The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย-ปีการศึกษา-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย-ปีการศึกษา-2564

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย-ปีการศึกษา-2564

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
(Self Assessment Report : SAR)
ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ประจาปกี ารศึกษา 2564

โรงเรยี นบ้านสนามบนิ (ประชาศกึ ษา)
อาเภอเมอื งสโุ ขทัย จังหวดั สุโขทัย

สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสุโขทยั เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้าน
สนามบิน(ประชาศึกษา) จัดทาขึ้นตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ระบุให้
สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานท่ีกากับดูแล
สถานศึกษาเป็นประจาทุกปี เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานค่ามาตรฐานการศึกษาท่ีสะท้อนผลการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ซ่ึงเป็นผลสาเร็จจากการบรหิ ารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาในระดบั
ปฐมวัย 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คณุ ภาพเด็ก กระบวนการบรหิ ารจัดการ การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเปน็ สาคัญ
เพื่อนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้อง
ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก
โดยสานกั งานรบั รองมาตรฐานการศกึ ษาและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

นายสมชาย ป้อมแก้ว
ผู้อำนวยกำรโรงเรยี นบ้ำนสนำมบนิ (ประชำศกึ ษำ)

สารบัญ

เรื่อง หนา้

คานา 1
สารบัญ 1
สว่ นที่ 1 บทสรปุ ผู้บริหาร 4
4
- ผลจากการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย 4
ส่วนท่ี 2 รายงานผลการประเมินตนเอง 4
2.1 ขอ้ มลู พื้นฐานของสถานศึกษา 6
7
- ประวัติย่อโรงเรยี นบา้ นสนามบนิ 8
- ทต่ี ง้ั ขนาดพน้ื ที่ แผนที่ แผนผงั ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ เบอร์โทร E-Mail Website 8
- วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ เอกลกั ษณ์ อตั ลกั ษณ์ 8
9
- แผนภมู ิการบรหิ ารงานโรงเรยี นบา้ นสนามบิน(ประชาศึกษา) 9
9
- ตารางแสดงขอ้ มลู ครู 9
- ตารางแสดงขอ้ มูลบคุ ลากร อ่ืน ๆ 10
- ตารางแสดงข้อมลู นกั เรยี นทง้ั หมดในสถานศึกษา 10
12
- ตารางแสดงข้อมูลนกั เรียนทจี่ บการศกึ ษา 13
- ตารางแสดงจานวนชว่ั โมงการพฒั นาตนเองของครทู ั้งหมดในปกี ารศึกษาทผี่ ่านมา 13
- ตารางแสดงจานวนชวั่ โมงการเขา้ ร่วมกจิ กรรม PLC ของครูระดบั การศกึ ษาปฐมวัย 35

- ตารางการสนบั สนนุ จากภายนอก
- ตารางแสดงข้อมูลสาคญั ของสถานศึกษา
- ตารางแสดงขอ้ มลู อาคารเรียนตารางแสดงขอ้ มูลอาคารเรยี น และสิ่งก่อสร้าง

- แผนภูมแิ ท่งแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการของนักเรยี นระดับปฐมวัย (3 ปยี อ้ นหลงั )
2.2 นาเสนอผลการประเมนิ ของสถานศึกษา

- ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา : ระดับปฐมวยั

ส่วนท่ี 3 ภาคผนวก

บนั ทกึ การใหค้ วามเห็นชอบรายงานประจาปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรียนบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา)

สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสโุ ขทยั เขต 1
******************************

ตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2545 มาตรา 9 (3) ให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

ทุกระดับ และมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา และถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้อง
ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปเี สนอต่อหน่วยงานตน้ สังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพอ่ื รองรับการประเมนิ
ภายนอก

อ้างถึง ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพในระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน เรอ่ื ง กาหนดหลกั เกณฑ์

และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2554 ลงวันท่ี 13
มิถุนายน 2554 ข้อ 7 (1) (2) (3) การจัดทารายงานประจาปีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ให้สรปุ
และจัดทารายงานประจาปีที่เปน็ รายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ทีส่ ะท้อนคณุ ภาพผเู้ รียนและ

ผลสาเร็จของการบริหารจัดการตามรูปแบบท่ีหน่วยงานต้นสังกัดกาหนด และนาเสนอต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานใหค้ วามเห็นชอบ เพือ่ เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชนหนว่ ยงานต้นสงั กัดและหน่วยงาน
ท่ีเกย่ี วขอ้ งทราบ ความละเอียดแจง้ แลว้ น้ัน

คณะกรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานโรงเรยี นบ้านสนามบิน(ประชาศกึ ษา) ได้รบั การรายงานการจดั ทา
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 ที่เป็นรายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายในเรียบร้อยแล้ว
มีมติเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ให้โรงเรียนเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และเปิดเผยต่อ

สาธารณชน เพอื่ นาไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพอ่ื รองรับการประเมนิ ภายนอกตอ่ ไป

(นายสมชาย พุ่มธนวัฒน)์ (นายสมชาย ปอ้ มแก้ว)

ประธานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านสนามบนิ (ประชาศึกษา)
10 พฤษภาคม 2565 10 พฤษภาคม 2565

1

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บรหิ าร
- โรงเรียนบา้ นสนามบิน(ประชาศึกษา) ทอี่ ยู่ หมู่ 14 ตาบลบ้านกลว้ ย อาเภอเมืองสโุ ขทยั จงั หวัดสุโขทัย
- เปดิ สอนระดบั ชน้ั อนุบาลปีที่ 2 ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
E-Mai [email protected] Website http://www.bansanambin.com
- ช่อื ผู้อานวยการ นายสมชาย ปอ้ มแกว้ เบอร์โทร 086-2029619
- มคี รทู ั้งหมดจานวน 13 คน
- นักเรียนทง้ั หมด 228 คน

ผลจากการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัยโรงเรียนบา้ นสนามบิน(ประชาศกึ ษา)
อยใู่ นระดับ “ยอดเย่ียม” สรุปเป็นรายมาตรฐาน ดังนี้
ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนอยใู่ นระดับ ยอดเยยี่ ม

ซงึ่ เดก็ มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ท่ดี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ มีนา้ หนกั
ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย มีสุขภาพอนามัยและสุขนิสยั ท่ดี ี สามารถปฏิบัติตนตามขอ้ ตกลง
ของห้องเรยี น รวมท้งั เล่นและปฏิบัติกจิ กรรมไดอ้ ยา่ งปลอดภยั สามารถปฏิบัติตนเพือ่ หลกี เลี่ยงสภาวะทีเ่ ส่ียง
ตอ่ โรค สงิ่ เสพติด และสถานการณท์ ่เี สี่ยงอนั ตราย สามารถเคลือ่ นไหวร่างกายได้อยา่ งคล่องแคล่ว มพี ฒั นาการ
ด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ร่าเริง แจ่มใส มีความสุขสนุกสนาน รู้จักช่วยเหลอื
และแบ่งปัน สามารถทางานที่ได้รับมอบหมายจนสาเรจ็ ได้ด้วยตนเอง และรู้จักอดกล้นั ต่อส่ิงเร้าท่มี ากระทบ
หรือพบเห็น ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผ้อู ่ืนได้ มีพัฒนาการด้านสังคมท่ดี ี
สามารถช่วยเหลือตนเองและเปน็ สมาชิกท่ีดขี องสงั คม สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาวัน
ได้อย่างเหมาะสม มีวินัยในตนเอง เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อย ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้
เหมาะสมกับกาลเทศะ ยอมรับหรอื เคารพความแตกตา่ งระหว่างบุคคลสามารถปฏิบตั ติ นเปน็ ผูน้ าและผตู้ ามได้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ มีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญาทดี่ ี สามารถส่ือสารสนทนาโต้ตอบกับบุคคลอนื่ ได้ มที กั ษะ
การคิดพื้นฐาน ค้นหาคาตอบโดยใช้วิธีการทห่ี ลากหลายดว้ ยตนเอง มีความสามารถในการคิดรวบยอด และคิด
เชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ อกี ทั้งสามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความคดิ และจนิ ตนาการของ
ตนเองได้อยา่ งเหมาะสม

จุดเด่น
1. โรงเรียนได้ดาเนนิ การจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
สาหรบั เด็กปฐมวัย โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นร้แู บบกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
และกิจกรรมการเรียนร้แู บบ STEM Education ซ่งึ เปน็ การจัดการเรียนการสอนทสี่ ง่ เสรมิ พฒั นาการทัง้ 4 ด้าน
ของเดก็ ตามศักยภาพของเด็กแตล่ ะคน
2. เด็กมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีน้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายได้
อย่างคล่องแคล่ว สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะท่ีเส่ียงต่ออุบัติเหตุและส่ิงเสพติด มีคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีจิตสานึกในการอนุรกั ษ์และพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม ทางานร่วมกับผู้อ่นื ได้อยา่ ง

2

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

มีความสขุ มอี ารมณ์แจ่มใส ร่าเรงิ สนกุ สนาน ร่วมกิจกรรมอย่ใู นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข มีสติปัญญาเรยี นรู้ได้
ตามกจิ กรรมประจาวันอยา่ งดี

แนวทางการพัฒนาใหส้ ูงข้นึ
1. จดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning ซึง่ เปน็ กระบวนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้
ที่สาคญั ทจ่ี ะช่วยให้เดก็ ปฐมวยั ไดเ้ รยี นรูด้ ว้ ยตนเองรว่ มกบั เพือ่ น ผา่ นกิจกรรมท่ีเดก็ ไดล้ งมอื ปฏิบัติจรงิ ดว้ ย
ตนเองผา่ นประสาทสมั ผสั ทงั้ 5 และเพ่อื ให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เปน็ การสง่ เสรมิ พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น
ของเดก็ ปฐมวยั
2. สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กทกุ คนสามารถใช้สือ่ เทคโนโลยเี ปน็ เคร่ืองมอื ในการเรยี นรู้ และแสวงหาความรไู้ ด้
ดว้ ยตนเอง สามารถเข้าสู่โปรแกรมการเรียนการสอนออนไลน์ด้วยตนเองได้

ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจดั การอยูใ่ นระดบั ดีเลิศ
โรงเรียนมีหลักสูตรท่ีครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน มีหลักสูตร

สถานศึกษาปฐมวัยท่ียืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยมีการจัดทา หลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2564 ตามแนวทางหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 อีกทง้ั
มีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ออกแบบการจัดประสบการณ์
ท่ีเตรยี มความพร้อมและไมเ่ ร่งรัดวิชาการ เน้นการเรยี นรแู้ ละลงมือปฏบิ ตั ิ ตอบสนองความตอ้ งการและความ
แตกต่างของเด็ก มีการจดั ครใู ห้เพียงพอกับชั้นเรยี นและเหมาะสมกับกบั ภารกิจการเรยี นการสอน ส่งเสริมให้
ครูมีทกั ษะในการจัดประสบการณแ์ ละการประเมนิ พฒั นาการเดก็ อีกท้ังใช้ประสบการณส์ าคญั ในการออกแบบ
และจัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วยการใช้ชุมชนแห่ งการเรียนรู้
(Professional Learning Community: PLC) เป็นวิธีการในการพัฒนา จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการ
เรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอทง้ั ภายในและภายนอกหอ้ งเรยี นที่คานึงถึงความปลอดภัยของเด็ก จัดมมุ
ประสบการณ์ ท่หี ลากหลาย มสี ่อื การเรยี นรทู้ ช่ี ่วยเพ่มิ พนู ทกั ษะต่างๆ ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สื่อการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย
มีส่วนร่วม มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่เหมาะสมและต่อเนื่อง ส่งผลต่อคุณภาพตาม
มาตรฐานของสถานศึกษา บูรณาการการปฏิบัติงานและเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมจนเป็น
แบบอย่างที่ดีและได้รับการยอมรบั จากชุมชนและหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการ
สอนอย่างมีประสิทธิภาพ

จุดเด่น
1. โรงเรียนมีหลกั สตู รทีค่ รอบคลมุ พฒั นาการทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถิ่น มีหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวยั ท่ียืดหยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั โดยมีการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษา
ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2564 ตามแนวทางหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560
2. ส่งเสริมให้ครูมีทักษะในการใช้ประสบการณ์สาคัญในการออกแบบและจัดกิจกรรมได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ พัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วยการใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning
Community: PLC) เป็นวิธีการในการพัฒนา

3

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

แนวทางการพฒั นาใหส้ ูงขนึ้
1. สง่ เสรมิ ให้ครู (ปฐมวัย) ทกุ คน มกี ารพฒั นาตนเองเพอื่ เพม่ิ พนู ทกั ษะในการจัดประสบการณ์ให้แก่
เดก็ ปฐมวยั อีกทั้งสามารถใช้ประสบการณส์ าคัญในการออกแบบและจดั กจิ กรรมไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
2. สง่ เสรมิ ให้ครู (ปฐมวยั ) ทกุ คน พัฒนาการจัดประสบการณใ์ หเ้ ดก็ ดว้ ยการใช้ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชพี เพอ่ื พัฒนาการจดั ประสบการณแ์ ละกจิ กรรมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้ึน

ผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สาคัญอยใู่ นระดบั ดเี ลิศ
ครูปฐมวัยจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ มีการ
วิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดประสบการณ์ กิจกรรม และช่วยเหลือเด็กอย่าง
เหมาะสม มีแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย
อารมณ-์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญาอยา่ งสมดลุ โดยความรว่ มมือของพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนและผูเ้ กยี่ วข้อง
สร้างเสริมโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ อย่างมีความสุข
จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย มีการประเมินพัฒนาการเด็กตาม
สภาพจริงในทุกๆ ปี โดยประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวันด้วยเคร่ืองมือและวิธกี าร
ท่ีหลากหลาย นาผลการประเมินท่ีได้ไปพัฒนา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์เพ่ือให้มี
ประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ
จดุ เดน่
1. ครูมีการวิเคราะห์ข้อมลู เด็กเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดประสบการณ์ กิจกรรม และ
ช่วยเหลือเดก็ อยา่ งเหมาะสม
2. ครูมีแผนการจดั ประสบการณ์ และใช้แผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการครบ
ทุกดา้ น
3. มกี ารประเมินพฒั นาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวันด้วยเคร่ืองมือ วิธีการทีห่ ลากหลาย
และนาผลการประเมนิ ที่ไดไ้ ปพฒั นาการจดั ประสบการณ์
แนวทางการพฒั นาใหส้ งู ขน้ึ
1. ส่งเสริมครูให้ทาการวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือนาผลของงานวิจัยน้ันไปพัฒนาการเรียนการสอนให้มี
ประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึน้ และเพ่อื เพ่มิ พนู ศักยภาพการเรียนรขู้ องนักเรยี น
2. ส่งเสรมิ ให้นักเรียนทกุ คนได้เรียนรผู้ า่ นประสบการณ์ตรง เล่น และลงมอื ปฏิบัติผา่ นประสาทสัมผสั
ท้ัง 5 เพ่ือเป็นการสรา้ งองค์ความรูท้ ่ีดีใหก้ ับนกั เรียน
3. ส่งเสริมให้ครูมีการผลิตและจัดหาส่ือการเรียนรู้ ที่เอ้ือต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน
ให้เหมาะสมกบั วยั และมคี วามหลากหลายยงิ่ ขึ้น

4

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

สว่ นที่ ๒ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

๒.๑ ข้อมลู พืน้ ฐานของสถานศกึ ษา
ประวัติยอ่
ชือ่ สถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านสนามบนิ (ประชาศกึ ษา) ตง้ั อยเู่ ลขที่ - หมทู ี่ 14 ถนนจรดวิถีถ่องตาบล

