The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) ได้กาหนดแผนงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางานของ อ.อ.ป. (สานักงานกลาง) ปี พ.ศ. 2563 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การส่งเสริมและ
พัฒนาองค์ความรู้ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามยั กลยทุ ธ์ท่ี 1 กาหนดมาตรการและแนวทางในการพัฒนา
องคค์ วามร้ดู า้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในทุกภาคส่วน กิจกรรมท่ี 3 จัดทาคู่มือความปลอดภัยในการ
ทางานและเผยแพร่ให้ทกุ หน่วยงานทราบ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อเป็นการสร้างความม่ันใจในเรื่องความปลอดภัยฯ
แกผ่ ปู้ ฏิบัติงาน

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานสานักงานกลาง
อ.อ.ป. และสานกั บรหิ ารหารกลาง ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ในฐานะผู้รับผิดชอบแผนงานดังกล่าว จึงได้ปรับปรุง
คูม่ ือความปลอดภัยในการทางานเพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไปในปัจจุบัน และเพื่อส่งเสริม
ใหผ้ ปู้ ฏบิ ัตงิ านมีความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน โดยคูม่ อื นกี้ ล่าวถึงข้อควรระวังท่ผี ูป้ ฏบิ ตั ิงานทุกคนควรปฏิบัติ
เมือ่ อยใู่ นเวลาทางานเพ่ือป้องกันการบาดเจ็บหรอื อบุ ัติเหตุจากการทางานอันจะส่งผลให้สามารถลดปัจจัยเส่ียง
ด้านสุขภาพและความไมป่ ลอดภัยของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ปฏิบัติงานจะนาแนวทางในคู่มือนี้ไปใช้ในการทางาน
เพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภัยในการทางาน ปอ้ งกนั การบาดเจ็บ และเกดิ อุบัตเิ หตุ ซงึ่ จะส่งผลใหส้ ามารถปฏิบัติงาน
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึน้

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน

สานกั งานกลาง องค์การอุตสาหกรรมปา่ ไม้

นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 1
คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 1

สานักงานกลาง องค์การอตุ สาหกรรมป่าไม้ 2-4
คาจากัดความด้านความปลอดภัย 5
6 – 13
บทที่ 1 หลกั ความปลอดภัยในการทางานท่ัวไป 14 – 15
บทท่ี 2 ความปลอดภยั ในการทางานในสานกั งาน 16 – 23
บทท่ี 3 ความปลอดภยั ในการใช้ยานพาหนะ 24 – 26
27 – 38
บทที่ 4 ความปลอดภัยในการป้องกันและระงับอคั คีภัย
บทที่ 5 ความปลอดภยั ด้านการทอ่ งเทีย่ ว 39 – 41
42 – 43
บทท่ี 6 ความปลอดภัยในการทางานดา้ นสวนปา่ กิจกรรมดา้ นการปลกู สร้างสวนป่า 44
และด้านการทาไม้ 45 - 55
56
บทท่ี 7 ความปลอดภัยในการทางานด้านโรงเลอ่ื ย – โรงงาน

บทที่ 8 ความปลอดภยั ในการใช้งานเครือ่ งจกั ร
บทท่ี 9 การปฏบิ ัติตนเพ่อื ความปลอดภยั ในการทางานภาคสนาม

บทที่ 10 การปฐมพยาบาล
เบอรโ์ ทรสายด่วนแจ้งเหตุฉกุ เฉิน

องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) มีความห่วงใยต่อชีวิตและสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานทุกคน
ดังน้ัน จึงเห็นสมควรให้มีการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ควบคู่ไปกับหน้าที่ประจาของผู้ปฏิบัติงาน จึงได้กาหนด “นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน” ไว้ดังน้ี

1. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวด ล้อมในการทางานเป็นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน
ทุกคนทีจ่ ะตอ้ งร่วมมือกนั ยดึ ถือและปฏิบตั ิ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ต่อชวี ิต และทรพั ย์สิน ท้งั ของตนเองเพื่อน
ร่วมงานและขององคก์ ารอตุ สาหกรรมป่าไม้

2. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและวิธีการปฏิบัติงานที่มีความปลอดภัยรวมทั้งรณรงค์ให้มีการ
ใชเ้ ครือ่ งมอื อุปกรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายท่ีเหมาะสมกับงาน

3. สนับสนุน และส่งเสริมให้มีกิจกรรมด้านความปลอดภัยเพ่ือกระตุ้นจิตสานึกของผู้ปฏิบัติงาน
เชน่ การอบรมให้ความรู้ การตรวจความพร้อมของอุปกรณป์ อ้ งกันการกาหนดมาตรการจูงใจ

4. ผู้บังคับบัญชาทุกระดับ จะต้องกระทาตนให้เป็นแบบอย่างท่ีดี เป็นผู้นาอบรม ฝึกสอนและ
สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปฏิบัตงิ านปฏบิ ัติงานตามนโยบาย และมาตรการความปลอดภยั

5. ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องดแู ล รกั ษาความสะอาด และความเป็นระเบียบในพน้ื ทีท่ ่ีปฏบิ ัตงิ าน
6. ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องให้ความร่วมมือในการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานขององคก์ ารอุตสาหกรรมปา่ ไม้ และมสี ิทธิเสนอความคิดเห็นในการปฏิบัติงาน
และวิธกี ารทางานให้มคี วามปลอดภัย
7. องคก์ ารอตุ สาหกรรมปา่ ไม้ กาหนดให้มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบาย
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานสานักงานกลาง
องคก์ ารอตุ สาหกรรมป่าไม้ มหี นา้ ทดี่ ังต่อไปนี้

1. พจิ ารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการทางาน รวมท้ัง ความปลอดภัยนอกงาน
เพ่ือป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ
อนั เน่ืองจากการทางาน หรือความไม่ปลอดภยั ในการทางานเสนอต่อผูอ้ านวยการ

2. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายเกี่ยวกับ
ความปลอดภัยในการทางานและมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานต่อผู้อานวยการ เพื่อความปลอดภัย
ในการทางานของผปู้ ฏบิ ตั ิงานผรู้ บั เหมาและบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาปฏิบัติงานหรือเข้ามาใช้บริการในองค์การ
อุตสาหกรรมปา่ ไม้

3. ส่งเสรมิ สนับสนุน กจิ กรรมด้านความปลอดภยั ในการทางานขององคก์ ารอตุ สาหกรรมปา่ ไม้

4. พจิ ารณา ...

-2-

4. พิจารณาข้อบังคับและคู่มือด้านความปลอดภัยในการทางาน รวมท้ังมาตรฐานด้านความปลอดภัย
ในการทางานขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้เสนอต่อผอู้ านวยการ

5. สารวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการทางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตราย
ท่เี กดิ ขึ้นในองคก์ ารอุตสาหกรรมปา่ ไมอ้ ยา่ งนอ้ ยเดือนละหน่งึ ครงั้

6. พจิ ารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในการทางาน รวมถึงโครงการ
หรือแผนการอบรมเก่ียวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานเพ่ือเสนอ
ความเหน็ ตอ่ ผ้อู านวยการ

7. วางระบบการรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภัยให้เป็นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานทุกคน
ต้องปฏบิ ตั ิ

8. ตดิ ตามผลความคบื หน้าเรือ่ งทเ่ี สนอผอู้ านวยการ
9. รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี รวมท้ังระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอ แนะในการ
ปฏิบัติหน้าทขี่ องคณะกรรมการเม่อื ปฏิบตั หิ น้าท่ีครบหน่งึ ปเี พื่อเสนอต่อผู้อานวยการ
10. ประเมนิ ผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบกิจการ
11. ปฏบิ ตั ิงานดา้ นความปลอดภัยในการทางานอ่นื ตามทีผ่ อู้ านวยการมอบหมาย

คาจากัดความด้านความปลอดภัย
ภัย (Hazard) หมายถึง สภาพการณ์ซึ่งมีแนวโน้มท่ีจะก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อบุคคลหรือ
ความเสยี หายตอ่ ทรพั ย์สินหรอื วัสดุ หรอื กระทบกระเทือนต่อขดี ความสามารถในการปฏิบตั ิงานปกตขิ องมนุษย์
อันตราย (Danger) หมายถึง ระดับความรุนแรงท่ีเป็นผลเน่ืองมาจากภัย (Hazard) ระดับของ
ภัยอาจมรี ะดบั สงู มากหรอื น้อยกไ็ ด้ ข้นึ อยกู่ ับมาตรการ ในการป้องกนั
ความเสียหาย (Damage) หมายถงึ ความรนุ แรงของการบาดเจบ็ หรือความสูญเสียทางกายภาพ
หรอื ความเสยี หายทเ่ี กิดขึน้ ตอ่ การปฏิบตั ิงานหรอื ความเสยี หายทางดา้ นการเงินที่เกิดขึ้น
อุบตั ิเหตุ (Accident) หมายถึง เหตกุ ารณท์ ีเ่ กดิ ขึ้นโดยมิไดว้ างแผนไว้ลว่ งหน้าซ่งึ กอ่ ให้เกิดความ
บาดเจ็บ พกิ าร หรอื เสยี ชวี ติ และทาใหท้ รัพยส์ นิ ได้รบั ความเสยี หาย
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาวการณ์ท่ีปลอดจากภัย (Hazard) หรือการพ้นภัย
รวมถงึ การปราศจากอันตราย (Danger) การบาดเจ็บ (injury) การเส่ยี งภยั (risk) หรือการสูญเสยี (loss)
สาเหตขุ องอุบัติเหตุ (Causes of Accident)
อาจแบ่งเปน็ 2 ประการหลัก ๆ คือ สาเหตุพ้ืนฐาน หรือสาเหตุที่เอ้ืออานวยให้เกิดอุบัติเหตุ และ
สาเหตทุ ีท่ าใหเ้ กดิ อุบัติเหตุ
1. สาเหตุพื้นฐานหรือสาเหตุที่เอ้ืออานวยให้เกิดอุบัติเหตุ (Basic or Contributing causes)
มี 3 ประการ

1.1 การบรหิ ารจดั การและการควบคมุ ด้านความปลอดภัยขาดประสทิ ธภิ าพเนือ่ งจาก
- ไม่มีการสอนหรือการอบรมดา้ นความปลอดภยั
- ไม่บังคบั ให้ปฏบิ ตั ิตามระเบียบ หรือกฎความปลอดภยั
- ไม่ไดว้ างแผนความปลอดภัยในการทางาน
- ไม่ได้ทาการแก้ไขจดุ ท่ีเปน็ อันตราย
- ไม่จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยใหแ้ กผ่ ู้ปฏิบตั งิ าน

1.2 สภาวะของใจ ...

-3-

1.2 สภาวะของใจคนไมป่ กติ ไมเ่ หมาะสม เนื่องจาก

- ขาดความรู้ หรอื จิตสานกึ ความปลอดภัย

- มีทศั นคตไิ ม่ดี และไม่ถกู ต้อง

- ภาวะจติ ใจตอบสนองช้าเกินไป

- ขาดสมาธิ และความต้ังใจในการทางาน

- ไม่สามารถควบคมุ อารมณ์ได้

- ตน่ื เตน้ ขวญั อ่อน กลัว ตกใจง่าย

1.3 สภาวะรา่ งกายของบคุ คลไม่ปกติ เนอื่ งจาก

- อ่อนเพลยี เมอ่ื ยลา้ - หหู นวก

- สายตาไมด่ ี - สภาพรา่ งกายไม่เหมาะสมกับงาน

- โรคหัวใจ ความดนั โลหิตสูง - รา่ งกายพกิ าร

2. สาเหตุทท่ี าให้เกิดอุบตั เิ หตุ (Immediate causes)

2.1 การกระทาทไ่ี ม่ปลอดภยั ของบคุ คล (Unsafe Condition)

- ปฏบิ ัตงิ านโดยไม่มหี นา้ ท่ีรับผิดชอบโดยตรง หรือขาดความรู้

- การมที ศั นคตทิ ีไ่ มถ่ ูกตอ้ ง เชน่ เป็นเรื่องของเคราะหก์ รรม

- รูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ คาดการณผ์ ิด

- ประมาทเลนิ เลอ่ พล้งั เผลอ เหมอ่ ลอย ขาดความระมดั ระวงั

- เรง่ รบี ลดั ข้นั ตอน

- หยอกล้อกนั ระหวา่ งปฏบิ ัติงาน

- สภาพร่างกายไม่พร้อมหรือผิดปกติ เช่น ด่ืมสุรา เมาค้าง มีปัญหาครอบครัว

ใช้สง่ิ เสพติด เปน็ ตน้

- ยก เคล่ือนย้ายส่ิงของด้วยทา่ ทางทไี่ มป่ ลอดภยั

- แตง่ กายไมร่ ดั กุม รุ่มร่าม หรอื ใสเ่ คร่อื งประดับที่เอือ้ อานวยให้เกดิ อบุ ตั ิเหตุ

2.2 สภาพการทางานทไี่ ม่ปลอดภัย (Unsafe Condition)

- เคร่ืองมือ อุปกรณช์ ารุด ขาดการซ่อมแซมหรอื บารุงรกั ษา

- ความไม่เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยในการจดั เกบ็ วสั ดุสิง่ ของ

- สง่ิ แวดลอ้ มในการทางานไม่ดี เช่น แสงสว่างไมเ่ พยี งพอการระบายอากาศไม่ดี เสียงดัง

ฝุน่ ละออง

- โครงสรา้ งของอาคารไมแ่ ขง็ แรง

- ไม่มรี ะบบเตือนภัยทีเ่ หมาะสม

ผลกระทบจากอบุ ัติเหตุ

1. ผลกระทบทางตรง (Direct Effect)

- อวัยวะ ร่างกายไดร้ ับบาดเจบ็ - เกดิ เจบ็ ป่วยด้วยโรคจากการทางาน

- สญู เสียอวัยวะ พกิ าร - สูญเสยี ชีวิต

2. ผลกระทบ ...

-4-

2. ผลกระทบทางออ้ ม (Indirect Effect)

- ขาดงาน หยดุ งาน ทาให้ขาดรายได้ - สญู เสยี เวลาในการรกั ษาพยาบาล คา่ ใช้จา่ ย ค่าเดนิ ทาง

- สญู เสียโอกาสในความกา้ วหน้าทางการงาน - หากเกิดความพกิ ารจะเพม่ิ ภาระให้ครอบครัว

- สูญเสยี โอกาสทางสงั คม - หากสญู เสยี ชีวิต ครอบครัวจะได้รบั ความเดอื ดรอ้ น

- สญู เสียบุคลากรทีม่ ีความรู้ความสามารถ - สูญเสยี ประชากรที่เปน็ กาลงั สาคัญในการพฒั นาประเทศ

บทที่ 1 ...

-5-

1. ผู้ปฏิบัติงานต้องยึดหลักความปลอดภัยโดยเคร่งครัด ผู้ปฏิบัติงานควรละเว้นนิสัย
และการกระทาท่ีอาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย หรือการกระทาที่เสี่ยงอันตรายในการปฏิบัติงาน
โดยสร้างจิตสานกึ และความเอาใจใส่ต่อการปฏิบัตงิ านให้เกิดความปลอดภัยอยา่ งสงู สุด

2. ผู้ปฏิบัติงานต้องปฏิบัติตามคู่มือความปลอดภัยในการทางาน พร้อมทั้งปฏิบัติตน
ให้เป็นแบบอยา่ งท่ีดใี นด้านความปลอดภยั แกบ่ ุคคลอ่นื

3. ผปู้ ฏบิ ัตงิ านต้องปฏิบัติตามเครื่องหมายความปลอดภยั (Safety Sign) โดยเคร่งครดั
4. ผู้ปฏิบัติงานต้องเอาใจใส่ในการทางาน ห้ามหยอกล้อหรือแกล้งบุคคลอื่นในงานที่อาจ
กอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายหรือความไมป่ ลอดภยั
5. ผู้ปฏบิ ัตงิ านต้องใช้อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบคุ คลท่ีเหมาะสม ผู้ปฏิบัติงานต้องใช้อุปกรณ์
ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล โดยสวมใส่ลงบนอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายหรือหลายๆ ส่วนรวมกัน
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่อวัยวะส่วนนั้น ๆ หรือเพื่อช่วยลดความรุนแรงของอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ในระหวา่ งการปฏบิ ตั ิงาน
6. ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมเคร่ืองแต่งกายให้เหมาะสม ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมเครื่องแต่งกาย
ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะงานทีป่ ฏบิ ัตหิ า้ มสวมเสอื้ ผา้ ท่รี ุ่มรา่ ม
7. ห้ามผู้ปฏิบัติงานทางานโดยไม่มีหน้าท่ีเฉพาะในงานท่ีมีลักษณะอันตราย เช่น การซ่อม
อปุ กรณ์ไฟฟ้า
8. ผู้ปฏิบัติงานมีหน้าที่รายงานทันทีที่ประสบอันตราย ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีหน้าที่รายงาน
ให้ผู้บังคับบัญชาและคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน
ของหน่วยงานทราบทันทีที่ประสบอันตราย เนื่องจากการปฏิบัติงานเฉพาะกรณีที่ต้องมีการตรวจหรือ
รักษาพยาบาลโดยแพทย์หรอื เปน็ เหตุให้ต้องหยดุ งานตามแบบรายงานการประสบอนั ตรายของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน
9. ผู้ปฏิบัติงานมีหน้าท่ีรายงานทันทีท่ีพบสภาพการทางาน เครื่องมือหรืออุปกรณ์เครื่องใช้
สานักงานที่ไม่ปลอดภัย ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีหน้าที่รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบทันที เมื่อพบสภาพ
การทางาน เครอื่ งมอื หรืออุปกรณเ์ คร่ืองใช้สานกั งานทไี่ มป่ ลอดภัย
10. ผรู้ ับเหมาที่จะปฏบิ ัติงานต้องได้รับอนุญาตก่อนเข้าปฏิบัติงานผู้รับเหมาท่ีจะปฏิบัติงานต้อง
ไดร้ บั อนุญาตจากพนกั งานผู้รับผิดชอบกอ่ นเขา้ ปฏิบตั งิ าน และพนักงานผู้รับผิดชอบต้องควบคุมดูแลผู้รับเหมา
ปฏบิ ตั ิงานด้วยความปลอดภยั

บทท่ี 2...

