กระบวนการดำเนินงานการนิเทศ
วธิ ีการนิเทศ
การนิเทศโรงเรียนติดตามการพัฒนาคุณภาพการศึกษานี้ สำหรับให้ศึกษานิเทศก์ใช้ประกอบการนิเทศ ติดตาม
การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 ตามรายการนิเทศ
ติดตาม ในกล่มุ โรงเรียนสายน้ำวงั ไดก้ ำหนดวธิ กี ารนิเทศไวด้ งั น้ี
การนเิ ทศเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
เป็นการนิเทศการพัฒนาความพร้อมเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของ สพป.ตาก เขต 1 และ จุดเน้น
ตา่ งๆตามนโยบายของ สพป.ตาก เขต 1 ในการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 โดยใช้การนิเทศทางตรง การนิเทศช้ัน
เรียน โดยการสังเกตและสอบถามจากผู้อำนวยการโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ด้วยการใช้รูปแบบปรับ
ประยุกต์จากการนิเทศ แบบ PPCP ของกลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการวัดการศึกษา สพป.ตาก เขต 1 พัฒนาเป็น
การนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้หลักการบริหาร Tak1 4Q เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ระดับสถานศึกษา ซ่ึงมขี นั้ ตอนดังน้ี
ขั้นตอน กิจกรรม เครื่องมอื ระยะเวลา ผเู้ ก่ยี วข้อง
1. การวางแผน 1. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล - ยุทธศาสตร์ มาตรฐาน ตลุ าคม - ผบู้ ริหารการศึกษา
(P-Preparing) - ยุทธศาสตร์ มาตรฐานการศึกษา การศกึ ษาชาติ - - ศึกษานเิ ทศก์
ชาติ - หลักสูตรปฐมวยั พฤศจกิ ายน - ผ้บู ริหารโรงเรียน
- ห ลักสู ตรป ฐม วัย ห ลักสูต ร - หลักสูตรการศึกษาขั้น 2565 - คณะครู
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พนื้ ฐาน
- นโยบายจุดเน้นของกระทรวง - นโยบายจดุ เน้นของ
ศกึ ษาธิการ สพฐ. สพป.ตาก เขต 1 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ.
- สภาพบริบทพนื้ ท่ี สพป.ตาก เขต 1
2. กำหนดเป้าหมายการนเิ ทศ - หนงั สือแจ้งกำหนดการนิเทศ
- ศึ ก ษ า เอ ก ส าร ท่ี เกี่ ย วข้ อ ง และประเดน็ การนิเทศ แก่
รปู แบบ เทคนิคการนิเทศ โรงเรียนเปา้ หมาย
- ประชุม ระดมความคิดออกแบบ - รา่ งรปู แบบการนิเทศ
กระบวนการนเิ ทศ - หนังสอื ขอความอนุเคราะห์
- ร่างรูปแบบการนิเทศ กลุ่ม ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
โรงเรีย น ส าย น้ ำวัง แ ล ะ เส น อ - ปฏิทินการนิเทศ
ผูท้ รงคณุ วฒุ ิตรวจสอบคุณภาพ - Website, Line, Facebook
3. กำห น ด ป ฏิ ทิ น ก ารนิ เท ศ ใน
ภาพรวมของเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา
4. สร้างเครอ่ื งมอื การนิเทศ
1. การวางแผน 5. จดั ทำสือ่ และเครื่องมอื นเิ ทศ - เคร่ืองมือสำหรับการนิเทศ
(P-Preparing) 6. กำหนดปฏิทินการนิเทศ และการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
(ต่อ) กำหนดระยะเวลา 2565
7. ประสานการนิเทศ จัดทำหนังสือ
5
ขั้นตอน กจิ กรรม เครอ่ื งมอื ระยะเวลา ผู้เกี่ยวข้อง
2. การดำเนิน ราชการ เพื่อแจง้ ปฏิทินการนิเทศ - หนังสือเชิญประชุมหัวหน้า มกราคม - ศึกษานิเทศก์
การนเิ ทศ 8. การนิเทศโดยศึกษานิเทศก์ เพื่อ วชิ าการกลุ่มโรงเรยี นสายนำ้ วงั - - ผู้บริหารโรงเรียน
(Practice) สาธิตการนิเทศสำหรับเป็นตัวอย่าง - แผนการจัดการเรียนรู้ - หวั หนา้ วิชาการ
การพัฒนาการนิเทศภายใน ศึกษา - เครื่องมือสำหรับการนิเทศ เมษายน - คณะครู
2. การดำเนิน สภาพปัญหาและการจัดการเรียนรู้ ตามประเด็นตัวช้ีวัด (PA) ตาม 2566
การนเิ ทศ ของครู และสอบถามความต้องการ เกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ. กำหนด
(Practice) (ต่อ) จำเปน็ ในการพฒั นา
9. การสะท้อนผลการนิเทศ คณะผู้
นิ เ ท ศ ไ ด้ ใ ห้ ข้ อ สั ง เ ก ต แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนา ปรับปรงุ
หรือแก้ไขปัญหาของโรงเรียนตาม
สภาพทพ่ี บ
1. ประชุมครูวิชาการกลุ่มโรงเรียน
สายน้ำวัง เพื่อร่วมกันนิยามเชิง
พฤติกรรมตามประเด็นตัวชี้วัด (PA)
ตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด
2. ร่วมกันสังเคราะห์องค์ประกอบ
ของแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อใช้ใน
กลุม่ โรงเรยี นสายน้ำวงั
3. หัวหน้าวิชาการโรงเรียนร่วมกัน
จัดทำคู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน
พร้อมกำหนดป ฏิทินการนิเทศ
ภายใน
4. หัวหน้าวิชาการได้รับการช้ีแนะ
แ น ะ น ำ ก า ร นิ เ ท ศ เ ห ม า ะ ส ม กั บ
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ส อ น ข อ งแ ต่ ล ะ
บคุ คล จากศกึ ษานเิ ทศก์
5. แตล่ ะโรงเรียนคัดเลอื กครตู น้ แบบ
โรงเรียนละ 1 คน เพื่อเข้ารับการ
พัฒนาสมรรถนะการจัดกิจกรรมการ
เรยี นร้เู ชงิ รกุ Active Learning ตาม
ความสมคั รใจ
6. ระยะที่ 2 ครูต้นแบบได้รับการ
พัฒ นาด้วยเทคนิ คการนิเทศที่
เหมาะสมกับประสบการณ์การสอน
ของแต่ละบุคคล โดยอาศัยการมี
ส่วนรว่ มจากศกึ ษานเิ ทศก์
6
ขั้นตอน กิจกรรม เครื่องมือ ระยะเวลา ผเู้ กยี่ วข้อง
3. การสรุปผล 6.1) กลุ่มต้องการประสบการณ์ - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ พฤษภาคม - ศกึ ษานเิ ทศก์
การนเิ ทศ (ครูอัตราจ้าง/ครูผู้ช่วย) ใช้เทคนิค - แบบวิเคราะหเ์ นือ้ หา - - ผบู้ ริหารโรงเรียน
(Conclusion) การนิเทศแบบช้ีแนะและการเป็นพ่ี (Content Analysis) - คณะครู
เล้ยี ง (Coaching and Mentoring) - วารสารครตู น้ แบบของกลมุ่ กรกฎาคม - ICT เขตพ้ืนที่ฯ
4. การนำเสนอ โรงเรยี นสายนำ้ วัง 2566
ผลการ 6.2) กลุ่มมีประสบการณ์ (ครู คศ.
ดำเนินการ 1) ใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ - รายงานการนเิ ทศ สิงหาคม - ผู้บรหิ ารการศกึ ษา
(Presentation) สะทอ้ นคดิ (Reflective Coaching) 2566 - ศึกษานเิ ทศก์
6.3) กลุ่มประสบการณ์สูง (ครู
คศ.2-3) ใช้เทคนิคการสังเกตชั้น
เรยี น (Classroom observation)
7. ครูแต่ละโรงเรียนได้รับการนิเทศ
ภายในจากครวู ิชาการแบบ On site
ร่วมกับศึกษานิเทศก์นิเทศก์แบบ
Online
1. สรุปกระบวนการนิเทศภายใน
สะท้อนผลการนิเทศแต่ละโรงเรียน
และครูต้นแบบ ด้วยกระบวนการ
AAR
2. ป ระเมิ น ผล ผลิต โด ยใช้แบ บ
ประเมินความพึงพอใจ ประเมิน
ผ ล ลั พ ธ์ ผู้ เรี ย น จ า ก ค ะ แ น น ก า ร
ทดสอบระดับชาติ (RT/NT/O-NET)
3. คัดเลือกครูต้นแบบ เป็น The
best of the best ข อ ง ก ลุ่ ม
โรงเรยี นสายนำ้ วงั
4. จัดทำวารสารและจัดทำคลิป
วิดีโอแรงบันดาลใจ ครูต้นแบบของ
กลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง เพ่ือเผยแพร่
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้
1. สะท้อนผลการนิเทศ และรปู แบบ
การนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน
แบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้
หลักการบริหาร Tak1 4Q เพื่อ
พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ผู้ เรี ย น ร ะ ดั บ
สถานศึกษา ดว้ ยกระบวนการ PLC
2. รายงานการนิเทศ
7
ภาระงานทจ่ี ะดำเนินการนเิ ทศ
ท่ี ประเด็นการนเิ ทศ
1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป
รายการนิเทศ ตดิ ตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2565
2 1) การกำหนดแผนการดำเนินงานดา้ นความปลอดภัย
2) การดำเนินงานจดั ทำแผนยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
3 การสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของผ้รู ับการนเิ ทศ ประกอบดว้ ย 2 ด้านดังนี้
ดา้ นที่ 1 ด้านทักษะการจดั การเรยี นรู้และการจดั การช้นั เรยี น
ด้านที่ 2 ดา้ นผลลพั ธ์การเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น
เครื่องมือทใี่ ช้ในการนิเทศ
เครื่องมือท่ีใช้ในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 สำนักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถดมา้ ศนกึทษี่ 2าตดา้ากนผเขลตลัพ1ธก์ ปารเะรกียอนบรดขู้ ้วอยงผู้เรียน
- แบบนเิ ทศ ติดตามการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
- แผนการจัดการเรียนรู้
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
ขนั้ ตอนการการนิเทศ
การนิเทศเพ่ือตรวจเยีย่ มความพรอ้ มเปดิ ภาคเรยี น 2 ปีการศกึ ษา 2565 ของโรงเรยี นในกลุ่มสายนำ้ วงั ได้กำหนด
วิธกี ารนิเทศ ดังน้ี
1. การวางแผน (P-Preparing)
1.1 ศกึ ษาวิเคราะห์ข้อมูล
- ยทุ ธศาสตร์ มาตรฐานการศึกษา ชาติ
- หลกั สูตรปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
- นโยบายจุดเนน้ ของกระทรวง ศกึ ษาธิการ สพฐ. สพป.ตาก เขต 1
- สภาพบริบทพน้ื ที่
1.2 กำหนดเปา้ หมายการนิเทศ
- ศึกษาเอกสารที่เกย่ี วข้อง รูปแบบ เทคนิคการนิเทศ
- ประชมุ ระดมความคิดออกแบบกระบวนการนเิ ทศ
- รา่ งรปู แบบการนิเทศ กลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง และเสนอผู้ทรงคุณวุฒติ รวจสอบคุณภาพ
1.3 กำหนดปฏิทนิ การนิเทศในภาพรวมของเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
1.4 สร้างเครือ่ งมอื การนิเทศ
1.5 จดั ทำสือ่ และเครื่องมือนิเทศ
1.6 กำหนดปฏิทินการนิเทศ และการกำหนดระยะเวลา
8
1.7 ประสานการนิเทศ จัดทำหนังสือราชการ เพื่อแจง้ ปฏิทินการนิเทศ
1.8 การนิเทศโดยศึกษานิเทศก์ เพ่ือสาธิตการนิเทศสำหรับเป็นตัวอย่างการพัฒนาการนิเทศภายใน ศึกษา
สภาพปญั หาและการจดั การเรียนรู้ของครู และสอบถามความตอ้ งการจำเปน็ ในการพฒั นา
1.9 การสะท้อนผลการนิเทศ คณะผู้นิเทศได้ให้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ในการพัฒนา ปรับปรุงหรือแก้ไข
ปัญหาของโรงเรียนตามสภาพที่พบ
2. การดำเนินการนเิ ทศ (Practice)
2.1 ประชุมครูวิชาการกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง เพือ่ ร่วมกนั นิยามเชงิ พฤติกรรมตามประเด็นตวั ชวี้ ดั (PA) ตาม
เกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด
2.2 ร่วมกันสงั เคราะห์องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือใชใ้ นกลมุ่ โรงเรยี นสายนำ้ วัง
2.3 หวั หนา้ วชิ าการโรงเรยี นรว่ มกันจดั ทำคู่มือการนเิ ทศภายในโรงเรียน พรอ้ มกำหนดปฏิทินการนิเทศภายใน
2.4 หวั หน้าวิชาการได้รบั การชแี้ นะ แนะนำการนเิ ทศเหมาะสมกบั ประสบการณ์การสอนของแตล่ ะบุคคล จาก
ศึกษานิเทศก์
2.5 แต่ละโรงเรยี นคัดเลือกครูตน้ แบบ โรงเรียนละ 1 คน เพ่ือเข้ารับการพัฒนาสมรรถนะการจดั กจิ กรรมการ
เรยี นรเู้ ชงิ รุก Active Learning ตามความสมัครใจ
2.6 ระยะท่ี 2 ครูต้นแบบไดร้ ับการพฒั นาดว้ ยเทคนิคการนิเทศที่เหมาะสมกับประสบการณก์ ารสอนของแต่ละ
บคุ คล โดยอาศัยการมีสว่ นรว่ มจากศึกษานเิ ทศก์
1) กลุ่มต้องการประสบการณ์ (ครูอัตราจ้าง/ครูผู้ช่วย) ใช้เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะและการเป็นพ่ีเลี้ยง
(Coaching and Mentoring)
2) กลมุ่ มีประสบการณ์ (ครู คศ.1) ใช้เทคนคิ การนเิ ทศแบบชี้แนะสะทอ้ นคดิ (Reflective Coaching)
3) กลมุ่ ประสบการณ์สงู (ครู คศ.2-3) ใชเ้ ทคนคิ การสงั เกตช้ันเรยี น (Classroom observation)
2.7 ครูแต่ละโรงเรียนได้รับการนิเทศภายในจากครูวิชาการแบบ On site ร่วมกับศึกษานิเทศก์นิเทศก์แบบ
Online
3. การสรปุ ผลการนิเทศ (Conclusion)
3.1 สรปุ กระบวนการนเิ ทศภายใน สะทอ้ นผลการนเิ ทศแต่ละโรงเรียน และครตู น้ แบบ ด้วยกระบวนการ AAR
3.2 ประเมินผลผลิตโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ประเมินผลลัพธ์ผู้เรียนจากคะแนนการทดสอบ
ระดับชาติ (RT/NT/O-NET)
3.3 คัดเลือกครูตน้ แบบ เป็น The best of the best ของกลุม่ โรงเรียนสายน้ำวัง
3.4 จัดทำวารสารและจัดทำคลิปวิดีโอแรงบันดาลใจ ครูต้นแบบของกลุ่มโรงเรียนสายน้ำวัง เพ่ือเผยแพร่
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้
4. การนำเสนอผลการดำเนนิ การ (Presentation)
4.1 สะท้อนผลการนิเทศ และรูปแบบการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานแบบปรับเหมาะ CM.RO ภายใต้
หลกั การบรหิ าร Tak1 4Q เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นระดบั สถานศกึ ษา ด้วยกระบวนการ PLC
4.2 รายงานการนิเทศ
9
10
ตอนที่ 2
ผลการนเิ ทศในภาพรวมของกล่มุ โรงเรียนสายนำ้ วัง
สรุปผลการนิเทศ ติดตาม การดำการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
ตอนท่ี 1 จำนวน ขนาด ผบู้ ริหาร ร.ร./ผู้รกั ษาการ ร.ร. จำนวน จำนวนนักเรยี น
ข้อมูลทั่วไป ครแู ละ โรงเรียน นกั เรยี น ปฐมวยั ประถม มัธยม
บุคลากร
โรงเรยี น กลาง ดร.สกณุ า อินอยู่ 135 19 70 46
17 เลก็ สบิ ตำรวจโทเฉลยี่ เจริญวงศ์ 77 8 43 25
1.บา้ นใหมส่ ามคั คี 15
2.บ้านปากทาง เลก็ นางสาวอารีรตั น์ หาวนั 94 17 50 27
เขอื่ นภมู ิพล 12 กลาง นางชนดิ า พูนขำ
3.บ้านดงลาน 12 กลาง นางกิตติยา จอกทอง 143 23 84 36
4.หม่บู ้านตัวอย่าง 16 กลาง นางอญั ชนา เกตกลมเกลา
5.บา้ นวังโพ 17 เลก็ นายณฐั วฒั น์ สมมะโน 144 17 81 46
6.วังหวายวิทยาคม 7
7.บา้ นวงั ไคร้ 152 17 82 53
มิตรภาพท่ี 102 10
8.บา้ นนาตาโพ 12 82 11 71 0
9.บา้ นหนองเชยี งคา 8
10.บ้านคลอง เล็ก นายอภินันทน์ พันธเ์ ลศิ 57 8 49 0
ไมแ้ ดง 7 กลาง นางสาวสิริทพิ ย์ อินอยู่ 128 28 100 0
11.บ้านท่าไผ่ 11 เล็ก นางสาวจนิ ตนา ทาอุ๊ด 55 10 45 0
12.ชมุ ชนบา้ นแมร่ ะ
วานสองแคว 144 เล็ก นางขวญั จิรา แก้วทรัพย์ 71 21 50 0
เล็ก นางสินทร บวั ตบิ๊ 120 38 82 0
รวม
รอ้ ยละ 1,258 217 807 233
18.08 67.25 19.42