บ้านกล้วย อาเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นโรงเรียนที่อยู่ในชุมชนชนบท ประชาชนส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ ศรัทธาในพระพุทธศาสนา ประชาชนมีความเอ้ืออารีต่อกัน มีความเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ พึ่งพากันได้
ในยามตกทุกข์ได้ยาก มีความศรัทธาในตัวผู้นาท้องถ่ิน ครู อาจารย์ พ่อค้า ประชาชน มีความเป็นกันเอง
ช่วยเหลือเก้ือกลู ซึ่งกันและกัน มีความรักและหวงแหนในขนบธรรมเนยี มประเพณีและวัฒนธรรม ซ่ึงสืบทอด
กนั มาชั่วกาลนาน โรงเรียนบา้ นสนามบิน (ประชาศกึ ษา) เปดิ ทาการสอนครงั้ แรก เมอ่ื วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ.
2501 ในสมยั นายโกษิต สคุ นธชาติ เป็นนายอาเภอเมืองสโุ ขทัยและนายประจวบ คาบญุ รัตน์ เป็นศกึ ษาธกิ าร
อาเภอเมืองสโุ ขทัย เดิมโรงเรียนตั้งอยู่ทางทศิ เหนือของถนนจรดวิถีถ่อง บริเวณท่ีตง้ั โรงเรยี นสุโขทัยวิทยาคม
ในปัจจุบัน ต่อมาทางราชการต้องการทจี่ ัดตั้งโรงเรยี นมัธยมสามัญประจาจังหวัด จึงให้ย้ายมาตั้งใหม่ในดา้ น
ทศิ ใต้ของถนนจรดวถิ ถี อ่ ง คอื ท่ตี ้ังในปจั จุบันโดยมนี ายพมิ พ์ ม่นั สุข มอบท่ดี ินใหจ้ ัดตั้งโรงเรียนเป็นเนอื้ ที่ 5 ไร่
1 งาน 50 ตารางวา สร้างอาคารเรยี นหลังแรก แบบ ป.1 ฉ ขนาด 5 ห้องเรยี น โดยประชาชนรว่ มบรจิ าคเงนิ
จานวน 6,097 บาท ได้รับงบประมาณจากทางราชการ 5,600 บาท เปดิ การสอนต้ังแตช่ ั้นประถมศึกษาปีท่ี
1-4 นายเมียน เพชรมาก เป็นครูใหญ่ และปัจจุบัน นายสมชาย ป้อมแก้ว ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการ
โรงเรียน

ทตี่ งั้ โรงเรยี นบา้ นสนามบิน (ประชาศกึ ษา) ช่องทางการติดตอ่ เบอร์โทร E-Mail Website
ชอ่ื สถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านสนามบนิ (ประชาศกึ ษา) ตั้งอยเู่ ลขท่ี - หมทู ี่ 14 ถนนจรดวถิ ถี ่องตาบล
บ้านกล้วย อาเภอเมอื งสโุ ขทัย จงั หวัดสโุ ขทยั รหสั ไปรษณยี ์ 64000

มเี ขตพนื้ ทบ่ี ริการ 7 หมู่บา้ น ตาบลบ้านกล้วย ไดแ้ ก่
หมทู่ ่ี 1 บา้ นสนามบิน
หมทู่ ่ี 5 บา้ นหางคลอง
หมทู่ ี่ 7 บา้ นคลองยาง
หมูท่ ี่ 9 บ้านตระพังมะกอก
หมทู่ ่ี 12 บ้านโพธท์ิ องพฒั นา
หมู่ที่ 13 บ้านคลองโพธิ์
หมูท่ ่ี 14 บ้านเนนิ ทอง

ขนาดพน้ื ทโ่ี รงเรียนบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา) ขนาดพนื้ ท่ี 5 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา

5

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

แผนทโ่ี รงเรยี นบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา)
N

ข้อมูลแผนทจ่ี าก Google map
แผนผังโรงเรยี นบา้ นสนามบิน(ประชาศึกษา)

6

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ช่องทางการตดิ ต่อ เบอรโ์ ทร E-Mail Website
โทรศพั ท์ 0-5561-1698 โทรสาร 0-5561-1698
E – mail [email protected]
website. http://www.bansanambin.com
Facebook : โรงเรยี นบา้ นสนามบนิ - ประชาศึกษา

วสิ ยั ทัศน์โรงเรียนบา้ นสนามบิน (ประชาศกึ ษา)
“โรงเรียนบ้านสนามบิน(ประชาศกึ ษา) จดั การศึกษาใหผ้ เู้ รียนมคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน มคี ุณธรรม
กา้ วทันเทคโนโลยี มที กั ษะชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

พันธกิจ
๑. จัดการเรียนการสอนเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั และผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา
๒. ผู้เรยี นทุกคนได้รบั การพัฒนาใหเ้ ป็นคนดมี คี ณุ ธรรมตามหลกั คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. ผ้เู รยี นทกุ คนไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาอยา่ งรอบดา้ นสง่ เสรมิ การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี
๔. ผู้เรยี นมที กั ษะการดารงชวี ิต โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจดั การเรยี น

การสอน
๕. พฒั นาทักษะการกฬี าส่งเสรมิ การออกกาลงั กายเนน้ ผูเ้ รยี นใหม้ สี ขุ ภาพดรี า่ งกายแขง็ แรงสมบรู ณ์
๖. ปลูกฝังให้ผเู้ รียนตระหนักถึงการมีภมู ทิ ศั นท์ ส่ี วยงามการอนรุ ักษ์ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
๗. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพ
๘. บรหิ ารจัดการศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมุ่งผลสมั ฤทธแิ์ ละยึดหลกั ธรรมาภบิ าล
เอกลกั ษณ์
“สุขภาพดี มที กั ษะการกฬี า”

อตั ลกั ษณ์
“ภูมิทัศนส์ วยงาม รกั ษ์ความเป็นไทย”

7

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

แผนภูมิการบริหารงานโรงเรยี นบ้านสนามบนิ (ประชาศึกษา)

. นายสมชาย ป้อมแก้ว

ผู้อานวยการโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงานวชิ าการ

กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลมุ่ บรหิ ารงานทัว่ ไป
นางสาวอัมพาพรรณ จั่นจีน นางรินดา ศรชี ัยยะ นายสมชาย ปอ้ มแก้ว นางสัมพันธ์ ปานชัย

๑.งานการพัฒนาหลกั สูตรฯ ๑.งานจัดทาและเสนอ ๑.งานวางแผนอตั รากาลงั ๑.งานสารบรรณ
-นางอัมพาพรรณ จ๋ิวนารายณ์ งบประมาณ -ผอ.สมชาย ปอ้ มแก้ว -นางสาวดายนิ คดิ อ่าน
-นายปราโมทย์ จ่ันจีน -นางรินดา ศรีชัยยะ -นางสมั พันธ์ ปานชยั -นางสาวชญาดา มีมา
-นางศิรนิ ทพิ ย์ วฒั นวาณิชย์ ๒.งานจัดสรรงบประมาณ -นางรินดา ศรีชัยยะ ๒.งานทะเบยี น/สามะโน นร.
๒.งานการพัฒนากระบวนการ -ผอ.สมชาย ป้อมแก้ว ๒.งานสรรหาบรรจุ/แต่งต้ัง/ -นางสาวดายิน คดิ อา่ น
เรยี นรู้ ๓.งานการบัญชี ย้าย ๓.งานขอ้ มูลสารสนเทศ
-นางอัมพาพรรณ จิ๋วนารายณ์ -นางรินดา ศรีชยั ยะ -ผอ.สมชาย ป้อมแก้ว -นางสาวดายิน คิดอา่ น
-นางศริ ินทพิ ย์ วัฒนวาณิชย์ -นายสรุ เชษฐ์ ชเู ตชะ ๓.งานเสรมิ สร้าง ๔.งานประชาสัมพันธ์
-นางนวลสริ ิ ขนั ธท์ อง ๔.งานระดมทรพั ยากรเพอื่ ประสทิ ธิภาพในการทางาน -นางกญั ญภัค อ่อนชาวนา
๓.งานทะเบียนวดั ผลประเมินผล การศกึ ษา -ผอ.สมชาย ป้อมแก้ว -นางนวลสิริ ขันธท์ อง
-นางสาวดายนิ คิดอ่าน -ผอ.สมชาย ป้อมแก้ว -นางสาวชญาดา มีมา ๕.งานอาคารสถานท่ี
๔.งานวิจยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพ ๕.งานการเงนิ ๔.งานวนิ ยั /การรกั ษาวินัย -ผอ.สมชาย ป้อมแก้ว
-นางอัมพาพรรณ จ๋ิวนารายณ์ -นางรินดา ศรีชยั ยะ -ผอ.สมชาย ปอ้ มแก้ว ๖.งานกิจการนกั เรยี น
-นางศิรนิ ทพิ ย์ วัฒนวาณิชย์ -นายสรุ เชษฐ์ ชูเตชะ ๕.งานการออกจากราชการ -นายสุรเชษฐ์ ชูเตชะ
๕.งานพฒั นาสอ่ื /นวตั กรรม ๖.งานบริหารพสั ดุ -ผอ.สมชาย ปอ้ มแก้ว -นางสาวดายิน คดิ อ่าน
-นางนวลสริ ิ ขนั ธท์ อง -นางศิรินทิพย์ วัฒนวาณิชย์ ๗.งานบริหารและพัฒนา
-นางสาวสุวรรณา บญุ คง -นางอัมพาพรรณ จ๋ิวนารายณ์ องคก์ ร
๖.งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ -นายปราโมทย์ จ่นั จีน -ผอ.สมชาย ปอ้ มแก้ว
-นางนวลสริ ิ ขนั ธท์ อง ๗.งานจัดระบบขอ้ มลู และ ๘.งานสง่ เสริมสนบั สนุนและ
-นางสาวสุวรรณา บญุ คง สนิ ทรพั ย์ ประสานการจดั การศึกษา
-นางอัมพาพรรณ จิ๋วนารายณ์ -นางศริ ินทิพย์ วัฒนวาณชิ ย์ -นายสรุ เชษฐ์ ชูเตชะ
-นางสาวธัญลักษณ์ มิง่ กลิ่น -นางอัมพาพรรณ จ๋ิวนารายณ์ ๙.งานทนุ การศกึ ษา
๗.งานนเิ ทศการศกึ ษา ๘.งานตรวจสอบติดตามและ -นางอมั พาพรรณ จวิ๋ นารายณ์
-นางอัมพาพรรณ จิ๋วนารายณ์ รายงานผล ๑๐.งานอนามยั โรงเรียน
๘.งานแนะแนวการศกึ ษา -ผอ.สมชาย ปอ้ มแก้ว -นางสัมพันธ์ ปานชัย
-นางรินดา ศรีชยั ยะ -นายสุรเชษฐ์ ชูเตละ
๙.งานพฒั นาระบบประกัน ๑๑.งานวนิ ัยนักเรียน
คุณภาพ -นางรินดา ศรชี ัยยะ
-นางอัมพาพรรณ จ๋ิวนารายณ์ ๑๒.งานบรกิ ารเอกสาร
-นางศิรนิ ทิพย์ วฒั นวาณชิ ย์ -นางสาวชญาดา มมี า

8

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ตารางแสดงข้อมลู ครู

ลาดบั ท่ี ชอ่ื - สกลุ วิทยะฐานะ วิชาเอก ประจาชน้ั จานวนชวั่ โมงที่สอน

1 นายสมชาย ป้อมแก้ว ชานาญการพเิ ศษ บรหิ ารการศึกษา - -

2 นางสมั พนั ธ์ ปานชยั ชานาญการพเิ ศษ สงั คมศึกษา ป.1 23

3 นางกญั ญภัค อ่อนชาวนา ชานาญการพเิ ศษ ภาษาองั กฤษ ป.6/1 23

4 นางรินดา ศรีชยั ยะ ชานาญการพิเศษ สงั คมศกึ ษา ป.4 21

5 นางนวลสริ ิ ขันธท์ อง ชานาญการพิเศษ ปฐมวัย อ.3 20

6 นางศิรินทิพย์ วัฒนวาณิชย์ ชานาญการ ปฐมวัย อ.2 20

7 นางอมั พาพรรณ จ๋ิวนารายณ์ ชานาญการ ภาษาอังกฤษ ป.3 28

8 นางสาวดายนิ คดิ อ่าน - คณิตศาสตร์ ป.6/2 23

9 นายสุรเชษฐ์ ชเู ตชะ - พลศึกษา ป.2 23

ตารางแสดงขอ้ มลู บุคลากร อนื่ ๆ

ลาดบั ท่ี ช่อื - สกุล วฒุ กิ ารศึกษา ตาแหน่ง ประเภทการจา้ ง
ปรญิ ญาตรี ครูผู้ทรงคณุ คา่ งบประมาณ สพฐ.
๑ นายปราโมทย์ จัน่ จีน ปริญญาตรี ธรุ การโรงเรยี น งบประมาณ สพฐ.
มธั ยมศึกษาตอนปลาย ครูพี่เลีย้ งเดก็ พิการ งบประมาณ สพฐ.
๒ นางสาวชญาดา มีมา มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั การภารโรง งบประมาณ สพฐ.
ปรญิ ญาตรี ครูอตั ราจ้าง งบประมาณโรงเรยี น
๓ นางสาวบษุ กร บวั เผ่ือน ปริญญาตรี ครอู ัตราจา้ ง งบประมาณโรงเรยี น

4 นายสาราญ ภกั ดอี าษา

5 นางสาวสุวรรณา บุญคง

6 นางสาวธญั ลกั ษณ์ มง่ิ กลิน่

ตารางแสดงขอ้ มลู นกั เรยี นและห้องเรยี นในสถานศกึ ษา (จาแนกตามชน้ั เรยี น)

ลาดับท่ี ระดับชั้น จานวนห้องเรียน ชาย จานวนนักเรยี น รวม
15 หญิง 26
๑ อนุบาลปที ี่ ๒ 1 11 11 21
๒ อนบุ าลปที ี่ ๓ 1 12 10 25
๓ ประถมศึกษาปีที่ ๑ 2 14 13 21
๔ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ 1 12 7 26
๕ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ 1 7 14 31
๖ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ 1 15 24 34
๗ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ 1 23 19 44
๘ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ 2 21
๙ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ 1
๑๐ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ 1
๑๑ 1
ห้องสมดุ

9

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

๑๒ ห้องพยาบาล 1 109 119 228
๑๓ ห้องศนู ยก์ ารเรยี นรู้ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น 1
15 จานวนนกั เรยี นท่จี บการศึกษา
รวม ชาย หญิง รวม
11 10 21
ตารางแสดงข้อมลู นกั เรียนท่จี บการศกึ ษา

ลาดับท่ี ระดบั ชนั้ จานวนหอ้ งเรยี น
1
1 อนบุ าลปีท่ี ๓

ตารางแสดงจานวนชั่วโมงการพัฒนาตนเองของครูทั้งหมดในปีการศกึ ษาท่ีผ่านมา (เฉลีย่ 20 ชวั่ โมงข้นึ ไป)

ลาดบั ท่ี ช่อื -สกลุ จานวนชัว่ โมงการพัฒนาตนเองของครู

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม

1 นางศริ นิ ทพิ ย์ วฒั นวาณชิ ย์ 81.30 20 101.30

2 นางนวลสริ ิ ขนั ธท์ อง 15 5 20

ตารางแสดงจานวนช่ัวโมงการเขา้ ร่วมกจิ กรรม PLC ของครูระดับการศกึ ษาปฐมวยั ทั้งหมดในปีการศึกษา
ท่ีผา่ นมา (เฉลีย่ 50 ชวั่ โมงขน้ึ ไป)

ลาดบั ที่ ช่ือ-สกลุ จานวนชวั่ โมงการเขา้ ร่วมกจิ กรรม PLC

1 นางศิรินทพิ ย์ วฒั นวาณิชย์ 52
2 นางนวลสริ ิ ขนั ธท์ อง 52

ตารางการสนบั สนุนจากภายนอก  ผู้ปกครองรอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป เข้าร่วมประชมุ หรอื กจิ กรรมของ
1) การมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครอง สถานศกึ ษา

2) การมสี ่วนรว่ มของคณะกรรมการ  ผู้ปกครองรอ้ ยละ 50-79 ขน้ึ ไป เขา้ ร่วมประชมุ หรอื กจิ กรรมของ
สถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน สถานศกึ ษา

 ผู้ปกครองรอ้ ยละ 50 เขา้ ร่วมประชุมหรือกจิ กรรมของ

สถานศกึ ษา

 คณะกรรมการสถานศกึ ษาเขา้ รว่ มประชุมกบั สถานศกึ ษา

อยา่ งน้อย 4 ครัง้ ตอ่ ปี
 คณะกรรมการสถานศึกษาเขา้ รว่ มประชุมกบั สถานศึกษา 2-3 คร้งั

ต่อปี

 คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ารว่ มประชมุ กบั สถานศึกษา นอ้ ยกวา่
2 คร้ังต่อปี

10

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

3) การสนบั สนุนจากหนว่ ยงาน  ไดร้ บั การสนบั สนนุ เพยี งพอ และสง่ ผลต่อการพฒั นาสถานศึกษา
/องคก์ รทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง  ได้รบั การสนบั สนุนเพยี งพอ แต่ไม่สง่ ผลตอ่ การพฒั นาสถานศึกษา

หรอื ได้รับการสนบั สนุนไมเ่ พียงพอแตส่ ่งผลต่อการพัฒนาสถานศกึ ษา
 ได้รับการสนบั สนนุ ไมเ่ พียงพอ และไมส่ ง่ ผลต่อการพฒั นาสถานศึกษา

