The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

-48-

5. กระดกู เคลือ่ น
สาเหตุ
- กระดูกเคล่ือนเกิดขึ้นเพราะปลายกระดูกข้างหน่ึงประกอบกันเข้าเป็นข้อต่อเคล่ือนที่หลุด

ออกจากเส้นเอ็นที่ห้มุ ห่อบริเวณข้อตอ่ ไว้
อาการ
- ตึงและปวดมากบริเวณข้อตอ่ ท่ีหลดุ
- ข้อตอ่ จะมรี ปู รา่ งและตาแหน่งผิดไปจากเดิม
การปฐมพยาบาล
- จัดให้ผู้บาดเจบ็ อยใู่ นท่าทส่ี บายท่ีสุด
- หา้ มกดหรือทาให้ขอ้ ต่อนั้นเคล่ือนไหวเปน็ อนั ขาด
- นาผูบ้ าดเจบ็ สง่ ไปพบแพทยใ์ หเ้ ร็วท่ีสดุ
- การเคลอื่ นย้ายผู้บาดเจ็บควรใช้เปลหาม

6. กระดูกหัก
กระดูกหักมอี ยู่ 2 แบบ คือ
ก) กระดูกหักชนิดธรรมดาหรือชนิดปิด ได้แก่ การมีกระดูกหักเพียงอย่างเดียว ไม่แทงทะลุ

ผิวหนงั ออกมา
ข) กระดูกหกั ชนิดมีบาดแผลหรือชนดิ เปดิ ได้แก่ การมกี ระดูกหักแล้วแทงทะลุผิวหนังออกมา

หรอื วัตถุจากภายนอกแทงทะลผุ วิ หนังเข้าไปกระทบกบั กระดูกทาใหก้ ระดูกหัก
อาการ
1. บวม
2. เวลาเคล่อื นไหวจะเจ็บบริเวณท่ีได้รบั อันตราย
3. ถ้าจับบริเวณทไ่ี ดร้ บั อนั ตรายจะรู้สึกนมุ่ น่มิ และอาจมีเสียงปลายกระดกู ทหี่ กั เสยี ดสีกนั
4. อวัยวะเบย้ี วบดิ ผดิ รปู
การปฐมพยาบาล
1. อยา่ เคลื่อนยา้ ยผู้ประสบอันตราย นอกจากจะเกดิ ความจาเป็นจริง ๆการเคล่ือนย้ายอาจทา

ให้บาดแผลหนกั ข้นึ ไปอีก
2. ระมัดระวงั ใหป้ ลายกระดูกทีแ่ ตกอยู่น่ิงๆ
3. ปอ้ งกนั อยา่ ใหเ้ กิดอาการช็อค
4. ถ้ากระดูกที่หักแทงทะลุผิวหนังออกมาข้างนอกให้ห้ามเลือด โดยใช้นิ้วกดหรือใช้สาย

สาหรับรดั หา้ มเลือด
5. ใช้ผ้าปิดแผลทส่ี ะอาด ปิดปากแผลหรอื กระดูกทโี่ ผล่ออกมา
6. ถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องเคลื่อนย้ายผู้ประสบอันตราย ควรใช้เฝือกช่ัวคราว สายคล้อง

แขนหมอน และเปล
เฝือกช่ัวคราวอาจทาด้วยวัตถุใดๆ ก็ได้ที่อยู่ใกล้มือ เช่น กระดาน ม้วนหนังสือพิมพ์

ม้วนฟาง หรือร่ม ให้ผูกเฝือกกับแขนหรือขาตรงท่ีหักข้างล่างและข้างบนและถ้าสามารถทาได้ ให้ผูกถัดที่ ๆ
แตกไปท้งั สองขา้ ง จะทาใหเ้ ฝือกชัว่ คราวแข็งแรงขึ้นใช้กระดาษ ผา้ สาลี หรือวัตถุอื่นๆ ท่ีคลา้ ยกันรองเฝือก

