The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by homeekjst2564, 2022-03-30 08:14:23

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ2

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ2

การวดั และประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ช้ินงาน วิธกี ารวัด เครื่องมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้

ความรู้ (K) ประเมนิ ผลงานถ่าย แบบประเมินผล ผา่ นข้นั ต่าไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐

๑. นกั เรยี นสามารถ คลปิ วีดิโอการผลติ งานนักเรยี น

อธบิ ายความหมาย เครือ่ งดม่ื และ

ของชนิดและ ประเมินผลจากใบ

หลกั การเลือกบริโภค ความรู้

เครอ่ื งดืม่ และการบริ

ได้

๒. นักเรียนสามารถ

อธิบายหลกั การเลือก

บริโภคเคร่อื งดม่ื

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ชน้ิ งาน วิธีการวดั เคร่ืองมือ เกณฑท์ ใ่ี ช้

ทักษะกระบวนการ (P) -การออกมานาเสนอ แบบสังเกตการ คะแนนต้งั แต่ 4-9 ผา่ น

นักเรยี นใช้ทกั ษะการ -การตอบคาถาม ตอบคาถาม

คิดต่างๆทใ่ี ชใ้ นการ

เรียน

ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ช้นิ งาน วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑท์ ่ีใช้

ด้านคุณลักษณะอันพึง การสังเกต การสงั เกตพฤตกิ รรม นักเรียนที่ได้ระดับ

ประสงค์ (A) พฤตกิ รรม รายบุคคล คุณภาพพอใช้ขึ้นไป

นักเรียนอธิบายการวัดผล รายบคุ คล ถือว่า ผา่ น

และประเมินผลและเกณฑ์

การผ่านรายวิชาการงาน

ได้

ด้านคุณลกั ษณะอนั พึง ประเมนิ แบบประเมนิ ผา่ นขนั้ ต่าไม่นอ้ ยกว่า
ประสงคต์ ามหลกั สตู ร รอ้ ยละ ๖๐
แกนกลางการศกึ ษาข้ัน คณุ ลกั ษณะอนั พึง คณุ ลกั ษณะอันพึง
พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ผ่านขน้ั ตา่ ไมน่ อ้ ยกว่า
๒๕๕๑ ประสงคข์ องผเู้ รยี น ประสงค์ ร้อยละ ๖๐
ด้านสมรรถนะสาคัญของ
ผ้เู รียน ประเมนิ สมรรถนะ แบบประเมนิ
-ความสามารถในการ สาคญั ของผเู้ รียน สมรรถนะสาคัญของ
สือ่ สาร
-ความสามารถในการคดิ ผ้เู รยี น
-ความสามารถในการใช้
ทกั ษะชีวติ
-ความสามารถในการ
แกป้ ัญหา
-ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้นั ท่ี ๑ ระบุคาถาม

๑. ครูให้นักเรียนร่วมเล่นเกมส์กันในชั้นเรียนเรื่องเครื่องดื่มและการบริการเพื่อทดสอบความรู้ของ
ผเู้ รยี น
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคาถามที่กาหนด เพื่อตรวจสอบเจตคติและ
ประสบการณ์การเรยี นรูข้ องนักเรยี นในวชิ าการงานอาชพี ท่ีผ่านมา
(ครอู าจใชค้ าถามอืน่ ๆ ที่เหมาะสมกบั สภาพในการจัดการเรยี นการสอนได้)
๓. ใหน้ ักเรยี นช่วยกันคิดประเดน็ คาถามทีเ่ กย่ี วข้องกับการจัดการเรยี นการสอนในเร่ืองเครื่องดื่มและ
การบรกิ าร

ขน้ั ที่ ๒ แสวงหาความรู้
๑. ครูสอนนักเรยี นในเรือ่ งความหมายของเครอ่ื งดม่ื ประโยชนแ์ ละโทษของเครอื่ งดมื่
๒. ครูใหน้ กั เรยี นตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นในวา่ เครื่องดื่มมปี ระโยชนอ์ ย่างไรบ้าง

ขน้ั ท่ี ๓ สรา้ งความรู้และสรุปความรู้
๑. ครูสอนนักเรียนในเรื่องหลกั การบรโิ ภคเคร่อื งดืม่

๒. ครูสอนนกั เรียนในเรือ่ งการเลือกซอ้ื วัสดุอปุ กรณใ์ นการทาเครอ่ื งด่มื
๓. ครูให้นกั เรยี นตอบคาถามเก่ียวกับความรู้ทค่ี รูได้สอนไปในวันนี้ วา่ นกั เรียนได้ความรู้เกี่ยวกับอะไร
ไปบ้าง หากนักเรยี นตอบคาถามผิด ครูควรเพิ่มเติมความรูท้ ี่ถูกต้องให้กับนักเรียน และช่วยกันสรุป
เปน็ ความรู้

ขัน้ ที่ ๔ สื่อสารและนาเสนอ
๑. ครสู ุ่มให้นกั เรยี นคาถามความร้ทู ไ่ี ดเ้ กย่ี วกบั การเรยี นการสอนในวันนี้
๒. ครูอธิบายความรู้เพ่ิมเตมิ ในสว่ นท่ีถูกต้อง และเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นร่วมกนั สรุปเป็นความรู้ในเรื่อง
ความสาคัญของเครือ่ งด่มื และการบริ โดยครเู ขียนสรุปความรู้บน Google Classroom

สอ่ื /แหล่งเรียนรู้

สื่อวสั ดอุ ปุ กรณ์

๑. หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐานการงานอาชพี ม.๑
๒. เว็บไซตก์ ารงานอาชีพตา่ งๆ
๓. ส่อื ส่ิงพมิ พ์ เช่น วารสาร นิตยสาร แผน่ พับเผยแพรค่ วามรู้
แหลง่ เรยี นรู้

๑. ห้องสมุดโรงเรยี น เว็บไซต์ตา่ งๆ

สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้

ด้านความรู้

กลุ่มผู้เรยี น ชว่ งคะแนน

ดี 10

ปานกลาง 7

ปรบั ปรุง 5

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

กลมุ่ ผูเ้ รียน ชว่ งคะแนน

ดี 10

ปานกลาง 7

ปรับปรุง 5

ด้านคุณลักษะอันพึงประสงค์

กล่มุ ผู้เรยี น ชว่ งระดบั คุณภาพ

ดี ๓

ปานกลาง ๒

ปรบั ปรงุ ๑-๐

บนั ทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ด้านการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………........

ปัญหาทพี่ บระหว่างหรอื หลงั จัดกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………...............................…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ……………….…………….………………………..
( นางสาวสุมนา ทองน้ยุ )
ครผู ู้สอน

ความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ หมวดวชิ าการงานอาชีพ
…..……….…………………………………………............……………………………………………………………………..……...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ……………….…………….………………………..
( นางสาวสุมนา ทองนยุ้ )

หวั หน้าหมวดวิชาการงานอาชีพ

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๘

รายวชิ าการงานอาชีพ รหัสวชิ า ง๒๑๑๐๒ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ เวลา ๓ ชวั่ โมง

เร่อื ง…ประเภทของเคร่ืองด่ืม เวลา ๑ ชัว่ โมง

ผู้สอน นางสาวสุมนา ทองน้ยุ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สุราษฎรธ์ านี

แนวคดิ สาคญั (สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด)
การประกอบเครื่องดื่ม คนเราทุกคนปรารถนาที่จะมีสุขภาพที่ดี การได้รับอาหารที่ถูกสัดส่วน ถูก

สขุ ลกั ษณะดื่มเคร่ืองดื่มท่ีสะอาด มปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกาย กจ็ ะชว่ ยใหม้ สี ุขภาพดี ดงั นั้น การประกอบเครื่องดื่ม
เองกเ็ ป็นวธิ ีหน่ึงทจี่ ะช่วยให้ได้เครื่องดื่มทม่ี ีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ มปี ระโยชนต์ อ่ ร่างกายและช่วยให้เราได้รับ
สารอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มมากขึ้น ช่วยทาให้ร่างกายสดชื่น มีสุขภาพที่แข็งแรง ซึ่งขั้นตอนการประกอบ
เครอ่ื งดืม่ ทม่ี ปี ระโยชนต์ อ่ รา่ งกาย

มาตรฐานการเรียนรู้
ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ

กระบวนการการแก้ไขปัญหา ทกั ษะการทางานร่วมกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มคี ณุ ธรรมและลักษณะ
นสิ ัยในการทางาน มีจติ สานึกในการใชพ้ ลงั งานทรพั ยากร และสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการดารงชีวิตในครอบครวั

ตัวชว้ี ดั (หรือผลการเรยี นรู้)
๑. วิเคราะห์ข้ันตอนการทางานตามกระบวนการทางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)
๒. ใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการทางานด้วยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)
๓. ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาการทางานอย่างมเี หตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

จุดประสงค์การเรียนรู้
ดา้ นความรู้

๑. ผเู้ รียนเข้าใจความหมายของการประกอบเครื่องดืม่
๒. ผเู้ รียนเขา้ ใจถงึ การเตรยี มอปุ กรณ์ เครอื่ งใช้ และวัตถดุ บิ
๓. ผเู้ รียนรู้เขา้ ใจถงึ ประเภทของเคร่ืองดม่ื

ดา้ นทกั ษะ
๑. ผเู้ รยี นสามารถอธิบายความหมายการประกอบเครอ่ื งดมื่ ได้
๒. ผู้เรยี นสามารถบอกการเตรียมอปุ กรณ์ เคร่ืองใช้ และวัตถุได้
๓. ผู้เรยี นสามารถการเขา้ ใจถงึ ประเภทของเครื่องดม่ื ได้