ตารางแสดงข้อมลู สาคัญของสถานศกึ ษา

ประเภท อตั ราส่วน ครู ต่อ อตั ราสว่ น เด็ก ตอ่ ห้องเรียน จานวนครูครบชั้น
นักเรยี น 23 : 1  ครบ  ไมค่ รบ
25 : 1  ครบ  ไมค่ รบ
การศึกษาปฐมวยั 1 : 23

ระดับการศกึ ษาขัน้ 1 : 25
พ้นื ฐาน

ตารางแสดงข้อมลู อาคารเรียนตารางแสดงข้อมูลอาคารเรยี น และสง่ิ ก่อสรา้ ง

ชอื่ อาคาร ประเภท รายละเอยี ด การใช้งาน

อาคารสนามบนิ อาคารเรียน แบบ ฐานราก- ตอกเสาเขม็ ชนั้ ลา่ ง
สปช.105/29 ขนาด กว้าง 10.40 เมตร - หอ้ งเรียน 4 หอ้ ง
ขนาด 8 ห้องเรยี น ยาว 47 เมตร - ห้องธุรการ+ห้องผู้อานวยการ1 ห้อง

และตอ่ เตมิ 2 ชน้ั 2

หอ้ งเรยี น รวม 10 - หอ้ งเรยี น 2 ห้อง

หอ้ งเรียน - หอ้ งปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1 ห้อง

- หอ้ งประชมุ 1 ห้อง

- หอ้ งวชิ าการ 1 ห้อง

อาคารเนนิ ทอง อาคารเรียน แบบ ฐานราก- ตอกเสาเขม็ ชน้ั บน
สปช.105/29 ขนาด กว้าง 10.40 เมตร - 4 ห้องเรียน
สองชน้ั ปรบั ปรงุ ใต้ ยาว 38 เมตร ชั้นล่าง(ใต้ถนุ โลง่ )
ถนุ โล่ง - จดั กิจกรรม อเนกประสงค์

อาคาร อาคาร ฐานราก- ตอกเสาเขม็ - อาคารหอ้ งสมดุ
อเนกประสงค์ 1 อเนกประสงค์ และ ขนาด กว้าง 10 เมตร
ยาว 20 เมตร
สปช. 204/26

อาคาร อาคาร ร้อื ถอนจาก อาคารไม้ - อาคารอเนกประสงค์
อาคาร ป.1 ฉ ขนาด กว้าง 8.50 เมตร
อเนกประสงค์ 2 ขนาด 5 ห้องเรียน ยาว 30 เมตร
(ก่ึงถาวร) นามาปรบั ปรงุ

11

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

อาคารโรงอาหาร แบบ อาคารโรง ฐานราก- ตอกเสาเข็ม - โรงอาหาร
ขนาด 260 ทน่ี ัง่ อาหารขนาดเลก็ ขนาด กว้าง 19.25 เมตร
ยาว 25 เมตร
อาคารศูนย์การ 260 ทีน่ ั่ง สพฐ.
เรียนรูฯ้
อาคาร รื้อถอนจาก อาคารไม้ - อาคารศนู ยก์ ารเรียนร้ฯู
สนามกฬี า อาคาร ป.1 ฉ ขนาด กว้าง 8.50 เมตร
อเนกประสงค์ ขนาด 2 หอ้ งเรยี น ยาว 16 เมตร

สนามฟุตบอล นามาปรบั ปรงุ

สนามกีฬา สนามคอนกรตี พรอ้ ม -สนามกฬี าวอลเลยบ์ อล 2 สนาม

อเนกประสงค์ อปุ กรณ์ -สนามกฬี าตะกรอ้ 2 สนาม

ขนาด กว้าง 27 เมตร -สนามกฬี าบาสเกตบอล 1 สนาม

ยาว 36 เมตร (รูปแบบเป็นสนาม ทับซ้อนกนั )

สนามฟตุ บอล กวา้ ง 59 เมตร -ใช้สาหรบั เล่นฟตุ บอล และจดั กิจกรรม

แบบ ฟ.1/42 ยาว 89 เมตร กลางแจ้ง

สนามเดก็ เล่น แบบ สรา้ งเอง เคร่อื งเลน่ สนามเดก็ เล่น - สนามเดก็ เลน่

ห้องสุขา 1 รปู แบบสนามเด็ก บ้านต้นไม้
ห้องสขุ า 2
ห้องสุขา 3 เล่นตามรอยเบ้อื ง ขนาด กว้าง 20 เมตร

ยคุ ลบาท ยาว 20 เมตร

แบบ สปช. ขนาด 4 ทน่ี ัง่ ห้องสขุ า นกั เรยี น ปฐมวยั

603/26

แบบ สปช. ขนาด 4 ทีน่ ่งั ห้องสุขา นกั เรียน ระดบั ประถมศกึ ษา

603/26

นอกแบบแปลน ขนาด 10 ท่ีน่ัง ห้องสขุ า นกั เรียน ระดบั ประถมศกึ ษา

12

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

แผนภมู แิ ท่งแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการทั้ง 4 ด้านของนักเรยี นระดบั ปฐมวัย (3 ปยี ้อนหลัง)

แผนภูมแิ ทง่ แสดงผลการประเมนิ พฒั นาการทงั้ 4 ดา้ นของนกั เรยี นระดบั ปฐมวยั (3 ปียอ้ นลลงั )

102 100 96.73 97.44 97.64 96.54 97.37 97.44 98.44 98.50
100 96.73 97.31
ด้ำนอำรมณ์-จิตใจ ด้ำนสังคม
98 87.44 96.73 96.54 ด้ำนสติปญั ญำ
96 97.44 97.37 97.31
94 ด้ำนรำ่ งกำย 97.64 97.44 98.44
92 87.44 98.50
90 96.73
88 100
86
84
82
80

ปี 2562
ปี 2563
ปี 2564

จากตาราง แสดงให้เห็นได้ว่านกั เรียนระดับช้ันปฐมวัย มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย ในปี
การศกึ ษา 2562 คิดเปน็ ร้อยละ 87.44 ปกี ารศึกษา 2563 คิดเปน็ ร้อยละ 96.73 และปกี ารศกึ ษา 2564

คิดเป็นร้อยละ 100 อยูใ่ นระดับดี มีระดับพฒั นาการที่สูงข้ึน ผลการประเมนิ พัฒนาการด้านอารมณ-์ จติ ใจ ในปี
การศกึ ษา 2562 คดิ เปน็ ร้อยละ 96.73 ปกี ารศึกษา 2563 คิดเปน็ ร้อยละ 97.44 และปีการศึกษา 2564
คิดเป็นร้อยละ 97.64 อยู่ในระดับดี มีระดับพัฒนาการที่สูงขึ้น ผลการประเมินพัฒนาการด้านสังคมในปี

การศกึ ษา 2562 คิดเป็นรอ้ ยละ 96.54 ปีการศกึ ษา 2563 คดิ เป็นรอ้ ยละ 97.37 และปีการศกึ ษา 2564
คิดเป็นร้อยละ 97.44 อยู่ในระดับดี มีระดับพัฒนาการทสี่ ูงขึ้น และผลการประเมินพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา
ในปีการศึกษา 2562 คิดเป็นร้อยละ 97.31 ปีการศึกษา 2563 คิดเป็นร้อยละ 98.44 และปีการศึกษา

2564 คดิ เปน็ ร้อยละ 98.50 อยู่ในระดบั ดี มีระดบั พัฒนาการทส่ี ูงขึน้

13

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

๒.๒ นาเสนอผลการประเมินของสถานศึกษา

ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพเด็ก ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ียม

สถานศึกษาได้นาผลการประเมินตนเอง (SAR) จากปีการศึกษาที่ผ่านมารวมทั้งคาแนะนาในแนวทาง

พัฒนาที่ได้นาเสนอไว้ในเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นเด็กและศักยภาพของเด็กเป็นสาคัญ เช่น

กิจกรรมการเรียนรู้แบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ STEM Education ซ่ึงเป็นการ

จัดการเรียนการสอนที่ส่งเสรมิ พฒั นาการทั้ง 4 ด้านของเด็กตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน การส่งเสริมให้เดก็

สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรู้ และแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ซ่ึงได้นามาวางแผนจัด

การเรียนการสอนโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยสถานศึกษามี การจัด

กิจกรรมที่เนน้ เด็กเปน็ สาคัญ ให้เดก็ ไดค้ ิดและลงมอื ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง มีกระบวนการพฒั นาเดก็ อย่างหลากหลาย

เพ่อื ใหเ้ ด็กมีทกั ษะการคิดพืน้ ฐานและแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองได้ โดยกาหนดโครงการ/กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพ

ผู้เรียนในหลากหลายวิธีการ เช่น โครงการพัฒนาความพร้อมเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย โครงการพัฒนาความ

พร้อมเด็กปฐมวัยด้านอารมณ์-จิตใจ โครงการพัฒนาความพร้อมเด็กปฐมวัยด้านสังคม โครงการพัฒนาความ

พร้อมเดก็ ปฐมวัยด้านสตปิ ัญญา โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ ้อยแห่งประเทศไทย โครงการพัฒนาวชิ าการและ

จัดคา่ ยวิชาการปฐมวยั โครงการวิถพี ุทธพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม เด็กปฐมวัย โครงการทัศนศกึ ษาเปิดโลกแห่ง

การเรียนรู้ระดับปฐมวัย โครงการหนูน้อย ICT ระดับปฐมวัย เม่ือดาเนินการเสร็จส้ินแล้วได้นาผลมาพัฒนา

ปรับปรุงแกไ้ ขพัฒนาผเู้ รียนตอ่ ไป โดยมผี ลการดาเนนิ งาน ดังนี้

ข้อมลู หลักฐาน และเอกสารสนับสนนุ

ประเด็นการพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนทไ่ี ด้

๑.เดก็ รอ้ ยละ 90 มนี ้าหนัก ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพร้อมเด็กปฐมวัยดา้ นรา่ งกาย 1.5

สว่ นสูงตามเกณฑม์ าตรฐาน ควบคุมดแู ลใหเ้ ดก็ ออกกาลังกายหนา้ เสาธงก่อนเข้าเรยี น รบั ประทาน

ของกรมอนามยั อาหารและดม่ื นมเป็นประจาทกุ วนั และจัดกจิ กรรมจัดกจิ กรรมสนอง

สุขบญั ญัติแหง่ ชาติ โดยมผี ลการประเมินพฒั นาการภาวะการเจรญิ เตบิ โต

ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข ดงั นี้

แผนภูมแิ สดงผลการประเมนิ พัฒนาการภาวะการเจรญิ เติบโต

120 92.98 92.3 100 100
100 81.82 82.22
80

60

40

20

0

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนบุ าล 2 อนุบาล 3

14

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ีได้

จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวัยมนี ้าหนกั สว่ นสงู ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรม

อนามยั สูงขึ้น ซงึ่ ช้นั อนุบาล 2 มจี านวนร้อยละ 100 และชน้ั อนุบาล 3

มีจานวนร้อยละ 100 สูงกวา่ เป้าหมายทตี่ ง้ั ไว้

๒.เด็กรอ้ ยละ 85 มี ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพร้อมเดก็ ปฐมวัยดา้ นรา่ งกาย 1.5

สขุ ภาพอนามยั และสุขนสิ ัย จดั กจิ กรรมสนองสขุ บัญญัติแหง่ ชาติ เช่น การลา้ งมอื การนอนหลบั

ที่ดี แปรงฟนั การควบคมุ การรบั ประทานอาหารนกั เรียน โดยมผี ลการประเมิน

พัฒนาการดา้ นสุขนสิ ัยท่ดี ี ดังน้ี

แผนภูมแิ สดงผลการประเมินพฒั นาการด้านสุขภาพอนามยั และสขุ นสิ ัยทดี่ ี
105

100 98.15 100 100
95.12 92.4 97.44

95

90

85

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนบุ าล 2 อนุบาล 3

จากตารางพบว่า เดก็ ปฐมวัยมสี ุขภาพอนามัยและสุขนสิ ยั ทดี่ ี ซ่งึ ระดบั ช้นั

อนุบาล 2 มีจานวนร้อยละ 97.44 และช้ันอนุบาล 3 มจี านวนร้อยละ
100 สูงกว่าเป้าหมายทตี่ ั้งไว้

3.เดก็ รอ้ ยละ 85 ปฏิบัติ ดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาความพร้อมเด็กปฐมวยั ดา้ นสงั คม จดั 1.5

ตนตามข้อตกลงของ กิจกรรมให้มขี ้อตกลงในห้องเรยี นและสามารถปฏิบัติได้ตามข้อตกลงนั้น

หอ้ งเรียนรวมทั้งเล่นและ และสามารถดูแลตนเองให้ปลอดภยั ท้งั ต่อตนเองและผอู้ ่ืนได้ โดยมผี ลการ

ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมได้อยา่ ง ประเมินพฒั นาการดา้ นสงั คม ดังนี้

ปลอดภัยทง้ั ต่อตนเองและ แผนภูมแิ สดงผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสังคม

ต่อผอู้ น่ื 102 99.13 100 100

100

98

96 93.94 94.74 94.87
94

92

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนุบาล 2 อนุบาล 3

15

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ไี ด้

จากตารางพบว่า เดก็ ปฐมวัยสามารถปฏิบัตติ นตามขอ้ ตกลงของหอ้ งเรยี น

รวมทั้งเล่นและปฏิบัตกิ ิจกรรมไดอ้ ย่างปลอดภยั ทง้ั ต่อตนเองและตอ่ ผอู้ นื่
ซึง่ ช้นั อนบุ าล 2 มจี านวนรอ้ ยละ 94.87 และช้ันอนบุ าล 3 มจี านวนร้อย
ละ 100 สงู กว่าเป้าหมายท่ตี ้ังไว้

4.เด็กรอ้ ยละ 85 รูแ้ ละ ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเด็กปฐมวัยด้านสงั คม มีการจดั 1.5

ปฏบิ ัตติ นเพ่อื หลกี เล่ยี ง กจิ กรรมใหค้ วามรู้แกเ่ ด็กเก่ียวกบั โรคตดิ ต่อในชมุ ชน โรคติดตอ่ จากการอยู่

สภาวะทีเ่ สย่ี งตอ่ โรค สิ่ง รว่ มกนั อุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขนึ้ ในชวี ิตประจาวัน จัดกิจกรรมการรณรงค์ต่อตา้ น

เสพตดิ และระวังภัย ยาเสพตดิ จดั กจิ กรรมสุขภาพดีมสี ขุ โดยมผี ลการประเมินพฒั นาการดา้ น

จากบุคคล สิ่งแวดล้อม สังคม ดังนี้

และสถานการณ์ทเี่ สย่ี งตอ่ แผนภมู ิแสดงผลการประเมนิ พฒั นาการดา้ นสงั คม
99.13 100
อันตราย 102 100

100

98

96 93.94 94.74 94.87
94

92

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
อนุบาล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบว่า เดก็ ปฐมวัยรูแ้ ละปฏบิ ตั ติ นเพ่อื หลกี เลี่ยงสภาวะทเ่ี สย่ี ง

ต่อโรค ส่งิ เสพติด และระวงั ภยั จากบุคคลสง่ิ แวดลอ้ ม และสถานการณ์ท่ี

เสี่ยงตอ่ อันตราย ซงึ่ ชน้ั อนุบาล 2 มจี านวนรอ้ ยละ 94.87 และชั้น

อนบุ าล 3 มีจานวนร้อยละ 100 สูงกวา่ เปา้ หมายท่ตี ้ังไว้

5.เดก็ รอ้ ยละ 90 สามารถ ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพร้อมเด็กปฐมวยั ดา้ นรา่ งกาย 1.5

เคลื่อนไหวรา่ งกายไดอ้ ย่าง จัดกจิ กรรมออกกาลงั กายหนา้ เสาธงกอ่ นเขา้ เรียน จัดกจิ กรรมเคลื่อนไหว

คลอ่ งแคลว่ และจงั หวะและกจิ กรรมกลางแจง้ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ได้เลน่ กีฬาตาม

ความสามารถ โดยมผี ลการประเมนิ พฒั นาการด้านรา่ งกาย ดังนี้

แผนภูมิแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการดา้ นร่างกาย
150

100 92.6682.22 95.38 98.08 100 100

50

0

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนุบาล 2 อนุบาล 3

16

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนที่ได้
จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวัยสามารถเคล่ือนไหวร่างกายไดอ้ ยา่ ง 1.5
6.เดก็ รอ้ ยละ 90 ร่าเรงิ คลอ่ งแคล่ว ซงึ่ ชนั้ อนบุ าล 2 มีจานวนรอ้ ยละ 10 และและชั้นอนบุ าล 3
แจม่ ใส สามารถแสดง มีจานวนร้อยละ 100 สงู กวา่ เปา้ หมายทีต่ งั้ ไว้
อารมณค์ วามรสู้ กึ ได้
สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาความพร้อมเด็กปฐมวยั ดา้ นอารมณ-์ จติ ใจ
อย่างเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณส์ าหรบั เดก็ ปฐมวัย ตามกิจกรรมหลัก 6 กจิ กรรม
โดยมผี ลการประเมนิ พัฒนาการด้านอารมณ์-จติ ใจ ดงั น้ี