เพอื่ ให…้

-49-

เพ่อื ใหบ้ รเิ วณทไ่ี ดร้ ับอนั ตรายอยใู่ นระดบั เดียวกัน ซ่ึงการทาวิธีนี้เฝือกจะพอดีไม่กดกระดูกบางแห่งมากเกินไป
สาหรับการใส่เฝือกท่ีแขนหรือขานั้น ควรใส่ให้รอบทุกด้าน ดีกว่าใส่เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง และให้ใช้ผ้าเป็น
ชิน้ ๆ หรอื เชือกท่ีเหนยี วๆ ผกู เฝือก แต่ผา้ สาหรบั ผูกในยามฉกุ เฉินทีด่ ีท่สี ุดกค็ ือ ผ้าพันแผลยาวๆ

7. บางครั้งก่อนเข้าเฝือกจาเป็นต้องเคล่ือนย้ายผู้ประสบอันตรายบ้างเล็กน้อย ควรจะให้ใคร
คนหนึ่งจับแขนหรือขาตอนเหนือและล่างบริเวณที่กระดูกหักน้ัน ไว้ให้อยู่น่ิงๆ ส่วนคนอื่นๆ ให้ช่วยกันรับ
น้าหนกั ของรา่ งกายไว้ วิธีท่ีดที ีส่ ุดกค็ อื ใช้เปลหาม

กระดูกสันหลังหรือคอหัก หรือสงสัยว่าจะหัก จะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษถ้าคน
เจ็บหมดสติอาจจะไม่รู้ว่ากระดูกคอหรือกระดูกสันหลังหัก นอกจากผู้นาการปฐมพยาบาลจะมีความรู้ดี
เปน็ พิเศษ กระดกู หกั ธรรมดาอาจจะกลายเป็นกระดูกหักชนิดมีบาดแผลได้ถ้าหากไม่ระมัดระวังรีบเคลื่อนย้าย
คนเจ็บ ดงั นน้ั หากสามารถทาได้ควรงดเวน้ การเคลื่อนย้ายใดๆ จนกว่าแพทยจ์ ะมาทาการช่วยเหลอื

การเคลอื่ นย้ายผู้ที่กระดกู คอหกั
(1) เมือ่ จะทาการเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ระสบอนั ตรายถึงคอหักให้เอาบานประตู หรือแผ่นกระดานกว้าง
ๆ มาวางลงขา้ งคนเจบ็ ให้ปลายกระดานเลยศรี ษะคนเจบ็ ไปประมาณ 4 น้วิ เปน็ อยา่ งนอ้ ยถ้าผู้ประสบอันตราย
นอนหงายใหใ้ ครคนหน่ึงคกุ เข่าลงเหนอื ศีรษะ ใช้มือทั้งสองข้างจับศีรษะไว้ให้นิ่งๆ เพ่ือว่าศีรษะคนและหัวไหล่
จะได้เคลื่อนไหวเป็นจังหวะเดียวกันกับร่างกายโดยไม่ต้องงอ ส่วนคนอ่ืนๆ จะเป็นคนเดียวหรือหลายคนได้
ชว่ ยกันจับเสือ้ ผ้าของผู้ประสบอันตรายตรงหัวไหล่และตะโพกแล้วค่อยๆ เลื่อนผู้ประสบอันตรายน้ันวางลงบน
แผ่นกระดานหรือบานประตู ให้ผู้ประสบอันตรายนอนหงายอย่ายกศีรษะขึน้ อย่าใหค้ อบดิ
(2) ถ้าผู้ประสบอันตรายนอนคว่าหน้าควรจะวางบานประตูหรือกระดานลงข้างตัวผู้ประสบ
อันตราย เอาแขนเหยียดไปทางศรี ษะ คกุ เข่าลงเอามอื จบั ขา้ งศีรษะของผู้ประสบอนั ตรายโดยให้มือปิดหูและมุม
ขากรรไกร แล้วค่อยพลิกคนเจบ็ ใหน้ อนหงายบนกระดาน เวลาพลิกให้นอนหงายจะต้องให้ศีรษะอยู่น่ิง ๆ และ
ให้อยู่ระดับเดียวกับลาตัวท้ังศีรษะและลาตัวจะต้องพลิกให้พร้อมๆ กัน ระหว่างที่ทาการเคล่ือนย้ายควรใช้
หนังรัด หรือผ้าพันแผลได้หลายๆ อันรัดรอบตัวของผู้ประสบอันตรายให้ติดแน่นกับแ ผ่นกระดาน
หรือถา้ มเี ปลกใ็ ห้ใชเ้ ปลหาม