-6-

1. พ้นื - ประตู - ทางเดนิ
1.1 ควรใหพ้ น้ื ทส่ี านกั งานมีความสะอาดอยู่เสมอ
1.2 พ้ืนสานักงานควรอยู่ในแนวระดับไม่ลาดเอียง หรืออยู่ต่างระดับหากจาเป็นไม่อาจ

หลีกเลย่ี งได้ให้แสดงสสี ันใหเ้ หน็ ชัดเจน
1.3 ใหใ้ ช้วัสดุกันลน่ื ปทู ับบนกระเบอื้ งหรอื พ้ืนขัดมนั ที่ล่นื
1.4 ห้ามวงิ่ ในขณะปฏิบัติงาน
1.5 ในขณะท่ีมีการขัดหรือทาความสะอาดพ้ืน ผู้ปฏิบัติงานควรสังเกตป้ายคาเตือนและ

ใหม้ ีการเดินหรอื ปฏิบตั งิ านด้วยความระมดั ระวังยิง่ ขึ้น
1.6 ในกรณีที่มีน้า น้ามัน หรือส่ิงที่ทาให้เกิดการลื่นบนพื้นสานักงานให้ผู้พบเห็นทาการ

เชด็ หรอื นาออกไป หรอื แจง้ เจ้าหนา้ ทผี่ ้รู บั ผิดชอบโดยทนั ที
1.7 ในกรณีที่พบเห็นวัสดุหรือเคร่ืองใช้สานักงาน เช่น ดินสอ ที่หนีบกระดาษยางลบหรือ

สง่ิ อ่ืนใดตกหลน่ อยบู่ นพนื้ ใหเ้ ก็บโดยทนั ทเี พราะอาจเป็นสาเหตุให้ลืน่ หกลม้ ได้
1.8 อย่ายืนหรอื เดนิ ใกลบ้ รเิ วณประตูทปี่ ดิ อยเู่ พราะบุคคลอน่ื อาจจะเปิดประตูมากระแทกได้
1.9 เม่ือจะผ่านเขา้ ออกบังตา หรอื เปดิ ปดิ ประตบู านกระจกควรเข้าออกหรือเปิดปิดด้วยความ

ระมัดระวังอย่างช้า ๆ และในการใช้บังตา หรอื ประตทู เ่ี ปิดปดิ สองบานใหใ้ ช้บังตาหรอื ประตูทางด้านขวา
1.10 บังตาหรือประตูบานกระจกที่เปิดปิดสองทาง ให้ติดเคร่ืองหมาย “ดึง” หรือ “ผลัก”

ให้ชัดเจน
1.11 ไม่ควรจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์สิ่งของต่าง ๆ หรือปล่อยให้มีส่ิงกีดขวางบริเวณทางเดินหรือ

ชอ่ งประตู
1.12 ในขณะเดินถึงมุมตึกให้เดินทางด้านขวาของทางเดิน และเดินอย่างช้า ๆ ด้วยความ

ระมัดระวงั เพ่อื หลีกเลีย่ งการชนกับผ้อู ่นื ซ่ึงกาลงั เดนิ มาจากอีกมมุ หนึ่ง
1.13 ควรตดิ ตัง้ กระจกเงาทามมุ ในบริเวณมมุ อับที่อาจเกดิ อุบตั ิเหตุไดง้ ่าย
1.14 สายโทรศัพท์ หรอื สายไฟฟ้า ควรติดตง้ั ให้เรียบรอ้ ย เพอื่ ไมใ่ หก้ ีดขวางทางเดนิ

2. การใชบ้ นั ได ...

-7-
2. การใชบ้ นั ได ให้ปฏบิ ตั ิดงั นี้

กรณที ่ี 1 การใชบ้ ันได้ขึน้ ลงอาคาร
1.1 กอ่ นขน้ึ หรอื ลงบนั ได ควรสังเกตสง่ิ ท่ีอาจกอ่ ใหเ้ กิดอันตายข้นึ ได้
1.2 ถ้าพบบริเวณบันไดมีแสงสว่างไม่เพียงพอหรือราวบันได หรือขั้นบันไดชารุดให้แจ้ง
เจ้าหนา้ ทเ่ี พ่อื ทาการแก้ไข
1.3 อยา่ ปลอ่ ยให้มีเศษวสั ดุช้ินเล็กช้ินนอ้ ยอื่นใดบนข้ันบนั ได เช่น เศษกรวด เศษแกว้ หรอื อนื่ ๆ
1.4 ไม่ควรตดิ ตัง้ สงิ่ ดงึ ดดู ความสนใจ เชน่ กระจกเงา ภาพโปสเตอรไ์ วบ้ รเิ วณบันได
1.5 ควรจดั ให้มพี รมหรอื ท่เี ชด็ เทา้ บรเิ วณเชงิ บันได เพอ่ื ความปลอดภยั
1.6 อยา่ ว่งิ ขึ้นหรอื ลงบนั ได ควรขึน้ ลงด้วยความระมดั ระวงั
1.7 ห้ามเลน่ หรือหยอกล้อกันในขณะขึน้ หรือลงบนั ได
1.8 การขึ้นลงบันได ให้ข้นึ ลงทางดา้ นขวาและจับราวบนั ไดทุกครง้ั
1.9 อย่าปลอ่ ยราวบันไดจนกว่าจะมีการขน้ึ หรือลงบันไดเป็นทีเ่ รยี บร้อยแลว้
1.10 ในขณะขึ้นหรือลงบันได ให้ใช้สายตามองบันไดก้าวต่อไป และห้ามกระทาสิ่งใด ๆ
ในลกั ษณะท่จี ะก่อใหเ้ กดิ อันตราย เช่น การอ่านหนังสือหรือค้นส่งิ ของในกระเป๋าถอื เปน็ ตน้
1.11 อยา่ ขึ้นหรือลงบนั ไดเปน็ กลมุ่ ใหญๆ่ ในเวลาเดียวกนั

กรณีท่ี 2 การใช้บันไดเปลีย่ นหรือติดต้ังอุปกรณต์ ่างๆ
2.1 บันไดทีจ่ ะใชต้ อ้ งอยู่ในสภาพที่ดี และมคี วามแข็งแรงทนทาน
2.2 ตอ้ งพงิ บันไดใหไ้ ด้มุมที่เหมาะสม เพื่อปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ลม้ หรอื เลอื่ นลงมาได้โดยต้งั
ให้ตนี บนั ไดห่างจากทพ่ี งิ ประมาณ 1/4 ของความสูงและตอ้ งมีคนจบั ยดึ ไว้
2.3 อยา่ พงิ บันไดกบั สงิ่ ซง่ึ อาจจะเคลอื่ นที่ได้
2.4 ให้วางตีนบนั ไดบนพ้ืนท่ที ่แี ข็ง มีระดับเรยี บเสมอกนั หา้ มวางบนวัตถทุ ีเ่ คลอื่ นทีไ่ ด้
2.5 เมอื่ ปฏิบัติงานใกล้สายไฟหรืออปุ กรณ์ไฟฟา้ ที่มไี ฟห้ามใช้บนั ไดโลหะ
2.6 เม่ือนาบันไดไปในระหว่างช่องทางเดิน (Aisle ways) เข้าออกประตูหรือไปตามมุมเล้ียว
ต้องแน่ใจวา่ บนั ไดจะไมเ่ หวย่ี งไปถกู คนหรอื วตั ถุอืน่ ๆ ได้
2.7 ขณะปฏิบตั ิงานอยบู่ นบันได ถ้าไมไ่ ด้ยึดปลายบันไดให้แน่นกับที่พิงแล้วอย่ายืดตัวออกไป
ข้างบันไดให้มากเกนิ ควร เพราะจะทาให้บนั ไดพลกิ แล้วเกิดอนั ตรายได้
2.8 เม่ือจะขน้ึ หรือลงบันได ใหห้ ันหน้าเขา้ หาบันไดเสมอ และต้องจบั ให้แน่น
2.9 ให้คนทีจ่ ับยึดบันไดมีหนา้ ที่คอยดูแลอย่าให้คนทผ่ี ่านไปมาชนบนั ไดได้

3. โต๊ะทางาน ...

-8-
3. โตะ๊ ทางาน เก้าอี้ ตู้

3.1 ตลอดเวลาการทางานไม่ควรเปิดลิ้นชักโต๊ะลิ้นชักตู้เก็บเอกสารหรือตู้อื่นค้างไว้ ให้ปิดทุก
คร้งั ทีไ่ มใ่ ช้

3.2 ห้ามวางพัสดุ สิ่งของ หรือกล่องใต้โต๊ะทางาน
3.3 หา้ มเอนหรอื พงิ พนักเก้าอีใ้ หร้ บั นา้ หนกั เพียงข้างใดขา้ งหนง่ึ
3.4 ใหม้ พี นื้ ทเ่ี คล่อื นย้ายเก้าอี้ สาหรบั การเข้าออกทีส่ ะดวก
3.5 หา้ มวางพัสดุ สิง่ ของต่าง ๆ บนหลงั ตู้ เพราะอาจตกหล่นลงมาเป็นอนั ตราย
3.6 อย่าเปดิ ลิ้นชกั ตูเ้ กบ็ เอกสารในเวลาเดยี วกันเกนิ กว่าหนึ่งลิ้นชัก
3.7 การจัดใส่เอกสารในลิ้นชักตู้ ควรจัดใส่เอกสารจากช้ันล่างสุดข้ึนไปเพ่ือเป็นการถ่วงดุล
และใหห้ ลีกเล่ียงการใส่เอกสารในล้นิ ชักมากเกนิ ไป
3.8 ใหใ้ ชห้ ูจบั ล้ินชกั ทกุ ครงั้ เม่อื จะเปดิ ปิดลนิ้ ชกั เพ่อื ป้องกนั นิ้วถูกหนบี
3.9 การจดั วางตู้ ลน้ิ ชักตู้ ขณะให้งานต้องไมเ่ กะกะชอ่ งทางเดิน

4. เต้าเสยี บและสายไฟฟ้า
4.1 สายไฟฟ้าที่มีรอยฉีกขาด หรือปลั๊กไฟฟ้าที่แตกร้าว ต้องทาการเปลี่ยนทันที ห้ามพันด้วย

เทปพนั สายไฟหรือดดั แปลงซ่อมแซมอย่างใด ๆ
4.2 เต้าเสียบที่ชารุดจะต้องทาการซ่อมแซมโดยทันที ในระหว่างรอการซ่อมแซมจะต้องปิด

หรือครอบ เพื่อป้องกันการใช้งาน
4.3 เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ที่ใช้ภายในสานักงานให้วางในตาแหน่งบริเวณใกล้

เต้าเสียบมากท่ีสุด เพ่ือหลีกเลี่ยงสายไฟฟ้าที่ทอดยาวไปตามพ้ืนหรือหลีกเลี่ยงการใช้สายต่อในกรณีจาเป็น
ไม่อาจวางในตาแหน่งใกลเ้ ตา้ เสยี บได้ใหแ้ สดงเครือ่ งหมายให้ชัดเจนเพื่อป้องกันการสะดุดสายไฟฟา้

4.4 ในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าให้แน่ใจว่าแรงดันเหมาะสมกับความต้องการแรงดันไฟฟ้า
ของอุปกรณน์ นั้ ๆ

4.5 การวางหรือเคลื่อนย้ายเครื่องใช้สานักงาน พึงระวังอย่าให้มีการวางหรือเคลื่อนย้าย
ทับสายไฟฟา้

5. การใชเ้ ครอื่ งใช้ ...

-9-
5. การใช้เคร่อื งใช้สานกั งาน

5.1 ในขณะขนย้ายกระดาษ ควรระมดั ระวงั กระดาษบาดมอื
5.2 ใหเ้ ก็บปากกา หรือดินสอ โดยการเอาปลายชล้ี ง หรอื วางราบในลิ้นชกั
5.3 ให้ทาการหุบขากรรไกร ทีเ่ ปิดซองจดหมายใบมีดคัทเตอรห์ รอื ของมคี มอน่ื ๆ ใหเ้ ข้า
ทีก่ ่อนทาการเก็บ
5.4 การแกะลวดเยบ็ กระดาษไม่ควรใช้มอื หรอื เลบ็ ใหใ้ ช้ที่ดงึ ลวดเยบ็ กระดาษทุกคร้ัง
5.5 เฟอร์นเิ จอร์ทเี่ ปน็ โลหะให้ทาการลบมุมทุกแหง่ เพื่อความปลอดภยั
5.6 ควรใชบ้ นั ไดหรอื ช้ันเหยียบเมื่อตอ้ งการหยิบของในทีส่ งู ไม่ควรใช้กล่องโต๊ะหรอื เก้าอ้ีติดล้อ
5.7 หลังเลิกงานทุกวัน ให้ปิดไฟฟ้าทุกดวง และตัดวงจรอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในห้องทางาน
ท้ังหมด
5.8 เครื่องใช้สานักงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ถ้าไม่มีส่ิงป้องกันอันตรายไว้ให้จัดให้มีก่อน
นามาใช้
5.9 ห้ามทาความสะอาด ปรับ แต่ง หรือเปล่ียนแปลง ส่วนประกอบใด ๆ ของเคร่ืองใช้
สานักงานที่อาจก่อให้เกดิ อนั ตรายในขณะทเ่ี ครอ่ื งกาลงั ทางาน
5.10 ต้องทาการศึกษาวิธีใช้ และข้อควรระวังของเคร่ืองใช้สานักงานท่ีมีอันตรายให้ดี
กอ่ นปรับแต่ง
5.11 ถ้ามีผู้ปฏิบัติงานสองคน หรือมากกว่าสองคนขึ้นไป ทางานกับเครื่องใช้สานักงาน
ทมี่ อี ันตรายเคร่ืองเดียวกัน ผู้ปฏิบตั ิงานแต่ละคนจะต้องระมดั ระวังซงึ่ กันและกนั
5.12 เครือ่ งใชส้ านักงานที่ใช้กาลังไฟฟ้าและมิได้เป็นชนิดท่ีมีฉนวนหุ้มสองชั้นจะต้องมีระบบ
สายดินตดิ อยู่ทคี่ รอบโลหะผา่ นปลั๊ก และห้ามมีการดดั แปลงเพอื่ ตัดวงจรสายดินออก
5.13 ให้ตดั ไฟฟา้ ของเครื่องใช้สานักงานท่ใี ชก้ าลงั ไฟฟา้ ทกุ ครงั้ ที่ไมใ่ ช้หรอื จะปรับแตง่ เครอ่ื ง

6. ลิฟต์
6.1 ในขณะเกิดเพลิงไหม้ ห้ามทุกคนใช้ลฟิ ต์ให้ใชบ้ ันไดหนไี ฟ
6.2 ก่อนใช้ลิฟตท์ ุกครงั้ ใหส้ ังเกตว่าตวั ลิฟต์เลอ่ื นมาอยู่ในระดับเดียวกับพื้นห้องแล้วหรือไม่ถ้า

ตัวลิฟตอ์ ย่ตู ่างระดบั กบั พ้นื ห้อง ให้ระมัดระวงั การสะดุดขณะเดนิ เขา้ ลฟิ ตส์ าหรบั ผู้ปฏิบัติงานสตรีท่ีสวมรองเท้า
ส้นสูงหรอื สน้ เล็กตอ้ งก้าวขา้ ม เพื่อป้องกันการล่ืนและหกลม้

6.3 ในการใช้ลิฟต์ ให้เข้าลิฟตอ์ ยา่ งรวดเร็วและระมัดระวงั อยา่ ลงั เลใจ
6.4 ห้ามสบู บหุ ร่ใี นลิฟต์

6.5 เม่อื ลิฟตเ์ ล่อื น ...

-10-
6.5 เมอ่ื ลิฟต์เล่ือนถึงชั้นท่ีตอ้ งการให้รอประตลู ฟิ ตเ์ ปดิ เต็มที่ แลว้ ก้าวออกจากลฟิ ต์อย่างรวดเรว็
6.6 ห้ามใช้มือจับหรือดันประตูลิฟต์ ให้ลิฟต์รอบุคคลอ่ืนให้ใช้ปุ่มควบคุมประตูลิฟต์ท่ีติดตั้ง
อยูภ่ ายในลฟิ ต์
6.7 ในกรณเี กดิ เหตฉุ กุ เฉินขณะอยู่ในลิฟตใ์ หป้ ฏิบตั ติ ามข้อแนะนาซ่งึ ตดิ อยู่ภายในลิฟต์

7. สุขภาพอนามัยในสถานท่ีทางาน
7.1 ผูป้ ฏบิ ัติงานทุกคนตอ้ งช่วยกนั ดูแลบริเวณห้องทางานใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยและสะอาด

อยู่ตลอดเวลา
7.2 ในการใช้หอ้ งนา้ หอ้ งสว้ ม ผู้ปฏิบตั ิงานจะตอ้ งรักษาความสะอาด
7.3 ผู้ปฏิบัติงานต้องหลีกเลียงการรับประทานอาหารหรือด่ืมน้า ที่พิจารณาแล้วเห็นว่า

ไม่สะอาดเพียงพอ
7.4 ผูป้ ฏิบัตงิ าน ...

-11-
7.4 ผู้ปฏิบัติงานท่ีปฏิบัติงานในท่าเดียวกันนาน ๆ อาจเกิดอาการเม่ือยล้าควรมีการเปลี่ยน
อริ ยิ าบถ เปน็ ครัง้ คราว ๆ ตามความเหมาะสมโดยมใิ หเ้ สียงาน
7.5 ผู้ปฏิบัติงานทุกคน ควรมีการพักผ่อนหย่อนใจ หรือกิจการนันทนาการหลังเลิกงาน
หรือวันหยุดประจาสัปดาห์เป็นบางโอกาส เพ่ือช่วยผ่อนคลายความเหน็ดเหน่ือยเม่ือยล้าทางกาย และความ
ตึงเครียดทางจิตใจจากการประกอบอาชพี การงาน
8. ภยั คอมพิวเตอร์
ปัจจบุ นั เกือบทุกสานักงานมกี ารใช้คอมพวิ เตอร์กนั อย่างแพรห่ ลายด้วยวิวฒั นาการท่กี า้ วไกลนี้
พบวา่ การปฏบิ ัตงิ านหน้าจอคอมพวิ เตอร์เป็นเวลานาน ๆ ทาให้พนักงานต้องใช้สายตาในการเพ่งมองจอภาพ
จนเกิดอาการตาล้า รู้สึกแสบตาปวดเม่ือยกล้ามเน้ือ หลัง ไหล่ แขน ขา คอ เจ็บปวด ชาบริเวณข้อนิ้วมือ
หรืออาจเกิดอาการ เครียด หงุดหงิด ปวดศีรษะ ส่ิงเหล่าน้ีล้วนแล้วแต่เกิดจากการทางานซ้าซากและทางาน
ในท่วงท่าท่ีไม่ถูกต้อง หรือการจัดสภาพแวดล้อมในการทางานไม่เหมาะสม วิธีป้องกันง่าย ๆ คือจัดแสงสว่าง
ในห้อง แสงบนจอภาพระยะของสายตากับงานให้มีความเหมาะสม ภาพบนจอคมชัด ออกแบบสถานท่ีทางาน
ใหเ้ หมาะสม สามารถนั่งทางานไดใ้ นทา่ ทางทีป่ กติ และสบายท่ีสดุ ผู้บริหารก็ควรจัดงานอ่ืนให้พนักงานทาสลับ
กับการทางานหน้าจอ หรือกาหนดเวลาพักระยะส้ันๆระหว่างการทางาน พนักงานก็อาจจะบริหารร่างกาย
เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ที่สามารถทาไดใ้ นสถานท่ที างาน จะช่วยผอ่ นคลายความเครียดลงได้

9. การหยบิ ยกส่ิงของ
9.1 การยกส่ิงของเปน็ ปัญหาทีจ่ ะต้องกระทาดว้ ยความระมดั ระวัง
9.2 ควรหลีกเล่ียงการยกและขนย้ายสิ่งของที่หนักด้วยมือเปล่าหรือไม่ก็ให้มีการ

ยกกันหลายคน การยกของใหถ้ ูกวธิ ีเปน็ ส่ิงสาคญั ที่ทกุ คนจะตอ้ งกระทา
9.3 คาแนะนาเกี่ยวกับการยกสิ่งของที่ปลอดภัยควรแจกจ่ายไปยังผู้ปฏิบัติงานทุกคน

แม้กระทั่งผู้ปฏิบัติงานท่ีต้องทางานเก่ียวกับการยกส่ิงของที่เบาก็ตามจะต้องมีการควบคุมเป็นระยะ ๆ
โดยผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์และจะต้องมีการควบคุมแนะนาทันทีท่ีผู้ปฏิบัติงานไม่ทาการยกของอย่าง
ถกู วิธี

9.4 เมอื่ ทาการ ...