105 แผนภูมิแสดงผลการประเมนิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ

100 98.93 100 100

95 94.52 94.87 95.27

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนุบาล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบว่า เดก็ ปฐมวยั มคี วามรา่ เรงิ แจม่ ใส สามารถแสดงอารมณ์

ความร้สู กึ ไดส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมตามวยั ซ่ึงชั้น

อนบุ าล 2 มจี านวนร้อยละ 95.27 และชั้นอนบุ าล 3 มีจานวนร้อยละ

100 สงู กว่าเปา้ หมายท่ีต้งั ไว้

7.เดก็ รอ้ ยละ 85 กล้าพูด ดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเดก็ ปฐมวยั ดา้ นอารมณ-์ จติ ใจ 1.5

กล้าแสดงออกได้อยา่ ง จัดประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรสู้ าหรบั เด็ก

เหมาะสมตามสถานการณ์ ปฐมวยั และจดั กจิ กรรมรอ้ ง เล่น เตน้ อา่ น ใหเ้ ด็กได้แสดงออกตาม

ศักยภาพของตน โดยมีผลการประเมินพัฒนาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ ดังนี้

แผนภูมิแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ
105

100 98.93 100 100

95 94.52 94.87 95.27

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนบุ าล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวยั กลา้ พูด กลา้ แสดงออกได้อย่างเหมาะสมตาม

สถานการณ์ ซึง่ ชน้ั อนบุ าล 2 มีจานวนรอ้ ยละ 95.27 และชัน้ อนบุ าล 3
มีจานวนรอ้ ยละ 100 สูงกวา่ เปา้ หมายที่ตง้ั ไว้

17

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนท่ีได้
ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเดก็ ปฐมวัยด้านอารมณ-์ จติ ใจ 1.5
8.เด็กรอ้ ยละ 85 สนใจ จดั ประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรสู้ าหรบั เด็ก
ปฐมวยั และจดั กิจกรรมรอ้ ง เล่น เต้น อ่าน ใหเ้ ด็กได้แสดงออกตาม
ในศลิ ปะ ดนตรี มี ศกั ยภาพของตน โดยมีผลการประเมินพฒั นาการด้านอารมณ์-จิตใจ ดังนี้
ความสุขและแสดงทา่ ทาง
การเคลือ่ นไหวประกอบ แผนภมู แิ สดงผลการประเมินพัฒนาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ
105
เพลง จังหวะ และดนตรี
ได้ และสรา้ งสรรคผ์ ลงาน 100 98.93 100 100
ศลิ ปะได้เหมาะสมตามวัย

95 94.52 94.87 95.27

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนบุ าล 2 อนบุ าล 3

9.เดก็ รอ้ ยละ 85 มคี วาม จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวยั สนใจในศิลปะ ดนตรี มีความสขุ และแสดง 1.5
ทา่ ทางการเคลือ่ นไหวประกอบเพลง จังหวะ และดนตรีได้ และ
เมตตากรณุ า มนี า้ ใจ สรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะไดเ้ หมาะสมตามวยั ซง่ึ ชนั้ อนบุ าล 2 มีจานวน
ชว่ ยเหลือและแบง่ ปนั รอ้ ยละ 95.27 และช้ันอนบุ าล 3 มีจานวนรอ้ ยละ 100 สงู กวา่
สามารถทางานทไี่ ดร้ บั เป้าหมายท่ตี งั้ ไว้
ดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาความพร้อมเดก็ ปฐมวัยดา้ นอารมณ-์ จติ ใจ
มอบหมายจนสาเรจ็ ได้ โครงการวถิ พี ทุ ธพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรมเดก็ ปฐมวัย จัดกจิ กรรมรอ้ ง เล่น
ดว้ ยตนเอง เตน้ อา่ น ให้เดก็ ไดแ้ สดงออกตามศกั ยภาพของตน โดยมผี ลการประเมิน
พัฒนาการด้านอารมณ์-จติ ใจ ดังนี้

แผนภูมแิ สดงผลการประเมินพฒั นาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ
105

100 98.93 100 100

95 94.52 94.87 95.27

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนบุ าล 2 อนุบาล 3

18

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนท่ไี ด้

10.เดก็ รอ้ ยละ 85 ร้จู กั จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวยั มีความเมตตากรุณา มีน้าใจ ช่วยเหลอื และ
ยับย้งั ช่งั ใจ อดทนในการ
รอคอย และรจู้ ักอดกลั้น แบ่งปนั สามารถทางานที่ไดร้ บั มอบหมายจนสาเร็จไดด้ ว้ ยตนเอง ซึ่งช้นั
ต่อส่งิ เรา้ ทม่ี ากระทบหรอื
พบเหน็ อนุบาล 2 มีจานวนรอ้ ยละ 95.27 และช้ันอนุบาล 3 มจี านวนรอ้ ยละ

100 สงู กวา่ เปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้

ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเด็กปฐมวัยด้านสงั คม โครงการ 1.5

วิถีพทุ ธพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมเด็กปฐมวัย จัดกิจกรรมกลมุ่ ในการจัด

ประสบการณ์การเรยี นการสอน จดั กจิ กรรมการรวมกล่มุ นาเสนอผลงาน

จัดกจิ กรรมการรวมกลุม่ ปฏิบัติกจิ วัตรสว่ นตน โดยมีผลการประเมนิ

พฒั นาการดา้ นสังคม ดังน้ี

แผนภูมิแสดงผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสังคม

102 100 100

100 99.13

98 94.74 94.87

96 93.94

94

92

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
อนุบาล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวัยรจู้ ักยบั ย้งั ชง่ั ใจ อดทนในการรอคอย และ

รจู้ ักอดกลั้นตอ่ สง่ิ เร้าท่ีมากระทบหรือพบเห็น ซ่งึ ช้ันอนบุ าล 2 มจี านวน

ร้อยละ 94.87 และชัน้ อนบุ าล 3 มจี านวนรอ้ ยละ 100 สงู กวา่

เปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้

11.เด็กร้อยละ 85 มี ดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเด็กปฐมวยั ดา้ นสงั คม โครงการ 1.5

จติ สานึกและคา่ นยิ มที่ดี วิถีพทุ ธพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรมเดก็ ปฐมวยั จดั กจิ กรรมกลมุ่ ในการจดั

เคารพสิทธิ รหู้ นา้ ท่ี ประสบการณ์การเรียนการสอน จัดกิจกรรมการรวมกลุ่มนาเสนอผลงาน

รับผดิ ชอบ ซ่อื สตั ย์สจุ รติ จัดกจิ กรรมการรวมกล่มุ ปฏบิ ัตกิ จิ วตั รสว่ นตน โดยมีผลการประเมิน

มีคุณธรรมจรยิ ธรรมตามที่ พัฒนาการด้านสังคม ดังนี้

สถานศกึ ษากาหนด 105 แผนภมู ิแสดงผลการประเมนิ พฒั นาการดา้ นสงั คม

100 99.13 100 100

95 93.94 94.74 94.87

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนุบาล 2 อนบุ าล 3

19

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนที่ได้

จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวยั มจี ติ สานกึ และคา่ นิยมที่ดี เคารพสิทธิ รู้

หนา้ ที่รบั ผิดชอบ ซ่ือสัตยส์ จุ รติ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามทสี่ ถานศกึ ษา

กาหนด ซึ่งช้ันอนบุ าล 2 มีจานวนรอ้ ยละ 94.87 และชน้ั อนบุ าล 3 มี

จานวนรอ้ ยละ 100 สูงกว่าเปา้ หมายทีต่ ้ังไว้

12.เด็กรอ้ ยละ 85 ยอมรบั ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพร้อมเดก็ ปฐมวยั ดา้ นอารมณ-์ จิตใจ 1.5

และพอใจในความสามารถ โครงการวถิ ีพุทธพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเดก็ ปฐมวยั จัดกจิ กรรมกล่มุ ใน

และผลงานของตนเองและ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนการสอน จดั กจิ กรรมการรวมกลมุ่ นาเสนอ

ผู้อน่ื ผลงานจดั กจิ กรรมการรวมกลมุ่ ปฏิบัตกิ ิจวตั รส่วนตน โดยมผี ลการประเมิน

พัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ ดังนี้

แผนภมู แิ สดงผลการประเมนิ พัฒนาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ
105

100 98.93 100 100

95 94.52 94.87 95.27

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนบุ าล 2 อนบุ าล 3

13.เดก็ ร้อยละ 85 จากตารางพบว่า เดก็ ปฐมวัยยอมรบั และพอใจในความสามารถและผลงาน 1.5
ของตนเองและผอู้ ่นื ได้ ซ่งึ ชั้นอนบุ าล 2 มีจานวนร้อยละ 95.27 และชน้ั
สามารถช่วยเหลอื ตนเอง อนบุ าล 3 มจี านวนร้อยละ 100 สูงกวา่ เปา้ หมายทตี่ ง้ั ไว้
ในการปฏบิ ตั ิกจิ วัตร ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพร้อมเดก็ ปฐมวยั ดา้ นสงั คม โครงการ
ประจาวันไดเ้ หมาะสม วิถพี ทุ ธพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเดก็ ปฐมวยั จดั กิจกรรมกลมุ่ ในการจดั
ประสบการณ์การเรียนการสอน จดั กจิ กรรมการรวมกลุม่ นาเสนอผลงาน
จดั กจิ กรรมการรวมกลุ่มปฏบิ ัติกจิ วตั รส่วนตน โดยมีผลการประเมิน
พัฒนาการด้านสงั คม ดังน้ี

105 แผนภูมิแสดงผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสงั คม

100 99.13 100 100

95 93.94 94.74 94.87

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนบุ าล 2 อนุบาล 3

20

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนทไี่ ด้

จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวัยมคี วามสามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ัติ

กจิ วตั รประจาวนั ไดเ้ หมาะสม ซง่ึ ชั้นอนุบาล 2 มจี านวนรอ้ ยละ 94.87

และชน้ั อนบุ าล 3 มีจานวนรอ้ ยละ 100 สูงกวา่ เปา้ หมายทตี่ ง้ั ไว้

14.เดก็ รอ้ ยละ 85 มวี ินยั ดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเดก็ ปฐมวัยดา้ นอารมณ-์ จิตใจ 1.5

ในตนเอง เกบ็ ของเลน่ จดั กจิ กรรมกลุ่มในการจดั ประสบการณ์การเรยี นการสอนตามแผนการ

ของใช้เขา้ ทีอ่ ย่าง จัดประสบการณ์การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวัย เพ่อื ให้เดก็ มีวนิ ัยในตนเอง

เรียบรอ้ ยด้วยตนเอง เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ทอ่ี ย่างเรียบรอ้ ย โดยมผี ลการประเมนิ พัฒนาการ

ด้านอารมณ์-จิตใจ ดงั นี้

แผนภมู แิ สดงผลการประเมินพัฒนาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ
105

100 98.93 100 100

95 94.52 94.87 95.27

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนุบาล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวัยมวี นิ ัยในตนเอง เก็บของเลน่ ของใช้เขา้ ท่ี

อย่างเรยี บร้อยด้วยตนเองได้ ซงึ่ ชั้นอนบุ าล 2 มจี านวนร้อยละ 95.27
และชั้นอนบุ าล 3 มจี านวนรอ้ ยละ 100 สูงกวา่ เป้าหมายทต่ี งั้ ไว้

15.เดก็ รอ้ ยละ 85 ใช้ จัดกิจกรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ พฒั นาการทางดา้ นอารมณ์-จิตใจ ได้แก่ กจิ กรรม 1.5
ส่งิ ของเครอื่ งใชอ้ ย่าง เกี่ยวกบั เศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ รจู้ ักการประหยัด อดออม
ประหยดั และพอเพียง และได้สอดแทรกไปในการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ โดยมผี ลการ

ประเมนิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ ดงั นี้

แผนภูมิแสดงผลการประเมินพัฒนาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ
102 100 100
100 98.93

98
96 94.52 94.87 95.27

94

92

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนบุ าล 2 อนบุ าล 3

21

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเด็นการพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนทไ่ี ด้

16.เด็กรอ้ ยละ 85 จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวัยสามารถใช้สงิ่ ของเครื่องใชอ้ ยา่ งประหยดั
สามารถดแู ลรักษา
ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ มทง้ั และพอเพยี ง ซง่ึ ช้ันอนบุ าล 2 มจี านวนร้อยละ 95.27 และชัน้ อนบุ าล
ภายในและภายนอก
หอ้ งเรียน รวมท้งั ทง้ิ ขยะ 3 มจี านวนร้อยละ 100 สงู กวา่ เป้าหมายทีต่ ้ังไว้
ไดถ้ ูกท่ดี ้วยตนเอง
ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเดก็ ปฐมวยั ด้านสงั คม โครงการ 1.5

วิถพี ุทธพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเด็กปฐมวัย จดั กจิ กรรมการอนรุ กั ษ์

ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม แบ่งเขตพืน้ ทรี่ ับผิดชอบในการทาความสะอาด

รจู้ กั ชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั และการทางานรว่ มกบั ผู้อื่น โดยมผี ลการประเมนิ

พฒั นาการดา้ นสงั คม ดงั นี้

105 แผนภูมแิ สดงผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสังคม

100 99.13 100 100

95 93.94 94.74 94.87

90 ปี 2563 ปี 2564

ปี 2562

อนุบาล 2 อนุบาล 3

จากตารางพบว่า เดก็ ปฐมวัยสามารถดูแลรักษาธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อมทงั้
ภายในและภายนอกห้องเรยี น รวมทั้งทง้ิ ขยะได้ถูกทด่ี ว้ ยตนเอง ซ่ึงชัน้
อนุบาล 2 มีจานวนร้อยละ 94.87 และชัน้ อนุบาล 3 มีจานวนรอ้ ยละ

100 สูงกว่าเปา้ หมายที่ตง้ั ไว้

17.เด็กร้อยละ 85 ดาเนนิ การตามโครงการวิถีพุทธพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรมเดก็ ปฐมวัย ไดจ้ ัด 1.5
สามารถปฏิบัติตนตาม กจิ กรรมฝึกมารยาทไทย “ไหว้สวย ย้มิ ใส” ทุกวนั ในตอนเชา้ กิจกรรมเขา้

มารยาทไทยได้เหมาะสม แถวเคารพธงชาติ โดยมีผลการประเมนิ พฒั นาการดา้ นสงั คม ดังน้ี

กับกาลเทศะ เชน่ การไหว้ 102 แผนภูมิแสดงผลการประเมินพัฒนาการดา้ นสังคม
การย้มิ ทกั ทาย และมี 100
98 99.13 100 100
สมั มาคารวะกบั ผใู้ หญ่

96 93.94 94.74 94.87

94

92

90 ปี 2563 ปี 2564

ปี 2562

อนุบาล 2 อนบุ าล 3

22

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนที่ได้

18.เด็กร้อยละ85 จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวยั สามารถปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทย ได้
สามารถเล่นหรอื ทางาน
ร่วมกับผู้อน่ื และยอมรบั เหมาะสมกบั กาลเทศะ เชน่ การไหว้ การยม้ิ ทกั ทายและการมีสัมมา
หรอื เคารพความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คลได้ คารวะกับผ้ใู หญ่ ซง่ึ ช้นั อนุบาล 2 มีจานวนรอ้ ยละ 94.87 และช้นั

19.เดก็ ร้อยละ 85 อนบุ าล 3 มจี านวนรอ้ ยละ 100 สูงกวา่ เปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้
สามารถปฏบิ ัติตนเปน็
ผนู้ าและผู้ตามได้ ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพร้อมเดก็ ปฐมวัยด้านสงั คม โครงการ 1.5
เหมาะสมกบั สถานการณ์
วิถพี ทุ ธพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมเด็กปฐมวยั จัดกิจกรรมกลมุ่ ในการจัด

ประสบการณ์การเรียนการสอน จดั กจิ กรรมการรวมกลุ่มนาเสนอผลงาน

จัดกิจกรรมการรวมกลุม่ ปฏิบัติกจิ วัตรส่วนตน โดยมีผลการประเมิน

พัฒนาการดา้ นสงั คม ดังนี้

แผนภมู แิ สดงผลการประเมนิ พฒั นาการดา้ นสงั คม
102
100 100
100 99.13

98 94.74 94.87

96 93.94

94

92

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนุบาล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวยั สามารถเลน่ หรอื ทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื และ

