The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Book-ไกด์บุ๊ค-หนังสือท่องเที่ยว สกลนคร-REAL

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Só Sónai, 2024-03-17 09:28:37

หนังสือท่องเที่ยว สกลนคร

Book-ไกด์บุ๊ค-หนังสือท่องเที่ยว สกลนคร-REAL

คู่มือนำ�เที่ยว จังหวัดสกลนคร


2092 2096 2096 2281 2096 2096 2225 2203 2342 227 2229 อ.บŒานม‹วง อ.เจริญศิลปŠ อ.สว‹างแดนดิน อ.ส‹องดาว อ.พังโคอ.วาริชอ.นิคมน้อ.วหนองคาย อ.พรเจริอ.ทุ‹งฝน อ.วังสามหมŒอ นอง อุดรธานี กา2203 2342 227 อ.เจริญศิลปŠ อ เจ อ.สว‹างแดนดิ อ น อ.ส‹องดาว อ.พังโคอ พังโคอ.วาริช อ. าริชอ.นิคมน้คมน้อ.วอ.วังสามหมŒอ อ 22 21 27 26 25 33 24 23 อำ�ำเภอเมืองสกลนคร 1. พระธาตุเชิงชุม 2 กม. 2. หนองหาร 3 กม. 3. สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 3 กม. (สระพังทอง) 4. พิพิธภัณฑ์พระอาจารย์มั่น 500 ม. 5. สะพานขอม หรือสะพานหิน 2 กม. 6. พระธาตุดุม 5 กม. 7. พระธาตุนารายณ์เจงเวง 5 กม. 8. พิพิธภัณฑ์ภูพาน 4 กม. 9. อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ 20 กม. 10. บ้านท่าแร่ (ชุมชนคาทอลิก) 21 กม. 11. พระตำ�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ 13 กม. 12. อุทยานแห่งชาติภูพาน 32 กม. 13. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน 13 กม. อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ำริ 14. หมู่บ้านชาวภูไทบ้านโนนหอม 13 กม. 15. วัดถ้�้ำำผาแด่น 20 กม. อำ�ำเภอพรรณานิคม 16. พระธาตุภูเพ็ก 32 กม. 17. วัดถ้�้ำำขาม 40 กม. 18. วัดป่าอุดมสมพร 41 กม. (พิพิธภัณฑ์อาจารย์ฝั้น อาจาโร) 19. อโรคยาศาล วัดคำ�ำประมง 40 กม. อำ�ำเภอพังโคน 20. เขื่อนน้�้ำำอูน 59 กม. อำ�ำเภอสว่างแดนดิน 21. ปราสาทบ้านพันนา 70 กม. 22. กลุ่มทอผ้าบ้านพันนา 72 กม. อำ�ำเภอวาริชภูมิ 23. พระธาตุศรีมงคล 69.2 กม. 24. ถ้�้ำำพระพุทธไสยาสน์ 78 กม. 25. ภูอ่างศอ 87 กม. อำ�ำเภอส่องดาว 26. วัดถ้�้ำำอภัยดำ�ำรงธรรม 84 กม. หรือวัดถ้�้ำำพวง และพิพิธภัณฑ์ พระอาจารย์วัน อุตตโม 27. อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก 80 กม. อำ�ำเภอกุดบาก 28. เขื่อนน้�้ำำพุง 37 กม. 29. วัดโพนงาม 33 กม. อำ�ำเภอกุสุมาลย์ 30. ศูนย์วัฒนธรรมไทยโส้ 40 กม. อำ�ำเภอเต่างอย 31. อุทยานแห่งชาติภูผายล 34 กม. 32. ภาพเขียนประวัติศาสตร์ 52 กม. สามพันปี อำ�ำเภอเจริญศิลป์ 33. ศูนย์ศิลปาชีพบ้านกุดนาขาม 84 กม. อำ�ำเภออากาศอำ�ำนวย 34. หมู่บ้านผลิตผ้าย้อมคราม 57 กม. บ้านถ้�้ำำเต่า อำ�ำเภอภูพาน 35. วัดป่าภูริทัตตถิราวาส 33 กม. (วัดป่าหนองผือ) อำ�ำเภอโคกศรีสุพรรณ 36. วัดป่านาคนิมิต 26 กม. 37. วัดดอนธรรมเจดีย์ 30 กม. สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจของแต่ละอำ�ำเภอและระยะทางจากตัวเมือง 2 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


62218 2106 2307 2355 2094 2026 2346 2339 2330 2291 2291 2287 2287 223 223 213 7222 22 2358 2101 2177 2132 อ.คำตากลŒา คน อ.พรรณานิคม ชภูมิ น้ำอูน อ.กุดบาก อ.ภูพาน อ.เต‹างอย อ.โคกศรีสุพรรณ อ.โพนนาแกŒว อ.กุสุมาลย สกลนคร วานรนิวาส อ.อากาศอำนวย อ.นาหวŒา อ.ศรีสงคราม นครพนม ญ อ.เซกา อ.สมเด็จอ.เขาวง อ เขอ.หŒวยผึ้ง าฬสินธุ กาฬสินธุ กาฬสินธุ 2218 2106 2307 2355 2346 2339 2330 2287 223 223 213 7222 22 2358 2177 2132 คน คน อ.พรรณานิคม อ.พรรณานิคม ชชภูมิ น้ำอูน น้ำอูน อ.กุดบาก อ.ภูพาน อ.เต‹างอ อ ย อ.โคกศรี อ.โค สุพรรณ อ.โพนนาแกŒ อ.กุสุมาลย สกลนคร วานรนิวาส อ.อากาศอำนว อากาศอำนวย อ.นาหวŒา อ.ศรีสงคราม นครพนม ครพ 29 35 18 12 1 5 15 30 6 4 3 14 20 25 34 2 37 28 16 10 36 31 32 17 13 8 11 9 7 N ระยะทางระหว่างจังหวัด (กม.) 683 781 647 กรุงเทพฯ 119 93 สกลนคร 165 นครพนม มุกดาหาร แผนที่จังหวัดสกลนคร คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 3