การเคลอื่ นยา้ ยผู้ทกี่ ระดูกสันหลังหกั
(1) อย่ารีบยกผู้ประสบอันตรายที่สงสัยว่ากระดูกสันหลังจะหัก ต้องถามก่อนว่าสามารถ
เคลื่อนไหวมอื และเท้าได้หรอื ไม่ ถ้าผปู้ ระสบอันตราย ไมไ่ ดส้ ติและสงสัยวา่ จะได้รับอันตรายท่ีกระดูกสันหลังให้
ปฏิบัตเิ ช่นเดียวกับผทู้ ก่ี ระดกู คอหกั
(2) ถ้าพบคนท่ีสงสัยว่ากระดูกสันหลังหักนอนคว่าหน้าอยู่ ค่อยๆ พลิกให้นอนหงายลงบนแผ่น
กระดานหรอื เปล แล้วหาอะไรมารองสันหลังตอนล่าง ถ้าผู้ประสบอันตรายนอนหงาย ค่อยๆ เลื่อนให้นอนบน
กระดานโดยปฏิบัติเชน่ เดยี วกับผู้ทก่ี ระดูกคอหกั
(3) ผู้ประสบอันตรายทส่ี งสยั วา่ กระดูกสันหลงั หัก ไม่ควรยกในทา่ นง่ั โดยเดด็ ขาด

7. การรกั ษา ...

-50-
7. การรักษาอาการช็อก

สาเหตุ
เกิดจากระบบการหมุนเวียนของโลหิตไม่ทางาน ซึ่งอาจเกิดข้ึนจากการถูกกระแสไฟฟ้า
เสียโลหิตมาก ไฟไหม้ กระดกหัก บาดแผลสาหัส ท้องเสียอาเจียนรุนแรง โกรธฉุนเฉียว ดีใจมาก การอักเสบ
รุนแรงในรา่ งกายและบาดเจบ็ อยา่ งรุนแรง
อาการ
- ซีด ปลายมือปลายเท้าเย็น
- ผวิ หนงั เยน็ ช้นื
- กระสับกระสา่ ย กระหายน้า
- เหงื่อออกที่หน้าผาก ริมฝปี าก และฝา่ มือ
- ร้สู ึกออ่ นเพลียหรือมีอาการเป็นลม
- ชพี จรเบาลง แต่เร็วข้ึน หายใจหอบ
- คลื่นเหียนและอาเจียน
- อาจจะหมดสติสมั ปชญั ญะ
การปฐมพยาบาล
(1) นาคนเจ็บนอนเหยียดยาว นอนในทา่ ทปี่ ลอดภัย ถ้าร่างกายส่วนล่างไม่ได้รับอันตรายควร
ยกให้สงู ขน้ึ เล็กนอ้ ย ในกรณที ไ่ี ดร้ ับบาดแผลท่หี นา้ อกหายใจลาบากให้ยกศีรษะและไหล่ให้สูงขึ้นเล็กน้อยปลาย
มอื และเท้าเหยียดตรง
(2) พยายามทาให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในลักษณะท่ีสบาย อย่าให้ร้อน หรืออึดอัดถ้าจะห่มผ้าให้
พจิ ารณาดอู ุณหภมู ิรอบๆ ให้ดีเสยี กอ่ น อยา่ ทาให้เหง่ือออก ถ้าผวิ หนงั ได้รบั
อนั ตรายอย่างรา้ ยแรง เช่น ถูกไฟไหม้ อย่าทาให้มือและเท้าอุ่นเกินไป เพราะต้องการให้เลือดคงอยู่ในส่วนลึก
ของรา่ งกายไม่ควรทาให้เลือดฉีดอยู่ตามบริเวณผิวหนังท่ีมือและเท้าเพราะจะทาให้การหล่อเล้ียงส่วนที่สาคัญ
เสยี ไป
(3) ถา้ คนเจ็บไมม่ ีอาการคลื่นไส้ หมดสตหิ รอื มีบาดแผลท่ีหนา้ ท้องจะให้น้าดม่ื บ้างเล็กน้อยได้
(4) ถา้ คนเจ็บหมดสติ ให้เอาแอมโมเนยี หยดใสผ่ า้ แล้วเอาไปจ่อไว้ใกลจ้ มกู ของคนเจ็บ
(5) ถ้ามบี าดแผล หรือกระดกู หัก รบี หา้ มเลอื ดและเขา้ เฝอื กชั่วคราว
(6) นาผบู้ าดเจบ็ สง่ โรงพยาบาลโดยเร็ว