ยอมรบั หรอื เคารพความแตกตา่ งระหว่างบุคคลได้ ซ่งึ ชนั้ อนบุ าล 2 มี

จานวนรอ้ ยละ 94.87 และชัน้ อนุบาล 3 มีจานวนร้อยละ 100 สงู กว่า

เปา้ หมายทตี่ ง้ั ไว้

ดาเนนิ การตามโครงการพัฒนาความพรอ้ มเดก็ ปฐมวยั ดา้ นสงั คม จดั กิจกรรม 1.5

กลมุ่ ในการจัดประสบการณ์สาหรบั เด็กปฐมวยั จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้เดก็ มี

พฒั นาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง เปน็ สมาชิกทด่ี ีของสงั คม มวี นิ ยั ใน

ตนเอง มสี ัมมาคารวะกับผ้ใู หญ่ มมี ารยาททดี่ ี ยม้ิ ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลอื

ตนเอง ในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวัน โดยมผี ลการประเมนิ พัฒนาการดา้ น

สังคม ดงั น้ี แผนภูมแิ สดงผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสังคม

105

100 99.13 100 100

95 93.94 94.74 94.87

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนุบาล 2 อนุบาล 3

23

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนทไี่ ด้

จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวัยสามารถปฏบิ ตั ิตนเป็นผ้นู าและผู้ตามได้

เหมาะสมกบั สถานการณ์ ซึ่งชน้ั อนุบาล 2 มจี านวนร้อยละ 94.87 และ

ชนั้ อนุบาล 3 มีจานวนรอ้ ยละ 100 สงู กวา่ เป้าหมายทีต่ ้ังไว้

20.เด็กรอ้ ยละ 85 ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพร้อมเดก็ ปฐมวัยด้านสตปิ ัญญา 1.5

สามารถสนทนาโต้ตอบ โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ยแหง่ ประเทศไทย โครงการพฒั นา

และเล่าเรือ่ งให้ผอู้ นื่ เข้าใจ วชิ าการและจดั คา่ ยวิชาการปฐมวัย สง่ เสรมิ ให้เดก็ สามารถสนทนาสอ่ื สาร

ได้ ได้ สามารถแสวงหาความรูไ้ ดด้ ้วยตนเองโดยมีผลการประเมนิ พฒั นาการ

ดา้ นสติปญั ญา ดงั น้ี

105 แผนภูมแิ สดงผลการประเมินพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา

100 100 100
100 96.88 97.00
95 94.61

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนบุ าล 2 อนุบาล 3

จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวัยสามารถสนทนาโตต้ อบและเล่าเรือ่ งใหผ้ ้อู ่ืน 1.5
เขา้ ใจได้ ซึง่ ชั้นอนบุ าล 2 มีจานวนร้อยละ 97.00 และชั้นอนุบาล 3 มี
จานวนรอ้ ยละ 100 สูงกวา่ เป้าหมายที่ตั้งไว้

21.เดก็ รอ้ ยละ 85 ดาเนินการตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเด็กปฐมวัยดา้ นสตปิ ัญญา
สามารถจับคู่ เปรียบเทยี บ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อยแห่งประเทศไทย โครงการพฒั นา
จาแนก จัดกลมุ่ และ วิชาการและจดั ค่ายวชิ าการปฐมวัย ส่งเสรมิ ให้เดก็ สามารถจบั คู่

เรียงลาดับเหตกุ ารณ์ได้ เปรียบเทียบ จาแนก จัดกลมุ่ และเรียงลาดับเหตกุ ารณ์ โดยมีผลการ
ประเมินพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ดงั นี้

แผนภมู แิ สดงผลการประเมินพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา
102 100 100 100
100

98 96.88 97.00

96 94.61

94

92

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนุบาล 2 อนุบาล 3

24

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนท่ไี ด้

22.เด็กร้อยละ 85 จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวัยสามารถจบั คู่ เปรียบเทียบ จาแนก จัดกลมุ่
สามารถตง้ั คาถามในส่ิงที่
ตนเองสนใจหรอื สงสยั และเรียงลาดบั เหตุการณไ์ ด้ ซง่ึ ชัน้ อนุบาล 2 มีจานวนรอ้ ยละ 97.00
และคน้ หาคาตอบโดยใช้
วธิ กี ารท่หี ลากหลายด้วย และชน้ั อนบุ าล 3 มจี านวนร้อยละ 100 สงู กวา่ เปา้ หมายทต่ี ้ังไว้
ตนเองได้
ไดส้ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการด้านสติปญั ญา สนทนาสอ่ื สารได้ มีทกั ษะ 1.5

การคดิ พ้ืนฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ โดยการเขา้ รว่ มโครงการบา้ น

นักวิทยาศาสตร์นอ้ ยแหง่ ประเทศไทย จัดกจิ กรรมโครงงานเพ่อื การเรียนรู้

โดยสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีความสนใจเรยี นรู้ สงิ่ ต่างๆ รอบตวั กล้าซกั ถามเพอ่ื

คน้ หาคาตอบ โดยมีผลการประเมินพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ดังนี้

105 แผนภูมิแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการด้านสติปญั ญา

100 100 100
100 96.88 97.00
95 94.61

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562 อนุบาล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบว่า เดก็ ปฐมวัยสามารถตง้ั คาถามในสงิ่ ที่ตนเองสนใจหรอื

สงสัย และค้นหาคาตอบโดยใชว้ ิธกี ารท่หี ลากหลายด้วยตนเองได้ ซึง่ ชัน้

อนบุ าล 2 มจี านวนรอ้ ยละ 97.00 และชน้ั อนุบาล 3 มีจานวนร้อยละ

100 สูงกว่าเปา้ หมายที่ตั้งไว้

23.เดก็ รอ้ ยละ 80 สง่ เสริมใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สนทนาสื่อสารได้ มีทกั ษะการ 1.5

สามารถระบปุ ญั หา สรา้ ง คดิ พนื้ ฐานและแสวงหาความรู้ได้ ดาเนนิ การโครงการบา้ น
ทางเลือก และเลือกวธิ ี
แก้ปญั หาได้ นกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยแห่งประเทศไทย จัดกจิ กรรมโครงงานเพ่อื การเรยี นรู้

โดยส่งเสรมิ ให้เด็กมคี วามสนใจเรยี นรู้ สงิ่ ต่างๆ รอบตวั กล้าซักถามเพอื่

ค้นหาคาตอบ โดยมีผลการประเมนิ พัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ดังน้ี

แผนภูมิแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา
102 100 100 100
100

98 96.88 97.00

96 94.61

94

92

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนบุ าล 2 อนุบาล 3

25

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ีได้

24.เด็กรอ้ ยละ 80 จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวัยสามารถระบปุ ญั หา สร้างทางเลอื ก และ
สามารถอธบิ ายเช่ือมโยง
สาเหตแุ ละผลที่เกิดขน้ึ ใน เลอื กวิธแี กป้ ญั หาได้ซงึ่ ชั้นอนุบาล 2 มีจานวนร้อยละ 97.00 และช้นั
สถานการณห์ รอื การ
กระทาได้ อนุบาล 3 มีจานวนรอ้ ยละ 100 สงู กวา่ เป้าหมายท่ีตง้ั ไว้

ส่งเสริมใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สนทนาสือ่ สารได้ มีทกั ษะการ 1.5

คดิ พนื้ ฐานและแสวงหาความรูไ้ ด้ ดาเนินงานโครงการบ้าน

นกั วิทยาศาสตร์นอ้ ยแห่งประเทศไทย จดั กจิ กรรมโครงงานเพ่ือการเรียนรู้

จัดกจิ กรรมโครงการพฒั นาวชิ าการและจัดค่ายวิชาการปฐมวัย โดยมีผล

การประเมนิ พฒั นาการด้านสติปญั ญา ดังนี้

105 แผนภมู ิแสดงผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา

100 100 100
100 96.88 97.00
95 94.61

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนบุ าล 2 อนบุ าล 3

25.เด็กร้อยละ 80 มี จากตารางพบวา่ เดก็ ปฐมวยั สามารถอธิบายเชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลที่ 1.5
เกิดข้นึ ในสถานการณห์ รอื การกระทาได้ ซึ่งในช้ันอนบุ าล 2 มจี านวนรอ้ ย
ความ สามารถในการคดิ ละ 97.00 ช้ันอนบุ าล 3 มจี านวนร้อยละ 100 สูงกว่าเปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้
รวบยอด และคิดเชงิ
เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์ ดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาความพรอ้ มเด็กปฐมวัยด้านสตปิ ัญญา
จดั โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ยแหง่ ประเทศไทย โครงการพัฒนา
และวทิ ยาศาสตร์ วชิ าการและจดั คา่ ยวชิ าการปฐมวยั ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการด้าน
สตปิ ญั ญา สนทนาสือ่ สารได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหาความรู้
ได้ โดยมีผลการประเมนิ พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ดงั น้ี

102 แผนภมู ิแสดงผลการประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา
100 100 100
100

98 96.88 97.00

96 94.61

94

92

90 ปี 2563 ปี 2564
ปี 2562

อนุบาล 2 อนบุ าล 3

26

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ีได้

26.เดก็ รอ้ ยละ 85 จากตารางพบว่า เด็กปฐมวยั มีความสามารถในการคิดรวบยอด และคิด
สร้างสรรคผ์ ลงานตาม
ความคิด และจินตนาการ เชิงเหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ ชั้นอนุบาล 2 มจี านวน
เช่น งานศลิ ปะ การ
เคลื่อนไหว และท่าทาง ร้อยละ 97.00 และชน้ั อนบุ าล 3 มจี านวนร้อยละ 100 สงู กว่า
การเลน่ อสิ ระ
เปา้ หมายที่ต้งั ไว้

ดาเนนิ การจัดประสบการณ์การเรยี นการสอนตามแผนการจดั 1.5

ประสบการณ์การเรยี นรสู้ าหรบั เด็กปฐมวยั จัดกจิ กรรมร้อง เลน่ เตน้ อา่ น

ใหเ้ ด็กไดแ้ สดงออกตามศกั ยภาพของตน โดยมีผลการประเมนิ พัฒนาการ

ด้านสตปิ ญั ญา ดังน้ี

105 แผนภมู แิ สดงผลการประเมินพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา

100 100 100
100 96.88 97.00
95 94.61

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
อนุบาล 2 อนบุ าล 3

จากตารางพบว่า เด็กปฐมวัยสามารถสรา้ งสรรค์ผลงานตามความคิด และ

จนิ ตนาการ เชน่ งานศลิ ปะ การเคล่อื นไหว และทา่ ทางการเล่นอิสระ ซงึ่

ในชัน้ อนบุ าล 2 มจี านวนรอ้ ยละ 97.00 และชน้ั อนบุ าล 3 มีจานวน

ร้อยละ 100 สงู กวา่ เป้าหมายทีต่ ัง้ ไว้

27.เด็กรอ้ ยละ 85 ดาเนินงานตามโครงการหนูน้อย ICT ระดับปฐมวัย จัดให้มีกิจกรรมพัฒนา 1
สามารถใชส้ อ่ื เทคโนโลยี
ทกั ษะการใช้ Computer สาหรับเด็กปฐมวัย สง่ เสริมใหเ้ ด็กสืบคน้ ขอ้ มูลตา่ งๆ
เปน็ เครอ่ื งมือในการ
เรียนรู้ และแสวงหา ผ่าน Internet ทาให้เด็กสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ความรู้ได้
สอ่ื สารไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั วยั ได้รับประสบการณ์ตรง ผ่านการเล่น และการ

ปฏิบัตกิ ิจกรรมอยา่ งมีความสขุ มคี วามคิดรวบยอดเกี่ยวกบั สิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดจาก

ประสบการณ์การเรยี นรู้ โดยมีผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ดงั น้ี

105 แผนภูมแิ สดงผลการประเมนิ พฒั นาการด้านสติปญั ญา

100 100 100
100 96.88 97.00
95 94.61

90

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

อนบุ าล 2 อนบุ าล 3

27

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเด็นการพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนท่ีได้

จากตารางพบวา่ เด็กปฐมวัยสามารถใช้สื่อเทคโนโลยี เปน็ เครอื่ งมอื ในการ

เรียนรู้ และแสวงหาความรูไ้ ด้ ซ่ึงในช้ันอนบุ าล 2 มีจานวนรอ้ ยละ 97.00

และช้ันอนุบาล 3 มีจานวนร้อยละ 100 สูงกว่าเปา้ หมายทตี่ ง้ั ไว้

รวมคะแนนทไี่ ด้ 40

ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

แนวทางพัฒนาคุณภาพใหด้ ขี ึน้ กวา่ เดิม
1. จัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ซงึ่ เป็นกระบวนการจัดประสบการณ์

การเรียนรทู้ ี่สาคัญท่จี ะช่วยใหเ้ ด็กปฐมวัย ได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเองรว่ มกบั เพอ่ื น ผา่ นกจิ กรรมท่ีเด็กไดล้ งมอื ปฏิบตั ิ

จรงิ ดว้ ยตนเองผา่ นประสาทสมั ผสั ทงั้ 5 และเพ่ือให้เดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เปน็ การส่งเสริมพัฒนาการทง้ั
4 ดา้ นของเด็กตามศกั ยภาพของเดก็ แต่ละคน

2. สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ทกุ คนสามารถใชส้ อ่ื เทคโนโลยเี ปน็ เครือ่ งมอื ในการเรยี นรู้ และแสวงหา

ความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถเข้าสโู่ ปรแกรมการเรยี นการสอนออนไลนไ์ ด้

28

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลิศ

สถานศึกษาได้มีการวางแผนการวิเคราะห์เอกลกั ษณ์และอัตลกั ษณ์ รวมทั้งผลการประเมินตนเองของ

สถานศึกษาในปีการศึกษาท่ีผ่านมา เพ่ือนามาวางแผนในการสร้างระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

วิสัยทัศน์ และพันธกิจอย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา นโยบายของสานักงานเขตพื้นท่ี

การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุโขทัย เขต ๑ และความต้องการของชมุ ชน โดยได้เชญิ ผู้มสี ่วนเกีย่ วขอ้ งมารว่ มประชมุ

เพ่ือวางแผน และดาเนินการตามระบบบริหารที่สร้างขึ้น ในขณะดาเนินการได้มีการ กากับติดตามการ

ดาเนินงาน เพ่ือสร้างความม่ันใจต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา มีการติดตามการประเมินผล

อย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง เพื่อควบคุมให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ เช่น แผนปฏิบัติการประจาปี

หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย โดยได้ประชุมผู้มีส่วนเก่ียวข้องจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี จัดทา

หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน จัดให้มีครูเพียงพอและเหมาะสมกับ

ชั้นเรียน ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์เหมาะสมตรงความต้องการของครูและ

สถานศึกษา จดั ใหม้ ชี มุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี จดั สภาพแวดล้อมอย่างปลอดภยั และมีสอ่ื เพ่อื การเรียนร้อู ยา่ ง

เพียงพอและหลากหลาย ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ เพ่ือสนับสนุนการจัด

ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของ

สถานศึกษาท่ีเหมาะสมและต่อเนื่อง มีการชี้แนะ ระหว่างการปฏิบัติงาน ส่งผลต่อคุณภาพตามาตรฐานของ

สถานศกึ ษา บรู ณาการการปฏบิ ัตงิ านและเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วมจนเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี และ

ได้รับการยอมรบั จากชุมชนและหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง โดยมีผลการดาเนนิ งาน ดงั น้ี

ขอ้ มลู หลกั ฐานและเอกสารสนับสนนุ

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ไี ด้

1.สถานศึกษามหี ลกั สตู รสถานศกึ ษา มีหลกั สตู รสถานศึกษาท่ียืดหยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั 4

ท่ียืดหยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั หลักสูตร หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั และบรบิ ทของท้องถ่ิน ชือ่

การศึกษาปฐมวัยและบรบิ ทของ “หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย 2564”

ทอ้ งถน่ิ อกี ทงั้ มกี ารประเมินหลกั สูตร

สถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องและมี

ประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน

2.สถานศึกษาออกแบบการจดั -มแี ผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานตาม

ประสบการณท์ เี่ ตรยี มความพร้อมและ หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย 2564

ไม่เรง่ รดั วิชาการ เนน้ การเรยี นรูแ้ ละ -มีแผนปฏิบตั กิ ารของสถานศกึ ษา

ลงมอื ปฏบิ ัติ ตอบสนองความตอ้ งการ

และความแตกต่างของเด็กปกติ และ

กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะรวมทงั้ สอดคล้อง

กบั วิถีชวี ติ ของครอบครัว ชมุ ชน และ

ท้องถนิ่

3.สถานศึกษามีการจดั ครูใหเ้ หมาะสม -จานวนหอ้ งเรยี นระดบั ปฐมวยั มี 2 หอ้ งเรยี น แบง่ เป็น 4

