The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by np20958, 2022-04-21 23:40:05

แผน สพม อนชน(65)

แผน สพม อนชน(65)

รำยแงผำนนปกฏำริบปตั รกิะเามรนิ ตนเอง
ประSจEาFปEีง–บAปSรSEะSมขSาอMณงEสNพถTำ.RศนE.ศP2กึO5ษR6Tำ5

: SAR

สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอทุ ยั ธานี ชยั นาท
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

สำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำมธั ยมศึกษำอทุ ยั ธำนี ชยั นำท จดั ทำแผนปฏิบัติกำร ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2565 ฉบับน้ีขึ้น เพ่ือให้หน่วยงำนและโรงเรียนในสังกัดใช้เป็นกรอบทิศทำงในกำรดำเนินงำนและ
ขบั เคล่อื นกำรบรหิ ำรจัดกำรและพฒั นำคุณภำพศึกษำ โดยมีกำรวิเครำะห์ควำมสอดคล้องกับแผนยุทธศำสตร์
ชำติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580), แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ (พ.ศ.2561–2580) , แผนปฏิรูปประเทศ
(ฉบับปรับปรุง) , แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) , แผนปฏิบัติกำร
ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน, นโยบำยของ
กระทรวงศกึ ษำธิกำรและสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน และกลยุทธ์ ตัวชี้วัด ท่ีมุ่งเน้นพัฒนำ
คณุ ภำพกำรศึกษำ กำรขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ และประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำท่ีสอดคล้องกับ
ยุทธศำสตร์กำรจัดกำรศึกษำเพ่ือกำรพัฒนำท่ียั่งยืน แผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2565
ของสำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศกึ ษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท มีสำระสำคัญประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ
กลยทุ ธ์ เปำ้ ประสงค์ ตัวชีว้ ดั กจิ กรรม โครงกำร งบประมำณและกำรนำแผนสูก่ ำรปฏิบตั ิอยำ่ งเปน็ รูปธรรม

ท้ังน้ี กำรดำเนินงำนตำมแผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ฉบับนี้ จะบรรลุตำม
เป้ำหมำยควำมสำเร็จท่ีกำหนดไว้ ต้องได้รับควำมร่วมมือจำกผู้เก่ียวข้อง เข้ำมำมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ
ร่วมพัฒนำและรว่ มระดมสรรพกำลงั ในกำรจดั กำรศึกษำให้บรรลผุ ลตำมเป้ำหมำยท่ีกำหนดและนำสู่กำรปฏิบัติ
อยำ่ งแท้จริงตำมมติ กิ ำรบริหำรรำชกำร คือ กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ และมุ่งเน้นให้นักเรียนได้รับโอกำส
ทำงกำรศกึ ษำอยำ่ งท่วั ถึง และมีคณุ ภำพอยำ่ งเทำ่ เทยี ม

สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำอทุ ยั ธำนี ชัยนำท ขอขอบคุณทุกท่ำนท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง และ
หวังว่ำแผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์กำรดำเนินงำนของผู้ปฏิบัติ
หนว่ ยงำนและสถำนศึกษำในสังกัด เพ่ือนำไปใชเ้ ปน็ กรอบแนวทำงในกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำตำม
บริบทของพนื้ ที่ ต่อไป

สำนักงำนเขตพื้นทก่ี ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอุทยั ธำนี ชัยนำท

สำรบญั

หนำ้

คำนำ

สำรบญั

บทสรุปสำหรบั ผู้บริหำร 1

ส่วนที่ 1 บทนำ

 ภำรกจิ และอำนำจหนำ้ ที่ของสำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำ 3

 สภำพทำงภูมิศำสตร์ 4

 กำรปกครอง ประชำกรและแรงงำน 7

 ขอ้ มลู ฐำนด้ำนกำรศกึ ษำ 7

สว่ นที่ 2 นโยบำยดำ้ นกำรศึกษำ

 รัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทย พุทธศักรำช 2560 11

 ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 - 2580) 11

 แผนแมบ่ ทภำยใตย้ ทุ ธศำสตร์ชำติ 12

 แผนกำรปฏริ ปู ประเทศด้ำนกำรศกึ ษำ (ฉบับปรบั ปรุง) 12

 แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 13

 นโยบำยและแผนระดับชำตวิ ่ำด้วยควำมมั่นคงแหง่ ชำติ (พ.ศ. 2562 - 2565) 13

 นโยบำยรฐั บำล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชำ) 14

 แผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 14

 แผนปฏิบัตริ ำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศึกษำธกิ ำร 16

 นโยบำยและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษำธิกำร ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 – 2565 18

 แผนปฏิบตั ิรำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำ 20

ขนั้ พ้นื ฐำน

 แผนพัฒนำกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน (พ.ศ. 2564 - 2565) ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำ 20

ขนั้ พ้ืนฐำน

 นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564-2565 22

ส่วนที่ 3 กำรศกึ ษำสภำพของเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำสำนักงำนเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอุทยั ธำนี 24

ชัยนำท

ส่วนท่ี 4 กำรขับเคล่ือนนโยบำยส่กู ำรปฏบิ ัติ ปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งำนเขตพ้นื ท่ี 27

กำรศึกษำมธั ยมศึกษำอทุ ัยธำนี ชัยนำท

สว่ นท่ี 5 กรอบแผนงำน/งบประมำณและโครงกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 29

สำรบญั หน้ำ

ภำคผนวก
 แบบรำยงำนโครงกำรตำมแผนปฏิบัติกำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565
 คำสั่งสำนักงำนเขตพื้นทก่ี ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอุทยั ธำนี ชัยนำท ท่ี ...../2564
เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรจัดทำแผนปฏิบตั ิกำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565
สำนกั งำนเขตพนื้ ท่กี ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอทุ ัยธำนี ชยั นำท

1

บทสรุปผู้บรหิ ำร

สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำอุทัยธำนี ชยั นำท ต้ังขน้ึ ตำมประกำศกระทรวงศึกษำธกิ ำร
เรือ่ ง กำหนดและแก้ไขเปลยี่ นแปลงเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำ ประกำศ ณ วันท่ี 28 มกรำคม พ.ศ. 2564
เผยแพรใ่ นรำชกจิ จำนุเบกษำ เล่ม 138 ตอนพิเศษ 38 ง ลงวนั ท่ี 17 กมุ ภำพนั ธ์ 2564 มีผลบังคบั ใช้ ตง้ั แต่
วนั ที่ 17 กุมภำพันธ์ 2564 สำนักสำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท ต้งั อย่ใู นบรเิ วณ
โรงเรยี นพทุ ธมงคลวิทยำ ตง้ั อย่เู ลขที่ 268 ถนน ตำบลอุทัยใหม่ อำเภอ เมืองอุทยั ธำนี จังหวัดอทุ ัยธำนี

สำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศกึ ษำมธั ยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท เป็นหน่วยงำนสังกัดสำนกั งำน
คณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร มอี ำนำจหน้ำท่ีในกำรดำเนินงำนบริหำรและกำรจดั
กำรศกึ ษำระดับมธั ยมศกึ ษำ มีโรงเรยี นในสังกัดจำนวน 34 โรงเรยี น มีนกั เรยี น รวมทั้งสนิ้ 22,271 คน ใน
กำรกำหนดทศิ ทำงกำรจดั กำรศึกษำของสำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอุทัยธำนี ชัยนำท โดยจัดใหม้ ี
แผนปฏบิ ัติกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำอทุ ยั ธำนี
ชัยนำท จัดทำขน้ึ เพ่อื เป็นเครอื่ งมือในกำรบรหิ ำรกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน ให้มีประสิทธภิ ำพ ได้จัดประชมุ เชิง
ปฏิบตั กิ ำร เพ่อื ระดมควำมคิดจำกผ้มู สี ่วนเกย่ี วข้องในกำรจัดกำรศึกษำ ประกอบดว้ ย คณะกรรมกำรติดตำม
ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ผู้บริหำรกำรศกึ ษำ ผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำ ผอู้ ำนวยกำรกลุ่มทุกกลมุ่ /
หน่วยตรวจสอบภำยในและเจ้ำหน้ำท่ีทเ่ี ก่ียวข้องในสงั กดั สำนักงำนเขตพนื้ ท่กี ำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี
ชยั นำท

ทิศทำงกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2565 ของสำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำมธั ยมศกึ ษำ
อทุ ัยธำนี ชัยนำท

วสิ ัยทศั น์ (Vision)

“สำนกั งำนเขตพ้นื ท่กี ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำอุทัยธำนี ชยั นำท เปน็ องคก์ รคุณภำพ มำตรฐำนสำกล
บนวิถใี หม่ สคู่ วำมเปน็ ไทยอย่ำงยง่ั ยืน”

พนั ธกิจ (Mission)

1. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กำรจัดกำรศกึ ษำใหน้ ักเรียนได้รับกำรศึกษำอย่ำงมคี ุณภำพบนพ้ืนฐำนควำมเป็น
ไทยตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพืน้ ฐำน

2. สง่ เสริมให้นกั เรียนทุกคนไดร้ ับโอกำสทำงกำรศึกษำอย่ำงท่ัวถงึ เสมอภำคและมคี ุณภำพตำม
มำตรฐำนสำกล

3. พฒั นำครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำให้มีสมรรถนะและมำตรฐำนทำงวิชำชีพ
4. สำนักงำนเขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำและสถำนศกึ ษำ จัดระบบกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำตำมแนววิถีใหมใ่ หม้ ี
ประสทิ ธิภำพโดยกำรมสี ่วนร่วมของทกุ ภำคสว่ นอยำ่ งยง่ั ยืน

2

เป้ำประสงค์ (Goals)

1. นักเรียนทกุ คนได้รบั กำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำนอย่ำงท่ัวถึง เสมอภำค และมีคุณภำพตำมหลักสตู ร
แกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน

2. ครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำไดร้ ับกำรพฒั นำตำมสมรรถนะและมำตรฐำนวชิ ำชพี โดยมีเครอื ข่ำย
ทำงวชิ ำชีพในกำรยกระดับคณุ ภำพ

3. สถำนศกึ ษำจดั กำรศึกษำได้อย่ำงมคี ุณภำพตำมมำตรฐำนสำกลบนพ้ืนฐำนควำมเป็นไทย

4. สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำอุทยั ธำนี ชยั นำท และสถำนศกึ ษำมีระบบบริหำรจดั กำรท่ี

มคี ณุ ภำพตำมแนววถิ ใี หมอ่ ยำ่ งยั่งยนื

กลยุทธ์ (Strategic Issues)

1. สร้ำงผู้เรยี นให้เป็นคนดขี องบ้ำนเมืองโดยอยู่ร่วมกับผู้อน่ื อยำ่ งมคี วำมสขุ

2. สนบั สนนุ กระบวนกำรยกระดบั คุณภำพผู้เรยี นสำมำรถแขง่ ขันกับนำนำชำตไิ ด้
3. สง่ เสริมคุณภำพผ้เู รยี นเตม็ ตำมศักยภำพสคู่ วำมเปน็ เลิศ

4. ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นในวัยเรียนทุกคนไดร้ บั โอกำสทำงกำรศึกษำอยำ่ งท่ัวถึง เทำ่ เทยี ม เสมอภำคและ
มคี ณุ ภำพไดม้ ำตรฐำนสำกล

5. สง่ เสริมครู ให้เป็นครยู ุคใหม่ และเปลย่ี นบทบำทครูผู้สอน เปน็ Coach ทมี่ ีประสิทธิภำพ

6. ส่งเสรมิ คุณภำพชวี ติ ตำมแนววิถีใหมอ่ ย่ำงยัง่ ยนื
7. ส่งเสริมกำรบริหำรจดั กำรศึกษำดว้ ยระบบคุณภำพโดยยึดหลักธรรมำภบิ ำล

คำ่ นิยมองคก์ ร (Core Value)

“มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ แนวคดิ ใหม่ ใส่ใจบรกิ ำร บรหิ ำรแบบมีส่วนรว่ ม”

3

สว่ นที่ 1

บทนำ

 ภำรกจิ และอำนำจหนำ้ ทีข่ องสำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำ

สำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท ต้ังข้ึนตำมพระรำชบัญญัติกำรศึกษำ
แห่งชำติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 พระรำชบัญญัติบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2553
กำหนดให้มีเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ และเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ ตำมประกำศในรำชกิจจำ
นุเบกษำ ฉบับกฤษฎีกำ เล่ม 127 ตอนพิเศษ 98 ง ลงวันท่ี 18 สิงหำคม 2553 ได้มีกำรประกำศจัดต้ังเขตพื้นที่
กำรศึกษำมัธยมศึกษำ จำนวนทั้งส้ิน 42 เขต และประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่องกำรกำหนดและแก้ไข
เปลี่ยนแปลงเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ ประกำศ ณ วันที่ 28 มกรำคม พ.ศ. 2564 เผยแพร่ในรำชกิจจำ
นุเบกษำ เล่ม 138 ตอนพิเศษ 38ง 17 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2564 หน้ำ 4-9 เพ่ือบริหำรและจัดกำรกำรศึกษำข้ัน
พน้ื ฐำนระดับมธั ยมศึกษำใหม้ ีประสิทธิภำพ ประสิทธิผลและเกิดประโยชน์สูงสุดของทำงรำชกำร กำหนดอำนำจ
หนำ้ ทขี่ องสำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำ มดี งั น้ี

1. จัดทำนโยบำย แผนพฒั นำ และมำตรฐำนกำรศึกษำของเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำ ใหส้ อดคลอ้ งกับ
นโยบำย มำตรฐำนกำรศกึ ษำ แผนกำรศกึ ษำ แผนพฒั นำกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำนและควำมตอ้ งกำรของท้องถิ่น

2. วิเครำะหก์ ำรจดั ตัง้ งบประมำณเงินอดุ หนุนท่ัวไปของสถำนศกึ ษำ และหนว่ ยงำนในเขตพืน้ ที่
กำรศึกษำ และแจง้ จดั สรรงบประมำณท่ไี ดร้ บั ให้หน่วยงำนข้ำงตน้ รับทรำบ รวมท้ังกำกับตรวจสอบ ติดตำมกำรใช้
จ่ำยงบประมำณของหน่วยงำนดงั กลำ่ ว

3. ประสำน สง่ เสรมิ สนับสนุน และพัฒนำหลกั สตู รร่วมกับสถำนศกึ ษำในเขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำ
4. กำกบั ดูแล ตดิ ตำม และประเมินผลสถำนศกึ ษำขน้ั พื้นฐำนและในเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำ
5. ศึกษำ วเิ ครำะห์ วจิ ยั และรวบรวมข้อมลู สำรสนเทศดำ้ นกำรศึกษำในเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำ
6. ประสำนกำรระดมทรัพยำกรด้ำนต่ำงๆ รวมท้ังทรัพยำกรบคุ คล เพือ่ ส่งเสริม สนบั สนนุ
กำรจดั และพฒั นำกำรศึกษำในเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ
7. จัดระบบกำรประกนั คณุ ภำพกำรศกึ ษำ และประเมนิ ผลสถำนศกึ ษำในเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำ
8. ประสำน ส่งเสริม สนบั สนุน กำรจัดกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำเอกชน องคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันอื่น
ท่ีจัดกำรศกึ ษำรปู แบบทหี่ ลำกหลำยในเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำ
9. ดำเนนิ กำรและประสำน สง่ เสริม สนบั สนุนกำรวจิ ยั และพฒั นำกำรศึกษำในเขตพ้นื ท่ี
กำรศกึ ษำ
10. ประสำน ส่งเสริม กำรดำเนินงำนของคณะกรรมกำร คณะอนุกรรมกำร และคณะทำงำน
ดำ้ นกำรศกึ ษำ
11. ประสำนกำรปฏิบัติรำชกำรทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงำนต่ำง ๆ ทงั้ ภำครฐั เอกชน และ
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
12. ปฏิบตั งิ ำนรว่ มกับหรือสนับสนุนกำรปฏบิ ัติงำนของหน่วยงำนอ่ืนทีเ่ กี่ยวข้องหรอื ท่ีไดร้ บั
มอบหมำย

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

4

 สภำพทำงภมู ิศำสตร์

สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท ตั้งอยู่ในบริเวณโรงเรียนพุทธมงคล
วทิ ยำ ต้ังอยูเ่ ลขท่ี 268 ถนน ตำบลอทุ ยั ใหม่ อำเภอ เมืองอุทัยธำนี จังหวัดอุทัยธำนี มีพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 2 จังหวัด
ประกอบดว้ ย จงั หวดั อทุ ัยธำนีและจังหวดั ชยั นำท มสี ถำนศึกษำในสงั กดั จำนวน 34 โรงเรยี น ดงั น้ี

จังหวดั อุทยั ธำนี

จังหวัดอุทัยธำนี ต้ังอยู่ภำคเหนือตอนล่ำง บริเวณลุ่มแม่น้ำสะแกกรัง ซ่ึงไหลสู่แม่น้ำเจ้ำพระยำ
ท่ีอำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนำท ห่ำงจำกกรุงเทพมหำนครไปทำงทิศเหนือตำมถนนสำยเอเชีย ประมำณ 206
กโิ ลเมตร แยกเข้ำจังหวัดอุทัยธำนีตำมทำงหลวงแผ่นดินหมำยเลข 333 ท่ีบ้ำนท่ำน้ำอ้อย ประมำณ 16 กิโลเมตร
ถึงจงั หวัดอุทยั ธำนี รวมระยะทำง 222 กิโลเมตร มีพืน้ ทีร่ วม 6,730 ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ 4,206,404 ไร่
เป็นพื้นท่ีทำงกำรเกษตร 1,378,219 ไร่ และพื้นที่ป่ำที่มีสภำพเป็นพื้นท่ีคุ้มครอง ได้แก่ ป่ำสงวนแห่งชำติ 9 แห่ง
วนอุทยำน 2 แห่ง เขตรกั ษำพันธุ์สตั วป์ ่ำ 1 แหง่ และเขตห้ำมล่ำสัตวป์ ำ่ 1 แหง่ มีเนื้อทีร่ วม 2,828,185 ไร่ ดงั น้ี

 ทศิ เหนือ ตดิ อำเภอชุมตำบง อำเภอลำดยำว อำเภอโกรกพระ อำเภอพยุหะครี ี จังหวดั
นครสวรรค์

 ทศิ ตะวนั ออก ติดอำเภอพยุหะครี ี จังหวดั นครสวรรค์ และอำเภอมโนรมย์ จงั หวดั ชยั นำท
 ทิศใต้ ติดอำเภอวดั สงิ ห์ อำเภอหนองมะโมง อำเภอเนนิ ขำม จงั หวดั ชัยนำท อำเภอด่ำนช้ำง
จังหวดั สพุ รรณบุรี และ อำเภอศรสี วัสดิ์ จงั หวัดกำญจนบรุ ี
 ทศิ ตะวันตก ตดิ อำเภอศรีสวัสดิ์ อำเภอทองผำภูมิ จังหวัดกำญจนบรุ ี และอำเภออ้มุ ผำง
จงั หวดั ตำก
หน่วยกำรปกครอง กำรปกครองออกเป็น 8 อำเภอ ประกอบด้วย
1. อำเภอเมอื งอทุ ยั ธำนี 2. อำเภอทพั ทัน
3. อำเภอสว่ำงอำรมณ์ 4. อำเภอหนองฉำง
5. อำเภอหนองขำหย่ำง 6. อำเภอบำ้ นไร่
7. อำเภอลำนสัก 8. อำเภอห้วยคต
มีโรงเรียนท่ีตั้งอยู่ในจงั หวัด จำนวน 21 โรงเรยี น จำนวนนกั เรียน 12,581 คน

แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

5

จงั หวัดชัยนำท

จังหวัดชัยนำทต้ังอยหู่ ำ่ งจำกกรุงเทพฯ ประมำณ 194 กิโลเมตร มีเน้อื ที่ประมำณ

2,469.74 ตำรำงกโิ ลเมตร จงั หวดั ชัยนำทมอี ำณำเขตตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดใกล้เคยี งดงั น้ี

 ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับจงั หวัดอทุ ยั ธำนี และจงั หวัดนครสวรรค์

 ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับจังหวดั สิงหบ์ ุรี และจงั หวดั สพุ รรณบุรี

 ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับจงั หวัดนครสวรรค์ และจังหวัดสงิ หบ์ รุ ี

 ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั จังหวัดอทุ ยั ธำนี

หนว่ ยกำรปกครอง กำรปกครองแบง่ ออกเป็น 8 อำเภอ ประกอบด้วย

1. อำเภอเมืองชัยนำท 2. อำเภอวดั สิงห์ 3. อำเภอสรรคบรุ ี
4. อำเภอหนองมะโมง 5. อำเภอมโนรมย์ 6. อำเภอสรรพยำ
7. อำเภอหนั คำ 8. อำเภอเนินขำม

มีโรงเรยี นทตี่ ้ังอยใู่ นจังหวัด จำนวน 13 โรงเรียน จำนวนนักเรียน 9,690 คน

N

อ.มโนรมยี W E

โรงเรีย น ศbรีสโม สรว ีท ย า โรงเรียนอีลตี ไbพบ ีลยชี นปี ถีมภี b โรงเรยี นสาครพที ยาคม S

