The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเมินครูผู้ช่วย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mizz_jue, 2022-03-29 21:02:25

ประเมินครูผู้ช่วย

ประเมินครูผู้ช่วย

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครูผูชวย ครงั้ ท่ี 2 20

การทาํ งานเปนทมี กบั คณะครูและบคุ ลากรของ กศน.อําเภอไทรโยค

การประชมุ ปรึกษาหาลือขอราชการ การจดั กจิ กรรม และหาขอตกลงรว มกนั ในทีมงานกลุมโซนบน
ปฏบิ ตั ิงานกับคณะครูตามภารกจิ ทไ่ี ดรับมอบหมาย

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครูผชู ว ย ครงั้ ท่ี 2 21

3.10 การใชความรูความสามารถท่ีมีอยูนําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในทางพัฒนา
ใหกบั ผูเ รยี น ศนู ยก ารเรยี นหรือชมุ ชนในดา นใดดานหน่ึง

ขาพเจาตั้งใจปฏิบัติหนาท่ีในการถายถอดความรู ทักษะท่ีตนเองมีใหกับผูเรียนโดย
มไิ ดป ด บงั พยายามศกึ ษา คน ควา หาความรูเพ่ิมเติมเพื่อพัฒนาตนเอง ติดตามขาวสาร และเขา รับ
การอบรม นํามาชวยพัฒนาการเรียนการสอนใหกับผูเรียนเพื่อใหผูเรียนเปนบุคคลที่มีความรู
ทกั ษะ และทนั ตอเหตกุ ารณ สามารถนําความรทู ไ่ี ดไ ปประยุกตใ ชในชีวติ ประจําวนั
หลักฐานอางองิ

ตั้งใจปฏบิ ัตหิ นาที่ในการ
ถายถอดความรู ทักษะที่
ตนเองมใี หก บั ผูเรยี นโดย
มิไดปดบัง พยายาม
ศกึ ษา คน ควา หาความรู
เพิ่มเติมเพือ่ พัฒนา
ตนเอง

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครูผชู ว ย ครง้ั ที่ 2 22

การใชส อ่ื และเทคโนโลยที มี่ อี ยนู าํ ใหเ กดิ ความเปลย่ี นแปลงในทางพฒั นาใหก บั ผเู รยี น

นาํ ความรแู ละประสบการณม าชว ยพฒั นาการเรยี นการสอนใหก บั ผเู รยี นเพอ่ื ใหผ เู รยี น ใหเ ปน บคุ คล
ทม่ี คี วามรู ทกั ษะ และทนั ตอ เหตกุ ารณป จ จบุ นั

รายงานผลการปฏิบัติงานการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครูผูชว ย คร้งั ที่ 2 23

3.11 การยดึ ม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท รงเปน
ประมขุ

ขาพเจาดาํ รงตนเปน กลางทางการเมืองและยดึ ม่นั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ

หลักฐานอางอิง
ยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย โดยการยอมรับเสยี งสว นใหญใ นการดําเนินงาน

จัดการเรียนการสอนโดยใชส ่ือจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบระบบประชาธไิ ตย

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรยี มความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครูผชู ว ย คร้งั ที่ 2 24

0

ประชาสัมพนั ธใหค วามรู และเปน แบบอยา งในการเลือกตัง้ ผูนาํ ทองถนิ่

เดนิ ทางไปเลือกตัง้ ส.อบต. และนายก อบต. ที่ภมู ลิ าํ เนา หมู 13 ต.สระสม่ี ุม อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม

รายงานผลการปฏิบตั งิ านการเตรียมความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ชู วย ครัง้ ที่ 3

องคป ระกอบท่ี 1 การประเมินผลการปฏิบัติตน

ขอท่ี 4 การดาํ รงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
วนิ ัย 4.1 มีความรู ความเขา ใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขาพเจาตระหนักถึงคุณคาของการดําเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และ
พยายามนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชีวิตประจําวัน เพ่ือเปนแบบอยางที่ดี
แกผเู รียน ครอบครัว และสงั คม
หลักฐานอา งอิง

 ดาํ รงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
โดยเรม่ิ จากตัวเอง (ปลกู ผักท่ีเรากิน)

 ออมเงนิ กับสถาบนั การเงิน

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรียมความพรอมและพฒั นาอยางเขม ของครผู ูชว ย ครั้งที่ 3

การออมเงนิ ฝาก บญั ชีธนาคารกสกิ รไทย สาขาโรบินสัน กาญจนบรุ ี
ตดั ผมเอง โดยไมตอ งไปตดั ผมที่รา นตัดผมเพ่อื ประหยัดรายจา ยในชวี ติ ประจาํ วนั

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยางเขมของครผู ชู ว ย ครั้งที่ 3

4.2 มีการนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับประยุกตใ ชก ับการจดั การ
เรยี นรใู นหองเรยี น

ขาพเจานําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมตางๆ เชน การ
จัดการเรียนการสอน (แผนการลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 2/2564) , งานการศึกษาตอเน่ือง
กิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใหกลุมเปาหมายสามารถนําหลัก
ของความพอเพียง คือ ความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุมกันในตัวเองนําความรูไป
ประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจาํ ได
หลกั ฐานอา งอิง

-นาํ นักศึกษาเขา รวมกิจกรรม
พฒั นาทกั ษะผูเรยี นเก่ยี วกับกจิ กรรม
การนาํ หลกั ของความพอเพยี ง

-งานการศึกษาตอ เนอ่ื ง
-กจิ กรรมการเรยี นรูตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การจัด

กิจกรรมอบรมประชาชนของกลุม โซนบน
ตาํ บลทา เสา ตาํ บลวังกระแจะ ตําบลไทรโยค

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรียมความพรอมและพฒั นาอยา งเขมของครูผูชว ย ครั้งท่ี 3

มภี มู คิ มุ กนั ในตัวเองนาํ ความรไู ปประยุกตใ ชใ นชวี ติ ประจาํ ได

โดยการสอดแทรกเนอ้ื หาในการจัดกิจกรรม และการจดั การเรยี นการสอนใหก ับนักศกึ ษาและ
ประชาชน ไดเรยี นรู ความพอประมาณ มเี หตุผล และมีภมู คิ ุมกันในตวั เองนาํ ความรไู ปประยุกตใ ชในชีวิต
ประจาํ ได

รายงานผลการปฏิบตั งิ านการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยางเขม ของครผู ูชว ย คร้งั ท่ี 3

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรียมความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครูผูชวย คร้งั ท่ี 3

4.3 มกี ารนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับประยุกตใ ชก บั ภารกจิ ทีไ่ ดรับ
มอบหมายอ่ืน

ขาพเจายึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการทํางานใหมี
ประสิทธภิ าพ โดยวางแผนกอ นการปฏบิ ัติและรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามหนาทแ่ี ละงานอ่ืนๆ ท่ี
ไดรับมอบหมาย
หลักฐานอางอิง

หลักการใชเ ทคโนโลยีในยคุ
ดิจิทลั ใหเ หมาะสมกับภาวะ
เศรษฐกิจ และฐานะการเงิน
ของตนเอง
และหลักรูเทาทันเทคโนโลยี

-หลักการใหความรเู รอื่ งหลัก
โภชนาการ และการใช
วัตถุดบิ ใหเ หมาะสมกับภาวะ
เศรษฐกจิ และฐานะการเงิน
ของตนเอง
-หลักการใชทรพั ยากรอยา งรู
คณุ คา
-หลักสงเสริมการประกอบ
อาชพี ที่เหมาะสมกับสภาวะ
เศรษฐกจิ ปจ จบุ นั

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรียมความพรอ มและพัฒนาอยางเขมของครผู ชู ว ย ครงั้ ที่ 3

สอนอาชีพใหกบั นกั ศึกษาในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
การทดลองเลี้ยงหอยเชอร่ีในบอ เลียนแบบธรรมชาติ

โดยนักศกึ ษาทีเ่ รยี นในรายวิชา อช31001 ชอ งทางการขยายอาชีพ ในภาคเรยี นที่ 2/2565 ระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ใหน ักศกึ ษาทดลองเก็บไขจ ากแหลง น้ําธรรมชาติ มาเพาะขยายในบอ ทดลอง

สงเสริมและสนบั สนนุ แนวทางการประกอบอาชีพ และแหลง แสวงหาความรกู ารประกอบ
อาชพี ตามบรบิ ทของชุมชน ในพน้ื ทอ่ี ําเภอไทรโยค

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรียมความพรอ มและพฒั นาอยางเขม ของครูผูชวย ครัง้ ที่ 3

4.4 มีการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกตใชกับการดํารงชีวิต
ของตนเอง

ขาพเจาดําเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลท่ี 9
เปนแนวทางในการดําเนนิ ชีวติ ในการใชจ ายเงินใหเหมาะสม เชน การแบงเงินเปนสวนๆและเหลอื
ไวออม การใชหลกั เหตุผลในการแกป ญหาตางๆ และการมีภมู ิคุม กันรูเ ทา ทนั สอื่
หลักฐานอา งองิ

การถนอมและการประกอบ
อาหารรับประทานเอง ตาม
ประเพณีและวัฒนธรรมการ
กนิ ของบรรพบรุ ษุ

เปน แบบอยางในการ
ประกอบอาหารรบั ประทาน
เองใหแกนักศึกษาและ
ประชาชน

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรียมความพรอ มและพฒั นาอยางเขมของครผู ชู วย ครั้งที่ 3

การทําสบู นา้ํ ยาลางจาน ผง
ซักผา นาํ้ ยาปรบั ผานุม ทําใช
เอง และสงเสรมิ เปน
วิทยากร อบรม ใหความรู
ใหก บั ประชาชนไดทําใชเ อง
ในครัวเรอื นและชุมชน เพื่อ
เปน การลดรายจา ย เพ่ิม
รายได

การเรียนรอู าชีพใหม ๆ การ
ทําธุรกจิ ออนไลน-การขาย
ออนไลน เพื่อเปนทางเลอื ก
และเปนแบบอยา งแนวทาง
ใหกบั นักศกึ ษาและประชาชน

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรียมความพรอมและพฒั นาอยา งเขมของครูผชู ว ย ครั้งที่ 3

4.5 เปนแบบอยางในการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกตใช
กบั ภารกจิ ตาง ๆ หรือการดํารงชวี ติ ของตน

ขาพเจาดําเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ นําไปปรับ
ประยุกตใ ชก ับภารกจิ ตา ง ๆ และการดาํ รงชีวติ ของตนเองและครอบครัว เพ่ือเปน แบบอยางในการ
หาวิธีการตางๆ เพิ่มลดรายจายเพิ่มรายไดใหตนเองและครอบครัว ในภาวะท่ีปจจุบันที่ถือเปนยุค
ขา วยากหมากแพง
หลักฐานอา งองิ

เรยี นรพู นื้ ทีโ่ คก หนอง นา
โมเดล เพ่ือนําความรูและ
ประสบการณมาใชในการ
จัดการเรยี นการสอน

นิเทศกจิ กรรม และใหค วามรู
เกีย่ วกบั การรเู ทาทนั
เทคโนโลยี และการปรบั ตัว
เพ่ือใชส อ่ื ออนไลนอยา งตน่ื รู
และพอเพยี ง

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรียมความพรอมและพฒั นาอยางเขม ของครูผูชวย ครั้งท่ี 3

เปน วิทยากรใหค วามรู
กิจกรรมอบรมใหความรู
ประชาชนเก่ียวกบั การเรยี นรู
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ใหขอ เสนอแนะศูนยฝ กอาชีพ
ชมุ ชน โดยนําหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง มาประยุค
ใชใ นสถานการณภ าวะ
เศรษฐกิจปจจบุ นั

นเิ ทศติดตามผลการ
ดําเนนิ งานและใหค วามรู
ขอ เสนอแนะ กิจกรรม/
โครงการเรียนรปู รชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ชู ว ย ครง้ั ที่ 3 (จติ วญิ ญาณความเปน ครู)

องคประกอบที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติตน

ขอ ท่ี 5 จิตวญิ ญาณความเปน ครู

5.1 การเขาสอนตรงเวลาและสอนเตม็ เวลา

ขาพเจาปฏบิ ตั ิหนาท่ีที่ไดรับมอบหมายอยางเตม็ ความสามารถ เตม็ เวลา เอาใจใสตอ
การปฏิบัติหนาท่ีอยางสม่ําเสมอ โดยมีการวางแผนการสอนลวงหนา จัดทําและจัดหาสื่อ จัด
กิจกรรมโดยเนนผเู รียนเปน สําคญั มกี ารปรบั ปรุงพัฒนางานการสอนอยูเสมอ
หลักฐานอา งอิง

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการเตรยี มความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครูผชู วย ครง้ั ที่ 3 (จิตวญิ ญาณความเปนคร)ู

จัดทําและจดั หาส่ือ จัดกจิ กรรมโดยเนนผเู รยี นเปน สําคญั
มีการปรับปรุงพัฒนางาน
การสอนอย่เู สมอ