กบั กับภารกิจการเรียนการสอน หรอื ช้นั อนุบาลปที ี่ 2 จานวน 1 ห้อง

จัดครูทจ่ี บการศึกษาปฐมวยั หรือผ่าน ชั้นอนุบาลปที ี่ 3 จานวน 1 ห้อง

29

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ไี ด้
4
การอบรมการศกึ ษาปฐมวยั อย่าง -จานวนข้าราชการครู ซึ่งจบเอกการศึกษาปฐมวยั จานวน

เพยี งพอกบั ชั้นเรยี น 2 คน

4.สถานศึกษาสง่ เสริมใหค้ ร(ู ปฐมวยั ) -มีรายงานผลการเข้าร่วมอบรมพฒั นาของครูผสู้ อน
ทุกคนมีทักษะในการจัดประสบการณ์ -จานวนครผู ้สู อนระดบั ปฐมวยั มจี านวน 2 คน ผา่ นการ
และการประเมนิ พฒั นาการเดก็ อกี ทงั้ อบรมทง้ั หมด ดงั น้ี
ใชป้ ระสบการณ์สาคัญในการ
จานวนชั่วโมงที่ได้รับการอบรม
ออกแบบและจดั กิจกรรมไดอ้ ยา่ งมี ช่ือ-สกลุ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รวม
ประสิทธิภาพ
นางศิรนิ ทพิ ย์ วฒั นวาณชิ ย์ 81.30 20 101.30

นางนวลสริ ิ ขันธท์ อง 15 5 20

5.สถานศึกษาส่งเสริมใหค้ รู(ปฐมวัย) -มีแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

ทกุ คน มกี ารสงั เกตและประเมนิ เดก็ -มีบนั ทกึ ผลหลงั การจัดประสบการณ์

เปน็ รายบคุ คล -มกี ารศึกษาเดก็ เป็นรายกรณี Case Study

6.สถานศึกษาสง่ เสริมให้คร(ู ปฐมวยั ) -ดาเนินการจดั กจิ กรรมการเย่ียมบ้านนกั เรียน ตาม

ทกุ คน มปี ฏิสัมพนั ธท์ ด่ี กี ับเดก็ และ โครงการสง่ เสรมิ ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

ครอบครัว -ดาเนินการจัดประชมุ ผูป้ กครองนกั เรยี นภาคเรยี นละ 1

ครง้ั ตามโครงการสานสมั พนั ธช์ ุมชน สง่ ผลให้ครู(ปฐมวยั )

ทกุ คนมีปฏสิ ัมพนั ธ์ทดี่ กี บั เด็กและครอบครัว หลกั ฐาน

อา้ งองิ คือ บันทึกการเย่ียมบา้ นนกั เรียน

-สมดุ รายงานประจาตวั นกั เรียน อบ.1/2 และ อบ.1/3

7.สถานศึกษาสง่ เสริมใหค้ ร(ู ปฐมวัย) -จัดให้มกี ารประชมุ PLC เพ่อื แลกเปล่ียนเรยี นรทู้ กุ วัน

ทุกคนพัฒนาการจัดประสบการณเ์ ดก็ จนั ทร์ พุธ ศุกร์ ตงั้ แต่เวลา 15.30-16.30 น. ส่งผลให้

ดว้ ยการใช้ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ ครู(ปฐมวยั )ทุกคนพฒั นาการจัดประสบการณเ์ ดก็ ดว้ ยการ

(Professional Learning ใชช้ ุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning

Community: PLC) เปน็ วิธีการใน Community: PLC) เป็นวธิ กี ารในการพฒั นา

การพฒั นา เอกสารอา้ งองิ คอื บันทึกกจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นร้ทู าง

วชิ าชพี (Professional Learning Community :PLC)

8.สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดล้อม -ดาเนินการจดั กจิ กรรมตามโครงการการจดั บรรยากาศท่ี 3
ภายในและภายนอกห้องเรียนท่ี เอื้อตอ่ การเรียนรใู้ ช้สอ่ื และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย

คานงึ ถึงความปลอดภัยของเด็ก กิจกรรมปรับปรุงภูมทิ ศั น์จัดแหลง่ เรยี นรู้ กจิ กรรมพฒั นา
ห้องเรยี น (กจิ กรรม 5 ส.) ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษามี
สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกหอ้ งเรียนทีค่ านงึ ถงึ

ความปลอดภัยของเด็ก

30

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนที่ได้

9.สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มท่ี -ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมตามโครงการการจดั บรรยากาศที่

ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรเู้ ป็น เอ้ือต่อการเรยี นรู้ใช้สอื่ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย

รายบุคคลและเปน็ กลุ่ม เลน่ แบบ กิจกรรมปรบั ปรงุ ภูมทิ ศั นจ์ ดั แหล่งเรียนรู้ กิจกรรมพฒั นา

รว่ มมือรว่ มใจ ห้องเรยี น (กจิ กรรม 5 ส.)

และมีแหลง่ เรยี นรู้ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น สง่ ผลใหส้ ถานศึกษา

มีสภาพแวดล้อมท่สี ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กเกดิ การเรียนรู้เปน็

รายบุคคลและเป็นกลมุ่ เล่นแบบรว่ มมอื ร่วมใจ

10.สถานศกึ ษาจัดมมุ ประสบการณ์ท่ี -ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมตามโครงการจดั ประสบการณท์ ี่

หลากหลาย มสี ือ่ การเรยี นรู้ เช่น ของ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ทมี่ ีพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดลุ เต็ม

เล่น หนงั สอื นทิ าน สอื่ จากธรรมชาติ ศักยภาพ

ส่อื สาหรบั เดก็ มดุ ลอด ปีนปา่ ย สื่อ -ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมตามโครงการสรา้ งโอกาสให้เดก็ ได้

เทคโนโลยี สือ่ เพือ่ การสบื เสาะหา ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสุข

ความรู้ -ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมตามโครงการการจดั บรรยากาศท่ี

เอื้อต่อการเรียนรู้ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับวยั

โดยภายในหอ้ งเรยี นมมี มุ ประสบการณท์ หี่ ลากหลาย เช่น

มมุ บลอ็ ก มมุ นิทาน มุมของเลน่ มมุ ดนิ นา้ มนั มุม

วทิ ยาศาสตร์ มมุ สอ่ื และเทคโนโลยี มมุ ทนี่ อน มมุ แปรงฟัน

อยา่ งนอ้ ย 4 มมุ ขึ้นไป มีสนามเดก็ เลน่ บา้ นต้นไม้ มีแหล่ง

เรียนรู้ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ส่งผลให้สถานศกึ ษามจี ัดมุม

ประสบการณท์ ห่ี ลากหลาย มสี อื่ การเรียนรู้ เชน่ ของเลน่

หนังสือนิทาน ส่ือจากธรรมชาติ ส่อื สาหรบั เดก็ มดุ ลอด ปนี

ปา่ ย สือ่ เทคโนโลยี สอ่ื เพอ่ื การสบื เสาะหาความรู้ ที่

เหมาะสมและพอเพียงสาหรบั เด็กปฐมวัย

11.สถานศกึ ษาอานวยความสะดวก -สถานศกึ ษามีโทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ ครบทกุ 3

และใหบ้ ริการสอื่ เทคโนโลยี ห้องเรยี นและมี Internet ความเร็วสงู ครบทกุ ห้องเรียน

สารสนเทศ วสั ดุอปุ กรณ์ เพอื่ ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นว่าสถานศึกษาอานวยความสะดวกและ

สนับสนนุ การจัดประสบการณ์สาหรบั ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ วัสดุอปุ กรณ์ เพื่อ

ครูอยา่ งเพียงพอและเหมาะสมกบั สนบั สนุนการจัดประสบการณส์ าหรบั ครูอย่างเพียงพอ

บริบทของสถานศกึ ษา และเหมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา

12.สถานศกึ ษามีระบบบริหารจัดการ -มกี ารประชมุ ผู้ปกครองนักเรยี นภาคเรียนละ 1 คร้ัง ตาม 4

คณุ ภาพของสถานศกึ ษาที่เหมาะสม โครงการประชมุ ผูป้ กครองนักเรยี น และมปี ระชมุ
และต่อเนอ่ื ง มกี ารชีแ้ นะระหวา่ งการ คณะกรรมการสถานศึกษาตามโครงการประชุมสัมมนา
ปฏิบตั งิ าน สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพตาม คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานสง่ ผลใหส้ ถานศกึ ษา
มาตรฐานของสถานศกึ ษา บรู ณาการ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาที่เหมาะสม
การปฏบิ ตั งิ านและเปดิ โอกาสให้ และตอ่ เนือ่ ง มกี ารช้แี นะระหว่างการปฏบิ ตั ิงานสง่ ผลตอ่

31

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเด็นการพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนท่ีได้
ผเู้ ก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ มจนเป็น
แบบอยา่ งท่ดี ีและไดร้ ับการยอมรับ คุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา บรู ณาการการ
จากชุมชนและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง ปฏิบตั งิ านและเปิดโอกาสใหผ้ ้เู ก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม
จนเป็นแบบอย่างทด่ี แี ละไดร้ บั การยอมรบั จากชมุ ชนและ
13.สถานศกึ ษามีการนิเทศภายใน หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง เอกสารอ้างองิ คือ สมดุ บันทกึ การ
สถานศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง เพ่ือการ ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
พฒั นาการจัดการเรียนการสอนอย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพ -ดาเนินการตามโครงการนิเทศ กากบั ตดิ ตามประเมนิ ผล
เพือ่ พฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา มกี ารนเิ ทศ ติดตาม
การสอนของครแู ตล่ ะชัน้ เรียนในสถานศกึ ษา
เอกสารอ้างองิ คอื แบบบันทึกการนเิ ทศติดตาม

รวมคะแนนท่ไี ด้ 22
ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ

แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดขี น้ึ กวา่ เดิม
1. ส่งเสรมิ ให้ครู (ปฐมวัย) ทกุ คน มกี ารพฒั นาตนเองเพื่อเพม่ิ พนู ทักษะในการจัดประสบการณใ์ หแ้ ก่

เด็กปฐมวัย อกี ทง้ั สามารถใชป้ ระสบการณส์ าคัญในการออกแบบและจดั กจิ กรรมไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ส่งเสรมิ ใหค้ รู (ปฐมวัย) ทกุ คน พฒั นาการจดั ประสบการณใ์ หเ้ ด็กด้วยการใชช้ มุ ชนแห่งการเรียนรู้

ทางวิชาชพี เพ่อื พฒั นาการจดั ประสบการณ์และกจิ กรรมใหม้ ีประสทิ ธิภาพยง่ิ ข้ึน

32

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เป็นสาคญั ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

สถานศกึ ษาไดน้ าผลการประเมินตนเอง (SAR) รวมท้งั แนวทางการพฒั นาเพื่อนามาเป็นข้อมลู ในการ

วางแผนเพื่อดาเนินการ ให้ครูจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ

มีการวิเคราะหข์ ้อมูลเด็กเป็นรายบคุ คล เพื่อเป็นข้อมูลในการจดั ประสบการณ์/กิจกรรม และช่วยเหลืออยา่ ง

เหมาะสมกับเด็ก มีแผนและใช้แผนการจดั ประสบการณ์ท่ีส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีพฒั นาการครบทุกด้าน โดยความ

ร่วมมือของพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง สร้างโอกาสให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั ิ

กิจกรรมการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข ครูสามารถจัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการ

เรียนรู้ สามารถใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ช่วงอายุ ระยะความสนใจของเด็ก สภาพแวดล้อมใน

หอ้ งเรยี นสะอาด ปลอดภัย อากาศถา่ ยเทสะดวก และเดก็ มสี ่วนร่วมในการจัดห้องเรยี นให้เปน็ ระเบยี บสวยงาม

มีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด

ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก มีการวิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยการมสี ่วนร่วมของผู้ปกครอง

และชมุ ชน และนาผลมาพัฒนาการจัดการศกึ ษาเพ่อื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีสถานศึกษาไดก้ าหนดไว้ โดยมผี ลการ

ดาเนนิ งาน ดังนี้

ขอ้ มูลหลกั ฐาน และเอกสารสนบั สนนุ

ประเด็นการพจิ ารณา ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ไี ด้

1.ครู (ปฐมวยั ) ทุกคน มกี าร -จัดทาแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ศกึ ษาเด็กเปน็ รายกรณี 4

วิเคราะหข์ อ้ มูลเดก็ เป็น Case Study และเย่ยี มบ้านนกั เรียน สง่ ผลให้ครู(ปฐมวัย) ทกุ คน

รายบุคคล เพอื่ เป็นข้อมลู ใน มีการวเิ คราะห์ข้อมลู เดก็ เป็นรายบุคคล เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ในการจัด

การจดั ประสบการณ์/ ประสบการณ์/กจิ กรรม และช่วยเหลืออยา่ งเหมาะสมกบั เดก็

กจิ กรรม และชว่ ยเหลอื อย่าง เอกสารอ้างอิง คือ แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ บันทึกผล

เหมาะสมกับเดก็ หลงั การจดั ประสบการณ์ บนั ทึกการเย่ียมบ้านนกั เรยี น สมุด

รายงานประจาตวั นกั เรยี น อบ.1/2 และอบ.1/3

2.ครู (ปฐมวยั ) ทุกคน มี -จัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ศกึ ษาเดก็ เป็นรายกรณี 3

แผนและใชแ้ ผนการจดั Case Study และจดั ให้มกี ารประชุม PLC เพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรู้

ประสบการณ์ทส่ี ง่ เสรมิ ให้ การจดั ประสบการณ์ใหก้ ับเดก็ ดว้ ยการใช้ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้

เดก็ มีพฒั นาการครบทุกดา้ น (Professional Learning Community:PLC)สง่ ผลให้ครู (ปฐมวัย)

ทัง้ ดา้ นร่างกาย อารมณ์- ทุกคน มีแผนและใชแ้ ผนการจดั ประสบการณ์ทส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มี

จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา พัฒนาการครบทุกดา้ น ทั้งด้านรา่ งกาย อารมณ์-จิตใจ สงั คม และ

อย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ สติปัญญาอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ โดยความรว่ มมอื ของพอ่ แม่

โดยความร่วมมอื ของพ่อแม่ ครอบครวั ชุมชนและผ้เู กีย่ วขอ้ ง และเปน็ แบบอย่างที่ดี

ครอบครัว ชมุ ชนและ เอกสารอ้างอิง คอื บนั ทกึ ผลหลังการจัดประสบการณ์ แบบบนั ทกึ

ผู้เกยี่ วข้อง และเปน็ เดก็ เป็นรายกรณี Case Studyบันทึกกจิ กรรมชมุ ชนการเรียนร้ทู าง

แบบอย่างท่ดี ี วิชาชีพ (Professional Learning Community :PLC)

33

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดาเนินงาน คะแนนที่ได้

3.ครู (ปฐมวยั ) ทกุ คน สรา้ ง -ดาเนินการจดั กจิ กรรมตามโครงการจดั ประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมใหเ้ ดก็ 4
ทมี่ พี ฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ
โอกาสให้เด็กไดร้ บั
-ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมตามโครงการสร้างโอกาสให้เด็กไดป้ ระสบการณ์
ประสบการณต์ รง เลน่ และ ตรง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสุข
ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเรยี นรู้ ลงมือ
-จดั ทาแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ สง่ ผลใหค้ รู(ปฐมวัย)ทุกคน
ทาและสร้างองค์ความรดู้ ว้ ย
ตนเองอยา่ งมคี วามสุข สามารถสร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เล่น และปฏบิ ัติ
กจิ กรรมเรียนรู้ ลงมือทาและสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งมคี วามสขุ

เอกสารอา้ งอิง คอื บันทึกผลหลังการจดั ประสบการณ์

4.ครู (ปฐมวัย) ทุกคน -มีมุมเสรมิ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้สาหรบั เดก็ เช่น มมุ บลอ็ ก มมุ 4

จดั บรรยากาศ และสภาพ นทิ าน มมุ ของเลน่ มมุ สือ่ และเทคโนโลยี มมุ ดนิ น้ามนั มมุ แปรงฟนั
แวดลอ้ มในห้องเรียนไดส้ ะอาด มมุ ทนี่ อน
ปลอดภยั อากาศถา่ ยเท
-มีมุมแสดงผลงานนักเรียน และปา้ ยนเิ ทศ
สะดวก เดก็ มีสว่ นร่วมในการ