ดา้ นคณุ ธรรม
๑. ผู้เรียนมีสว่ นร่วม มีความคิดสรา้ งสรรค์
๒. ผู้เรยี นมวี นิ ยั ใส่ใจ และมคี วามรบั ผิดชอบ
๓. ผเู้ รียนสามารถนาความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจาวัน
๔. ผ้เู รยี นมีน้าใจในการชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกนั
๕. ผู้เรียนมคี วามซ่อื สัตยแ์ ละตรงตอ่ เวลา

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์  ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
 ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  ๖. มงุ่ ม่นั ในการทางาน
 ๒. ซ่อื สัตย์สุจริต  ๗. รักความเป็นไทย
 ๓. มวี ินยั  ๘. มีจิตสาธารณะ
 ๔. ใฝเ่ รยี นรู้

เบญจวถิ กี าญจนา
 ๑. เทิดทนู สถาบัน
 ๒. กตัญญู
 ๓. บคุ ลิกดี
 ๔. มวี ินัย
 ๕. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่สี าคญั ของผเู้ รยี น
 ๑. ความสามารถในการส่ือสาร
 ๒. ความสามารถในการคิด
 ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
 ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เนน้ ส่กู ารพฒั นาผ้เู รียนความสามารถและทกั ษะทจี่ าเป็นในการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ (๓Rs๘Csx2Ls)
 R๑–Reading (อา่ นออก)
 R๒– (W)Riting(เขียนได)้
 R๓ – (A)Rithmetics(คดิ เลขเปน็ )
 C๑ - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแก้ปญั หา)
 C๒ - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C๓ - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทศั น์)
 C๔ - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็น
ทีมและภาวะผ้นู า)
 C๕ – Communications, Information and Media Literacy ( ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส ื่ อ สาร
สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทนั สือ่ )
 C๖ - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C๗ - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนร)ู้
 C๘ – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L๑ – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้
 L๒ – Leadership (ทักษะความเป็นผู้นา)

การวัดและประเมินผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธกี ารวดั เคร่ืองมือ เกณฑท์ ใี่ ช้

ความรู้ (K) ประเมินผลจากคลิป แบบประเมินผล ผ่านขนั้ ต่าไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐

๑. นักเรียนสามารถ วดี ิโอ งานนกั เรียน

อธิบายการเรียนเรอื่ ง

ความหมายของ

เครื่องดม่ื

๒. นักเรยี นสามารถ

อธบิ ายกระบวนการ

และขนั้ ตอนการ

ประกอบเคร่ืองด่มื ได้

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ช้ินงาน วธิ ีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑท์ ่ีใช้

ทักษะกระบวนการ (P) -การออกมานาเสนอ แบบสังเกตการตอบ คะแนนตั้งแต่ 4-9 ผ่าน

นักเรียนใช้ทักษะการคิด -การตอบคาถาม คาถาม

ตา่ งๆท่ใี ช้ในการเรียน

ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ภาระงาน/ชนิ้ งาน วิธกี ารวดั เครอื่ งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
นักเรียนที่ได้ระดับคณุ ภาพ
ด้านคุณลกั ษณะอนั พึง การสังเกตพฤติกรรม การสงั เกตพฤติกรรม พอใช้ขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ น

ประสงค์ (A) รายบุคคล รายบุคคล ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย
ละ ๖๐
นกั เรยี นอธิบายการ

วดั ผล และประเมินผล

และเกณฑ์การผา่ น

รายวิชาการงานได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึง ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมนิ

ประสงคต์ ามหลักสูตร อันพึงประสงค์ของ คุณลักษณะอนั พึง

แกนกลางการศกึ ษาขั้น ผูเ้ รยี น ประสงค์

พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช

๒๕๕๑

ด้านสมรรถนะสาคญั ของ ประเมินสมรรถนะ แบบประเมนิ ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย
ละ ๖๐
ผเู้ รียน สาคัญของผูเ้ รยี น สมรรถนะสาคัญของ

-ความสามารถในการ ผู้เรียน

สอ่ื สาร

-ความสามารถในการคิด

-ความสามารถในการใช้

ทักษะชีวิต

-ความสามารถในการ

แก้ปญั หา

-ความสามารถในการใช้

เทคโนโลยี

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๑ ระบคุ าถาม

๑. ครูและนักเรียนสนทนาพูดคุยเรื่องประเภทของเคร่ืองด่ืมและชนิดของเครื่องว่ามีกี่ประเภทและมี
อะไรบ้าง
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคาถามที่กาหนด เพื่อตรวจสอบเจตคติและ
ประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องนกั เรยี นในวิชาการงานอาชีพ ท่ีผา่ นมา
๓. ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันคดิ ประเดน็ คาถามท่ีเก่ียวขอ้ งกับการจัดการเรียนการสอนในเร่ืองเครื่องดื่มและ
การบริการ

ขน้ั ที่ ๒ แสวงหาความรู้
๑. ครูให้นกั เรียนนาคาถาม ท่ีครไู ดต้ ้ังคาถามไว้ มาร่วมกันสนทนา
๒. ครูใหน้ ักเรยี นตอบคาถาม

ขนั้ ท่ี ๓ สรา้ งความรู้และสรุปความรู้
๑. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสนทนาความรู้เกี่ยวกับความสาคญั ของการทางานเพ่อื การดารงชีวิตและต้ัง
คาถามเพอื่ กระต้นุ ความคิดและความสนใจของนักเรียนตัวอยา่ งคาถาม เช่น
- นักเรียนคดิ ว่า การทางานเพ่อื ชว่ ยเหลือตนเอง มีอะไรบ้าง
- ให้นกั เรียนยกตัวอยา่ งการทางานเพ่ือช่วยเหลือครอบครวั มาคนละ ๑ อย่าง
- การทางานเพ่อื การดารงชีวติ มคี วามสาคญั อย่างไรบ้าง
๒. หากนักเรียนตอบคาถามผิด ครูควรเพิ่มเติมความรู้ที่ถูกต้องให้กับนักเรียน และช่วยกันสรุปเป็น
ความรู้

ขัน้ ท่ี ๔ สอื่ สารและนาเสนอ
๑. ครูสุ่มให้นักเรียน ๒-๓ คน ออกมาเล่าประสบการณ์ ในการทางานเพื่อตนเอง ครอบครัว และ
สงั คม หน้าชน้ั เรยี น โดยครเู ปิดโอกาสใหน้ กั เรียนได้แสดงความคิดเหน็ อย่างเตม็ ที่
๒. ครูอธบิ ายความร้เู พิ่มเตมิ ในสว่ นท่ถี ูกต้อง และเปิดโอกาสให้นักเรียนรว่ มกันสรุปเปน็ ความรู้ในเรื่อง
ความสาคัญของการทางานบ้าน โดยครูเขยี นสรปุ ความรูไ้ วบ้ นกระดานดา

ขั้นท่ี ๕ ประเมินและบรกิ ารสังคม
๑. ครูประเมินผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน ดว้ ยวิธกี ารตง้ั คาถาม เพื่อทดสอบความรแู้ ละความเขา้ ใจของ
นักเรยี น ตัวอย่างคาถามเช่น
- ให้นักเรียนบอกลักษณะการทางานเพื่อตนเอง ครอบครัว เรื่องงานบ้าน พร้อมทั้งยกตัวอยา่ ง การ
ทางานแตล่ ะประเภท คนละ ๑ อยา่ ง
- การทางานบ้าน มคี วามสาคญั อยา่ งไรบ้าง
- การร้จู กั ความถนดั ของตนเอง ส่งผลดอี ย่างไรบา้ ง
๒. ครแู นะนาวธิ กี ารทางานทีจ่ าเปน็ ตอ่ การดารงชีวิตในประจาวันของนกั เรยี น เพ่อื ให้นักเรียนรู้จักนา
ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับสมาชิกในครอบ
และชมุ ชนที่นกั เรยี นอาศยั อยู่

สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้
สอ่ื วัสดุอุปกรณ์

๑. หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐานการงานอาชีพ ม.๑
๒. เวบ็ ไซต์การงานอาชีพตา่ งๆ
๓. ส่อื สง่ิ พมิ พ์ เช่น วารสาร นิตยสาร แผน่ พับเผยแพร่ความรู้
แหลง่ เรยี นรู้
๑. ห้องสมดุ โรงเรยี น

สรุปผลการจดั การเรียนรู้

ดา้ นความรู้

กลุ่มผเู้ รียน ช่วงคะแนน
ดี 10
ปานกลาง 7
ปรบั ปรุง 5

ด้านทักษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน
กลุม่ ผเู้ รยี น 10
ดี 7
ปานกลาง 5
ปรับปรงุ

ด้านคณุ ลักษะอนั พงึ ประสงค์
กลมุ่ ผเู้ รยี น ช่วงระดับคณุ ภาพ
ดี ๓
ปานกลาง ๒
ปรับปรุง ๑-๐

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………...............................…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงช่อื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนยุ้ )
ครูผู้สอน

ความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ หมวดวิชาการงานอาชพี
…..……….…………………………………………............……………………………………………………………………..……...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนุ้ย )

หัวหน้าหมวดวิชาการงานอาชีพ

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๙

รายวิชาการงานอาชพี รหสั วชิ า ง๒๑๑๐๒ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ เวลา ๓ ชัว่ โมง

เรือ่ ง…การตกแต่งและการบรกิ ารเครือ่ งดมื่ เวลา ๑ ช่ัวโมง

ผสู้ อน นางสาวสุมนา ทองนุ้ย โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สรุ าษฎร์ธานี

แนวคดิ สาคัญ (สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด)
การตกแต่งเคร่อื งด่ืมการใช้วัสดุธรรมชาติไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อผู้ดม่ื เช่น ผกั หรือผลไม้ทีใ่ ชท้ าเคร่ืองดมื่