-12-

9.4 เมื่อทาการยกของท่ีมีน้าหนักมาก ให้วางเท้าข้างหน่ึงไปในทิศท่ีเคล่ือนย้ายและวางเท้า
อกี ขา้ งหนึ่งคอยรบั น้าหนักรา่ งกาย จับของทจี่ ะยกใหม้ ่ันยอ่ ตวั ให้หลงั ตรง แขนติดลาตัว เก็บคางแล้วยกของข้ึน
โดยใช้น้าหนักตัว

9.5 ในการเคลื่อนย้ายส่ิงของไม่ควรยกส่ิงของให้สูงจนบังระดับสายตาและขณะเคลื่อนย้าย
ห้ามทาการบดิ ตัว ถ้าจาเปน็ ต้องเปลย่ี นทศิ ทางการเคลื่อนย้ายให้หมนุ ไปทง้ั ตัว

9.6 เมือ่ จะทาการเคลอื่ นย้ายสงิ่ ของตอ้ งแน่ใจวา่ ไม่มีสงิ่ กดี ขวางทางเดิน
9.7 เม่ือจะหยบิ ยกสิ่งของบนหิง้ หรือท่ีสงู ตอ้ งใช้บันไดหรอื ท่ีรองอืน่ ๆ ทีเ่ หน็ วา่ ปลอดภัยดีแล้ว

10. การเก็บพัสดุ
10.1 คลังพัสดุและบริเวณท่ีเก็บทุกแห่ง จะต้องรักษาความสะอาดอย่าให้มีส่ิงสกปรก

และรกรุงรัง
10.2 วัสดุสิง่ ของตา่ ง ๆ ควรจดั ใหเ้ ปน็ ระเบียบบนชั้น ลัง หรือท่ีเก็บซึ่งได้กาหนดไว้โดยเฉพาะ

ไม่ควรปล่อยไวใ้ ห้กระจัดกระจายอยทู่ ่ัวไป
10.3 วัสดุสิ่งของท่ีวางช้อนกันเป็นกอง ควรจะจัดให้เป็นระเบียบเรียบร้อยบนพื้นที่ม่ันคง

แขง็ แรง
10.4 การจัดช้ันวางของ ลัง หรือกองวัสดุส่ิงของต่าง ๆ ให้เว้นท่ีว่างไว้เพ่ือเป็นทางเดิน

เพ่อื ให้การปฏิบตั ิงานการหยบิ ยกสง่ิ ของง่ายและปลอดภยั
10.5 อย่าให้วัสดุส่ิงของหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ย่ืนออกมานอกชั้น ลัง หรือกองวัสดุเป็นการ

กดี ขวางทางเดนิ
10.6 วัสดุที่แหลมหรือคมจะต้องมีที่ใส่และปกปิดให้มิดชิด เพ่ือป้องกันอันตรายอันอาจ

จะเกิดข้ึนแก่พนกั งาน
10.7 วัสดุที่ครอบด้วยแก้ว หรือมีส่วนหนึ่งส่วนใดทาด้วยแก้ว และวัตถุอ่ืนใดท่ีแตกง่าย

ควรเก็บไว้ในกล่องกระดาษแข็ง ที่สามารถป้องกันวัสดุนั้น ๆ ได้และมีคาเตือนหรือเครื่องหมายให้ “ระวังของ
แตก” ไวท้ ีก่ ล่องด้วย

10.8 การจัดวางวสั ดุอปุ กรณใ์ ด ๆ จะต้องไม่กีดขวางหรือกาบังสายตาของผู้ขับขี่ยานพาหนะ
ที่จาเป็นต้องผา่ นมาบรเิ วณนัน้

10.9 วัตถุหรือสารเคมีต่าง ๆ ที่เป็นอันตรายจะต้องจัดเก็บแยกไว้ในสถานท่ีที่ปลอดภัยและ
จะต้องปฏบิ ัติตามคาแนะนาทก่ี าหนดไว้

-13-
บทท่ี 3...

-14-

1. มาตรฐานยานพาหนะ
1.1 สภาพของยานพาหนะจะต้องอยู่ในสภาพท่ีสมบูรณ์ก่อนนาออกใช้งานทุกครั้ง ทั้งน้ี

จะต้องมีการตรวจสภาพของยานพาหนะให้ละเอียด โดยเฉพาะอย่างย่ิงระบบห้ามล้อ ยาง พวงมาลัย แตร
โคมไฟทุกดวง กระจกเงามองหลังตลอดจนเช็ดกระจกรถให้ใสหมดทุกด้าน และตรวจว่ารถมีเช้ือเพลิง
น้ามนั เครื่อง นา้ มันเบรก นา้ มนั คลัทซ์ นา้ และนา้ กลนั่ ในแบตเตอรี่ อยา่ งเพียงพอ

1.2 ผู้ปฏบิ ตั งิ านต้องไมใ่ ช้ยานพาหนะทอี่ ยูใ่ นสภาพชารุดหรือไม่ปลอดภัยและจะต้องรายงาน
สภาพเหลา่ น้ันให้ผู้บังคบั บัญชาทราบทนั ที

2. มาตรฐานการใชย้ านพาหนะเพอื่ ความปลอดภัย
2.1 ผปู้ ฏิบตั งิ านทท่ี าหน้าทขี่ บั ข่ยี านพาหนะในการทางาน ต้องมใี บขบั ขถี่ กู ตอ้ งตามกฎหมาย
2.2 ห้ามผู้ปฏิบัติงานคนหนึ่งคนใดขับขี่ยานพาหนะ เว้นแต่จะมีหน้าท่ีหรือได้รับคาส่ังจาก

ผบู้ ังคับบัญชา
2.3 ในการขับรถผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องรักษากฎจราจร และเช่ือฟังเจ้าหน้าท่ีตารวจจราจร

อยา่ งเคร่งครัด
2.4 หา้ มขบั รถด้วยอตั ราความเรว็ เกินกวา่ ท่ีกฎหมายกาหนดไว้
2.5 อย่าขับรถเร็วบริเวณทางโค้ง หรือถนนท่ีมีโคลนเปรอะเปื้อน เม่ือเกิดฝนตกลงมาเพียง

เล็กน้อย หรือถนนท่ีมีฝุ่นทรายหรือน้ามันไหลนองอยู่ให้ใช้เกียร์ต่าช่วยอย่าเบรกรถโดยกะทันหันเป็นอันขาด
เพราะจะทาให้รถพลกิ คว่าไดใ้ หร้ ถเคลือ่ นท่ี หรอื ถ้ามขี อบทางสงู ให้หันลอ้ เขา้ หาของทาง

2.6 กอ่ นออกรถ ต้องตรวจดูใหแ้ น่ใจว่า ไดป้ ลดหา้ มล้อมือเรยี บร้อยแลว้
2.7 การเบรกทกุ ครัง้ ให้เหยยี บเบรกอย่างนุ่มนวล อย่าเบรกแบบกะทันหัน
2.8 ขณะขับรถลงที่ลาดชัน หรือลงจากเขาให้ใช้เกียร์ต่า อย่าปลดเกียร์ว่างให้รถไหลลงมาเอง
เปน็ อันขาด
2.9 เมื่อขับรถไปในเวลาท่ีมีอากาศขมุกขมัวหรือใกล้ค่า ให้เปิดไฟหร่ีหน้ารถทันที และถ้าหาก
พบว่าด้านหลังรถเป็นเมฆฝนดาทะมนึ ให้ทาการเปิดไฟใหญ่หน้ารถทันที เพ่ือให้รถที่สวนมามีโอกาสมองเห็นรถ
ไดช้ ัดเจนยิง่ ขึน้
2.10 ไม่ควรปล่อยรถทิ้งไว้ทั้ง ๆ ที่รถยังเดินเครื่องอยู่และไม่เดินเครื่องในที่อับหรือ คับแคบ
ซ่งึ อาจทาใหก้ ๊าซพษิ จากทอ่ ไอเสยี เพ่ิมมากข้นึ จนอาจเปน็ อันตรายได้
2.11 ผ้ปู ฏิบตั ิงานต้องขับขี่ยานพาหนะอย่างสุภาพและมคี วามเห็นอกเห็นใจใชร้ ถอื่น ๆ เสมอ
2.12 ก่อนเคลื่อนรถเดินหน้าหรือถอยหลัง ผู้ขับขี่ต้องแน่ใจว่าไม่มีคนหรือสิ่งของขวางทาง
ท้ังหน้าและหลัง หรือใตท้ อ้ งรถ
2.13 ผู้ขบั ขี่ตอ้ งไมอ่ อกรถจนกวา่ ผโู้ ดยสารทกุ คนอยู่ในที่ๆ ปลอดภัยแล้ว
2.14 รถที่ใช้แรงดนั ลมในระบบหา้ มล้อตอ้ งตรวจสอบแรงดนั ให้ได้ตามท่ี กาหนดเสียกอ่ น

2.15 ขณะขับรถ...

-15-
2.15 ขณะขับรถตามรถคันหน้าให้รักษาระยะห่างระหว่างรถไว้ คือหนึ่งช่วงคันรถ
ตอ่ ความเร็ว 20 กม./ชม. เพ่อื จะไดห้ ยุดรถได้โดยปลอดภัยหากรถท่ีแล่นอยู่ข้างหน้าหยดุ รถโดยกะทนั หัน
2.16 การขับขี่ต้องระมัดระวังคนเดินถนนหรือยานพาหนะอ่ืนๆ ซ่ึงอาจจะเข้ามาใกล้อย่าง
กะทันหัน
2.17 ผู้ขับข่ีต้องไม่หยุด หรือลดความเร็วลงอย่างกะทันหันโดยไม่ให้สัญญาณก่อน เว้นแต่
ในกรณฉี ุกเฉินซ่งึ ไม่อาจทาเชน่ นน้ั ได้
2.18 ต้องไม่เล้ียวรถจากทางตรงไปทางซ้ายหรือขวา หรือย้ายจากช่องจราจรหน่ึงไปยัง
ชอ่ งจราจรหนง่ึ จนกวา่ จะเห็นวา่ กระทาไดด้ ้วยความปลอดภัยและหลงั จากทไี่ ด้ใหส้ ญั ญาณอยา่ งถูกต้อง
2.19 เม่ือแล่นผ่านรถคันอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง รถโรงเรียน และ รถประจาทางซ่ึงจอด
ให้ผโู้ ดยสารข้นึ ลง ตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษ
2.20 ในกรณีท่ีมีความจาเป็นจะต้องขับรถภายใต้สภาพอากาศหรือสิ่งแวดล้อมที่ผิดปกติ
เช่น ควันไฟ หมอกลงจัด บนถนนมืด ผขู้ บั ขี่ต้องเพ่ิมความระมดั ระวงั เปน็ พิเศษ
2.21 ผ้ขู ับขต่ี อ้ งปฏิบตั ิตามกฎข้อบงั คบั ในการจอดรถตามกฎจราจรโดยค่อย ๆ แล่นเข้าเทียบ
ขอบถนนทลี ะน้อย และให้สัญญาณอย่างถูกต้อง
2.22 เม่ือจาเป็นต้องหยุดรถบนทางลาด ทางชัน หรือสภาพที่ที่รถอาจเคล่ือนท่ีได้ ต้องใช้
ขอนไมห้ รือวสั ดุอ่นื ทเ่ี หมาะสมขวางลอ้ ไว้ และใหใ้ ช้ห้ามล้อมือช่วยเพอ่ื กันมิ

บทท่ี 4...

-16-

1. การปอ้ งกนั อัคคภี ยั
1.1 การปอ้ งกันอคั คภี ัย เป็นหนา้ ท่ีของผปู้ ฏิบัตงิ านทกุ คน
1.2 ผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่เก่ียวข้องกับการป้องกันระงับอัคคีภัย จะต้องปฏิบัติหน้าท่ีเก่ียวกับ

การป้องกนั อคั คภี ยั อย่างเครง่ ครดั
1.3 สถานที่ทางาน สถานท่ีเก็บวัสดุ อุปกรณ์ ต้องดูแลความสะอาดเรียบร้อย และจัดให้

เปน็ ระเบียบ
1.4 หา้ มสบู บุหรี่ หรอื ทาใหเ้ กิดประกายไฟในบริเวณที่อาจกอ่ ให้เกดิ อคั คีภัยได้
1.5 ห้ามทิ้งก้นบุหร่ี หรือวัตถุท่ีมีความร้อนลงในตะกร้า ถังขยะ หรือส่ิงรองรับอ่ืน ๆ

ทอี่ าจก่อให้เกิดอัคคภี ยั ต้องทิง้ วัสดุดังกลา่ วในภาชนะหรือส่งิ รองรบั ทจี่ ดั ไว้ใหเ้ ฉพาะ
1.6 อาคาร สถานที่ต่าง ๆ ต้องจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงที่มีชนิดและขนาดที่เหมาะสมกับ

อัคคภี ยั ท่ี
1.7 อาคาร สถานท่ีต่าง ๆ ต้องจัดให้มีทางเดินและทางหนีท่ีปลอดภัยและต้องไม่มี

สง่ิ กดี ขวาง พร้อมทงั้ เครอื่ งหมายแสดงท่มี องเห็นไดช้ ัดเจน
2. เครื่องดับเพลิงแบบต่าง ๆ ทจ่ี ะพึงใชก้ ับอคั คภี ยั แตล่ ะประเภท
2.1 สัญลักษณ์ของถังดับเพลิงแบ่งตามประเภทของไฟ ตามข้อกาหนดมาตรฐานสากล

(มาตรฐาน NFPA 10) ออกเป็น 5 ประเภท ซึ่งสัญลักษณ์ของถังดับเพลิงจะระบุประเภทของเคร่ืองดับเพลิง
ไวบ้ นตวั ถังเครื่องอยา่ งชดั เจนเป็นตวั อกั ษร A B C D และ K ดงั น้ี

ไฟประเภท A

- สัญลักษณต์ ัวอักษร A อยู่ในรปู สามเหลย่ี มด้านเทา่ พ้ืนสเี ขยี ว ตัวอักษร สีดา
- สัญลักษณ์ทีเ่ ป็นรปู ภาพ จะเป็นรปู ถังขยะ และท่อนไมท้ ่ีติดไฟ
- เปน็ ไฟท่ีเกดิ จากเช้ือเพลงิ ไม้ กระดาษ ผา้ ยาง และ พลาสติก
- เคร่ืองดบั เพลิงท่ีเหมาะสาหรบั ใช้ในการดับไฟ คือ เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้าสะสมแรงดัน
เครอื่ งดบั เพลงิ ชนดิ โฟมสะสมแรงดนั เครือ่ งดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ABC เคร่ืองดับเพลิงชนิดก๊าซเหลวระเหย
ท่ไี มท่ าลายมลภาวะ

ไฟประเภท B…

-17-

ไฟประเภท B

- สญั ลักษณ์ ตัวอักษร B อย่ใู นรูปสเ่ี หล่ยี มด้านเทา่ พน้ื สีแดง ตัวอักษรสดี า
- สัญลกั ษณท์ เ่ี ป็นรปู ภาพ จะเป็นรปู ถงั ใส่นา้ มัน ท่ีติดไฟ
- เปน็ ไฟท่เี กิดจากเชื้อเพลิงเหลวตดิ ไฟ เชน่ น้ามันเบนซนิ นา้ มันดีเซล สี สารละลาย
- เคร่ืองดับเพลิงท่ีเหมาะสาหรับใช้ดับไฟ คือ เครื่องดับเพลิงชนิดโฟมสะสมแรงดัน
เคร่ืองดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ABC เคร่ืองดับเพลิงชนิดคาร์บอนไดออกไซด์เครื่องดับเพลิงชนิดก๊าซเหลว
ระเหยท่ไี ม่ทาลายมลภาวะ
ไฟประเภท C

- สัญลักษณ์ ตวั อักษร C อยใู่ นรูปวงกลม พ้นื สีฟา้ ตัวอกั ษรสีดา
- สญั ลักษณท์ ่ีเป็นรูปภาพ จะเป็นรูป ปลั๊กไฟทีล่ กุ ตดิ ไฟ
- เป็นไฟทเ่ี กดิ จากเช้อื เพลิงทมี่ ีกระแสไฟฟ้า
- เคร่ืองดับเพลิงที่เหมาะสาหรับดับไฟ คือ เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ABC
เคร่ืองดบั เพลงิ ชนิดก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ เครอื่ งดบั เพลิงชนดิ กา๊ ซเหลวระเหยท่ไี มท่ าลายมลภาวะ

ไฟประเภท D...

-18-

ไฟประเภท D

- สญั ลักษณ์ ตัวอกั ษร D อยู่ในรปู ดาวห้าแฉก พืน้ สีเหลือง ตัวอกั ษรสดี า
- สัญลกั ษณท์ เ่ี ป็นรูปภาพ จะเป็นรปู เฟืองโลหะตดิ ไฟ
- เป็นไฟทเ่ี กดิ จากเชือ้ เพลงิ ทเี่ ป็น โลหะลกุ ติดไฟ
- เครอ่ื งดบั เพลิงทีเ่ หมาะสาหรบั ดบั ไฟ คอื เครือ่ งดับเพลิงชนดิ ผงเคมี โซเดยี มครอไรด์
ไฟประเภท K

- สญั ลกั ษณ์ ตัวอักษร K อยู่ในรูปหกเหลย่ี มดา้ นเทา่ พ้ืนสีดา ตัวอกั ษรสีขาว
- สัญลักษณท์ เี่ ป็นรูปภาพ จะเป็นรูป กระทะ ทาอาหารท่ีลกุ ตดิ ไฟ
- เปน็ ไฟทีเ่ กดิ จากเชอ้ื เพลิงนา้ มนั ทาอาหาร น้ามนั พืช น้ามันจากสตั ว์ ไขมัน
- เครื่องดบั เพลิงทีเ่ หมาะสาหรับดบั ไฟ คือ เครอ่ื งดบั เพลิงชนดิ นา้ ผสมสารโปตสั เซี่ยมอะซเิ ตท

2.2 เครอื่ งดับ…

-19-
2.2 เครือ่ งดับเพลิงแบบมอื ถอื

เคร่ืองดับเพลิงแบบมือถือ หรือ ถังดับเพลิง ปัจจุบันถูกผลิตข้ึนมาหลากหลายประเภท
มากยง่ิ ข้ึน ซงึ่ ในแตล่ ะประเภทกม็ ีหน้าทใ่ี นการนาไปใชง้ านท่แี ตกต่างกนั ออกไป ไดแ้ ก่

2.2.1 ถังดบั เพลงิ แดง
- ชนิดผงเคมีแห้งถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง บรรจุถังสีแดง ภายในบรรจุผงเคมี

แหง้ และกา๊ ซไนโตรเจน ลักษณะน้ายาที่ฉีดออกมาเป็นฝุ่นละอองสามารถดับเพลิงไหม้ทุกชนิดได้อย่างรวดเร็ว
และมีประสทิ ธิภาพสงู เช่น เพลงิ ไหม้ท่ีเกิดจากไม้ กระดาษ ส่ิงทอ ยาง น้ามัน แก๊ส และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ
ไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อมนุษยแ์ ละส่งิ มีชวี ิตทกุ ประเภท

ใช้ดับไฟได้ดีคือ ไฟประเภท B ผงเคมีไม่เป็นส่ือไฟฟ้า สามารถดับไฟประเภท C
ได้ (แตอ่ ปุ กรณไ์ ฟฟา้ อาจเสียหาย) การดับไฟประเภท A ตอ้ งมีความชานาญและควรใช้น้าดับถา่ น

2.1.2 ถังดับเพลิงท่ีบรรจุแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ไว้ภายในใช้ในการดับเพลิง
ท่ีเกิดขึ้นภายในตัวอาคารน้ายาดับเพลิง เป็นน้าแข็งแห้ง ที่บรรจุไว้ในถังที่ทนแรงดันสูง ประมาณ 1800 PSI
ต่อตารางน้ิว ท่ีปลายสายฉีด จะมีลักษณะเป็นกระบอกหรือกรวย เวลาฉีด ลักษณะน้ายาที่ออกมา จะเป็นหมอก
หิมะ ท่ีไล่ความร้อน และออกซิเจน เหมาะสาหรับใช้ภายในอาคาร คือ ไฟท่ีเกิดจากแก๊ส น้ามัน และไฟฟ้า
เคร่ืองดับเพลิงชนิด Co2 มีหลายขนาดให้เลือกใช้ ได้ตามความต้องการ ต้ังแต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์ และ 15
ปอนด์ ใชด้ ับไฟประเภท C และ B

2.1.3 ถังดับ...