อ.หนองมะโมง โรงเรยี นวดี สbีงหี อ.เมีองชียนาท

อ.วีดสีงหี โรงเรียนชยีbนาทพที ยาคมอ.สรรพยา

ีญbนาค b โรงเรยี นส รรพยาวที ยา

โรงเรยี นบ พีท ย าค ม
โรงเรียนหีวยbกรดวีทยา โรงเรียbนชยานกี จี พที ยาคม
b

โรงเรียนหนี คาราษฏรีรีงสฤษดี

อ.เนีนขาม อ.หนี คา โรงเรีย น ค ีรbีป ระ ชา สรรค ี
อ.สรรคบรี ี
โรงเรียนหbีนค าพที ยาค ม
โรงเรียนเนนี ขbามรีฐป
ระช าน เีค ราะ ห ี

แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

6

ผบู้ รหิ ำรสำนักงำนเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำอุทยั ธำนี ชยั นำท

1. นำยวรวทิ ย์ โสภำพันธ์ ผ้อู ำนวยกำรสำนกั งำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอุทยั ธำนี ชัยนำท

2. นำงนยั นำ จันทำ รองผู้อำนวยกำรสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำอทุ ัยธำนี ชัยนำท

3. นำยสำยณั ห์ สีคง รองผู้อำนวยกำรสำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอทุ ยั ธำนี ชัยนำท

ผู้อำนวยกำรกลุ่ม / หนว่ ย

1. นำงปวีณำ ประสพสิน ศกึ ษำนิเทศก์ชำนำญกำรพิเศษ ปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ี
ผอู้ ำนวยกำรกลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตำม และประเมินผลกำรจดั กำรศกึ ษำ

2. นำยเสวก พันธุ์อ้น ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนสวำ่ งอำรมณว์ ทิ ยำคม ปฏิบัติหน้ำท่ี

ผู้อำนวยกำรกลุม่ บรหิ ำรงำนบคุ คล

3. นำยปวชิ พรศิรชยั ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนรอ่ งตำทวี ทิ ยำ ปฏิบตั ิหนำ้ ที่

ผูอ้ ำนวยกำรกลมุ่ นโยบำยและแผน

4. นำยประเสรฐิ สุวรรณชัยเลิศ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนอุทยั วทิ ยำคม ปฏบิ ตั ิหน้ำท่ี

ผู้อำนวยกำรกลมุ่ สง่ เสรมิ กำรจดั กำรศึกษำ

5. นำงสำวชัสสภุ ำ นันทำรมย์ ผู้อำนวยกำรโรงเรียนทองหลำงวิทยำคม ปฏบิ ตั ิหน้ำท่ี

ผอู้ ำนวยกำรกล่มุ อำนวยกำร

6. นำยอัคคณัฐ อยั รำ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี นตลกุ ดวู่ ิทยำคม ปฏบิ ัตหิ นำ้ ที่

ผู้อำนวยกำรกลมุ่ บริหำรกำรเงินและสนิ ทรพั ย์

7. นำงศวิ ภำ บวั สุวรรณ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนวงั หินวิทยำคม ปฏบิ ตั ิหนำ้ ที่

ผอู้ ำนวยกำรกลมุ่ พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ

8. นำยวชั รพฐั มะธิตะโน ศึกษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพิเศษ ปฏบิ ัติหนำ้ ที่

ผ้อู ำนวยกำรกลมุ่ ส่งเสริมกำรศึกษำทำงไกลเทคโนโลยีสำรสนเทศ
และกำรส่ือสำร

9. นำงสำวสำลนิ ี โฮมแพน ศึกษำนเิ ทศก์ ปฏบิ ตั หิ นำ้ ที่ผอู้ ำนวยกำรกลุ่มกฎหมำยและคดี

10. นำยกติ ศิ กั ด์ิ นิโรจน์ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนกำญจนำภิเษกวิทยำลัย อุทยั ธำนี ปฏิบัตหิ นำ้ ท่ี
ผู้อำนวยกำรหน่วยตรวจสอบภำยใน

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

7

 กำรปกครอง ประชำกรและแรงงำน

3.1 กำรปกครอง จังหวัดอุทัยธำนแี ละจังหวดั ชยั นำท

จงั หวัด อำเภอ ตำบล เขตกำรปกครอง เทศบำลเมอื ง/ตำบล
หม่บู ้ำน อบจ. อบต.

อุทยั ธำนี 8 70 632 1 49 14

ชัยนำท 8 53 503 1 20 39

รวม 16 123 1,135 2 69 53

ทีม่ ำ : กรมกำรปกครอง กระทรวงมหำดไทย, 2563

3.2 ประชำกร จังหวัดอุทัยธำนีและจังหวัดชัยนำท มีประชำกรทั้งส้ิน 647,529 คน แบ่งเป็นเพศชำย

313,922 คน และเพศหญิง 333,607 คน

พน้ื ท่ี จำนวนประชำกร (คน)

ชำย หญงิ รวม

ประเทศ 31,874,308 33,353,812 65,228,120

อุทยั ธำนี 159,091 166,305 325,396

ชัยนำท 154,831 167,302 322,133

รวมประชำกร 2 จงั หวัด 313,922 333,607 647,529

ทม่ี ำ : กรมกำรปกครอง กระทรวงมหำดไทย, 2563

3.3 แรงงำน จงั หวัดอุทยั ธำนแี ละจังหวัดชยั นำท

พน้ื ที่ จำนวนผอู้ ย่ใู น จำนวนผมู้ ีงำนทำ จำนวนผวู้ ่ำงงำน จำนวน
(คน) ผทู้ ่รี อฤดกู ำล (คน)
กำลงั แรงงำน (คน) (คน)
261 39
อทุ ยั ธำนี 147,623 147,323

ชยั นำท 182,068 177,604 4,378 86

รวม 329,691 324,927 4,639 125

ที่มำ : กำรสำรวจภำวะกำรทำงำนของประชำกร สำนกั งำนสถติ แิ หง่ ชำต,ิ 2564

 ข้อมลู พนื้ ฐำนดำ้ นกำรศึกษำ (ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2564)

 ข้อมลู สถำนศกึ ษำในสังกดั

ปีกำรศกึ ษำ 2564 สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำอทุ ัยธำนี ชยั นำท มีสถำนศึกษำในสังกัด
จำนวน 34 โรงเรยี น ดงั นี้

 ขนำดโรงเรียนจำแนกตำมจังหวดั

จังหวัด ขนำดโรงเรียน
ใหญ่พิเศษ ใหญ่ กลำง เล็ก รวมทั้งหมด

อุทยั ธำนี - 3 3 15 21

ชยั นำท 1 2 3 7 13

รวม 1 5 6 22 34

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

8

หมำยเหตุ กำรแบ่งขนำดโรงเรยี น หรือสถำนศกึ ษำตำมเกณฑ์ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ
ขั้นพ้นื ฐำน พทุ ธศกั รำช 2549 แบง่ เปน็ 4 ระดบั ดงั นี้

1. โรงเรียนขนำดเลก็ หมำยถึง โรงเรยี นหรอื สถำนศกึ ษำที่มผี ู้เรียนตง้ั แต่ 1 – 499 คน

2. โรงเรียนขนำดกลำง หมำยถงึ โรงเรยี นหรือสถำนศกึ ษำทม่ี ผี ู้เรยี นตั้งแต่ 500–1,499 คน
3. โรงเรยี นขนำดใหญ่ หมำยถงึ โรงเรยี นหรือสถำนศึกษำท่ีมผี ู้เรยี นตั้งแต่ 1,500–2,499 คน
4. โรงรียนขนำดใหญ่พเิ ศษ หมำยถงึ โรงเรียนหรือสถำนศกึ ษำทม่ี ีผู้เรยี นตัง้ แต่ 2,500 คน

 ขอ้ มูลนักเรียนจำแนกตำมระดบั กำรศกึ ษำ

ชัน้ ชำย หญิง รวม หอ้ งเรยี น ห้อง : นักเรียน

ม.1 2,002 2,111 4,113 127 1 : 32

ม.2 2,055 2,099 4,154 129 1 : 32

ม.3 1,964 2,183 4,147 131 1 : 32

รวม ม.ต้น 6,021 6,393 12,414 387 1 : 32

ม.4 1,467 2,110 3,577 119 1 : 30

ม.5 1,371 1,946 3,317 120 1 : 28

ม.6 1,174 1,789 2,963 115 1 : 26

รวม ม.ปลำย 4,012 5,845 9,857 354 1 : 28

รวมทั้งส้ิน 10,033 12,238 22,271 741 1 : 30

 จำนวนนกั เรยี น จำแนกตำมขนำดโรงเรยี น จำนวน จำนวน ขนำด
นกั เรียน ห้องเรียน โรงเรยี น
ท่ี โรงเรยี น อำเภอ จงั หวดั กลำง
24
1 ทพั ทนั อนุสรณ์ ทพั ทัน อุทัยธำนี 860 18 เล็ก
2 สว่ำงอำรมณว์ ิทยำคม สวำ่ งอำรมณ์ อทุ ัยธำนี 474 66 ใหญ่
3 หนองฉำงวทิ ยำ หนองฉำง อทุ ยั ธำนี 2,490 61 ใหญ่
4 อทุ ัยวิทยำคม เมอื ง อุทยั ธำนี 2,188 10 เล็ก
5 หนองเต่ำวิทยำ เมอื ง อทุ ัยธำนี 75 18 กลำง
6 ตลกุ ดวู่ ทิ ยำคม ทพั ทนั อทุ ยั ธำนี 540 13 เล็ก
7 บ่อยำงวทิ ยำ สวำ่ งอำรมณ์ อทุ ัยธำนี 291 16 เล็ก
8 บ้ำนทุ่งนำวิทยำ หนองฉำง อทุ ัยธำนี 365 12 เลก็
9 พทุ ธมงคลวทิ ยำ เมอื ง อุทยั ธำนี 322 11 เลก็
10 ทงุ่ โพวทิ ยำ หนองฉำง อุทยั ธำนี 133 12 เล็ก
11 หนองขำหย่ำงวทิ ยำ หนองขำหย่ำง อุทยั ธำนี 219 16 เล็ก
12 กำญจนำภเิ ษกวิทยำลยั อทุ ยั ธำนี หนองขำหย่ำง อุทัยธำนี 265 49 ใหญ่
13 บำ้ นไร่วิทยำ บำ้ นไร่ อุทยั ธำนี 1,723 14 เล็ก
14 กำรงุ้ วทิ ยำคม บำ้ นไร่ อุทัยธำนี 405 6 เล็ก
15 ทองหลำงวิทยำคม บ้ำนไร่ อทุ ยั ธำนี 178 12 เล็ก
16 หนองจอกประชำนุสรณ์ บำ้ นไร่ อุทัยธำนี 240 12 เล็ก
17 วังหนิ วิทยำคม บำ้ นไร่ อุทัยธำนี 174 24 กลำง
18 ลำนสักวทิ ยำ ลำนสัก อุทัยธำนี 764 12 เล็ก
19 ร่องตำทวี ิทยำ ลำนสัก อทุ ัยธำนี 294 15 เล็ก
20 หว้ ยคตพทิ ยำคม ห้วยคต อทุ ัยธำนี 456 6 เล็ก
21 สมอทองปทีปพลีผลอปุ ถมั ภ์ ห้วยคต อุทยั ธำนี 125

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

9

ที่ โรงเรยี น อำเภอ จงั หวดั จำนวน จำนวน ขนำด
ชัยนำท นกั เรยี น ห้องเรยี น โรงเรียน
22 ชยั นำทพิทยำคม รวมจงั หวดั อทุ ัยธำนี เมอื ง ชัยนำท 12,581 ใหญพ่ เิ ศษ
ชยั นำท 2,672 427 ใหญ่
23 หันคำพิทยำคม หันคำ ชัยนำท 1,697 72 ใหญ่
24 ครุ ุประชำสรรค์ สรรคบุรี ชัยนำท 1,596 49 กลำง
25 วัดสงิ ห์ วดั สงิ ห์ ชัยนำท 46 กลำง
26 อลุ ิตไพบูลย์ชนปู ถัมภ์ มโนรมย์ ชัยนำท 697 25 กลำง
27 สรรพยำวทิ ยำ สรรพยำ ชยั นำท 725 23
28 สำครพทิ ยำคม มโนรมย์ ชัยนำท 553 24 เลก็
29 หันคำรำษฎรร์ งั สฤษดิ์ หันคำ ชยั นำท 431 14 เล็ก
30 ห้วยกรดวทิ ยำ สรรคบุรี ชัยนำท 333 12 เล็ก
31 ศรสี โมสรวิทยำ หนองมะโมง ชยั นำท 333 15 เลก็
32 เนินขำมรัฐประชำนุเครำะห์ เนินขำม ชยั นำท 243 12 เลก็
33 ชยำนกุ จิ พิทยำคม สรรพยำ 249 10 เล็ก
34 บญุ นำคพทิ ยำคม สรรพยำ 92 6 เล็ก
รวมจังหวัดชัยนำท 69 6
9,690 314
รวมทง้ั หมด 22,271 741

ท่ีมำ : ระบบสำรสนเทศเพอื่ บรหิ ำรกำรศกึ ษำ กล่มุ สำรสนเทศ สนผ. สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน, 2564

 ข้อมูลขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกรสถำนศกึ ษำ
จำนวนขำ้ รำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ
ท่ี โรงเรียน ไม่มีวทิ ยฐำนะ ชำนำญกำร ชำนำญกำรพเิ ศษ เช่ียวชำญ รวมทงั้ หมด

1 ทัพทันอนสุ รณ์ 11 12 19 42

2 สว่ำงอำรมณว์ ทิ ยำคม 9 12 8 29

3 หนองฉำงวิทยำ 48 22 49 119

4 อุทยั วิทยำคม 39 27 35 101

5 หนองเต่ำวิทยำ 13 9 13

6 ตลกุ ดู่วิทยำคม 4 27 31

7 บ่อยำงวทิ ยำ 10 3 2 15

8 บำ้ นทุ่งนำวทิ ยำ 5 12 5 22

9 พทุ ธมงคลวทิ ยำ 3 8 10 21

10 ทงุ่ โพวทิ ยำ 21 7 10

11 หนองขำหยำ่ งวิทยำ 4 12 8 24

12 กำญจนำภิเษกวิทยำลยั อทุ ัยธำนี 1 13 8 22

13 บำ้ นไร่วิทยำ 46 24 10 80

14 กำร้งุ วทิ ยำคม 10 9 3 22

15 ทองหลำงวทิ ยำคม 52 6 13

16 หนองจอกประชำนสุ รณ์ 10 3 3 16

17 วงั หนิ วิทยำคม 45 3 12

แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

10

ท่ี โรงเรียน จำนวนขำ้ รำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ
ไมม่ วี ิทยฐำนะ ชำนำญกำร ชำนำญกำรพเิ ศษ เชี่ยวชำญ รวมท้ังหมด

18 ลำนสักวทิ ยำ 9 20 8 37

19 รอ่ งตำทีวทิ ยำ 13 2 15

20 หว้ ยคตพิทยำคม 12 6 4 22

21 สมอทองปทปี พลผี ลอปุ ถัมภ์ 92 1 12

รวมจงั หวดั อทุ ยั ธำนี 255 196 227 678

22 ชัยนำทพิทยำคม 61 36 42 139

23 อุลติ ไพบลู ยช์ นปู ถมั ภ์ 20 12 6 38

24 สำครพิทยำคม 16 4 8 28

25 วดั สิงห์ 16 8 13 37

26 สรรพยำวิทยำ 19 9 5 33

27 บุญนำคพทิ ยำคม 14 7 12

28 ชยำนกุ ิจพิทยำคม 7 4 11

29 ครุ ุประชำสรรค์ 27 15 31 1 74

30 ห้วยกรดวิทยำ 94 7 20

31 หนั คำรำษฎร์รังสฤษด์ิ 15 1 5 21

32 หันคำพิทยำคม 38 26 25 89

33 ศรีสโมสรวทิ ยำ 82 6 16

34 เนนิ ขำมรฐั ประชำนเุ ครำะห์ 6 2 11 19

รวมจังหวัดชยั นำท 243 123 170 1 537

รวม สพม.อนชน 498 319 397 1 1,215

ทม่ี ำ : ระบบสำรสนเทศเพ่ือบริหำรกำรศึกษำ กลุ่มสำรสนเทศ สนผ. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน, 2564

 สรปุ ขอ้ มลู บคุ ลำกร

สำนักงำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำอทุ ัยธำนี ชยั นำท โรงเรยี นในสังกดั 34 โรงเรยี น

ตำแหน่ง จำนวน (คน) ตำแหนง่ จำนวน (คน)

ผอ.สพม.อนชน 1 ผอ.โรงเรยี น 31

รอง ผอ.สพม.อนชน 2 รอง ผอ.โรงเรียน 60

ศึกษำนเิ ทศก์ 7 ครู 1019

บคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำอืน่ 1 ครผู ้ชู ่วย 1158
ตำมมำตรำ 38 ค.(2)

ลูกจำ้ งช่วั ครำว 3 ลูกจำ้ งประจำ 215

พนกั งำนรำชกำร 6 พนักงำนรำชกำร 69

ลูกจำ้ งประจำ - ลกู จำ้ งชัว่ ครำว 230

รวม 20 รวม 2,782

ท่ีมำ : ระบบสำรสนเทศเพอื่ บรหิ ำรกำรศกึ ษำ กลมุ่ สำรสนเทศ สนผ. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน, 2564

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

11

ส่วนท่ี 2

นโยบำยด้ำนกำรศกึ ษำ

1. รัฐธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจกั รไทย พุทธศักรำช 2560
รฐั ธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทย พุทธศักรำช 2560 เป็นกฎหมำยสูงสุดในกำรปกครอง

ประเทศ ทย่ี ังคงเจตนำรมณย์ ึดมัน่ ในระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข โดยไดร้ ะบุข้อ
มำตรำ ทีต่ อ้ งนำไปใชบ้ งั คบั ในกำรจดั กำรศกึ ษำ กำรสง่ เสรมิ และสนับสนนุ กำรจดั กำรศกึ ษำ และกำรเข้ำรับบริกำร
กำรศึกษำของประชำชน ในประเดน็ สำคัญท่เี กยี่ วขอ้ งกับสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน ดังนี้

1.1 รัฐตอ้ งดำเนินกำรให้เด็กทุกคนไดร้ บั กำรศึกษำเป็นเวลำสิบสองปี ตั้งแต่กอ่ นวัยเรยี น จนจบ
กำรศกึ ษำภำคบังคบั อยำ่ งมคี ุณภำพโดยไมเ่ ก็บคำ่ ใช้จำ่ ย

1.2 รัฐตอ้ งดำเนินกำรใหเ้ ดก็ เล็กได้รับกำรดูแลและพฒั นำกอ่ นเข้ำรบั กำรศึกษำ เพอ่ื พฒั นำ
ร่ำงกำย จติ ใจ วินยั อำรมณ์ สังคม และสตปิ ัญญำใหส้ มกับวยั โดยส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถนิ่ และภำคเอกชนเข้ำมำมสี ่วนร่วมในกำรดำเนนิ กำร

1.3 รฐั ตอ้ งดำเนินกำรให้ประชำชนได้รับกำรศึกษำตำมควำมตอ้ งกำรในระบบต่ำงๆ รวมท้งั
ส่งเสริมให้มีกำรเรยี นรู้ตลอดชวี ิต และจัดให้มีกำรรว่ มมือระหว่ำงรัฐ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และภำคเอกชน
ในกำรจดั กำรศกึ ษำทุกระดับ โดยรัฐมีหน้ำที่ดำเนินกำร กำกบั สง่ เสริมและสนับสนุนใหก้ ำรจัดกำรศึกษำดังกล่ำวมี
คณุ ภำพและได้มำตรฐำนสำกล

1.4 กำรศึกษำทงั้ ปวงตอ้ งมงุ่ พฒั นำผู้เรยี นใหเ้ ปน็ คนดี มวี ินัย ภมู ใิ จในชำติ สำมำรถเชี่ยวชำญได้
ตำมควำมถนดั ของตน และมีควำมรบั ผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชำติ

1.5 ในกำรดำเนนิ กำรใหเ้ ด็กเลก็ ไดร้ ับกำรดแู ลและพฒั นำ หรือใหป้ ระชำชนไดร้ บั กำรศกึ ษำ รฐั
ตอ้ งดำเนินกำรให้ผู้ขำดแคลนทนุ ทรพั ย์ได้รับกำรสนับสนนุ ค่ำใช้จ่ำยในกำรจดั กำรศึกษำตำม ควำมถนดั ของตน

1.6 ให้จัดตัง้ กองทนุ เพอื่ ใช้ในกำรชว่ ยเหลือผู้ขำดแคลนทนุ ทรัพย์ เพื่อลดควำมเหลือ่ มล้ำ ใน
กำรศึกษำ และเพ่อื สง่ เสรมิ และพฒั นำคุณภำพและประสทิ ธิภำพครู