จากตารางพบว่า กลุ่มโรงเรียนสายนำ้ วัง มีโรงเรยี นทั้งหมด 12 โรงเรียน ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จำนวน
144 คน และนกั เรยี น จำนวน 1,258 คน
ขนาดของโรงเรียนเ เปน็ โรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 7 โรงเรียน และโรงเรยี นขนาดกลาง จำนวน 5 โรงเรียน
นักเรียนจำนวนท้ังหมด 1,285 คน เป็นระดบั ปฐมวัยจำนวน 217 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.08 ระดับประถมศกึ ษา
จำนวน 807 คน คดิ เป็นร้อยละ 67.25 และระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 233 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 19.42
โรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 6 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรียนบ้านปากทางเข่ือนภมู พิ ล โรงเรยี นบา้ น ดงลาน
โรงเรยี นบ้านวงั โพ โรงเรียนวังหวายวทิ ยาคม โรงเรียนบา้ นใหม่สามคั คี และโรงเรยี นหมู่บ้านตัวอย่าง
11
โรงเรียนที่ไมม่ ีผู้อำนวยการโรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรยี นหมบู่ ้านตัวอย่าง โรงเรยี นบา้ นหนองเชียงคา โรงเรยี นชมุ ชน
บ้านแมร่ ะวานสองแคว และโรงเรียนบ้านดงลาน โรงเรียนบ้านคลองไมแ้ ดง โรงเรียนบา้ นท่าไผ่
ตอนที่ 2
ประเดน็ การนเิ ทศ ติดตามและการดำการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
1. กำหนดแผนการดำเนินงานดา้ นความปลอดภัยในโรงเรียน
- มาตรการด้านการปอ้ งกันโรคระบาดต่างๆ
- มาตรการด้านความปลอดภัยต่างๆในโรงเรียน
โรงเรียนมีการจดั ทำแผนรองรบั เสริมสร้างความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา มีการเฝา้ ระวังการเกิดโรคระบาด จัดทำคู่มือ
การเตรียมความพร้อมด้านความปลออดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานศึกษา โรงเรียนมี
มาตรการการป้องกนั การติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ และมกี ารซกั ซอ้ มกับการรับมือในดา้ นความปลอดภยั ของโรงเรยี น
2. ความพร้อมดา้ นอาคารสถานที่ เชน่ ความสะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า
โรงเรียนมีการจัดสถานที่ภายในโรงเรียนเน้นบรรยากาศความร่มรื่น โดยปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย เช่น การ
ตัดกิ่งไม้ ปรับภูมิทัศน์ให้สะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย มีการแต่งตั้งคำสั่งเวรยามรักษาการภายในโรงเรียน เพื่อดูแล
ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา อาคารสถานที่ เชน่ ห้องเรียนมปี ริมาณและความพร้อมเพียงพอกบั จำนานนกั เรยี น
3. การจดั ทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โรงเรียนมีการจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน โดยมเี ป้าหมายในการเพิ่มผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแตล่ ะ
กลุ่มสาระ เพ่ิมขึ้น ๓ เป้าหมายส่งนักเรยี นเข้าทดสอบ ร้อยละ ๑๐๐ และจัดกิจกรรมสอนเสรมิ ในช่วงชั่วโมงสุดท้ายของทุก
วนั และมีการใช้ข้อสอบเดิม มาสอนเสริมเพ่ิมเตมิ ในชว่ั โมงเรียนปกติ มกี ารจัดสอนซ่อมเสรมิ การจดั คา่ ยตวิ O-NET
4.การสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
1. ด้านทกั ษะการจดั การเรียนร้แู ละการจัดการช้ันเรียน
ครูผู้สอน มีแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีสาระการเรียนรู้ มาตรฐานและตัวชี้วัด ตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้างใน
หน่วยการเรยี นรู้ ใช้ส่ือประกอบการสอนทเ่ี หมาะสมกับสาระการเรยี นรู้ แจ้งจุดประสงค์เพือ่ ให้นักเรยี นทราบเป้าหมายการ
เรียนรู้ และยังเป็นการกระต้นุ ให้นักเรียนเกิดความท้าทายในความสำเร็จตามจดุ ประสงค์ โดยครูมีการใช้คำถามกระตุ้นให้
นักเรียนได้ทบทวนความรู้เดิม ใช้คำถามเพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดเปรียบเทียบ มีการ
เช่อื มโยงความรู้ใหม่โดยใช้สอื่ ประกอบ มกี ารตรวจสอบความร้คู วามเข้าใจของนกั เรียนเปน็ ระยะๆ มีการออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning เหมาะสมกับธรรมชาติของรายวิชา มีเทคนิคการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมเน้น
กระบวนการสร้างความรู้ มีความเหมาะสมกับวัยและนักเรียนสามารถปฏิบัติได้จริง กิจกรรมมีความเหมาะสม สอดคล้อง
กับชีวติ ประจำวัน มีความง่ายเพื่อเพิ่มโอกาสให้นักเรียนประสบความสำเรจ็ ในการเรียนรู้ และมคี วามยากเพื่อให้นักเรียนได้
พัฒนาตามศักยภาพ และท้าทายความสามารถของตนเอง ครูสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในเร่ืองการแสดงออกทั้งในด้าน
การสื่อสาร / การแสดงออกกับนักเรียน กระตุ้นให้นักเรียนฝึกทักษะการคิด มีอิสระทางความคิด มีกิจกรรมท่ีกระตุ้นให้
นักเรียนเกิดความมั่นใจในการตอบคำถาม ทำให้นักเรียนีความสุข มีความเป็นธรรมชาติ สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างมี
ความสุข
12
ด้านที่ 2 ดา้ นผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ องผเู้ รียน
ผลงานหรือผลการปฏิบัติเป็นผลลัพธ์ที่เกิดข้ึนจากการจัดการเรียนรู้ของครู ทำให้นักเรียนมีผลงาน เกิดจากการจัด
กระบวนการเรียนรู้ของครู ผลงานบรรลตุ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบไุ ว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ นักเรียนมีทักษะการ
ส่ือสาร มีการฝึกใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์วิทยาศาสตร์นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยสังเกตจากการสรุปบทเรียน
การให้นักเรียนนำเสนอเพ่ือสรุปผลการทดลองหน้าชั้นเรียนหรือคำถามท่ีครูใช้ประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนเป็น
ระยะๆนักเรียนได้ฝึกทักษะการวางแผนการทดลองโดยครูอาจเป็นผู้ชี้นำบ้าง (ครูควรฝึกให้นักเรียนร่วมออกแบบการ
ทดลอง) นกั เรียนเกดิ ทักษะการตง้ั คำถามจากการรว่ มกิจกรรม
13
ตอนที่ 3
ผลการนเิ ทศรายโรงเรียของกลมุ่ โรงเรียนสายน้ำวัง
สรุปผลการนเิ ทศ ติดตาม
การดำเนินการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
ผลการนเิ ทศ ผลการนิเทศไดน้ ำเสนอเปน็ รายโรงเรียน ดังต่อไปน้ี
1. โรงเรียนวังหวายวทิ ยาคม
2. โรงเรยี นบา้ นใหม่สามคั คี
3. โรงเรยี นบา้ นวังโพ
4. โรงเรียนบ้านนาตาโพ
5. โรงเรียนบา้ นวังไครม้ ติ รภาพที่ 102
6. โรงเรียนบา้ นทา่ ไผ่
7. โรงเรียนชมุ ชนบา้ นแมร่ ะวานสองแคว
8. โรงเรียนบเนหนองเชยี งคา
9. โรงเรยี นบา้ นดงลาน
10. โรงเรยี นหมู่บ้านตัวอยา่ ง
11. โรงเรียนบา้ นปากทางเขอ่ื นภูมพิ ล
12. โรงเรยี นบ้านคลองไมแ้ ดง
14
โรงเรยี นวังหวายวิทยาคม
ตอนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป
1.1 ชอื่ โรงเรียน วงั หวายวทิ ยาคม กลมุ่ โรงเรียนสายนำ้ วัง
1.2 ช่ือผู้อำนวยการโรงเรียน/ผูร้ ักษาการโรงเรยี น นางอัญชนา เกตกลมเกลา
โทรศพั ท์ ๐๙๑ – ๘๔๓๐๑๑๖
รองอำนวยการโรงเรียน..........-............ โทรศพั ท…์ ……-………………
1.3 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา..........1..........คน ครูประจำการ......13.....คน ลกู จา้ งประจำ.......-........คน
1.3.1 ลกู จา้ งชวั่ คราว(สพฐ.).....-.....คน ครอู ตั ราจา้ ง......-....คน นกั การภารโรง....1......คน
พเ่ี ลย้ี งเดก็ พิการเรยี นรวม.....-....คน บุคลากรวทิ ย์/คณิต.....-..คน
1.3.2 ลูกจ้างชวั่ คราว (เงนิ นอกงบประมาณ).....-.....คน ครอู ัตราจา้ ง....-.....คน
ครูอตั ราจา้ ง(งบ สพฐ.) ....-...คน ครูอัตราจา้ ง(งบโรงเรียน).....1...คน อน่ื ๆ.......-......คน
1.3.3 ธรุ การโรงเรียน.......1...........คน
1.4 จำนวนนักเรียน
ระดบั ปฐมวยั ......17.....คน...2......หอ้ งเรยี น ระดบั ประถมศึกษา......82......คน...6.......หอ้ งเรียน
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ..53..คน...3...หอ้ งเรยี น รวมจำนวนท้ังส้นิ ..152... คน...11..ห้องเรียน
1.5 ขนาดโรงเรยี น
เลก็ √✓กลาง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ
ตอนท่ี 2 รายการนเิ ทศ ติดตาม การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
รายการนิเทศ ตดิ ตาม ดำเนินการ อยูร่ ะหว่าง บันทึกผนู้ เิ ทศ
ดำเนินการ
1. การกำหนดแผนการดำเนินงาน ด้านความ ✓ - โรงเรียนมีการจัดทำโครงการ
ปลอดภัย ✓ ต่างๆ เพ่ือป้องกันกัน เสริมสร้าง
ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า
1.1 ดา้ นความปลอดภัยในโรงเรยี น เช่น โครงการตั้งครรภ์ก่อนวัยเรียน
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ โครงการสีขาว ปลอดยาเสพติด
และอบายมุข (ตรวจปัสสาวะ/
และโรคอบุ ัตใิ หม่ กิจกรรมค้นหายาเสพติด) โครงการ
- มาตรการด้ าน ความป ลอ ดภั ยต่างๆ เด็กพิการเรียนร่วม โครงการระบบ
ดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป
ศึกษานอกสถานท่ี
15
รายการนเิ ทศ ติดตาม ดำเนินการ อยรู่ ะหว่าง บันทกึ ผู้นเิ ทศ
ดำเนนิ การ
- แนวทาง/วธิ ีการปอ้ งกนั เหตุทีอ่ าจเกดิ โดย ✓
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่ อ
อาชญากรรม การป้องกนั ภัยอนั เกิดจากภยั ธรรมชาติ ✓ - มีบางส่วนท่ีกำลังปรับปรุง
พัฒนา เนื่องจากได้งบประมาณ
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานท่ี เช่น ความ
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร จัดสรรเพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ ทำ
ประกอบ เครือ่ งเล่นสนาม (ทพ่ี รอ้ มใชง้ าน)
ให้โรงเรียนมีความปลอดภัย เรื่อง
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน อาคารสถาน ที่ และการสร้าง
๒.๑ มีแผนยกระดับฯที่เป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/ บรรยากาศทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้
วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ
ปฏิบัติทช่ี ัดเจน - มีการจัดทำแผนยก ระดับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยมี
เป้าหมายในการเพ่ิมผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน แต่ละกลุ่มสาระ
เพิ่ ม ขึ้น ๓ โด ยมี เป้ าห ม ายส่ ง
นักเรียนเข้าทดสอบ ร้อยละ ๑๐๐
เพ่ือให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองตาม
ศักยภ าพ โดยมี นั กเรียน ป .๖
จำนวน ๑๐ คน และนักเรียน ม.๓
จำนวน ๙ คน และจัดกิจกรรมสอน
เสริมในช่วงลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้
- มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครู
จัดการเรียนการสอน แบบ Active
Learning โดยประสานผู้เช่ียวชาญ
จาก มรภ.กำแพงเพชร มาเป็น
ผู้ทรงคุณ วุฒิท่ีปรึกษาด้านการ
จัด การเรียน รู้แ ละก ารพั ฒ น า
วชิ าชพี ของครู
16
ตอนท่ี 3 การสงั เกตการณจ์ ัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของผรู้ ับการนเิ ทศ ประกอบด้วย 2 ดา้ นดงั นี้
ดา้ นที่ 1 ด้านทักษะการจดั การเรียนรู้และการจดั การชน้ั เรียน
ด้านที่ 2 ด้านผลลัพธก์ ารเรียนร้ขู องผ้เู รยี น
ช่อื ผู้รบั การนิเทศ....นางสาวปณัฐวรรณ................นามสกลุ .........ปู่ผา..............................ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
สถานศึกษา โรงเรยี นวงั หวายวิทยาคม ชน้ั ทีน่ เิ ทศ....ป.๒....จำนวนนกั เรยี น เพศชาย..๔..คน เพศหญิง...5...คน
กล่มุ สาระการเรียนรู้ทส่ี อน.........คณิตศาสตร์............................เร่ืองทสี่ อน ความหมายของการหาร
ด้านที่ 1 ดา้ นทกั ษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรียน
ที่ ตวั ชีว้ ดั ทกั ษะการจัดการเรยี นรูแ้ ละการจัดการชัน้ เรยี น บันทึกของผ้นู ิเทศ
1 ผเู้ รยี นสามารถเข้าถงึ สงิ่ ทีเ่ รียนและใจบทเรยี น มี ส าระ ก ารเรีย น รู้ต รงต าม ห ลั ก สู ต ร
มาตรฐานและตัวชี้วัด สามารถออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้างในหน่วยการ
เรียนรู้ และมีการใช้ส่ือ (ลูกอม) ท่ีเหมาะสม
เพ่ือเชื่อมโยงการเรียนรู้ แต่ควรเลือกส่ือที่
กลับมาใช้งานได้อีก เพ่ือให้ประหยัด คุ้มค่า
มากที่สดุ
2 ผูเ้ รียนสามารถเชอื่ มโยงความรูห้ รือประสบการณ์เดมิ กับการ มกี ารใช้คำถามกระตนุ้ ให้นกั เรยี นได้ทบทวน
เรียนรใู้ หม่ ความรู้เดิม รวมถึงการใช้คำถามเพ่ือเชื่อมโยง
ความรู้ใหม่
3 ผูเ้ รียนไดส้ ร้างความรู้เอง หรอื ได้สรา้ งประสบการณใ์ หมจ่ ากการ มีการให้นักเรียนได้ค้นหาความรู้ใหม่จาก
เรียนรู้ การฝึกปฏิบัติ หรือฝึกจากประสบการณ์การ
ทำงานกลุ่มตามศักยภาพ เหมาะสมกับวัยอละ
นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้จริง
4 ผู้เรยี นได้รบั การกระตุน้ และเกิดแรงจงู ใจในการเรียนรู้ มี ก าร ส ร้ างส ถ าน ก ารณ์ เชื่ อ ม โย งใน
ชีวิตประจำวนั เปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้ประสบ
ค ว า ม ส ำ เร็ จ ใน ก า ร เรี ย น รู้ ได้ ต า ม ศั ก ย ภ า พ
กิจกรรมมีความเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้
และจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
5 ผเู้ รียนได้รับการพัฒนาทักษะความเชย่ี วชาญจากการเรียนรู้ นักเรียนได้นำตนเอง จากการฝึกทักษะที่
ครอบคลุมวัตถุประสงค์การเรียนรู้ รวมถึง
ส า ม า ร ถ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ค ว า ม รู้ เพ่ื อ ใช้ ใ น ก า ร