-20-
2.1.3 ถังดับเพลิงสีเหลือง มีลักษณะเป็นถังดับเพลิงชนิดน้ายาเหลวระเหย บีซีเอฟ
ฮาล่อน 1211 ใช้ดับเพลิงได้ดีโดย คุณสมบัติของสารเคมีคือ มีความเย็นจัด และมีประสิทธิ ภาพ
ทาลายออกซิเจนท่ีทาให้ติดไฟเคร่ืองดับเพลิง ชนิดฮาลอน เหมาะสาหรับใช้กับสถานที่ ที่ใช้อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสารในอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ เรือ เคร่ืองบิน และรถถัง น้ายาชนิดนี้ไม่ท้ิง
คราบสกปรก หลังการดับเพลิงและสามารถใช้ได้หลายคร้ัง ข้อเสียของน้ายาดับเพลิงชนิดนี้คือ มีสาร CFC
ท่ีส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เคร่ืองดับเพลิงฮาล่อน 1211 มีหลายขนาดให้ท่านเลือกใช้ได้ตามความ
ตอ้ งการ ตัง้ แต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์และ 15 ปอนด์

2.1.4 ถังดับเพลิงสีฟ้า ถังดับเพลิงชนิด HCFC-123 เป็นสารดับเพลิงท่ีใช้ทดแทนสาร
ฮาลอน 1211 ไม่ทาลายชั้นโอโซนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถใช้กับ ไฟชนิด A B และ C ลักษณะ
การฉีดออกเปน็ แก๊สเหลวระเหย น้ายาชนิดนี้ ไม่ทิ้งคราบสกปรก ไม่ทาลายสง่ิ ของเครอ่ื งใช้

2.1.5 ถังดบั ...

-21-
2.1.5 ถงั ดับเพลงิ สีเขียว เป็นถังดับเพลิงชนิด BF 2000 บรรจุน้ายาเป็นสารเหลวระเหย
ชนดิ BF 2000 (FE 36) ไดร้ บั การยอมรับวา่ ไม่สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม สามารถใช้ได้กับไฟชนิด A B และC
BF 2000 (FE 36) ไม่แสดงปฏิกิริยากับวัสดุก่อสร้างโดยทั่วไป เช่น อลูมินั่มสตีล ทองแดง ในระดับอุณหภูมิ
ปกติ

2.1.6 ถังดบั เพลิงชนิดโฟม (Foam) บรรจุน้าผสมโฟมเข้มข้น เม่ือผสมกับอากาศจะเป็น
ฟองโฟม เม่ือฉีดออกมาจะเป็นน้ายาฟองโฟมสีขาว ปกคลุมผิวหน้าของเช้ือเพลิง ทาให้เชื้อเพลิงขาดอากาศ
มาทาปฏกิ ริ ิยาจึงไม่สามารถลุกไหม้ต่อไปได้ประสิทธิภาพ สามารถดับไฟท่ีเกิดจากน้ามันพืชลุกไหม้ในกระทะ
ของห้องครัวโดยเฉพาะและยังใช้ดับไฟท่ีเกิดจากไม้ กระดาษ ผ้า พลาสติก และสารไวไฟทุกชนิด ห้ามนาถัง
ดบั เพลิงชนดิ นา้ ยาโฟมไปดับไฟ ประเภท C ซงึ่ ได้แก่ วัตถุเชื้อเพลิงที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า เช่น กรณีเกิดไฟฟ้า
ลัดวงจร โดยเด็ดขาด เน่ืองจากถังดับเพลิงชนิดน้ายาโฟมมีน้าเป็นส่วนผสม น้าเป็นส่ือไฟฟ้า อาจจะทาให้เกิด
ไฟฟา้ ชอ๊ ตได้

2.3 วิธีใช้งาน...

-22-

2.3 วิธีใช้งานเครื่องดับเพลิง หันหน้าเข้าหากองไฟ และยืนห่างจากไฟประมาณ 6 - 8 ฟุต
และทาตามขั้นตอน ดังน้ี

2.3.1. ดงึ - จดั วางเครื่องดบั เพลิงให้ฉลากหนั หน้าเข้าหาลาตัวในด้านท่ีผู้ใช้ถนัด จากนั้น
ใช้นิ้วหวั แมม่ อื แตะที่คันบบี ดา้ นบน โดยที่นิ้วท้ังสี่ที่เหลือจับใต้คันบีบด้านล่าง หิ้วเครื่องดับเพลิงไปยังตาแหน่ง
ของกองเพลิงโดยยืนห่างจากกองเพลิงประมาณ 3 - 4 เมตร โดยเข้าทางเหนือทิศทางลมจากนั้นจึงทาการ
ดงึ สลักนิรภยั ออก

2.3.2. ปลด - ปลดปลายสายออกจากตัวถัง เล็งไปยังบริเวณฐานเช้ือเพลิง โดยจับปลาย
สายใหแ้ นน่ อยา่ ใหห้ ลุดมือ

2.3.3. กด - เล็งสายที่กองเพลิงและกดคันบีบ ควรกดให้สุดคันบีบเพื่อให้เคมีออกมา
ไดอ้ ยา่ งเตม็ ทีแ่ ละตอ่ เนอื่ ง

2.3.4. ส่าย - ส่ายปลายสายไปมา เพื่อให้ผงเคมีครอบคลุมทั่วกองเพลิงย่อตัวลงเล็กน้อย
เพื่อหลบควันไฟและความร้อน ฉีดจากใกล้ไปไกลและควรเข้าสู่เป้าหมายด้วยความระมัดระวัง เม่ือแน่ใจว่า
ไฟดบั สนทิ แลว้ จงึ ถอยออกจากจดุ เกดิ เหตุ

ข้อควรระวงั อยา่ ฉดี ที่เปลวไฟ ใหฉ้ ีดทฐ่ี านของเพลิงไฟ

2.4 ความรับผิดชอบและการบารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ดบั เพลิง
2.4.1. ต้องกาหนดผู้รับผิดชอบในการติดต้ัง เก็บรักษา ตรวจ และทดสอบอุปกรณ์

ดับเพลงิ ตามระยะเวลาท่ีกาหนด อีกทั้งจัดทาแบบฟอร์มกากับอุปกรณ์ดังกล่าวเพื่อการตรวจสอบตลอดเวลา
การใช้งาน

2.4.2. อุปกรณ์ดับเพลิงทุกเครื่องทุกชนิด ต้องจัดให้มีใบกากับวิธีการใช้ ประเภทชนิด
สาหรบั การใชง้ านไว้ทุกเคร่อื ง

2.4.3. อุปกรณ์ดับเพลิงทุกชนิดจะต้องได้รับการเก็บรักษาให้อยู่ในสถานท่ีพร้อม
จะปฏิบตั กิ ารได้ และนามาใชไ้ ดท้ กุ เวลาที่ตอ้ งการ

2.4.4. ห้ามนาอุปกรณ์ดับเพลิงทุกชนิดไปใช้เพ่ือการอย่างอ่ืน นอกจากนาไปซ่อมแซม
เปล่ยี นแปลงหรือทดสอบเพยี งชั่วระยะเวลาสัน้ เท่าน้นั

2.4.5. เคร่ืองดับเพลิงแบบท่ีใช้กรดโซดาและแบบฉีดเป็นฟอง ควรบรรจุใหม่ทุกปี
ต้องตรวจสอบปลี ะหลาย ๆ ครั้ง และเมอ่ื ใชแ้ ลว้ ตอ้ งบรรจุใหม่ทนั ที

2.4.6. กระบอกบรรจุความดัน (Pressure cartridge) ในเครื่องดับเพลิงแบบใช้เคมีแห้ง
ตอ้ งตรวจดูเข็มระบคุ วามดัน หรือช่ังน้าหนักอย่างน้อยหกเดือนต่อคร้ังหากเข็มระบุความดันต่ากว่าระดับปกติ
หรือน้าหนกั ลดลงต่ากวา่ อัตราท่ีกาหนดไว้ท่ีป้ายข้างเครื่องดับเพลิง จะต้องเปลี่ยนกระบอกบรรจุความดันใหม่
และเมื่อใชแ้ ลว้ จะต้องบรรจุใหมท่ ันที

2.4.7. ใหต้ รวจดเู ครอื่ งดบั เพลิงแบบทีใ่ ช้กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ทุก ๆเดือน ถ้าเข็มระบุ
ความดันหรือน้าหนักลดลงต่ากว่า 10% ของน้าหนักบรรจุท่ีระบุไว้ท่ีเคร่ืองดับเพลิง จาเป็นจะต้องบรรจุใหม่
ทนั ที

2.4.8. ให้ตรวจสอบ…

-23-

2.4.8. ให้ตรวจสอบเคร่ืองดับเพลิงแบบท่ีใช้ของเหลวระเหยง่าย (Vaporizing Liquid)

ปีละหลาย ๆ ครั้ง และให้ทดสอบการใช้อย่างน้อยปีละคร้ังเครื่องดับเพลิงแบบน้ีจะต้องบรรจุให้เต็มเสมอ
และควรใช้น้ายาพิเศษเฉพาะเครื่องดับเพลิง ซ่ึงผู้ผลิตแนะนาให้ใช้เท่าน้ัน น้า หรือของเหลวอย่างอื่นจะทา
ให้เคร่ืองผุง่าย

2.4.9. เคร่ืองดับเพลิงที่มีน้ายาดับเพลิงหรือสารเคมีบรรจุอยู่ภายในทุกชนิดเม่ือ
มกี ารใช้งาน หรือทดสอบอยา่ งใด ๆ เพยี งเล็กนอ้ ยหรือทัง้ หมดให้ทาการตรวจสอบและบรรจใุ หม่ทุกครง้ั

3. หวั ฉดี ดับเพลงิ ใกล้กับเคร่ืองอุปกรณ์ไฟฟา้ หรอื สายไฟฟ้าท่ีมกี ระแสไฟฟา้
เม่ือมีความจาเป็นที่จะใช้น้าดับเพลิงซ่ึงเกิดขึ้นใกล้กับเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือสายไฟฟ้า

ทยี่ งั มกี ระแสไฟฟ้าอย่ใู นสถานท่ขี องสานักงานให้ผปู้ ฏิบตั ิงาน ปฏบิ ัตดิ ังนี้
1. ให้ใช้แต่นา้ จืด หรือเครื่องดับเพลิงแบบใชก้ รดโซดาเทา่ นั้น
2. ความดนั ของน้าในท่อฉีดไมค่ วรนอ้ ยกวา่ 100 ปอนด์ตอ่ 1 ตารางนว้ิ

3. จะต้องไม่นาหัวฉีดเข้าไปใกล้เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือสายไฟฟ้าน้อยกว่าระยะกาหนด
ตอ่ ไปนี้

หวั ฉีดแบบฉดี นา้ ออกมาเป็นลา (น้าจืด)

หัวฉีดขนาด 1 1/8 นวิ้ หัวฉีดขนาด 1 1/2 น้วิ

แรงดนั ไฟฟ้า ระยะปลอดภัย แรงดนั ไฟฟ้า ระยะปลอดภยั

600 โวลต์ 3 ฟุต 600 โวลต์ 4 ฟุต

3.5 กโิ ลโวลต์ 15 ฟุต 3.5 กิโลโวลต์ 22 ฟุต

12 กิโลโวลต์ 25 ฟตุ 12 กิโลโวลต์ 30 ฟตุ

33 กโิ ลโวลต์ 30 ฟุต 33 กิโลโวลต์ 40 ฟุต

บทที่ 5…

-24-

1. การรกั ษาความปลอดภัย ปอ้ งกนั และบรรเทาอุบัตภิ ัยในแหล่งท่องเทย่ี ว
1.1 ให้สารวจจุดเสี่ยงอันตรายของแหล่งท่องเที่ยว วางแผนกาหนดมาตรการป้องกันและ

การกภู้ ัยในพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบ
1.2 ให้สารวจ ซ่อมแซมวัสดุ อุปกรณ์ และยานพาหนะ เพื่อดูแลความปลอดภัยต่าง ๆ ให้พร้อม

ใช้งาน และจัดเตรียมไว้ในท่ีที่สามารถนาออกมาใช้ในยามฉุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว เช่น จัดเตรียมน้ามันเพลิง
สาหรับยานพาหนะให้เพียงพอ จัดเก็บเส้ือชูชีพ ห่วงชูชีพ เชือก ในที่ท่ีสามารถนาไปใช้ได้สะดวก รวดเร็ว
และติดตั้งป้าย/ทุ่น/ธงสี เพื่อการเตือนภัยเสริมในเร่ืองข้อควรระวัง เช่น เขตห้ามเล่นน้า เขตท่ีลึกน้าวน
หน้าผาชัน หินลน่ื เป็นต้น

1.3 กาหนดบรเิ วณการทากจิ กรรมนนั ทนาการต่าง ๆ อยา่ งชดั เจน เช่น บริเวณสาหรับว่ายน้า
ล่องแก่ง ล่องแพ พายเรือแคนนู เป็นต้น เพ่ือการรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว โดยจัดให้มีอุปกรณ์
เพอื่ การรักษาความปลอดภยั ในการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหพ้ ร้อม และต้องจัดใหม้ ีเจ้าหนา้ ทเ่ี ฝ้าระวัง และควบคุม
ดูแลเขม้ งวดทุกกจิ กรรมให้ใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกันเพอ่ื รักษาความปลอดภัยแกน่ ักทอ่ งเทย่ี ว

1.4 ลงทะเบียนข้อมูลนักท่องเที่ยวท่ีประสงค์จะประกอบกิจกรรมท่องเที่ยวที่มีความเส่ียง
เชน่ เดินปา่ ระยะไกล จกั รยานเสอื ภเู ขา ล่องแกง่ ปนี หนา้ ผา

1.5 ให้จัดผู้ปฏิบัติงานดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และเวรยามตรวจตรา
ในพน้ื ทบี่ ริการการทอ่ งเทย่ี วตลอด 24 ชั่วโมง

1.6 จัดผ้ปู ฏิบัตงิ านอานวยความสะดวก นาทางทอ่ งเทย่ี ว กรณีการท่องเที่ยวในพ้ืนท่ีล่อแหลม
ต่อการเส่ียงภัย หลงปา่

1.7 จัดให้มีสถานท่ีเพ่ือการปฐมพยาบาลในเบื้องต้นและประสานงานให้สถานพยาบาล
ท่ีอยู่ใกล้เคียงพร้อมท่ีจะให้การช่วยเหลือในการรับและส่งต่อผู้ป่วยโดยประสานขอความช่วยเหลือ
ตามระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ โทร. 1669

1.8 ให้จัดสภาพภูมิทัศน์ให้สะอาดปลอดภัย ส่ิงปลูกสร้างต่าง ๆ ท่ีจัดไว้ เช่น ม้าน่ัง
ทางเดิน ระเบยี ง ท่นี ่งั พงิ ตอ้ งมคี วามแข็งแรง ไมห่ กั พัง หรืออาจเปน็ อนั ตรายตอ่ นักท่องเท่ียว

1.9 จัดสถานที่ให้เหมาะสม เป็นระเบียบ ตบแต่งก่ิงไม้ บริเวณท่ีนักท่องเท่ียวใช้ประโยชน์
ต่าง ๆ เช่น ลานจอดรถ ลานกางเต็นท์ บ้านพักนักท่องเที่ยว ไม่ให้มีอันตรายจากการหักโค่นของกิ่งไม้
ตน้ ไม้ ฯลฯ

1.10 จดั ทาป้ายเตอื น ขอ้ แนะนาหรอื ข้อควรปฏิบัตกิ บั สัตว์ปา่ ที่เป็นอันตรายตอ่ นักทอ่ งเทยี่ ว
1.11 จุดเสี่ยงภัยต่าง ๆ หน้าผาชมทิวทัศน์ หน้าผาน้าตก น้าลึก น้าวน เป็นต้น ควรมีป้าย-
เตือนท่ชี ัดเจนและมผี ู้ปฏิบัติงานประจา โดยแต่งเครอื่ งแบบให้เห็นได้ชัด

1.12 ห้าม...

-25-

1.12 หา้ มนกั ทอ่ งเท่ียวประกอบกจิ กรรมทางน้า ในบริเวณทีไ่ มไ่ ด้กาหนดไว้
1.13 ในพ้ืนทที่ ่ีมีกจิ กรรมนันทนาการ ท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดอันตรายได้ง่าย เช่น กิจกรรม
ล่องแก่ง ควรมีอปุ กรณม์ าตรฐานและผมู้ ีความชานาญการนาในการลอ่ งแก่ง เปน็ ต้น
1.14 ตรวจตราผู้ประกอบกิจกรรมท่องเที่ยวให้ปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีได้รับอนุญาต (ถ้ามี)
โดยเฉพาะเง่ือนไขด้านการรักษาความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว อุปกรณ์ในการช่วยเหลือนักท่องเท่ียว
เช่น เสอื้ ชชู ีพ แพยาง ห่วงยาง ต้องมเี พยี งพอ
1.15 เม่ือเกิดอุบัติภัยให้รายงานเหตุการณ์ให้องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ทราบทางโทรศัพท์
ในเบื้องต้นทนั ทแี ละให้รายงานเป็นลายลักษณอ์ กั ษรในโอกาสต่อไป
2. การจัดการด้านความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ินในสถานท่ีท่องเทีย่ ว
2.1 ดา้ นการปอ้ งกันและเฝ้าระวงั
2.1.1 จัดให้มีผู้ปฏิบัติงานตรวจตราบริเวณด่านตรวจเพื่ออานวยความสะดวก โดยเฉพาะ
ยามวิกาล
2.1.2 ฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานให้มีความพร้อมในการตรวจค้นและจับกุม การกระทาผิด
ตามกฎหมาย ที่เก่ียวข้อง จัดทาแผนด้านความปลอดภัย และฝึกซ้อมการปฏิบัติในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับ
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
2.1.3 ติดตามข่าวสารรูปแบบการกระทาผิดที่เก่ียวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
สนิ เพือ่ หาทางป้องกัน
2.1.4 หากสามารถทาได้ ให้ตดิ ตงั้ กล้องวงจรปดิ บริเวณดา่ นเขา้ - ออก และพื้นท่ี ซึ่งนักท่อง
เที่ยวใช้ประโยชน์จานวนมาก เช่น ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว และลานจอดรถ รวมถึงจัดให้มีผู้ปฏิบัติงานเฝ้า
ระวงั ติดตามภาพจากกล้องวงจรปดิ
2.1.5 ปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมใหส้ ะดวกในการดูแลความปลอดภยั เช่น ตัดหญ้าไม่ให้ รกทบึ
การเพิม่ แสงสวา่ งบริเวณทจี่ าเปน็ เชน่ บริเวณลาดจอดรถ ลานกางเตน็ ท์ บ้านพกั นักท่องเทย่ี ว เป็นตน้
2.1.6 การติดต้ังป้ายเตือนด้านความปลอดภัย แผนท่ีท่ีแสดงอาคารต่าง ๆ และจุดสาคัญ
โดยเฉพาะบริเวณทม่ี ีผู้ปฏบิ ัติงานอยปู่ ระจา
2.1.7 กาหนดเวลาเขา้ - ออก บา้ นพกั ใหเ้ หมาะสม
2.1.8 ขอความร่วมมอื ผู้ประกอบกิจการท่องเทย่ี วเปน็ เครอื ขา่ ยในการเฝ้าระวังมิให้เกิดเหตุ
2.1.9 ประชาสัมพันธ์เบอร์โทรศัพท์ท่ีจาเป็น และอุปกรณ์ส่งสัญญาณฉุกเฉิน เช่น เบอร์โทร
แจ้งเหตฉุ กุ เฉนิ ของหนว่ ยงาน สายดว่ นการแพทย์ฉกุ เฉิน 1669 สถานีตรวจทรี่ ับผดิ ชอบพ้ืนที่ เป็นต้น
2.1.10 ประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยวเก็บของมีค่าไว้กับตัว หรือบุคคลใกล้ชิด ให้ล็อคห้อง
เมื่อออกจากบ้านพกั

2.2 การแกไ้ ข...