การจัดการเรียนรู้โดย
การเช่ือมโยงเนือ้ หาความรู้ท่ี
เก่ียวข้ องจากศาสตร์ ต่ างๆ
ของรายวิชาเดียวกันหรื อ
รายวิชาต่างๆ มาใช้ ในการ
จั ดการเรี ยนร้ ู เ พ่ื อ ให้ ผ้ ู เ รี ย น
สามารถนําความคิดรวบยอด
ของศาสตร์ ต่ างๆ มาใช้ ใน
ชีวิตจริงได้

การใชส อ่ื เทคโนโลยีมาชวยในการจดั การเรียนการสอน การใหผ ูเรียนฝกทกั ษะจากการลงมือปฏบิ ตั ิจริง

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ูชว ย ครงั้ ที่ 3 (จติ วญิ ญาณความเปน คร)ู

5.2 การตระหนักในความรูและทักษะท่ถี กู ตอ งรวมถงึ ส่งิ ทด่ี ี ๆ ใหก ับผเู รยี น

ขาพเจา ประกอบวิชาชีพครู ซ่ึงจะหยุดน่ิงในการพัฒนาตนเองไมได เนื่องจากสังคมมีการ
พัฒนาเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา จึงตองมีการศึกษา อบรม คนควา ประชุมสัมมนาหาความรู
ใหม ๆ เพื่อนํามาปรับปรุง การจัดกระบวนการเรียนรูใหทันสมัย นาสนใจ พรอมท้ังแลกเปล่ียน
เรียนรูกับเพื่อนครูท่ีมีความสามารถอยางหลากหลาย ไดศึกษาดูงาน จากเพ่ือนครู หัวหนางาน ผูมี
ประสบการณที่ประสบผลสําเร็จ มาปรับปรุง และประยุกตใช อยางเหมาะสมกับการจัดการเรียน
การสอนและงานที่ตนเองไดรบั มอบหมาย
หลกั ฐานอา งอิง

แลกเปลย่ี นเรียนรูกับเพอื่ นครทู ม่ี คี วามสามารถอยา งหลากหลาย
แสวงหาความรแู ละทักษะใหมอยเู สมอ

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ูชวย คร้งั ที่ 3 (จิตวญิ ญาณความเปนคร)ู

เขาอบรมพัฒนาตนเองตามหลกั สตู รที่เก่ยี วขอ งกบั ลักษณะงานและภารกจิ ท่ีไดร ับมอบหมาย
การนําพาหาโอกาสเขาสูกระบวนการพัฒนาตนเองในทุกระดับ เพ่ือสราง

ประสิทธิภาพในการทํางานใหกับขาพเจาเองและสงผลตอความสําเร็จขององคกรรวมกัน
ประกอบดวยหลักสูตรตางๆ ดังน้ี DISC พฤติกรรมสูความสําเร็จ การคิดเชิงระบบเพื่อ
ประสิทธภิ าพในงานท่ปี ฏิบตั ิ

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ชู ว ย คร้ังที่ 3 (จติ วญิ ญาณความเปน คร)ู

5.3 การสรา งความเสมอภาคเปนธรรมกบั ผเู รยี นทกุ คน

ขา พเจาพยายามเรยี นรูและศกึ ษาผเู รียนเปนรายบุคคล เพื่อจะไดท ราบความตอ งการ
สภาพสังคม เศรษฐกิจ ครอบครัวของนักศึกษาเปนรายบุคคล แลวนําผลท่ีไดไปใชในการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนใหเ หมาะสมกับผูเรยี น

หลักฐานอา งอิง

จัดการเรยี นการสอน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็ นสําคัญ การจัดกิจกรรมโดยวิธีต่างๆ อย่าง
หลากหลายท่ีมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่างแท้จริงเกิดการพัฒนาตนและส่ังสมคุณลักษณะที่จําเป็ น
สําหรับการเป็ นสมาชิกที่ดีของสังคมของประเทศชาติต่อไป การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งพฒั นา
ผู้เรียน ข้าพเจ้าจึงต้องใช้เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอนใน
หลากหลายวธิ ี เพอ่ื พฒั นาทกั การเรียนรู้ของผู้เรียน

รายงานผลการปฏิบัตงิ านการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครูผูชว ย ครัง้ ท่ี 3 (จิตวญิ ญาณความเปนคร)ู

จัดการศึกษาโดยใหผูเรียนมีความเสมอภาคทางการศึกษา โดยเฉพาะในดานความ
ยตุ ธิ รรมทางสังคม ความเทา เทียมกัน การเขาถงึ ทรพั ยากรทางการศึกษา และการเรยี นรว มกัน
ทั้งในบริบทสถานศึกษาและบริบทการจัดเรียนรู กลุมเปาหมายจะมุงเนนที่กลุมผูดอยโอกาส
หรือผูที่ไมไดรับการดูแลในระบบการศึกษา รวมทั้งกลุมสังคมอ่ืนๆ ที่เผชิญกับอุปสรรคและ
ปญหาดานความเสมอภาคท่ีเกี่ยวของการศึกษาและการเรียนรู อันจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมทางการศกึ ษาทใี่ หค วามสาํ คัญกับความเทาเทียมกนั ของผเู รยี นทกุ คน

การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลสําหรับศึกษาวิเคราะห์ แยกแยะ

ผเู้ รียนเพือ่ หาความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เกี่ยวกบั ความพร้อมดา้ นความรู้พ้ืนฐาน และประสบการณ์เดิมที่มี
อยกู่ ่อน ที่จะใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการเรียนรู้วชิ าหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดๆ ของแตล่ ะระดบั ช้นั ตลอดท้งั ศึกษา
วิเคราะห์เก่ียวกบั ความพร้อมดา้ นการพฒั นาตนเองเพ่ือหาช่องทางพฒั นาอาชีพให้กบั ตนเองและครอบครัว
ถือเป็นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาในเบ้ืองตน้ ใหก้ บั ผเู้ รียนทุกคน

รายงานผลการปฏิบัตงิ านการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครูผชู วย ครั้งท่ี 3 (จิตวญิ ญาณความเปน ครู)

5.4 การรูจักใหอภัย ปราศจากอคติ ชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนประสบ
ความสําเร็จ ตามศกั ยภาพ ความสนใจหรือความตงั้ ใจ

ขาพเจาปฏิบัติงานโดยมุงคุณภาพ และมุงประโยชนของผูเรียนเปนสําคัญ เพ่ือเปนสวน
หน่ึงในการทําใหผูเรียนประสบความสําเร็จในการศึกษาและดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมี
ความสุข พรอ มทั้งสอดแทรกการแนะแนวการศกึ ษาตอและการมงี านทาํ
หลักฐานอา งองิ
การสอนใหร จู กั ใชทรพั ยากรอยางคมุ คา และการรจู กั ทํางานเปนทมี