รูท้ ัน...

-51-
8. การช่วยหายใจ ...

-52-

8. การชว่ ยหายใจโดยวธิ เี ป่าปาก
(1) ให้วางผู้ประสบอันตรายนอนหงาย เปิดทางเดินของระบบหายใจด้วยการคุกเข่าลงข้างๆ

ผูป้ ่วยใกล้กบั ศีรษะ แล้วจับหน้าผากด้านบนและศีรษะของผ้ปู ่วยไว้ด้วยมือขา้ งหน่งึ อกี มือหนึ่งสอดเข้าใต้คอดัน
ใหห้ นา้ แหงนและยกคางข้ึนจนกระทง่ั ฟนั บนและฟนั ล่างอยชู่ ดิ กนั แตอ่ ย่าใหป้ ากปดิ สนิท ผู้ทาการปฐมพยาบาล
เอยี งศรี ษะดไู ปทางปลายเทา้ ผูป้ ่วย เพ่อื ใช้หูฟงั เสียงลมหายใจ ใชแ้ ก้มเพื่อสัมผัสลมหายใจจากผู้ประสบอันตราย
และใช้ตาดูด้วยว่ามีการหายใจลาบากหรอื ขัดข้อง มีการขยายตัวของหน้าอกหรือไม่

(2) ผู้ปฐมพยาบาลสูดหายใจเข้าเต็มที่แล้วกดปากให้แนบสนิทกับปากของผู้ประสบอันตราย
ใชก้ ระพุ้งแก้มกดทับจมูกเพื่อป้องกันลมร่ัว (ถ้าผู้ประสบอันตรายเป็นเด็กให้ผู้ทาการปฐมพยาบาลเอาปากปิด
ท้ังปากและจมูกของเด็ก) เป่าลมเข้าปากผู้ประสบอันตรายให้เข้าปอดถ้าเป็นผู้ใหญ่ให้เป่าแรงๆ ถ้าเป็นเด็ก
ใหเ้ ปา่ แตเ่ พยี งเบา ๆ

(3) ขณะทาการเป่าลมเข้าปาก ผู้ปฐมพยาบาลต้องจับตามองหน้าอกของผู้ประสบอันตราย
ตลอดเวลาถา้ การเปา่ ได้ผลทรวงอกจะขยบั ขน้ึ ลงตามจงั หวะของการเป่าทกุ ครงั้