-26-
2.2 การแก้ไขปญั หา

2.2.1 การแจ้งเหตุฉุกเฉินตามเบอร์โทรศัพท์/บุคคล/อุปกรณ์ส่งสัญญาณฉุกเฉินที่ประชา-
สัมพันธ์ไว้ เมื่อผู้ปฏิบัติงานได้รับแจ้งเหตุจะต้องดาเนินการโดยทันที เพื่อไม่ให้เหตุการณ์ลุกลามหรือยาก
ตอ่ การแก้ไข

2.2.2 หากเหตุการณ์เกนิ ความสามารถของผ้ปู ฏิบัตงิ านให้ประสานหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง
2.2.3 ประสานเจ้าหนา้ ที่ตารวจเพอ่ื ดาเนินการตามกฎหมาย
2.2.4 หากจาเปน็ ให้ปดิ ทางเข้า - ออกทกุ เสน้ ทาง ปอ้ งกนั การหลบหนีของผ้กู ระทาความผดิ
2.2.5 ทาการตรวจค้นบุคคล/ยานพาหนะต้องสงสัยบริเวณด่านตรวจ หรือภายในเขต-
สถานที่ท่องเทยี่ ว
2.2.6 รายงานผู้บงั คับบัญชาเพือ่ ทราบ

บทท่ี 6…

-27-

1. ด้านการปลกู สร้างสวนปา่
ในการปฏิบัติงานของพนักงานและคนงานด้านการปลูกสร้างสวนป่า เป็นการปฏิบัติงาน

ท่ีต้องใช้ความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงานเป็นอย่างมาก จึงต้องให้ความสาคัญด้านความปลอดภัย
ของผปู้ ฏบิ ตั งิ านในทุก ๆ ด้านและทกุ กจิ กรรม

ถางเตรียมพ้นื ท่ี
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
สภาพพ้ืนท่ีเป็นพื้นท่ีท่ีจะดาเนินการปลูกป่ามีวัชพืชหรือเศษก่ิงไม้ปลายไม้กระจัด

กระจายทีเ่ หลือจากการทาไม้ อาจมสี ภาพเป็นปา่ รกทบึ มีวัชพืชขนึ้ ปกคลุม บางพื้นท่มี ลี าหว้ ยไหลผ่าน บางพื้นท่ี
มกี ลุม่ หินโผลม่ คี วามลาดชนั สูง สตั ว์มีพษิ เปน็ ต้น

2. การปฏบิ ตั ิงานอย่างปลอดภัยทถี่ กู ต้อง
- ผปู้ ฏบิ ัตงิ านต้องแต่งกายทเี่ หมาะสมกับงาน
- เว้นระยะห่างระหวา่ งผูป้ ฏบิ ตั งิ านให้เหมาะสม
- หากพ้ืนท่มี คี วามเส่ียง ต้องใช้ความระมดั ระวังเป็นพิเศษ

การเกบ็ รบิ รวมกอง
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
สภาพพื้นท่ีเปน็ พื้นทีท่ ี่มีเศษไม้กระจดั กระจายจากการถางป่าอาจมกี ารตัดทอนเศษไม้

หรือตอไมท้ ี่สูงให้เป็นทอ่ น ๆ เพ่อื ให้ง่ายตอ่ การเก็บริบรวมกอง
2. การปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภยั ท่ีถูกตอ้ ง
- ผู้ปฏบิ ตั งิ านต้องแต่งกายทีเ่ หมาะสมกับงาน
- เว้นระยะห่างระหว่างผปู้ ฏิบัติงานใหเ้ หมาะสม
- เพือ่ ปอู งกันการบาดเจ็บ ในการยกกง่ิ ไม้เศษไมต้ ้องใชค้ วามระมัดระวงั
- เพือ่ ปอู งกันกองไมล้ ้มทับ ไมค่ วรรวมกองไม้ใหม้ ขี นาดใหญจ่ นเกนิ ไป
- การใช้มีดหรือของมีคมในการตัดหรือถางต้องใช้ความระมัดระวังอย่างมากท้ังตัว

ผูป้ ฏบิ ัติงานเองและผปู้ ฏบิ ัตงิ านคนอ่นื ๆ
- ขณะตัดฟันเศษก่ิงไม้ท่ีถูกทับอยู่ เพ่ือปูองกันการดีดของไม้ต้องมีผู้ปฏิบัติงาน

คนอื่น ๆ คอยจับหรือประคองไวด้ ้วย
- หากพื้นที่มีความเสี่ยง เช่น มีสภาพเป็นหินผามีความลาดชันสูง ต้องใช้ความ

ระมัดระวังเปน็ พิเศษ

การปักหลกั ...

-28-

การปักหลักหมายแนวปลูก
1. สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สภาพพน้ื ทเ่ี ปน็ พ้ืนทีโ่ ล่ง บางพืน้ ทม่ี ลี าหว้ ยไหลผา่ นบางพ้ืนท่ีมกี ลุ่มหินโผล่ มีความ

ลาดชนั สงู เป็นตน้
2. การปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภยั ท่ถี ูกต้อง
- ผปู้ ฏิบตั ิงานตอ้ งแตง่ กายทเ่ี หมาะสมกับงาน
- เน่อื งจากหลักหมายแนวมลี กั ษณะเป็นไมไ้ ผ่ปลายแหลมมัดรวมกัน ขณะขนย้าย

ต้องระมัดระวงั เปน็ พิเศษ
- อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการตอกควรมนี า้ หนักพอดแี ละจับถนดั มือการตอกหลกั หมายแนว

ควรใชค้ วามระมัดระวัง
- หากพืน้ ท่มี คี วามเส่ียง เชน่ มสี ภาพเปน็ หินผามีความลาดชันสูงควรใช้ความระมัด

ระวงั เปน็ พเิ ศษ
การเตรยี มกล้า - เหง้า
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
สภาพพ้นื ท่ีเป็นโรงเรือนแบบเปดิ มคี วามช้ืนจากการรดน้ากล้าไม้ทาให้พื้นช้ืน อาจมีสัตว์

มพี ิษเข้าไปอาศัยอยูใ่ นโรงเรอื น อาจมีสารเคมีท่เี ปน็ อันตรายต่อผู้ปฏบิ ัติงาน
2. การปฏิบัติงานอยา่ งปลอดภยั ท่ีถกู ต้อง
- ผู้ปฏิบตั ิงานตอ้ งแต่งกายที่เหมาะสมกับงาน
- มีความรู้ ความชานาญและระมัดระวัง ในการใช้อุปกรณ์ของมีคมต่าง ๆ เช่น

กรรไกรตัดกงิ่ มีดายหญ้าเปน็ ต้น
- มหี ้องเกบ็ อปุ กรณ์รวมถงึ หอ้ งเก็บปุย๋ หรือสารเคมีต่าง ๆ ให้มดิ ชิด

การขดุ หลุมและรองกน้ หลมุ
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
เป็นพืน้ ทีท่ ี่ทาการเตรยี มพืน้ ทแ่ี ละปักหลกั หมายแนวปลูกเรียบรอ้ ยแลว้ มีแนวหลักและ

หน่อเดิมชัดเจน มีลักษณะของหน้าดินที่แตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่บางพื้นท่ีมีลาห้วยไหลผ่าน บางพ้ืน
ที่มกี ลมุ่ หินโผล่ มคี วามลาดชนั สงู เปน็ ตน้

2. การปฏิบตั ิงานอยา่ งปลอดภัยทถ่ี กู ตอ้ ง
- ผู้ปฏิบัติงานต้องแต่งกายท่ีเหมาะสมกบั งาน
- เว้นระยะหา่ งระหว่างผปู้ ฏิบตั ิงานให้เหมาะสม
- อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการขุดหลมุ ควรมีขนาดเหมาะสมกับผใู้ ช้งานและอยใู่ นสภาพที่ใช้งาน-

ไดด้ ี ไมท่ ื่อ มีความยาวของดา้ มพอดีจับถนัดมอื ไม่แตก หักหรอื บ่นิ เหมาะกับการขดุ ดนิ ในสภาพตา่ ง ๆ
- ในการใสป่ ยุ๋ รองก้นหลมุ ควรใส่ถงุ มือยางทกุ ครั้งเพอ่ื ปอู งกนั การสัมผัสกับปุ๋ยโดยตรง
- หากพ้ืนท่ีมีความเสี่ยง เช่น มีสภาพเป็นหินผา มีความลาดชันสูง ต้องใช้ความ

ระมัดระวงั เปน็ พเิ ศษ

ก า ร ป ลู ก . . .

-29-

การปลกู และปลูกซอ่ ม
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
เป็นพ้ืนที่ท่ีเตรียมไว้พร้อมสาหรับการปลูก ซ่ึงทาการปักหลักเป็นแนวขุดหลุม

ตามขนาดทส่ี วนป่ากาหนดและรองก้นหลมุ บางพน้ื ทมี่ ลี าหว้ ยไหลผ่าน บางพืน้ ทีม่ กี ลุ่มหนิ โผลม่ คี วามลาดชันสูง
เปน็ ต้น

2. การปฏิบตั ิงานอย่างปลอดภัยทีถ่ ูกตอ้ ง
- ผปู้ ฏิบัตงิ านตอ้ งแต่งกายท่ีเหมาะสมกับงาน
- การใช้อปุ กรณส์ าหรับขนกลา้ ไม้ ตอ้ งใชอ้ ุปกรณท์ ่ีเหมาะสม
- การขนยา้ ยกลา้ ไม้ ต้องมีนา้ หนักไมเ่ กินท่ีกาหนดไว้
- เนอ่ื งจากในการปลูกมีต้องใช้มีดในการกรีดถุงชากล้าเพื่อนาลงปลูกผู้ปฏิบัติงานต้อง

ใช้ความระมัดระวัง จบั ถุงดนิ ใหแ้ นน่ และไม่กรีดเขา้ หาตวั
- ควรมีอุปกรณ์สาหรับกลบดินลงหลุมปลูกไม่ควรใช้มือกลบดินเพราะอาจมีเศษวัสดุ

ทีแ่ หลมและมคี ม ท่มิ ตาหรือบาดมือได้
- หากพื้นที่มีความเสี่ยง เช่น มีสภาพเป็นหินผา มีความลาดชันสูง ต้องใช้ความ

ระมดั ระวังเป็นพเิ ศษ

การกาจดั วชั พชื
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
เปน็ พื้นทที่ ่วี ชั พชื ขนึ้ ปกคลมุ ทวั่ ทั้งพ้นื ที่ สภาพความหนาแน่นของวัชพืชขึ้นอยู่กับสภาพ

พน้ื ที่และการบารงุ ดูแลรักษาทผ่ี า่ นมา อาจมสี ตั ว์มีพิษที่เปน็ อันตรายต่อการทางาน บางพ้ืนที่มีลาห้วยไหลผ่าน
บางพนื้ ทม่ี ีกลมุ่ หินโผล่ มีความลาดชนั สูง มแี ถวสกั เดิมและสักทีป่ ลกู ใหม่ชดั เจน

2. การปฏบิ ัติงานอยา่ งปลอดภัยท่ถี กู ตอ้ ง
2.1 ผปู้ ฏิบตั ิงานต้องแต่งกายทเ่ี หมาะสมกบั งาน
2.2 เว้นระยะหา่ งระหว่างผูป้ ฏิบัตงิ านใหเ้ หมาะสม
2.3 ควรถางไปในทศิ ทางเดยี วกันจนรอบโคนต้น
2.4 เนื่องจากสภาพพนื้ ทเ่ี ป็นป่ารกทบึ ผู้ปฏิบัติงานจงึ ควรระมัดระวังหลมุ ท่อนไม้กง่ิ ไม้

ท่กี ดี ขวางในพ้นื ท่ีทีไ่ มส่ ามารถมองเห็นได้ รวมถงึ แมลงสตั ว์กดั ตอ่ ยต่าง ๆ เช่น งู แมงปอุ ง รังผึ้ง เป็นตน้
2.5 หากพ้ืนที่มีความเส่ียง เช่น มีสภาพเป็นหินผา มีความลาดชันสูง ต้องใช้ความ

ระมดั ระวังเป็นพเิ ศษ

การใสป่ ุ๋ย ...

-30-

การใส่ปุ๋ย
1. สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สภาพพ้ืนที่เป็นสวนป่าที่ปลูกเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีการถางวัชพืชพร้อมที่จะใส่ปุ๋ย

ไมม่ ีวชั พืชปกคลมุ อยใู่ นช่วงฤดูฝน พ้ืนดินมคี วามชืน้ สูง ล่นื มีน้าขัง และเป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์มีพิษบางพ้ืนท่ีมี
ลาหว้ ยไหลผ่าน บางพ้ืนท่ีมกี ลุ่มหินโผล่ มีความลาดชันสงู

2. การปฏบิ ัติงานอยา่ งปลอดภัยท่ถี ูกตอ้ ง
- ผู้ปฏบิ ัติงานต้องแตง่ กายท่ีเหมาะสมกบั งาน
- ผ้ปู ฏบิ ัติงานต้องสวมถุงมอื ยาง เพื่อปอู งกันการสมั ผัสกบั ปยุ๋ ซึ่งเป็นสารเคมีโดยตรง
- ภาชนะบรรจุปุย๋ ควรมีขนาดท่พี อดี นา้ หนกั เบา เคล่อื นท่ีไดส้ ะดวก
- หลังจากปฏิบัติงานต้องทาความสะอาดร่างกายและอุปกรณ์ให้เรียบร้อยเก็บไว้ใน

ทีจ่ ัดเก็บอุปกรณแ์ ละสารเคมี
- หากพน้ื ทีม่ ีความเสย่ี ง เชน่ มสี ภาพเปน็ หนิ ผา มคี วามลาดชนั สูงต้องใชค้ วามระมัดระวัง

เปน็ พิเศษ
การแตง่ หน่อ เกลาตอและลดิ กิง่
1. สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สภาพพื้นท่ีเป็นสวนป่าท่ีปลูกเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีวัชพืชปกคลุมน้อย เนื่องจากอยู่

ในฤดูแล้ง มีหน่อสักท่ีแตกหน่อจากตอเดิม และกล้าสักท่ีปลูกใหม่ กระจายอยู่ทั่วไปในพ้ืนท่ี มีสัตว์มีพิษอาศัย
อยู่ตามโคนต้นสัก บางพื้นท่ีมีลาห้วยไหลผ่าน บางพ้ืนท่ีมีกลุ่มหินโผล่ มีความลาดชันสูง ตามลักษณะภูมิ
ประเทศแต่ละสวนปา่

2. การปฏิบัตงิ านอย่างปลอดภยั ทถ่ี ูกต้อง
- ผปู้ ฏบิ ัติงานตอ้ งแตง่ กายท่เี หมาะสมกับงาน
- เว้นระยะห่างระหวา่ งผปู้ ฏบิ ตั ิงานให้เหมาะสม
- การใชอ้ ุปกรณข์ องมีคมควรใชค้ วามระมดั ระวัง เพราะอาจเกิดอนั ตรายได้
- หากจะทาการตัดแต่งหน่อท่ีมีขนาดใหญ่และสูงควรส่งสัญญาณ และสังเกตบริเวณ

โดยรอบวา่ มีผู้ปฏิบัติงานคนอื่น ๆ อยูห่ รือไม่
- ผูป้ ฏิบตั ิงานควรระมัดระวังแมลงหรอื สตั วม์ ีพิษกัดตอ่ ย เช่น งู แมงปอง รงั ผึง้ เปน็ ตน้
- หากพ้ืนท่ีมีความเส่ียง เช่น มีสภาพเป็นหินผา มีความลาดชันสูง ควรใช้ความ

ระมัดระวงั เปน็ พิเศษ

การปอ้ งกัน ...