แก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหา และมีการเปิด
โอกาสให้นักเรียนไดใ้ ชท้ กั ษะความรู้ที่เรียนมา
6 ผเู้ รียนได้รับขอ้ มูลสะท้อนกลับเพอื่ ปรับปรุงการเรยี นรู้ มีการใช้คำถามเพ่ือทดสอบความรู้ ความ
เข้าใจของนักเรียนเป็นระยะๆ มีการสังเกต
พฤติกรรมนักเรียน และสามารถบูรณาการ
สอดแทรกเกล็ดความรู้ต่างๆ ในขณ ะจัด
กจิ กรรม
7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศชั้น เรียนท่ี ครูสามารถเป็นแบบอย่างท่ีดีในเร่ืองการ
17
เหมาะสม แสดงออกทั้ งใน ด้ าน การสื่อสาร / การ
8 ผู้เรียนสามารถกำกับการเรยี นรแู้ ละมกี ารเรียนรแู้ บบนำตนเอง แสดงออกกับนักเรียน มีกิจกรรมท่ีกระตุ้นให้
นักเรียนเกิดความมั่นใจในการตอบคำถาม ทำ
ให้นักเรียนีความสุข มีความเป็นธรรมชาติ
สามารถเรียนรู้สง่ิ ตา่ งๆไดอ้ ยา่ งมีความสุข
เน่ืองจากนักเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
คุณครูจึงต้องกำกับการเรียน หรือควบคุม
ชั้นเรียนให้สามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้
ตามแผนการจดั การเรียนรู้
ดา้ นท่ี 2 ด้านผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของผเู้ รยี น บันทึกของผู้นิเทศ
ที่ ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์การเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น
1 ผลงานหรอื ผลการปฏิบตั เิ ปน็ ผลลัพธท์ เ่ี กิดข้นึ จากการจดั การ ผลงานของนักเรียนเป็นผลงานกลุ่มที่เกิด
จากการจัดกระบวนการเรียนร้ขู องครู
เรียนรขู้ องครู
2 ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ัตสิ ะท้อนถึงการไดร้ ับการพัฒนาทักษะขั้น นักเรียนได้ใช้ทักษะต่างๆ ตามวัตถุประสงค์
การเรียนรู้ เช่น การสื่อสาร การทำงานร่วมกัน
พื้นฐาน (Basic Skills) ตามวัยและลักษณะของผู้เรียน มีการใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยี เพื่อให้
นักเรยี นได้ลองใชฝ้ กึ ทกั ษะ
3 ผลงานหรือผลการปฏิบัตสิ ะท้อนถึงความสามารถในการเรยี นรู้
(Cognitive Abilities) ตามวยั และลกั ษณะของผู้เรียน นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดย
สงั เกตจากการสรปุ บทเรียน หรอื คำถามท่ีครูใช้
4 ผลงานหรือผลการปฏบิ ัตสิ ะท้อนถึงการบรู ณาการทักษะในการ ประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนเป็น
ทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวัยและลักษณะของ ระยะ
ผูเ้ รยี น
นักเรียนมีทักษะวางแผน มีการฝึกคิด
วิเคราะห์ เนื่องจากมีการใช้โจทย์ปัญหา มีการ
ปฏิบตั ิจรงิ เพือ่ พสิ จู นค์ วามรู้
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นของผนู้ ิเทศ
- การเขียนจุดประสงค์การเรียนรูค้ วรสอดคล้องตามระดับพฤติกรรมท่ีตอ้ งการให้เกิดข้ึนตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัดช้ัน
ปี ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
- การเขียนแผนการเรียนรู้ควรมีความละเอียดระบุขน้ั ตอนตามกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้ชัดเจน และควรสอดคล้องกับ
เกณฑท์ ่ี กคศ. กำหนดด้านตวั ชวี้ ดั ทกั ษะการจัดการเรียนรูแ้ ละการจดั การช้ันเรยี น
- ครูและหวั หนา้ วชิ าการมีทัศนคติท่ีดีในการพฒั นาตนเองและพฒั นางานวิชาการของโรงเรียน
18
โรงเรียนบา้ นใหมส่ ามัคคี
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป
1.1 ชื่อโรงเรียนบา้ นใหม่สามัคคี กลมุ่ โรงเรยี นสายน้ำวัง
1.2 ช่อื ผู้อำนวยการโรงเรียน/ผ้รู กั ษาการโรงเรยี น นางสาวสกุณา อนิ อยู่ โทรศัพท์ 0931347822
รองอำนวยการโรงเรยี น......-.................................................... โทรศัพท…์ ……-…..…………………………
1.3 ผู้บรหิ ารสถานศึกษา....1................คน ครูประจำการ.....14..........คน ลกู จา้ งประจำ.......-...............คน
1.3.1 ลกู จ้างชวั่ คราว(สพฐ.).....-.......คน ครอู ตั ราจา้ ง.....-.........คน นกั การภารโรง........-............คน
พีเ่ ลยี้ งเดก็ พกิ ารเรยี นรวม...1.........คน บคุ ลากรวิทย์/คณติ .....1....คน
1.3.2 ลูกจา้ งชวั่ คราว (เงนิ นอกงบประมาณ)...-.......คน ครูอตั ราจา้ ง......-......คน
ครอู ตั ราจา้ ง(งบ สพฐ.) .....-..........คน ครูอตั ราจา้ ง(งบโรงเรยี น)......1.......คน อนื่ ๆ.....-..........คน
1.3.3 ธุรการโรงเรยี น........1..........คน
1.4 จำนวนนักเรยี น
ระดับปฐมวยั ........19.............คน...2.......ห้องเรยี น ระดบั ประถมศึกษา.....70..........คน......6.....หอ้ งเรยี น
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น....46.....คน...3....ห้องเรียน รวมจำนวนทัง้ สิ้น.....135....คน.....11......หอ้ งเรยี น
1.5 ขนาดโรงเรียน
เล็ก ✓กลาง ใหญ่ ใหญพ่ ิเศษ
ตอนท่ี 2 รายการนเิ ทศ ติดตาม การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
รายการนิเทศ ตดิ ตาม ดำเนนิ การ อยรู่ ะหว่าง บันทกึ ผู้นเิ ทศ
ดำเนินการ
2. การกำหนดแผนการดำเนินงาน ด้านความ ✓ - โรงเรียนมีการวางแผนเพื่อ
ปลอดภยั ✓ ป้ อ ง กั น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย
ประกอบด้วยการจัดทำแผนเผชิญ
1.1 ด้านความปลอดภยั ในโรงเรียน เหตุเพื่อรองรับสถานการณ์โควิด
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ คู่ มื อ ก ารด ำเนิ น งาน โรงเรีย น
คุ้มครองเด็ก แนวทางปฏิบัติและ
และโรคอุบตั ิใหม่ มาตรการการรักษาความปลอดภัย
- มาตรการด้าน ความป ลอดภั ยต่างๆ ของสถานศึกษา
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป
ศกึ ษานอกสถานท่ี
19
รายการนเิ ทศ ตดิ ตาม ดำเนนิ การ อยูร่ ะหว่าง บนั ทึกผ้นู ิเทศ
- แนวทาง/วธิ กี ารป้องกนั เหตุทีอ่ าจเกิดโดย ดำเนนิ การ
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่อ ✓
อาชญากรรม การปอ้ งกนั ภยั อันเกดิ จากภยั ธรรมชาติ มี ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ร ะ บ บ ดู แ ล
✓
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เช่น ความ ช่ ว ย เห ลื อ นั ก เรี ย น กิ จ ก รร ม
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร
ประกอบ เครือ่ งเลน่ สนาม (ท่ีพรอ้ มใช้งาน) โครงการโรงเรียนหัวแข็ ง เพื่ อ
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิ เส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง
ทางการเรยี น
✓ สถานศกึ ษา
๒.๑ มีแผนยกระดับฯที่เป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/ โรงเรียนได้รับรางวัลสถานศึกษา
วิธีการ/ข้ันตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ
ปฏบิ ตั ิทช่ี ดั เจน ปลอดภัย ปีท่ี 1 จากกรมแรงงาน
แ ล ะคุ้ ม ค รอ งส วัส ดิ ก าร แ ล ะ
ห้องเรียนช้ันท่ีนิเทศการเรียน มี
ก า ร จั ด บ ร ร ย า ก า ศ ที่ เอื้ อ ต่ อ ก า ร
เรียนรู้ จัดมุมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมให้
นักเรยี นแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง
- มี ก ารจัด ท ำแ ผน ย กระดั บ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมี
เป้าหมายในการเพิ่มผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน แต่ละกลุ่มสาระ
เพ่ิ ม ข้ึน ๓ โด ยมี เป้ าห ม ายส่ ง
นักเรียนเข้าทดสอบ ร้อยละ ๑๐๐
จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ท างก ารเรี ย น มี งบ ป ระ ม าณ
ส นั บ ส นุ น โค ร ง ก า ร แ ล ะ จ ะ
ดำเนินการ
20
ตอนที่ 3 การสังเกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของผูร้ ับการนิเทศ ประกอบด้วย 2 ด้านดงั นี้
ด้านท่ี 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรยี นรู้และการจัดการชนั้ เรยี น
ดา้ นท่ี 2 ด้านผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของผ้เู รียน
ชื่อผรู้ ับการนเิ ทศ....นางจงรักษ์...........................นามสกลุ ....แสงแกว้ ..............ตำแหนง่ ครชู ำนาญการพิเศษ
สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นใหม่สามคั คี ชนั้ ท่นี เิ ทศ....ป.๑....จำนวนนกั เรยี น เพศชาย..๓..คน เพศหญิง...๓...คน
กล่มุ สาระการเรยี นร้ทู สี่ อน ภาษาไทย เรอ่ื งทส่ี อน นิทานคำกลอน เร่ืองมดแดงแรงฤทธิ์
ดา้ นท่ี 1 ด้านทักษะการจดั การเรยี นรู้และการจดั การชน้ั เรยี น บนั ทึกของผูน้ ิเทศ
ที่ ตัวชวี้ ดั ทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการชน้ั เรียน
1 ผู้เรียนสามารถเข้าถึงส่งิ ท่ีเรยี นและใจบทเรยี น มีสาระการเรียนรู้ตรงตามหลักสูตร มาตรฐาน
และตัวชี้วัด สามารถออกแบบกิจกรรมการ
2 ผเู้ รยี นสามารถเชอ่ื มโยงความรหู้ รอื ประสบการณเ์ ดมิ กับการ เรยี นรู้ตามโครงสร้างในหน่วยการเรยี นรู้ และมี
เรยี นร้ใู หม่ การใช้ส่ือ (ชุดแบบฝึกทักษะ และ E-book) ท่ี
ครูสร้างขึ้น อย่างเหมาะสมเพื่อเชื่อมโยงการ
3 ผเู้ รยี นไดส้ รา้ งความร้เู อง หรือได้สร้างประสบการณ์ใหม่จากการ เรียนรู้ของนักเรียนด้วยการให้นักเรียนได้ฝึก
เรยี นรู้ ปฏิบัติ และครูคอยกระตุ้นการเรียนการสอน
ใหก้ บั นกั เรียนเพอื่ ใหม้ ีความสนใจมากข้นึ
4 ผูเ้ รยี นได้รบั การกระตุ้นและเกิดแรงจงู ใจในการเรยี นรู้
มกี ารใช้คำถามกระต้นุ ให้นักเรียนได้ทบทวน
5 ผเู้ รียนได้รับการพฒั นาทักษะความเชย่ี วชาญจากการเรียนรู้ ความรู้เดิม รวมถึงการใช้คำถามเพ่ือเชื่อมโยง
ความรูใ้ หม่
6 ผู้เรียนไดร้ บั ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรบั ปรุงการเรยี นรู้
มีการให้นักเรียนได้ค้นหาความรู้ใหม่จาก
การฝึกปฏิบัติ หรือฝึกจากชุดแบบฝึกทักษะ
เหมาะสมกับวัยและนักเรียนสามารถปฏิบัติได้
จรงิ
มี ก าร ส ร้ างส ถ าน ก ารณ์ เชื่ อ ม โย งใน
ชีวิตประจำวนั เปิดโอกาสใหน้ กั เรียนได้ประสบ
ค ว า ม ส ำ เร็ จ ใน ก า ร เรี ย น รู้ ได้ ต า ม ศั ก ย ภ า พ
กิจกรรมมีความเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้
และจุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
นักเรียนได้นำตนเอง จากการฝึกทักษะที่
ครอบคลุมวัตถุประสงค์การเรียนรู้ รวมถึง
สามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อใช้ในการทำ
แบบฝึกทักษะในสถานการณ์ต่างๆได้ และมี
การเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้ทักษะความรู้ที่
เรียนมา
มีการใช้คำถามเพื่อทดสอบความรู้ ความ
เข้าใจของนักเรียนเป็นระยะๆ มีการสังเกต
พฤติกรรมนักเรียน และสามารถบูรณาการ
21
สอดแทรกเกล็ดความรู้ต่างๆในขณ ะจัด
กิจกรรม
7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศช้ันเรียนท่ี ครูสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการ
เหมาะสม แสดงออกทั้ งใน ด้ าน การสื่อสาร / การ
แสดงออกกับนักเรียน มีกิจกรรมท่ีกระตุ้นให้
นักเรียนเกิดความม่ันใจในการตอบคำถาม ทำ
ให้นักเรียนีความสุข มีความเป็นธรรมชาติ
สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างมีความสุข และ
นักเรียนให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆของ
การเรยี นการสอน
8 ผู้เรียนสามารถกำกบั การเรยี นรแู้ ละมกี ารเรยี นรแู้ บบนำตนเอง เน่ืองจากนักเรียนอยู่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1
คุณครูจึงต้องกำกับการเรียน หรือควบคุม
ช้ันเรียนให้สามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้
ตามแผนการจดั การเรียนรู้
ดา้ นท่ี 2 ดา้ นผลลพั ธ์การเรียนรูข้ องผเู้ รยี น บนั ทึกของผู้นเิ ทศ
ที่ ตัวชว้ี ัดผลลพั ธก์ ารเรียนร้ขู องผูเ้ รียน
1 ผลงานหรือผลการปฏิบัติเปน็ ผลลัพธ์ทเ่ี กิดขนึ้ จากการจัดการ ผลงานของนักเรียนเป็นผลงานจากชุดแบบ
ฝึกทักษะท่ีเกิดจากการจัดกระบวนการเรียนรู้
เรยี นรู้ของครู ของครู
2 ผลงานหรอื ผลการปฏิบัตสิ ะท้อนถึงการได้รบั การพฒั นาทักษะข้นั นักเรียนได้ใช้ทักษะต่างๆ ตามวัตถุประสงค์
พ้ืนฐาน (Basic Skills) ตามวยั และลกั ษณะของผเู้ รยี น การเรียนรู้ เช่น การสื่อสาร การทำงานร่วมกัน
มีการใช้สื่อ E-Book เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึก
3 ผลงานหรอื ผลการปฏิบัติสะท้อนถงึ ความสามารถในการเรยี นรู้ ทักษะ และสร้างความสนใจให้กบั ผเู้ รียน
(Cognitive Abilities) ตามวัยและลักษณะของผเู้ รียน
นักเรยี นเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดย
4 ผลงานหรอื ผลการปฏิบตั สิ ะท้อนถงึ การบรู ณาการทักษะในการ สงั เกตจากการสรุปบทเรียน หรือคำถามท่ีครูใช้
ทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวัยและลกั ษณะของ ประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนเป็น
ผู้เรียน ระยะ
นักเรียนมีทักษะวางแผน มีการฝึกคิด
วิเคราะห์ เนื่องจากมีการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ
ในการให้นักเรียน มีการปฏิบัติจริง เพ่ือพิสูจน์
ความรู้
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเหน็ ของผู้นิเทศ
- ควรพัฒนาคลังข้อสอบ เพ่ือนำมาใช้ประเมินนักเรียน หรือเตรียมความพร้อมของผู้เรียนในการทดสอบความรู้
ระดับชาติ (O-NET) หรอื ควรร่วมกันพัฒนาในระดับกล่มุ โรงเรยี น เพอ่ื เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของทีมวิชาการกล่มุ โรงเรียน
22
โรงเรยี นบ้านวงั โพ
ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป
1.1 ชือ่ โรงเรียน........บา้ นวังโพ......... กลุม่ โรงเรียน.........สายน้ำวัง.............