1.7 ใหด้ ำเนินกำรปฏริ ปู ประเทศในด้ำนกำรศึกษำ ดังต่อไปนี้
1.7.1 ดำเนนิ กำรให้เดก็ เลก็ ได้รบั กำรดูแลและพฒั นำกอ่ นเข้ำรับกำรศกึ ษำ เพื่อใหเ้ ดก็ เล็ก

ไดร้ บั กำรพฒั นำร่ำงกำย จติ ใจ วินัย อำรมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญำให้สมกบั วยั โดยไม่เก็บค่ำใช้จำ่ ย
1.7.2 ดำเนินกำรตรำกฎหมำยเพื่อจัดตั้งกองทนุ เพอ่ื ควำมเสมอภำคทำงกำรศกึ ษำ ตำม

วัตถุประสงค์ข้อ 1.6
1.7.3 ให้มีกลไกและระบบกำรผลติ คัดกรองและพฒั นำผปู้ ระกอบวิชำชีพครูและอำจำรย์ ให้

ได้ผมู้ ีจติ วญิ ญำณแห่งควำมเปน็ ครู มคี วำมรู้ควำมสำมำรถอย่ำงแท้จรงิ ไดร้ บั ค่ำตอบแทน ท่ีเหมำะสม กบั
ควำมสำมำรถและประสิทธภิ ำพในกำรสอน รวมทั้งมกี ลไกสร้ำงระบบคุณธรรมในกำรบริหำรงำนบคุ คล ของผู้
ประกอบวชิ ำชพี ครู

1.7.4 ปรบั ปรุงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทุกระดับเพ่ือให้ผูเ้ รยี นสำมำรถเรียนได้ตำมควำม
ถนัด และปรบั ปรงุ โครงสร้ำงของหน่วยงำนทเี่ กย่ี วขอ้ งเพอื่ บรรลเุ ป้ำหมำยดงั กล่ำว โดยใหส้ อดคล้องกนั ทั้งใน
ระดบั ชำตแิ ละระดับพื้นที่

2. ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 - 2580)
รฐั ธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 กำหนดใหร้ ัฐมยี ุทธศำสตร์ชำติ เปน็

เป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศอย่ำงย่ังยืนตำมหลักธรรมำภิบำล เพื่อใช้เป็นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำง ๆ ให้
สอดคล้องและบูรณำกำรกนั ตอ่ มำได้มีกำรตรำพระรำชบัญญตั กิ ำรจัดทำยทุ ธศำสตรช์ ำติ พ.ศ. 2560 ซ่ึงกำหนดให้
หนว่ ยงำนรัฐทกุ หน่วยมีหน้ำที่ดำเนินกำรเพือ่ ใหบ้ รรลุเป้ำหมำยที่กำหนดไว้ในยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2561 - 2580
โดยมีวิสัยทัศน์คือ “ประเทศไทยมีควำมม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลัก

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

12

ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยกำรประเมินผลกำรพัฒนำตำมยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2561 - 2580
ประกอบด้วยควำมอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน กำรพัฒนำเศรษฐกิจและ
กำรกระจำยรำยได้ กำรพฒั นำทรัพยำกรมนษุ ย์ของประเทศ ควำมเท่ำเทียม และควำมเสมอภำคของสังคม ควำม
หลำกหลำยทำงชีวภำพ คุณภำพส่ิงแวดล้อมและควำมย่ังยืน ของทรัพยำกรธรรมชำติ และประสิทธิภำพกำร
บริหำรจัดกำรและกำรเข้ำถึงกำรให้บริกำรของภำครัฐ กำรพัฒนำประเทศในช่วงเวลำของยุทธศำสตร์ชำติ จะ
มุ่งเน้นกำรสร้ำงสมดุลระหว่ำงกำรพัฒนำควำมมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยกำรมีส่วนร่วมของ
ทุกภำคส่วนในรูปแบบ“ประชำรัฐ” ซ่ึงยุทธศำสตร์ กำรพัฒนำประเทศ 6 ยุทธศำสตร์ ประกอบด้วย
1) ยุทธศำสตร์ดำ้ นควำมมน่ั คง 2) ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 3) ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
และเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ 4) ยุทธศำสตร์กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม
5) ยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรสรำ้ งกำรเตบิ โตบนคณุ ภำพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม และ 6) ยุทธศำสตร์ด้ำนกำรปรับ
สมดุล และพฒั นำระบบกำรบริหำรจดั กำรภำครัฐ

3. แผนแมบ่ ทภำยใต้ยทุ ธศำสตรช์ ำติ
แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ เป็น แผนแม่บทเพ่ือบรรลุเป้ำหมำยตำมที่กำหนดไว้

ในยุทธศำสตร์ชำติ ซึ่ง แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ เป็นแผนที่จัดทำไว้เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำย ตำม
ยทุ ธศำสตรช์ ำติ โดยจะมีผลผกู พันต่อหนว่ ยงำนของรฐั ที่เกี่ยวขอ้ งจะตอ้ งปฏบิ ตั ิใหเ้ ป็นไปตำมนั้น รวมท้ังกำรจัดทำ
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณจะต้องสอดคล้องกับ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ซ่ึงประเด็น
แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ 23 ประเด็น ประกอบด้วย 1) ควำมม่ันคง 2) กำรต่ำงประเทศ
3) กำรพัฒนำกำรเกษตร 4) อุตสำหกรรมและบริกำรแห่งอนำคต 5) กำรท่องเที่ยว 6) กำรพัฒนำพื้นที่ และ
เมืองน่ำอยู่อัจฉริยะ 7) โครงสร้ำงพื้นฐำนระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบกำรและวิสำหกิจ ขนำดกลำง
และขนำดย่อมยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) กำรปรับเปลี่ยนค่ำนิยมและวัฒนธรรม
11) กำรพัฒนำศักยภำพคนตลอดช่วงชีวิต 12) กำรพัฒนำกำรเรียนรู้ 13) กำรสร้ำงให้คนไทยมีสุขภำวะท่ีดี
14) ศกั ยภำพกำรกีฬำ 15) พลังทำงสงั คม 16) เศรษฐกิจฐำนรำก 17) ควำมเสมอภำคและหลักประกันทำงสังคม
18) กำรเตบิ โตอยำ่ งย่ังยนื 19) กำรบรหิ ำรจัดกำรน้ำทั้งระบบ 20) กำรบริกำรประชำชนและประสิทธิภำพภำครัฐ
21) กำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ 22) กฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม 23) กำรวิจัยและพัฒนำ
นวตั กรรม

4. แผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศกึ ษำ (ฉบบั ปรับปรงุ )
โดยที่ประกำศสำนักนำยกรัฐมนตรี เรื่อง กำรประกำศแผนกำรปฏิรูปประเทศ ประกำศใน

รำชกิจจำนุเบกษำและบังคับใช้ เมื่อวันท่ี 6 เมษำยน 2561 นั้น เน่ืองจำกพระรำชบัญญัติแผนและข้ันตอน
กำรดำเนินกำรปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. 2560 กำหนดใหท้ ำแผนกำรปฏิรปู ประเทศตอ้ งสอดคลอ้ งและเป็นไปในทิศทำง
เดียวกันกับยุทธศำสตร์ชำติ และแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติซึ่งต่อมำยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2561 - 2580
มีผลบังคับใช้เมื่อวันท่ี 13 ตุลำคม 2561 และแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18
เมษำยน 2562 ส่งผลให้ต้องมีกำรปรับปรุงแผนกำรปฏิรูปประเทศเพ่ือให้สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติและแผน
แม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ โดยคณะกรรมกำรปฏิรูปประเทศด้ำนต่ำง ๆ ดำเนินกำรปรับปรุงแผนกำรปฏิรูป
ประเทศตำมขั้นตอน ของกฎหมำยแล้วเสรจ็ และเม่ือได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรีและรำยงำนต่อรัฐสภำ
เพือ่ ทรำบแล้ว ใหป้ ระกำศในรำชกิจจำนุเบกษำและใชบ้ ังคับตอ่ ไป

กำรปฏิรูปกำรศึกษำ มุ่งเน้นกำรยกระดับคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ ลดควำมเหล่ือมล้ำทำงกำร
ศึกษำ และปฏิรูประบบกำรศึกษำให้มีประสิทธิภำพ สำมำรถรองรับควำมหลำกหลำยของกำรจัดกำรศึกษำและ
ตอบโจทย์กำรพัฒนำของโลกอนำคต โดยมีเป้ำหมำยเพ่ือให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับกำรศึกษำที่มีคุณภำพตำม

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

13

มำตรฐำน มที ักษะที่จำเป็นของโลกอนำคต สำมำรถแก้ปัญหำ ปรับตัว สื่อสำร และทำงำนร่วมกับผู้อื่นได้อย่ำงมี
ประสิทธิผล มวี นิ ัย มีนิสยั ใฝ่เรยี นร้อู ย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต และเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้ำที่มีควำมรับผิดชอบ
มจี ติ สำธำรณะ มีควำมรักและควำมภำคภูมิใจในควำมเป็นไทย โดยมีขอบเขตครอบคลุมท้ังกำรสร้ำง โอกำสและ
ควำมเสมอภำคทำง กำรศึกษำต้ังแต่ระดับปฐมวัยไปจนถึงระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน ลดควำมเหลื่อมล้ำทำง
กำรศึกษำ กำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนสู่กำรเรียนรู้ฐำนสมรรถนะ เพื่อตอบสนองกำรเปลี่ยนแปลง ใน
ศตวรรษที่ 21 กำรปฏริ ูปกลไกและระบบกำรผลติ และพัฒนำครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้มีคุณภำพมำตรฐำน
จดั กำรศกึ ษำในระดบั อำชวี ศกึ ษำโดยใชร้ ะบบทวิภำคีหรอื ระบบอื่น ๆ ที่เน้นกำรฝึกปฏิบัติอย่ำงเต็มแบบเพ่ือนำไป
สู่กำรจ้ำงงำน และกำรสร้ำงงำน และกำรปฏิรูปบทบำทกำรวิจัยและระบบธรรมำภิบำลของ สถำบันอุดมศึกษำ
เพ่ือสนับสนุนกำรพัฒนำประเทศไทยออกจำกกับดักรำยได้ปำนกลำงอย่ำงยั่งยืน นำไปสู่กำร ยกระดับคุณภำพ
กำรศึกษำและกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ โดยมีกลไกสนับสนุนกำรขับคล่ือนที่สำคัญ
ไดแ้ ก่ กำรเร่งผลกั ดนั ร่ำงพระรำชบัญญตั กิ ำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.... ให้มีผลบังคับใช้กำรสร้ำงควำมร่วมมือกับภำคี
เครือขำ่ ยทำงสังคมและสื่อ ในกำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ และมีส่วนร่วมในกำรขับเคลื่อน กำรปฏิรูป และควำม
เป็นเจ้ำของของรว่ มในเป้ำหมำย และควำมสำเร็จของกำรปฏิรูปของประชำชน กำรกระจำย อำนำจสู่สถำนศึกษำ
และกำรทดลองนำร่อง กิจกรรมปฏิรูปท่ีเก่ียวข้องกับภำรกิจกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ให้สอดคล้องต่อ
บรบิ ทพ้นื ที่อย่ำง ย่งั ยนื กำรบริหำรจัดกำรข้อมลู สำรสนเทศเพื่อกำรศึกษำ (Big Data for Education) ให้สำมำรถ
นำมำใชป้ ระโยชน์ในกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ ติดตำม เฝ้ำระวงั เด็กไมใ่ ห้ออกจำกระบบ กำรศกึ ษำ เพ่ือให้ กำรช่วย
เหลือได้อย่ำงทันท่วงที รวมถึงกำรติดตำมผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนรำยบุคคลให้ได้รับกำรพัฒนำ อย่ ำงเต็มตำม
ศักยภำพและควำมสนใจของผู้เรียนกำรเปล่ียนโลกทัศน์ทำงกำรศึกษำของสำธำรณชนในกำร สื่อสำร ปลูกฝัง
พัฒนำวิธีคิด ปรับเปลี่ยนค่ำนิยม ทัศนคติควำมคำดหวังต่อระบบกำรศึกษำท่ี มุ่งเน้นไปสู่กำรพัฒนำระบบ
กำรศกึ ษำอิงฐำนสมรรถนะ ทมี่ ุ่งให้ครูและนักเรียนมีควำมสขุ กบั กำรเรยี นรู้ และพัฒนำควำมเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์
กำรกำหนดหนว่ ยงำนเจำ้ ภำพหลักในกำรติดตำม รวบรวมผล กำรดำเนินงำนจำกเจ้ำภำพหลักใน แต่ละกิจกรรม
และรำยงำนผลกำรดำเนินงำนตำมแผนปฏิรูปประเทศ ด้ำนกำรศึกษำต่อคณะกรรมกำรปฏิรูป ประเทศด้ำน
กำรศกึ ษำ

5. แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้กำหนดวัตถปุ ระสงค์

และเปำ้ หมำย รวมทั้งยทุ ธศำสตร์กำรพัฒนำ 10 ยทุ ธศำสตร์ โดยมี 6 ยทุ ธศำสตรต์ ำมกรอบยุทธศำสตร์ชำติ
พ.ศ. 2561 – 2580 และอีก 4 ยุทธศำสตร์เพิ่มเติม คือ 1) กำรเสริมสร้ำงและพัฒนำศักยภำพทุนมนุษย์
2) กำรสร้ำงควำมเปน็ ธรรมและลดควำมเหล่อื มลำ้ ในสังคม 3) กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งทำงเศรษฐกิจและแข่งขันได้
อย่ำงยั่งยืน 4) กำรเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือกำรพัฒนำที่ยั่งยืน 5) กำรเสริมสร้ำงควำมม่ันคงแห่งชำติ
เพ่ือกำรพัฒนำประเทศส่คู วำมมัง่ ค่ัง และย่ังยืน 6) กำรบรหิ ำรจดั กำรในภำครัฐ กำรป้องกันกำรทุจริตประพฤติมิชอบ
และธรรมำภิบำลในสังคมไทย 7) กำรพัฒนำโครงสร้ำงพ้ืนฐำนและระบบโลจิสติกส์ 8) กำรพัฒนำวิทยำศำสตร์
เทคโนโลยี วจิ ยั และนวัตกรรม 9) กำรพัฒนำภำคเมอื ง และพื้นทีเ่ ศรษฐกจิ และ 10) ควำมร่วมมอื ระหว่ำงประเทศ
เพ่ือกำรพัฒนำ

6. นโยบำยและแผนระดับชำติวำ่ ดว้ ยควำมม่นั คงแห่งชำติ (พ.ศ. 2562 - 2565)
นโยบำยและแผนระดบั ชำติว่ำด้วยควำมมั่นคงแห่งชำติ (พ.ศ. 2562 - 2565) เป็นนโยบำยและ

แผนหลกั ของชำติทเ่ี ป็นกรอบหรือทิศทำงกำรดำเนินกำรป้องกัน แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับยับยั้งภัยคุกคำม เพื่อ
ธำรงไว้ ซ่ึงควำมม่ันคงแห่งชำติ โดยกำหนดให้คณะรัฐมนตรีหรือหน่วยงำนของรัฐใช้เป็นกรอบแนวทำง หรือ
ดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำที่ ในกำรจัดทำแผนกำรบรหิ ำรรำชกำรแผ่นดนิ แผนนิติบัญญัติ กำรกำหนดยุทธศำสตร์

แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

14

หรือแผนด้ำนควำมม่ันคงเฉพำะเรื่อง แผนเตรียมพร้อมแห่งชำติ แผนบริหำรวิกฤตกำรณ์ที่เกี่ยวข้อง กับควำม
มั่นคงแห่งชำติ หรือกำหนดแผนงำนหรือโครงกำรท่ีเก่ียวกับนโยบำยและแผนระดับชำติ ว่ำด้วยควำมม่ันคง
แห่งชำตหิ รอื กำรปฏิบตั ิรำชกำรอื่นใดให้สอดคลอ้ งกับนโยบำยและแผนระดับชำติว่ำด้วยควำมมั่นคงแห่งชำติ ซึ่งมี
แผนระดับชำติว่ำด้วยควำมม่ันคงแห่งชำติ 19 แผน ได้แก่ 1) กำรเสริมสร้ำงควำมม่ันคงของมนุษย์ 2) กำรข่ำว
กรองและกำรประเมินสถำนกำรณ์ด้ำนควำมม่ันคง 3) กำรเสริมสร้ำงควำมม่ันคงของสถำบันหลักของชำติภำยใต้
กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข 4) กำรพัฒนำระบบ กำรเตรียมควำม
พรอ้ มแหง่ ชำติ 5) กำรพฒั นำศกั ยภำพกำรปอ้ งกนั ประเทศ 6) กำรสรำ้ งควำมสำมคั คปี รองดอง 7) กำรป้องกันและ
แก้ไขปัญหำควำมไม่สงบในจังหวัดชำยแดนภำคใต้ 8) กำรบริหำรจัดกำรผู้หลบหนีเข้ำเมือง 9) กำรป้องกันและ
แก้ไขปัญหำกำรค้ำมนษุ ย์ 10) กำรปอ้ งกันและปรำบปรำมยำเสพติด 11) กำรเสริมสร้ำง ควำมมั่นคงของชำติจำก
ภัยทุจริต 12) กำรรักษำควำมม่ันคงพื้นท่ีชำยแดน 13) กำรรักษำควำมม่ันคงทำงทะเล 14) กำรป้องกันและ
แก้ปัญหำภัยคุกคำมข้ำมชำติ 15) กำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมม่ันคงทำงไซเบอร์ 16) กำรรักษำดุลยภำพ
สภำวะแวดล้อมระหวำ่ งประเทศ 17) กำรรักษำควำมมัน่ คงทำงพลงั งำน 18) กำรรักษำควำมมั่นคงด้ำนอำหำรและน้ำ
19) กำรรกั ษำควำมมนั่ คงด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดล้อม

7. นโยบำยรฐั บำล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชำ)
คำแถลงนโยบำยของคณะรฐั มนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี) แถลงตอ่

รัฐสภำวันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎำคม 2562 โดยรัฐบำลได้กำหนดนโยบำยในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน จำแนก
เป็นนโยบำยหลัก 12 ด้ำน และนโยบำยเร่งด่วน 12 เร่ือง ซ่ึงนโยบำยหลัก 12 ด้ำน ประกอบด้วย 1) กำรปกป้อง
และเชดิ ชสู ถำบนั พระมหำกษตั รยิ ์ 2) กำรสร้ำงควำมมน่ั คงและควำมปลอดภยั ของประเทศและควำมสงบสขุ ของ
ประเทศ 3) กำรทำนบุ ำรุงศำสนำ ศลิ ปะและวัฒนธรรม 4) กำรสรำ้ งบทบำทของไทยในเวทีโลก 5) กำรพฒั นำ
เศรษฐกิจและควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขันของไทย 6) กำรพัฒนำพื้นทเ่ี ศรษฐกิจและกำรกระจำยควำมเจรญิ สู่
ภมู ิภำค 7) กำรพฒั นำสรำ้ งควำมเขม้ แขง็ จำกฐำนรำก 8) กำรปฏริ ูปกระบวนกำรเรยี นรู้และกำรพัฒนำศักยภำพ
ของคนไทยทุกช่วงวัย 9) กำรพัฒนำระบบสำธำรณสุขและหลักประกันทำงสังคม 10) กำรฟ้ืนฟูทรัพยำกรธรรมชำติ
และกำรรักษำส่ิงแวดล้อมเพื่อสร้ำงกำรเติบโตอย่ำงยั่งยืน 11) กำรปฏิรูปกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ
12) กำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนกำรยุติธรรม และนโยบำยเร่งด่วน 12 เรื่อง
ได้แก่ 1) กำรแก้ไขปัญหำในกำรดำรงชวี ิตของประชำชน 2) กำรปรับปรุงระบบสวัสดิกำรและพัฒนำคุณภำพชีวิต
ของประชำชน 3) มำตรกำรเศรษฐกิจเพื่อรองรับควำมผันผวน ของเศรษฐกิจโลก 4) กำรให้ควำมช่วยเหลือ
เกษตรกรและพัฒนำนวัตกรรม 5) กำรยกระดับศักยภำพของแรงงำน 6) กำรวำงรำกฐำนระบบเศรษฐกิจของ
ประเทศสู่อนำคต 7) กำรเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 8) กำรแก้ไขปัญหำทุจริตและประพฤติมิชอบ
ในวงรำชกำรทัง้ ฝ่ำยกำรเมืองและฝ่ำยรำชกำรประจำ 9) กำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดและสร้ำงควำมสงบสุขในพื้นท่ี
ชำยแดนภำคใต้ 10) กำรพัฒนำระบบกำรให้บริกำรประชำชน 11) กำรจัดเตรียมมำตรกำรรองรับภัยแล้งและ
อุทกภัย 12) กำรสนบั สนุนใหม้ ีกำรศึกษำ กำรรบั ฟงั ควำมเหน็ ของประชำชน และกำรดำเนินกำรเพ่ือแก้ไขเพ่ิมเติม
รฐั ธรรมนูญ

8. แผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 - 2579
พระรำชบัญญัตกิ ำรศกึ ษำแห่งชำติพ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 พระรำชบัญญัติ

ระเบยี บบริหำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธิกำร พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงแบ่งส่วนรำชกำรสำนักงำนเลขำธิกำร
สภำกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2546 ได้กำหนดให้สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำมีหน้ำที่ในกำร
พิจำรณำเสนอแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ ทบ่ี ูรณำกำรศำสนำ ศลิ ปะ วฒั นธรรม และกีฬำกับกำรศึกษำทุกระดับ และ
ดว้ ยเหตุท่แี ผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552 – 2559) จะสิ้นสุดในปีพ.ศ. 2559 ดังนั้น สำนักงำน

แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

15

เลขำธิกำรสภำกำรศกึ ษำจงึ ไดจ้ ัดทำแผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 ซึ่ง เป็นแผนระยะยำว 20 ปีเพ่ือ
เป็นแผนแม่บทสำหรับหน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้องนำไปใชเ้ ปน็ กรอบ แนวทำงในกำรพัฒนำกำรศกึ ษำ

วสิ ยั ทศั น(์ Vision)

“คนไทยทุกคนได้รบั กำรศกึ ษำและเรียนรู้ตลอดชวี ิตอย่ำงมคี ณุ ภำพ ดำรงชีวิต อยำ่ งเปน็ สขุ สอดคล้องกบั หลกั
ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง และกำรเปลีย่ นแปลงของ โลกศตวรรษที่ 21”

แผนกำรศึกษำ แหง่ ชำติได้วำงเป้ำหมำยไว้ คือ
เป้ำหมำยด้ำนผูเ้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนำผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะกำร

เรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทกั ษะและ คุณลักษณะต่อไปน้ี
✥ 3Rs ได้แก่ กำรอำ่ นออก (Reading) กำรเขยี นได้ (Writing) และกำรคิดเลขเปน็ (Arithmetics)
✥ 8Cs ได้แก่ ทักษะด้ำนกำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ และทักษะในกำรแก้ปัญหำ (Critical Thinking

and Problem Solving) ทักษะด้ำนกำรสร้ำงสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้ำน
ควำมเข้ำใจตำ่ งวัฒนธรรม ต่ำงกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้ำนควำมร่วมมือ กำร
ทำงำนเป็นทีม และภำวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้ำนกำรสื่อสำร
สำรสนเทศ และกำรรู้เท่ำทันส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้ำน
คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอำชีพ และ
ทักษะกำรเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และควำมมีเมตตำ กรุณำ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
(Compassion)

แผนกำรศึกษำแห่งชำติได้กำหนดยุทธศำสตร์ ในกำรพัฒนำกำรศึกษำภำยใต้ 6 ยุทธศำสตร์หลักที่
สอดคลอ้ งกับยทุ ธศำสตรช์ ำติ 20 ปี เพื่อให้แผนกำรศึกษำแห่งชำติบรรลุเป้ำหมำยตำมจุดมุ่งหมำย วิสัยทัศน์และ
แนวคดิ กำรจัดกำรศกึ ษำ ดงั นี้

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 1 : กำรจัดกำรศึกษำเพื่อควำมมั่นคงของสงั คมและประเทศชำติ มีเป้ำหมำย ดังนี้
1.1 คนทุกช่วงวัยมีควำมรักในสถำบันหลักของชำติ และยึดม่ันกำรปกครองระบอบ

ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
1.2 คนทุกช่วงวยั ในเขตพฒั นำพิเศษเฉพำะกจิ จังหวัดชำยแดนภำคใต้และพนื้ ทีพ่ เิ ศษไดร้ ับ

กำรศึกษำและเรยี นรูอ้ ยำ่ งมีคุณภำพ
1.3 คนทุกช่วงวัยไดร้ บั กำรศกึ ษำ กำรดูแลและปอ้ งกนั จำกภัยคกุ คำมในชีวติ รปู แบบใหม่

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 : กำรผลิตและพัฒนำกำลังคน กำรวิจัยและนวัตกรรรม เพ่ือสร้ำงขีดควำมสำมำรถ
ในกำรแข่งขนั ของประเทศ มีเปำ้ หมำย ดังน้ี

2.1 กำลังคนมที กั ษะที่สำคญั จำเป็นและมีสมรรถนะตรงตำมควำมต้องกำรของตลำดงำนและ
กำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

2.2 สถำบนั กำรศึกษำและหนว่ ยงำนที่จัดกำรศึกษำผลิตบณั ฑิตทมี่ คี วำมเชย่ี วชำญและเปน็ เลิศ
เฉพำะดำ้ น

2.3 กำรวิจยั และพัฒนำเพ่ือสรำ้ งองค์ควำมรู้ และนวตั กรรมท่สี รำ้ งผลผลติ และมูลค่ำเพ่ิมทำง
เศรษฐกิจ

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 3 : กำรพฒั นำศักยภำพคนทุกชว่ งวัย และกำรสร้ำงสังคมแหง่ กำรเรียนรู้ มีเป้ำหมำย ดงั นี้
3.1 ผู้เรียนมีทกั ษะและคุณลักษณะพนื้ ฐำนของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลกั ษณะที่

จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
3.2 คนทุกช่วงวัยมที ักษะควำมรูค้ วำมสำมำรถ และสมรรถนะตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำและ

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

16

มำตรฐำนวิชำชพี และพฒั นำคุณภำพชวี ติ ไดต้ ำมศักยภำพ
3.3 สถำนศกึ ษำทกุ ระดบั กำรศกึ ษำสำมำรถจดั กจิ กรรม/กระบวนกำรเรยี นรตู้ ำมหลักสูตรอยำ่ ง

มีคุณภำพและมำตรฐำน
3.4 แหล่งเรียนรู้ สือ่ ตำรำเรยี น นวตั กรรม และส่อื กำรเรยี นรมู้ คี ุณภำพและมำตรฐำน และ

ประชำชนสำมำรถเขำ้ ถึงได้โดยไม่จำกัดเวลำและสถำนที่
3.5 ระบบและกลไกกำรวัด กำรตดิ ตำม และประเมนิ ผลมปี ระสิทธิภำพ
3.6 ระบบกำรผลิตครู อำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำได้มำตรฐำนระดบั สำกล
3.7 ครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ได้รับกำรพฒั นำสมรรถนะตำมมำตรฐำน

ยุทธศำสตรท์ ่ี 4 : กำรสรำ้ งโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเทำ่ เทยี มทำงกำรศึกษำมเี ปำ้ หมำย ดังนี้
4.1 ผเู้ รียนทุกคนไดร้ บั โอกำสและควำมเสมอภำคในกำรเข้ำถงึ กำรศกึ ษำท่มี คี ณุ ภำพ
4.2 กำรเพิม่ โอกำสทำงกำรศึกษำผำ่ นเทคโนโลยีดิจิทัลเพือ่ กำรศกึ ษำสำหรบั คนทกุ ชว่ งวยั
4.3 ระบบข้อมูลรำยบคุ คลและสำรสนเทศทำงกำรศกึ ษำท่ีครอบคลมุ ถกู ตอ้ ง เปน็ ปัจจบุ นั เพื่อ

กำรวำงแผนกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำ กำรติดตำมประเมนิ และรำยงำนผล
ยุทธศำสตร์ท่ี 5 : กำรจดั กำรศกึ ษำเพอ่ื สร้ำงเสรมิ คณุ ภำพชีวิตที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม มีเปำ้ หมำย ดงั นี้
5.1 คนทกุ ชว่ งวยั มจี ติ สำนึกรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และนำแนวคิดตำม

หลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่กำรปฏบิ ัติ
5.2 หลักสตู ร แหล่งเรยี นรู้ และสอ่ื กำรเรยี นรู้ที่สง่ เสริมคณุ ภำพชวี ิตท่ีเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกำรนำแนวคดิ ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่กำรปฏบิ ัติ
5.3 กำรวจิ ัยเพอ่ื พัฒนำองคค์ วำมรแู้ ละนวตั กรรมด้ำนกำรสรำ้ งเสรมิ คุณภำพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกบั

สิ่งแวดลอ้ ม
ยุทธศำสตรท์ ่ี 6 : กำรพัฒนำประสิทธิภำพของระบบบรหิ ำรจดั กำรศึกษำ มเี ปำ้ หมำย ดงั น้ี
6.1 โครงสร้ำง บทบำทและระบบกำรบริหำรจัดกำรกำรศกึ ษำมีควำมคล่องตัวชัดเจน และ

สำมำรถตรวจสอบได้
6.2 ระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำมปี ระสิทธภิ ำพและประสทิ ธผิ ลสง่ ผลตอ่ คุณภำพและ

มำตรฐำนกำรศึกษำ
6.3 ทกุ ภำคสว่ นของสังคมมีสว่ นร่วมในกำรจัดกำรศึกษำท่ีตอบสนองควำมตอ้ งกำรของ

ประชำชนและพื้นท่ี
6.4 กฎหมำยและรูปแบบกำรบรหิ ำรจัดกำรทรพั ยำกรทำงกำรศึกษำรองรบั ลกั ษณะท่แี ตกต่ำงกัน

ของผูเ้ รยี น สถำนศกึ ษำ
6.5 ระบบบริหำรงำนบคุ คลของครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำมีควำมเป็นธรรมสรำ้ ง

ขวัญกำลังใจ และสง่ เสรมิ ใหป้ ฏบิ ัตงิ ำนได้อย่ำงเต็มตำมศักยภำพ

9. แผนปฏบิ ตั ริ ำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศกึ ษำธิกำร
กระทรวงศึกษำธิกำรไดจ้ ัดทำแผนปฏบิ ัตริ ำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ทสี่ อดคลอ้ ง

เชอ่ื มโยงกับยทุ ธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแมบ่ ทภำยใตย้ ุทธศำสตร์ชำติ แผนกำรปฏริ ปู ประเทศแผนพัฒนำ
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบำยและแผนระดับชำติว่ำดว้ ยควำมม่ันคง เพือ่ ใหท้ ุก
ส่วนรำชกำรในสงั กดั กระทรวงศึกษำธิกำรใชเ้ ป็นกรอบแนวทำงในกำรจัดทำแผนปฏิบตั ิรำชกำรซงึ่ มีสำระสำคญั 5 เรือ่ ง
ไดแ้ ก่ 1) กำรจัดกำรศกึ ษำเพ่อื ควำมมนั่ คงของสงั คมและประเทศชำติ 2) กำรผลติ และพัฒนำกำลังคน กำรวจิ ัยและ
นวตั กรรมเพื่อสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของประเทศ 3) กำรพฒั นำศกั ยภำพคนทุกชว่ งวัยและกำรสร้ำงสงั คมแหง่
กำรเรียนรู้ 4) กำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำคและควำมเทำ่ เทยี มทำงกำรศึกษำ 5) กำรพัฒนำประสิทธิภำพของระบบ
บรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำ โดยมสี ำระสำคัญ ดงั น้ี

แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

17

วสิ ยั ทัศน์
“ผ้เู รยี นทุกชว่ งวัยได้รับกำรพฒั นำในทุกมิติให้เปน็ คนดี คนเก่ง มคี ณุ ภำพพร้อมขับเคลอื่ น

กำรพฒั นำประเทศส่คู วำมมัน่ คง มั่งค่ัง ยั่งยนื ”

พันธกจิ
1. ยกระดับคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำทุกระดบั ทุกประเภทตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

ของชำติ และเทียบเท่ำระดบั สำกล
2. สรำ้ งควำมเสมอภำคและลดควำมเหลอ่ื มลำ้ ทำงกำรศกึ ษำ
3. ผลติ พฒั นำ และสรำ้ งเสริมศักยภำพกำลงั คนใหม้ คี วำมพรอ้ มรองรบั กำรพัฒนำประเทศ
4. วจิ ยั และพัฒนำเพอ่ื สรำ้ งองคค์ วำมรู้ นวตั กรรม และสงิ่ ประดิษฐ์
5. พฒั นำระบบบรหิ ำรจัดกำรศึกษำใหม้ ีประสิทธภิ ำพตำมหลักธรรมำภบิ ำล

เปำ้ ประสงคร์ วม
1. ผู้เรยี นไดร้ ับกำรศกึ ษำและกำรเรยี นรูต้ ลอดชีวิตที่มคี ุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของชำติ
และส่งเสรมิ ทักษะท่จี ำเป็นในศตวรรษ ที่ 21
2. ประชำชนทุกชว่ งวัยและกลุ่มเป้ำหมำยมีโอกำสเขำถงึ บรกิ ำรทำงกำรศึกษำท่มี ีคุณภำพอยำ่ ง
ท่ัวถงึ เสมอภำค
3. กำลงั คนไดร้ ับกำรพัฒนำใหม้ ีศกั ยภำพตอบสนองต่อควำมตอ้ งกำรของประเทศ
4. ผลงำนวจิ ัย นวตั กรรม เทคโนโลยี องค์ควำมรู้ และสิ่งประดิษฐ์ สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์
5. ระบบบรหิ ำรจดั กำรกำรศกึ ษำมีประสทิ ธิภำพตำมหลกั ธรรมำภิบำลโดยกำรมสี ่วนร่วมจำก
ทุกภำคสว่ น
แผนปฏิบตั ริ ำชกำร ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565)

แผนปฏิบัติรำชกำร เรอ่ื งที่ 1 กำรจดั กำรศกึ ษำเพ่ือควำมมั่นคงของสงั คมและประเทศชำติ
ผ้เู รียนได้รบั กำรพฒั นำและปลูกจิตสำนกึ ท่ีถกู ต้องเก่ียวกบั ควำมมัน่ คง และรเู้ ท่ำทนั กำรเปลี่ยนแปลงรปู แบบใหม่

แผนปฏิบัตริ ำชกำร เร่อื งท่ี 2 กำรผลติ และพัฒนำกำลังคน กำรวจิ ัยและนวตั กรรม เพอื่ สรำ้ ง
ขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ กำลังคนมีทักษะ สมรรถนะ สอดคลอ้ งกบั ควำมต้องกำรของตลำด
งำน และกำรพัฒนำประเทศ และผลงำนวจิ ยั นวตั กรรม เทคโนโลยี องค์ควำมรู้ และสง่ิ ประดษิ ฐส์ ำมำรถนำไปใช้
ประโยชน์หรือต่อยอดเชงิ พำณิชย์

แผนปฏบิ ตั ริ ำชกำร เรอ่ื งที่ 3 กำรพัฒนำศกั ยภำพคนทุกช่วงวยั และกำรสรำ้ งสงั คมแห่งกำร
เรียนรู้ ผ้เู รยี นทกุ ชว่ งวัยได้รับกำรศึกษำและกำรเรยี นรูท้ มี่ ีคุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของชำติ และ
มำตรฐำนสำกล มีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ำมมำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ และมีทักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษที่
21 ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำมีคณุ ภำพตำมมำตรฐำนวิชำชีพ มจี ติ วญิ ญำณควำมเป็นครู มสี มรรถนะสูง
สอดคล้องกบั กำรจัดกำรเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 เพือ่ ให้สำมำรถปฏบิ ัติหนำ้ ท่ีได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ

แผนปฏบิ ตั ริ ำชกำร เรอื่ งที่ 4 กำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทยี มทำง
กำรศึกษำ ผูเ้ รยี นทกุ ช่วงวัยได้รบั โอกำสเข้ำถึงบริกำรทำงกำรศกึ ษำท่ีมีคณุ ภำพอยำ่ งท่วั ถงึ เสมอภำคและ
เหมำะสมกับชว่ งวัย

แผนปฏิบตั ริ ำชกำร เรอื่ งท่ี 5 กำรพัฒนำประสิทธิภำพของระบบบรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำ
ระบบบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำมปี ระสิทธิภำพตำมหลักธรรมำภิบำล ทันสมัย สนับสนนุ กำรจดั กำรศกึ ษำทห่ี ลำกหลำย
ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของผู้เรียนและกำรพัฒนำ

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

18

10. นโยบำยและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษำธิกำร ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 - 2565
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ตระหนักถงึ ควำมสำคัญของยุทธศำสตร์ชำติดำ้ นกำรพฒั นำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพ

ทรพั ยำกรมนุษย์ โดยเฉพำะแผนแม่บทภำยใตย้ ุทธศำสตรช์ ำติ ประเดน็ กำรพัฒนำศกั ยภำพคนตลอดช่วงชวี ิตกำร
สร้ำงสภำพแวดล้อมทเ่ี ออื้ ตอ่ กำรพฒั นำและเสรมิ สรง้ ศักยภำพมนษุ ย์ กำรพฒั นำเดก็ ต้ังแต่ช่วงกำร ตั้งครรภ์
จนถึงปฐมวยั กำรพฒั นำช่วงวัยเรยี น/วัยรนุ่ กำรพฒั นำและยกระดบั ศกั ยภำพวัยแรงงำน รวมถงึ กำร ส่งเสรมิ
ศักยภำพวัยผ้สู ูงอำยุ ประเดน็ กำรพัฒำกำรเรยี นรูท้ ีต่ อบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และ
พหปุ ญั ญำของมนุษยท์ ่ีหลำกลำย และประเด็นอื่นท่ีเก่ียวขอ้ ง จงึ กำหนดนโยบำยกำรจดั กำรศกึ ษำของ
กระทรวงศกึ ษำธิกำร ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดังน้ี

นโยบำยกำรจดั กำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 - 2565
1. กำรปรับปรุงหลักสตู รและกระบวนกำรเรียนรู้ให้ทนั สมยั และทนั กำรเปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษ
ที่ 21 โดยม่งุ พฒั นำผู้เรียนทกุ ระดบั กำรศกึ ษำให้มีควำมรู้ ทกั ษะและคุณลักษณะท่ีเหมำะสมกับบริบทสังคมไทย
2. กำรพัฒนำคุณภำพและประสทิ ธิภำพครแู ละอำจำรยใ์ นระดบั กำรศกึ ษำชั้นพ้ืนฐำนและอำชวี ศึกษำให้มี
สมรรถะทำงภำษำและดิจิทัล เพอื่ ให้ครูและอำจำรย์ไดร้ ับกำรพัฒนำใหม้ ีสมรรถะทงั้ ด้ำนกำรจดั กำรเรียนรู้ด้วย
ภำษำและดจิ ิทลั สำมำรถปรบั วธิ กี ำรเรียนกำรสอนและกำรใชส้ ่ือทันสมัย และมคี วำมรบั ผิดชอบต่อผลลพั ธ์ทำง
กำรศึกษำทเี่ กดิ กับผู้เรยี น
3. กำรปฏิรปู กำรเรียนรดู้ ้วยดิจทิ ัลผ่ำนแพลตฟอร์มกำรเรียนรดู้ ว้ ยดิจทิ ัลแห่งชำติ (NDLP) และกำร
สง่ เสริม กำรฝึกทักษะดิจทิ ัลในชีวติ ประจำวนั เพอื่ ให้มหี นว่ ยงำนรับผิดชอบพฒั นำแพลตฟอรม์ กำรเรยี นรู้ ดว้ ย
ดจิ ิทัลแหง่ ชำติ ทสี่ ำมำรถนำไปใช้ในกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ทนั สมัยและเข้ำถงึ แหลง่ เรยี นรไู้ ดอ้ ย่ำง กวำ้ งขวำง
ผำ่ นระบบออนไลน์ และกำรนำฐำนขอ้ มูลกลำงทำงกำรศกึ ษำมำใช้ประโยชน์ในกำรพฒั นำประสิทธิภำพกำรบรหิ ำร
และกำรจัดกำรศึกษำ
4. กำรพฒั นำประสิทธิภำพกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรศึกษำ โดยกำรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถำนศึกษำให้มี
ควำมเป็นอสิ ระและคลอ่ งตวั กำรกระจำยอำนำจกำรบริหำรและกำรจดั กำรศกึ ษำโดยใช้จงั หวดั เป็นฐำน โดยอำศยั
อำนำจตำมกฎหมำยกำรศกึ ษำแหง่ ชำตทิ ไี่ ด้รับกำรปรบั ปรงุ เพ่อื กำหนดให้มรี ะบบบรหิ ำรและกำรจัดกำรรวมถึงกำร
จดั โครงสรำ้ งหนว่ ยงำนให้เอ้ือตอ่ กำรจัดกำรเรยี นกำรสอนให้มคี ณุ ภำพ สถำนศึกษำให้มีควำมเปน็ อิสระและ
คลอ่ งตัว กำรบริหำรและกำรจัดกำรศึกษำโดยใช้จังหวดั เป็นฐำน มีระบบกำรบรหิ ำรงำนบุคคลโดยยึดหลกั ธรรมำภิ
บำล
5. กำรปรับระบบกำรประเมนิ ผลกำรศึกษำและกำรประกันคุณภำพ พร้อมจดั ทดสอบวดั ควำมรู้และทักษะ
ที่จำเป็นในกำรศึกษำตอ่ ระดับอุดมศกึ ษำทงั้ สำยวิชำกำรและสำยวชิ ำชพี เพื่อให้ระบบกำร ประเมินผลกำรศกึ ษำ
ทุกระดับและระบบกำรประกันคณุ ภำพกำรศึกษำ ไดร้ บั กำรปรบั ปรุงให้ทันสมัย ตอบสนอง ผลลัพธ์ทำงกำรศึกษำ
ไดอ้ ย่ำงเหมำะสม
6. กำรจัดสรรและกำรกระจำยทรัพยำกรให้ทัว่ ถึงทกุ กลมุ่ เป้ำหมำย รวมถึงกำรระดมทรัพยำกรทำง
กำรศกึ ษำจำกควำมรว่ มมือทุกภำคส่วน เพอื่ ใหก้ ำรจดั สรรทรพั ยำกรทำงกำรศกึ ษำมีควำมเป็น ธรรม และสรำ้ ง
โอกำสให้กลุ่มเปำ้ หมำยไดเ้ ข้ำถึงกำรศึกษำที่มคี ุณภำพทดั เทยี มกลุ่มอนื่ ๆ กระจำยทรพั ยำกรท้งั บคุ ลำกรทำงกำร
ศกึ ษำ งบประมำณและส่ือเทคโนโลยไี ดอ้ ย่ำงทว่ั ถึง
7. กำรนำกรอบคุณวฒุ แิ ห่งชำติ (NOF) และกรอบคณุ วฒุ อิ ้ำงอิงอำเซียน (AQRF) สู่กำรปฏบิ ัตเิ ป็นกำร
ผลิตและกำรพัฒนำกำลงั คนเพื่อกำรพฒั นำประเทศ โดยใช้กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชำติ เชือ่ มโยงระบบกำรศึกษำและ
กำรอำชีพ โดยใชก้ ลไกกำรเทยี บโอนประสบกำรณ์ดว้ ยธนำคำรหน่วยกิตและกำรจัดทำมำตรฐำนอำชีพในสำขำที่
สำมำรถอำ้ งอิงอำเซียนได้
8. กำรพฒั นำเดก็ ปฐมวัยใหไ้ ด้รับกำรดแู ลและพฒั นำก่อนเข้ำรบั กำรศึกษำเพื่อพฒั นำร่ำงกำย จติ ใจวินัย