นนั้ ตดั แต่งเป็นรูปทรงต่างๆ ดอกกลว้ ยไมท้ ล่ี ้างสะอาดน้าสับปะรดตกแตง่ ดว้ ยสบั ปะรดหั่นเป็นชิ้นสามเหล่ยี ม
เสียบที่ปากแก้ว น้าผลไม้ผสมตกแต่งดว้ ยผลไม้เนื้อแข็งหลายสหี น่ั เปน็ ส่ีเหลีย่ มลกู เต๋าใส่ลงไปในอ่างนา้ น้าผลไม้
ผสมหมายถึง น้าสม้ น้าสับปะรด นา้ ฝรงั่ น้าแตงโม มีรสกลมกล่อมนา้ มะพร้าวตกแต่งด้วยดอกกลว้ ยไม้ทีล่ ้าง
สะอาดวางบนปากแก้ว
มาตรฐานการเรยี นรู้

ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการการแก้ไขปัญหา ทกั ษะการทางานร่วมกนั และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลักษณะ
นิสัยในการทางาน มจี ติ สานกึ ในการใช้พลงั งานทรัพยากร และสง่ิ แวดล้อมเพ่ือการดารงชวี ิตในครอบครวั

ตวั ชว้ี ัด(หรือผลการเรียนรู)้
๑. วิเคราะหข์ ัน้ ตอนการทางานตามกระบวนการทางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)
๒. ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการทางานด้วยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)
๓. ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาการทางานอยา่ งมีเหตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ดา้ นความรู้

๑. ผ้เู รยี นเข้าใจการตกแต่งและการบรเิ ครือ่ งด่มื
๒. ผู้เรยี นเข้าใจการบริการเคร่อื งด่ืม
๓. ผเู้ รียนรู้จักการจดั เคร่ืองดืม่
ด้านทกั ษะ
๑. ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายขน้ั ตอนการจัดตกแตง่ และการบรกิ ารเครือ่ งดืม่ ได้
๒. ผเู้ รียนสามารถจัดตกแตง่ เคร่ืองดมื่ ได้น่าสนใจ

๓. ผู้เรียนสามารถอธกิ ารการการบรเิ ครือ่ งดื่มได้
๔. ผเู้ รยี นสามารถการจดั เคร่ืองดม่ื ได้
ดา้ นคุณธรรม
๑. ผู้เรียนมสี ่วนร่วม มคี วามคิดสร้างสรรค์
๒. ผเู้ รยี นมวี ินัย ใส่ใจ และมคี วามรับผิดชอบ
๓. ผูเ้ รียนสามารถนาความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
๔. ผเู้ รียนมนี า้ ใจในการช่วยเหลือซ่งึ กนั และกนั
๕. ผเู้ รยี นมคี วามซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์  ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
 ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ๖. มุง่ มน่ั ในการทางาน
 ๒. ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต  ๗. รักความเปน็ ไทย
 ๓. มีวินัย  ๘. มีจิตสาธารณะ
 ๔. ใฝ่เรยี นรู้

เบญจวิถีกาญจนา
 ๑. เทิดทนู สถาบัน
 ๒. กตัญญู
 ๓. บุคลิกดี
 ๔. มีวินยั
 ๕. ใหเ้ กยี รติ

สมรรถนะทสี่ าคญั ของผู้เรียน
 ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 ๒. ความสามารถในการคดิ
 ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
 ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เนน้ สกู่ ารพฒั นาผู้เรียนความสามารถและทกั ษะที่จาเป็นในการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ (๓Rs๘Csx2Ls)
 R๑–Reading (อ่านออก)
 R๒– (W)Riting(เขียนได)้
 R๓ – (A)Rithmetics(คดิ เลขเปน็ )
 C๑ - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแก้ปัญหา)
 C๒ - Creativity and Innovation (ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C๓ - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทัศน์)
 C๔ - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็น
ทมี และภาวะผู้นา)
 C๕ – Communications, Information and Media Literacy ( ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส ื่ อ สาร
สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื )
 C๖ - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร)
 C๗ - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนร้)ู
 C๘ – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินยั คุณธรรม จริยธรรม)
 L๑ – Learning (ทกั ษะการเรียนรู้)
 L๒ – Leadership (ทักษะความเปน็ ผูน้ า)

การวดั และประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ช้นิ งาน วธิ ีการวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์ทใี่ ช้

ความรู้ (K) ประเมินผลจากคลิป แบบประเมินผล ผ่านขน้ั ตา่ ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐

๑. นักเรียนสามารถ วดี ิโอ งานนกั เรยี น

อธิบายขั้นตอนการ

จัดตกแต่งเครื่องดื่ม

ได้

๒. นักเรียนสามารถ

อธิบายขั้นตอนการ

ปฏิบตั ิจัดตกแตง่ ได้

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ชิ้นงาน วธิ กี ารวัด เครือ่ งมือ เกณฑท์ ่ีใช้

ทกั ษะกระบวนการ (P) -การออกมานาเสนอ แบบสังเกตการตอบ คะแนนตั้งแต่ 4-9 ผา่ น

นักเรียนใช้ทกั ษะการคิด -การตอบคาถาม คาถาม

ตา่ งๆท่ีใช้ในการเรียน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวดั เครื่องมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้

ด้านคุณลักษณะอันพึง การสงั เกตพฤตกิ รรม การสังเกตพฤติกรรม นักเรียนทีไ่ ด้ระดับคณุ ภาพ

ประสงค์ (A) รายบคุ คล รายบุคคล พอใช้ขนึ้ ไป ถอื ว่า ผ่าน

นักเรียนอธิบายการ

วัดผล และประเมินผล

และเกณฑ์การผ่าน

รายวิชาการงานอาชพี ได้

ด้านคุณลักษณะอันพึง ประเมินคุณลักษณะ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย

ประสงค์ตามหลักสูตร อันพึงประสงค์ของ คุณลัก ษณะ อ ัน พึ ง ละ ๖๐

แกนกลางการศึกษาข้ัน ผู้เรยี น ประสงค์

พื้นฐาน พุทธศักราช

๒๕๕๑

ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของ ประเมินสมรรถนะ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย

ผู้เรยี น สาคัญของผูเ้ รยี น สมรรถนะสาคัญของ ละ ๖๐

ผู้เรียน

-ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร
สือ่ สาร
-ความสามารถในการคดิ
-ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
-ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร
แกป้ ญั หา
-ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ ที่ ๑ ระบคุ าถาม

๑. ครูและนกั เรยี นสนทนาทาความเข้าใจเกยี่ วกับการจัดตกแตง่ เรื่องดืม่ และการบรกิ าร
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคาถามที่กาหนด เพื่อตรวจสอบเจตคติและ
ประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องนกั เรยี นในเรือ่ งเคร่อื งดื่ม ทผ่ี า่ นมา

ขัน้ ท่ี ๒ แสวงหาความรู้
๑. ครใู หน้ ักเรียนนาคาถาม ทีค่ รไู ด้ต้งั คาถามไว้ มารว่ มกันสนทนา
๒. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษาความรู้ในเร่ืองเคร่ืองด่ืมและการบริการ หนงั สอื เรยี นวิชาการงานอาชีพ ม. ๑

ขั้นท่ี ๓ สร้างความร้แู ละสรุปความรู้
๑. ครูสอนและใหค้ วามรกู้ ับนักเรียนเรือ่ งการจัดตกแตง่ เครอื่ งด่มื และการบริการ
๒. ครสู อนผู้เรียนเรื่องการบริการเคร่อื งดื่ม และการจัดเคร่อื งด่มื

ข้นั ที่ ๔ ประเมนิ และบริการสงั คม
๑. ครูประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ดว้ ยวิธกี ารตัง้ คาถาม เพื่อทดสอบความรแู้ ละความเขา้ ใจของ
นักเรียน
๒. ครูแนะนาวธิ กี ารทางานท่ีจาเปน็ ตอ่ การดารงชวี ิตในประจาวันของนกั เรียน เพ่ือให้นักเรียนรู้จักนา
ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กบั สมาชกิ ในครอบ
และชมุ ชนทีน่ กั เรยี นอาศัยอยู่

สื่อ/แหลง่ เรียนรู้
สอื่ วสั ดอุ ปุ กรณ์

๑. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพื้นฐานการงานอาชพี ม.๑
๒. เวบ็ ไซตก์ ารงานอาชีพตา่ งๆ
๓. สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ เชน่ วารสาร นิตยสาร แผ่นพบั เผยแพร่ความรู้

แหล่งเรียนรู้
๑. ห้องสมดุ โรงเรยี น

สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้

ดา้ นความรู้

กล่มุ ผูเ้ รยี น ช่วงคะแนน

ดี 10

ปานกลาง 7

ปรบั ปรงุ 5

ด้านทักษะ/กระบวนการ

กลมุ่ ผ้เู รยี น ชว่ งคะแนน

ดี 10

ปานกลาง 7

ปรบั ปรงุ 5

ดา้ นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผู้เรยี น ชว่ งระดับคณุ ภาพ

ดี ๓

ปานกลาง ๒

ปรบั ปรงุ ๑-๐

บนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หาท่พี บระหว่างหรอื หลังจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………...............................…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชือ่ ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนยุ้ )
ครผู ู้สอน

ความคดิ เหน็ ของหัวหน้าหมวดวิชาการงานอาชพี
…..……….…………………………………………............……………………………………………………………………..……...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสุมนา ทองน้ยุ )

หัวหนา้ หมวดวชิ าการงานอาชีพ

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑๐

รายวชิ าการงานอาชพี รหัสวชิ า ง๒๑๑๐๒ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑

กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เวลา ๓ ชั่วโมง

เร่ือง…อาหารและโภชนาการ เวลา ๑ ช่ัวโมง

ผสู้ อน นางสาวสุมนา ทองนยุ้ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สุราษฎรธ์ านี