-31-

การปอ้ งกนั และการดับไฟปา่
1. สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สภาพพื้นที่อาจเป็นแปลงปลูกสร้างสวนป่า พ้ืนท่ีทาไม้ พื้นที่เก็บ ริบป่าธรรมชาติ

พื้นทีข่ อใช้ประโยชน์ หรอื พนื้ ท่เี กษตรกรรมของหมู่บา้ นรอบสวนป่า บางพน้ื ที่มีลาหว้ ยไหลผ่าน บางพื้นที่มีกลุ่ม
หินโผล่ มีความลาดชนั สงู ตามลกั ษณะภมู ปิ ระเทศแต่ละสวนป่า ความรุนแรงของไฟขึ้นอยู่กับปริมาณเชื้อเพลิง
สภาพอากาศเป็นฤดรู อ้ นและแห้งแลง้

2. การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งปลอดภัยทถ่ี กู ต้อง
- ผ้ปู ฏิบัตงิ านต้องแตง่ กายท่ีเหมาะสมกับงาน
- หากสภาพพ้ืนที่เป็นป่ารกทึบ ผู้ปฏิบัติงานควรระมัดระวังหลุม ท่อนไม้ก่ิงไม้ที่กีด

ขวางในพนื้ ทท่ี ่ีไมส่ ามารถมองเห็นได้รวมถงึ แมลงสตั วก์ ดั ต่อยตา่ ง ๆ เชน่ งู แมงปอ่ ง รงั ผงึ้ เปน็ ต้น
- ก่อนเขา้ พ้ืนทท่ี ีเ่ กิดเหตุไฟไหม้ควรสังเกตบรเิ วณโดยรอบวา่ มไี ฟลุกลามข้นึ ดา้ นบนหรอื ไม่
- การเขา้ ดบั ไฟป่าต้องดทู ศิ ทางลมและอยู่เหนอื ลมเสมอ
- ขณะทีเ่ กดิ ไฟลุกลาม การกวาดวัสดุท่เี ปน็ เชือ้ เพลงิ เพ่ือทาแนวกันไฟควรดูทิศทางลม

และเวน้ ระยะห่างจากจุดท่ไี หม้ในระยะทป่ี ลอดภยั
- ไมเ่ ข้าไปดับไฟในพนื้ ท่ีรกทึบเพราะจะยากตอ่ การหลบหนหี ากมีไฟปา่ รนุ แรง
- ไมเ่ ข้าไปดบั ไฟป่าเพยี งลาพัง
- หากพื้นท่ีมีความเสี่ยง เช่น มีสภาพเป็นหินผา มีความลาดชันสูงต้องใช้ความ

ระมดั ระวังเป็นพิเศษ
- ในกรณีที่เกิดไฟไหม้รุนแรงจนไม่สามารถควบคุมได้ และอาจเกิดอันตราย ถึงชีวิต

ให้ถอนกาลงั และหลบเขา้ ทีป่ ลอดภยั

การตรวจนบั เปอรเ์ ซน็ ตร์ อดตายและสารวจรังวดั พื้นท่ี
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
สภาพพื้นท่ีเป็นสวนป่าท่ีปลูกเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีวัชพืชปกคลุมน้อย เนื่องจากอยู่

ในฤดูแล้ง มีหน่อสักที่แตกหน่อจากตอเดิม และกล้าสักที่ปลูกใหม่ กระจายอยู่ท่ัวไปในพื้นที่ อาจมีสัตว์มีพิษ
อาศยั อยตู่ ามโคนต้นสกั บางพื้นที่มีลาห้วยไหลผ่าน บางพ้ืนที่มีกลุ่มหินโผล่ มีความลาดชันสูง ตามลักษณะภูมิ
ประเทศแต่ละสวนปา่

2. การปฏิบตั งิ านอยา่ งปลอดภัยทถ่ี กู ต้อง
- ผู้ปฏบิ ตั งิ านตอ้ งแต่งกายท่ีเหมาะสมกับงาน
- ผ้ปู ฏิบัติงานควรระมัดระวงั แมลงและสตั ว์มพี ษิ กดั ต่อย เชน่ งู แมงปอง ผง้ึ เปน็ ต้น
- หากพื้นที่มีความเส่ียง เช่น มีสภาพเป็นหินผา มีความลาดชันสูง ต้องใช้ความ

ระมัดระวังเป็นพเิ ศษ
2. ด้านการทาไม้ ...

-32-

2. ด้านการทาไม้
ในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานด้านการทาไม้ จะต้องมีความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ

เพราะการปฏิบตั งิ านต้องใช้ความละเอียดรอบคอบ เนื่องจากการทาไม้ มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายสูงจึง
มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสาคัญด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในทุก ๆ ด้าน และทุก
กิจกรรมโดยแบง่ เป็นขัน้ ตอน ดังน้ี

งานหมายคัดเลือกตัดฟนั /โค่นล้มไม้
1. สภาพแวดล้อมในการทางาน
- พนื้ ทท่ี มี่ คี วามลาดชันอาจเกดิ อนั ตรายจากการลน่ื ไถลตกจากที่สงู
- พ้ืนท่ีรกทึบ มีต้นไม้และวัชพืชข้ึนหนาแน่น อาจเกิดอันตรายเนื่องจากไม้ร่วงหล่น

ใสศ่ ีรษะ สะดุดตอไม้ หรือวัชพืช เหยียบตอไม้/วัชพืชท่ีมีหนามแหลมคม อันตรายจากพืชท่ีมีพิษหรืออันตราย
แก่ร่างกาย

- พ้ืนที่ที่มีสัตว์มีพิษอาศัยอยู่ชุกชุมเช่น งู แมงป่อง ต่อ แตน ผึ้ง ฯลฯ โดยลักษณะ
ทว่ั ไปมกั พบในพื้นที่ที่มีความช้นื ใต้โพรงไม้ ขอนไม้ ไม้ผพุ ัง พมุ่ ไม้

- สภาพอากาศท่ีไม่เอื้ออานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน เพราะมีสภาพพ้ืนที่ที่ล่ืน
อาจมลี มกรรโชกแรงทาใหก้ ่งิ ไมห้ ักร่วงหลน่ ใสผ่ ู้ปฏิบัติงาน

2. การปฏิบตั งิ านอยา่ งปลอดภยั ที่ถูกตอ้ ง
- ตรวจสอบสภาพแวดล้อมท่คี วรระวงั ในการปฏบิ ัตงิ าน
- จัดชดุ ทางานเป็นกลุ่ม อยา่ งนอ้ ย 2 คนข้นึ ไป
- ตรวจเชค็ อปุ กรณใ์ นการทางานใหพ้ ร้อมใชง้ าน
- การปฏบิ ัติงานในชว่ งฤดูฝน พนื้ ท่ีท่มี คี วามเสี่ยง เช่น มีสภาพเป็นหินผา มีความลาด

ชนั สูง ตอ้ งใช้ความระมัดระวงั เปน็ พิเศษ
งานโค่นลม้ ไม้
1. สภาพแวดล้อมที่ควรระวังในการทางาน
- พนื้ ทท่ี ม่ี คี วามลาดชัน อาจเกดิ อนั ตรายจากการลืน่ ไถลตกจากทีส่ งู
- พื้นท่ีรกทึบ มีต้นไม้และวัชพืชขึ้นหนาแน่น อาจเกิดอันตรายเนื่องจากไม้ร่วงหล่น

ใสศ่ รี ษะ สะดุดตอไม้ หรือวัชพืช เหยียบตอไม้/วัชพืชที่มีหนามแหลมคม อันตรายจากพืชที่มีพิษหรืออันตราย
แก่ร่างกาย

- พน้ื ทีท่ ม่ี สี ัตวม์ ีพษิ อาศัยอยูช่ ุกชุมเช่น งู แมงปอ่ ง ต่อ แตน ผง้ึ ฯลฯ โดยลกั ษณะทั่วไป
มกั พบในพื้นทท่ี มี่ ีความช้นื ใต้โพรงไม้ ขอนไม้ ไมพ้ ุพัง พ่มุ ไม้

- สภาพอากาศที่ไม่เอ้ืออานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน เพราะมีสภาพพ้ืนท่ีท่ีล่ืน
อาจมีลมกรรโชกแรงทาใหก้ งิ่ ไมห้ ักร่วงหล่นใส่ผปู้ ฏบิ ัติงาน

- ต้นไม้ที่มเี ถาวัลย์พันปลายเมื่อมีการโค่นล้มอาจจะมีการเหนี่ยวร้ังกันทาให้ไม้ ไม่
สามารถลม้ ไปในทิศทางทต่ี ้องการได้

- การลม้ ไม้ในพน้ื ทล่ี าดชันหรอื พนื้ ที่ท่ีความเสี่ยงตอ่ การปฏิบตั งิ าน ไม้อาจจะไหลหรือ
ดดี กลบั ใสผ่ ปู้ ฏิบัตงิ านทศิ ทางไมท้ ีจ่ ะลม้ อาจจะกาหนดไดย้ ากไมเ่ ปน็ ไปตามทีก่ าหนด

2. การปฏิบตั ิงาน ...

-33-
2. การปฏิบัตงิ านอย่างปลอดภยั ทถี่ กู ตอ้ ง

- ตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มทคี่ วรระวงั ในการปฏิบตั ิงาน
- จดั ชุดทางานเป็นกลุ่มโดยการโค่นล้มไม้แต่ละต้นน้ันควรมีผู้ปฏิบัติงาน 2-3 คน โดย
แบ่งเป็น

- ผใู้ ชเ้ ลื่อยยนตอ์ ย่างน้อย 2 คน ผลัดเปลีย่ นกนั ใช้เล่ือยยนตต์ อ่ เนอ่ื งผลัดละ

ไมเ่ กนิ 1 ชั่วโมง
- ผู้ควบคุมทศิ ทางไมท้ ่ีจะลม้ โดยใชไ้ ม้คา้ ยนั

3. ตรวจเช็คอุปกรณใ์ นการทางานใหพ้ ร้อมใชง้ าน ได้แก่
- เล่อื ยโซย่ นต์
- ไมค้ า้ ยนั สาหรบั ควบคมุ ทศิ ทางไมท้ จ่ี ะลม้

- ในการลม้ ไม้ทม่ี ีเถาวัลยพ์ นั ปลายไม้ ควรเพ่ิมความระมดั ระวังเปน็ อยา่ งยง่ิ

- ผู้ปฏิบตั ิงานต้องผ่านการฝึกอบรมการโคน่ ล้มไม้
- การลม้ ไม้ในพน้ื ที่ที่มคี วามลาดชัน ควรทาการล้มไมไ้ ปใน ทิศทางเดียวกนั
เพ่ือปอ้ งกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตุ
- เพ่ิมความระมัดระวังในการปฏบิ ตั ิงานในชว่ งฤดูฝน

งานชกั ลากรวมกองริมทางตรวจการดว้ ยรถแทรกเตอรล์ อ้ ยาง/รถสกิด๊ เดอร์
1. สภาพแวดลอ้ มที่ควรระวงั ในการทางาน
- พื้นท่ีทีม่ คี วามลาดชนั อาจเกดิ อนั ตรายจากการลื่นไถลตกจากทส่ี งู
- สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน เพราะมีสภาพเส้นทาง ท่ีลื่น

ทาให้ยากแก่การบังคับทิศทาง อาจทาให้รถเสียหลักตกข้างทางได้ อาจส่งผลกระทบต่อเส้นทางชักลากไม้
เสียหาย

2. การปฏบิ ัตงิ านทถ่ี กู ต้องเพือ่ ความปลอดภัย
- ตรวจสอบสภาพแวดล้อมท่ีควรระวังในการปฏิบัติงานในขณะปฏิบัติงานควรเพ่ิม

ความระมัดระวังพื้นท่ีท่ีมีความลาดชัน คนขับรถควรเพิ่มความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่งควรใช้ความเร็วท่ี
เหมาะสมกับสภาพภมู ิประเทศ

- จดั ชุดทางานเปน็ กลุม่ โดยในการชักลากรวมกองด้วยรถแทรกเตอร์ล้อยาง/รถสกิ๊ดเดอร์
นั้น ควรมผี ปู้ ฏบิ ัติงานอย่างนอ้ ย 3 คน โดยแบ่งเปน็ คนขบั รถ 1 คน และคนท้ายรถ (ผู้มัด/ปลดโซ่) 2 คน

- ตรวจเช็คอปุ กรณ์ ...

-34-

- ตรวจเช็คอุปกรณ์ในการท างานให้พร้อมใช้งาน ได้แก่ รถอยู่ในสภาพที่พร้อมจะ

ปฏิบัติงาน และโซ่/สลิงมัดไม้ อยูใ่ นสภาพทีพ่ รอ้ มใชง้ าน ไม่ชารุดเสียหาย
- คนขบั รถควรระมดั ระวงั ท่อนไม้และกงิ่ ไมท้ อี่ าจทาให้เกิดอันตรายแก่ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
- เพิม่ ความระมดั ระวังในการปฏิบัติงานในชว่ งฤดฝู น
- ผู้ควบคุมงานต้องย้าคดิ ย้าเตอื นให้ผู้ปฏบิ ัติงานคานึงถึงการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งปลอดภยั

งานลากขนไม้ดว้ ยรถบรรทกุ /รถยนตจ์ อหนัง
1. สภาพแวดลอ้ มท่คี วรระวังในการทางาน
1.1 เส้นทางลากขนไม้ท่ีมีความลาดชัน คดเค้ียว สภาพพ้ืนผิวถนนท่ีขรุขระ

เป็นหลุมเป็นบอ่ รอ่ งน้า รถลากขนไม้อาจเกิดอันตรายจากการปฏิบตั งิ านได้
1.2 เสน้ ทางลากขนไม้ที่ผ่านพื้นที่ชุมชน พ้ืนท่ีเกษตรกรรมของชาวบ้านใกล้เคียงสภาพ

อากาศท่ไี มเ่ อ้อื อานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน เพราะมีสภาพเส้นทางลากขนไม้ท่ีลื่นทาให้ยากแก่การบังคับ
หรือควบคุมรถ อาจทาให้รถเสยี หลักตกข้างทางและเส้นทางชักลากไม้อาจเสยี หาย

2. การปฏิบัตงิ านท่ถี ูกตอ้ งเพอ่ื ความปลอดภยั
2.1 ตรวจเช็ครถใหม้ คี วามพร้อมในการใช้งาน โดยเฉพาะระบบควบคมุ บงั คบั ต่าง ๆ
2.2 ตรวจสอบสภาพแวดล้อมที่ควรระวังในการปฏิบัติงาน ในขณะปฏิบัติงานควรเพิ่ม

ความระมัดระวังพื้นท่ีที่มีความลาดชัน คนขับรถควรเพ่ิมความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่งควรใช้ความเร็ว
ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพภูมิประเทศ

2.3 เสน้ ทางลากขนไม้ทผ่ี ่านพน้ื ท่ชี ุมชน พื้นท่ีเกษตรกรรมของชาวบ้านใกล้เคียงต้องเพ่ิม
ความระมัดระวงั เปน็ พิเศษ และใชค้ วามเรว็ ไม่เกินท่ีกฎหมายกาหนด

2.4 จัดชุดทางานเป็นกลุ่มโดยในการชักลากด้วยรถบรรทุก /รถยนต์จอหนัง
ควรมีผู้ปฏิบตั งิ านอยา่ งน้อย 3 คนตอ่ รถ 1 คนั โดยแบ่งเป็น

- คนขับรถ 1 คน
- คนท้ายรถ (ผมู้ ัด/ปลดสลิง) 2 คน
2.5 ตรวจเช็คอุปกรณ์ในการทางานให้พร้อมใชง้ าน ได้แก่
- รถอยู่ในสภาพท่พี ร้อมจะปฏิบตั ิงาน
- โซ่/สลิงมดั ไม้ อยใู่ นสภาพท่ีพร้อมใช้งาน ไมช่ ารุดเสยี หาย
2.6 คนขบั รถควรระมัดระวงั ทอ่ นไม้ และกิ่งไม้ ท่อี าจทาให้เกิดอนั ตรายแก่ผูป้ ฏบิ ัตงิ าน
2.7 เพมิ่ ความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิงานในช่วงฤดฝู น
3. งานชกั ลากเรียงหมอน
3.1 สภาพแวดลอ้ มทคี่ วรระวังในการทางาน
3.1.1 สภาพพนื้ ท่หี มอนไม้ มีลักษณะเปน็ พ้นื ท่เี ปดิ โลง่
3.1.2 สภาพอากาศท่ไี มเ่ ออ้ื อานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน อาจเกิดการล่ืนไถลของ
รถแทรกเตอรข์ ณะชักลากเรียงหมอน ฤดูรอ้ น มฝี ุน่ ละอองมาก มอี ณุ หภมู ิสูง

3.2 การปฏิบตั ิงาน ...

-35-

3.2 การปฏิบตั ิงานทถ่ี กู ตอ้ งเพ่อื ความปลอดภยั
3.2.1 ตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มท่ีควรระวังในการปฏิบัติงานในฤดูฝน การลากไม้ควร

ระมดั ระวงั เปน็ พิเศษ ควรใช้ความเรว็ ทเี่ หมาะสมในการปฏิบัติงาน
3.2.2 จัดชุดทางานเป็นกลุ่มโดยในการชักลากเรียงหมอนด้วยรถแทรกเตอร์ล้อยาง

ควรมผี ปู้ ฏิบัติงานอยา่ งนอ้ ย 3 คนตอ่ รถ 1 คนั โดยแบง่ เป็น
- คนขับรถ 1 คน
- คนท้ายรถ (ผมู้ ดั /ปลดโซ่) 2 คน

3.2.3 ตรวจเช็คอุปกรณ์ในการท างานใหพ้ ร้อมใชง้ าน ได้แก่
- รถอยใู่ นสภาพทพี่ ร้อมจะปฏบิ ัตงิ าน
- โซม่ ัดไม้ อย่ใู นสภาพทพ่ี รอ้ มใช้งาน ไม่ชารุดเสยี หาย

3.2.4 คนขับรถควรระมัดระวงั ทอ่ นไม้ ท่ีอาจทาให้เกดิ อันตราย
4. งานหมายวดั ตดั ทอนตรวจวัด ตตี รา

4.1 สภาพแวดล้อมท่ีควรระวังในการทางาน
4.1.1 สภาพพืน้ ทีห่ มอนไม้ มลี กั ษณะเปน็ พ้ืนที่เปดิ โล่ง
4.1.2 สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน อาจเกิดการลื่นไถลของ

รถแทรกเตอรข์ ณะชักลากเรียงหมอน ฤดูร้อน มีฝุน่ ละอองมากมอี ุณหภูมิสูง
4.1.3 มเี สียงดังจากการใช้เลอ่ื ยยนต์

4.2 การปฏิบัติงานท่ีถูกต้องเพ่อื ความปลอดภัย
4.2.1 ตรวจสอบสภาพแวดล้อมทีค่ วรระวงั ในการปฏิบตั งิ าน
4.2.2 จัดชุดทางานเป็นกลุ่มโดยในการหมาย วัดตัดทอด ตรวจวัดตีตรา ควรมี

ผ้ปู ฏิบัติงานอยา่ งน้อย 8 คน โดยแบง่ เปน็
- ผู้ท่ีทาการวดั ความยาวทอ่ นไม้ 2 คน
- ผู้ที่ทาการวัดความโตไมท้ ก่ี ลางทอ่ น 1 คน
- ผทู้ ่ีทาการตีตราประทับบนหน้าไม้ 1 คน
- ผ้ทู ่ีทาการจดบันทกึ รายการไม้ 1 คน
- ผู้ใช้เล่ือยยนต์ 1 คน
- ผู้ที่ทาการงดั ไม้ 2 คน

4.2.3 เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดและอันตรายท่ีจะเกิดขึ้นชุดปฏิบัติงานหมายวัด
ควรปฏิบัติงานล้าหน้าชุดเลื่อยยนต์ในปริมาณงานท่ีมากพอ และเม่ือชุดเล่ือยยนต์เริ่มการตัดทอน ควรย้ายไป
ปฏบิ ัติงานจดุ พื้นที่ปฏบิ ัตงิ านอน่ื ท่ีหา่ งออกไป

4.2.4 ตรวจเช็คอปุ กรณ์ในการทางานใหพ้ รอ้ มใชง้ าน ไดแ้ ก่
- เลอื่ ยโซย่ นต์
- อุปกรณ์สาหรบั งัดไม้
- เทปวดั ความโต/ยาว
- คอ้ นเลขเรยี ง และค้อนดวงตราประจาสวนปา่
- สมดุ บันทกึ รายการ
- ไม้ ส/ี ชอล์ก

4.2.5 ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ...