สอดแทรกการแนะแนวการศึกษาตอและการมงี านทํา

ขาพเจาจัดการเรียนการสอนใหกับผเู รยี นโดยจะพยายามสอดแทรกเนื้อหา หรือยกตัวอยางประกอบ
ในการเปนชอ งทางใหนักศึกษา ผูเ รียนไดมโี อกาสในการศึกษาวิเคราะหตนเอง หาความชอบและความถนดั ใน
การเลือกอาชีพใหมๆ หรือที่เหมาะสมใหกับตนเอง และครอบครวั

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครูผชู ว ย ครง้ั ท่ี 3 (จติ วญิ ญาณความเปนครู)

5.5 การเปนท่ีพง่ึ ใหก ับผเู รียนไดตลอดเวลา

ขา พเจา ใหความเมตตา กรณุ า กับผเู รยี น ผปู กครอง ชมุ ชน หรือบุคคลอนื่ ท่ีตกทกุ ขไ ดย าก
หรือการบริจาคเงิน ปจจัยอื่น เพื่อทําบุญกุศล แกประโยชนสวนรวม ตามกําลังความสามารถท่ีมี
และยึดหลักการใหอภัยกับทุกคนท่ีผิดพลาดเสมอมาใหความเมตตาและดูแลผูเรียนเสมือนญาติพ่ี
นอ ง

การใหบรกิ ารแกผ ูเรียน ผูปกครอง และชุมชน ถอื เปนงานท่มี เี กียรติ ขาพเจา จึงถอื ปฏิบตั ิ
หนาท่อี ยางเตม็ ความสามารถ เชน การจดั การเรียนการสอน การใหการแนะแนว การใหคําแนะนํา
วธิ กี ารดาํ รงชีวติ การศึกษาตอ และบรจิ าคเงนิ สงิ่ ของชวยเหลอื ผทู ่ีประสบภัยในดา นตางๆ เปน
ตน
หลักฐานอา งองิ
เปน ท่พี งึ่ ใหก ับผูเ รยี น

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ูช วย คร้งั ท่ี 3 (จติ วญิ ญาณความเปน คร)ู

แสวงหาแหลง เรยี นรูใ หมๆ ใหก ับผูเรยี น

เขารวมโครงการแนวทางการใชห ลักสูตรทองถน่ิ ภมู ปิ ญญาพื้นบา นภาคกลางโดยประยุกตใ ช
ศาสตรพ ระราชาเพื่อการเรยี นรูตลอดชวี ิตดวยระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัล จากคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนพัฒนา
ดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม เพ่ือดําเนนิ การตามวัตถปุ ระสงคของกองทุนฯ

เ ข า ร ว ม ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง
ปฏิบัติการ การประชุมกลุมยอยของผูมี
สวนไดสวนเสีย ภายใตโครงการสราง
ความตระหนักและสงเสริมการแกไข
ป ญ ห า โ ด ย ชุ ม ช น ด ว ย ก า ร ส ง เ ส ริ ม
นวัตกรรมที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมจาก
วัสดเุ หลือท้งิ ทางการเกษตร

รายงานผลการปฏิบตั งิ านการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครูผูชว ย คร้งั ท่ี 3 (จิตวญิ ญาณความเปนครู)

5.6 การจัดกิจกรรมสงเสริม การใฝรู คนหา สรางสรรค ถายทอด ปลูกฝงและเปน
แบบอยา งที่ดขี องผเู รยี น

ขาพเจาจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนใหผูเรียนเปนผูแสวงหาความรูดวยตนเอง ไดคิด
เอง ฝกการคิดวิเคราะห เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดอยางสรางสรรค ไดออกแบบการ
จัดการเรียนรูใหสอดคลองกับความสนใจของผูเรียนและทันตอสถานการณบานเมืองในปจจุบัน
โดยจัดกระบวนการเรียนรู ฝกทักษะจากทักษะงายไปหาทักษะที่ยากและสูงข้ึน การฝกปฏิบัติ
สาธิตดา นทักษะวชิ าการใหเ ขา ใจงาย ทําใหผูเรยี นเกิดความสนกุ สนานในการเรียนรู ท่เี กิดจากการ
เรยี นรูดวยตัวของผูเ รยี นเอง
หลกั ฐานอางองิ

ออกแบบการจดั การเรยี นรใู หส อดคลอ งกับความสนใจของผูเรียน

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ูชวย ครงั้ ท่ี 3 (จติ วญิ ญาณความเปนครู)

การจดั การเรยี นรูแบบ Storyline เปน การเรยี นรูแบบบรู ณาการท่นี ําเอาสาระการเรียนรูหลายๆ

สาระมาเชื่อมโยงกัน โดยจัดการเรียนรูภายในหัวขอเร่ือง (Theme) เดียวกัน มีการผูกเร่ืองเปนตอนๆ
(Episode) แตละตอนจะมีลําดับเหตุการณ (Sequence) หรือ “เสนทางการเดินเร่ือง” (Topic line) และใช
คําถามหลัก (Key question) เปนตัวนําไปสูกิจกรรมการเรียนรูท่ีหลากหลาย ซ่ึงกิจกรรมเหลานี้จะสงเสริมให
ผูเรียนมีการเรียนรูตามสภาพจริง ลงมือปฏิบัติจริง เนนทักษะกระบวนการคิด การวิเคราะห การตัดสินใจ
กระบวนการกลุม ตลอดจนการสรางความรดู ว ยตนเอง การเรยี นรูแ บบ Storyline จึงเปน การบูรณาการเนอื้ หา
สาระพรอมทักษะกระบวนการตางๆ เขา ดว ยกนั

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรยี มความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครูผูช ว ย ครั้งที่ 3 (จิตวญิ ญาณความเปน คร)ู

5.7 การทมุ เทเสยี สละในการจดั การเรียนรใู หก บั ผูเ รียน

ขาพเจาไดอุทิศตน ท้ังกําลังกาย และเวลาเพื่อปฏิบัติหนาท่ี ดวยความเสียสละ ทุมเท
แมเปนวันหยุด หรือนอกเวลาราชการ ท้ังนี้ไดคํานึงถึงเปาหมาย คุณภาพงานและผลสัมฤทธ์ิของ
งานเปนสําคัญโดยยึดหลักผูเรียนเปนสําคัญท่ีสุด ดังนั้น การปฏิบัติงานจึงมีความพรอม ความเต็ม
ใจ ทจ่ี ะเสยี สละเวลาของตนเอง เพือ่ การปฏิบัติงานอยางแทจริง และยนิ ดีรบั ฟงขอ เสนอแนะ หรือ
ขอแนะนําตักเตือนจากเพ่ือนรวมงานเสมอ เพื่อใหงานประสบผลสําเร็จตามเปาหมายอยางมี
คณุ ภาพ