1.2 ชอื่ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น..... นางกติ ตยิ า จอกทอง.............. โทรศัพท.์ ..08-9272-1418....
รองอำนวยการโรงเรียน......-................................................... โทรศัพท…์ ……-…..…………………………
1.3 ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา...........1............คน ครปู ระจำการ....1๓...คน ลูกจา้ งประจำ.......-...........คน
1.3.1 ลูกจา้ งชวั่ คราว(สพฐ.).....-.......คน ครอู ตั ราจา้ ง.....-.........คน นกั การภารโรง........-.......คน
พ่ีเล้ียงเด็กพกิ ารเรียนรวม............คน บคุ ลากรวิทย/์ คณติ .........คน
1.3.2 ลูกจา้ งช่ัวคราว (เงนิ นอกงบประมาณ)...-.......คน ครอู ตั ราจา้ ง......-......คน
ครูอตั ราจ้าง(งบ สพฐ.) .....-..........คน ครูอัตราจ้าง(งบโรงเรียน)......1.......คน อ่ืนๆ.....-..........คน
1.3.3 ธรุ การโรงเรียน........1..........คน
1.4 จำนวนนักเรยี น
ระดบั ปฐมวัย........1๗.............คน...2.......ห้องเรยี น ระดบั ประถมศึกษา.....๘๑..........คน......6.....หอ้ งเรียน
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น....46.....คน...3....หอ้ งเรียน รวมจำนวนทงั้ สิ้น.....1๔๔....คน.....11.....ห้องเรียน
1.5 ขนาดโรงเรียน
เล็ก กลาง ใหญ่ ใหญพ่ ิเศษ
ตอนท่ี 2 รายการนเิ ทศ ติดตาม การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
รายการนิเทศ ตดิ ตาม ดำเนนิ การ อย่รู ะหวา่ ง บนั ทกึ ผนู้ ิเทศ
ดำเนินการ
3. การกำหนดแผนการดำเนินงานด้านความ ✓ - โรงเรียนมีมาตรการด้านการ
ปลอดภยั ป้องกันโรคระบาดต่างๆ ส่วนเร่ือง
มาตรการด้านความปลอดภัยต่างๆ
1.1 ดา้ นความปลอดภยั ในโรงเรยี น ในโรงเรียนกำลังดำเนินการโดยครู
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ผู้รับผิดชอบโครงการสถานศึกษา
✓ ปลอดภัย ผู้รับผิดชอบโครงการ
และโรคอุบัตใิ หม่ ทัศนศึกษา มีการวางแผนทัศน
- มาตรการด้าน ความป ลอดภั ยต่างๆ ศึกษาช่วงวันเด็ก ซึ่งอยู่ในข้ันตอน
ของการพิจารณาความเหมาะสม
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป งบประมาณ และความปลอดภัย
ศกึ ษานอกสถานท่ี
23
รายการนิเทศ ติดตาม ดำเนนิ การ อยู่ระหวา่ ง บนั ทึกผ้นู ิเทศ
ดำเนนิ การ
- แนวทาง/วิธีการป้องกันเหตุท่อี าจเกิดโดย ✓
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่ อ มี ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ร ะ บ บ ดู แ ล
อาชญากรรม การปอ้ งกันภัยอนั เกดิ จากภยั ธรรมชาติ ✓
ช่ ว ย เห ลื อ นั ก เรี ย น กิ จ ก รร ม
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เช่น ความ
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร โครงการโรงเรียนหัวแข็ง เพ่ื อ
ประกอบ เครอ่ื งเล่นสนาม (ทพ่ี ร้อมใชง้ าน)
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ เส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง
ทางการเรยี น
✓ สถานศึกษา
๒.๑ มีแผนยกระดับฯท่ีเป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/ โรงเรียนมีการจัดสถานที่ภายใน
วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ
ปฏิบตั ิทช่ี ดั เจน โรงเรียนเน้นบรรยากาศความรม่ ร่ืน
- มี ก ารจัด ท ำแ ผน ย กระดั บ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมี
เป้าหมายในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน แต่ละกลุ่มสาระ
เพิ่ ม ข้ึน ๓ โด ยมี เป้ าห ม ายส่ ง
นักเรียนเข้าทดสอบ อาจไม่ครบ
100% เนื่องจากมีนักเรียนพิการ
เขา้ รบั การรักษาตวั จากโรงพยาบาล
ส่งผลต่อความยากลำบากของการ
เดินทางไปสอบ มีการจัดทำแผน
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
RT/NT/O-NET มี กิ จ ก ร ร ม ง บ
ประมาณรองรับ
- มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร
ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
และมีการส่งเสริมความร่วมมือกับ
เครอื ข่ายเชงิ วิชาการ เช่น วิทยาลัย
การอาชีพบ้านตาก (วิชาการงานฯ
ช่างเชื่อม ช่างยน ต์) มีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ในคาบลดเวลา
เรียน หรือรายวิชาเพ่ิมเติมเป็นฐาน
การเรยี นร้เู พือ่ พฒั นาทกั ษะอาชีพ
- ก ำ ลั ง ด ำ เนิ น ก า ร จั ด ท ำ
แผนปฏิบัติการแผนพัฒนาคุณภาพ
การจดั การศกึ ษา ระยะ 5 ปี
24
ตอนท่ี 3 การสงั เกตการณจ์ ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของผูร้ ับการนิเทศ ประกอบด้วย 2 ด้านดงั น้ี
ด้านท่ี 1 ด้านทักษะการจดั การเรยี นรู้และการจดั การช้ันเรียน
ด้านท่ี 2 ด้านผลลัพธ์การเรียนร้ขู องผู้เรียน
ชื่อผู้รับการนเิ ทศ.........นางสาวนิณวรรณ............นามสกุล.......เมืองอินทร์.......ตำแหนง่ ...ครู คศ.๑....
สถานศึกษา....โรงเรียนบ้านวงั โพ...ชั้นทน่ี เิ ทศ....ป.๖....จำนวนนักเรยี น เพศชาย..๑๑..คน เพศหญิง...๙...คน
กลุม่ สาระการเรียนรู้ทส่ี อน ........คณิตศาสตร.์ .... เร่ืองท่ีสอน การสร้างรูปสามเหลยี่ ม
ด้านที่ 1 ด้านทักษะการจัดการเรยี นรู้และการจดั การชน้ั เรียน บนั ทกึ ของผู้นเิ ทศ
ที่ ตัวช้วี ดั ทกั ษะการจดั การเรียนรู้และการจดั การชัน้ เรยี น
1 ผู้เรยี นสามารถเข้าถงึ สิ่งท่ีเรยี นและเขา้ ใจบทเรยี น มี ส าระ ก ารเรีย น รู้ต รงต าม ห ลั ก สู ต ร
มาตรฐานและตัวช้ีวัด สามารถออกแบบ
2 ผู้เรยี นสามารถเชื่อมโยงความรูห้ รอื ประสบการณ์เดมิ กบั การ กิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้างในหน่วยการ
เรียนรใู้ หม่ เรียนรู้ แต่สอนไม่ตรงตามแผนการเรียนรู้ มี
ก ารใช้ สื่ อ ป ระ ก อ บ /อุ ป ก รณ์ ก ารเรีย น
3 ผเู้ รยี นได้สรา้ งความร้เู อง หรือได้สรา้ งประสบการณใ์ หม่จากการ คณิตศาสตร์
เรยี นรู้
มีการทบทวนความรู้ก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
4 ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นและเกดิ แรงจงู ใจในการเรยี นรู้ โดยการใช้คำถาม มีการให้ความช่วยเหลือ
นักเรียนโดยใช้วิธีเดินไปสอบถาม แนะนำ ให้
5 ผูเ้ รียนไดร้ บั การพัฒนาทักษะความเช่ียวชาญจากการเรียนรู้ ความชว่ ยเหลือ อธบิ ายเพ่ิมเตมิ
6 ผ้เู รียนได้รบั ข้อมลู สะท้อนกลับเพอ่ื ปรับปรุงการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรียนรู้เน้นการฝึกปฏิบัติ แต่
เนื่องจากนักเรียนไม่ได้เตรียมอุปกรณ์การเรียน
มาตามท่ีครูมอบหมาย ส่งผลให้ขาดความ
ต่อเน่ืองในการเรียน และนักเรียนก็มีการแก้ไข
ปญั หาโดยการยมื อุปกรณ์การเรยี นกัน
กิจกรรมมีความเหมาะสมในเรื่องของการ
ท ด ส อ บ ค ว า ม รู้ โ ด ย ใ ห้ นั ก เรี ย น ป ฏิ บั ติ เป็ น
รายบุคคล แต่กจิ กรรมยังขาดความเชื่อมโยงใน
ชีวิตประจำวัน ควรยกตัวอย่างหรือสร้าง
ส ถ า น ก า ร ณ์ ท่ี ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น
เพอื่ ให้นกั เรยี นเห็นภาพ และนำไปใช้ไดจ้ รงิ
นักเรียนได้ฝึกทักษะตามจุดประสงค์การ
เรียนรู้ มีการบูรณาการทักษะทางคณิตศาสตร์
มาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
นกั เรยี นขาดขอ้ มูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุง
การเรียนรู้ ทำให้นักเรียนเกิดความม่ันใจว่า
นักเรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
หรือไม่ ควรให้ข้อมูลเพื่อให้นักเรียนเกิดการ
พัฒนาตนเอง
25
ที่ ตัวชี้วัดทกั ษะการจดั การเรียนรูแ้ ละการจัดการชั้นเรียน บนั ทึกของผนู้ เิ ทศ
7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศช้ันเรียนท่ี ครูมีบุคลิกภาพเป็นผู้นำ เสียงดังควบคุม
เหมาะสม จัดการช้ันเรียนได้อย่างเหมาะสม มีการสร้าง
บรรยากาศทีด่ ใี นการเรียนรู้
8 ผู้เรียนสามารถกำกบั การเรียนร้แู ละมกี ารเรียนรู้แบบนำตนเอง นักเรียนได้รับการมอบหมายงานให้ทำหลัง
เรียนจบเพ่ือฝึกฝน ฝึกทักษะและเป็นการ
ทบทวนบทเรยี น
ดา้ นท่ี 2 ด้านผลลพั ธ์การเรยี นร้ขู องผู้เรียน บันทกึ ของผู้นิเทศ
ที่ ตวั ชีว้ ัดผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของผู้เรียน
1 ผลงานหรือผลการปฏบิ ัติเปน็ ผลลพั ธท์ ่ีเกดิ ขึน้ จากการจัดการ ผ ล งาน ข อ งนั ก เรียน เกิ ด จาก ก าร จั ด
กระบวนการเรียนรู้ของครู คือ การทำแบบฝึก
เรียนรขู้ องครู ในชุดแบบฝึกคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นแบบฝึกที่มี
ความเหมาะกับเร่ืองท่ีเรียน และวัยของผู้เรียน
2 ผลงานหรือผลการปฏบิ ตั ิสะท้อนถงึ การไดร้ ับการพฒั นาทักษะขนั้ แต่อาจยังขาดความน่าสนใจ
พนื้ ฐาน (Basic Skills) ตามวยั และลกั ษณะของผูเ้ รียน
นักเรียนได้ใช้ทักษะการคิด การส่ือสาร
3 ผลงานหรือผลการปฏบิ ัตสิ ะท้อนถงึ ความสามารถในการเรยี นรู้ เชื่อมโยงความรู้เดิม เช่น การวัด การใช้
(Cognitive Abilities) ตามวัยและลักษณะของผู้เรยี น เคร่ืองมือทางคณิตศาสตร์ มุมต่างๆ จาก
บทเรียนที่ผ่านมา มีการใช้อุปกรณ์ในการฝึก
4 ผลงานหรอื ผลการปฏิบัตสิ ะท้อนถึงการบรู ณาการทักษะในการ ทักษะ
ทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวยั และลกั ษณะของ
ผูเ้ รียน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม มีการ
ทดลองถูก-ผดิ ขณะปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
นักเรียนมีทักษะวางแผน มีการฝึกคิด
วิเคราะห์ เนื่องจากมีการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ
ในการให้นักเรียน มีการปฏิบัติจริง เพื่อพิสูจน์
ความรู้
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะ/ขอ้ คิดเหน็ ของผนู้ เิ ทศ
- การใชอ้ ปุ กรณท์ างคณิตศาสตร์ ควรทบทวนความร้เู รื่องการใชเ้ ครอื่ งมือดว้ ย หรือ ทบทวนความรูท้ ี่ต้องใช้
- หากนกั เรียนไมไ่ ดเ้ ตรยี มอปุ กรณม์ า คุณครูควรป้องกนั โดยการเตรียมมาสำรอง หรอื แกไ้ ขสถานการณ์
- คุณครู ครูวิชาการ มีแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรยี น รวมไปถึงการแลกเปล่ียนเรียนรู้
รว่ มกันกับศกึ ษานเิ ทศก์
26
โรงเรียนบา้ นนาตาโพ
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป
1.1 ชอื่ โรงเรยี น........บา้ นนาตาโพ......... กลมุ่ โรงเรียน.........สายนำ้ วัง.............