-36-

4.2.5 ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานตอ้ งผ่านการฝกึ อบรมการใชเ้ ล่อื ยยนต์
4.2.6 หลังปฏิบตั งิ านควรจัดเก็บอุปกรณ์ให้เรียบรอ้ ย
5. งานจัดกองเตรยี มจาหน่าย
5.1 สภาพแวดล้อมที่ควรระวังในการทางาน
5.1.1 สภาพพน้ื ทีห่ มอนไม้ มีลกั ษณะเปน็ พ้นื ท่เี ปดิ โลง่
5.1.2 สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน อาจเกิดการล่ืนไถล
ของรถแทรกเตอร์ขณะชกั ลากเรยี งหมอน ฤดรู อ้ น มีฝนุ่ ละอองมากมอี ุณหภมู สิ ูง
5.1.3 ใชเ้ ครอ่ื งจักรกลท่มี ีความเหมาะสมกบั การจัดกอง เชน่ รถตกั ไม้/ยกไม้
5.2 การปฏิบัตงิ านท่ีถูกต้องเพอ่ื ความปลอดภยั
5.2.1 แตง่ กายตามขอ้ กาหนดใน หมวด 2 ด้านการทาไม้
5.2.2 ตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มที่ควรระวงั ในการปฏิบัตงิ าน
5.2.3 จดั ชดุ ทางานเป็นกลุม่ โดยในการจดั กองเตรียมจาหนา่ ยควรมีผปู้ ฏิบัติงาน
อย่างน้อย 3 คน โดยแบง่ เปน็ คนขบั รถ 1 คน และ คนทา้ ยรถ 2 คน
5.2.4 ตรวจเชค็ อปุ กรณ์ในการท างานให้พรอ้ มใชง้ าน ได้แก่

- รถอยใู่ นสภาพที่พรอ้ มจะปฏบิ ัติงาน
- โซม่ ดั ไม้ อยูใ่ นสภาพท่พี ร้อมใช้งาน ไม่ชารดุ เสยี หาย
5.2.5 ในขณะปฏิบัติงาน ควรเพิ่มความระมัดระวังในการจัดกองเตรียมจาหน่าย
ควรใช้ความเร็วที่เหมาะสมในการปฏบิ ัตงิ าน
5.2.6 คนขับรถควรระมดั ระวังท่อนไม้ ที่อาจทาใหเ้ กิดอนั ตรายแก่ผู้ปฏบิ ตั งิ าน
5.2.7 เพิม่ ความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิงานในช่วงฤดูฝน
6. งานยกไมข้ ้ึนรถลูกค้า
6.1 สภาพแวดลอ้ มทค่ี วรระวงั ในการทางาน
6.1.1 สภาพพืน้ ทห่ี มอนไม้ มีลกั ษณะเป็นพ้นื ที่เปดิ โลง่ พื้นทไ่ี ม่สมา่ เสมอ
6.1.2 สภาพอากาศท่ีไม่เอื้ออานวยในการทางาน เช่น ฤดูฝน อาจเกิดการล่ืนไถล
ของรถแทรกเตอร์/รถเครน/รถยกไม้ ขณะยกไมข้ ึ้นรถลกู ค้า ฤดูร้อน มีฝนุ่ ละอองมาก มอี ณุ หภูมิสูง
6.2 การปฏบิ ตั งิ านท่ีถูกต้องเพ่ือความปลอดภัย
6.2.1 แตง่ กายตามข้อกาหนดใน หมวด 2 ด้านการทาไม้
6.2.2 ตรวจสอบสภาพแวดล้อมทีค่ วรระวงั ในการปฏบิ ัตงิ าน
6.2.3 จัดชุดทางานเป็นกลุ่มโดยในการยกไม้ข้ึนรถลูกค้า ควรมีผู้ปฏิบัติงานอย่าง
น้อย 3 คนตอ่ รถ 1 คัน โดยแบ่งเปน็ คนขับรถ 1 คน คนจัดเรยี งไม้ 2 คน
6.2.4 ตรวจเช็คอุปกรณ์ในการท างานใหพ้ รอ้ มใช้งาน ได้แก่
- รถอย่ใู นสภาพท่ีพรอ้ มจะปฏิบัตงิ าน
- สลิง/เครน อยใู่ นสภาพทีพ่ รอ้ มใชง้ าน ไมช่ ารดุ เสียหาย
- อุปกรณ์งดั ไมเ้ พอ่ื จดั เรยี งไม้ ควรอย่ใู นสภาพดี พร้อมใช้ ไมช่ ารุดเสียหาย
6.2.5 ในขณะปฏบิ ตั ิงาน ควรเพ่มิ ความระมดั ระวังในการยกไม้ เน่ืองจากไม้อาจจะ
รว่ งหล่นทบั ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านหรือรถท่ใี ชใ้ นการยกไม้

3. เคร่อื งแตง่ กาย ...

-37-

3. เครือ่ งแตง่ กาย
มาตรการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) ในการ

ปฏิบัติงานสวนป่า ต้องแต่งกายให้เหมาะสม รัดกุม โดยสวมใส่เส้ือผ้าแขนยาว กางเกงขายาว และสวมใส่
อุปกรณ์ความปลอด- ภัยในการปฏบิ ัตงิ านตามกจิ กรรมตา่ ง ๆ ดงั น้ี

งานด้านทาไม้
1. ผู้ปฏิบัติงานเลื่อยยนต์ ซึ่งมีหน้าที่ล้มไม้ ตัดไม้ และทอนไม้ ได้กาหนดอุปกรณ์
ความปลอดภยั คือ

- หมวกนริ ภัยทไ่ี ดม้ าตรฐาน มอก.
- อปุ กรณป์ ้องกนั เสียง (ทค่ี รอบหู, ทีอ่ ดุ หูกันเสยี ง ที่สวมใส่แลว้ มีความดงั ไม่เกิน 85dBa)
- อุปกรณ์ป้องกนั ดวงตา (แว่นตานริ ภัย, หน้ากากตดิ หมวกนิรภยั )
- ถงุ มือหนงั
- รองเท้าหนังห้มุ สน้ ท่ี (Safety Shoes) ทไ่ี ด้มาตรฐาน มอก.

2. ผู้ปฏิบัติงานขับรถแทรกเตอร์, รถจอหนัง, รถสกิดเดอร์ และรถสาลี่ ได้มีการกาหนด

อปุ กรณค์ วามปลอดภยั คอื
- หมวกนริ ภัยทไี่ ดม้ าตรฐาน มอก.
- ถุงมอื ผ้า
- รองเทา้ หุม้ ส้น

3. ผู้ปฏิบัติงานท้ายรถแทรกเตอร์, รอจอหนัง, รถสกิดเดอร์ และรถสาล่ี ได้มีการกาหนด
อปุ กรณ์ความปลอดภัย คอื

- หมวกนริ ภยั ทีไ่ ด้มาตรฐาน มอก.
- ถุงมอื หนงั
- รองเทา้ หุม้ สน้
4. ผู้ปฏิบัติงาน หมายวัดตัดทอน ตรวจวัด ตีตรา ในหมอนไม้ ได้กาหนดอุปกรณ์ความ
ปลอดภยั คือ
- หมวกนริ ภยั ที่ไดม้ าตรฐาน มอก.
- ถุงมอื ผา้
- หน้ากากอนามัย
- รองเทา้ หุ้มสน้
งานด้านการปลกู สรา้ งสวนป่า
1. ผูป้ ฏิบตั งิ านถางกาจัดวชั พชื ถางปา่ เกบ็ ริบ และบารงุ แปลงปลูกสักสวนป่า โดยใช้มีด จอบ
เสียม ไดม้ ีการกาหนดอุปกรณค์ วามปลอดภยั คอื
- หมวกกันแดด
- ถุงมอื ผ้า (คนงานทวั่ ไป)
- รองเท้าหุ้มสน้

2. ผู้ปฏิบัตงิ าน ...

-38-

2. ผปู้ ฏิบัตงิ านถางกาจัดวชั พชื ถางปา่ เกบ็ ริบและบารงุ แปลงปลกู สักสวนปา่ โดยใชเ้ คร่ืองตัดหญา้

- หมวกนิรภยั - อุปกรณป์ ูองกันเสียง (ทีอ่ ุดหูกันเสยี ง)

- อปุ กรณป์ อู งกันดวงตา (แวน่ ตานริ ภยั ) - ถุงมือผ้า

- รองเท้าหมุ้ ส้น/รองเทา้ บูท

3. ดแู ลบารงุ รกั ษากลา้ ไม้ ทาหน้าที่ดแู ลแปลงเพาะ ใส่ป๋ยุ ดูแลตน้ ไม้ดอกไม้รอบสานักงาน ได้

มกี ารกาหนดอุปกรณ์ความปลอดภัย คือ

- ถงุ มือผ้า/ถงุ มอื ยาง - รองเทา้ ห้มุ สน้ /รองเทา้ บทู

- หน้ากากอนามยั

4. งานป้องกนั และดับไฟปา่ ไดม้ ีการกาหนดอปุ กรณ์ความปลอดภัย คอื

- หมวก/ผา้ คลุมหนา้ - ถุงมอื ผ้า

- รองเท้าห้มุ ส้น - หนา้ กากอนามัย

บทท่ี 7…

-39-

1. กจิ กรรมดา้ นโรงเลอ่ื ย - โรงงาน
ในการปฏิบัติงานของพนักงานและคนงานด้านโรงเลื่อย - โรงงาน เป็นการปฏิบัติงานที่ต้องใช้

ความละเอียดรอบคอบในการปฏิบตั งิ านเปน็ อย่างมาก จึงต้องใหค้ วามสาคัญดา้ นความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
ในทุก ๆ ดา้ นและทกุ กจิ กรรม

1.1 วตั ถุดิบ
วตั ถดุ ิบของอุตสาหกรรมเล่ือยไมและแปรรูปไมท่ีใช้ท่ัว ๆ ไปของโรงงานอุตสาหกรรมเล่ือย

ไม้แปรรูปไม้ ไดแ้ ก่
- ไมซ้ งุ หรือไมทอน ซึง่ แปรไมจากปา่ ปลกู
- ไมแ้ ปรรปู แลว้ จากโรงเล่อื ยทั่ว ๆ ไป

1.2 ผลิตภัณฑ์
- ไม้แปรรูปทั่ว ๆ ไป จากโรงเลือ่ ยไม้
- ไม้แปรรูปที่ทาการไส ซอย ตัดใหไ้ ดข้ นาดตามความตอ้ งการของลูกคา้ (ไสซอยไม้)

1.3 บริการลูกค้า
- ผลิตภณั ฑ์จากไมแปรรปู เชน่ ไม้คว้ิ ไมบ้ ัว

2. สภาพแวดล้อมทีค่ วรระวงั ในการทางาน
เนอ่ื งจากกระบวนการผลติ หลัก ๆ ของอตุ สาหกรรมไม้ คือ กิจกรรมจากการ เลอ่ื ยไม้ ซอยไม้

ไสไม้ ซึง่ ก่อให้เกดิ มลภาวะไดด้ งั น้ี
- ฝุน่ ละอองที่เกดิ ข้ึนในการปฏบิ ตั ิงาน จะมลี ักษณะเป็นฝ่นุ ไมเ้ กิดจากกิจกรรม เล่ือย ซอย ไส

ฟ้งุ กระจายในพื้นทป่ี ฏบิ ตั งิ านและอาจฟุ้งกระจายไปรบกวนผอู้ ยอู่ าศยั ใกล้เคยี งได้
- ฝุ่นจากไมท้ ่กี องสะสมไวใ้ นพน้ื ท่ี ซง่ึ ขาดการจัดการทดี่ กี ็จะก่อปัญหาได้
- เสยี งดงั จากการประกอบกจิ การ ซงึ่ เกิดจากเครอ่ื งเลอื่ ยไม้ ซอยไม้หรือเครอื่ งไสไม้

3. แนวทางในการแกไ้ ข มลภาวะท่เี กดิ จากกระบวนการผลิต
มลภาวะจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมประเภทน้ี มีอยู่ 2 ชนิด คือ ฝุ่นละอองจากไม้

และเสียงดังจากการเลื่อยไม้ ไสไม้ ซอยไม้
3.1 ฝุ่นละอองจากการผลติ
กรณที กี่ ารประกอบกิจการมีแต่การเลือ่ ยไม้ฝุน่ ละออง ข้ีเลื่อย อาจจะฟุ้งกระจายไปไม่ไกล

ซึ่งสามารถสร้าง เป็นบ่อตักข้ีเลื่อยไว้แล้วขนย้ายข้ีเล่ือยออกจากพื้นที่ปฏิบัติงาน ทางท่อ ราง แล้วนาข้ีเล่ือยไป
กาจดั ภายหลงั

3.2 เสยี งดังจากการผลิต
แหลง่ กาเนิดเสียงดังจากการผลิต คือ เครื่องจักรที่ใช้ในโรงงาน ได้แก่ เคร่ืองเล่ือยไม้ซอย

ไม้และเคร่ืองไสไม ซ่ึงเครื่องไสไม้จะมีปัญหาเร่ืองเสียงดังมากกว่าเครื่องเลื่อยไม้ และโดยทั่วไปโรงงาน
อุตสาหกรรมเลื่อยไม้ส่วนใหญ่จะมีพื้นท่ีโดยรอบอาคารโรงงานมาก ปัญหาการก่อเสียงดังรบกวนผู้อยู่อาศัย
ใกล้เคียงจึงนอ้ ยแตห่ ากมพี ื้นทีน่ อ้ ยหรอื อยู่ในชุมชน และมีเครอื่ งไสไมด้ ้วยแล้ว อาจก่อปญั หาส่งเสยี งดงั รบกวน

ผอู้ น่ื ได้ ...

-40-

ผู้อื่นไดซ้ งึ่ จาเป็นตอ้ งลดเสยี งดังจากเคร่ืองไสไมโ้ ดยจดั ทาห้องโดยเฉพาะสาหรบั ไสไม้ซ่ึงภายในบุด้วยวัสดุกันเสียง
สะทอ้ นหมดทกุ ดา้ นซึ่งสามารถลดเสยี งดงั ลงไดบ้ างส่วน

4. เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ความปลอดภยั
การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยภายในสถานที่ประกอบการ เป็นมาตรการ

ที่สามารถช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน รวมท้ังยังสามารถช่วยลดอาการ
บาดเจ็บจากอุบัติเหตุท่ีรุนแรงให้เบาลงได้ โดยในปกติการป้องกันจะเริ่มต้นควบคุมจากสภาวะแวดล้อมภายใน
สถานทีป่ ระกอบการกอ่ น

4.1 หมวกป้องกันศีรษะ ทามาจากวัสดุที่มีความหลากหลายแตกต่างกัน มีคุณสมบัติแข็งแรง
และสามารถป้องกันแรงกระแทกได้ ใชส้ าหรับการปฏิบัตงิ านในงานโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท เพ่ือป้องกัน
ศีรษะจากการถกู ชน กระทบหรอื กระแทกโดยวตั ถุทีต่ กมาจากทีส่ ูง

4.2 อุปกรณ์ป้องกันหู มีคุณสมบัติในการป้องกันหูจากเสียง ที่มีค่าความดังเกินกว่ามาตรฐาน
ท่ีหูมนุษย์สามารถรับได้ ใช้สาหรับการทางานกับเคร่ืองจักรกล ตัวอย่างเช่น เครื่องเจาะปูน
เครื่องจักรกลอัตโนมัติเครื่องถลุงเหล็ก และเครื่องปาดคอนกรีตที่มีขนาดใหญ่ เป็นต้น รวมทั้งใช้
สาหรับการทางานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ควรระมัดระวังเร่ืองเสียงเป็นพิเศษ ได้แก่ อุตสาหกรรม
การผลิต อุตสาหกรรมยานยนต์ และอตุ สาหกรรมกอ่ สร้าง

4.3 แว่นนิรภัย วัสดุท่ีใช้ทาข้ึนจากกระจกนิรภัยหรือพลาสติก มีคุณสมบัติในการป้องกัน
สารเคมแี ละวสั ดุแปลกปลอมกระเด็นเขา้ ดวงตาในขณะท่ีกาลงั ปฏิบตั ิงาน ซ่ึงอาจส่งผลเสียแก่ดวงตาอย่างรุนแรง
จนถงึ ข้ันตาบอดได้ แว่นตานริ ภัยจงึ ไดถ้ กู นามาใช้ประโยชน์ในวงการอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ งานอุตสาหกรรม
งานเครอื่ งมือ เคร่อื งจกั รกล งานไม้ งานเชอื่ มไฟฟ้า หรืองานเช่อื มแก็ส เป็นต้น

4.4 หน้ากากกรองฝุ่นละออง มีคุณสมบัติในการปูองกันลมหายใจของผู้ปฏิบัติงานจากฝุ่น
ละอองทีส่ ามารถกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายแกส่ ขุ ภาพได้ โดยหนา้ กากกรองฝนุ่ ละอองมคี ณุ ภาพตา่ งกันไปตามชนดิ ของไส้
กรอง ผปู้ ฏิบตั งิ านสามารถเลือกทาไปใช้ให้เหมาะสมกับงานได้หลากหลายประเภท ตัวอย่างเช่น ใช้สาหรับการ
กรอง ควนั ฝ่นุ ฟมู โลหะ หรอื การกรองก๊าซไอระเหยทแ่ี ขวนในอากาศ เป็นต้น

4.5 ถุงมือนิรภัย ทาขึ้นมาจากวัสดุหนังต่างๆ ได้แก่ หนังวัว หนังกวาง หนังหมู และหนังแพะ
มีคุณสมบัติในการปูองกันผิวหนังบริเวณมือขณะปฏิบัติงานจากความร้อน การเสียดสี ความสกปรก และการ
กระแทกสะเก็ดไฟ โดยถุงมือนิรภัยมีให้เลือกใช้ได้หลายประเภทแตกต่างกันไปตามรูปแบบของการทางาน
ตัวอย่างเช่น ถุงมือปูองกันงานเย็น ถุงมือปูองกันงานเชื่อม ถุงมือปูองกันงานเล่ือยด้วยมือ ถุงมือปูองกันงาน
เครอ่ื งจักร และถุงมือปอู งกนั ทั่วไป เป็นต้น

4.6 รองเทา้ นริ ภยั ...