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

19

อำรมณ์ สงั คม และสติปญั ญำให้สมกับวัย เพอื่ เป็นกำรขับเคล่อื นแผนบรู ณำกำรกำรพฒั นำเด็กปฐมวัยตำม
พระรำชบญั ญัตกิ ำรพฒั นำเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. 2562 สกู่ ำรปฏบิ ตั ิเปน็ รูปธรรม โดยหน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้อง นำไป
เป็นกรอบในกำรจดั ทำแผนปฏิบตั ิกำรเพ่อื พฒั นำเด็กปฐวยั และมกี ำรติดตำมควำมกำ้ วหน้ำเปน็ ระยะ

9. กำรศึกษำเพือ่ อำชีพและสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ของประเทศ เพือ่ ให้ผู้จบกำรศกึ ษำระดับ
ปริญญำและอำชีวศกึ ษำมีอำชพี และรำยได้ท่ีเหมำะสมกับกำรดำรงชพี และคุณภำพชวี ิตที่ดีมสี ่วนช่วยเพ่มิ ขีด
ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ในเวทีโลกได้

10. กำรพลกิ โฉมระบบกรศึกษำไทยด้วยกำรนำนวตั กรรมและเทคโนโลยีที่ทนั สมัยมำใช้ในกำรจัด
กำรศึกษำทุกระดับกำรศกึ ษำ เพ่ือใหส้ ถำบนั กำรศึกษำทกุ แห่งนำนวตั กรรมและเทคโนโลยที ีท่ นั สมัยมำใช้
ในกำรจดั กำรศกึ ษำผ่ำนระบบดจิ ิทัล

11. กำรเพม่ิ โอกำสและกำรเข้ำถึงกำรศึกษำท่มี ีคุณภำพของกลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกำสทำงกำรศึกษำและผ้เู รียนท่ี
มคี วำมต้องกำรจำเปน็ พเิ ศษ เพอื่ เปน็ กำรเพมิ่ โอกำสและกำรเข้ำถึงกำรศกึ ษำทม่ี ีคุณภำพของกลุ่มผู้ด้อยโอกำสทำง
กำรศกึ ษำ และผู้เรยี นทม่ี ีควำมต้องกำรจำเป็นพิเศษ

12. กำรจัดกำรศึกษำในระบบ นอกระบบ และตำมอัธยำศัย โดยยึดหลกั กำรเรยี นรู้ตลอดชีวิตและกำรมี
สว่ นร่วมของผมู้ ีส่วนเก่ยี วขอ้ ง เพ่ือเพม่ิ โอกำสและกำรเขำ้ ถงึ กำรศกึ ษำทมี่ ีคุณภำพของกล่มุ ผดู้ อ้ ยโอกำสทำงกำร
ศึกษำและผู้เรียนที่มคี วำมต้องกำรจำเป็นพิเศษ

นโยบำยระยะเร่งด่วน (Quick Win)
1. เร่อื งควำมปลอดภัยของผู้เรียนโดยจดั ใหม้ รี ปู แบบ วธิ ีกำร หรอื กระบวนกำรในกำรดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี น เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ กำรเรียนรอู้ ย่ำงมคี ุณภำพ มีควำมสุข และได้รบั กำรปกป้องคุม้ ครองควำมปลอดภยั ทัง้
ด้ำนร่ำงกำยและจิตใจ รวมถึงกำรสรำ้ งทักษะใหผ้ ้เู รยี นมคี วำมสำมำรถในกำรดูแลตนเองจำกภัยอันตรำยตำ่ ง ๆ
ทำ่ มกลำงสภำพแวดล้อมทำงสังคม
2. หลักสูตรฐำนสมรรถนะมุ่งเน้นกำรจดั กำรเรยี นรู้ทห่ี ลำกหลำยโดยยึดควำมสำมำรถของผเู้ รยี นเปน็
หลกั และพัฒนำผู้เรยี นให้เกดิ สมรรถนะทต่ี ้องกำร
3. Big Dataพฒั นำกำรจัดเกบ็ ขอ้ มูลอย่ำงเป็นระบบและไมซ่ ำ้ ซอ้ น เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลภำพรวมกำรศกึ ษำ
ของประเทศที่มีควำมครบถว้ น สมบูรณ์ ถูกตอ้ งเป็นปจั จุบนั และสำมำรถนำมำใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยำ่ งแท้จริง
4. ขับเคลอ่ื นศนู ย์ควำมเป็นเลศิ ทำงกำรอำชวี ศึกษำ (Excellent Center)สนบั สนุนกำรดำเนินงำนของ
ศูนยค์ วำมเปน็ เลิศทำงกำรอำชวี ศึกษำ (Excellent Center) ตำมควำมเป็นเลิศของแต่ละสถำนศึกษำและตำม
บรบิ ทของพนื้ ที่ สอดคล้องกบั ควำมต้องกำรของประเทศท้งั ในปจั จบุ นั และอนำคต ตลอดจนมกี ำรจัดกำรเรียนกำร
สอนดว้ ยเครอื่ งมือท่ที นั สมยั สอดคล้องกบั เทคโนโลยปี ัจจุบัน
5. พฒั นำทักษะทำงอำชีพส่งเสรมิ กำรจดั กำรศกึ ษำทนี่ ้นพัฒนำทกั ษะอำชพี ของผู้เรยี น เพอ่ื พัฒนำ
คุณภำพชวี ิต สรำ้ งอำชพี และรำยได้ทเี่ หมำะสม และเพ่ิมขดี ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของประเทศ
6. กำรศกึ ษำตลอดชีวติ กำรจัดเรยี นรตู้ ลอดชีวิตสำหรบั ประชำชนทุกช่วงวยั ใหม้ ีคุณภำพและมำตรฐำน
ประชำชนในแตล่ ะชว่ งวยั ได้รบั กำรศึกษำตำมควำมต้องกำรอยำ่ งมมี ำตรฐำน เหมำะสมและเตม็ ตำมศักยภำพตัง้ แต่
วัยเดก็ จนถงึ วยั ชรำ และพฒั นำหลกั สูตรที่เหมำะสมเพ่ือเตรียมควำมพร้อมในกำรเข้ำสู่สังคมผู้สงู วยั
7. กำรจัดกำรศกึ ษำสำหรับผทู้ ีม่ คี วำมต้องกำรจำเป็นพิเศษส่งเสรมิ กำรจัดกำรศกึ ษำใหผ้ ู้ทม่ี คี วำม
ต้องกำรจำเปน็ พิเศษได้รบั กำรพฒั นำอย่ำงเตม็ ศกั ยภำพสำมำรถดำรงชวี ิตในสังคมอยำ่ งมีเกียรติ ศักด์ิศรีเทำ่ เทยี ม
กับผ้อู ่ืนในสงั คม สำมำรถชว่ ยเหลือตนเองและมสี ่วนร่วมในกำรพฒั นำประเทศ

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

20

11. แผนปฏิบตั ริ ำชกำรระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน
วิสัยทศั น์
“สร้ำงคุณภำพทนุ มนษุ ย์ สู่สงั คมอนำคตท่ียั่งยนื ”
พนั ธกิจ
1. จดั กำรศกึ ษำเพ่ือเสรมิ สร้ำงควำมมนั่ คงของสถำบันหลักของชำติและกำรปกครองในระบอบ

ประชำธิปไตยอนั มีพระมหำกษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
2. พัฒนำผู้เรยี นใหม้ ีควำมสำมำรถควำมเปน็ เลศิ ทำงวชิ ำกำรเพือ่ สรำ้ งขีดควำมสำมำรถในกำร

แขง่ ขนั
3. พฒั นำศักยภำพและคุณภำพผู้เรยี นให้มีสมรรถนะตำมหลักสูตรและคุณลกั ษณะ ในศตวรรษท่ี 21
4. สรำ้ งโอกำส ควำมเสมอภำค ลดควำมเหล่ือมล้ำ ให้ผูเ้ รียนทกุ คนได้รับบริกำรทำงกำรศกึ ษำ

อย่ำงทั่วถงึ และเทำ่ เทยี ม
5. พฒั นำผ้บู ริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำให้เป็นมอื อำชพี
6. จดั กำรศกึ ษำเพอ่ื พฒั นำคุณภำพชีวติ ที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ยดึ หลักปรัชญำของเศรษฐกิจ

พอเพียง และเป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี ่งั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs)
7. ปรบั สมดุลและพัฒนำระบบกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำทกุ ระดบั และจดั กำรศึกษำ โดยใช้

เทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนำมุ่งสู่ Thailand 4.0

12. แผนพฒั นำกำรศกึ ษำข้นั พนื้ ฐำน (พ.ศ. 2564 - 2565) ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พน้ื ฐำน
กำรจัดกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน เปน็ กำรศกึ ษำเพอื่ เป็นรำกฐำนในกำรพฒั นำประเทศให้ผเู้ รียนมี

โอกำสไดร้ บั กำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำนอย่ำงท่วั ถงึ และมคี ุณภำพตำมมำตรฐำน มีทกั ษะทีจ่ ำเป็น สำมำรถแก้ปญั หำ
ปรับตัว ส่อื สำร และทำงำนร่วมกับผูอ้ ื่นไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธผิ ล มวี ินยั มนี สิ ัยใฝ่กำรเรยี นรู้ และเป็นพลเมืองทรี่ ู้สทิ ธิ
และหน้ำที่ มีควำมรบั ผดิ ชอบ มีจิตสำธำรณะ มีควำมรักและควำมภำคภมู ิใจในควำมเป็นไทย สำนกั งำนคณะกรรมกำร
กำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน ซ่ึงเป็นหน่งึ ในหนว่ ยงำนของรฐั ท่ีจัดกำรศึกษำช้ันพื้นฐำน จึงไดก้ ำหนดทศิ ทำงในกำรพฒั นำ
กำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำนในปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 - 2565 ซงึ่ ประกอบดว้ ย วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เป้ำประสงค์ และกลยทุ ธ์
ดังนี้

วสิ ัยทศั น์
สรำ้ งคณุ ภำพทนุ มนุษย์ สสู่ งั คมอนำคตทย่ี งั่ ยนื
พันธกจิ
1. จดั กำรศึกษำเพือ่ เสริมสรำ้ งควำมมั่นคงของสถำบันหลักของชำติ และกำรปกครองในระบอบ
ประชำธปิ ไตย อันมีพระมหำกษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
2. จดั กำรศกึ ษำใหผ้ ูเ้ รยี น ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ และสถำนศกึ ษำ ได้รบั ควำมปลอดภยั
จำกภัยพิบตั ิ ภยั คกุ คำมทุกรูปแบบ เพ่อื รองรบั วิถชี วี ิตใหม
3. พัฒนำศกั ยภำพและคณุ ภำพผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะตำมหลกั สตู รและคณุ ลกั ษณะในศตวรรษท่ี 21
4. พฒั นำผู้เรยี นใหม้ ีควำมสำมรถและมคี วำมเป็นเลิศทำงวิชำกำร เพอื่ สรำ้ งขดี ควำมสำมำรถ
ในกำรแขง่ ขัน
5. สรำ้ งโอกำส ควำมเสมอภำค ลดควำมเหลอ่ื มล้ำ ให้ผ้เู รยี นทกุ คนได้รับบรกิ ำรทำงกำรศกึ ษำ
อยำ่ งท่วั ถึงและเท่ำเทยี ม
6. พัฒนำผู้บรหิ ำร ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำใหเ้ ป็นมืออำชีพ มีสมรรถนะดำ้ นภำษำ และ
กำรใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั
7. จดั กำรศกึ ษำเพ่อื พัฒนำคุณภำพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม ยึดหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง
และเป้ำหมำยกำรพฒั นำท่ีย่งั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)

แผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

21

8. พฒั นำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำทกุ ระดับ และจดั กำรศกึ ษำ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology)

เปำ้ ประสงค์
1. ผเู้ รียนทุกช่วงวัยในระดบั กำรศกึ ษำขั้นพืน้ ฐำน มคี วำมรกั ในสถำบนั หลกั ของชำติ และยึดมนั่
กำรปกครองระบอบประชำธปิ ไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองทร่ี สู้ ิทธิและหนำ้ ทอ่ี ย่ำงมี
ควำมรับผิดชอบ มีจติ สำธำรณะ มีควำมรักและควำมภูมใิ จในควำมเป็นไทย
2. ผเู้ รยี นทุกช่วงวยั ในระดับกำรศกึ ษำขั้นพืน้ ฐำน ได้รับกำรศึกษำท่ีมคี ุณภำพ ตำมมำตรฐำนสอดคลอ้ ง
กบั ศักยภำพ ให้เปน็ ผมู้ สี มรรถนะและทกั ษะทจ่ี ำเปน็ สำหรบั อนำคต มคี วำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ สำมำรถวำงแผนในกำรศกึ ษำ
ต่อเพ่อื กำรมีงำนทำ และสำมำรถปรบั ตัวในกำรดำรงชวี ิตอยใู่ นสังคมอยำ่ งมคี วำมสขุ
3. ผเู้ รียน ครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ และสถำนศกึ ษำ ไดร้ บั กำรดแู ลควำมปลอดภยั จำกภยั พิบัติ
และภัยคุกคำมทุกรปู แบบ สำมำรถปรบั ตัวต่อโรคอบุ ัตใิ หม่ โรคอบุ ัตซิ ำ้ และรองรบั วิถชี ีวิตใหม่รวมถงึ กำรจัด
สภำพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ กำรมีสขุ ภำวะทด่ี ี
4. ผบู้ ริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำเปน็ บุคคลแห่งกำรเรียนรู้ มีสมรรถนะ ควำมรู้ควำม
เชี่ยวชำญ และจรรยำบรรณตำมมำตรฐำนวชิ ำชพี
5. สถำนศกึ ษำจดั กำรศกึ ษำเพ่อื กำรบรรลุเปำ้ หมำยกำรพฒั นำอย่ำงยง่ั ยนื ( Sustainable
Development Goals : SDGs) และสรำ้ งเสรมิ คณุ ภำพชีวติ ที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง พฒั นำครูให้ทันต่อกำรเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี เช่อื มโยงนโยบำยดำ้ นดิจทิ ัลของกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร และ
นโยบำยดำ้ นปญั ญำประดษิ ฐ์
6. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน สำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำ สถำนศึกษำมีสมดลุ ใน
กำรบรหิ ำรจัดกำรเชงิ บูรณำกำร มกี ำรกำกับ ตดิ ตำม ประเมนิ ผล มีระบบข้อมูลสำรสนเทศทีม่ ีประสทิ ธิภำพและกำร
รำยงำนผลอย่ำงเป็นระบบใช้งำนวิจัย เทคโนโลยี และนวตั กรรมในกำรขับเคลอื่ นคุณภำพกำรศกึ ษำ
กลยุทธ์
กลยุทธท์ ่ี 1 ส่งเสริมกำรจดั กำรศึกษำให้ผเู้ รยี นมคี วำมปลอดภัยจำกภัยทกุ รปู แบบ
เป้าประสงค์เชิงกลยทุ ธ์
ผเู้ รียน ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ และสถำนศกึ ษำ ไดร้ ับกำรดูแลควำมปลอดภัยจำกภัยพบิ ตั ิ
และภัยคกุ คำมทุกรูปแบบ สำมำรถปรับตัวต่อโรคอบุ ัตใิ หม่ โรคอบุ ัติซำ้ และรองรับวิถชี วี ิตใหม่ รวมถงึ กำรจดั
สภำพแวดลอ้ มที่เออ้ื ตอ่ กำรมีสุขภำวะทด่ี ี
กลยทุ ธท์ ่ี 2 สร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศกึ ษำใหก้ ับประชำกรวยั เรยี นทกุ คน
เปา้ ประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์
1. เด็กปฐมวยั ไดเ้ ข้ำเรียนทุกคน มพี ฒั นำกำรสมวัย
2. ประชำกรวัยเรียนระดับกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน ไดร้ ับโอกำสทำงกำรศกึ ษำอยำ่ งเสมอภำค จนจบ
กำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน
3. ผู้เรยี นทม่ี ีควำมสำมำรถพเิ ศษได้รบั กำรสง่ เสริมและพฒั นำสคู่ วำมเปน็ เลิศ
4. เด็กกล่มุ เสย่ี งท่จี ะออกจำกระบบกำรศกึ ษำ เด็กตกหลน่ และเด็กออกกลำงคนั ได้รับกำรชว่ ยเหลอื ให้
ไดร้ บั กำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน
5. เด็กพิกำรและผู้ด้อยโอกำส ได้รบั โอกำสทำงกำรศกึ ษำท่มี ีคณุ ภำพ
กลยทุ ธ์ที่ 3 ยกระดบั คุณภำพกำรศึกษำให้สอดคล้องกับกำรเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21
เป้าประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์
1. ผู้เรยี นทกุ ช่วงวยั ในระดับกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน มคี วำมรกั ในสถำบันหลักของชำติ และยึดม่ัน
กำรปกครองระบอบประชำธปิ ไตยอนั มีพระมหำกษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ เป็นพลเมืองทรี่ ู้สทิ ธิและหนำ้ ที่อย่ำงมีควำม
รบั ผดิ ชอบ มจี ติ สำธำรณะ มีควำมรักและควำมภูมิใจในควำมเป็นไทย
2. ผู้เรียนทกุ ช่วงวยั ในระดับกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน ไดร้ ับกำรศึกษำที่มีคุณภำพ ตำมมำตรฐำน
สอดคล้องกบั ศกั ยภำพ ให้เป็นผู้มีสมรรถนะและทกั ษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21

แผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

22

3. ผู้บริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำเปน็ บุคคลแหง่ กำรเรียนรู้ ทันต่อกำรเปลย่ี นแปลง
ของเทคโนโลยี มีสมรรถนะ ควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญ จรรยำบรรณและมำตรฐำนวิชำชีพ มีควำมพร้อมท้ังทำงด้ำนวชิ ำกำร
เชย่ี วชำญวิชำชีพ มจี รรยำบรรณ และจติ วญิ ญำณควำมเป็นครู

4. สถำนศึกษำจัดกำรศกึ ษำเพอ่ื กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำอยำ่ งย่ังยืน (Sustainable
Development Goals : SDGs) และสร้ำงเสริมคุณภำพชวี ิตท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ
พอเพียง
กลยทุ ธ์ท่ี 4 เพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพกำรบริหำรจดั กำรศกึ ษำ
เปา้ ประสงค์เชงิ กลยุทธ์

1. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน สำนักงำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำ สถำนศกึ ษำ มกี ำรนำ
ระบบข้อมูลสำรสนเทศ และเทคโนโลยีดจิ ิทลั มำใช้ในกำรบรหิ ำรจัดกำรอยำ่ งมีประสทิ ธิภำพ
2. สถำนศกึ ษำและพ้ืนทน่ี วัตกรรมไดร้ ับกำรส่งเสริมสนบั สนุนให้มีควำมคลอ่ งตัวและเออื้ ต่อกำร
บริหำรและกำรจดั กำรศกึ ษำอยำ่ งมีประสิทธภิ ำพที่เหมำะสมกับบรบิ ท
3. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำ สถำนศึกษำ