1.2 ช่อื ผู้อำนวยการโรงเรียน..... นายอภนิ นั ทน์..พนั ธ์เลศิ ............ โทรศพั ท.์ ..0๖-๓๓๙๕-๒๕๓๒....
รองอำนวยการโรงเรียน......-................................................... โทรศพั ท…์ ……-…..…………………………
1.3 ผู้บริหารสถานศกึ ษา...........1............คน ครูประจำการ...4...คน ลกู จา้ งประจำ.......-...........คน
1.3.1 ลกู จ้างช่วั คราว(สพฐ.).....1......คน ครูอัตราจา้ ง.....-.........คน นักการภารโรง........-.......คน
พี่เลี้ยงเดก็ พิการเรียนรวม....1........คน บุคลากรวทิ ย์/คณิต....-.....คน
1.3.2 ลูกจ้างชว่ั คราว (เงินนอกงบประมาณ)...-.......คน ครูอตั ราจา้ ง......2.....คน
ครอู ตั ราจ้าง(งบ สพฐ.) .....-..........คน ครอู ตั ราจา้ ง(งบโรงเรียน)......2.......คน อืน่ ๆ.....-..........คน
1.3.3 ธุรการโรงเรียน........1..........คน
1.4 จำนวนนักเรยี น
ระดบั ปฐมวัย........8............คน...2.......ห้องเรยี น ระดับประถมศึกษา.....49..........คน......6.....ห้องเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น....-.....คน...-....หอ้ งเรียน รวมจำนวนท้ังส้ิน.....57....คน.....8.....หอ้ งเรียน
1.5 ขนาดโรงเรียน
เล็ก กลาง ใหญ่ ใหญพ่ ิเศษ
ตอนที่ 2 รายการนเิ ทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
รายการนิเทศ ติดตาม ดำเนินการ อยรู่ ะหวา่ ง บันทึกผูน้ ิเทศ
ดำเนนิ การ
4. การกำหนดแผนการดำเนินงาน ด้านความ ✓ - โรงเรียนมีมาตรการด้านการ
ปลอดภัย ✓ ป้องกันโรคระบาดต่างๆ และเร่ือง
มาตรการด้านความปลอดภัยต่างๆ
1.1 ด้านความปลอดภยั ในโรงเรยี น ใ น โ ร ง เ รี ย น โ ด ย ค ณ ะ ค รู
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ผู้รับผิดชอบได้มีแนวทางในการ
ดำเนินการรวมไปถึงการดูแลด้าน
และโรคอุบตั ิใหม่ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนมีการตัด
- มาตรการด้าน ความป ลอดภั ยต่างๆ ตกแต่งต้นไม้ เพ่ือความปลอดภัย
ของนักเรียน
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป
ศกึ ษานอกสถานที่
27
รายการนเิ ทศ ตดิ ตาม ดำเนินการ อยรู่ ะหวา่ ง บนั ทึกผู้นิเทศ
ดำเนนิ การ
- แนวทาง/วธิ ีการป้องกนั เหตุท่ีอาจเกิดโดย ✓
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่ อ มี ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ร ะ บ บ ดู แ ล
อาชญากรรม การป้องกนั ภัยอนั เกดิ จากภยั ธรรมชาติ
ช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือเสริมสร้าง
ความปลอดภัยของสถานศึกษา
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานท่ี เช่น ความ ✓ ✓ โรงเรียนมีการจัดสถานท่ีภายใน
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร โรงเรยี นเนน้ บรรยากาศความร่มรน่ื
ประกอบ เครื่องเล่นสนาม (ที่พรอ้ มใชง้ าน)
- มี ก ารจัด ท ำแ ผน ย กระดั บ
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีการ
ทางการเรยี น จั ด ท ำ แ ผ น ย ก ร ะ ดั บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์
ทางการเรียน RT/NT/O-NET มี
๒.๑ มีแผนยกระดับฯที่เป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/ กิจกรรม งบ ประมาณรองรับ โดย
วิธีการ/ข้ันตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ การจัดตารางซ่อมเสริมในทุกๆวัน
ปฏิบัตทิ ีช่ ดั เจน ของการเรียนการสอน โดยมีการนำ
Test Blueprint มาเป็นแนวทางใน
การนำข้อสอบให้นักเรียนได้ฝึกทำ
แบบทดสอบเพ่ือให้ตรงตาม Test
Blueprint และนำผลการทดสอบท่ี
ได้มาวิเคราะห์และนำมาปรับใน
การสอนซอ่ มเสริมในตัวชีว้ ดั ท่ีออ่ น
ตอนที่ 3 การสงั เกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้รับการนเิ ทศ ประกอบดว้ ย 2 ดา้ นดังนี้
ดา้ นท่ี 1 ดา้ นทักษะการจดั การเรียนรู้และการจัดการชัน้ เรยี น
ด้านที่ 2 ด้านผลลัพธ์การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
ช่อื ผรู้ ับการนิเทศ.........นางสาวดวงทอง............นามสกลุ .......พลงั ฤทธิ์.......ตำแหน่ง...ครผู ชู้ ว่ ย....
สถานศกึ ษา....โรงเรยี นบา้ นนาตาโพ...ชน้ั ทน่ี ิเทศ....ป.1....จำนวนนกั เรยี น เพศชาย..5..คน เพศหญิง...4...คน
กลุ่มสาระการเรยี นรูท้ ่ีสอน .......ภาษาไทย..... เร่ืองทส่ี อน การเขียนและอา่ นสระ
28
ดา้ นที่ 1 ด้านทกั ษะการจดั การเรยี นรแู้ ละการจดั การชน้ั เรยี น บนั ทึกของผู้นิเทศ
ท่ี ตัวชว้ี ัดทกั ษะการจัดการเรียนรแู้ ละการจดั การชั้นเรียน
1 ผเู้ รียนสามารถเขา้ ถึงส่งิ ท่เี รียนและเข้าใจบทเรียน มี ส าระ ก ารเรีย น รู้ต รงต าม ห ลั ก สู ต ร
มาตรฐานและตัวชี้วัด สามารถออกแบบ
2 ผู้เรียนสามารถเชอ่ื มโยงความรู้หรอื ประสบการณเ์ ดมิ กบั การ กิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้างในหน่วยการ
เรียนรใู้ หม่ เรียนรู้ มีการใช้ส่ือประกอบในการเรียนการ
สอน
3 ผูเ้ รียนไดส้ ร้างความรเู้ อง หรอื ไดส้ ร้างประสบการณ์ใหม่จากการ
เรียนรู้ มีการทบทวนความรู้ก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
โดยการใช้คำถาม มีการให้นักเรียนได้ฝึกอ่าน
4 ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นและเกิดแรงจงู ใจในการเรยี นรู้ คำสระและส่งเสริมให้นักเรียนมีการใช้สื่อมา
ประกอบการสอน
5 ผเู้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาทักษะความเช่ียวชาญจากการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรูเ้ น้นการฝึกปฏบิ ัติ โดยให้
6 ผเู้ รียนได้รับข้อมูลสะท้อนกลับเพอ่ื ปรบั ปรุงการเรยี นรู้ นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกมาพูดหน้าช้ัน
เรียน ในการอ่านออกเสียงตามส่ือการสอน
และให้ นักเรียนท ำใบ งาน ตา มที่ ครูได้
จดั เตรยี มไว้
กิจกรรมมีความเหมาะสมในเรื่องของการ
ท ด ส อ บ ค ว า ม รู้ โ ด ย ให้ นั ก เรี ย น ป ฏิ บั ติ เป็ น
รายบุคคล แต่กจิ กรรมยังขาดความเชอ่ื มโยงใน
ชีวิตประจำวัน ควรยกตัวอย่างหรือสร้าง
ส ถ า น ก า ร ณ์ ที่ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น
เพอื่ ใหน้ กั เรียนเห็นภาพ และนำไปใชไ้ ด้จรงิ
นั ก เรี ย น ได้ ฝึ ก ทั ก ษ ะต าม จุ ด ป ร ะ ส งค์ ก าร
เรียนรู้ แตอ่ าจมีกิจกรรมท่ีสง่ เสริมการอ่านของ
นักเรียนอาจใช้สื่อเทคโนโลยีเข้ามาช่วยสร้าง
ความสนใจในการเรียนและทำให้นักเรียนเกิด
ความกระตือรือรน้ ในการเรียนการสอน
นกั เรียนขาดขอ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือปรับปรุง
การเรียนรู้ เน่ืองจากเป็นนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ซึ่งนักเรยี นจะปฏบิ ัติตามที่
ครูผู้สอนได้เตรียมกระบวนการเรียนการสอน
ไว้ เลยอาจทำให้บางครั้งผลการจัดกิจกรรม
อาจจะไม่ทราบผลการเรียนรู้ท่ีชดั เจน
29
ท่ี ตวั ช้ีวัดทักษะการจัดการเรยี นรแู้ ละการจัดการชั้นเรียน บันทกึ ของผู้นเิ ทศ
7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศช้ันเรียนที่ ครูมีบุคลิกภาพเป็นผู้นำ ควบคุมจัดการช้ัน
เหมาะสม เรียนได้อย่างเหมาะสม มีการสร้างบรรยากาศ
ทดี่ ีในการเรยี นรู้
8 ผู้เรยี นสามารถกำกบั การเรียนรูแ้ ละมกี ารเรียนรู้แบบนำตนเอง นักเรียนได้รับการมอบหมายงานให้ทำหลัง
เรียนจบเพื่อฝึกฝน ฝึกทักษะจากการทำใบงาน
และระบายสีรูปภาพเพ่ือได้ทบทวนความรู้ที่
เรยี นมา
ดา้ นที่ 2 ด้านผลลพั ธก์ ารเรียนร้ขู องผเู้ รยี น บนั ทกึ ของผู้นเิ ทศ
ท่ี ตวั ช้วี ดั ผลลพั ธ์การเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น
1 ผลงานหรือผลการปฏิบัติเป็นผลลัพธ์ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการจัดการ ผ ล งาน ข อ งนั ก เรียน เกิ ด จาก ก ารจั ด
กระบวนการเรียนรู้ของครู คือ การท่ีนักเรียน
เรียนรู้ของครู ได้ออกไปพูดหน้าชั้นเรียนโดยการฝึกอ่าน
สะกดคำ ทำให้นักเรียนเกิดทักษะรวมไปถึง
2 ผลงานหรอื ผลการปฏิบัตสิ ะท้อนถงึ การไดร้ ับการพัฒนาทักษะขน้ั การกล้าแสดงออกของนักเรยี น
พื้นฐาน (Basic Skills) ตามวยั และลกั ษณะของผูเ้ รียน
นักเรียนได้ใช้ทักษะการคิด การส่ือสาร
3 ผลงานหรือผลการปฏิบตั สิ ะท้อนถึงความสามารถในการเรียนรู้ เชื่อมโยงความรู้เดิม เช่น การสะกดคำ การ
(Cognitive Abilities) ตามวยั และลกั ษณะของผู้เรียน อา่ นออกเสียงสระ การผสมคำ
4 ผลงานหรอื ผลการปฏิบัตสิ ะท้อนถึงการบรู ณาการทักษะในการ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม จากใบงาน
ทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวยั และลักษณะของ ทส่ี ง่ เสริมการเขียนและอา่ นสระ
ผ้เู รียน
นกั เรยี นมีทกั ษะการสือ่ สาร มกี ารฝกึ พูดอ่าน
ออกเสียง การฝึกเขียน เนื่องจากมีการใช้ใบ
งานในการให้นักเรียน มีการปฏิบัติจริง เพ่ือ
พสิ จู น์ความรู้
ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเหน็ ของผู้นเิ ทศ
- การใช้ส่อื ทางเทคโนโลยี ในการประกอบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสรมิ กระตุน้ ให้นักเรียนได้ฝกึ อ่านและเขียน
- อาจมีกิจกรรมกลุ่มเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นได้รว่ มกันคดิ การฝกึ และให้นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการฝกึ ออกมานำเสนอหน้า
ชั้นเรยี นร่วมไปถงึ การใช้การเสริมแรงในการกระต้นุ ให้นกั เรยี น มคี วามร่วมมอื ในกระบวนการเรยี นการสอน
- คุณครู ครูวิชาการ มแี นวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรยี น รวมไปถึงการแลกเปลยี่ นเรียนรู้
รว่ มกนั กับศกึ ษานิเทศก์
30
โรงเรยี นบ้านวงั ไคร้มิตรภาพที่ 102
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป
1.1 ชอ่ื โรงเรยี น........บา้ นวงั ไคร้มติ รภาพท.่ี 102........ กล่มุ โรงเรยี น.........สายน้ำวงั .............
1.2 ช่ือผอู้ ำนวยการโรงเรยี น.....นายณฐั วัฒน์. สมมะโน โทรศพั ท.์ .. 06-4425-9585....