-41-
4.6 รองเท้านิรภัย วัสดุที่ใช้ประกอบด้วยโครงเหล็ก มีคุณสมบัติในปูองกันอันตรายท่ีเกิดจาก
กระแสไฟฟา้ ปอู งกนั เท้าจากแรงบีบอดั และแรงกระแทกจากวตั ถทุ ่ีอาจตกลงมากระแทกได้ในระหว่างปฏิบัติงาน
อีกท้ังพ้ืนรองเท้านิรภัยยังทาข้ึนจากวัสดุที่มีคุณสมบัติในการปูองกันกรดและน้ามัน ช่วยเพ่ิมความปลอดภัย
ใหแ้ ก่ผปู้ ฏบิ ัตงิ านได้
4.7 หน้ากากเชื่อม มีคุณสมบัติในการปูองกันอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงาน จากควัน และแสง
ท่ีเกดิ ข้ึนจากการเชื่อมไฟฟ้า ไดแ้ ก่ การเชือ่ มไฟฟ้าแบบปรับแสงไดแ้ ละการเชื่อมไฟฟ้าแบบธรรมดา
4.8 กระบังหน้า มีคุณสมบัติในการปูองกันใบหน้าในขณะปฏิบัติงาน จากเศษโลหะและ
ส่งิ แปลกปลอมต่างๆ

บทที่ 8…

-42-

1. กฎ 10 ข้อ ในการทางานกับเคร่ืองจักรอย่างปลอดภยั
(1) ห้ามใช้เครื่องจักรโดยไม่มหี น้าทห่ี รอื ได้รบั การอบรมมาก่อน
(2) ใช้เคร่อื งจกั รอย่างระมัดระวงั ปฏบิ ตั ิงานตามคู่มือ หรอื ขั้นตอนที่กาหนดเสมอ
(3) ห้ามถอดเคร่ืองมอื นิรภัยหรอื ท่คี รอบป้องกนั อนั ตรายจากเครื่องจกั รออกเด็ดขาด
(4) สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายที่เหมาะสมกับงาน
(5) ระวังอยา่ ให้มือหรือส่วนใดของร่างกายเข้าใกล้จุดหมุน จุดหนีบ หรือส่วนที่เคล่ือนไหวของ

เครอื่ งจักร
(6) ขณะเคร่ืองจักรกาลังทางานอย่าปรับแต่งทาความสะอาด หรือพยายามดึงชิ้นงานท่ีติดขัด

โดยไมห่ ยุดเครอ่ื งจกั รกอ่ น
(7) สวมใส่เส้อื ผ้าทกี่ ระชับ ไมค่ วรสวมใส่เครอื่ งประดบั ท่อี าจถูกเครื่องจักรหนบี หรอื ดึงได้
(8) ขณะทาการตรวจสอบ แก้ไข หรือซ่อมแซมเคร่อื งจักร ให้แขวนป้ายเตือนและใส่กุญแจล็อค

(Logout, Tagout) ตลอดเวลา
(9) ก่อนปฏิบัตงิ าน ตอ้ งตรวจสอบสภาพเครอ่ื งจกั รให้อยู่ในสภาพดีเสมอ
(10) หากพบเคร่ืองจักร เครื่องมือนิรภัย หรือท่ีครอบป้องกันอันตรายจากเคร่ืองจักรที่ชารุด

หรอื สูญหายไป ให้รบี แจ้งหวั หน้างานทนั ที
2. อันตรายและประเภทของเครือ่ งจักร
เครื่องจักรกลต่าง ๆ เป็นปัจจัยหนง่ึ ที่มคี วามสาคัญตอ่ กระบวนการผลติ ทาให้ผลติ ภัณฑ์เกิดเป็น

รูปร่าง และเครือ่ งจกั รท่ีใช้ในโรงงาน มีหลายแบบ แต่ละเคร่ืองก็มีข้อควรระวังในการใช้งานแตกต่างกันออกไป
แต่โดยทั่วไปอนั ตรายทผ่ี ูป้ ฏบิ ตั งิ านจะไดร้ ับจากเครื่องจกั ร แบ่งได้ 3 สว่ นคอื

(1) อันตรายจากเครื่องต้นกาลัง ได้แก่ เคร่ืองยนต์ท่ีผลิตกระแสไฟฟ้าใช้เองภายในโรงงาน หม้อ
ผลิตกระแสไฟฟา้ หมอ้ ผลติ ไอน้า

(2) อนั ตรายจากเครอ่ื งสง่ กาลงั ได้แก่ เพลา สายพาน โซ่ กระเดอ่ื ง ท่อลมอัดตา่ ง ๆ อนั ตรายมัก
เกิดในลกั ษณะถกู ชนกระแทก หรอื หนบี ร้งั เข้าไปติดทาให้สูญเสยี อวยั วะไปจนกระท่ังเสียชวี ติ

(3) อันตรายจากเครื่องจักรทาการผลิต ไดแ้ ก่ เครอ่ื งกลึง เครื่องกัด เครื่องใส เคร่ืองเจาะ ท่ีใช้ใน
การผลิตหรือซอ่ มบารงุ อันตรายมักจะเกิด ไดแ้ ก่ แขน เท้า ศีรษะ บริเวณใบหนา้

3. ขอ้ ควรระวัง มดี ังตอ่ ไปนี้
(1) ต้องแน่ใจว่าเครื่องจักรทุกเคร่ืองต้องมีฝาครอบ หรือส่ิงป้องกันปิดไว้ในที่ของมัน เช่น

ฝาครอบสายพาน การ์ด ปอ้ งกันมอื

(2) ฝาครอบทกุ ๆ…

-43-
(2) ฝาครอบทุก ๆ อย่าง ถ้าตอ้ งเปิดเพ่อื ทาสง่ิ ใด ๆ ต้องปดิ ทนั ทเี มอ่ื เสร็จ
(3) อย่าพยายามหยอดน้ามัน ทาความสะอาด หรือปรับแต่งใดๆในขณะท่ีเคร่ืองจักร กาลังใช้
งานอยู่ ควรหยุดเครอ่ื งและยกสวติ ช์เสียก่อน
(4) อย่าพยายามหยุดเครื่องจักรด้วยมือหรือส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกาย เช่น หยุดแกนหมุน
เครอ่ื งเจาะดว้ ยมือ หรือใชม้ ือจับหวั งานเครือ่ งกลงึ ในขณะท่หี มนุ อยู่
(5) งานและเครื่องมือตัดตอ้ งแนใ่ จเสมอ ๆ ทุกครั้งว่าไดย้ ึดแน่นและถกู ต้องจึงเปดิ เคร่อื ง
(6) รักษาพ้นื ใหส้ ะอาดอย่าใหม้ ีเศษโลหะ เพราะเศษโลหะเหล่าน้ีเราอาจเหยียบล่ืน หรืออาจจะ
ตาจนทะลุรองเท้า
(7) ทุกครั้งทีใ่ ช้งานใหต้ รวจดคู วามเรว็ ของเครื่องวา่ ถกู ตอ้ งเหมาะสมไม่ควรใช้ความเร็วเกินกว่า
ท่ีผลิตกาหนดไว้
(8) ขณะเครือ่ งทางานอย่าเอ้ือมมือข้ามหรือกระทาการอันหนงึ่ อนั ใดต่อเครื่องท่ีจะนาไปส่อู ุบัติเหตุได้
(9) อุปกรณ์ช่วยต่าง ๆ เชน่ คมี ประแจ อยา่ วางใหเ้ กะกะบนเครอื่ งขณะทางาน
(10) น้ิวมือ เทา้ และส่วนใดสว่ นหนึ่งของร่างกายจะตอ้ งระมดั ระวังให้อย่ใู นสภาพท่ปี ลอดภยั
ก่อนจะเปิดเครอ่ื ง
(11) ศกึ ษาถึงกลไก การบังคับเครื่องให้ดีก่อนใช้งาน
(12) อุปกรณ์ตดั เฉือนทกุ ชนิด ต้องจบั ยดึ อยูก่ บั ท่ีของมนั ใหแ้ นน่ กอ่ นจะทาการตัดเฉอื น
(13) อยา่ คาประแจขนั ไว้บนอุปกรณ์จับยึดชิน้ งาน ถ้าเผลอเปิดเครอื่ งทางานจะเกดิ อันตรายไดง้ ่าย
(14) ควรตีกรอบ รอบ ๆ บริเวณเคร่อื ง เพอ่ื ป้องกันมิให้บคุ คลอ่ืน ๆ เข้าไปใกล้ ซ่งึ จะเกดิ อนั ตรายไดง้ ่าย

บทที่ 9…

-44-

วิธปี ฏบิ ัติงานทป่ี ลอดภยั
1. สวมเคร่ืองแต่งกายท่ีเหมาะสม รัดกุม และสวมรองเท้าบูทเพ่ือป้องกันอันตรายจากสัตว์มีพิษ
และวสั ดแุ หลมคมต่าง ๆ
2. ไมส่ วมเคร่อื งประดบั ทอี่ าจถกู เกี่ยวหรอื ถกู ดึง
3. ไม่ปฏบิ ัติงานในขณะทีส่ ภาพรา่ งกายไม่พร้อมทจี่ ะปฏิบัตงิ าน เชน่ เจ็บป่วย
งว่ งนอน มนึ เมา เป็นต้น
4. การใช้ยานพาหนะในการออกปฏิบัติงานต้องตรวจสอบสภาพของยานพาหนะที่ใช้ให้อยู่
ในสภาพพร้อมใช้งานอยเู่ สมอ
5. การใชร้ ถจักรยานยนตอ์ อกปฏบิ ตั ิงานต้องสวมหมวกนิรภัย การบรรทุกอุปกรณ์การปฏิบัติงาน
ต้องผูกมัดให้แน่นแขง็ แรง
6. ควรตรวจสอบสภาพอากาศก่อนออกไปปฏิบัติงานและหลีกเล่ียงการออกปฏิบัติงานขณะเกิด
ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
7. หากออกปฏิบัติงานแล้วเกิดฝนตกหรือภัยพิบัติอ่ืนๆ ให้หยุดการปฏิบัติงานและหาที่พักหรือ
หลบภยั จนกวา่ เหตุการณจ์ ะปกติ
8. กรณีท่ีปฏิบัติงานอยู่ในชั้นท่ีเสี่ยงภัย ให้ตรวจสอบข่าวสารหรือเหตุการณ์ต่างๆ ก่อนออก
ปฏบิ ตั งิ าน
9. กรณีที่ปฏบิ ตั ิงานอยู่ในพืน้ ที่เสยี่ งภยั ควรเชื่อฟงั คาแนะนาของผนู้ าชมุ ชนหรอื เจ้าของพืน้ ท่ี

บทที่ 10...

-45-

1. ความมงุ่ หมายของการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยในข้ันแรก ที่กระทา

ในทันทีทันใดหรือในสถานทเ่ี กิดเหตุ โดยใช้อุปกรณ์เทา่ ทีจ่ ะหาได้ประกอบกับความรู้ในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
เพื่อลดอนั ตรายของผ้บู าดเจ็บ ก่อนท่ีผู้บาดเจบ็ จะถึงมอื แพทย์ หรือขณะที่สง่ ไปหาแพทย์

วัตถปุ ระสงคข์ องการปฐมพยาบาล
(1) เพื่อช่วยรกั ษาชีวิตเอาไว้
(2) ลดความรุนแรงของการบาดเจ็บ เพือ่ ป้องกันการพกิ าร
(3) บรรเทาความเจ็บปวด และปอ้ งกันอนั ตรายท่ีจะเกิดขึ้น
2. หลักปฏิบัตทิ ่วั ไป
(1) หาสถานที่ที่เหมาะสม เชน่ ทร่ี ่มเยน็ และมีอากาศถ่ายเทได้สะดวกบริเวณใกล้ๆ ท่ีเกิดเหตุ
คลายส่งิ ท่ีรดั ตวั คนเจ็บออก เชน่ กระดมุ เสอ้ื เขม็ ขัด เป็นตน้ หา้ มบุคคลอ่นื อย่าให้มามงุ ดู
(2) หากผู้บาดเจ็บยังมีสติพูดได้อยู่ ให้สอบถามอาการและสาเหตุหรืออาจสอบถามจากผู้พบ
เห็นเหตุการณ์ตรวจดูให้รู้แน่ว่า ผู้ประสบอันตรายได้รับบาดเจ็บมากน้อยแค่ไหนเพียงใด เช่น มีเลือดออก
หยดุ หายใจ มีอาการช็อกมแี ผลไหม้หรอื กระดกู หักหรือไม่
(3) เมือ่ ทราบตาแหน่งบาดแผลของผู้บาดเจ็บแล้ว ให้รีบแก้ไขอาการท่ีหนักและเป็นอันตราย
ตอ่ ชีวติ มากทสี่ ุดกอ่ นอ่นื
(4) หา้ มทาการเคล่อื นย้ายผู้ทไ่ี ดร้ บั บาดเจบ็ สาหสั เช่น กระดูกหกั โดยเฉพาะบริเวณกระดูกสัน
หลงั นอกจากจาเป็นต้องทาเพ่อื หลีกเล่ียงอันตรายท่อี าจเกดิ ขนึ้ เพ่มิ ข้นึ อีก เช่น อันตรายจากยานพาหนะที่ผ่าน
ไปมาหรือจากเพลิงกาลังลุกไหม้ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายผู้ได้รับบาดเจ็บสาหัสให้ใช้วิธีการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยให้
เหมาะสมกับลกั ษณะอาการ
(5) ห้ามให้น้าหรือเคร่ืองดมื่ อืน่ ใดแกผ่ บู้ าดเจบ็ ทยี่ ังไม่ร้สู ึกตัวหรือรูส้ ึกตัวบา้ งเล็กนอ้ ย
(6) พยายามทาใหผ้ ้บู าดเจบ็ สบายทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะทาได้ ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย พูดปลอบโยน
และให้กาลงั ใจแก่ผ้บู าดเจบ็ อยา่ พูดคยุ ถึงความรา้ ยแรงของบาดแผล
(7) รีบหายานพาหนะนาผบู้ าดเจ็บสง่ โรงพยาบาล
3. การปฐมพยาบาลทวั่ ๆ ไป
(1) ขอ้ เคล็ด

สาเหตุ
- เกดิ จากการฉกี ขาดหรอื การยืดตวั ของเน้อื เยือ่ กล้ามเนอื้ หรอื เสน้ เอ็นรอบขอ้ ตอ่ อาการ
- เวลาเคลอ่ื นไหวจะรูส้ กึ ปวดบรเิ วณข้อตอ่ ทไ่ี ด้รบั อันตราย
- บวมแดงบรเิ วณรอบๆ ข้อต่อ

การปฐม…

-46-

การปฐมพยาบาล
- อย่าให้ข้อตอ่ บรเิ วณทเ่ี จ็บเคลอ่ื นไหว
- อย่าให้ของหนกั กดทบั บรเิ วณขอ้ ทีเ่ จ็บ
- ควรประคบด้วยความเย็นไว้ก่อน
- ถ้ามีอาการปวดรุนแรงใหร้ บี นาไปพบแพทย์
(2) ขอ้ ยอก
สาเหตุ
- เกิดจากการทกี่ ล้ามเนื้อยืดตัวมากเกินไป ซึ่งเกิดขึ้นเพราะการเคลื่อนไหวอย่างรุนแรง
และรวดเร็วมากไป
อาการ
- เจ็บปวดบรเิ วณทีไ่ ด้รับบาดเจ็บ ต่อมาจะมีอาการบวม
การปฐมพยาบาล
- ให้ผบู้ าดเจบ็ นงั่ หรอื นอนในท่าทส่ี บายและปลอดภัย
- ถ้าปวดมากอาจบรรเทาอาการปวดโดยการประคบความเย็นก่อน แล้วต่อด้วยประคบ
ความรอ้ น
(3) ตาบาดเจ็บ
การปฐมพยาบาลเก่ียวกับตาบาดเจ็บนั้น ควรปฐมพยาบาลเฉพาะตาบาดเจ็บเล็กน้อย
เทา่ น้ันถา้ บาดเจ็บรุนแรง ใหห้ าผา้ ปิดแผลสะอาดปิดตาหลวม ๆ แล้วนาผบู้ าดเจบ็ ส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว
(4) ผงเข้าตา
สาเหตุ
- มสี งิ่ แปลกปลอมเข้าตา - ระคายเคืองตา คนั หรือปวด
การปฐมพยาบาล
- ใช้น้าสะอาดล้างตาให้ทั่ว
- ถ้าผงไม่ออกใหห้ าผ้าสะอาดปดิ ตาหลวมๆ แลว้ นาผูบ้ าดเจ็บไปพบแพทย์
4. บาดแผลและการห้ามเลอื ด
บาดแผล คือ การฉีกขาดของเน้ือเย่ือตามปกติเมื่อมีบาดแผลเลือดย่อมไหลออกมาไม่มาก
กน็ ้อย การเสียเลอื ดมากอาจเป็นอันตรายอย่างร้ายแรงในกรณีที่มีเลือดไหลออกมามาก ควรหาทางห้ามเลือด
ทนั ทกี อ่ นท่ีจะปฏิบัติการอย่างอ่ืน
การห้ามเลอื ด
ก. การกดด้วยน้ิวมอื
- บาดแผลทเี่ ลือดออกไม่มากจะหา้ มเลอื ดได้ โดยใชผ้ ้าสะอาดปดิ ทบ่ี าดแผลแล้วพันให้แน่น
ถ้ายงั มเี ลือดไหลซมึ ให้ใชน้ ิ้วมอื กดตรงบาดแผลดว้ ยกไ็ ด้
- ในกรณที เ่ี ส้นโลหติ แดงใหญ่ขาด หรือไดร้ บั อนั ตรายอย่างสาหัสเป็นบาดแผลใหญ่ ควรใช้
นว้ิ มือกดเพือ่ หา้ มเลือดไม่ใหไ้ หลออกมาและใหก้ ดลงบรเิ วณระหว่างบาดแผลกับหวั ใจ เช่น

- เลอื ดไหล…

-47-
- เลือดไหลออกจากหนังศีรษะและส่วนบนของศีรษะ ให้กดที่เส้นเลือดบริเวณขมับด้าน
ที่มีบาดแผล
- เลือดไหลออกจากใบหน้า ให้กดที่เส้นเลือดใต้ขากรรไกรล่าง ห่างจากมุมขากรรไกร
ไปข้างหนา้ ประมาณ 1 น้ิวดา้ นที่มีบาดแผล
- เลือดไหลออกมาจากคอ ให้กดลงไปบริเวณต้นคอข้างๆ หลอดลมด้านท่ีมีบาดแผล
(การกดตาแหน่งนี้นาน ๆ อาจจะทาให้ผู้ถูกกดหมดสติได้ฉะนั้นควรใช้วิธีนี้ต่อเมื่อใช้วิธีอ่ืน ๆ ไม่ได้ผลแล้ว
เทา่ นน้ั )
- เลือดไหลออกมาจากแขนท่อน บนใหก้ ดลงไปทไี่ หปลาร้าตอนบนสุดใกล้หัวไหล่ของแขน
ดา้ นท่มี บี าดแผล
- เลือดไหลออกมาจากแขนทอ่ นล่าง ให้กดท่ีเส้นเลือดบริเวณแขนท่อนบนด้านในกึ่งกลาง
ระหวา่ งหัวไหล่กบั ขอ้ ศอก
- เลือดออกทข่ี า ใหก้ ดเส้นเลอื ดบรเิ วณขาหนีบด้านทมี่ ีบาดแผล
ข. การใช้สายรดั หา้ มเลือด
ในกรณีทีเ่ ลอื ดไหลออกจากเสน้ โลหติ แดงท่ีแขนหรือขา ใช้นิ้วมือกดแล้วเลือดไม่หยุด ควร
ใชส้ ายสาหรับหา้ มเลอื ดโดยเฉพาะ
1. สายรัดสาหรับแขนให้ใชร้ ัดเส้นโลหติ ทต่ี น้ แขนสายรัดสาหรับขาให้ใชร้ ัดเสน้ โลหติ โคนขา
2. อย่าใช้สายรัดผูกปิดให้แน่นนักและทุกๆ 10 นาที ควรจะคลายออกเป็นเวลา 3 วินาที
ท้งั นีจ้ นกว่าเลอื ดจะหยุด
3. ถา้ ไมม่ สี ายรัดแบบมาตรฐาน อาจใช้วัตถุที่แบนๆ เช่น เข็มขัดหนังรัด ผ้าเข็ดตัว เนคไท
หรือเศษผ้า ทาเป็นสายรัดได้ แต่อย่าใช้เชือก เส้นลวดหรือด้ายทาเป็นสายรัด เพราะอาจจะบาดหรือเป็น
อันตรายแก่เนือ้ บรเิ วณทีผ่ กู
ค. การยกบรเิ วณทีม่ ีบาดแผลให้สูงกวา่ หัวใจ เช่น มีบาดแผลเลอื ดออกที่เท้าจัดให้ผู้บาดเจ็บ
นอนลงแล้วยกเท้าข้นึ ไว้

5. กระดูกเคลอ่ื น ...


Click to View FlipBook Version