แนวคดิ สาคัญ (สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด)
อาหาร คือ สิ่งใดก็ตามที่มนุษย์รับเข้าสู่ร่างกาย แล้วเกิดประโยชน์ต่อ ร่างกาย ซ่อมแซมส่วนที่สึก

หรอ และทาให้กระบวนการต่างๆ ในร่างกายดาเนินไปอย่างปกติโดยใช้สารอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือ
หลายอยา่ ง ซ่ึงเปน็ ผลทาใหร้ ่างกายมคี วามเจรญิ เติบโต มีกาลงั และมีความตา้ นทานโรค ซง่ึ อาหารหลักของคน
ไทยจาแนกออกได้เป็น 5 หมู่ แต่ถ้าสิ่งใดเมื่อรับประทานแล้วและไม่เป็นประโยชน์ หรือให้โทษต่อ
ร่างกาย

โภชนาการ มีความหมายกว้างกว่าคาว่าอาหารมาก โดย โภชนาการ หมายถึง เรื่องต่างๆ ที่ว่าด้วย
อาหาร เชน่ การจดั แบ่งประเภทสารอาหาร ประโยชนข์ องอาหาร การย่อยอาหาร โรคขาดสารอาหาร เปน็
ต้น โภชนาการจึงเป็นวิชาการสาขาหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลง
ต่างๆ ของอาหารทีร่ ับประทานเข้าไปเพ่อื ประโยชน์ในการบารงุ รา่ งกาย

มาตรฐานการเรียนรู้
ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจดั การ ทักษะ

กระบวนการการแกไ้ ขปัญหา ทกั ษะการทางานรว่ มกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มคี ณุ ธรรมและลักษณะ
นิสัยในการทางาน มจี ติ สานกึ ในการใชพ้ ลงั งานทรัพยากร และสง่ิ แวดลอ้ มเพือ่ การดารงชีวติ ในครอบครวั

ตวั ชีว้ ัด(หรอื ผลการเรยี นรู้)
๑. วเิ คราะหข์ นั้ ตอนการทางานตามกระบวนการทางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)
๒. ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทางานด้วยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)
๓. ตดั สินใจแกป้ ญั หาการทางานอยา่ งมเี หตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ด้านความรู้

๑. ผ้เู รียนเขา้ ใจความหมายของอาหารและโภชนาการ
๒. ผูเ้ รยี นเข้าใจความหมายของการประกอบอาหาร
๓. ผ้เู รียนรู้จกั การเตรียมอาหาร การประกอบอาหาร และการจดั ตกแตง่ อาหาร

ดา้ นทักษะ
๑. ผ้เู รียนสามารถอธบิ ายความหมายของอาหารและโภชนาการได้
๒. ผู้เรียนสามารถอธบิ ายความหมายของการประกอบอาหารได้
๓. ผู้เรยี นรูจ้ ักการเตรียมอาหาร การประกอบอาหาร และการจดั ตกแต่งอาหาร

ดา้ นคณุ ธรรม
๑. ผเู้ รียนมีสว่ นร่วม มคี วามคิดสรา้ งสรรค์
๒. ผู้เรยี นมวี นิ ยั ใส่ใจ และมคี วามรบั ผิดชอบ
๓. ผู้เรยี นสามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวัน
๔. ผู้เรยี นมีนา้ ใจในการช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน
๕. ผเู้ รยี นมีความซ่ือสตั ย์และตรงตอ่ เวลา

ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง
 ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ๖. มงุ่ มัน่ ในการทางาน
 ๒. ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ  ๗. รกั ความเปน็ ไทย
 ๓. มวี นิ ัย  ๘. มีจติ สาธารณะ
 ๔. ใฝเ่ รียนรู้

เบญจวถิ กี าญจนา
 ๑. เทิดทูนสถาบนั
 ๒. กตญั ญู
 ๓. บุคลิกดี
 ๔. มวี นิ ัย
 ๕. ให้เกียรติ

สมรรถนะทสี่ าคัญของผเู้ รียน
 ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 ๒. ความสามารถในการคิด
 ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
 ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
 ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จดุ เนน้ สู่การพฒั นาผู้เรยี นความสามารถและทกั ษะทีจ่ าเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ (๓Rs๘Csx๒Ls)
 R๑–Reading (อา่ นออก)
 R๒– (W)Riting(เขียนได)้
 R๓ – (A)Rithmetics(คดิ เลขเป็น)
 C๑ - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแก้ปัญหา)
 C๒ - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม)
 C๓ - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทศั น์)
 C๔ - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็น
ทีมและภาวะผู้นา)
 C๕ – Communications, Information and Media Literacy ( ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส ื่ อ สาร
สารสนเทศและรู้เทา่ ทนั ส่ือ)
 C๖ - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือ่ สาร)
 C๗ - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนร้)ู
 C๘ – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L๑ – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้
 L๒ – Leadership (ทักษะความเปน็ ผู้นา)

การวัดและประเมินผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ชิน้ งาน วิธีการวดั เครื่องมอื เกณฑท์ ี่ใช้

ความรู้ (K) ประเมินผลจากคลิป แบบประเมินผล ผา่ นขนั้ ต่าไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐

๑. นกั เรียนสามารถ วีดโิ อการทาอาหาร งานนกั เรยี น

อธิบายความหมาย

ของอาหารและ

โภชนาการได้

๒. นักเรียนสามารถ

อธบิ ายการประกอบ

อาหารได้

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ช้ินงาน วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑท์ ใ่ี ช้

ทกั ษะกระบวนการ (P) -การออกมานาเสนอ แบบสังเกตการ คะแนนตัง้ แต่ 4-9 ผา่ น

นักเรียนใช้ทักษะการ -การตอบคาถาม ตอบคาถาม

ในการปฏบิ ตั อิ าหาร

ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ภาระงาน/ช้นิ งาน วธิ ีการวดั เครื่องมอื เกณฑท์ ่ีใช้
การสงั เกตพฤตกิ รรม
ด้านคุณลักษณะอันพึง การสังเกต รายบุคคล น ั ก เ ร ี ย น ท ี ่ ไ ด ้ ร ะ ดับ
คุณภาพพอใช้ขึ้นไป ถือ
ประสงค์ (A) พฤตกิ รรม วา่ ผ่าน

นักเรียนอธิบายการวัดผล รายบคุ คล

และประเมินผลและเกณฑ์

การผา่ นรายการงานได้

ด้านคณุ ลักษณะอันพึง ประเมนิ แบบประเมิน ผา่ นข้นั ตา่ ไมน่ อ้ ยกว่า
ประสงคต์ ามหลกั สตู ร รอ้ ยละ ๖๐
แกนกลางการศึกษาขั้น คณุ ลักษณะอันพงึ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ
พืน้ ฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ประสงคข์ องผูเ้ รียน ประสงค์

ด้านสมรรถนะสาคญั ของ ประเมินสมรรถนะ แบบประเมนิ ผา่ นขั้นต่าไมน่ ้อยกวา่
ผูเ้ รียน สาคญั ของผ้เู รยี น สมรรถนะสาคญั ของ รอ้ ยละ ๖๐
-ความสามารถในการ
สอื่ สาร ผเู้ รียน
-ความสามารถในการคดิ
-ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
-ความสามารถในการ
แกป้ ญั หา
-ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ ท่ี ๑ ระบคุ าถาม

๑. ครูสุ่มถามนักเรียนในชั้นเรยี นเรื่องความรู้เบื้องต้นของอาหารและโภชนาการ เพื่อทดสอบความรู้
เบ้ืองต้นของความรนู้ ักเรียน กอ่ นท่ีจะสอนและใหค้ วามรู้

ข้นั ท่ี ๒ แสวงหาความรู้
๑. ครใู หค้ วามรู้นักเรยี นในชนั้ เรยี นเร่ืองความรู้เบอ้ื งต้นของอาหารและโภชนาการ
๒. ครใู ห้ความรู้กบั นกั เรยี นเรือ่ งการประกอบอาหาร

ขน้ั ท่ี ๓ สรา้ งความรแู้ ละสรปุ ความรู้
๑. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาความรเู้ ก่ยี วกบั ความสาคญั ของอาหารและโภชนาการ
๒. ครอู ธบิ ายความรู้เบอื้ งตน้ ของการประกอบอาหาร
๓. ครูยกตัวอยา่ งความรเู้ รือ่ งอาหารประจาภาค

ข้นั ที่ ๔ สอ่ื สารและนาเสนอ
๑. ครูนาเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้าน Google meet
๒. ครูสุ่มถามผู้เรียนเรื่องการประกอบอาหาร และครูเสริมความรู้เพิ่มเติมในการเรียนการสอนให้กับ
ผู้เรยี น

ขน้ั ท่ี ๕ ประเมินและบริการสังคม
๑. ครูประเมนิ ผลการเรยี นรูข้ องนกั เรยี น ด้วยวิธีการตง้ั คาถาม เพ่ือทดสอบความรแู้ ละความเข้าใจของ
นักเรียน

๒. ครแู นะนาวธิ ีการทางานที่จาเปน็ ต่อการดารงชีวิตในประจาวนั ของนกั เรียน เพือ่ ใหน้ ักเรียนรู้จักนา
ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับสมาชิกในครอบ
และชุมชนทน่ี ักเรยี นอาศัยอยู่

สื่อ/แหลง่ เรียนรู้
ส่อื วสั ดุอปุ กรณ์

๑. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐานการงานอาชีพ ม.๑
๒. เวบ็ ไซตก์ ารงานอาชพี ตา่ งๆ
๓. ส่อื สงิ่ พิมพ์ เช่น วารสาร นิตยสาร แผน่ พบั เผยแพร่ความรู้
แหลง่ เรยี นรู้
๑. หอ้ งสมุดโรงเรยี น

สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ ชว่ งคะแนน
๑๐
กลุ่มผูเ้ รียน ๗
ดี ๕
ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ชว่ งคะแนน
๑๐
กลุ่มผเู้ รียน ๗
ดี ๕
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ด้านคุณลกั ษะอันพึงประสงค์

กลุม่ ผเู้ รยี น ชว่ งระดบั คุณภาพ
ดี ๓
ปานกลาง ๒
ปรับปรุง ๑-๐

บนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………...............................…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงช่อื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนยุ้ )
ครูผู้สอน

ความคดิ เห็นของหวั หนา้ หมวดวิชาการงานอาชพี
…..……….…………………………………………............……………………………………………………………………..……...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสุมนา ทองนยุ้ )

หัวหน้าหมวดวชิ าการงานอาชพี

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑๑

รายวิชาการงานอาชพี รหัสวชิ า ง๒๑๑๐๒ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๔ เวลา ๓ ชัว่ โมง

เรอื่ ง…อาหารจานเดยี ว เวลา ๑ ช่วั โมง

ผ้สู อน นางสาวสมุ นา ทองนยุ้ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี

แนวคิดสาคญั (สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด)
อาหารจานเดียว หมายถึง อาหารปรุงสาเร็จ 1 จาน มีปริมาณเพียงพอที่จะรับประทานได้อิ่ม 1 มื้อ

โดยไม่ต้องรบั ประทานอาหารอ่นื รว่ มดว้ ย ส่วนใหญ่อาหารจานเดยี วมักจะเปน็ อาหารคาวและนิยมรับประทาน
ในมอื้ กลางวนั

หลักการประกอบอาหารจานเดียวที่ส าคัญ ได้แก่ มีประโยชน์ ประหยัด ปลอดภัย
นา่ รับประทาน และต้องวางแผนการประกอบอาหารกอ่ นทกุ ครงั้ เพื่อใหก้ ารทางานมีประสิทธิภาพ และผลงาน
การประกอบอาหารจานเดียวมคี ณุ ภาพ

มาตรฐานการเรยี นรู้
ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจดั การ ทักษะ

กระบวนการการแกไ้ ขปัญหา ทักษะการทางานรว่ มกนั และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลักษณะ
นสิ ัยในการทางาน มีจติ สานกึ ในการใช้พลังงานทรพั ยากร และสง่ิ แวดล้อมเพอื่ การดารงชีวิตในครอบครวั

ตวั ช้วี ดั (หรอื ผลการเรียนร้)ู
๑. วเิ คราะหข์ นั้ ตอนการทางานตามกระบวนการทางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)
๒. ใช้กระบวนการกล่มุ ในการทางานดว้ ยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)
๓. ตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาการทางานอย่างมเี หตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ด้านความรู้

๑. ผเู้ รยี นเขา้ ใจความหมายของอาหารจานเดียว
๒. ผู้เรียนเข้าใจความสาคญั คุณคา่ ของอาหารตอ่ สภุ าพ
๓. ผู้เรียนเขา้ ใจอาหารทีเ่ หมาะสมสาหรับวยั รนุ่
๔. ผเู้ รยี นเขา้ ใจการจัดและตกแตง่ จาน

ดา้ นทักษะ
๑. ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของอาหารจานเดียวได้
๒. ผู้เรยี นสามารถอธิบายความสาคัญของอาหารได้
๓. ผู้เรียนสามารถอธิบายอาหารจานเดยี วได้
๔. ผเู้ รยี นสามารถบอกการจัดและตกแต่งอาหารไดอ้ ย่างหลากหลายรปู แบบ

ดา้ นคณุ ธรรม
๑. ผ้เู รยี นมีส่วนรว่ ม มีความคดิ สร้างสรรค์
๒. ผเู้ รยี นมวี นิ ยั ใส่ใจ และมคี วามรับผดิ ชอบ
๓. ผเู้ รยี นสามารถนาความรูไ้ ปใช้ในชวี ิตประจาวัน
๔. ผู้เรยี นมนี ้าใจในการช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั
๕. ผเู้ รียนมคี วามซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา

ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
 ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  ๖. มุ่งม่ันในการทางาน
 ๒. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ  ๗. รักความเปน็ ไทย
 ๓. มีวนิ ยั  ๘. มีจติ สาธารณะ
 ๔. ใฝเ่ รียนรู้

เบญจวถิ ีกาญจนา
 ๑. เทิดทนู สถาบัน
 ๒. กตัญญู
 ๓. บุคลิกดี
 ๔. มีวนิ ยั
 ๕. ใหเ้ กียรติ

สมรรถนะที่สาคัญของผเู้ รียน
 ๑. ความสามารถในการส่ือสาร
 ๒. ความสามารถในการคิด
 ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
 ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
 ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จดุ เนน้ ส่กู ารพัฒนาผู้เรียนความสามารถและทกั ษะท่ีจาเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ (๓Rs๘Csx2Ls)
 R๑–Reading (อา่ นออก)
 R๒– (W) Riting (เขียนได)้
 R๓ – (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 C๑ - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแก้ปญั หา)
 C๒ - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
 C๓ - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทัศน์)
 C๔ - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็น
ทมี และภาวะผ้นู า)
 C๕ – Communications, Information and Media Literacy ( ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส ื่ อ สาร
สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันส่อื )
 C๖ - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร)
 C๗ - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้
 C๘ – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L๑ – Learning (ทกั ษะการเรียนร้)ู
 L๒ – Leadership (ทักษะความเปน็ ผู้นา)

การวัดและประเมินผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ช้ินงาน วิธกี ารวัด เคร่อื งมอื เกณฑท์ ใ่ี ช้

ความรู้ (K) ประเมินผลจากคลิป แบบประเมินผล ผา่ นข้นั ต่าไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐

๑. นักเรียนสามารถ วดี โิ อ งานนกั เรียน

อธิบายความหมาย

ของอาหารจานเดียว

ได้

๒. นักเรียนสามารถ

อธิบายขั้นตอนการ

ปฏิบัติอาหารจาน

เดยี ว

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ชน้ิ งาน วิธีการวดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์ท่ีใช้

ทกั ษะกระบวนการ (P) -การออกมานาเสนอ แบบสังเกตการตอบ คะแนนต้งั แต่ 4-9 ผ่าน

นักเรียนใช้ทักษะการคดิ -การตอบคาถาม คาถาม

ต่างๆและปฏิบัติการ

ทาอาหารจานเดยี ว

ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวดั เครือ่ งมือ เกณฑ์ทใี่ ช้
นักเรียนทีไ่ ด้ระดับคณุ ภาพ
ดา้ นคุณลักษณะอันพึง การสังเกตพฤตกิ รรม การสงั เกตพฤตกิ รรม พอใช้ขนึ้ ไป ถือวา่ ผา่ น

ประสงค์ (A) รายบุคคล รายบคุ คล ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย
ละ ๖๐
นกั เรยี นอธบิ ายการ

วดั ผล และประเมินผล

และเกณฑก์ ารผ่าน

รายวิชาน้ีได้

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมนิ

ประสงคต์ ามหลกั สูตร อันพึงประสงค์ของ คุณลกั ษณะอันพงึ

แกนกลางการศกึ ษาขน้ั ผเู้ รียน ประสงค์

พื้นฐาน พทุ ธศักราช

๒๕๕๑

ด้านสมรรถนะสาคญั ของ ประเมินสมรรถนะ แบบประเมนิ ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย
ละ ๖๐
ผู้เรียน สาคัญของผเู้ รยี น สมรรถนะสาคญั ของ

-ความสามารถในการ ผูเ้ รียน

สอ่ื สาร

-ความสามารถในการคิด

-ความสามารถในการใช้

ทกั ษะชีวิต

-ความสามารถในการ

แก้ปญั หา

-ความสามารถในการใช้

เทคโนโลยี

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นท่ี ๑ ระบุคาถาม

๑. ครูและนักเรยี นสนทนาเกี่ยวกบั เรอื่ งบทเรยี นอาหาร
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคาถามที่กาหนด เพื่อตรวจสอบเจตคติและ
ประสบการณก์ ารเรียนรขู้ องนักเรยี นในวชิ าการงานอาชพี ที่ผา่ นมา
๓. ให้นักเรียนช่วยกันคิดประเด็นคาถามที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนในเรื่องอาหารจาน
เดยี ว

ขั้นที่ ๒ แสวงหาความรู้
๑. ครูใหน้ กั เรยี นนาคาถาม ท่คี รไู ดต้ ้ังคาถามไว้ มารว่ มกันสนทนา
๒. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาความรูใ้ นเรอ่ื งอาหารจานเดียว

ขั้นที่ ๓ สร้างความรู้และสรุปความรู้
๑. ครูอธบิ ายความรคู้ วามหมายและความสาคญั ของอาหารจานเดียว
๒. ครผู สู้ อนอธบิ ายการจัดตกแต่งจาน ท้งั อาหารคาวและหวาน
๓. ครูสุ่มถามนกั เรียนในชั้นเรยี นเกย่ี วกับความรู้อาหารจานเดียว หากนักเรียนตอบคาถามผิด ครูควร
เพ่ิมเตมิ ความร้ทู ถ่ี กู ตอ้ งใหก้ ับนักเรยี น และช่วยกนั สรปุ เปน็ ความรู้

ขนั้ ที่ ๔ สอ่ื สารและนาเสนอ
๑. ครูสุ่มให้นักเรียน ๒-๓ คน ออกมาเล่าประสบการณ์ ในการทาอาหารเพื่อทดสอบประสบการณ์
ความรู้ในดา้ นอาหารของนกั เรียน