หลกั ฐานอางอิง

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ชู วย ครง้ั ที่ 3 (จิตวญิ ญาณความเปนคร)ู

พบปะแลกเปลี่ยนเรยี นรภู มู ิปญญาทองถิน่ เพอื่ แสวงหาแหลงเรยี นรูใหมๆ จดั การเรียนการ
สอนนอกสถานท่เี พือ่ ใหผ ูเรยี นเกิดทกั ษะและประสบการณใหมๆ

รับสื่อการเรียนการสอนจากหนว ยงานภาคฯี

รายงานผลการปฏิบตั งิ านการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครูผชู ว ย ครัง้ ท่ี ๓ (จติ สํานกึ ความรบั ผดิ ชอบในวชิ าชีพ)

องคป ระกอบท่ี 1 การประเมินผลการปฏิบัติตน

ขอท่ี 6 จติ สาํ นกึ ความรบั ผดิ ชอบในวชิ าชพี
6.1 การมีเจตคตเิ ชิงบวกกบั วิชาชพี
ขาพเจามีความภาคภูมิใจในวิชาชีพครู จึงมีความคิดวาวิชาชีพ ครู ถือเปนวิชาชีพ
ช้ันสูง ท่ีมุงเนนพัฒนาใหคนเปนคนดี มีความรูความสามารถ เปนกําลังสําคัญในการพัฒนา
ประเทศสืบตอไป ขา พเจา ปฏิบตั ิหนาทด่ี วยใจซึง่ ทําใหเกิดความรัก ศรัทธาและยึดมน่ั ในอดุ มการณ
แหงวิชาชีพ มุงมัน่ ทุม เทในการทาํ งาน ประพฤตติ นเปนแบบอยา งที่ดี และปฏิบตั ติ นดังนี้
1. มคี วามจงรกั ภักดี ตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ 
2. ยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย โดยมพี ระมหากษัตริยเปนประมุข
3. รักและศรัทธาในวชิ าชพี ครู
หลักฐานอา งอิง
มีความจงรักภกั ดี ตอสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ 

รายงานผลการปฏิบัตงิ านการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ชู ว ย ครง้ั ท่ี ๓ (จิตสํานกึ ความรบั ผดิ ชอบในวิชาชีพ)

ยดึ ม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตรยิ เปนประมขุ

เปนวิทยากรใหความรูความเขาใจเก่ยี วกับระบบการปกครองในระบบประชาธปิ ไตย การรูหนาท่ี
ของพลเมืองไทยทด่ี ี การเครารพกฎหมาย การเครารพสทิ ธิ์ผูอืน่ และรสู ทิ ธ์ิแหง ตน

รักและศรัทธาในวิชาชีพครู

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ูชวย ครั้งท่ี ๓ (จติ สํานกึ ความรบั ผิดชอบในวชิ าชีพ)

6.2 การมุง มน่ั ทมุ เทในการสรา งสรรค นวตั กรรมใหม ๆ เพอ่ื ใหเกดิ การพฒั นา
วชิ าชพี และใหส งั คมยอมรับ

ขาพเจาพยายามศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมอยูเสมอ จากแหลงเรียนรูตาง ๆ เชน
หนงั สอื สื่อสิ่งพิมพ โทรทัศน อนิ เทอรเ น็ต เปนตน เพ่ือนําความรูม าถา ยทอดใหผูเ รยี นและนํามา
พัฒนาวิชาชีพตอ ไป

หลกั ฐานอางองิ
ทดลองเพ่ือหารูปแบบการจดั การเรยี นรูใ หมๆ เพอื่ ใหเ กิดการพัฒนาในวชิ าชีพครู

รายงานผลการปฏิบตั งิ านการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ชู วย ครั้งท่ี ๓ (จิตสาํ นกึ ความรับผิดชอบในวชิ าชพี )

แสวงหาส่ือในรปู แบบตาง ๆ เชน หนงั สือ สอ่ื ส่ิงพมิ พ โทรทัศน อนิ เทอรเนต็ เพอื่
นาํ ความรูมาถา ยทอดใหผเู รยี นและนํามาพฒั นาวิชาชีพ

การใชส่ือประกอบการสอน ขาพเจาจะพยายามหาสื่อการสอนในรูปแบบตางๆ มาใช
ประกอบการจดั การเรียนรู และการจัดกิจกรรมอบรมประชาชน เพื่อใหเกิดทักษะการเรยี นรูอยางเปนระบบ
ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ีครบมิติ เพิ่มประสบการณและทักษะ skill ในการเรียนรู ผลที่ไดรับความพึง
พอใจจากผรู ับรกิ าร และผลสมั ฤทธ์ิตามวตั ถุประสงคในการจัดการเรียนรู

รายงานผลการปฏิบัติงานการเตรยี มความพรอมและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ชู วย คร้ังท่ี ๓ (จิตสํานกึ ความรับผดิ ชอบในวิชาชีพ)

6.3 ประพฤติปฏบิ ตั ติ นการรักษาภาพลกั ษณใ นวิชาชพี

ขาพเจาประพฤติตนใหเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม ไมใหสังคมมองวิชาชีพในทางไมดี
และมีจติ สาธารณะมคี วามรบั ผดิ ชอบตอสงั คม โดยชว ยเหลอื เพือ่ นรว มงานโดยไมห วังผลประโยชน
และส่งิ ตอบแทนใด ๆ ทั้งสิน้ ยดึ หลกั คณุ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี ในการยึดเหน่ียวจติ ใจในการ
ปฏิบตั งิ าน
หลกั ฐานอา งอิง

จิตอาสา”เราทาํ ความดดี ว ยหัวใจ”

สรางความสามคั คีในหมูคณะ

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ชู ว ย ครงั้ ที่ ๓ (จติ สาํ นกึ ความรบั ผิดชอบในวิชาชีพ)

ชว ยเหลอื เพ่อื นรว มงานโดยไมห วงั ผลประโยชน “เปน วทิ ยากรหลัก/เสรมิ ใหก บั กศน.ตาํ บล
ในวันหยดุ ราชการโดยไมไ ดร บั คา ตอบแทน

ฉดี วัคซนี ปองกันโรคระบาดโควิด-19 เขม็ ๓ และเขารับการตรวจหาเช้อื ตรวจเชื้อดว ยชุด
ตรวจ atk เปน ประจําทกุ สปั ดาห เพอ่ื เปน แบบอยางที่ดีและสรางความม่นั ใจความเช่ือม่ัน
ใหแกผ รู บั บริการ

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ชู วย ครัง้ ท่ี ๓ (จิตสํานกึ ความรบั ผิดชอบในวิชาชีพ)