(4) จะต้องจัดขากรรไกรใหเ้ งยสูงไว้ ท้งั ตอนหายใจเขา้ และหายใจออก
(5) ถ้าทรวงอกผู้ประสบอันตรายไม่ขยับขึ้นหรือเป่าลมไม่เข้า อาจเป็นเพราะทางเดินของ
อากาศตดิ ขัด ควรวางผู้ประสบอันตรายให้อยูใ่ นท่าคว่าหนา้ เอามือดึงล้ินให้แลบออกมา เอามือตบหลังระหว่าง
สะบักแรงๆ เพือ่ ให้สง่ิ ทีข่ วางทางเดนิ อากาศนน้ั หลดุ ออกมา
(6) การเปา่ ลมเข้าและออกสาหรับผใู้ หญ่ควรเป็นนาทีละ 12 คร้ัง สาหรบั เด็กเลก็ หรือเดก็ โต
ควรเปน็ นาทีละ 20 ครัง้
(7) การชว่ ยให้หายใจนค้ี วรดาเนินต่อไปเร่ือยๆ จนกว่าผปู้ ระสบอนั ตรายจะฟ้ืนขึ้นมาผู้ประสบ
อัน ต ร าย ท่ีฟื้น ขึ้น ม าเ พ ร า ะ ก า ร ช่ว ยห ายใ จหรื อผู้ท่ี ถูก ไ ฟ ฟ้ าแร ง สูง ช๊ อ ตแต่ ยัง ห ายใ จเ ป็น ป ก ติอ ยู่จะ ต้อ ง
ให้ผู้ประสบอันตรายนอนน่ิงๆ อย่าให้เดินหรือออกกาลังไม่ว่าจะโดยวิธีใด และห้ามดื่มของมึนเมาเป็นอันขาด
จนกว่าจะได้รบั การตรวจจากแพทย์

9. การนวดหัวใจภายนอก
การนวดหัวใจภายนอกน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือช่วยผู้ประสบอันตรายที่หัวใจหยุดเต้นให้สามารถ

รอดชีวติ คืนมาได้
วิธีการ
(1) นาผู้ประสบอันตรายเข้าที่ร่มทันที วางนอนหงายราบ ยกต้นคอขึ้นและเงยศีรษะไป

ด้านหลงั เพ่อื ใหห้ ลอดลมเปดิ ออก ไม่ต้องนาอะไรมาหนนุ ศีรษะ
(2) กรณมี ีสงิ่ ของขวางอยู่ในชอ่ งปาก ใหป้ ฏบิ ตั ทิ านองเดียวกบั เมอื่ ทางเดนิ อากาศติดขัด
(3) ตรวจดูการเต้นของหัวใจด้วยวิธีการคลาชีพจรท่ีคอ หรือเอาหูแนบฟังบริเวณหัวใจซึ่งอยู่

ระหวา่ งหวั นมขา้ งซ้ายกบั กระดกู หนา้ อก ถา้ ไมไ่ ดย้ นิ หวั ใจเตน้ และผปู้ ระสบอันตรายแสดงอาการให้เห็นว่าหัวใจ
หยดุ เตน้ เชน่ หน้าเขยี ว เป็นต้น ใหท้ าการนวดหัวใจทนั ที

(4) การนวดหัวใจให้ผู้ปฐมพยาบาลน่ังคุกเข่าลงข้างๆ ตัวผู้ประสบอันตรายบริเวณหน้าอก
ใช้นิ้วมือสัมผัสชายโครงแล้วเล่ือนนิ้วมาตรงกลางจนกระท่ังนิ้วนางสัมผัสปลายกระดูก ใช้สันมืออีกข้างหนึ่ง
วางตรงกงึ่ กลางกระดูกหน้าอก ตาแหนง่ ที่อยู่ถดั จากนวิ้ ช้ีขน้ึ ไปขา้ งบน และยกอีกมือหนึง่ วางซ้อนลงบนมือท่ีอยู่
ชดิ กระดกู หน้าอก