รองอำนวยการโรงเรยี น......-................................................... โทรศพั ท…์ ……-…..…………………………
1.3 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา..........1...........คน ครูประจำการ....4...คน ลกู จ้างประจำ.......-...........คน
1.3.1 ลูกจ้างช่ัวคราว(สพฐ.).....-.......คน ครอู ัตราจ้าง.....-.........คน นกั การภารโรง........-......คน
พเี่ ลี้ยงเด็กพกิ ารเรียนรวม....-........คน บคุ ลากรวทิ ย์/คณิต..-.......คน
1.3.2 ลกู จ้างชั่วคราว (เงนิ นอกงบประมาณ)...1.......คน ครูอัตราจ้าง......1.....คน
ครูอตั ราจ้าง(งบ สพฐ.) .....-..........คน ครูอัตราจา้ ง(งบโรงเรยี น)......-.......คน อน่ื ๆ.....-..........คน
1.3.3 ธุรการโรงเรยี น........1........คน
1.4 จำนวนนักเรียน
ระดับปฐมวยั ........11.............คน...2.......หอ้ งเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา.....71..........คน......6.....ห้องเรยี น
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น....-.....คน...-....หอ้ งเรยี น รวมจำนวนท้งั ส้ิน.....82....คน.....8.....ห้องเรียน
1.5 ขนาดโรงเรียน
เล็ก กลาง ใหญ่ ใหญพ่ เิ ศษ
ตอนท่ี 2 รายการนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
รายการนเิ ทศ ติดตาม ดำเนินการ อยูร่ ะหวา่ ง บันทึกผูน้ เิ ทศ
ดำเนินการ
5. การกำหนดแผนการดำเนินงาน ด้านความ ✓ - โรงเรียนมีมาตรการด้านการ
ปลอดภยั ✓ ป้องกันโรคระบาดต่างๆ มีส่วน
อนามัยมาช่วยในการพ่นฆ่าเชื้อโรค
1.1 ด้านความปลอดภยั ในโรงเรยี น ตา่ งๆ ส่วนเรอ่ื งมาตรการด้านความ
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ปลอดภยั น้ัน ในโรงเรยี นดำเนินการ
ว า ง แ ผ น ป้ อ ง กั น อุ บั ติ เห ตุ ต่ า ง ๆ
และโรคอุบตั ใิ หม่ ความปลอดภัยในโรงเรียนอย่าง
- มาตรการด้าน ความป ลอดภั ยต่างๆ เหมาะสม มีการทำประกันภัย
อบุ ัติเหตใุ หก้ บั นักเรยี น
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป
ศกึ ษานอกสถานที่
31
รายการนิเทศ ตดิ ตาม ดำเนินการ อย่รู ะหว่าง บนั ทึกผ้นู ิเทศ
- แนวทาง/วธิ ีการป้องกนั เหตุท่ีอาจเกิดโดย ดำเนนิ การ
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่ อ ✓
อาชญากรรม การป้องกันภัยอนั เกิดจากภัยธรรมชาติ ✓ มี ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ร ะ บ บ ดู แ ล
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เช่น ความ ✓ ช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือเสริมสร้าง
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร
ประกอบ เครอ่ื งเล่นสนาม (ทีพ่ รอ้ มใชง้ าน) ความปลอดภยั ของสถานศึกษา
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ โรงเรียนมีการจัดสถานที่ภายใน
ทางการเรยี น
โรงเรียนเน้นบรรยากาศความรม่ รื่น
๒.๑ มีแผนยกระดับฯที่เป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/
วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ โด ย ป รั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ให้
ปฏบิ ตั ทิ ช่ี ดั เจน
ปลอดภัย เช่น การตัดก่ิงไม้ ปรับ
ภูมิทัศน์ให้สะอาดและเป็นระเบียบ
เรีย บ ร้ อ ย เนื่ อ งจ าก บ ริ เว ณ
โรงเรียนกว้างขวาง จึงยากต่อการ
ดูแลให้ทั่วถึง แต่โรงเรียนก็มีกล้อง
วงจรปิดจำนวน 10 ตัวในการ
ป้องกนั ความปลอดภัยตา่ งๆ
- มี ก ารจัด ท ำแ ผน ย กระดั บ
ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น
RT/NT/O-NET โด ย ก ารจั ด ก าร
ส่งเสริมโดยครูนำข้อสอบเก่า ตาม
ตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระมาให้
นั ก เรีย น ได้ ท ด ล อ งท ำเพ่ื อ ให้
นักเรียนได้คุ้นเคยกับแบบทดสอบ
แ ล ะ ก า ร มี ข้ า ร า ช ก า ร บ ำ น า ญ ม า
ช่วยสอนนักเรยี นเพม่ิ เตมิ
ตอนท่ี 3 การสงั เกตการณจ์ ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของผูร้ ับการนเิ ทศ ประกอบดว้ ย 2 ด้านดังน้ี
ดา้ นท่ี 1 ดา้ นทักษะการจดั การเรียนรแู้ ละการจดั การชนั้ เรียน
ด้านที่ 2 ด้านผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของผู้เรียน
ชอื่ ผู้รับการนิเทศ.........นางจันทริ า............นามสกลุ .......เทพแก้ว.......ตำแหนง่ ...ครู ค.ศ. 3....
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านวังไครม้ ติ รภาพที่.102.ชนั้ ที่นิเทศ..ป.1.จำนวนนกั เรยี น เพศชาย.๔.คน เพศหญงิ 4 คน
กลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ส่ี อน .......ภาษาไทย.... เรือ่ งทีส่ อน การอา่ นแจกลกู ประสมคำ
32
ด้านท่ี 1 ด้านทกั ษะการจดั การเรยี นรแู้ ละการจดั การช้ันเรียน บนั ทึกของผ้นู ิเทศ
ท่ี ตัวชวี้ ดั ทักษะการจดั การเรียนรู้และการจดั การชั้นเรยี น
1 ผูเ้ รียนสามารถเข้าถึงสิง่ ท่เี รียนและเขา้ ใจบทเรยี น มี ส าระ ก ารเรีย น รู้ต รงต าม ห ลั ก สู ต ร
มาตรฐานและตัวชี้วัด สามารถออกแบบ
2 ผเู้ รยี นสามารถเชอื่ มโยงความรหู้ รอื ประสบการณเ์ ดิมกับการ กิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้างในหน่วยการ
เรียนรใู้ หม่ เรียนรู้ กิจกรรมการสอนตรงตามแผน มีการใช้
ส่ือประกอบการสอน เช่น บัตรคำ และบทร้อง
3 ผเู้ รยี นได้สร้างความรู้เอง หรือไดส้ ร้างประสบการณใ์ หมจ่ ากการ เล่น จากแผนภูมิเพลง
เรียนรู้
มีการทบทวนความรู้ก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
4 ผู้เรยี นได้รบั การกระตนุ้ และเกดิ แรงจูงใจในการเรยี นรู้ โดยการใช้คำถาม มีการให้ความช่วยเหลือ
นักเรียนโดยใช้วิธีเดินไปสอบถาม แนะนำ ให้
5 ผู้เรยี นได้รับการพฒั นาทักษะความเช่ยี วชาญจากการเรียนรู้ ความช่วยเหลือ อธิบายเพิ่มเติม และให้
นักเรียนร่วมร้องเพลง ตามแผนภูมิเพลงท่ี
6 ผูเ้ รียนได้รบั ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพอ่ื ปรบั ปรุงการเรยี นรู้ สอดคล้องกบั เนื้อหาท่ีจะเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้โดยมีการเสริมการใช้ส่ือ
บัตรคำ เข้ามาในกระบวนการเรียนการสอน
และให้นักเรียนฝึกการอ่านแจกลูก คำประสม
พร้อมกับครูอธิบายเพ่ิมเติมในหนังสือเรียน
พ ร้อ ม กั บ ให้ นั ก เรีย น ได้ ฝึ ก เขี ย น ล งใน
แบบฝึกหัดจากเรื่องทีส่ อนไดอ้ ย่างถกู ต้อง
กิจกรรมมีความเหมาะสมในเรื่องของการ
ท ด ส อ บ ค ว า ม รู้ โ ด ย ใ ห้ นั ก เรี ย น ป ฏิ บั ติ เป็ น
รายบุคคล โดยทำจากใบงาน ฝึกการอ่านใน
หนังสือเรียน ทำให้นักเรียนเกิดการฝึกฝนจาก
การทำกิจกรรมดังกล่าวและส่งผลให้นักเรียน
เข้าใจในเรอื่ งทเ่ี รียนอยา่ งคงทน
นักเรียนได้ฝึกทักษะตามจุดประสงค์การ
เรยี นรู้ มีการบูรณาการทกั ษะต่างๆมาใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ พร้อมกับครูผู้สอนได้
สอดแทรกเน้ือหา หรือความรู้จากแหล่งอื่นมา
ให้นักเรียนเพื่อเพ่ิมความรู้ความเข้าใจของ
ผ้เู รียน
นกั เรยี นขาดข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุง
การเรียนรู้ ควรให้ข้อมูลเพ่ือให้นักเรียนเกิด
การพัฒนาตนเองโดยอาจมีการให้นักเรียน
ออกมาอ่านหนา้ ชั้นเรยี นเพอ่ื ให้นกั เรียนมคี วาม
กล้าแสดงออก และแสดงถึงความเข้าใจและ
ความสามารถของนักเรียนในการอ่านแจก
33
ลูกประสมคำ ตามท่ีสอนได้ถูกต้อง โดยอาจ
นำเสนองานเป็นกลุ่ม หรือ อาจให้ร่วมกัน
แสดงการตอบคำถามร่วมกนั ในชัน้ เรียน
7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศช้ันเรียนที่ ครูมีบุคลิกภาพเป็นผู้นำ ครูมีการนำสื่อท่ี
เหมาะสม สร้างข้ึนมาใช้ประกอบการเรียนการสอนมีการ
จัดการช้ันเรียนได้อย่างเหมาะสม มีการสร้าง
บรรยากาศที่ดีในการเรยี นรู้
8 ผเู้ รยี นสามารถกำกบั การเรียนรแู้ ละมีการเรยี นรแู้ บบนำตนเอง นักเรียนได้รับการมอบหมายงานให้ทำหลัง
เรียนจบเพื่อฝึกฝน ฝึกทักษะและเป็นการ
ทบทวนบทเรยี น
ด้านท่ี 2 ด้านผลลัพธ์การเรียนร้ขู องผเู้ รยี น บันทกึ ของผู้นิเทศ
ท่ี ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผ้เู รียน
1 ผลงานหรอื ผลการปฏิบัติเป็นผลลพั ธ์ท่ีเกดิ ขนึ้ จากการจดั การ ผ ล งาน ข อ งนั ก เรียน เกิ ด จาก ก ารจั ด
กระบวนการเรียนรู้ของครู คือ การฝึกอ่าน ฝึก
เรียนรขู้ องครู ทำใบงาน การอ่านในหนังสือเรียน การฝึกการ
เขียนตามคำบอก ในการเรียนการสอน ซึ่งเป็น
2 ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ตั ิสะท้อนถึงการได้รับการพัฒนาทกั ษะขน้ั กิจกรรมทีม่ ีความเหมาะกบั เร่อื งที่เรียน และวัย
พนื้ ฐาน (Basic Skills) ตามวัยและลกั ษณะของผู้เรียน ของผู้เรียน ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรู้ท่ี
คงทนและสามารถต่อยอดไปในระดับช้ันท่ี
3 ผลงานหรอื ผลการปฏิบตั ิสะท้อนถงึ ความสามารถในการเรียนรู้ สงู ขึน้ ได้
(Cognitive Abilities) ตามวยั และลักษณะของผเู้ รยี น
นักเรียนได้ใช้ทักษะการคิด การส่ือสาร
4 ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ัตสิ ะท้อนถึงการบูรณาการทักษะในการ เช่ือมโยงความรู้เดิม เช่น การสะกดคำ การ
ทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวยั และลักษณะของ อ่านออกเสียงสระ จากบทเรียนที่ผ่านมาและ
ผู้เรียน เนื้อหาที่ยังไม่ได้เรียน ทำให้ทราบถึงความ
เข้าใจของนักเรียนท่ีครูจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนทเี่ น้นกระบวนการ Active Learning
นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม มีการอ่าน
ออกเสียง การทำใบงาน การฝึกการสะกดคำ
นักเรียนมีทักษะการคิด การส่ือสาร มีการ
ฝึกคิดวิเคราะห์ เนื่องจากมีการให้นักเรียนทำ
ใบงาน รวมไปถึงการใช้ส่ือเพ่ือให้นักเรียนเกิด
ค ว า ม ส น ใจ ใน ก า ร เรี ย น แ ล ะ นั ก เรี ย น มี ก า ร
โต้ตอบกับครูผู้สอนอย่างสม่ำเสมอในการเรยี น
การสอน
34
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะ/ขอ้ คิดเหน็ ของผู้นเิ ทศ
- ครูอาจให้นักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนในเรื่อง การอ่านสะกดคำ เพื่อส่งเสริมความกล้าแสดงออกของ
นกั เรียน การส่ือสาร และจะทำให้นกั เรยี นมีความกระตอื รือร้นในการเรียนมากขึ้น
- คุณครู ครูวิชาการ มแี นวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรยี น รวมไปถึงการแลกเปลย่ี นเรียนรู้
รว่ มกันกับศกึ ษานเิ ทศก์
35
โรงเรยี นบา้ นท่าไผ่
ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป
1.1 ช่ือโรงเรยี น........บ้านท่าไผ่......... กล่มุ โรงเรยี น.........สายน้ำวัง.............
1.2 ช่ือผอู้ ำนวยการโรงเรยี น/ผรู้ กั ษาการโรงเรยี น นางขวญั จริ า แกว้ ทรพั ย์. โทรศพั ท์...06-1268-4024....