6.4 การปกปอ ง ปอ งกันมใิ หผ รู ว มวิชาชีพประพฤติปฏิบัติในทางท่ีจะเกดิ ภาพลักษณ
เชิงลบตอวิชาชพี

ขาพเจาคอยใหคําปรึกษาแนะนําผูรวมวิชาชีพใหประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดี
และยึดม่นั ปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครอู ยา งเครง ครดั
หลกั ฐานอา งองิ

การนิเทศติดตามการดําเนินงานของบุคลากรตามคําส่ัง กศน.อําเภอไทรโยค ท่ี เพ่ือเปนท่ี
ปรึกษาใหคําแนะนําแกครูและบุคลากรผูปฏิบัติเพื่อใหเกิดภาพลักษณที่ดีตอผูปฏิบัติและองคกร
พรอ มรายงานผล ใหผ ูบริหารทราบตามลําดบั ชั้น

นิเทศบานหนงั สือชุมชน กลมุ โซนบนจาํ นวน ๑๒ แหง ตามคําส่งั ของ กศน.อําเภอไทรโยค
ระหวางวนั ที่ ๑ – ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๕ โดยคณะนิเทศและผบู รหิ าร

นเิ ทศการจัดอบรมประชาชน กิจกรรมศูนยฝ กอาชพี ชมุ ชน ตามคาํ สั่ง กศน.อําเภอไทรโยค
ระหวางระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน ไตรมาส ๑-๒ ตุลาคม ๒๕๖๔ – มนี าคม ๒๕๖๕

รายงานผลการปฏิบัติงานการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ูชว ย คร้ังท่ี ๓ (จติ สาํ นกึ ความรับผิดชอบในวชิ าชีพ)

 แตงกายรวมพธิ กี ารสําคญั ตางๆ อยางถกู ระเบยี บ
 แตงกายเขารวมกิจกรรมดว ยชุดสุภาพ

โดยผบู รหิ ารจะกาํ ชับและแนะนาํ ใหใสใ จในการแตงกายในการเขา รวมกิจกรรม พธิ กี ารตางๆ และ
ขณะออกทําหนา ทป่ี ฏบิ ตั ิงาน เพ่อื เปนการสรางภาพลักษณที่ดี และสรา งความชนื่ ชม ความหนาเชื่อถือในหมู
ประชาชน ผรู บั บรกิ าร และผูพบเหน็ โดยขาพเจาจะแตงกายดวยความเรยี บรอ ยตามคาํ แนะนาํ ของผบู ริหาร
และจะกาํ ชับคณะครูและบคุ ลากรใหปฏิบัติตามอยางเครงครดั เสมอมา

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม ของครผู ชู ว ย ครัง้ ท่ี ๓ (จิตสํานกึ ความรบั ผดิ ชอบในวิชาชีพ)

6.5 การจัดกิจกรรมสงเสริมการใฝรู คนหาสรางสรรค ถายทอดปลูกฝงและเปน
แบบอยางทด่ี ีของเพือ่ นรว มงานและสงั คม

เพอ่ื นครรู วมวชิ าชีพลวนมคี วามรู ความสามารถ ท่ีแตกตา งกนั ตามความถนดั และ
ประสบการณ จึงไดพยายามแลกเปลี่ยนเรยี นรู พูดคุย กับเพื่อนครทู ัง้ ในและนอกสถานศึกษา เพื่อ
พฒั นาวิชาชพี อยูเสมอ ทาํ ใหไ ดความรู ประสบการณ วธิ กี าร และแนวทางในการจดั การเรียนรู

การประกอบวชิ าชพี ครจู ะหยุดน่งิ ไมไ ด เน่ืองจากสงั คมมีการพัฒนาเปลีย่ นแปลงอยู
ตลอดเวลา ขา พเจา จงึ ตอ งมีการศึกษา อบรม คน ควา ประชมุ สัมมนาหาความรูใหม ๆ เพือ่ นํามา
ปรบั ปรุง การจดั กระบวนการเรียนรใู หทนั สมัย นา สนใจ พรอ มท้ังแลกเปลี่ยนเรยี นรูก ับเพ่ือนครูที่
มคี วามสามารถอยางหลากหลาย ตลอดจนไดศ ึกษาดูงาน จากเพ่ือนครผู มู ีประสบการณ จาก
หวั หนางาน และนาํ มาปรับปรงุ ประยุกตใชอ ยา งเหมาะสมกบั วชิ าชพี

หลักฐานอา งอิง

เขา รับการอบรม พฒั นา
ตนเอง แลกเปลี่ยนเรยี นรกู ับ

เพ่ือนครู
ระดมพลงั ปญ ญา

ในการพัฒนา
งานการศกึ ษานอกระบบ

ตามภารกิจท่ีไดร ับ
มอบหมาย เพื่อนําองค
ความรูแ ละประสบการณที่
ไดรับมาพฒั นางานในหนาท่ี
และการจดั การเรยี นรใู หกบั
นกั ศกึ ษาและประชาชน

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยา งเขม ของครผู ูช วย ครง้ั ที่ ๓ (จติ สํานกึ ความรบั ผิดชอบในวชิ าชพี )

อบรม/สัมมนาเพ่ือ
การพฒั นางานการศึกษานอกระบบ

รายงานผลการปฏิบัติงานการเตรยี มความพรอ มและพัฒนาอยางเขมของครผู ชู ว ย ครั้งท่ี ๓

องคประกอบท่ี 2 การประเมินผลการปฏิบัตงิ าน

ขอท่ี 1 การจดั การเรียนการสอน

1.1 การนําผลการ วิเคราะหหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้ีวัด หรือผลการ
เรียนรู มาใชในการจัดทํารายวิชาและออกแบบหนว ยการเรยี นรู

การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรแู ละตวั บงช้ตี ามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา ขาพเจาไดศึกษาเพื่อเตรียมการสอนให
ครอบคลุมเนื้อหา และเพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยไดจัดทําแผนการจัดประสบการณการ
เรยี นรูแบบมงุ เนนผเู รียนเปนสาํ คัญและครอบคลมุ เนื้อหามาตรฐานการเรียนรู
หลักฐานอา งอิง

มีการวเิ คราะหหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตวั ชีว้ ัด ในรายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหมคี วามเข็ม
แข็ง อช21003 และรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง อช31003 เพ่ือเตรียมการสอนที่มีเนื้อหาที่
ครอบคลุม และตรงตามมาตรฐานการเรยี นรูระดับ

ใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในการพัฒนาอาชีพใหมีผลิตภณั ฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียง
ตอการดาํ รงชวี ติ และเหลอื เงินออมตามศกั ยภาพ