จดั ห้องเรียน เช่น ปา้ ย

นิเทศ การจัดมุมตา่ งๆ การ

เกบ็ ดแู ลรักษาของเล่น สงิ่ ของ

เครอ่ื งใช้ ให้เปน็ ระเบยี บ

สวยงาม

5.ครู (ปฐมวยั ) ทกุ คน ใชส้ อ่ื -มีโทรทศั น์ และคอมพิวเตอร์ ครบทุกหอ้ งเรียน 4

เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั -มี Internet ความเร็วสงู ครบทกุ หอ้ งเรียน

ช่วงอายุ ระยะความสนใจ

และวถิ กี ารเรยี นรูข้ องเดก็

6.ครู (ปฐมวัย) ทกุ คน -มีการประเมนิ พฒั นาการทห่ี ลากหลายตรงตามหลกั สตู รการศกึ ษา 3

ประเมนิ พัฒนาการเดก็ จาก ปฐมวยั พุทธศักราช 2560

กจิ กรรมและกิจวตั รประจาวัน -มแี บบประเมินและแบบสรุปผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย

ด้วยเครอ่ื งมือและวิธกี ารที่ ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

หลากหลาย มีการนาผลการ -มีการรายงานผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ให้ผปู้ กครองทราบปี

ประเมนิ ทีไ่ ด้ไปพฒั นาคุณภาพ การศึกษาละ 2 ครงั้

เด็ก และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้

การจดั ประสบการณท์ ีม่ ี

ประสทิ ธิภาพ

รวมคะแนนทไ่ี ด้ 22

ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ

34

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด้ ีขน้ึ กวา่ เดิม
1. สง่ เสรมิ ครูใหท้ าการวิจัยในชนั้ เรยี น เพ่ือนาผลของงานวิจัยน้นั ไปพฒั นาการเรียนการสอนใหม้ ี

ประสิทธภิ าพย่ิงขน้ึ และเพื่อเพม่ิ พนู ศักยภาพการเรยี นรู้ของนกั เรยี น
2. ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนทุกคนได้เรียนรผู้ ่านประสบการณต์ รง เล่น และลงมือปฏบิ ตั ผิ ่านประสาทสัมผัส

ทง้ั 5 เพอ่ื เปน็ การสรา้ งองค์ความรทู้ ด่ี ใี หก้ ับนักเรยี น
3. สง่ เสรมิ ใหค้ รูมกี ารผลติ และจดั หาส่ือการเรยี นร้ทู เ่ี ออื้ ต่อการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นการสอนให้

เหมาะสมกับวัยและมคี วามหลากหลายยิง่ ขน้ึ

35

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ภาคผนวก

- บนั ทกึ การพจิ ารณาให้ความเห็นชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
- คาสั่งแตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาและคณะกรรมการ

จดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) โรงเรยี นบา้ นสนามบิน(ประชา
ศกึ ษา) ปีการศึกษา 2564 ระดบั ปฐมวัย และระดบั ขั้นพน้ื ฐาน
- ประกาศโรงเรยี น เร่ือง ใหใ้ ชม้ าตรฐานและการกาหนดคา่ เป้าหมายการศึกษาของ
สถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาปฐมวยั เพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
- แนวทางการใหร้ ะดบั คุณภาพของสถานศกึ ษา
- โครงสรา้ งหลักสตู รปฐมวัยในปกี ารศกึ ษาทีท่ ารายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
- การเผยแพรท่ างเวบ็ ไซต์ www.bansanambin.com

36

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

บันทึกการพิจารณาให้ความเหน็ ชอบเอกสาร
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2564

ของโรงเรียนบา้ นสนามบิน(ประชาศกึ ษา)
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุโขทยั เขต 1

..........................................
มติทป่ี ระชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานโรงเรยี นบา้ นสนามบิน(ประชาศกึ ษา) เมอื่ วันท่ี 10
พฤษภาคม พ.ศ. 2565 คณะกรรมการสถานศกึ ษา ได้พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ รายงานการประเมนิ ตนเอง
ของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวยั ปกี ารศึกษา 2564 ด้วยมติเป็นเอกฉนั ท์ ใช้รายงานตอ่ หน่วยงาน
ต้นสงั กัดและสาธารณชนได้

ลงช่ือ
(นายสมชาย พมุ่ ธนวัฒน์)

ประธานคณะกรรมการการศึกษา
โรงเรียนบา้ นสนามบนิ (ประชาศกึ ษา)

ลงช่อื
(นายสมชาย ป้อมแก้ว)

ผ้อู านวยการโรงเรียนบา้ นสนามบนิ (ประชาศกึ ษา)

37

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

คาสัง่ โรงเรยี นบา้ นสนามบนิ (ประชาศกึ ษา)
ที่ 024/2565

เร่อื ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา
และคณะกรรมการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR)
โรงเรียนบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั ปฐมวัย และระดับขน้ั พ้ืนฐาน

…………………………………………………..
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพ
การศึกษามาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

ทุกระดับประกอบด้วยระบบประกันภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบหลักเกณฑ์และ
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัด
และสถานศึกษา จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน

เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบรหิ ารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และตามกฎกระทรวงว่าด้วย
ระบบ หลกั เกณฑ์และวิธกี ารประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 การประกนั คุณภาพภายในของ
สถานศึกษาที่กาหนดให้มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นกลไกหลักในการ

ขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ อันส่งผลต่อการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีการจดั ทารายงานประจาปี เสนอตอ่ หนว่ ยงานต้นสงั กัด หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา และเพอื่ รองรบั การประกนั

คุณภาพภายนอกโรงเรียนบ้านสนามบิน(ประชาศึกษา) จึงแต่งตั้งบุคคลในท้ายคาส่ังนี้เป็นคณะกรรมการ
ประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพอื่ ทาการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย และมาตรฐานการศกึ ษา
ข้นั พน้ื ฐานใหแ้ ลว้ เสรจ็ ดงั ต่อไปนี้

1. คณะกรรมการอานวยการ ประกอบด้วย

1.1 นายสมชาย ป้อมแกว้ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นสนามบินฯ ประธานกรรมการ

1.2 นายสมชาย พุ่มธนวฒั น์ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ กรรมการ
กรรมการ
1.3 นางรินดา ศรชี ัยยะ ครูโรงเรยี นบา้ นสนามบินฯ กรรมการ

1.4 นางศิรินทพิ ย์ วฒั นวาณิชย์ ครโู รงเรยี นบ้านสนามบนิ ฯ กรรมการและเลขานกุ าร

1.5 นางอัมพาพรรณ จิ๋วนารายณ์ ครูโรงเรยี นบ้านสนามบนิ ฯ

มหี น้าที่ ใหค้ าแนะนา ปรกึ ษา อานวยความสะดวก แกไ้ ขปญั หาในการดาเนนิ การประเมนิ คณุ ภาพ

ภายในสถานศกึ ษา แกค่ ณะกรรมการดาเนนิ งาน เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ งานเป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยและมี
ประสิทธิภาพ

38

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

2.คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย ประกอบด้วย
2.1 นางศริ ินทิพย์ วฒั นวาณชิ ย์ ครโู รงเรยี นบา้ นสนามบนิ ฯ ประธานกรรมการ

2.2 นางสาวบุษกร บวั เผอ่ื น ครโู รงเรียนบ้านสนามบนิ ฯ กรรมการ
2.3 นางนวลสริ ิ ขนั ธท์ อง ครูโรงเรยี นบ้านสนามบินฯ กรรมการและเลขานุการ

3. คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ประกอบด้วย

3.1 นายสมชาย ป้อมแก้ว ผูอ้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

3.2 นางรนิ ดา ศรีชยั ยะ ครูโรงเรยี นบ้านสนามบินฯ กรรมการ

3.3 นางกัญญภัค ออ่ นชาวนา ครโู รงเรยี นบา้ นสนามบนิ ฯ กรรมการ

3.4 นางสาวดายิน คดิ อา่ น ครโู รงเรยี นบา้ นสนามบนิ ฯ กรรมการ

3.5 นายสรุ เชษฐ์ ชูเตชะ ครโู รงเรียนบา้ นสนามบินฯ กรรมการ

3.6 นางสธุ าสินี ศรีอรณุ นริ ันดร์ ครูโรงเรยี นบา้ นสนามบินฯ กรรมการ

3.8 นางสาวสุวรรณา บุญคง ครูโรงเรยี นบ้านสนามบินฯ กรรมการ

3.9 นางสาวธญั ลกั ษณ์ มง่ิ กลิน่ ครโู รงเรยี นบา้ นสนามบินฯ กรรมการ

3.10 นางอมั พาพรรณ จวิ๋ นารายณ์ ครูโรงเรยี นบา้ นสนามบินฯ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา มหี นา้ ท่ดี งั นี้

1. วางแผนกาหนดแนวทางและวิธีการดาเนนิ การประกันคณุ ภาพภายในโรงเรยี น
2. กากับ ตดิ ตาม และใหข้ ้อเสนอแนะเก่ียวกบั การดาเนนิ การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน
สถานศึกษา

3. เสนอแต่งตงั้ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพฯจากตัวแทนในคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพ
การศกึ ษาภายในสถานศึกษา และทาหน้าทต่ี รวจสอบ ทบทวน รายงานคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา

4. ให้โรงเรยี นจดั ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในโรงเรียนเปน็ สว่ นหน่งึ ของการบรหิ าร

การศึกษาที่ประกอบด้วย 8 ประการคือ
1) การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2) จัดทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาทีม่ งุ่ คณุ ภาพมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา
3) จดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4) การดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา

5) จัดให้การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา
6) จัดใหม้ กี ารประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
7) จัดทารายงานประจาปีทเี่ ป็นรายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายใน

8) จัดให้มกี ารพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง
5. กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบและใหข้ อ้ เสนอแนะเก่ยี วกบั การดาเนินการประกนั คุณภาพการศึกษา
ภายในของสถานศึกษา

39

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

4. คณะกรรมการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564

ประกอบดว้ ย

๔.๑. นายสมชาย ป้อมแกว้ ผอู้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

4.2 นางรินดา ศรีชัยยะ ครโู รงเรียนบา้ นสนามบินฯ กรรมการ

๔.๒. นางสาวดายิน คิดอา่ น ครโู รงเรยี นบา้ นสนามบินฯ กรรมการ

๔.3. นางศริ ินทพิ ย์ วัฒนวาณชิ ย์ ครูโรงเรียนบา้ นสนามบนิ ฯ กรรมการ

๔.4. นางอมั พาพรรณ จิว๋ นารายณ์ ครโู รงเรยี นบ้านสนามบนิ ฯ กรรมการและเลขานุการ

มีหนา้ ที่ ดาเนินการรวบรวมขอ้ มลู จดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR)
ปีการศกึ ษา2564 เพ่ือนาเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และเสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กัด
หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องให้คณะกรรมการท่ไี ดร้ ับการแต่งตงั้ ดาเนินการประเมนิ ตรวจสอบตามรปู แบบการ
ประเมนิ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลครบถว้ น ถกู ตอ้ งตามสภาพความเป็นจรงิ ทสี่ ุด จัดส่งหนว่ ยงานต้นสงั กดั ตามเวลาที่
กาหนด

ท้ังนี้ขอให้บุคลากรทีได้รับแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเคร่งครัด เพ่ือให้เกิดความเรียบร้อยตาม
วตั ถปุ ระสงค์ และเกิดผลดีตอ่ ทางราชการตอ่ ไป

ทงั้ น้ี ตง้ั แต่บดั นีเ้ ปน็ ตน้ ไป
สงั่ ณ วนั ที่ 31 มนี าคม พ.ศ. 2565

(นายสมชาย ป้อมแก้ว)
ผอู้ านวยโรงเรยี นบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา)

40

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

ประกาศโรงเรียนบา้ นสนามบิน(ประชาศึกษา)
เรอื่ ง มาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายความสาเรจ็ ระดบั ปฐมวัย

************************************************
ด้วยกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ท่ีกาหนดใหส้ ถานศึกษาต้องมี
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษานน้ั ในการประชุม ครงั้ ที่ 1 เม่ือวันที่ 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 คณะกรรมการ
สถานศึกษา ข้ันพื้นฐานของโรงเรียนบ้านสนามบิน(ประชาศึกษา) มีมติเห็นชอบร่างมาตรฐานการศึกษาและ
เป้าหมายความสาเร็จท่ีทางโรงเรียนบ้านสนามบิน(ประชาศึกษา) ได้เสนอมา จึงประกาศ เรื่อง มาตรฐาน
การศึกษาและเป้าหมายความสาเรจ็ ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา) ระดับ
ปฐมวัย เพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรบั การส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และ
การประกันคุณภาพทางการศึกษาของโรงเรียน ตลอดจนเป็นกลไกการพัฒนาร่วมกันระหว่างโรงเรียนบ้าน
สนามบิน(ประชาศกึ ษา) กบั ผ้มู สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง และสรา้ งความเชอื่ ม่นั ให้แก่สังคม ชมุ ชน ผู้ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง รายละเอยี ด
ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี ทั้งน้ีตง้ั แต่บัดน้ีเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 1 เดือนมถิ นุ ายน พ.ศ. 2564

(นายสมชาย ปอ้ มแก้ว)
ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา)

41

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

เอกสารแนบท้ายประกาศโรงเรียนบา้ นสนามบิน(ประชาศึกษา)
เร่อื ง มาตรฐานการศกึ ษาและเปา้ หมายความสาเร็จระดบั ปฐมวัย

ประกาศ ณ วันที่ 1 เดือนมถิ ุนายน พ.ศ. 2564
โรงเรยี นบา้ นสนามบิน(ประชาศกึ ษา) กาหนดมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั โดยกาหนดเป้าหมาย
ความสาเร็จของสถานศกึ ษาโดยรวมอยใู่ นระดับดีเลิศ โดยมเี ปา้ หมายของแตล่ ะมาตรฐาน ดังน้ี
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก

1.1 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ัยท่ดี ีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
1.1.1 เดก็ รอ้ ยละ 90 มนี ้าหนกั ส่วนสงู ตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามยั
1.1.2 เด็กรอ้ ยละ 85 มสี ขุ ภาพอนามยั และสุขนสิ ัยทด่ี ี
1.1.3 เด็กรอ้ ยละ 85 ปฏิบตั ิตนตามขอ้ ตกลงของห้องเรยี น รวมท้ังเล่นและปฏิบตั ิ
กิจกรรมได้อยา่ งปลอดภัยทั้งตอ่ ตนเองและต่อผอู้ นื่
1.1.4 เดก็ รอ้ ยละ 85 รู้และปฏบิ ตั ติ นเพ่อื หลกี เล่ียงสภาวะท่เี สยี่ งต่อโรค ส่ิงเสพติด
และระวงั ภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณท์ ่เี สย่ี งต่ออนั ตราย
1.1.5 เดก็ รอ้ ยละ 90 สามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่

1.2 เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.2.1 เด็กรอ้ ยละ 90 รา่ เรงิ แจม่ ใส สามารถแสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ได้สอดคล้องกับ
สถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสมตามวยั
1.2.2 เด็กรอ้ ยละ 85 กล้าพดู กลา้ แสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2.3 เด็กรอ้ ยละ 85 สนใจในศลิ ปะ ดนตรี มคี วามสุขและแสดงทา่ ทางการเคลอ่ื นไหว
ประกอบเพลง จังหวะ และดนตรไี ด้ และสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะได้เหมาะสมตามวยั
1.2.4 เดก็ รอ้ ยละ 85 มคี วามเมตตากรณุ า มนี า้ ใจ ชว่ ยเหลอื และแบ่งปนั สามารถ
ทางานทไี่ ดร้ บั มอบหมายจนสาเรจ็ ไดด้ ้วยตนเอง
1.2.5 เดก็ รอ้ ยละ 85 รจู้ ักยบั ยง้ั ชงั่ ใจ อดทนในการรอคอย และรจู้ กั อดกลัน้ ต่อสง่ิ เร้า
ที่มากระทบหรือพบเห็น
1.2.6 เดก็ รอ้ ยละ 85 มจี ติ สานึกและค่านิยมท่ดี ี เคารพสิทธิ ร้หู น้าทีร่ บั ผิดชอบ
ซ่ือสตั ยส์ ุจริต มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
1.2.7 เดก็ รอ้ ยละ 85 ยอมรบั และพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและ
ผูอ้ ่ืน