มีกำรบริหำรงบประมำณ และกำรบรหิ ำรงำนบคุ คล ทม่ี ีประสิทธภิ ำพ เหมำะสมกบั บริบท
4. สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำ สถำนศกึ ษำ
มีกำรพัฒนำระบบกำรบริหำรจดั กำรและกำรมสี ่วนร่วมท่มี ีประสิทธภิ ำพ เหมำะสมกับบริบท
13. นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564-2565

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน ตระหนักถึงนโยบำยด้ำนกำรศึกษำ ซ่ึงถือเป็นส่วน
สำคญั ยง่ิ ในกำรพัฒนำประเทศให้บรรลุเป้ำหมำยอย่ำงย่ังยนื เป็นประเทศท่พี ฒั นำแล้วในทกุ ด้ำน ดงั นั้น เพ่ือให้กำร
ดำเนินกำร เกิดผลสมั ฤทธ์ิและสอดคล้องกบั แผนกำรปฏริ ูปประเทศ โดยเฉพำะกิจกรรมปฏริ ูปประเทศทจ่ี ะส่งผลใหเ้ กิด
กำรเปลี่ยนแปลงต่อประชำชนอย่ำงมีนยั สำคัญ (Big Rock) ทีม่ ีควำมสำคญั เร่งดว่ น และสำมำรถดำเนนิ กำร และวดั ผลได้
อยำ่ งเปน็ รูปธรรมในช่วงปี พ.ศ. 2564 - 2565 ซึ่งเกยี่ วข้องกบั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน ได้แก่
1) กำรสรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศกึ ษำต้ังแต่ระดบั ปฐมวยั 2) กำรพฒั นำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนสู่กำร
เรยี นรฐู้ ำนสมรรถนะ เพื่อตอบสนองกำรเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และ 3) กำรสรำ้ งระบบกำรผลติ และพฒั นำครูและ
บุคลำกรทำงกำรศึกษำท่ีมีคุณภำพ จึงกำหนดนโยบำย สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564 - 2565 ดังนี้

1. ด้ำนควำมปลอดภยั
พฒั นำระบบและกลไกในกำรดแู ลควำมปลอดภัยใหก้ ับผเู้ รยี น ครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
และสถำนศกึ ษำ จำกภัยพิบัตแิ ละภยั คุกคำมทกุ รปู แบบ รวมถงึ กำรจดั สภำพแวดลอ้ มท่ีเอ้อื ต่อกำรมีสุขภำวะทีด่ ี
สำมำรถปรบั ตัวต่อโรคอุบตั ิใหม่และโรคอุบัติซำ้
2. ดำ้ นโอกำส
2.1 สนบั สนนุ ให้เดก็ ปฐมวยั ได้เข้ำเรยี นทกุ คน มีพฒั นำกำรทดี่ ี ท้ังทำงร่ำงกำย จิตใจ วนิ ยั
อำรมณ์ สงั คม และสติปญั ญำ ใหส้ มกับวยั
2.2 ดำเนินกำร ให้เดก็ และเยำวชนไดร้ บั กำรศกึ ษำจนจบกำรศึกษำขนั้ พน้ื ฐำน อยำ่ งมคี ุณภำพ
ตำมมำตรฐำน วำงรำกฐำนกำรศกึ ษำเพือ่ อำชพี สำมำรถวเิ ครำะหต์ นเองเพอ่ื กำรศึกษำต่อ และประกอบอำชพี ตรง
ตำมศกั ยภำพและควำมถนัดของตนเอง รวมทงั้ สง่ เสริมและพัฒนำผเู้ รยี นท่ีมคี วำมสำมำรถพเิ ศษส่คู วำมเปน็ เลิศ
เพ่ือเพ่มิ ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ
2.3 พฒั นำระบบดูแลช่วยเหลอื เด็กและเยำวชนทีอ่ ย่ใู นกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน เพอื่ ป้องกันไมใ่ ห้
ออกจำกระบบกำรศกึ ษำ รวมทง้ั ชว่ ยเหลือเดก็ ตกหล่นและเด็กออกกลำงคนั ให้ได้รบั กำรศึกษำข้ันพื้นฐำนอย่ำงเท่ำ
เทยี มกนั

2.4 สง่ เสรมิ ให้เด็กพกิ ำรและผู้ดอ้ ยโอกำส ให้ได้รบั โอกำสทำงกำรศกึ ษำท่มี คี ณุ ภำพมที ักษะ
ในกำรดำเนินชวี ิต มีพ้ืนฐำนในกำรประกอบอำชพี พ่งึ ตนเองได้อย่ำงมศี ักด์ิศรีควำมเปน็ มนุษยต์ ำมหลกั ปรัชญำของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

23
3. ดำ้ นคุณภำพ
3.1 สง่ เสรมิ กำรจัดกำรศกึ ษำใหผ้ เู้ รียนมคี วำมรู้ มีทกั ษะกำรเรยี นรู้และทกั ษะทีจ่ ำเป็นของโลก
ในศตวรรษที่ 21 อย่ำงครบถว้ น เป็นคนดี มวี ินัย มคี วำมรักในสถำบันหลักของชำติ ยดึ มนั่ กำรปกครองในระบอบ
ประชำธิปไตยอันมพี ระมหำกษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ มีทัศนคตทิ ี่ถกู ตอ้ งต่อบำ้ นเมอื ง
3.2 พฒั นำผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะและทกั ษะด้ำนกำรอำ่ น คณิตศำสตร์ กำรคดิ ขั้นสงู นวัตกรรม
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และภำษำต่ำงประเทศ เพื่อเพมิ่ ขดี ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั และกำรเลอื ก
ศึกษำตอ่ เพ่อื กำรมีงำนทำ
3.3 ปรับหลกั สตู รเป็นหลักสตู รฐำนสมรรถนะ ท่เี นน้ กำรพฒั นำสมรรถนะหลักทจ่ี ำเป็นในแต่
ละระดับ จัดกระบวนกำรเรยี นรู้แบบลงมือปฏิบตั ิจริง รวมท้งั สง่ เสริมกำรจัดกำรเรียนรทู้ ส่ี ร้ำงสมดุลทุกดำ้ น
ส่งเสรมิ กำรจดั กำรศึกษำเพอ่ื พัฒนำพหุปญั ญำ พฒั นำระบบกำรวัดและประเมินผลผเู้ รยี นทกุ ระดบั
3.4 พฒั นำครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ใหเ้ ป็นครูยุคใหม่ มีศกั ยภำพในกำรจัดกำรเรียนกำร
สอนตำมหลักสูตรฐำนสมรรถนะ มีทกั ษะในกำรปฏบิ ัตหิ นำ้ ท่ไี ด้ดี มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั
มีกำรพัฒนำตนเองทำงวิชำชีพอย่ำงต่อเนอื่ ง รวมทัง้ มีจติ วิญญำณควำมเป็นครู
4. ด้ำนประสิทธภิ ำพ
4.1 พฒั นำระบบบริหำรจัดกำรโดยใช้พืน้ ท่เี ปน็ ฐำน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในกำรขบั เคล่อื นบน
ฐำนข้อมูลสำรสนเทศทถ่ี กู ต้อง ทนั สมัย และกำรมสี ่วนร่วมของทุกภำคส่วน
4.2 พฒั นำโรงเรียนมธั ยมดสี ่ีมุมเมือง โรงเรียนคณุ ภำพของชุมชน โรงเรยี นขนำดเล็ก และ
โรงเรยี นทส่ี ำมำรถดำรงอยู่ได้อยำ่ งมีคุณภำพ (Stand Alone) ใหม้ คี ุณภำพอยำ่ งยัง่ ยนื สอดคลอ้ งกับบริบทของ
พื้นท่ี
4.3 บรหิ ำรจดั กำรโรงเรียนขยำยโอกำสทำงกำรศกึ ษำ ทีม่ ีจำนวนนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่
1 – 3 น้อยกว่ำ 20 คน ให้ไดร้ บั กำรศกึ ษำอยำ่ งมคี ณุ ภำพ สอดคลอ้ งกับนโยบำยโรงเรยี นคุณภำพของชมุ ชน
4.4 สง่ เสริมกำรจัดกำรศึกษำทม่ี คี ุณภำพในสถำนศกึ ษำที่มวี ตั ถุประสงค์เฉพำะ และ
สถำนศึกษำท่ีตง้ั ในพนื้ ทล่ี ักษณะพเิ ศษ
4.5 สนบั สนุนพน้ื ทีน่ วัตกรรมกำรศึกษำให้เป็นตน้ แบบกำรพฒั นำนวตั กรรมกำรศึกษำ และกำร
เพิ่มควำมคลอ่ งตวั ในกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน
4.6 เพม่ิ ประสทิ ธิภำพกำรนเิ ทศ ติดตำมและประเมินผลกำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

24

ส่วนที่ 3

กำรศึกษำสภำพของเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำ
สำนักงำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำอุทยั ธำนี ชยั นำท

สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท เป็นหน่วยงำนสังกัดสำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร มีอำนำจหน้ำท่ีในกำรดำเนินงำน บริหำรและกำรจัด
กำรศึกษำระดับมัธยมศึกษำ ซ่ึงคลอบคลุมพ้ืนที่ 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุทัยธำนีและจังหวัดชัยนำท ปัจจุบัน
สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท มีโรงเรียนในสังกัดจำนวน 34 โรงเรียน มีนักเรียน
รวมท้ังสิ้น 22,271 คน ในกำรกำหนดทิศทำงกำรจัดกำรศึกษำของสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ
อทุ ยั ธำนี ชัยนำท โดยจัดให้มแี ผนปฏบิ ตั กิ ำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 โดยได้ระดมควำมคิดจำกผู้เก่ียวข้องและ
ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ในกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท มำร่วมใน
กำรวำงแผนจดั ทำกำรวเิ ครำะห์ ประกอบดว้ ย

1. บคุ ลำกรของสำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ ต้งั แต่ผูอ้ ำนวยกำรสำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำ
มัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท รองผู้อำนวยกำรสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท
ผู้อำนวยกำรกลมุ่ /หน่วย เจำ้ หนำ้ ทีด่ ้ำนนโยบำยและแผน ศึกษำนเิ ทศก์และเจำ้ หนำ้ ท่ดี ำ้ นอน่ื ๆ

2. ผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี อื่น ๆ ในเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำ ไดแ้ ก่ กรรมกำรและผ้ทู รงคณุ วุฒิ ก.ต.ป.น.
และประธำนเครอื ขำ่ ยสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภำพกำรมัธยมศกึ ษำจังหวัดอุทัยธำนีและจังหวัดชัยนำท ประธำนสหวิทยำ
เขตทงั้ 5 สหวิทยำเขต และผู้อำนวยกำรโรงเรียนในสังกดั 34 โรงเรียน

จำก SWOT สำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท พบว่ำมีจุดแข็ง จุดอ่อน
โอกำส และอปุ สรรค ดังน้ี

จดุ แขง็ (Strengths)

1. มีกำรกระจำยอำนำจให้เครือข่ำยส่งเสริมประสิทธิภำพมัธยมศึกษำ และสหวิทยำเขตมีส่วนร่วมใน
กำรจัดกำรศกึ ษำท่ีมปี ระสิทธภิ ำพ

2. หน่วยงำนมีกำรส่ือสำรทั้งภำยใน ภำยนอกองค์กรหลำกหลำยช่องทำงในกำรขับเคลื่อนนโยบำยสู่
กำรปฏบิ ตั ิ

3. นักเรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
4. นกั เรียนได้รบั กำรสง่ เสรมิ และพฒั นำเตม็ ศกั ยภำพมีผลงำนเปน็ ทีป่ ระจกั ษ์
5. ประชำกรวัยเรียนได้รับโอกำสในกำรศกึ ษำต่อในอัตรำท่สี งู เป็นที่นำ่ พอใจ
6. สถำนศกึ ษำในสงั กัดประสบควำมสำเร็จในกำรบริหำรจดั กำรศึกษำสำมำรถพัฒนำเป็นแบบอยำ่ งได้
7. ผบู้ รหิ ำรเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำมีควำมมุ่งม่นั ในกำรยกระดับคณุ ภำพกำรศกึ ษำ
8. ผบู้ รหิ ำรเขตพื้นที่มคี วำมรู้ควำมสำมำรถสำมำรถจัดกำรองคก์ รใหม้ คี ุณภำพและประสิทธภิ ำพ
9. ผ้บู รหิ ำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ไดร้ ับกำรพฒั นำอยำ่ งตอ่ เนอื่ ง
10. ผูบ้ ริหำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ มีควำมก้ำวหน้ำทำงวิชำชีพและมีวิทยฐำนะสงู ข้ึน
11. ผู้บรหิ ำร ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำมีควำมม่งุ มน่ั ในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศกึ ษำ
12. บุคลำกรมคี วำมรู้ควำมสำมำรถในกำรพฒั นำกำรศึกษำ
13. บคุ ลำกรเขตพ้ืนทม่ี จี ิตบรกิ ำรแกผ่ มู้ ำติดต่อ

แผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

25

14. เขตพื้นที่กำรศกึ ษำและสถำนศึกษำส่งเสริมกำรบริหำรงบประมำณมีประสิทธภิ ำพ กำกบั ติดตำมให้
ควำมรอู้ ยำ่ งต่อเนื่องและดำเนินกำรทนั ตำมกำหนดเวลำ โดยกำรมสี ่วนร่วมของคณะกรรมกำรได้ตรงตำม
วัตถปุ ระสงค์ ถูกตอ้ ง โปรง่ ใส คุม้ ค่ำ

15. เขตพ้นื ที่กำรศึกษำมีนโยบำยในกำรบริหำรท่ีมุ่งผลสมั ฤทธแิ์ ละกำรมสี ว่ นร่วมในกำรจดั กำรศึกษำของ
ทุกภำคสว่ น

16. กรอบอตั รำกำลงั ตำมโครงสร้ำงเพียงพอ

จดุ อ่อน (Weaknesses)
1. โครงสร้ำงกำรมอบหมำยงำนของเขตพื้นที่ไม่ตรงตำมควำมสำมำรถของผูป้ ฏิบัตงิ ำน
2. สำนักงำนเขตพ้ืนทีก่ ำรศกึ ษำประชำสมั พนั ธน์ โยบำยไมท่ ั่วถงึ ทำให้ขำดควำมชัดเจนในเรอ่ื งนโยบำย

เขตพืน้ ที่
3. นักเรียนท่ีไม่จบกำรศกึ ษำภำคบังคับมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน
4. บุคลำกรเขตพ้ืนท่ีขำดประสบกำรณ์ที่สอดคลอ้ งกับภำรกจิ
5. จำนวนบคุ ลำกรเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำไม่เพยี งพอ
6. งบประมำณในกำรบรหิ ำรจัดกำรไม่เพยี งพอ
7. เขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำขำดควำมคลอ่ งตัวในกำรเบิกจำ่ ยงบประมำณ
8. ระเบยี บกำรบรหิ ำรจัดกำรงบประมำณเปล่ยี นแปลงบอ่ ยทำให้เขตพ้ืนที่กำรศึกษำขำดควำมรู้ควำม

เข้ำใจทีถ่ ูกต้องชดั เจน
9. กำรอนุมัติงบประมำณมคี วำมล่ำชำ้ และไม่ต่อเนือ่ ง
10. กำรส่งเสรมิ ควำมร้แู ละกำรปฏิบัตงิ ำนด้วยกำรสง่ เสรมิ SME ไม่มแี ผนและโครงกำร
11. วสั ดุ อุปกรณ์ไม่เพยี งพอต่อควำมต้องกำรและขำดประสิทธภิ ำพในกำรดำเนินกำรในยคุ ปัจจบุ ัน
12. สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศกึ ษำมีอำคำรสถำนที่ไม่เพยี งพอต่อกำรปฏิบัตงิ ำน
13. ไม่มที ีต่ ง้ั เขตพื้นท่เี ปน็ ของตนเอง
14. กำรบริหำรจัดกำรยงั ไมเ่ ปน็ ระบบทช่ี ดั เจน ขำดกำรกำกับ ติดตำม ประเมนิ ผลอยำ่ งตอ่ เนื่อง
15. ขอ้ มูลสำรสนเทศของเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำและโรงเรยี นยงั ไม่เป็นระบบทเี่ ช่ือมโยงกัน
16. กำรจัดทำข้อมลู สำรสนเทศในกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำ ยังไมส่ ำมำรถนำข้อมูลสำรสนเทศมำใช้ใน

กำรจดั กำรศึกษำไดด้ ีเทำ่ ทีค่ วร
17. กำรบริหำรงำนของเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำดแู ล 2 จงั หวดั ทำให้กำรสอ่ื สำรภำยในองคก์ ร และระหว่ำง

องค์กรของหน่วยงำน ไม่ทว่ั ถงึ ส่งผลกระทบในกำรดำเนินงำนดำ้ นประสิทธภิ ำพ

โอกำส (Opportunities)
1. ขนบธรรมเนียมประเพณคี ล้ำยคลงึ กนั เอ้อื ต่อกำรปฏิบตั งิ ำน
2. มภี ูมปิ ัญญำท้องถน่ิ ที่หลำกหลำยส่งผลตอ่ กำรมีสว่ นร่วม สนับสนุน ช่วยเหลือกำรศกึ ษำ
3. มีประเพณีของทอ้ งถน่ิ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ ทำให้เกดิ ควำมภำคภูมิใจและมีกำรสบื ทอดวิถีชีวิตที่ดีงำม

ส่งผลต่อกำรเสริมสร้ำงควำมเขม้ แข็งของ สงั คม ชุมชน
4. ผ้ปู กครองใหค้ วำมสำคัญตอ่ กำรจดั กำรศึกษำ
5. สภำพครอบครัวเอือ้ ตอ่ กำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศึกษำ
6. เทคโนโลยีมีกำรให้บริกำรเครอื ข่ำยครอบคลุมทุกพ้ืนที่
7. หนว่ ยงำนภำยนอกใหก้ ำรสนับสนุนเทคโนโลยี
8. สนบั สนนุ กำรบริหำรจดั กำรภมู ิปัญญำด้วยเทคโนโลยี
9. มที รัพยำกรธรรมชำติอดุ มสมบรู ณ์ ท่ีเอ้ือต่อกำรศึกษำ

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

26
10. มีระเบียบ กฎหมำย ข้อบังคับท่ีเอ้ือต่อกำรบริหำรจัดกำรทำงด้ำนกำรศึกษำ เพ่ิมสิทธิและโอกำส
ให้กับผเู้ รยี น
11. องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน หน่วยงำนทำงกำรศกึ ษำท้งั ภำครัฐและเอกชน ให้ควำมสำคัญและมีส่วน
รว่ มในกำรสนบั สนนุ กำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำนให้มปี ระสิทธภิ ำพสงู ข้ึน
12. โครงกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำต้ังแต่ระดับอนุบำลจนจบกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน
ชดั เจนและทั่วถึง
อปุ สรรค (Threats)
1. พื้นท่ีบรกิ ำรกำรจัดกำรศึกษำของสำนกั งำนเขตพ้ืนท่หี ลำยจงั หวดั ไมเ่ อ้ือตอ่ กำรบริหำรจัดกำร
2. องค์กร ทอ้ งถ่ิน ชมุ ชน สมำคมและหน่วยงำนทเ่ี ก่ยี วข้องมบี รบิ ทกำรบริหำรจัดกำรที่แตกตำ่ งกนั ส่งผล
ใหก้ ำรสนับสนนุ ไม่เตม็ ประสทิ ธิภำพ
3. โรคอุบตั ใิ หม่ เช่น covid-19 สง่ ผลกระทบตอ่ ควำมเป็นอยูข่ องสงั คม
4. ผปู้ กครองมคี ่ำนยิ มนำบตุ รหลำนเขำ้ เรียนในโรงเรยี นชือ่ ดงั
5. เทคโนโลยีใชง้ บประมำณในกำรดำเนินกำรสงู
6. เทคโนโลยีมีปัญหำดำ้ นกำรบริหำรจดั กำร
7. ประสทิ ธิภำพของเครือข่ำยกำรให้บรกิ ำรไม่ดี
8. กำรสนับสนุนงบประมำณ/อปุ กรณ์ในกำรบริหำรจัดกำร สพม.อนชน จำกองค์กรหรอื หน่วยงำน
ภำยนอกที่ยงั ไม่เพียงพอตอ่ กำรบริหำรจดั กำรเพอ่ื ใหเ้ กิดคุณภำพ
9. ควำมก้ำวหนำ้ ของเทคโนโลยเี ร็วเกนิ ไปทำใหน้ ำมำใช้ได้ไม่เตม็ ท่ี
10. ประชำกรมอี ำชพี ท่ีหลำกหลำยสง่ ผลตอ่ แนวคิดของผ้ปู กครองในเรอ่ื งกำรสง่ บตุ รหลำนเขำ้ เรียน
11. กำรกระจำยรำยได้ไม่ทั่วถงึ กบั ประชำชนบำงกล่มุ ทำให้เกดิ ควำมแตกต่ำงของรำยได้
12. คำ่ ครองชีพสงู ขึ้นทำให้บคุ ลำกรและผู้ปกครองมีค่ำใช้จ่ำยเพ่มิ ขึน้ ทำใหข้ ำดควำมคล่องตัวและขัดสน
ในเรือ่ งกำรเงนิ
13. รำคำพชื ผลทำงกำรเกษตรตำ่ ทำให้ผู้ปกครองมรี ำยไดน้ ้อย
14. ภยั ธรรมชำตคิ กุ คำม เช่น นำ้ ท่วม ภัยแลง้ โรคระบำด เปน็ ต้น ทำให้เศรษฐกจิ ตกต่ำ
15. ภำวะหนี้สนิ ของบุคลำกร ทำใหข้ ำดขวญั และกำลังใจในกำรทำงำน
16. นโยบำยดำ้ นกำรจัดกำรศึกษำเปลย่ี นแปลงอย่เู สมอส่งผลให้ขำดควำมตอ่ เน่ืองในกำรพัฒนำกำรศึกษำ
17. กำรมนี โยบำยเรง่ ด่วนส่งผลกระทบกบั กำรจัดกำรเรียนกำรสอนและนโยบำยกำรศึกษำมคี วำมซ้ำซ้อน
และเปล่ยี นแปลงอยูเ่ สมอทำใหเ้ ขตพ้ืนท่ีกำรศกึ ษำตอ้ งเสียเวลำในกำรทำรำยงำนขอ้ มูลเรื่องเดยี วกันหลำยครั้ง
18. ระเบียบ กฎหมำย ข้อบังคบั ท่ีเป็นอปุ สรรคต่อกำรทำงำน เชน่ เกณฑอ์ ัตรำกำลงั เกณฑ์วิทยฐำนะ
กำรบรรจุแต่งต้งั เปน็ ตน้

แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

27

สว่ นที่ 4

กำรขับเคล่ือนนโยบำยส่กู ำรปฏบิ ัติ ปงี บประมำณ พ.ศ. 2565
ของสำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมธั ยมศึกษำอทุ ยั ธำนี ชัยนำท

“สำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอทุ ยั ธำนี ชัยนำท เปน็ องค์กรคณุ ภำพ มำตรฐำนสำกล
บนวถิ ีใหม่ สู่ควำมเปน็ ไทยอย่ำงย่งั ยืน”

1. สง่ เสรมิ สนับสนุนกำรจัดกำรศกึ ษำให้นักเรยี นได้รับกำรศกึ ษำอยำ่ งมีคณุ ภำพบนพ้ืนฐำนควำม
เป็นไทยตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน

2. ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นทุกคนไดร้ บั โอกำสทำงกำรศึกษำอยำ่ งทัว่ ถงึ เสมอภำคและมีคุณภำพตำม
มำตรฐำนสำกล

3. พฒั นำครู และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำใหม้ ีสมรรถนะและมำตรฐำนทำงวชิ ำชีพ
4. สำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศกึ ษำและสถำนศกึ ษำ จดั ระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำตำมแนววถิ ี
ใหม่ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพโดยกำรมสี ่วนร่วมของทกุ ภำคสว่ นอย่ำงยั่งยืน

1. นกั เรียนทุกคนได้รับกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำนอยำ่ งทว่ั ถงึ เสมอภำค และมีคณุ ภำพตำมหลกั สูตร
แกนกลำงกำรศกึ ษำขัน้ พน้ื ฐำน

2. ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำไดร้ บั กำรพัฒนำตำมสมรรถนะและมำตรฐำนวิชำชีพโดยมี
เครือขำ่ ยทำงวชิ ำชีพในกำรยกระดบั คณุ ภำพ

3. สถำนศกึ ษำจัดกำรศึกษำได้อย่ำงมีคณุ ภำพตำมมำตรฐำนสำกลบนพ้ืนฐำนควำมเปน็ ไทย
4. สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำมัธยมศกึ ษำอุทยั ธำนี ชยั นำท และสถำนศึกษำมรี ะบบบรหิ ำร
จดั กำรทมี่ ีคุณภำพตำมแนววิถีใหมอ่ ยำ่ งยงั่ ยืน

1. สร้ำงผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ คนดขี องบ้ำนเมืองโดยอยรู่ ่วมกับผูอ้ ืน่ อย่ำงมคี วำมสขุ
2. สนับสนนุ กระบวนกำรยกระดับคณุ ภำพผู้เรยี นสำมำรถแขง่ ขันกบั นำนำชำติได้
3. ส่งเสรมิ คุณภำพผเู้ รยี นเตม็ ตำมศักยภำพสู่ควำมเป็นเลศิ
4. ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนในวยั เรยี นทกุ คนไดร้ บั โอกำสทำงกำรศกึ ษำอยำ่ งทั่วถึง เท่ำเทยี ม เสมอภำค
และมคี ุณภำพไดม้ ำตรฐำนสำกล
5. ส่งเสรมิ ครู ให้เป็นครยู ุคใหม่ และเปล่ยี นบทบำทครูผู้สอน เปน็ Coach ทมี่ ปี ระสิทธิภำพ
6. ส่งเสริมคุณภำพชวี ิตตำมแนววถิ ใี หมอ่ ยำ่ งยงั่ ยนื
7. ส่งเสริมกำรบรหิ ำรจดั กำรศึกษำดว้ ยระบบคุณภำพโดยยึดหลักธรรมำภิบำล

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

28
“มุ่งผลสมั ฤทธิ์ แนวคิดใหม่ ใส่ใจบริกำร บรหิ ำรแบบมสี ่วนรว่ ม”

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

29

ส่วนที่ 5

กรอบแผนงำน / งบประมำณ
และโครงกำรประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

กรอบแผนงำน/งบประมำณ

สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท ได้กำหนดกรอบยุทธศำสตร์และ
เป้ำหมำยควำมสำเร็จตำมนโยบำยของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน และกระทรวงศึกษำธิกำร และ
หน่วยงำนที่เก่ียวข้อง และใช้แผนเป็นเคร่ืองมือในกำรขับเคล่ือนนโยบำยไปสู่กำรปฏิบัติอย่ำงรูปธรรม โปร่งใส
ตรวจสอบได้ กำรดำเนินกำรพิจำรณำในรูปของคณะกรรมกำร โดยกำหนดโครงกำร / กิจกรรมท่ีสำคัญใน
กำรดำเนินงำนตำ่ ง ๆ ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบำย กลยุทธแ์ ละจดุ เนน้
ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำอุทัยธำนี ชัยนำท ได้
ดำเนินกำรจัดทำกิจกรรม/โครงกำร จำนวน 23 โครงกำร เพ่ือเป็นค่ำใช้จ่ำยบริหำรจัดกำรพัฒนำคุณภำพ
กำรศึกษำตำมนโยบำยและยุทธศำสตร์ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน ในกรอบวงเงิน
4,000,000 บำท (ส่ีล้ำนบำทถ้วน) เพอ่ื เปน็ ค่ำใชจ้ ำ่ ย ดังน้ี
1. งบพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำ จำนวน 1,200,000 บำท
2. งบพ้นื ฐำน (งบบริหำรจดั กำรสำนักงำน) จำนวน 2,800,000 บำท
2.1 ค่ำตอบแทน จำนวน 300,000 บำท
2.2 คำ่ ใช้สอย จำนวน 1,200,000 บำท
2.3 ค่ำวสั ดุ จำนวน 300,000 บำท
2.4 คำ่ สำธำรณปู โภค จำนวน 1,000,000 บำท

สรปุ โครงกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

ยทุ ธศำสตร์ จำนวนโครงกำร งบประมำณ

ยุทธศำสตร์ท่ี 1 2 โครงกำร 40,328

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 1 โครงกำร 129,400

ยุทธศำสตร์ท่ี 3 17 โครงกำร 987,122

ยุทธศำสตร์ท่ี 4 2 โครงกำร 26,150

ยุทธศำสตร์ท่ี 5 1 โครงกำร 17,000

รวม 23 โครงกำร 1,200,000

แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

30

ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 1 ดำ้ นจดั กำรศกึ ษำเพอื่ ควำมมน่ั คง

ท่ี โครงกำร สพม.อทุ ยั ธำนี ชัยนำท ผู้รบั ผดิ ชอบ จำนวนเงนิ

1 อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารระบบบญั ชอี อนไลน์ของสถานศกึ ษาในสงั กดั กิตตศิ ักด์ิ/ 15,000
35,328
ตรวจสอบ 40,328

2 สร้างความเข้มแข็งด้านบริหารงบประมาณดว้ ยงานตรวจสอบภายใน กิตตศิ กั ด์ิ/
สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา
ตรวจสอบ

รวม ยทุ ธศำสตร์ท่ี 1 2 โครงกำร

ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 2 ด้ำนพฒั นำคณุ ภำพผเู้ รยี น

ท่ี โครงกำร สพม.อทุ ัยธำนี ชยั นำท ผรู้ ับผิดชอบ จำนวนเงนิ

1 การขับเคลอ่ื นนโยบายการจดั การศึกษาสูก่ ารปฏิบัติ ปวิช/แผน 129,400
รวม ยุทธศำสตรท์ ี่ 2 1 โครงกำร 129,400

ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 3 ดำ้ นพฒั นำผ้บู ริหำร ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ

ท่ี โครงกำร สพม.อทุ ยั ธำนี ชัยนำท ผรู้ ับผิดชอบ จำนวนเงนิ

1 เพ่ิมประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ านด้านงบประมาณ การเงิน บญั ชี อัคคณฐั /กำรเงนิ 80,000
และพัสดฯุ

2 สง่ เสริมประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการกลุม่ บริหารงานบคุ คล เสวก/บคุ คล 130,500

3 สภานักเรยี นธรรมาภบิ าล ปี 2565 ปวณี า/ศน. 20,000

4 พัฒนาคณุ ภาพการจดั กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารีและยุวกาชาด ปวีณา/ศน. 55,000

5 สง่ เสริมโอกาสทางการศกึ ษา ปวณี า/ศน. 12,000

6 พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาเรียนรวม ปวีณา/ศน. 10,000

7 เสรมิ สร้างคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ปวณี า/ศน. -

8 สง่ เสริม ยกย่อง เชดิ ชเู กียรติ พฒั นาประสทิ ธภิ าพครูและบคุ ลากร ศิวภา/พัฒนำฯ 50,000
ทางการศกึ ษา

9 พฒั นาสมรรถนะการปฏิบัตงิ านสาหรับขา้ ราชการครุและบคุ ลากร ศิวภา/พฒั นำฯ 100,000
ทางการศกึ ษา

แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

31

ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 3 ดำ้ นพฒั นำผู้บรหิ ำร ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ(ตอ่ )

ท่ี โครงกำร สพม.อุทยั ธำนี ชยั นำท ผู้รับผดิ ชอบ จำนวนเงนิ
ปิยะธิดา/ 229,922
10 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาภายในองค์กรสู่
เปา้ หมาย สพม.อนชน อำนวยกำร 20,000

11 เพมิ่ ประสิทธิภาพด้านวนิ ัยของขา้ ราชการครูและบคุ ลากร สาลนิ ี/กฎหมำย
ทางการศกึ ษา

12 พฒั นาและสร้างเครอื ข่ายการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ แคทรยี ำ/ศน. 15,000
นเิ ทศการศึกษา 126,200
68,500
13 แลกเปล่ยี นเรียนรู้ทางวชิ าการ (UNCN Open house) แคทรียำ/ศน.
35,000
14 การสง่ เสรมิ พัฒนาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา ธงชยั /ศน.
10,000
15 การพัฒนาผู้เรียน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีความเปน็ เลิศ รัชนีวรรณ์/ศน 25,000
ด้านทกั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษเพอ่ื ใช้เป็นเคร่อื งมอื ในการเรยี นรู้

ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ปีงบประมาณ 2565

16 การนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษาแบบบูรณา รชั นีวรรณ์/ศน
การ

17 พฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือการบริหารและจัดการศกึ ษา วชั รพฐั /ไอซที ี

รวม ยทุ ธศำสตร์ท่ี 3 17 โครงกำร 987,122

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 4 ด้ำนสรำ้ งโอกำสในกำรเขำ้ ถงึ บรกิ ำรกำรศกึ ษำที่มคี ุณภำพ มีมำตรฐำนและลดควำมเหลื่อม
ลำ้ ทำงกำรศึกษำ

ท่ี โครงกำร สพม.อุทยั ธำนี ชยั นำท ผรู้ ับผิดชอบ จำนวนเงิน

1 โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรงานสารบรรณเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพ ปิยะธิดา/ 12,250
การปฏิบัตงิ านในองค์กร
อำนวยกำร 13,900
26,150
2 โครงการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาเรียนรวม สพม.อนชน. รุง่ นภา/ศน
ปีงบประมาณ 2565

รวม ยุทธศำสตร์ท่ี 4 2 โครงกำร

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

32

ยทุ ธศำสตร์ที่ 5 ดำ้ นเพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพกำรบริหำรจดั กำร ผู้รบั ผดิ ชอบ จำนวนเงิน

ท่ี โครงกำร สพม.อทุ ัยธำนี ชยั นำท ปิยะธดิ า/ 12,250

โครงการพฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรงานสารบรรณเพ่อื เพิ่ม อำนวยกำร 17,000
1 ศักยภาพการปฏบิ ัตงิ านในองค์กร (หมายเหตุ โครงการ 17,000
ปิยะธดิ า/
เดียวกบั ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4)
2 ปรับปรุงภมู ิทัศน์สภาพแวดล้อมและอาคารสถานท่ี อำนวยกำร

รวม ยทุ ธศำสตร์ท่ี 5 2 โครงกำร

รวมงบประมำณท้งั หมด 23โครงกำร 1,200,000

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สพม. อนชน

โครงการ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการ
โดยใชพ้ ้นื ท่เี ปน็ ฐาน เพ่อื การพัฒนาคุณภาพการศึกษามัธยมศกึ ษาเขตอุทยั ธานี ชยั นาท

1. หลกั การและเหตผุ ล

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 กำหนดใหค้ นไทยทกุ คนได้รับการศึกษา และเรียนรู้ตลอดชีวิต
อย่างมีคุณภาพ ดำรงชวี ิตอย่างเปน็ สุขสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปลย่ี นแปลงของโลก
ศตวรรษที่ 21 ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจ และสังคมโลกอันเนื่องจากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital
Revolution) การเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0 (The Fourth Industrial Revolution) โดยมีวัตถุประสงค์ในการ
จัดการศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2)
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตแิ ละยุทธศาสตรช์ าติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคม
แห่งการเรยี นรู้ มคี ุณธรรม จริยธรรม รรู้ กั สามคั คี และรว่ มมอื ผนึกกำลงั มุ่งสกู่ ารพัฒนาประเทศอย่างยง่ั ยนื ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดัก ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความ
เหล่อื มล้ำภายในประเทศลดลง

จากผลดำเนินการพัฒนาการศึกษาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมถึงผลการนิเทศ กำกับ ติดตาม และ
ประเมินผลการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุทัยธานี ชัยนาท พบว่าคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียนยังไม่เหมาะสม นอกจากน้ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) พบว่า
คะแนนนักเรียนยังต่ำกว่าระดับประเทศ และคะแนนของนักเรียนปีปัจจุบันต่ำกว่าปีที่ผ่านมา ซึ่งโรงเรียนยังขาด
กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทเี่ ปน็ รปู ธรรมท่จี ะสนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู้

ในการสนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กล่มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา ไดม้ กี าร

พัฒนามาโดยตลอด ด้วยการนำระบบบริหารจดั การแนวใหม่และกิจกรรมการจดั กระบวนการเรยี นการสอนตาม

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ และสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เขา้ มาชว่ ยในการพฒั นาคณุ ภาพ

การศึกษาท่หี ลากหลายสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผ้เู รยี น ไดแ้ ก่ 1) หลกั สตู รและการจดั กระบวนการเรียนรู้ 2)

การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 3) กจิ กรรมบรู ณาการนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4) กิจกรรมแข่งขันทักษะ

ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น 5) กิจกรรมพัฒนานักเรียนสคู่ วามเปน็ เลิศ 6) กจิ กรรมการพัฒนาหลกั สูตรการฝึกอบรมครู

นักวจิ ยั ในการจัดการเรยี นรตู้ ามแนว STEAM เพอ่ื เสรมิ สรา้ งทักษะผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 7) การวัดและประเมินผล

การศกึ ษา 8) การพฒั นาสอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยี 9) การพฒั นาเทคนคิ และวิธีการสอนทีห่ ลากหลาย 10) การ

จัดการเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 11) การยกระดบั คณุ ภาพผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 8 กลมุ่ สาระและกจิ กรรม

พัฒนาผู้เรียน 12) การพัฒนาโรงเรียนขนาดเลก็ 13) การใช้ ICT ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (DLIT) 14) การ

จัดการเรยี นรว่ มและเรียนรวม 15) โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ 16) การดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทป่ี ระสบปญั หาการ

ตั้งครรภใ์ นวยั เรยี น

ดว้ ยหลักการและเหตุผลข้างตน้ กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา จงึ ได้จดั ทำโครงการ
นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา โดยคาดหวงั วา่ จะสามารถพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น ให้
สามารถดำเนินการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธผิ ลในการสรา้ งคน สรา้ งสงั คม และสรา้ งชาติ เปน็ กลไกหลัก
ในการพัฒนากำลงั คนใหม้ ีคุณภาพ สามารถดำรงชีวติ อยูร่ ว่ ม กบั บุคคลอื่นในสังคมได้อย่างเปน็ สุขในกระแสการ
เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ของโลกศตวรรษที่ 21 ตามศาสตรพ์ ระราชาภายใตแ้ นวคิดคณุ ธรรมนำความรู้

2. วัตถุประสงค์

1. เพ่อื พฒั นาระบบการสนับสนนุ กจิ กรรมทางวชิ าการ ท่ีประกอบด้วย 1) หลกั สตู รและการจดั กระบวนการ
เรยี นรู้ 2) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 3) กจิ กรรมบรู ณาการนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
4) กจิ กรรมแขง่ ขันทกั ษะศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน 5) กจิ กรรมพฒั นานักเรียนสคู่ วามเปน็ เลิศ 6) กจิ กรรมการพฒั นา
หลกั สูตรการฝึกอบรมครูนกั วิจยั ในการจัดการเรยี นรตู้ ามแนว STEAM เพือ่ เสรมิ สรา้ งทักษะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21
7) การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา 8) การพัฒนาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยี 9) การพัฒนาเทคนคิ และวธิ กี ารสอน
ทีห่ ลากหลาย 10) การจดั การเรียนรู้ ทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 11) การยกระดบั คณุ ภาพผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 8
กลุม่ สาระและกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 12) การพฒั นาโรงเรยี นขนาดเล็ก 13) การใช้ ICT ในการพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา (DLIT) 14) การจดั การเรียนร่วมและเรียนรวม 15) โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ
16) การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นที่ประสบปัญหาการต้งั ครรภใ์ นวัยเรียน ใหม้ ีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล

2. เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นในสงั กัดให้มปี ระสิทธภิ าพ เป็นไปตามนโยบาย และสอดคลอ้ ง
กับความต้องการของผเู้ รยี น ชุมชน และสังคม

3. เปา้ หมาย
3.1 เชิงปริมาณ

1) ครแู ละบคุ ลากรร้อยละ 100 ได้รบั การสนับสนุนกิจกรรมตามบทบาทหน้าที่ ตามนโยบาย และ
สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผเู้ รียน ชมุ ชน และสังคม

2) สถานศกึ ษาร้อยละ 100 รว่ มฝึกปฏิบตั นิ ักเรยี นและไดเ้ รยี นรกู้ ิจกรรมเป็นไป ตามนโยบาย และ
สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผ้เู รยี น ชมุ ชน และสังคม

3.2 เชงิ คณุ ภาพ

1) ครูและบุคลากรมคี วามรู้ความสามารถในการดำเนนิ การตามนโยบาย และสอดคลอ้ งกบั ความ
ต้องการของผู้เรียน ชมุ ชน และสังคม ตามบทบาทหนา้ ที่ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

2) สถานศึกษาฝึกปฏิบัตินกั เรียนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคตทิ ่ีดใี นการรว่ มกจิ กรรม ตามนโยบาย
และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผ้เู รยี น ชมุ ชน และสงั คม และมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขึน้

4. วิธีดำเนนิ การ / ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน

ลำดบั กจิ กรรมสำคญั ระยะเวลา หมายเหตุ

1. ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการศึกษาสภาพปัญหา ประเมินความ ม.ิ ย. 65
ตอ้ งการจำเปน็ และสร้างเคร่ืองมอื นิเทศ

2. นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการศกึ ษาตามนโยบาย และสอดคลอ้ ง ม.ิ ย. - ส.ค. 65
กบั ความต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชน และสงั คม