รองอำนวยการโรงเรยี น......-................................................... โทรศพั ท…์ ……-…..…………………………
1.3 ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา..........-............คน ครปู ระจำการ....๓...คน ลูกจ้างประจำ.......-...........คน
1.3.1 ลกู จ้างชว่ั คราว(สพฐ.).....-.......คน ครูอัตราจ้าง.....-.........คน นกั การภารโรง........1......คน
พ่เี ล้ียงเดก็ พกิ ารเรยี นรวม....-........คน บคุ ลากรวทิ ย/์ คณิต..-.......คน
1.3.2 ลกู จา้ งชว่ั คราว (เงนิ นอกงบประมาณ)...-.......คน ครูอัตราจ้าง......-......คน
ครอู ัตราจ้าง(งบ สพฐ.) .....-..........คน ครูอัตราจา้ ง(งบโรงเรียน)......3.......คน อ่นื ๆ.....-..........คน
1.3.3 ธรุ การโรงเรยี น........-........คน
1.4 จำนวนนกั เรยี น
ระดบั ปฐมวัย........20.............คน...2.......ห้องเรียน ระดับประถมศึกษา.....42..........คน......6.....หอ้ งเรยี น
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น....-.....คน...-....หอ้ งเรยี น รวมจำนวนทั้งสิ้น.....62....คน.....8.....หอ้ งเรยี น
1.5 ขนาดโรงเรยี น
เล็ก กลาง ใหญ่ ใหญ่พเิ ศษ
ตอนท่ี 2 รายการนิเทศ ติดตาม การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
รายการนิเทศ ตดิ ตาม ดำเนนิ การ อยู่ระหว่าง บนั ทกึ ผูน้ ิเทศ
ดำเนนิ การ
6. การกำหนดแผนการดำเนินงาน ด้านความ ✓ - โรงเรียนมีมาตรการด้านการ
ปลอดภยั ✓ ป้องกันโรคระบาดต่างๆ ส่วนเรื่อง
มาตรการด้านความปลอดภัยน้ัน
1.1 ดา้ นความปลอดภัยในโรงเรยี น ใน โ ร ง เรี ย น ด ำ เนิ น ก า ร ว า ง แ ผ น
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ป้ อ งกั น อุ บั ติ เห ตุ ต่ างๆ ค ว าม
ป ล อ ด ภั ย ใน โ ร ง เรี ย น อ ย่ า ง
และโรคอุบตั ใิ หม่ เหมาะสม
- มาตรการด้าน ความป ลอดภั ยต่างๆ
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป
ศกึ ษานอกสถานที่
36
รายการนิเทศ ติดตาม ดำเนินการ อยู่ระหวา่ ง บนั ทกึ ผนู้ เิ ทศ
ดำเนินการ
- แนวทาง/วธิ กี ารปอ้ งกนั เหตุทีอ่ าจเกิดโดย ✓
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่ อ มี ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ร ะ บ บ ดู แ ล
อาชญากรรม การป้องกันภยั อนั เกดิ จากภยั ธรรมชาติ ✓
ช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือเสริมสร้าง
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เช่น ความ ✓
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร ความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา
ประกอบ เครอื่ งเลน่ สนาม (ทพ่ี ร้อมใช้งาน)
โรงเรียนมีการจัดสถานท่ีภายใน
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น โรงเรียนเน้นบรรยากาศความร่มร่ืน
๒.๑ มีแผนยกระดับฯท่ีเป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/ โด ย ป รั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ให้
วิธีการ/ข้ันตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ
ปฏบิ ตั ิทช่ี ดั เจน ปลอดภัย เช่น การตัดกิ่งไม้ ปรับ
ภูมิทัศน์ให้สะอาดและเป็นระเบียบ
เรียบรอ้ ย
- มี ก ารจัด ท ำแ ผน ย กระดั บ
ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท า ง ก า ร เ รี ย น
RT/NT/O-NET โ ด ย ก า ร จั ด ติ ว
นักเรียนในคาบเรียนสดุ ท้ายของทุก
วัน โดยครูนำข้อสอบเก่า ตาม
ตัวช้ีวัดของแต่ละกลุ่มสาระมาให้
นั ก เรีย น ได้ ท ด ล อ งท ำเพื่ อ ให้
นักเรียนได้คนุ้ เคยกับแบบทดสอบ
ตอนที่ 3 การสังเกตการณจ์ ัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของผูร้ ับการนิเทศ ประกอบดว้ ย 2 ด้านดังนี้
ด้านที่ 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรียนรแู้ ละการจดั การชนั้ เรยี น
ด้านที่ 2 ดา้ นผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ของผเู้ รยี น
ช่ือผู้รบั การนิเทศ.........นางสาวกฤษณา............นามสกุล.......พุ่มสลดิ .......ตำแหนง่ ...ครจู ้างสอน....
สถานศึกษา....โรงเรยี นบา้ นทา่ ไผ่...ช้นั ท่ีนเิ ทศ....ป.1....จำนวนนักเรียน เพศชาย..5..คน เพศหญิง...3...คน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ท่สี อน .......ภาษาไทย.... เร่อื งท่ีสอน มาตราสะกด แม่ ก กา
ดา้ นท่ี 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรยี นรู้และการจดั การชน้ั เรียน บันทึกของผู้นิเทศ
ท่ี ตัวช้วี ดั ทกั ษะการจดั การเรยี นรูแ้ ละการจดั การช้ันเรยี น
1 ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงสิ่งทเี่ รียนและเขา้ ใจบทเรียน มี ส าระ ก ารเรีย น รู้ต รงต าม ห ลั ก สู ต ร
มาตรฐานและตัวชี้วัด สามารถออกแบบ
2 ผูเ้ รียนสามารถเช่อื มโยงความรูห้ รอื ประสบการณเ์ ดิมกบั การ กิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงสร้างในหน่วยการ
เรียนรู้ใหม่ เรียนรู้ กจิ กรรมการสอนตรงตามแผน มีการใช้
ส่ือประกอบการสอน เช่น บตั รคำ เกมปงิ โก
มีการทบทวนความรู้ก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
โดยการใช้คำถาม มีการให้ความช่วยเหลือ
นักเรียนโดยใช้วิธีเดินไปสอบถาม แนะนำ ให้
37
ความชว่ ยเหลือ อธบิ ายเพ่ิมเตมิ
3 ผเู้ รยี นไดส้ ร้างความรูเ้ อง หรอื ไดส้ รา้ งประสบการณ์ใหม่จากการ กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยมีการเสริมเกมเข้ามา
เรียนรู้ ในกระบวนการเรียนการสอน เน่ืองจากเป็น
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เกมจะช่วยทำ
ให้นักเรียนสนใจและเกิดความกระตือรือร้นใน
การเรียนมากขึ้น และทำให้นักเรียนสามารถ
เขา้ ใจในเรื่องท่ีสอนจากเกมได้
4 ผ้เู รียนได้รบั การกระตนุ้ และเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ กิจกรรมมีความเหมาะสมในเร่ืองของการ
ท ด ส อ บ ค ว า ม รู้ โ ด ย ใ ห้ นั ก เรี ย น ป ฏิ บั ติ เป็ น
รายบุคคล โดยทำจากใบงานทำให้นักเรยี นเกิด
การฝึกฝนจากการทำกิจกรรมดังกล่าวและ
ส่งผลให้นักเรียนเข้าใจในเรื่องท่ีเรียนอย่าง
คงทน
5 ผู้เรียนไดร้ บั การพัฒนาทักษะความเชย่ี วชาญจากการเรยี นรู้ นักเรียนได้ฝึกทักษะตามจุดประสงค์การ
เรยี นรู้ มีการบรู ณาการทกั ษะต่างๆมาใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
6 ผู้เรียนได้รับขอ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือปรับปรุงการเรียนรู้ นกั เรียนขาดข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุง
การเรียนรู้ ควรให้ข้อมูลเพ่ือให้นักเรียนเกิด
การพัฒนาตนเองโดยอาจมีการให้นักเรียน
ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนมี
ความกล้าแสดงออก โดยอาจนำเสนองานเป็น
กลุ่ม หรือ อาจให้ร่วมกันแสดงการตอบคำถาม
ร่วมกนั ในชั้นเรียน
7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศชั้นเรียนท่ี ครูมีบุคลิกภาพเป็นผู้นำ ครูมีการนำส่ือท่ี
เหมาะสม สร้างขึ้นมาใช้ประกอบการเรียนการสอนมีการ
จัดการช้ันเรียนได้อย่างเหมาะสม มีการสร้าง
บรรยากาศท่ีดีในการเรยี นรู้
8 ผู้เรียนสามารถกำกบั การเรียนรแู้ ละมกี ารเรยี นร้แู บบนำตนเอง นักเรียนได้รับการมอบหมายงานให้ทำหลัง
เรียนจบเพ่ือฝึกฝน ฝึกทักษะและเป็นการ
ทบทวนบทเรยี น
38
ดา้ นที่ 2 ด้านผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของผเู้ รยี น บันทึกของผู้นเิ ทศ
ที่ ตัวชวี้ ัดผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผู้เรยี น
1 ผลงานหรือผลการปฏิบตั เิ ปน็ ผลลพั ธท์ ีเ่ กิดขน้ึ จากการจัดการ ผ ล งาน ข อ งนั ก เรียน เกิ ด จาก ก ารจั ด
กระบวนการเรียนรู้ของครู คือ การทำใบงาน
เรียนรขู้ องครู การใช้เกมเป็นส่ือในการเรียนการสอน ซ่ึงเป็น
กจิ กรรมที่มคี วามเหมาะกับเร่ืองทเี่ รยี น และวัย
2 ผลงานหรอื ผลการปฏิบัตสิ ะท้อนถงึ การได้รับการพฒั นาทกั ษะขน้ั ของผ้เู รยี นแตอ่ าจยังขาดความนา่ สนใจ
พื้นฐาน (Basic Skills) ตามวัยและลกั ษณะของผู้เรียน
นักเรียนได้ใช้ทักษะการคิด การสื่อสาร
3 ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ตั สิ ะท้อนถงึ ความสามารถในการเรียนรู้ เชื่อมโยงความรู้เดิม เช่น การสะกดคำ การ
(Cognitive Abilities) ตามวยั และลกั ษณะของผเู้ รยี น อ่านออกเสียงสระ จากบทเรียนท่ีผ่านมา มี
การใช้การเสริมแรงในการให้นักเรียนท่ีทำงาน
4 ผลงานหรือผลการปฏบิ ัติสะท้อนถงึ การบรู ณาการทักษะในการ เสร็จไว ได้เล่นเกม ทำให้นักเรยี นมีความตั้งใจ
ทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวัยและลกั ษณะของ ในการเรียน
ผู้เรียน
นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม มีการ
ทดลองถูก-ผดิ ขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
นักเรียนมีทักษะการคิด การส่ือสาร มีการ
ฝึกคิดวิเคราะห์ เนื่องจากมีการให้นักเรียนทำ
ใบงาน รวมไปถึงการใช้เกมเพื่อให้นักเรียนเกิด
ความสนใจในการเรียนและนักเรียนสนุกกับ
การเรยี นการสอน
ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ/ขอ้ คิดเหน็ ของผนู้ ิเทศ
- การใช้สอ่ื เชน่ บตั รคำ ควรจะทำส่อื ใหน้ า่ สนใจ และเหมาะสมกับวยั ของนกั เรยี น
- ครูมีการใช้เกม มาให้นักเรียนเล่นหลังจากทำงานเสร็จ เป็นการเสริมแรงที่ดี แต่ควรควบคุมการเล่นเกมของ
นกั เรยี นใหเ้ หมาะสม
- คุณครู ครูวชิ าการ มแี นวทางในการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนในโรงเรยี น รวมไปถึงการแลกเปลยี่ นเรียนรู้
ร่วมกันกับศกึ ษานิเทศก์
39
โรงเรียนชุมชนบา้ นแม่ระวานสองแคว
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป
1.1 ชือ่ โรงเรยี น......ชมุ ชนบ้านแม่ระวานสองแคว....... กลมุ่ โรงเรียน....สายนำ้ วงั ......
1.2 ชอ่ื รักษาการในตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรยี น......นางสินทร บวั ต๊ิบ..... โทรศพั ท์....๐๘-๖๒๐๔-๐๘๓๖....
1.3 ผบู้ ริหารสถานศึกษา..........๐..........คน ครปู ระจำการ......๘....คน ลูกจ้างประจำ...........-...........คน
1.3.1 ลูกจา้ งช่วั คราว(สพฐ.).....-.......คน ครูอตั ราจา้ ง......-..........คน นักการภารโรง..........๑............คน
พ่ีเลย้ี งเดก็ พกิ ารเรียนรวม........-.....คน บคุ ลากรวทิ ย์/คณติ ....-.....คน
1.3.2 ลกู จ้างช่วั คราว (เงินนอกงบประมาณ).....-.....คน ครอู ตั ราจา้ ง......-.....คน
ครอู ัตราจ้าง(งบ สพฐ.) ........-.......คน ครอู ตั ราจา้ ง(งบโรงเรียน)......๒.......คน อ่นื ๆ.....-..........คน
1.3.3 ธรุ การโรงเรียน..........๑........คน
1.4 จำนวนนกั เรยี น
ระดบั ปฐมวยั ...........๓๘...................คน....๒......ห้องเรียน ระดบั ประถมศึกษา.....๘๒.....คน....๖....หอ้ งเรยี น
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น.......-........คน.....-......หอ้ งเรยี น รวมจำนวนทั้งส้นิ ........-.........คน.....-.....ห้องเรียน
1.5 ขนาดโรงเรียน
เลก็ กลาง ใหญ่ ใหญพ่ เิ ศษ
ตอนท่ี 2 รายการนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
รายการนิเทศ ติดตาม ดำเนินการ อยรู่ ะหว่าง บันทกึ ผูน้ ิเทศ
ดำเนนิ การ
7. การกำหนดแผนการดำเนินงาน ด้านความ ✓ - โรงเรียนมีการจัดท ำแผน
ปลอดภยั ✓ รองรับเสริมสร้างความปลอดภัยใน
สถานศึกษา มีการเฝ้าระวังการเกิด
1.1 ด้านความปลอดภยั ในโรงเรยี น โรคระบาด จัดทำคู่มือการเตรียม
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ความพร้อมด้านความปลออดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
และโรคอุบัตใิ หม่ ในการทำงานของสถานศกึ ษา
- มาตรการด้าน ความป ลอดภั ยต่างๆ
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป
ศกึ ษานอกสถานที่
40
รายการนิเทศ ตดิ ตาม ดำเนินการ อยรู่ ะหว่าง บันทึกผนู้ ิเทศ
- แนวทาง/วิธกี ารปอ้ งกนั เหตุทอ่ี าจเกดิ โดย ดำเนินการ
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่ อ ✓
อาชญากรรม การปอ้ งกนั ภยั อันเกิดจากภัยธรรมชาติ - เน่ืองจากด้านหลังโรงเรียนติด
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานท่ี เช่น ความ
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร แม่น้ำวัง พอในถึงฤดูน้ำหลากจึง
ประกอบ เครอื่ งเลน่ สนาม (ทพ่ี ร้อมใช้งาน)
ประสบปัญหาอุทกภัย จึงมีการ
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน จดั ทำแผนเพือ่ ปอ้ งกันอบุ ัตภิ ัย
๒.๑ มีแผนยกระดับฯที่เป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/ ✓ - มีบางส่วนที่กำลังปรับปรุง
วิธีการ/ข้ันตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ พั ฒ น า เช่ น ก าร ด ำ เนิ น ก า ร
ปฏิบตั ิที่ชดั เจน
ประมาณราคาเพื่อของบซ่อมแซม
รั้วหลังโรงเรียนที่เกิดการเสียหาย
ชำรุด เน่ืองจากการเกิดอุทกภัย
ห้ อ ง เรี ย น มี จ ำ น ว น เพี ย ง พ อ ต่ อ
จำนวนนักเรียน แต่อาจประสบ
ปัญหาเรื่องอาคารเรียนทรุดโทรม
เช่น หลังคาร่ัวซึม จึงได้แก้ปัญา
เบ้ื อ ง ต้ น โ ด ย น ำ นั ก เรี ย น ที่ ไ ด้ รั บ
ผลกระทบไปเรียนอีกอาคาร
- มี ก ารจัด ท ำแ ผน ย กระดั บ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมี
เป้าหมายในการเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน แต่ละกลุ่ม สาระ
เพ่ิมข้ึน ๓ เป้าหมายส่งนักเรียนเข้า
ท ดสอบ ร้อยละ ๑ ๐ ๐ โดยมี
นักเรียน ป.๖ จำนวน ๘ คน และ
จัดกิจกรรมสอนเสริมในช่วงช่ัวมง
สุดท้ายของทุกวัน และมีการใช้
ข้อสอบเดิม มาสอนเสริมเพิ่มเติม
ในชว่ั โมงเรยี นปกติ
41
ตอนท่ี 3 การสงั เกตการณจ์ ัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของผรู้ ับการนิเทศ ประกอบด้วย 2 ดา้ นดงั นี้
ด้านท่ี 1 ด้านทักษะการจัดการเรยี นรู้และการจดั การชน้ั เรียน
ดา้ นท่ี 2 ดา้ นผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของผเู้ รียน
ชอื่ ผ้รู บั การนเิ ทศ....นางสาวพรรณิภา................นามสกลุ .........ปอ้ งขนั ..............................ตำแหน่ง ครู คศ.๑
สถานศกึ ษา.....โรงเรียนชุมชนบ้านแม่ระวานสองแคว.....ช้นั ทน่ี ิเทศ....ป.๔....