๒. ครอู ธบิ ายความรเู้ พม่ิ เติมในสว่ นทถี่ ูกต้อง และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นร่วมกันสรปุ เป็นความรู้ในเร่ือง
ความสาคญั ของการประกอบอาหารและการจัดตกแตง่ อาหาร

ขนั้ ท่ี ๕ ประเมินและบรกิ ารสังคม
๑. ครูประเมินผลการเรียนรขู้ องนักเรียน ด้วยวธิ กี ารต้ังคาถาม เพื่อทดสอบความรู้และความเข้าใจของ
นกั เรียน
๒. ครแู นะนาวิธกี ารทางานทีจ่ าเปน็ ตอ่ การดารงชีวิตในประจาวันของนกั เรยี น เพอ่ื ใหน้ กั เรียนรู้จักนา
ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับสมาชกิ ในครอบ
และชุมชนทีน่ ักเรียนอาศัยอยู่

สอ่ื /แหล่งเรียนรู้

ส่ือวัสดุอปุ กรณ์

๑. หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐานการงานอาชีพ ม.๑
๒. เวบ็ ไซตก์ ารงานอาชีพต่างๆ
๓. สอื่ สง่ิ พมิ พ์ เช่น วารสาร นิตยสาร แผน่ พบั เผยแพรค่ วามรู้
แหลง่ เรียนรู้

๑. หอ้ งสมดุ โรงเรยี น

สรุปผลการจดั การเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

กลมุ่ ผู้เรียน ช่วงคะแนน

ดี ๑๐

ปานกลาง ๗

ปรบั ปรุง ๕

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

กลุ่มผู้เรยี น ช่วงคะแนน

ดี ๑๐

ปานกลาง ๗

ปรบั ปรุง ๕

ด้านคุณลกั ษะอันพึงประสงค์

กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดบั คุณภาพ

ดี ๓

ปานกลาง ๒

ปรบั ปรุง ๑-๐

บนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………...............................…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงช่อื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนยุ้ )
ครูผู้สอน

ความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ หมวดวิชาการงานอาชพี
…..……….…………………………………………............……………………………………………………………………..……...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนุ้ย )

หัวหน้าหมวดวิชาการงานอาชีพ

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๒

รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวชิ า ง๒๑๑๐๒ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑

กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๔ เวลา ๓ ชัว่ โมง

เรือ่ ง…อาหารและโภชนาการเพื่อสภุ าพ เวลา ๑ ชว่ั โมง

ผู้สอน นางสาวสุมนา ทองนุ้ย โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎร์ธานี

แนวคดิ สาคัญ (สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด)
อาหารเสรมิ สุขภาพ คอื อาหารซึ่งประกอบไปด้วยสารอาหารทจ่ี าเปน็ ในระดบั สูง หรอื สารทีบ่ างอยา่ ง

เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยอาจรวมไปถึงสารต้านอนมุ ูลอิสระ, อาหารเส้นใย, กรดไขมัน, Prebiotics และ
Probiotics
มาตรฐานการเรยี นรู้

ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจดั การ ทักษะ
กระบวนการการแก้ไขปญั หา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลักษณะ
นิสัยในการทางาน มีจติ สานกึ ในการใช้พลังงานทรัพยากร และสิง่ แวดลอ้ มเพ่อื การดารงชวี ิตในครอบครวั

ตวั ชี้วัด(หรือผลการเรยี นรู้)
๑. วิเคราะหข์ น้ั ตอนการทางานตามกระบวนการทางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)
๒. ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)
๓. ตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาการทางานอยา่ งมเี หตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ด้านความรู้

๑. ผเู้ รียนเขา้ ใจความหมายของอาหารเพ่อื สขุ ภาพ
๒. ผ้เู รียนเข้าใจความสาคัญของอาหารเพือ่ สุขภาพ
๓. ผ้เู รียนร้เู ขา้ ใจการบรกิ ารอาหารในครอบครัว
๔. ผู้เรียนเข้าใจการจัดและตกแต่งอาหารให้นา่ รบั ประทาน
ดา้ นทกั ษะ
๑. ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายความหมายของอาหารเพ่ือสขุ ภาพได้
๒. ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายความสาคัญของอาหารเพ่อื สุขภาพได้
๓. ผู้เรยี นสามารถอธิบายการบริการอาหารในครอบครวั ได้

๔. ผู้เรียนสามารถบอกวิธีการจัดตกแตง่ จานใหน้ ่ารบั ประทานไดห้ ลากหลายวิธี
ดา้ นคุณธรรม

๑. ผู้เรียนมีสว่ นร่วม มีความคิดสร้างสรรค์
๒. ผเู้ รยี นมวี ินยั ใสใ่ จ และมีความรบั ผิดชอบ
๓. ผู้เรยี นสามารถนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
๔. ผเู้ รียนมีนา้ ใจในการช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั
๕. ผู้เรยี นมคี วามซื่อสตั ย์และตรงตอ่ เวลา

ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
 ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  ๖. มุ่งม่นั ในการทางาน
 ๒. ซื่อสัตย์สจุ ริต  ๗. รักความเปน็ ไทย
 ๓. มวี ินยั  ๘. มีจิตสาธารณะ
 ๔. ใฝเ่ รียนรู้

เบญจวิถีกาญจนา
 ๑. เทิดทูนสถาบนั
 ๒. กตัญญู
 ๓. บคุ ลิกดี
 ๔. มีวินัย
 ๕. ใหเ้ กียรติ

สมรรถนะทส่ี าคญั ของผ้เู รยี น
 ๑. ความสามารถในการส่อื สาร
 ๒. ความสามารถในการคดิ
 ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เนน้ สกู่ ารพฒั นาผู้เรียนความสามารถและทกั ษะที่จาเป็นในการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ (๓Rs๘Csx2Ls)
 R๑–Reading (อ่านออก)
 R๒– (W)Riting(เขียนได)้
 R๓ – (A)Rithmetics(คดิ เลขเปน็ )
 C๑ - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแก้ปัญหา)
 C๒ - Creativity and Innovation (ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C๓ - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทัศน์)
 C๔ - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็น
ทมี และภาวะผู้นา)
 C๕ – Communications, Information and Media Literacy ( ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส ื่ อ สาร
สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื )
 C๖ - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร)
 C๗ - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนร้)ู
 C๘ – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินยั คุณธรรม จริยธรรม)
 L๑ – Learning (ทกั ษะการเรียนรู้)
 L๒ – Leadership (ทักษะความเปน็ ผูน้ า)

การวดั และประเมินผล

ด้านความรู้

ภาระงาน/ชิ้นงาน วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้

ความรู้ (K) ประเมนิ ผลใบงาน แบบประเมินผล ผา่ นขนั้ ต่าไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐

๑. นักเรียนสามารถ งานนกั เรยี น

อธิบายความหมาย

ข อ ง อ า ห า ร เ พื่ อ

สุขภาพได้

๒. นักเรียนสามารถ

อธิบายขั้นตอนการ

ป ฏ ิ บ ั ต ิ อ า ห า ร เ พ่ื อ

สขุ ภาพได้

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ชน้ิ งาน วธิ กี ารวัด เครื่องมือ เกณฑท์ ใี่ ช้

ทักษะกระบวนการ (P) -การออกมานาเสนอ แบบสังเกตการตอบ คะแนนต้งั แต่ 4-9 ผ่าน

นักเรียนใช้ทกั ษะการคิด -การตอบคาถาม คาถาม

ต่างๆที่ใช้ในการเรียนรู้

เรอ่ื งอาหาร

ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ภาระงาน/ชนิ้ งาน วิธีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑ์ท่ีใช้
นักเรียนทีไ่ ด้ระดับคณุ ภาพ
ด้านคุณลักษณะอันพึง การสงั เกตพฤตกิ รรม การสังเกตพฤติกรรม พอใช้ขึน้ ไป ถอื วา่ ผา่ น

ประสงค์ (A) รายบุคคล รายบคุ คล ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย
ละ ๖๐
นักเรียนอธิบายการ

วัดผล และประเมินผล

และเกณฑ์การผ่านการ

เรียนรูไ้ ด้

ด้านคุณลักษณะอันพึง ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมิน

ประสงค์ตามหลักสูตร อันพึงประสงค์ของ คณุ ลกั ษณะอนั พึง

แกนกลางการศึกษาข้ัน ผู้เรียน ประสงค์

พื้นฐาน พุทธศักราช

๒๕๕๑

ดา้ นสมรรถนะสาคัญของ ประเมินสมรรถนะ แบบประเมนิ ผ่านขั้นต่าไม่น้อยกว่าร้อย
ละ ๖๐
ผูเ้ รียน สาคัญของผู้เรียน สมรรถนะสาคญั ของ

-ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ผูเ้ รยี น

สอื่ สาร

-ความสามารถในการคดิ

-ความสามารถในการใช้

ทักษะชวี ติ

-ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร

แกป้ ัญหา

-ความสามารถในการใช้

เทคโนโลยี

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั ที่ ๑ ระบุคาถาม

๑. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างอาหารเพื่อสุขภาพมาคนละ ๑ อย่างตามความข้าใจของนักเรียน เพื่อ
ทดสอบความรูเ้ บ้อื งต้นของนกั เรยี น
๒. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคาถามที่กาหนด เพื่อตรวจสอบเจตคติและ
ประสบการณก์ ารเรียนรขู้ องนักเรยี นในวิชาการงานอาชพี ท่ผี า่ นมา

ขัน้ ที่ ๒ แสวงหาความรู้
๑. ครใู ห้นกั เรียนนาคาถาม ท่คี รูไดต้ ัง้ คาถามไว้ มาร่วมกันสนทนา
๒. ครใู ห้นกั เรยี นศกึ ษาความรู้ในเรอื่ งอาหารเพือ่ สขุ ภาพ