(5) โน้มตัว…

-53-
(5) โนม้ ตัวไปขา้ งหน้า แขนทง้ั สองข้างเหยียดตรงใหน้ า้ หนกั ตวั ผ่านตามแขนลงไปถึงฝ่ามือการ
กดตอ้ งกดลงดว้ ยน้าหนักทีท่ าใหก้ ระดูกหน้าอกยุบลงประมาณ 1-1 1/2 นวิ้ /ฟตุ เป็นจังหวะๆ นับจานวนคร้ังที่
กดทกุ ครั้ง คอื

หน่งึ - หนึ่งพันหนง่ึ สอง – หน่งึ พนั หนงึ่
สาม - หนึ่งพนั หน่ึง สี่ – หน่ึงพนั หนึ่ง
ห้า – หนึ่งพนั หนึ่ง..............................
ประมาณ 60 ครั้ง ต่อ 1 นาที อย่ากดชนิดใช้มือกระแทกลงแรง ๆ หรืออย่าใช้น้ิวมือกด
ซ่ีโครงเพราะจะเปน็ อันตรายตอ่ ซ่โี ครงหรอื อวยั วะภายในได้
(6) ใหห้ ยุดการนวดหัวใจ เมือ่ หัวใจกลับเตน้ ขน้ึ มาอีก
(7) ถ้าผู้ประสบอันตรายมีอาการหยุดหายใจด้วยก็ให้ทาการช่วยหายใจไปพร้อมกัน
โดยการเป่าลมเข้าปอด 2 ครั้ง สลับกับการนวดหัวใจ 15 คร้ัง แต่ถ้ามีผู้ปฐมพยาบาลสองคน ให้เป่าลมเข้า
ปอด 1 ครัง้ หลังจากการนวดหวั ใจทกุ ๆ 5 ครั้ง และใหก้ ระทาต่อเนื่องโดยไมต่ ้องหยุด
(8) ให้ทาไปเร่ือยๆ จนกว่าผู้ประสบอันตราย หัวใจกลั บเต้นข้ึนมาและหายใจเองได้
หรือผ้ปู ระสบอนั ตรายถงึ มอื แพทยแ์ ล้ว

10. การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ เมื่อเกิดอุบัตเิ หตุ ไฟไหม้ น้าร้อนลวก
บาดแผลไฟไหม้ นา้ รอ้ นลวก โดยมากมกั จะมีสาเหตุจากอุบัติเหตุ ความประมาท ขาดความ

ระมดั ระวัง ซง่ึ กลไกการบาดเจบ็ จะมคี วามรุนแรงมากน้อยเพียงใดขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น ระยะเวลาท่ีผิวหนัง
สัมผสั กับความร้อน อวัยวะท่ีไดร้ ับบาดเจบ็ ดีกรีความลึกของบาดแผล และขนาดความกว้างพ้ืนที่ของบาดแผล
ไฟไหม้ น้าร้อนลวกนัน้ ๆ

1. บาดแผลไฟไหม้ นา้ ร้อนลวก แบ่งเปน็ 3 ระดบั โดยดจู ากดีกรีความลึกของบาดแผล
ดกี รีความลึกระดับ 1 คือ บาดแผลอยู่แคเ่ พียงผวิ หนังช้นั หนงั กาพร้าเท่านั้น โดยปกติจะ

หายเรว็ และไม่เกิดแผลเป็น

ดกี รีความ...