3. สรุปผลการดำเนินงาน ก.ย. 65

4. รายงานผล และนำข้อเสนอแนะไปใชป้ รบั ปรงุ ก.ย. 65
การดำเนนิ การปงี บประมาณต่อไป

5. ระยะเวลาดำเนนิ การ

- มิถนุ ายน - กนั ยายน 2565

- สถานศกึ ษาในสังกัด จำนวน 34 โรงเรยี น

6. งบประมาณ

โครงการนี้ใชง้ บประมาณทัง้ หมด 10,000 บาท (หนงึ่ หมน่ื บาทถว้ น)

กิจกรรมและรายละเอียด งบประมาณ งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจา่ ย
ในการใชง้ บประมาณ ท่ีใช้ ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวสั ดุ

กจิ กรรมที่ 1 ประชมุ ศึกษาสภาพปญั หา 4,080 - -
ประเมินความต้องการจำเปน็

กิจกรรมที่ 2 นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการศกึ ษา - - - -

ตามนโยบายและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการ

ของผู้เรยี น ชมุ ชน และสงั คม

กิจกรรมที่ 3 สรุปผลการนิเทศตดิ ตาม 1,020 - -
1,000 1,500 2,400
กิจกรรมท่ี 4 รายงานผล และนำขอ้ เสนอแนะไป 4,900
ใชป้ รับปรงุ การดำเนนิ การปีงบประมาณต่อไป

รวม 10,000

8. ตวั ชีว้ ัดและค่าเป้าหมาย

ตัวชวี้ ัด คา่ เปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ

1. ครูและบคุ ลากรมีความรคู้ วามสามารถในการดำเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามบทบาทหน้าท่ี ร้อยละ 80

2. นักเรียน มีความรู้ ทกั ษะ เจตคตทิ ีด่ ีในการปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรยี นการสอน และมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น

เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละ 80

1. ครูและบุคลากร มีความรู้ความสามารถในการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนยตามบทบาทหน้าท่ี อยู่ในระดับ ดี

2. นักเรยี น มคี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติทด่ี ใี นการรว่ มกิจกรรมการเรียนการสอน และมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน อยใู่ นระดับ ดี

9. ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั
9.1 สถานศกึ ษาได้รับการสนบั สนุนการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนที่มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของโรงเรียนและชมุ ชน
9.2 นกั เรยี นมีความรู้ ทักษะ เจตคติ และมีผลสมั ฤทธแ์ิ ละมผี ลการทดสอบระดับชาตทิ ่ดี ีขึน้
9.3 สถานศึกษาได้รบั การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาท่ีเป็นระบบ มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน



1

โครงการ แลกเปลย่ี นเรียนรทู้ างวชิ าการ (UNCN Open house)
แผนงาน แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาอุทยั ธานี ชยั นาท

กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางสาวแคทรียา แสงดาวเทยี น ตำแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตลุ าคม 2564 – 30 กนั ยายน 2565

ส่วนที่ 1 ความเชอื่ มโยง ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดบั

1. ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั 1 : Z )
ยุทธศาสตร์ชาติที่ 3 ดา้ น การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การปฏริ ปู การเรียนรู้แบบพลิกโฉม
เปา้ หมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ พรอ้ มสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21

2. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับ 2 : Y2 )
2.1 ประเดน็ ท่ี

 1 ความมนั่ คง  17 ความเสมอภาค และหลักประกันทางสังคม

 10 การปรับเปลีย่ นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม  18 การเติบโตอย่างย่ังยืน

 11 การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต  20 การบรกิ ารประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั

 12 การพฒั นาการเรียนรู้  21 การตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤติมชิ อบ

เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติฯ (แผนระดบั 2 : Y2 )

 เปา้ หมายท่ี 12 การพัฒนาการเรยี นรู้

 การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทฯ จะชว่ ยทำให้ผู้บรหิ ารมรี ปู แบบและแนวทางในการบรหิ าร

จัดการทด่ี แี ละครูจดั การเรยี นการสอนอย่างมีคุณภาพ และใชก้ ระบวนการทางวชิ าชีพเพ่ือให้นกั เรยี นได้รับการ

เรียนรไู้ ด้รับการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานมีทักษะความรู้ และทักษะท่ีจำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถ

เขา้ ถึงการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ ดขี ้ึน

2.2 แผนย่อยของแผนแม่บทฯ (แผนระดับ 2 : Y1 )
 แผนยอ่ ย การปฏิรูปกระบวนการเรียนรทู้ ่ีตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
 เปา้ หมายของแผนยอ่ ย คนไทยได้รับการศึกษาทมี่ ีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และ
ทักษะที่จำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถงึ การเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ดขี ึ้น
 องคป์ ระกอบ (V) การบริหารจัดการระบบการเรียนรู้
 ปจั จยั (F) การติดตาม วัดและประเมินผลทางการศึกษา
 การบรรลุเปา้ หมายตามแผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
อุทยั ธานี ชัยนาท สามารถพัฒนาครผู ู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ให้สามารถจัดการเรียนรู้เพ่ือ
การบรรลุเปา้ หมาย ตลอดจนสามารถมีการเสริมสรา้ งศักยภาพครู เพื่อพัฒนาศักยภาพครใู ห้มี

2

ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน สอดรับกับทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 การส่งเสริมใหม้ ี
การจัดการศึกษาให้กับนักเรยี นท่ีมคี วามสามารถพิเศษ การพฒั นาผู้มีความสามารถพเิ ศษ ด้าน
วิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์

3. แผนการปฏิรปู ประเทศ (แผนระดบั 2 : Y )
 แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา
เป้าหมายรวม
 ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา
 ลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศกึ ษา
 ม่งุ ความเปน็ เลศิ และสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
 ปรบั ปรุงระบบการศกึ ษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร เพอื่ ความคล่องตัวในการ
รองรบั ความหลากหลายของการจดั การศึกษา และสร้างเสรมิ ธรรมาภิบาล

4. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรฐั บาลหลัก
การยกระดับคุณภาพการศึกษา

5. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายเรง่ ด่วนของรฐั บาล (ถ้ามี)
...................................................................................................................................................

6. ความสอดคลอ้ งกบั แผนปฏบิ ตั ริ าชการของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) (แผนระดับ 3 : X)
 เรือ่ งที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ
 เร่อื งที่ 2 การจัดการศกึ ษาเพอ่ื เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
 เร่ืองท่ี 3 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
 เรอื่ งท่ี 4 การสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ มมี าตรฐานและ
ลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศึกษา
 เร่อื งที่ 5 การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
 เร่อื งที่ 6 การปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา

7. สนองนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
 ด้านท่ี 1 ด้านความปลอดภยั
 ดา้ นที่ 2 ดา้ นโอกาส
 ดา้ นที่ 3 ดา้ นคุณภาพ
 ดา้ นที่ 4 ดา้ นประสทิ ธิภาพ

8. สนองกลยุทธข์ องสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาอุทัยธานี ชยั นาท
กลยทุ ธ์ข้อ 5 ส่งเสรมิ ครู ใหเ้ ป็นครูยคุ ใหม่ และเปลี่ยนบทบาทครูผสู้ อน เปน็ Coach ที่มีประสิทธิภาพ

สว่ นท่ี 2 รายละเอยี ดโครงการ

3

1. หลกั การและเหตุผล

การพัฒนาระบบการจัดการความรู้ภายในองค์กรเป็นการนำความรู้มาใช้พัฒนาขีดความสามารถของ
องค์กรให้ได้มากที่สุด โดยมีกระบวนการในการสรรหาความรู้เพื่อถ่ายทอดและแบ่งปันไปยังบุคลากรเป้าหมาย
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อพัฒนางานให้มีคุณภาพและมีผลสัมฤทธิ์ยิ่งขึ้น พัฒนาคนหรือผู้ปฏิบัติงาน
ตลอดจนพัฒนาฐานความรู้ขององค์กร จากเหตุผลดังกล่าว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุทัยธานี
ชัยนาท จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของ การนำกระบวนการจัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน พัฒนา
งาน พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพ และพัฒนาฐานความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและ
บังเกดิ ผลต่อการปฏิบตั ิ

2. วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเปน็ เวทใี นการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ถา่ ยทอดประสบการณ์ ความเชย่ี วชาญของบุคลากร
2. เพ่อื เป็นเวทใี นการค้นหาแนวปฏิบตั ิท่ีดี ในด้านการบริหารจัดการและด้านการจดั การเรยี นการสอน

3. เป้าหมายผลผลติ ผลลพั ธ์

3.1 เป้าหมายผลผลิต (Output)

1. มเี วทีในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และพฒั นาทกั ษะการปฏบิ ัตงิ านของผบู้ ริหาร ครู ในสังกัด สพม.
อทุ ยั ธานี ชัยนาท

2. ผ้บู ริหาร ครู ในสังกดั สพม.อุทัยธานี ชยั นาทได้รับการสนับสนุนการปรบั ปรุงและพัฒนางานอยา่ ง
ต่อเนือ่ งใหส้ ามารถนำไปสู่การสร้างสรรคน์ วัตกรรม

3.2 เปา้ หมายผลลัพธ์ (outcome)
1. ผบู้ ริหาร ครู ในสงั กดั สพม.อุทัยธานี ชัยนาท มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในด้านการวจิ ัยหรอื การปฏิบตั ิการ

สอนทีด่ ี
2. สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษาอุทัยธานี ชัยนาท ได้รับการสง่ เสรมิ

สนบั สนนุ พัฒนางานอยา่ งต่อเน่ืองใหส้ ามารถนำไปสู่การสร้างสรรคน์ วตั กรรม และสง่ ผลใหม้ ีการยกระดับ
ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในกลุ่มสาระหลักให้สงู ข้นึ

4. ดัชนชี ว้ี ดั ความสำเรจ็ (KPIs)
4.1 เชงิ ปรมิ าณ
4.1.1 มผี ้เู ข้าร่วมกิจกรรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายท่ีกำหนดไว้
4.1.2 ทุกโรงเรยี นส่งผลการปฏิบัติที่เปน็ เลิศด้านการวิจยั หรือการปฏบิ ัตกิ ารสอนท่ดี ีของผูบ้ ริหารและ

ครูผู้สอนเขา้ รว่ มแลกเปลย่ี นเรียนร้รู ะดับสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
4.2 เชิงคุณภาพ

4

4.2.1 ผูบ้ ริหารและครูมีความรแู้ ละทักษะในการออกแบบดา้ นการวิจยั หรอื การปฏบิ ัติการสอนทด่ี ที ่ีมี
ประสิทธภิ าพ

4.2.2 สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาอุทยั ธานี ชัยนาท มงี านวิจัยหรือการปฏบิ ัติการสอนที่ดี
เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. กลุ่มเปา้ หมายผไู้ ด้รบั ผลประโยชน์

บุคลากรเขตพน้ื ที่การศึกษาและขา้ ราชการครูและบุคลากรในสงั กดั ทุกโรงเรียน

6. สถานทีด่ ำเนนิ โครงการ / พื้นทด่ี ำเนินการ : (ระบุ อำเภอ และจงั หวดั )
หอ้ งประชุมสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาอุทยั ธานี ชัยนาท อำเภอเมือง จงั หวดั อุทัยธานี

7. งบประมาณ จำนวน 126,200 บาท (รายละเอียดตัวคณู )

กิจกรรม/รายการ ประมาณการงบประมาณ รวม เงนิ นอก รวมท้ังสิ้น
ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 9,000 งบประมาณ 9,000

กิจกรรมที่ 1 : ประชุม 36,000 115,200
7,200
คณะกรรมการดำเนนิ งาน 3,000
55,000
-คา่ อาหารกลางวนั อาหารว่าง 9,000

และเครื่องดมื่ (150บาทx30คน

x2วัน)

กจิ กรรมที่ 2 : การจัดเวที

แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ Best Practice

ดา้ นการบริหารจดั การและด้าน

การจดั การเรียนการสอน 36,000
-คา่ อาหารกลางวนั อาหารว่าง

และเคร่ืองด่มื (150บาทx120คน

x2วัน)

-คา่ ทพ่ี ัก (1,200บาทx6ห้อง) 7,200

-ค่าห้องประชุม 3,000

-ค่าวสั ดุ 55,000

-คา่ ชดเชยนำ้ มนั เชอ้ื เพลิง 10,000 10,000 5
-คา่ เอกสารประกอบการประชุม 4,000 4,000
ประมาณ 150 หน้า และเขา้ เล่ม 2,000
เอกสารประกอบการประชมุ 2,000 2,000 126,200
จำนวน 40 ชดุ ชุดละ 100 บาท 71,200 55,000 126,200
กจิ กรรมที่ 3 : ประเมินผลและ
จัดทำสรปุ รายงานการดำเนินงาน
-คา่ เอกสารรายงานประมาณ 150
หนา้ และเขา้ เล่มเอกสาร
ประกอบการประชมุ จำนวน 20
ชดุ ชุดละ 100 บาท

รวมงบประมาณ (บาท)
หมายเหตุ (ถัวจ่ายทุกรายการ)

8. แผนการปฏบิ ัตงิ านและแผนการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ

แผนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการใชจ้ ่ายเงินงบประมาณปี พ.ศ. 2565 รวม
(รายกจิ กรรมย่อย)
กิจกรรมที่ 1 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 9,000
115,200
กิจกรรมท่ี 2 (ต.ค. - ธ.ค. 64) (ม.ค. - ม.ี ค. 65) (เม.ย.-มิ.ย. 65) (ก.ค. - ก.ย. 65) 2,000
126,200
4,500 4,500

57,600 57,600

กจิ กรรมที่ 3 400

รวม

9. การวเิ คราะหค์ วามเสี่ยงของโครงการ
9.1 ปจั จัยความเส่ียง

9.1.1 ผู้เข้าร่วมไม่มาตามกำหนด 6
9.1.2 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา 19
9.2 แนวทางการบริหารความเส่ียง เคร่ืองมือทีใ่ ช้
แบบสังเกต
9.2.1 การวางระบบการนิเทศ ตดิ ตาม แบบสัมภาษณ์
9.2.2 ความยืดหยุ่นของการกำกบั ติดตามด้วยเทคโนโลยี แบบสอบถาม

10. การตดิ ตามและประเมินผล วธิ กี ารประเมนิ แบบสัมภาษณ์
แบบสอบถาม
ที่ ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ การสังเกต แบบรายงาน
1 เชงิ ปริมาณ
การสัมภาษณ์
1. มีผู้เข้ารว่ มกิจกรรมไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ การสอบถาม
80 ของเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้
2. ทุกโรงเรยี นส่งผลการปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลิศ
ด้านการวิจัยหรอื การปฏิบตั ิการสอนทด่ี ขี อง
ผูบ้ รหิ ารและครผู สู้ อนเขา้ รว่ มแลกเปลีย่ น
เรยี นรูร้ ะดบั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

2 เชงิ คณุ ภาพ การสัมภาษณ์
1. ผบู้ รหิ ารและครูมีความรูแ้ ละทักษะใน การสอบถาม
การออกแบบดา้ นการวจิ ัยหรอื การ
ปฏิบัติการสอนทีด่ ีที่มปี ระสิทธภิ าพ การแจงนับ
2. สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
มธั ยมศกึ ษาอุทยั ธานี ชยั นาท มีงานวจิ ยั หรอื
การปฏิบตั กิ ารสอนทด่ี เี พื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ผู้เสนอโครงการ ผเู้ หน็ ชอบโครงการ

(นางสาวแคทรียา แสงดาวเทียน) (นางนยั นา จันทา)

ตำแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ ตำแหน่งรองผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอุทยั ธานี ชยั นาท

7

ผอู้ นุมตั โิ ครงการ

(นายวรวทิ ย์ โสภาพนั ธ์)
ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาอุทยั ธานี ชยั นาท

1

โครงการ การขับเคลือ่ นนโยบายการจดั การศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
แผนงาน พืน้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอุทัยธานี ชยั นาท

กลุม่ นโยบายและแผน
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นายปวิช พรศริ ชิ ัย ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นร่องตาทีวิทยา

ปฏิบัติหนา้ ท่ี ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน และคณะ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตุลาคม 2564 - กันยายน 2565

ส่วนที่ 1 ความเชอ่ื มโยง ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ

1. ยุทธศาสตรช์ าติ (แผนระดับ 1 : Z )
ยุทธศาสตร์ชาติท่ี 6 ดา้ น การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ภาครฐั บริหารงานแบบบูรณาการโดยมยี ทุ ธศาสตร์ชาติเปน็ เปา้ หมายและ

เชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเดน็ ทุกภารกิจ และทุกพื้นท่ี
เปา้ หมาย ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่ม่งุ ผลสมั ฤทธิ์และผลประโยชนส์ ว่ นรวม ตอบสนอง

ความต้องการของประชาชนได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส

2. แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั 2 : Y)
2.1 ประเดน็ ที่

 1 ความมน่ั คง  17 ความเสมอภาค และหลักประกันทางสังคม

 10 การปรบั เปลย่ี นคา่ นิยมและวัฒนธรรม  18 การเตบิ โตอยา่ งยัง่ ยนื

 11 การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต  20 การบริการประชาชนและประสทิ ธภิ าพภาครัฐ

 12 การพัฒนาการเรียนรู้  21 การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

เปา้ หมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ (แผนระดับ 2 : Y2 )

 เป้าหมายท่ี

20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ

 การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนแม่บทฯ

เปา้ หมายท่ี 1 บริการของรัฐมีประสิทธภิ าพและมีคุณภาพเปน็ ที่ยอมรับของผูใ้ ชบ้ รกิ าร

การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทฯ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาอทุ ยั ธานี ชัยนาท

ไดจ้ ัดทำสง่ เสรมิ การนำนโยบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ให้หน่วยงานและโรงเรียนในสังกดั ใชเ้ ปน็ กรอบทศิ ทางในการดำเนินการ

และขบั เคลอื่ นการบริหารจดั การและพัฒนาคณุ ภาพศึกษา ใหย้ ทุ ธศาสตรช์ าตเิ ป็นกลไกขับเคลอ่ื นการพฒั นาประเทศ

โดยมีการวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งกบั แผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) , แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์

ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ (พ.ศ.2561 - 2580), แผนปฏิรปู ประเทศ (พ.ศ.2561-2565) , แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม

แหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และนโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562

2

- 2565), แผนปฏบิ ตั กิ ารระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563 – 2565) ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน,
นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานและกลยุทธ์ ตัวชีว้ ัดทม่ี ุ่งเนน้
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา การขยายโอกาสทางการศึกษาและประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การศกึ ษาที่สอดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตร์การจัดการศึกษา เพ่ือการพฒั นาที่ย่ังยนื ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาอทุ ัยธานี ชยั นาท
มีสาระสำคัญประกอบดว้ ย วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ จุดเนน้ ตัวชวี้ ดั กิจกรรม โครงการงบประมาณ
และการนำแผนสู่การปฏบิ ตั ิอยา่ งเปน็ รูปธรรม ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส

2.2 แผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ (แผนระดบั 2 : Y1 )
 แผนยอ่ ย การบริหารจดั การการเงนิ และการคลัง
 เป้าหมายของแผนย่อย หน่วยงานภาครัฐบรรลผุ ลสัมฤทธติ์ ามเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ
 องคป์ ระกอบ (V) แผนทีส่ อดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ
 ปัจจัย (F) แผนทีย่ ดื หยนุ่ ปรบั ตวั ได้ทนั สถานการณ์
 การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ ดำเนินการขบั เคลื่อนนโยบายและจดุ เน้น
ตามบริบทของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาอุทัยธานี ชยั นาท นโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยดำเนนิ การจัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำปแี ละกำหนดกรอบนโยบายจดุ เน้น
สู่การปฏิบัติโดยผู้เกี่ยวข้องเข้ามามสี ่วนรว่ มในการวางแผนการบรหิ ารจดั การ และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อยา่ งเป็นระบบและมปี ระสิทธภิ าพ มีการติดตามประเมนิ ผลดำเนินการโครงการและงบประมาณให้เป็นไปตามปฏิทนิ กำหนด
เป็นรายไตรมาส

3. แผนการปฏริ ูปประเทศ (แผนระดับ 2 : Y )
 แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา
เปา้ หมายรวม
 ยกระดับคุณภาพของการจัดการศกึ ษา
 ลดความเหล่อื มล้ำทางการศึกษา
 มุ่งความเป็นเลศิ และสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
 ปรับปรงุ ระบบการศึกษาให้มีประสทิ ธิภาพของการใชท้ รัพยากร เพือ่ ความคลอ่ งตัวในการรองรับ
ความหลากหลายของการจดั การศกึ ษา และสร้างเสรมิ ธรรมาภบิ าล

4. ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหลัก ส่งเสรมิ ระบบธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจัดการภาครฐั
5. ความสอดคล้องกับนโยบายเรง่ ดว่ นของรัฐบาล การแกไ้ ขปัญหาทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ
ในวงราชการทง้ั ฝา่ ยการเมืองและฝ่ายราชการประจำ
6. ความสอดคลอ้ งกับแผนปฏิบตั ริ าชการของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) (แผนระดบั 3 : X)
 เรอื่ งท่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ
 เรอื่ งที่ 2 การจัดการศกึ ษาเพือ่ เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
 เรือ่ งที่ 3 การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์


Click to View FlipBook Version