ขั้นท่ี ๓ สรา้ งความรู้และสรุปความรู้
๑. ครูไดส้ อนและอธิบายความร้ใู หก้ ับนกั เรยี นเร่อื งอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
๒. ครอู ธบิ ายการบรกิ ารอาหารในครอบครัว
๓. ครูได้สอนการตกแตง่ และการจดั จานใหน้ ่ารับประทาน

ขั้นที่ ๔ สือ่ สารและนาเสนอ
๑. ครูสุ่มให้นักเรียน ๒-๓ คน ออกมาเลา่ ประสบการณ์ ในการทางานดา้ นอาหาร โดยครูเปิดโอกาสให้
นกั เรยี นได้แสดงความคิดเห็นอยา่ งเต็มท่ี
๒. ครอู ธิบายความรู้เพ่ิมเติมในส่วนทีถ่ ูกต้อง และเปิดโอกาสให้นักเรียนร่วมกันสรุปเปน็ ความรู้ในเร่ือง
ความสาคัญของอาหารและโภชนาการ

ข้นั ท่ี ๕ ประเมินและบริการสังคม
๑. ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรยี น ด้วยวธิ กี ารต้งั คาถาม เพอื่ ทดสอบความรูแ้ ละความเข้าใจของ
นักเรียน ตวั อย่างคาถามเชน่
๒. ครแู นะนาวิธีการทางานทจ่ี าเป็นต่อการดารงชวี ิตในประจาวนั ของนักเรียน เพื่อใหน้ กั เรยี นรู้จักนา
ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับสมาชกิ ในครอบ
และชมุ ชนท่นี กั เรยี นอาศัยอยู่

สื่อ/แหลง่ เรียนรู้
สื่อวัสดอุ ปุ กรณ์

๑. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้นื ฐานการงานอาชีพ ม.๑
๒. เวบ็ ไซตก์ ารงานอาชพี ตา่ งๆ
๓. สื่อส่ิงพิมพ์ เชน่ วารสาร นิตยสาร แผ่นพบั เผยแพรค่ วามรู้

แหล่งเรียนรู้
๑. หอ้ งสมุดโรงเรียน

สรุปผลการจดั การเรยี นรู้

ด้านความรู้

กล่มุ ผเู้ รยี น ช่วงคะแนน

ดี ๑๐

ปานกลาง ๗

ปรบั ปรงุ ๕

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

กลุม่ ผเู้ รียน ชว่ งคะแนน

ดี ๑๐

ปานกลาง ๗

ปรับปรงุ ๕

ดา้ นคุณลกั ษะอนั พึงประสงค์

กลมุ่ ผู้เรียน ชว่ งระดับคุณภาพ

ดี ๓

ปานกลาง ๒

ปรบั ปรุง ๑-๐

บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หาท่พี บระหวา่ งหรือหลังจดั กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………...............................…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชอ่ื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสุมนา ทองนยุ้ )
ครูผู้สอน

ความคดิ เหน็ ของหวั หน้าหมวดวชิ าการงานอาชีพ
…..……….…………………………………………............……………………………………………………………………..……...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ……………….…………….………………………..
( นางสาวสุมนา ทองนุ้ย )

หวั หน้าหมวดวิชาการงานอาชีพ

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑๓

รายวิชาการงานอาชีพ รหัสวิชา ง๒๑๑๐๒ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑

กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๕ เวลา ๓ ช่วั โมง

เรอื่ ง…งานประดิษฐ์ เวลา ๑ ช่วั โมง

ผ้สู อน นางสาวสุมนา ทองน้ยุ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎร์ธานี

แนวคดิ สาคัญ (สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด)
ความหมายของงานประดิษฐ์ หมายถึง งานที่เกิดจากการใช้ความคิดสรา้ งสรรค์ของมนุษย์สร้างหรือ

ประดิษฐ์ขึ้นตามวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย หรือเพื่อความสวยงาม หรือประดับตกแต่งหรือเพือ่ ประโยชน์ใช้
สอย ความเป็นมาของงานประดิษฐ์ สิ่งประดิษฐ์เกิดขึ้นเพราะมนุษย์เป็นผู้สร้างผู้พัฒนา ปรับปรุง และ
เปลยี่ นแปลงแบบ ผลงานด้วยความคิดสร้างสรรค์ท่มี อี ยูใ่ นแต่ละบุคคล มวี ัตถปุ ระสงคใ์ นการสร้างสิ่งประดิษฐ์
เพื่อ ตอบสนอง ความต้องการด้านประโยชน์ใช้สอย งานประดิษฐ์มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับ
ชีวติ ประจาวนั ของคน ไทยตงั้ แต่สมยั โบราณ เก่ยี วขอ้ งกับขนบธรรมเนียมและประเพณที างศาสนา

มาตรฐานการเรยี นรู้
ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ

กระบวนการการแก้ไขปญั หา ทกั ษะการทางานร่วมกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลักษณะ
นิสัยในการทางาน มจี ติ สานึกในการใชพ้ ลังงานทรพั ยากร และส่งิ แวดลอ้ มเพือ่ การดารงชวี ิตในครอบครัว

ตัวชี้วัด(หรอื ผลการเรียนรู้)
๑. วเิ คราะหข์ นั้ ตอนการทางานตามกระบวนการทางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)
๒. ใช้กระบวนการกลุม่ ในการทางานด้วยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)
๓. ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ด้านความรู้

๑. ผเู้ รยี นเขา้ ใจความหมายของงานประดิษฐ์
๒. ผู้เรยี นเขา้ ใจความสาคญั ของงานประดษิ ฐ์
๓. ผเู้ รยี นรูจ้ กั งานประดิษฐแ์ ต่ละประเภท

ด้านทกั ษะ
๑. ผเู้ รยี นสามารถอธิบายความหมายของงานประดษิ ฐ์
๒. ผูเ้ รยี นสามารถอธิบายความสาคัญของงานประดิษฐไ์ ด้
๓. ผเู้ รียนรู้จักของงานประดิษฐ์แตล่ ะปรเภท

ดา้ นคณุ ธรรม
๑. ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความคดิ สร้างสรรค์
๒. ผเู้ รียนมวี ินยั ใส่ใจ และมคี วามรบั ผดิ ชอบ
๓. ผู้เรยี นสามารถนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวนั
๔. ผู้เรียนมนี า้ ใจในการชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั
๕. ผู้เรยี นมคี วามซอ่ื สัตย์และตรงต่อเวลา

ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์  ๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
 ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  ๖. มุ่งมัน่ ในการทางาน
 ๒. ซือ่ สตั ย์สุจรติ  ๗. รกั ความเป็นไทย
 ๓. มวี ินัย  ๘. มจี ติ สาธารณะ
 ๔. ใฝ่เรียนรู้

เบญจวถิ กี าญจนา
 ๑. เทิดทูนสถาบนั
 ๒. กตัญญู
 ๓. บุคลิกดี
 ๔. มีวนิ ัย
 ๕. ให้เกยี รติ

สมรรถนะทส่ี าคญั ของผู้เรียน
 ๑. ความสามารถในการสื่อสาร
 ๒. ความสามารถในการคดิ
 ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เนน้ สู่การพฒั นาผู้เรยี นความสามารถและทกั ษะทีจ่ าเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ (๓Rs๘Csx๒Ls)
 R๑–Reading (อา่ นออก)
 R๒– (W)Riting(เขียนได)้
 R๓ – (A)Rithmetics(คดิ เลขเป็น)
 C๑ - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแก้ปัญหา)
 C๒ - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม)
 C๓ - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทศั น์)
 C๔ - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็น
ทีมและภาวะผู้นา)
 C๕ – Communications, Information and Media Literacy ( ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส ื่ อ สาร
สารสนเทศและรู้เทา่ ทนั ส่ือ)
 C๖ - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือ่ สาร)
 C๗ - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนร้)ู
 C๘ – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L๑ – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้
 L๒ – Leadership (ทักษะความเปน็ ผู้นา)

การวัดและประเมินผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ชิ้นงาน วธิ กี ารวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้

ความรู้ (K) ประเมินผลจากใบ แบบประเมินผล ผา่ นข้ันตา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐

๑. นกั เรยี นสามารถ ความรู้ งานนกั เรยี น

อธบิ ายความหมายของ

งานประดิษฐ์

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ชน้ิ งาน วิธีการวดั เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้

ทกั ษะกระบวนการ (P) -การออกมานาเสนอ แบบสังเกตการ คะแนนต้ังแต่ 4-9 ผา่ น

นักเรียนทาใบงานที่ -การตอบคาถาม ตอบคาถาม

คุณครมู อบหมายให้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ภาระงาน/ช้นิ งาน วธิ ีการวัด เครอ่ื งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
นกั เรียนที่ได้ระดับ
ด้านคุณลักษณะอันพึง การสังเกต การสงั เกตพฤตกิ รรม คุณภาพพอใช้ข้ึนไป ถือ
วา่ ผ่าน
ประสงค์ (A) พฤติกรรม รายบคุ คล
ผ่านขั้นตา่ ไม่น้อยกวา่
นักเรียนอธิบายการวัดผล รายบคุ คล ร้อยละ ๖๐

และประเมินผลและเกณฑ์ ผ่านขน้ั ต่าไมน่ ้อยกวา่
รอ้ ยละ ๖๐
การผ่านรายการงานได้

ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประเมนิ แบบประเมิน

ประสงคต์ ามหลกั สูตร คณุ ลกั ษณะอนั พงึ คณุ ลกั ษณะอันพงึ

แกนกลางการศกึ ษาข้ัน ประสงค์ของผเู้ รยี น ประสงค์

พื้นฐาน พทุ ธศักราช

๒๕๕๑

ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของ ประเมนิ สมรรถนะ แบบประเมนิ