-54-

ดีกรคี วามลึกระดับ 2 คอื บาดเจบ็ ในบรเิ วณช้นั หนังแท้ บาดแผลประเภทน้ีถ้าไม่มีภาวะ
ติดเช้ือแทรกซอ้ น มกั จะหายภายใน 2 - 3 สปั ดาห์ ขึน้ อยูก่ บั ความลึกของบาดแผลจากอุบตั ิเหตุไฟไหม้ น้าร้อนลวก
ซ่ึงมีแนวโน้มที่จะเกิดร่องรอยผิดปกติของบริเวณผิวหนัง หรืออาจมีโอกาสเกิดแผลเป็นแผลหดรั้งตามได้
หากไดร้ ับการรักษาไม่ถูกตอ้ ง

กรณีถูกไฟไหม้ หากบาดเจ็บไม่ลึกมากก็จะพบว่าบริเวณผิวหนังจะมีตุ่มพองใส
เม่ือตุ่มพองน้ีแตกออกบริเวณบาดแผลเบ้ืองล่างจะเป็นสีชมพู และจะรู้สึกปวดแสบปวดร้อนมาก แต่ถ้าพยาธิ
สภาพค่อนขา้ งลึกจะพบว่าสผี ิวหนังจะเปลย่ี นไปเป็นสีเหลอื งหรือขาว ไม่ค่อยเจบ็

ดีกรีความลึกระดับ 3 คือ ช้ันผิวหนังทั้งหมดถูกทาลายด้วยความร้อน บาดแผลเหล่านี้
มกั จะไมห่ ายเอง มีแนวโน้มการติดเช้ือของบาดแผลสูง และมีโอกาสเกิดแผลหดรั้งตามมาสูงมาก ถ้าได้รับการ
รกั ษาไมถ่ กู ต้อง

2. สิง่ แรกทค่ี วรทา เมือ่ โดนไฟไหม้ น้ารอ้ นลวก
- ลา้ งด้วยนา้ สะอาดทอี่ ุณหภมู ปิ กติ จะช่วยลดการหล่ังสารที่ทาให้เกิดอาการปวดบริเวณ

บาดแผลได้
- ซับด้วยผ้าแห้งสะอาด แล้วสังเกตว่าถ้าผิวหนังมีรอยถลอก มีตุ่มพองใส หรือมีสีของ

ผวิ หนังเปลีย่ นไป ควรรีบไปพบแพทย์
แต่ถ้าไฟไหม้ น้าร้อนลวกบริเวณใบหน้า จะต้องได้รับการรักษาจากแพทย์โดยเร็วที่สุด

เพราะบริเวณใบหน้ามักจะเกิดอาการระคายเคืองจากยาท่ีใช้ ห้ามใส่ยาใด ๆ ก่อนถึงมือแพทย์ เพราะผู้ป่วย
แต่ละคนมอี าการตอบสนองต่อตัวยาไมเ่ หมอื นกนั จะตอ้ งขน้ึ กับดลุ ยพนิ จิ ของแพทย์

3. ข้อหา้ ม เมอ่ื โดนไฟไหม้ น้ารอ้ นลวก
ไม่ควรใสต่ วั ยา/สารใด ๆ ทาลงบนบาดแผล ถ้าไม่แน่ใจในสรรพคุณท่ีถูกต้องของยาชนิด

นนั้ โดยเฉพาะ “ยาสีฟัน” “น้าปลา” เพราะส่ิงเหล่านี้จะทาให้เกิดอาการระคายเคืองต่อบาดแผล เพ่ิมโอกาส
การเกิดบาดแผลติดเช้ือ และทาให้รักษาได้ยากข้ึน

4. การรกั ษาเรม่ิ ต้งั แต่
- การใชย้ าทาในระยะเร่มิ ต้น
- การใสช่ ดุ ผ้ารัดในกรณีที่รอยแผลจากไฟไหมน้ า้ รอ้ นลวกมแี นวโนม้ ทจี่ ะนนู มากข้นึ และ

ไมต่ อบสนองต่อการใช้ยาทา
- ฉีดยาลบรอยแผลเป็น ซึ่งจะทาได้ในกรณีที่เกิดรอยแผลนูนและไม่ตอบสนองต่อการ

ใส่ชดุ ผ้ารัด
- ผา่ ตัดแกไ้ ข โดยแพทยจ์ ะตอ้ งทาการประเมินลักษณะและความรนุ แรงของบาดแผล