1.3 เด็กมีพฒั นาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสังคม
1.3.1 เดก็ รอ้ ยละ 85 สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั กิ ิจวตั รประจาวันได้
เหมาะสม
1.3.2 เดก็ รอ้ ยละ 85 มวี ินยั ในตนเอง เกบ็ ของเลน่ ของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วย
ตนเอง
1.3.3 เดก็ รอ้ ยละ 85 ใช้สิ่งของเครื่องใชอ้ ย่างประหยัดและพอเพียง
1.3.4 เด็กรอ้ ยละ 85 สามารถดูแลรกั ษาธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอก
ห้องเรยี น รวมท้ังทง้ิ ขยะไดถ้ กู ทด่ี ว้ ยตนเอง

42

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

1.3.5 เดก็ รอ้ ยละ 85 สามารถปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
เชน่ การไหว้ การยิ้ม ทกั ทาย และมสี มั มาคารวะกับผู้ใหญ่
1.3.6 เดก็ รอ้ ยละ85 สามารถเลน่ หรอื ทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ และยอมรับหรอื เคารพความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลได้
1.3.7 เดก็ รอ้ ยละ 85 สามารถปฏบิ ัติตนเปน็ ผนู้ าและผู้ตามไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์
1.4 เด็กมพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มีทักษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้
1.4.1 เด็กรอ้ ยละ 85 สามารถสนทนาโต้ตอบและเลา่ เรอื่ งใหผ้ ้อู ืน่ เขา้ ใจได้
1.4.2 เดก็ รอ้ ยละ 85 สามารถ จบั คู่ เปรยี บเทยี บ จาแนก จัดกลมุ่ และเรยี งลาดับ
เหตกุ ารณไ์ ด้
1.4.3 เดก็ รอ้ ยละ 85 สามารถตง้ั คาถามในสิง่ ทีต่ นเองสนใจหรือสงสยั และค้นหา
คาตอบโดยใช้วธิ กี ารท่ีหลากหลายดว้ ยตนเองได้
1.4.4 เดก็ รอ้ ยละ 80 สามารถระบปุ ญั หา สรา้ งทางเลอื ก และเลอื กวธิ ีแกป้ ญั หาได้
1.4.5 เด็กรอ้ ยละ 80 สามารถอธบิ ายเช่ือมโยงสาเหตแุ ละผลทีเ่ กดิ ข้ึนในสถานการณ์
หรือการกระทาได้
1.4.6 เด็กรอ้ ยละ 80 มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด และคิดเชิงเหตผุ ลทาง
คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์
1.4.7 เด็กรอ้ ยละ 85 สรา้ งสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศลิ ปะ
การเคลอ่ื นไหว และทา่ ทางการเลน่ อสิ ระ
1.4.8 เด็กรอ้ ยละ 85 สามารถใช้สอื่ เทคโนโลยเี ป็นเครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้ และแสวงหา
ความรไู้ ด้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
2.1 มหี ลกั สูตรทคี่ รอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของทอ้ งถ่ิน
2.1.1 สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรสถานศกึ ษาทยี่ ืดหยุ่น และสอดคล้องกบั หลักสตู ร
การศึกษาปฐมวัย และบรบิ ทของท้องถ่ิน อกี ท้ังมีการประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษาให้
สอดคล้องและมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ
2.1.2 สถานศกึ ษาออกแบบการจัดประสบการณ์ทเี่ ตรียมความพรอ้ มและไม่เรง่ รดั
วชิ าการ เนน้ การเรยี นรแู้ ละลงมอื ปฏบิ ตั ิ ตอบสนองความต้องการและความแตกตา่ ง
ของเด็กปกติ และกลุม่ เปา้ หมายเฉพาะ รวมทง้ั สอดคล้องกับวิถีชีวติ ของครอบครัว
ชุมชน และท้องถิ่น
2.2 จัดครใู หเ้ พยี งพอกบั ชั้นเรยี น
2.2.1 สถานศกึ ษามีการจัดครูให้เหมาะสมกบั กบั ภารกจิ การเรยี นการสอน หรือจดั ครทู ี่
จบการศกึ ษาปฐมวัย หรอื ผา่ นการอบรมการศกึ ษาปฐมวัยอย่างเพียงพอกบั ช้นั เรยี น
2.3 ส่งเสริมใหค้ รมู คี วามชานาญดา้ นการจดั ประสบการณ์

43

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

2.3.1 สถานศกึ ษาส่งเสริมใหค้ รู (ปฐมวยั ) ทกุ คน มีทกั ษะในการจดั ประสบการณ์และ
การประเมินพฒั นาการเด็ก อกี ทงั้ ใชป้ ระสบการณส์ าคัญในการออกแบบและจดั
กจิ กรรมได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.3.2 สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ ให้ครู (ปฐมวยั ) ทกุ คน มกี ารสงั เกตและประเมนิ เดก็ เปน็
รายบคุ คล
2.3.3 สถานศกึ ษาส่งเสรมิ ใหค้ รู (ปฐมวยั ) ทุกคน มีปฏสิ มั พนั ธ์ทดี่ ีกับเด็กและ
ครอบครวั
2.3.4 สถานศึกษาสง่ เสรมิ ให้ครู (ปฐมวยั ) ทกุ คน พฒั นาการจัดประสบการณเ์ ดก็ ด้วย
การใช้ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community: PLC) เปน็ วธิ ีการ
ในการพฒั นา
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสือ่ เพ่ือการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ
2.4.1 สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกหอ้ งเรยี นทค่ี านงึ ถึงความ
ปลอดภยั ของเดก็
2.4.2 สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทส่ี ง่ เสริมใหเ้ ด็กเกดิ การเรียนรเู้ ปน็ รายบคุ คลและ
เป็นกลมุ่ เล่นแบบรว่ มมอื รว่ มใจ
2.4.3 สถานศกึ ษาจดั มมุ ประสบการณท์ ีห่ ลากหลาย มสี อื่ การเรียนรู้ เช่น ของเล่น
หนังสอื นทิ าน สื่อจากธรรมชาติ ส่ือสาหรบั เด็กมดุ ลอด ปนี ป่าย สอื่ เทคโนโลยี สอ่ื เพื่อ
การสบื เสาะหาความรู้
2.5 ให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ การเรียนรูเ้ พอื่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์
2.5.1 สถานศึกษาอานวยความสะดวกและให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ
อปุ กรณ์ เพอื่ สนบั สนุนการจัดประสบการณ์สาหรบั ครูอยา่ งเพียงพอและเหมาะสมกบั
บริบทของสถานศกึ ษา
2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู กย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม
2.6.1 สถานศกึ ษามรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาที่เหมาะสมและ
ตอ่ เน่ือง มีการช้ีแนะระหวา่ งการปฏิบัตงิ าน ส่งผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานของ
สถานศกึ ษา บรู ณาการการปฏบิ ัติงานและเปิดโอกาสใหผ้ ้เู กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม
จนเปน็ แบบอยา่ งทดี่ แี ละไดร้ ับการยอมรบั จากชุมชนและหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง
2.6.2 สถานศกึ ษามีการนเิ ทศภายในสถานศึกษาอย่างตอ่ เน่ือง เพือ่ การพฒั นาการ
จดั การเรียนการสอนอย่างมีประสทิ ธิภาพ

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเดก็ เป็นสาคัญ
3.1 จัดประสบการณท์ สี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ทมี่ พี ฒั นาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ
3.1.1 ครู (ปฐมวัย) ทกุ คน มกี ารวเิ คราะหข์ ้อมลู เด็กเป็นรายบคุ คล เพือ่ เป็นข้อมลู ใน
การจัดประสบการณ์/กจิ กรรม และชว่ ยเหลอื อย่างเหมาะสมกบั เด็ก
3.1.2 ครู (ปฐมวัย) ทกุ คน มแี ผนและใช้แผนการจัดประสบการณท์ สี่ ง่ เสริมใหเ้ ด็กมี
พัฒนาการครบทกุ ดา้ น ทงั้ ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญาอยา่ งสมดลุ

44

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

เตม็ ศักยภาพโดยความรว่ มมอื ของพ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชนและผเู้ ก่ียวข้อง และเปน็
แบบอย่างทดี่ ี
3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบัตอิ ย่างมีความสขุ
3.2.1 ครู (ปฐมวัย) ทกุ คน สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เล่น และปฏบิ ัติ
กิจกรรม เรียนรู้ ลงมอื ทา และสรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเองอยา่ งมคี วามสุข
3.3 จดั บรรยากาศทเ่ี อ้อื ต่อการเรยี นร้ใู ช้สื่อและเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วยั
3.3.1 ครู (ปฐมวยั ) ทกุ คน จดั บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรยี นไดส้ ะอาด
ปลอดภยั อากาศถา่ ยเทสะดวก เดก็ มสี ว่ นรว่ มในการจัดหอ้ งเรยี น เช่น ป้ายนิเทศ การ
จดั มุมต่างๆ การเก็บดแู ลรกั ษาของเล่น ส่ิงของเคร่ืองใช้ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บสวยงาม
3.3.2 ครู (ปฐมวัย) ทกุ คน ใช้ส่อื เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกบั ชว่ งอายุ ระยะความสนใจ
และวถิ กี ารเรยี นรู้ของเดก็
3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรับปรงุ
การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็
3.4.1 ครู (ปฐมวยั ) ทกุ คน ประเมินพฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและกจิ วตั รประจาวนั
ด้วยเครอ่ื งมอื และวธิ ีการท่หี ลากหลาย มกี ารนาผลการประเมนิ ทไ่ี ดไ้ ปพฒั นาคุณภาพ
เด็ก และแลกเปลย่ี นเรียนรู้การจดั ประสบการณ์ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ

45

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

แนวทางการสร้างเคร่ืองมอื ในการประเมนิ มาตรฐาน
และภาพรวมของระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา

สังกัด สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสโุ ขทัย เขต ๑
ตามประกาศมาตรฐานและคา่ เป้าหมายของโรงเรยี นบา้ นสนามบนิ (ประชาศึกษา)

ประจาปีการศกึ ษา 2564

โรงเรียนบ้านสนามบนิ (ประชาศกึ ษา) กาหนดมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย โดยกาหนดเป้าหมาย
ความสาเรจ็ ของสถานศกึ ษาโดยรวมอยู่ในระดับ ยอดเยีย่ ม โดยมเี ปา้ หมายของแต่ละมาตรฐานดงั น้ี

มาตรฐานทง้ั ๓ มาตรฐาน มีการใหน้ า้ หนกั คะแนนไว้ดงั น้ี
มาตรฐานท่ี ๑ ใหค้ า่ นา้ หนักคะแนนไว้ท่ี ๔๐ คะแนน
มาตรฐานที่ ๒ ให้คา่ น้าหนักคะแนนไว้ท่ี ๓๐ คะแนน
มาตรฐานท่ี ๓ ใหค้ ่าน้าหนักคะแนนไว้ท่ี ๓๐ คะแนน
รวมคะแนนทัง้ หมด คอื ๑๐๐ คะแนน และมเี กณฑ์การประเมนิ ดังนี้

เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพรวมของมาตรฐาน
เป็นการนาคะแนนทัง้ ๓ มาตรฐานมารวมเพอื่ ประเมินเป็นระดับคุณภาพ ดงั น้ี
ผลการประเมิน ๘๐ – ๑๐๐ ระดบั คณุ ภาพ คอื ยอดเยยี่ ม
ผลการประเมิน ๗๐ – ๗๙ ระดับคุณภาพ คือ ดเี ลิศ
ผลการประเมนิ ๖๐ – ๖๙ ระดบั คุณภาพ คอื ดี
ผลการประเมิน ๕๐ – ๕๙ ระดบั คุณภาพ คอื ปานกลาง
ผลการประเมนิ ๐ – ๔๙ ระดับคุณภาพ คอื กาลังพฒั นา

ผลการประเมินคุณภาพระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 84 อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ รูปแบบการประเมิน คา่ นา้ หนักคะแนน

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็ 40

1. เด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

1.1 เดก็ รอ้ ยละ 90 มีน้าหนกั สว่ นสูง เดก็ ร้อยละ 90 - 100 ระดบั คะแนน 1.5 1.5

ตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามัย เดก็ รอ้ ยละ 71 – 89 ระดบั คะแนน 1.4

เดก็ ร้อยละ 61 – 70 ระดบั คะแนน 1.3

เดก็ ร้อยละ 51 – 60 ระดบั คะแนน 1.2

น้อยกวา่ ร้อยละ 50 ระดับคะแนน 1

1.2 เดก็ ร้อยละ 85 มีสุขภาพอนามัย เด็กรอ้ ยละ 85 - 100 ระดับคะแนน 1.5 1.5

และสขุ นสิ ัยทดี่ ี เด็กร้อยละ 71 – 84 ระดบั คะแนน 1.4

เด็กร้อยละ 61 – 70 ระดับคะแนน 1.3

เด็กร้อยละ 51 – 60 ระดับคะแนน 1.2

นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ระดบั คะแนน 1

46

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : Sar)

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี รูปแบบการประเมิน คา่ น้าหนักคะแนน
1.5
1.3 เดก็ ร้อยละ 85 ปฏบิ ตั ติ นตาม เดก็ รอ้ ยละ 85 - 100 ระดับคะแนน 1.5 1.5
1.5
ข้อตกลงของห้องเรียน รวมทงั้ เลน่ เดก็ รอ้ ยละ 71 – 84 ระดบั คะแนน 1.4
1.5
และปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไดอ้ ยา่ งปลอดภัย เดก็ ร้อยละ 61 – 70 ระดบั คะแนน 1.3 1.5
1.5
ท้ังต่อตนเองและตอ่ ผอู้ ืน่ เด็กร้อยละ 51 – 60 ระดบั คะแนน 1.2

น้อยกวา่ ร้อยละ 50 ระดับคะแนน 1

1.4 เด็กร้อยละ 85 รู้และปฏบิ ัตติ น เดก็ ร้อยละ 85 - 100 ระดับคะแนน 1.5

เพือ่ หลกี เลี่ยงสภาวะทเ่ี สย่ี งต่อโรค เดก็ ร้อยละ 71 – 84 ระดบั คะแนน 1.4

สงิ่ เสพตดิ และระวังภัยจากบคุ คล เดก็ รอ้ ยละ 61 – 70 ระดบั คะแนน 1.3

ส่งิ แวดลอ้ ม และสถานการณท์ เี่ สย่ี ง เด็กรอ้ ยละ 51 – 60 ระดบั คะแนน 1.2

ตอ่ อันตราย น้อยกว่ารอ้ ยละ 50 ระดบั คะแนน 1

1.5 เด็กรอ้ ยละ 90 สามารถ เด็กร้อยละ 90 - 100 ระดบั คะแนน 1.5
เคลือ่ นไหวรา่ งกายได้อยา่ เด็กรอ้ ยละ 71 – 89 ระดบั คะแนน 1.4
คล่องแคลว่ เด็กร้อยละ 61 – 70 ระดบั คะแนน 1.3

เดก็ ร้อยละ 51 – 60 ระดับคะแนน 1.2
น้อยกว่าร้อยละ 50 ระดับคะแนน 1

2. เดก็ มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

2.1 เดก็ ร้อยละ 90 รา่ เรงิ แจม่ ใส เด็กรอ้ ยละ 90 - 100 ระดบั คะแนน 1.5

สามารถแสดงอารมณ์ความรสู้ กึ ได้ เด็กรอ้ ยละ 71 – 89 ระดับคะแนน 1.4

สอดคล้องกบั สถานการณอ์ ย่าง เดก็ ร้อยละ 61 – 70 ระดับคะแนน 1.3

เหมาะสมตามวัย เดก็ รอ้ ยละ 51 – 60 ระดบั คะแนน 1.2

นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ระดับคะแนน 1

2.2 เดก็ รอ้ ยละ 85 กลา้ พดู กลา้ เดก็ ร้อยละ 85 - 100 ระดับคะแนน 1.5
แสดงออกได้อย่างเหมาะสมตาม เด็กร้อยละ 71 – 84 ระดบั คะแนน 1.4

สถานการณ์ เดก็ ร้อยละ 61 – 70 ระดับคะแนน 1.3
เดก็ ร้อยละ 51 – 60 ระดับคะแนน 1.2
น้อยกว่าร้อยละ 50 ระดบั คะแนน 1

2.3 เดก็ รอ้ ยละ 85 สนใจในศลิ ปะ เด็กร้อยละ 85 - 100 ระดบั คะแนน 1.5

ดนตรี มีความสุขและแสดงท่าทาง เดก็ ร้อยละ 71 – 84 ระดับคะแนน 1.4

การเคล่ือนไหวประกอบเพลง จงั หวะ เดก็ ร้อยละ 61 – 70 ระดบั คะแนน 1.3

และดนตรไี ด้ และสร้างสรรคผ์ ลงาน เดก็ ร้อยละ 51 – 60 ระดับคะแนน 1.2

ศิลปะได้เหมาะสมตามวัย นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ระดับคะแนน 1


Click to View FlipBook Version