ผู้เรยี น สาคัญของผูเ้ รียน สมรรถนะสาคญั ของ

-ความสามารถในการ ผเู้ รียน

สื่อสาร

-ความสามารถในการคดิ

-ความสามารถในการใช้

ทกั ษะชีวิต

-ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
-ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑ ระบคุ าถาม

๑. ครูสุ่มถามนักเรียนในชั้นเรียนเรื่องความรู้เบื้องต้นของงานประดิษฐ์ เพื่อทดสอบความรู้
เบื้องต้นของความรนู้ ักเรียน ก่อนทจี่ ะสอนและใหค้ วามรู้

ข้ันที่ ๒ แสวงหาความรู้
๑. ครใู หค้ วามรู้นกั เรียนในชั้นเรียนเรอ่ื งความรู้เบือ้ งต้นของงานประดษิ ฐ์
๒. ครูให้ความรกู้ ับนักเรยี นเร่อื งความสาคัญของงานประดษิ ฐ์

ข้ันท่ี ๓ สรา้ งความรู้และสรปุ ความรู้
๑. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสนทนาความรเู้ กี่ยวกบั ความสาคัญของงานประดษิ ฐ์
๒. ครูอธบิ ายความรเู้ บ้ืองตน้ ของงานดษิ ฐ์

ขั้นที่ ๔ สื่อสารและนาเสนอ
๑. ครูนาเสนอและถา่ ยทอดความรทู้ างดา้ น Google meet
๒. ครูส่มุ ถามผู้เรียนเรือ่ งประเภทของงานประดิษฐ์มอี ะไรบา้ ง

ขั้นที่ ๕ ประเมินและบริการสังคม
๑. ครปู ระเมินผลการเรียนรูข้ องนกั เรียน ดว้ ยวิธีการต้ังคาถาม เพอื่ ทดสอบความร้แู ละความเขา้ ใจของ
นกั เรียน
๒. ครูแนะนาวธิ กี ารทางานทจี่ าเปน็ ตอ่ การดารงชวี ิตในประจาวันของนกั เรยี น เพือ่ ให้นักเรียนรู้จักนา
ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับสมาชกิ ในครอบ
และชมุ ชนทนี่ กั เรยี นอาศัยอยู่

สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้
สอ่ื วสั ดอุ ุปกรณ์

๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐานการงานอาชพี ม.๑
๒. เวบ็ ไซตก์ ารงานอาชพี ต่างๆ
๓. สอ่ื สิง่ พิมพ์ เชน่ วารสาร นติ ยสาร แผ่นพบั เผยแพรค่ วามรู้

แหล่งเรยี นรู้
๑. ห้องสมดุ โรงเรยี น

สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้

ด้านความรู้

กลุ่มผ้เู รยี น ชว่ งคะแนน
ดี ๑๐
ปานกลาง ๗
ปรบั ปรงุ ๕

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน
กลุ่มผู้เรยี น ๑๐
ดี ๗
ปานกลาง ๕
ปรับปรงุ

ดา้ นคุณลกั ษะอนั พงึ ประสงค์ ชว่ งระดับคณุ ภาพ
กลุม่ ผ้เู รียน ๓
ดี ๒
ปานกลาง ๑-๐
ปรับปรุง

บนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….........

ปญั หาที่พบระหว่างหรือหลังจัดกิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………...............................…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชอ่ื ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนยุ้ )
ครูผู้สอน

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ หมวดวิชาการงานอาชพี
…..……….…………………………………………............……………………………………………………………………..……...............
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ……………….…………….………………………..
( นางสาวสมุ นา ทองนุย้ )

หวั หน้าหมวดวิชาการงานอาชีพ

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๔

รายวิชาการงานอาชีพ รหสั วชิ า ง๒๑๑๐๒ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๕ เวลา ๓ ช่วั โมง

เรอ่ื ง…ประเภทของงานประดษิ ฐ์ เวลา ๑ ชว่ั โมง

ผ้สู อน นางสาวสุมนา ทองนยุ้ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสาคญั (สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด)
ลกั ษณะของงานประดิษฐ์ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ

1. งานประดิษฐ์ทั่วไป เป็นงานประดิษฐ์ที่ไม่มีความเป็นมาจากบรรพบุรุษหรือท้องถิน่ กล่าวคือเป็น
งานประดิษฐท์ บ่ี คุ คลท่วั ไป สามารถเรียนรู้และนาไปประดิษฐไ์ ด้โดยอาศัยการศึกษาจากตารา เช่น ดอกไม้จาก
เศษวสั ดเุ หลือใช้ หมวก ตุ๊กตา เครือ่ งใชต้ ่าง ๆ

2. งานประดษิ ฐท์ ี่เปน็ เอกลักษณ์ไทย เปน็ งานประดษิ ฐ์ทีส่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ หรืองานประดิษฐ์ท่ี
มีเฉพาะในท้องถิ่นนั้น ๆ โดยส่วนมากจะเป็นการสืบทอดจากผู้ใหญ่ในครอบครัวมาสู่ลูกหลานงานประดิษฐ์
หลายอย่างทาขึ้นเพื่องานประเพณีทาง เช่น พานพุ่ม มาลัย เครื่องแขวนบายศรี และบางอย่างก็ทาขึ้นเพื่อ
ความสวยงาม สนุกสนาน ภายในครอบครวั
งานประดิษฐ์มีประโยชนห์ ลายอยา่ ง

1. ทาให้มีความรู้และทักษะในงานประดิษฐ์ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยขน์ และเป็นช่องทางในการ
ประกอบอาชีพได้

2. ส่ืงเสรมิ ให้มีความคิดสรา้ งสรรค์ เชน่ สามารถออกแบบและสรา้ งผลงานใหม้ ีรูปแบบแปลกใหม การ
ดัดแปลงวัสดุชนิดเดยี วให้เปน็ ผลงานหลายชิ่น การตกแต่งชิ้นงานให้มคี วามประณีตสสวยงามมากยิ่งขึ้น เป็น
ต้น

3. ปลูกฝังให้ทางานเป็นกระบวนการ ฝึกให้รู้จักวางแผนการทางาน มีขั้นตอนการทางานอย่างเปน็
ระบบ และสามารภแก้ปัญหาใสการทางานได้

4. สร้างเสริมให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านต่างๆ สร้างวินัยในการทางาน ทาให้มีนิสัยรักการ
ทางาน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ รู้คุณค่าของงาน มีความละเอียดรอบคอบ ช่างสังเต และมีสมาธิในการ
ทางาน

5. ชว่ ยสบื ทอดศลิ ปวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาไทย และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ โดยการเรียนร้เู รือ่ งงานประดิษฐ์
ที่เกี่ยวข้องกับขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ภูมิปัญญาไทยและภมู ิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ไทย และ
เผยแพร่ความรู้แก่ผู้อืน่ ต่อไป

มาตรฐานการเรยี นรู้
ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ

กระบวนการการแก้ไขปญั หา ทกั ษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและลักษณะ
นสิ ยั ในการทางาน มจี ิตสานึกในการใชพ้ ลงั งานทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพือ่ การดารงชีวิตในครอบครวั

ตัวช้ีวดั (หรือผลการเรยี นรู้)
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)
๒. ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการทางานด้วยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)
๓. ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาการทางานอยา่ งมีเหตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

จุดประสงค์การเรยี นรู้
ด้านความรู้

๑. ผเู้ รียนเข้าใจประเภทของงานประดษิ ฐ์
๒. ผู้เรียนเข้าใจคณุ ค่าของงานประดษิ ฐ์
๓. ผูเ้ รียนเขา้ ใจประโยชน์ของงานประดษิ ฐ์
ด้านทกั ษะ
๑. ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายประเภทของงานประดิษฐไ์ ด้
๒. ผู้เรียนสามารถอธบิ ายคุณคา่ ประเภทของงานประดษิ ฐ์
๓. ผู้เรยี นสามารถอธิบายประโยชนป์ ระเภทของงานประดิษฐ์
ด้านคุณธรรม
๑. ผเู้ รยี นมีส่วนร่วม มีความคิดสร้างสรรค์
๒. ผเู้ รยี นมีวนิ ยั ใส่ใจ และมีความรบั ผิดชอบ
๓. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
๔. ผู้เรียนมีน้าใจในการช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั
๕. ผูเ้ รยี นมคี วามซ่ือสตั ยแ์ ละตรงต่อเวลา

ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
 ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  ๖. มุง่ ม่นั ในการทางาน
 ๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต  ๗. รักความเป็นไทย
 ๓. มีวินัย  ๘. มจี ิตสาธารณะ
 ๔. ใฝเ่ รยี นรู้

เบญจวิถกี าญจนา
 ๑. เทดิ ทูนสถาบนั
 ๒. กตัญญู
 ๓. บุคลกิ ดี
 ๔. มีวินัย
 ๕. ใหเ้ กียรติ

สมรรถนะทส่ี าคัญของผเู้ รียน
 ๑. ความสามารถในการส่ือสาร
 ๒. ความสามารถในการคดิ
 ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
 ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพัฒนาผเู้ รียนความสามารถและทักษะที่จาเป็นในการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ (๓Rs๘Csx2Ls)
 R๑–Reading (อ่านออก)
 R๒– (W) Riting (เขยี นได้)
 R๓ – (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 C๑ - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกป้ ัญหา)
 C๒ - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
 C๓ - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทศั น์)
 C๔ - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็น
ทีมและภาวะผนู้ า)
 C๕ – Communications, Information and Media Literacy ( ท ั ก ษ ะ ด ้ า น ก า ร ส ื่ อ สาร
สารสนเทศและรเู้ ท่าทันสอ่ื )
 C๖ - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C๗ - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นร)ู้
 C๘ – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L๑ – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้
 L๒ – Leadership (ทักษะความเปน็ ผนู้ า)


Click to View FlipBook Version