5. วธิ ีดแู ลตนเองหลงั ข้นั ตอนการรกั ษา
(1) หลกี เล่ยี งการสัมผัสฝุ่นผล หรืออะไรก็ตามท่ีจะทาใหร้ ะคายเคอื ง
(2) หลกี เล่ยี งการสมั ผัสสัตว์ทุกชนิด หากโดนบริเวณแผล อาจทาให้คนั หรอื ติดเชื้อไดง้ า่ ย
(3) รับประทานอาหารทีม่ โี ปรตนี สงู เชน่ เนือ้ สัตว์ เพือ่ เสรมิ การสร้างเนื้อเยื่อใหม่บริเวณ

บาดแผลใหบ้ าดแผลสมานปดิ เร็วข้นึ
(4) หมั่นทายา/รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัดท่ีสาคัญต้องรักษาความสะอาด

แผลให้ดี

-55-
เบอรโ์ ทรสายด่วน ...

-56- โทร

เบอร์โทรสายดว่ นแจง้ เหตฉุ กุ เฉิน 1155
191
สถานบี รกิ ารประชาชน 199

1. ตารวจทอ่ งเที่ยว 192
2. เหตุดว่ นเหตรุ า้ ย 1554
3. แจง้ เหตุไฟไหม้ – ดบั เพลงิ 1196
4. ศนู ยเ์ ตือนภัยพบิ ตั ิแห่งชาติ 1646
5. หน่วยแพทยก์ ชู้ ีพ 1669
6. อุบัติเหตุทางน้า 022262144
7. เจบ็ ปว่ ยฉุกเฉนิ (กทม.) 022262148
8. เจ็บปว่ ยฉุกเฉนิ (ท่ัวไทย) 022262136
9. สถานีตารวจนครบาลพลบั พลาไชย 1 022813002
10. สถานตี ารวจนครบาลพลับพลาไชย 2 022236999
11. สถานีตารวจนครบาลสาราญราษฎร์
12. สถานตี ารวจนครบาลนางเลิ้ง 022233620
13. สถานตี ารวจดับเพลิงสวนมะลิ 022264444
14. สถานีตารวจดบั เพลิงภูเขาทอง 022264445
15. ศูนย์วทิ ยปุ อเตก็ ต๊ึง (24 ชม.) งานบรรเทาสาธารณภัย,ก้ภู ยั , ชว่ ยเหลอื ผบู้ าดเจบ็ 022264446
022264447
16. มูลนธิ ริ ว่ มกตญั ญูให้ความชว่ ยเหลอื ในสภาวะฉุกเฉนิ การบาดเจ็บบรรเทาสาธารณภยั ตา่ งๆ 022264448
027510951
17. หนว่ ยแพทย์กชู้ ีพ กทม. ใหบ้ รกิ ารความช่วยเหลือฉุกเฉินเกยี่ วกับชวี ิต 027510952
18. ศูนย์บริการช่วยเหลอื ผู้ปว่ ยอบุ ตั ิเหตุ หนว่ ยกูช้ วี ติ วชริ พยาบาล 027510953
19. ศูนย์เอราวัณ กทม. บรกิ ารการแพทยฉ์ กุ เฉินกรงุ เทพมหานคร
20. ศูนย์นเรนทร รับแจ้งอุบัติเหตแุ ละให้คาแนะนาฉุกเฉินในการดูแลคนป่วย 1555
21. สายดว่ นนิรภัย การป้องกนั ภัยเชิงรุกบรรเทาทุกข์เมอื่ เกดิ ภยั
22. ศนู ย์รบั แจ้งอบุ ตั เิ หตุ รบั แจ้งอุบัตเิ หตุ ศูนย์โรงพยาบาลตารวจ 1554
1646
1669
1784
1691


Click to View FlipBook Version