จำนวนนักเรยี น เพศชาย..๕..คน เพศหญงิ ...๘...คน
กลุ่มสาระการเรยี นรูท้ ่สี อน..............วทิ ยาศาสตร์..................เรือ่ งที่สอน....รากและลำตน้ ......
ด้านที่ 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรียนรแู้ ละการจดั การชนั้ เรียน บันทกึ ของผู้นเิ ทศ
ที่ ตัวชีว้ ดั ทักษะการจัดการเรียนรแู้ ละการจดั การชน้ั เรียน
1 ผเู้ รยี นสามารถเข้าถึงสง่ิ ท่ีเรียนและใจบทเรียน มีสาระการเรียนรู้ มาตรฐานและตัวช้ีวัด
ต ร ง ต า ม ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น
2 ผเู้ รียนสามารถเชื่อมโยงความรู้หรือประสบการณ์เดิมกบั การ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง พ.ศ.
เรยี นรูใ้ หม่ ๒๕๖๐สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ตามโครงสร้างในหน่วยการเรียนรู้ ใช้สื่อ
3 ผูเ้ รียนได้สรา้ งความรู้เอง หรอื ได้สร้างประสบการณ์ใหม่จากการ ประกอบการสอนท่ีเหมาะสมกับสาระการ
เรยี นรู้ เรียนรู้ แจ้งจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนทราบ
เป้าหมายการเรียนรู้ และเป็นการกระตุ้นให้
4 ผ้เู รยี นไดร้ บั การกระตุน้ และเกิดแรงจงู ใจในการเรียนรู้ นักเรียนเกิดความท้าทายในความสำเร็จตาม
จุดประสงค์
มกี ารใช้คำถามกระตุน้ ให้นกั เรยี นได้ทบทวน
ความรู้เดิม ใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนได้ฝึก
ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด วิ เค ร า ะ ห์ คิ ด
เปรียบเทียบ มีการเช่ือมโยงความรู้ใหม่โดยใช้
ส่ือประกอบ มีการตรวจสอบความรู้ความ
เข้าใจของนกั เรยี นเปน็ ระยะๆ
มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning เหมาะสมกับธรรมชาติของ
รายวิชา มีเทคนคิ การจัดการเรียนร้ทู ี่เหมาะสม
เน้ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ มี ก า ร
ประสบการณ์การทำงานกลุ่มตามศักยภาพ
เหมาะสมกับวัยและนักเรียนสามารถปฏิบัติได้
จริง
กิจกรรมมีความเหมาะสม สอดคล้องกับ
ชีวิตประจำวัน มีความง่ายเพื่อเพิ่มโอกาสให้
นักเรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ และ
มี ค ว า ม ย า ก เพ่ื อ ให้ นั ก เรี ย น ได้ พั ฒ น า ต า ม
ศกั ยภาพ และทา้ ทายความสามารถของตนเอง
42
ที่ ตวั ช้วี ดั ทกั ษะการจัดการเรียนรูแ้ ละการจดั การชัน้ เรียน บันทกึ ของผู้นเิ ทศ
5 ผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาทักษะความเชยี่ วชาญจากการเรียนรู้ นักเรียนได้นำตนเอง จากการฝึกทักษะที่
ครอบคลุมวัตถุประสงค์การเรียนรู้ รวมถึง
สามารถประยุกตใ์ ช้ความรู้ในสถานการณต์ ่างๆ
6 ผู้เรยี นไดร้ บั ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพอื่ ปรบั ปรุงการเรยี นรู้ มีขั้นการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ (5E) ในส่วนของขั้นท่ี 5 การประเมิน
ซึ่งสามารถเป็นกระบวนสรุปความคิดรวบยอด
การให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุงการ
เรียนรู้ แต่เน่ืองจากกิจกรรมการเรียนรู้ใช้
เวลานาน อันเกิดจากการเป็นกิจกรรมที่เน้น
การปฏิบตั ิ ครจู งึ ข้ามขนั้ ตอนนี้
ควรบริหารจัดการเวลาในช้ันเรียนให้มีความ
เหมาะสม
7 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศชั้นเรียนที่ ครูสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการ
เหมาะสม แสดงออกทั้ งใน ด้ าน การสื่อสาร / การ
แสดงออกกับนักเรียน กระตุ้นให้นักเรียนฝึก
ทกั ษะการคิด มีอิสระทางความคิด มีกิจกรรมท่ี
กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความม่ันใจในการตอบ
คำถาม ทำให้นักเรียนีความสุข มีความเป็น
ธรรมชาติ สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างมี
ความสุข
8 ผูเ้ รยี นสามารถกำกบั การเรยี นรูแ้ ละมีการเรยี นรูแ้ บบนำตนเอง นักเรียนได้รับมอบหมายงานตามภาระงาน
โดยใช้เทคโนโลยี AR มาช่วยกระตุ้นความ
สนใจ หลงั จากจบบทเรียน
ควรมอบหมายงานที่ท้าทายความสมารถ
หรือภาระงานท่ีเป็นโจทย์เพื่อให้นักเรียนฝึก
กระบวนการต้ังคำถาม เพ่ือหาคำตอบร่วมกัน
ในช่ัวโมงถดั ไป
43
ด้านท่ี 2 ดา้ นผลลัพธก์ ารเรยี นรขู้ องผเู้ รียน บนั ทกึ ของผูน้ ิเทศ
ที่ ตวั ช้วี ัดผลลัพธ์การเรียนรู้ของผ้เู รียน
1 ผลงานหรือผลการปฏบิ ัตเิ ปน็ ผลลัพธท์ เ่ี กิดขน้ึ จากการจัดการ ผลงานของนักเรียนเป็นผลงานกลุ่มที่เกิด
จากการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู ผลงาน
เรียนรขู้ องครู บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบุไว้ใน
แผนการจดั การเรยี นรู้
2 ผลงานหรอื ผลการปฏบิ ัติสะท้อนถึงการได้รบั การพฒั นาทักษะข้ัน
พนื้ ฐาน (Basic Skills) ตามวยั และลักษณะของผเู้ รียน ผลงานสะท้อนทักษะวิทยาศาสตร์ที่ควรจะ
เกิดขึ้น เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการลง
3 ผลงานหรอื ผลการปฏิบตั สิ ะท้อนถึงความสามารถในการเรยี นรู้ ความเห็นจากข้อมูล เป็นต้น นักเรียนมีทักษะ
(Cognitive Abilities) ตามวัยและลักษณะของผเู้ รียน การส่ือสาร มีการฝึกใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์
วทิ ยาศาสตร์
4 ผลงานหรือผลการปฏิบัติสะท้อนถึงการบรู ณาการทักษะในการ
ทำงาน (Cross-functional Skills) ตามวัยและลักษณะของ นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดย
ผ้เู รียน สังเกตจากการสรุปบทเรียน การให้นักเรียน
นำเสนอเพื่อสรุปผลการทดลองหน้าชั้นเรียน
หรือคำถามท่ีครูใช้ประเมินความรู้ ความเข้าใจ
ของนักเรียนเปน็ ระยะๆ
นักเรียนไดฝ้ ึกทักษะการวางแผนการทดลอง
โดยครูอาจเป็นผู้ชี้นำบ้าง (ครูควรฝึกให้
นักเรียนร่วมออกแบบการทดลอง) นักเรียน
เกดิ ทักษะการตั้งคำถามจากการร่วมกจิ กรรม
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นของผู้นเิ ทศ
- การเขียนจุดประสงค์การเรียนรคู้ วรสอดคล้องตามระดบั พฤติกรรมท่ีต้องการให้เกิดข้ึนตามมาตรฐาน/ตัวช้ีวัดชั้น
ปี ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และการเขียนที่สามารถวัดพฤติกรรมของนักเรียนท่ีต้องการ
เกิดในชั่วโมงที่สอนไดจ้ รงิ
- แผนการจัดการเรียนรู้มีความละเอียด การระบุขั้นตอนตามกิจกรรมการเรียนรู้มีความชัดเจน แต่ควรมีความ
สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนดด้านตวั ช้วี ัดทกั ษะการจัดการเรยี นรแู้ ละการจัดการช้ันเรยี น
- ควรมีการนิเทศภายใน โดยให้เพ่ือนครูได้มีโอกาสสะท้อน กระบวนการจัดการเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน เพ่ือนำไปสู่
การพฒั นาการเรยี นการสอนทีย่ งั่ ยืน
44
โรงเรียนบ้านหนองเชยี งคา
ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป
1.1 ชื่อโรงเรยี น บ้านหนองเชียงคา กลุ่มโรงเรยี นสายน้ำวัง
1.2 ชอื่ ผู้อำนวยการโรงเรียน/ผรู้ ักษาการโรงเรยี น นางสาวสิริทพิ ย์ อินอยู่ โทรศัพท์ 0884282299
รองอำนวยการโรงเรยี น.............-............................................. โทรศพั ท…์ ……….-…………………………
1.3 ผู้บรหิ ารสถานศึกษา........-............คน ครปู ระจำการ....๘..........คน ลูกจ้างประจำ.......-...............คน
1.3.1 ลกู จา้ งชว่ั คราว(สพฐ.).......-.....คน ครูอัตราจา้ ง....๑..........คน นักการภารโรง.....-...............คน
พ่เี ล้ียงเด็กพิการเรยี นรวม.....๑........คน บคุ ลากรวิทย์/คณิต...-......คน
1.3.2 ลูกจ้างชว่ั คราว (เงนิ นอกงบประมาณ)..........คน ครูอัตราจา้ ง............คน
ครูอตั ราจา้ ง(งบ สพฐ.) .....-..........คน ครอู ตั ราจ้าง(งบโรงเรยี น).....-........คน อืน่ ๆ.........-......คน
1.3.3 ธรุ การโรงเรยี น.......๑...........คน
1.4 จำนวนนักเรียน
ระดบั ปฐมวัย........๒๘................คน...๒.......หอ้ งเรียน ระดับประถมศกึ ษา...๑๐๐......คน......๖.....หอ้ งเรยี น
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ .....-........คน...-.....ห้องเรยี น รวมจำนวนทัง้ สิน้ ......๑๒๘......คน...๘........หอ้ งเรียน
1.5 ขนาดโรงเรียน ใหญ่ ใหญพ่ ิเศษ
เลก็ ✓ กลาง
ตอนท่ี 2 รายการนิเทศ ติดตาม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565
รายการนเิ ทศ ติดตาม ดำเนินการ อยู่ระหวา่ ง บันทึกผู้นเิ ทศ
ดำเนนิ การ
8. การกำหนดแผนการดำเนินงาน ด้านความ
ปลอดภัย
1.1 ด้านความปลอดภยั ในโรงเรยี น ✓ - โรงเรียนมีการดำเนินการด้าน
- มาตรการด้านการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ✓ ความปลอดภัยของโรค โดยการ
ยังคงมีการป้องกันการแพร่ระบาด
และโรคอบุ ตั ิใหม่ ของเช้ือไวรัสโคโรน่า โดยยังคงมี
- มาตรการด้าน ความป ลอดภั ยต่างๆ มาตรการการป้องกันใหก้ ับนกั เรียน
เช่น การล้างมือบ่อยๆ การใส่แมท
ในโรงเรียน เช่น การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน ส่วนในการดำเนินพานักเรียนไป
การเดินทางไป-กลับของนักเรียนการพานักเรียนไป
ศกึ ษานอกสถานท่ี
นอกสถานที่ก็มีการปฏิบัติถูกต้อง
ตามระเบียบ
45
รายการนิเทศ ติดตาม ดำเนนิ การ อยูร่ ะหวา่ ง บันทึกผู้นเิ ทศ
ดำเนินการ
- แนวทาง/วิธีการป้องกนั เหตุทีอ่ าจเกดิ โดย ✓
ไม่คาดหมาย เช่น การลักพานักเรียน/การก่ อ - มีการดำเนินการป้องกันภัยธรรม
อาชญากรรม การปอ้ งกนั ภัยอนั เกดิ จากภัยธรรมชาติ
ข า ติ ต่ า ง ๆ ท่ี จ ะ เกิ ด ขึ้ น โ ด ย
ดำเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
ภายในโรงเรียนให้เหมาะสมสะอาด
ปลอดภัย
1.2 ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ เช่น ความ ✓ - มีบางส่วนท่ีกำลังปรับปรุง
สะอาด บรรยากาศห้องเรียน สนามหญ้า อาคาร พัฒนา เรื่อง อาคารสถานท่ี ยังมี
ประกอบ เครือ่ งเลน่ สนาม (ทพ่ี ร้อมใชง้ าน) อ า ค า ร ที่ เก่ า ท รุ ด โท ร ม แ ล ะ
บรรยากาศในชั้นเรียนยังไม่เอื้อต่อ
๒. การดำเนินงานจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิ การเรียนการสอน ส่วนอาคารใหม่
ทางการเรียน มีการจัดบรรยากาศในช้ันเรียนท่ีดี
สะอาด ปลอดโปร่ง บางอาคาร
๒.๑ มีแผนยกระดับฯท่ีเป็นปัจจุบัน มีแนวทาง/ เรียนยงั มีปัญหาเร่อื งนกพิราบ
วิธีการ/ข้ันตอนการดำเนินงานในการนำแผนลงสู่การ
ปฏบิ ัตทิ ชี่ ัดเจน - มี ก ารจัด ท ำแ ผน ย กระดั บ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยมีการ
นำข้อสอบเก่าๆตามตัวชี้วัด มาให้
นักเรียนทดลองทำแบบทดสอบ
แ ล ะ มี ก า ร จั ด ติ ว ใ ห้ กั บ นั ก เรี ย น
ในช่วงเดอื นธนั วาคม เป็นต้นไป
ตอนที่ 3 การสงั เกตการณ์จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของผู้รับการนิเทศ ประกอบด้วย 2 ดา้ นดงั นี้
ด้านท่ี 1 ดา้ นทักษะการจัดการเรียนร้แู ละการจัดการชน้ั เรียน
ด้านที่ 2 ด้านผลลพั ธ์การเรียนรขู้ องผู้เรียน
ชอ่ื ผู้รบั การนเิ ทศ....นายภควัต................นามสกลุ .........ทุชุมภู..............................ตำแหน่ง ครู คศ. ๓
สถานศึกษา โรงเรยี นบ้านหนองเชียงคา ชนั้ ที่นเิ ทศ....ป.๕...จำนวนนักเรยี น เพศชาย..๕..คน เพศหญิง...๖...คน
กลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ีส่ อน.........คณติ ศาสตร์............................เรอ่ื งทสี่ อน รอ้ ยละ