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการเตรียมความพรอมและพัฒนาอยางเขมของครผู ชู ว ย คร้ังท่ี ๓

จัดทาํ แผนการจดั ประสบการณก ารเรยี นรแู บบเนน ผูเรยี นเปน สาํ คัญ

ขาพเจาไดจัดทําแผนจัดการเรียนรูของนักศึกษาภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๕ ในรายวิชา อช
๓๑๐๐๑ ชองทางการขยายอาชีพ โดยมีนักศึกษาจํานวน ๑๘ คน จาก กศน.ตําบลทาเสา กศน.ตําบล
ไทรโยค กศน.ตาํ บลวงั กระแจะ ศศช.บานบอ งต้นี อ ย

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านการเตรียมความพรอมและพฒั นาอยา งเขมของครูผชู วย ครง้ั ท่ี ๓

แผนจัดการเรียนรูภายใตสถานการณโรคระบาดไวรัสโควิด-19 โดยการใชมาตรการตางๆ ในการ
เฝาระวงั ปอ งกนั ตามมาตรการและระเบียบกระทรวงสาธารณสุขในการจดั การเรียนรูและกิจกรรม
พฒั นาผเู รยี น อยางเครงครดั

นาํ นักศกึ ษาฉดี
วัคซนี ปองกนั
โรคระบาดไวรสั
โควดิ –๒๐๑๙
ณ โรงพยาบาล
ไทรโยค ตาม
มาตรการและ
ระเบยี บของ
กระทรวงศึกษาธิ
การและ
กระทรวง
สาธารณสุข โดย
มนี กั ศกึ ษาที่
ลงทะเบยี นเรยี น
ในภาคเรยี นท่ี
๒/๒๕๖๕ ท่ีเขา
ตามเกณฑที่
กระทรวงฯ
กาํ หนด

รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยางเขมของครูผูชวย ครง้ั ที่ ๓

ขา พเจา เขารบั การฉดี วัคซีลกระตนุ เข็มที่ ๓ เมอื่ วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๕ และมีการสมุ
ตรวจหาเช้อื ดวยชุดตรวจ ATK เปนประจาํ ทุกสัปดาห มกี ารสวมหนากากอนามัยเวลาอยใู นท่สี าธารณะ
สถานทท่ี ํางาน และเวลาออกปฏิบัติหนาที่ในพืน้ ท่ีบริการ ในขณะทาํ การจัดการเรยี นรูเพื่อเปน การเฝา
ระวัง ปอ งกัน และเปน แบบอยางท่ดี ใี หกบั นักศกึ ษา ผรู ับบรกิ าร

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรียมความพรอมและพัฒนาอยางเขมของครผู ชู วย ครง้ั ท่ี ๓

แผนนิเทศติดภายในติดตามผลการดําเนนิ งานการจัดกจิ กรรมการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน รปู แบบพบกลุม

ตามคําส่ังศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอไทรโยค ท่ี 182/2564 เร่ือง
แตงต้ังคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา มอบหมายใหคณะนิเทศรวมกันวางแผนจัดทําเครื่องมือดําเนินการ
จัดทําเครื่องมือดําเนินการนิเทศและสรุปผลการนิเทศรายงานผูบริหารเพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพงานของ
สถานศึกษา เพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอย มีคุณภาพและเกิดประโยชนตอสถานศึกษา เพ่ือ
ติดตามผลการดาํ เนินงานการจดั กิจกรรมการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กศน.ตาํ บล/ศรช./ศศช. ของ กศน.อาํ เภอไทรโยค

รายงานผลการปฏิบัตงิ านการเตรียมความพรอ มและพัฒนาอยางเขม ของครูผูชว ย ครงั้ ท่ี ๓

การนําหลกั สูตรไปใช

การแปลงหลักสูตรไปสูการสอน กําหนดวิธีการจัดการเรียนการสอน กําหนดรายละเอียดกิจกรรม
ในแตละคร้ัง เตรียมวัสดุอุปกรณ ประสานงาน เพื่อใหการสอนเปนไปตามวัตถุประสงค นอกจากน้ัน เพื่อให
สอดคลองกับแนวทางการจัดการเรียนการศึกษา “การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ตองสงเสริมใหผูเรียน
สามารถพฒั นา ตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ” และการเรียนรู หมายถึง การปรับเปลีย่ นไปในทางดีขึ้น

มีจุดประสงค- เนื้อหาสาระ-การจัดการเรยี นการสอน-กจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นร-ู วิธีการวัดและประเมินผล

กิจกรรมและส่ือการเรยี นรู

นักศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติที่ดีในงานอาชีพ วิเคราะห์ลกั ษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพในชุมชน
สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวีป ไดแ้ ก่ ทวีปเอเซีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวีปยโุ รป และทวีปอฟั ริกา
ท่ีเหมาะสมกบั ศกั ยภาพของตนและสอดคลอ้ งกบั ชุมชนเพ่ือการขยายอาชีพ

รายงานผลการปฏิบัติงานการเตรียมความพรอ มและพัฒนาอยา งเขมของครูผูชว ย ครั้งที่ ๓

วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล

มีการวดั ประเมินผลทเี่ ปนมาตรฐาน

โดยการออกขอสอบตามผังการออกขอสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิปลายภาคเรยี น หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบฯ
การประเมินความมน่ั คงในอาชพี (รายวิชา อช๓๑๐๐๑ ชองทางการขยายอาชีพ) ผูรบั ผิดชอบในการวดั

และประเมนิ ผลทดี่ ีทส่ี ดุ คือ ตัวผูประกอบอาชีพเอง เพราะการวดั และประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ เปน เร่ืองที่
บรู ณาการ สงิ่ ตางๆ ในตวั ของประกอบการอาชีพเอง ตง้ั แตการเรยี นรูวาตนเองจะทาํ อยางไร การคิดเห็น คุณคาของ
กิจกรรมความม่ันคง ความจดจาํ ในกจิ กรรมและความรสู ึกพอใจตอ กิจกรรม เปน เร่ืองภายในทั้งส้ิน บุคคลอ่ืนไม
สามารถรเู ทาตัวของผปู ระกอบอาชพี ดังนน้ั ความม่นั คงใน อาชพี ตวั แปรตนเหตุทสี่ าํ คัญ คือ ใจของผปู ระกอบอาชพี
ซ่ึงมีหลักการประเมินสภาวะของธุรกิจ ประกอบดว ย ตัวแปร 4 ตัว ดงั นี้

1. การรบั รู (วญิ ญาณ) วธิ ีการรบั รทู ใี่ ชศ ึกษาภารกจิ สรางความมนั่ คง
2. ความคิด (สงั ขาร) ประเมินคณุ คาวาดีหรือไมดขี องภารกิจความมนั่ คงท่จี ะ ดําเนินการ
3. จาํ ได หมายรู (สัญญา) ประเมินความจาํ วาตนเองเอาใจใสต อภารกิจความมนั่ คงมากนอยเพยี งใด
4. ความรสู กึ (เวทนา) ประเมินความรูสึกทีต่ นเองพงึ พอใจหรือชอบตอภารกจิ ความ มั่นคงแบบใด

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรียมความพรอ มและพฒั นาอยางเขม ของครูผูชวย คร้งั ท่ี ๓

1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนผเู รียนเปนสําคญั เพ่อื ใหผ เู รยี นมคี วามรู ทักษะ
คณุ ลักษณะประจาํ วิชา คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค และสมรรถนะทีส่ าํ คญั ตามหลกั สตู ร

การออกแบบการจัดการเรียนรูรายวิชา อช๓๑๐๐๑ ชองทางการประกอบอาชีพ ในระดบั
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ขาพเจาไดออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เพ่ือให
ผเู รียนมีทักษะ คณุ ลักษณะประจําวชิ า คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค โดยจัดใหผูเรยี นไดเรยี นรูทฤษฎีและ
การลงมือฝกปฏบิ ตั ิ
หลกั ฐานอางอิง

การเรยี นรแู บบ Active Learning เปนการเรยี นรทู ่ีพฒั นาทกั ษะความคิดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
ชว ยใหผ เู รยี นวเิ คราะหส ังเคราะหและประเมนิ ขอมูลในสถานการณใหมไดด ีในท่ีสุดจะชวยให
ผูเรียนเกิดแรงจงู ใจจนสามารถชี้นําตลอดชวี ติ ในฐานะผฝู กใฝก ารเรยี นรู ธรรมชาติของการเรยี นรู
แบบ Active Learning ประกอบดวยลักษณะสําคญั ตอไปนี้
1. เปนการเรยี นรูทมี่ งุ ลดการถายทอดความรูจากผูสอนสผู ูเรียนใหน อ ยลงและพัฒนาทักษะให
เกดิ กบั ผูเ รียน
2. ผูเรยี นมสี วนรวมในชน้ั เรียนโดยลงมือกระทาํ มากกวา นง่ั ฟงเพยี งอยางเดยี ว
3. ผเู รียนมีสวนในกิจกรรมเชนอา นอภิปรายและเขียน
4. เนนการสาํ รวจเจตคติและคณุ คาทมี่ ีอยใู นผูเ รยี น
5. ผูเ รียนไดพฒั นาการคิดระดับสงู ในการวิเคราะหส ังเคราะหแ ละประเมนิ ผลการนําไปใชและ
6 ท้ังผเ รียนและผส อนรบั ขอมลปอ นกลบั จากการสะทอ นความคิดไดอยา งรวดเรว็

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรียมความพรอ มและพัฒนาอยา งเขมของครผู ูชวย คร้ังที่ ๓

จัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนจะไดรับการสง เสรมิ ใหผเู รียนมีความรบั ผดิ ชอบ

และมีสวนรวมตอการเรียนรูของตนเอง ซึ่งแนวคิดแบบผูเรียนเปนสําคัญจะยึดการศึกษาแบบกาวหนาของ
ผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนแตละคนมีคุณคาสมควรไดรับการเชื่อถือไววางใจแนวทางน้ีจึงเปนแนว ทางที่จะ
ผลักดันผูเรียนไปสูการบรรลุศักยภาพของตน โดยสงเสริมความคิดของผูเรียนและอํานวยความสะดวกให
เขาไดพัฒนาศักยภาพของตนเองอยางเต็มที่การจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผูเรยี นเปน ศูนยกลางเปน การ จัด
กระบวนการเรยี นรูแบบใหมทมี่ ลี ักษณะแตกตางจากการจดั กระบวนการเรียนรู แบบด้งั เดิมทัว่ ไป

การออกแบบการจัดการเรียนรโู ดยเนนใหผูเ รยี นไดร บั ประสบการณตรง

การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง การเรียนรูแบบ Active
Learning เปนการเรียนรูท่ีไมมีรูปแบบตายตัว ผูสอนผูเรียนสามารถสรางสถานการณนั้นข้ึน
ประกอบการเรยี นรไู ด

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยางเขม ของครผู ูช ว ย ครั้งที่ ๓

ครูคือผูอํานวยความสะดวกและเปนแหลงความรู มีความสามารถที่จะคนพบความตองการที่แทจริงของ

ผูเรียน เปนแหลงความรูท่ีทรงคุณคาของผูเรียนและสามารถคนควาหาสื่อวัสดุ อุปกรณท่ีเหมาะสมกับผูเรียน ส่ิงที่
สําคญั ทส่ี ุด คอื ความเต็มใจของครทู ่ีจะชว ยเหลือโดยไมมีเงื่อนไข จะใหท ุกอยา งแกผ เู รยี นไมวา จะเปน ความเชี่ยวชาญ
ความรู เจตคติ และการฝกฝน โดยผูเรียนมอี สิ ระท่ีจะรับหรอื ไมรับการใหน ้ันกไ็ ด

จัดการเรียนรู้การโดยคอยอํานวยความสะดวกให้คาํ ปรึกษา คอยเสนอแนะให้ความเป็ นกันเอง
กับผู้เรียโดยเสมอภาคกันทกุ คน

รายงานผลการปฏบิ ัติงานการเตรียมความพรอมและพัฒนาอยา งเขม ของครูผชู ว ย ครง้ั ที่ ๓

1.3 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู อํานวยความสะดวกในการเรยี นรู และสง เสรมิ การเรียนรู
ดวยวิธกี ารทห่ี ลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสาํ คัญ

ขาพเจาจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรู ที่
หลากหลาย กระบวนการเรียนรู ทีจ่ าํ เปนสําหรับผูเรียน เชน เรยี นรจู ากประสบการณจ ริง โดยใชวธิ ีการ
ปฏิบัติลงมือทําจริงการจัดกิจกรรมโดยวิธีตางๆอยางหลากหลายท่ีมุงใหผูเรียนเกิดการเรียนรู อยาง
แทจริงเกิดการพัฒนาตนและสั่งสมคุณลักษณะท่ีจําเปนสําหรับการเปนสมาชิก ที่ดีของสังคมของ
ประเทศชาตติ อไป

หลกั ฐานอางองิ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทม่ี ุงพัฒนาผูเ รียน จึงตองใชเทคนิค
วธิ ีสอนวิธีการเรยี นรูรูปแบบการสอนหรอื กระบวนการเรยี นการสอนที่
หลากหลายรูปแบบ


Click to View FlipBook Version