อุทยานบัว ม.เกษตรศาสตรฯ สนามบินสกลนคร สนง.ขนสง คายกฤษณสีวะรา รพ.คายกฤษณสีวะรา สถ.เลี่ยงเมือง ถถ.ประชาอุทิศ ไป อ.นาแก ไป จังหวัดกาฬสินธุ ถ.โยธาธิกา(บ.กกสมโฮง-บถ.รัฐบำรุง สถานีขนสง (ใหม) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร ตำรวจ ทางหลวง ไป จังหวัดอุดรธานี ไป จังหวัดนครพนม fi fi fi fi สนง.ขนสง คายกฤษณสีวะรา รพ.คายกฤษณสีวะรา สอง ถถถถ.ประชาอุทศ ถ ประชาออทิศถ.ประชาอทิ ธาธิกาถ.โยธาธิกายธาโฮง-บ(บ.กกสมโฮถ.รัฐบำรุง ถ.รัฐบำรง สถานีขนสง (ใหม) าลย ลนคร ตำรวจทางหลวง 9 24 15 16 14 17 22 23 15 16 8 ร้านอาหาร 1. สนมเอก 0 4271 2806 2. สวนลึก 0 4271 4072 3. สะบันงา 0 4273 3428 4. สวนรัก 0 4271 1783 5. อาภาอาหารไทย 0 4271 2081 6. กรีนคอนเนอร์ 0 4271 1073 7. บ้านฟ้าโปร่ง 0 4271 5729 8. ร้านพวงเพชร 08 9661 5507 9. วิลลี่แหนมเนือง 0 4273 2142 10. มิตรอุปถัมภ์ 0 4271 1633 11. โจ๊กศรีคูณ 08 7861 6189 12. เต็มคำ�ำ 0 4271 1566 0 4271 3643 13. อารุณีลูกชิ้นปลา 08 5907 3444 14. อรวรรณแหนมเนือง 08 1823 2499 15. ร้านจานเปล 0 4297 2020 16. ร้านปรุงเอง 08 1670 5605 17. ร้านปิ๊ดปี้ปิ๊ด 0 4271 6977 18. แวร์ชายส์ 0 4271 4886-7 (ในโรงแรมสกลแกรนด์) 19. ดุสิตคอฟฟี่ช้อฟ 0 4271 1119 20. คันทรีโฮม 0 4271 1543 21. คุณทองดี 0 4271 1817 22. เครือวัลย์ 0 4271 2233 23. เบสท์เฮ้าส์ 0 4271 3166 24. พอใจ 0 4271 1767 โรงแรมที่พัก 1. โรงแรมพีซีพาเลซ 1 0 4273 3911 0 4273 3917 2. โรงแรมชินาชาติ 0 4271 1012 3. โรงแรมกรองทอง 0 4271 1235 4. โรงแรมกุสุมา 0 4271 1112 5. โรงแรมสกลโฮเต็ล 0 4271 1113 6. โรงแรมบุญเกียรติ 0 4274 3722 0 4274 3322 7. โรงแรมอารยะ 0 4271 1097 8. โรงแรมดุสิต 0 4271 1198-9 9. โรงแรมอิมพีเรียลสกล 0 4271 1119 0 4271 1887 10. โรงแรมเอ็มเจ เดอะมาเจสติก 0 4273 3771-4 11. โรงแรมหนองหารดิเอลลิแกนท์ 0 4271 3338-9 12. โรงแรมสกลแกรนด์พาเลซ 0 4271 4886 13. พี.แอล.อาร์ 0 4272 8245 14. โรงแรมพีซีพาเลซ 2 0 4271 4776 (ตรงข้ามค่ายกฤษณ์สีวะรา) 0 4271 6332 15. โรงแรมยู-โฮเทล 0 4273 1211 0 4274 4011 16. โรงแรมภูพานเพลซ 0 4297 0096-98 ม.ราชภัฏสกลนคร 17. สิวาศรม รีสอร์ท 0 4274 3936 18. โรงแรมไอยรา 0 4273 0645 19. โรงแรมสมเกียรติ 0 4271 1044 20. เมธาพาเลซ 0 4271 2497 21. โรงแรมเจริญสุข 0 4271 2386-7 22. เอ.พี.เพลส 0 4297 0515 23. บางจากภูพาน รีสอร์ท 0 4274 7400 24. อัคราศรม รีสอร์ท 08 7096 4000 25. โรงแรมฮ็อป อินน์ 0 4271 6399 26. โรงแรมพีซีแกรนด์พาเลซ 0 4273 4988 27. โรงแรมแอทสกล 0 4271 3234 4 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ทะเลสาบบหนองหาร หนองสนมรพ.รักษสกล ตลาดสด ศรีคูณเมือง ตลาดสด เทศบาล บขส. เกา รพ.สกลนคร หอนาิกา กศน.สกลนคร สนง.อัยการ สนง.อุตุนิยมวิทยา ที่วาการอำเภอเมือง สนง.ปศุสัตว สนง.อุตสาหกรรม สนง.ประกันสังคม สนง.เกษตรและสหกรณ สนง.การประถมศึกษาอำเภอศาลจังหวัด สภจ.สกลนครวัดปาสุทธาวาส ศาลากลางจังหวัด จวน ผจว. อบจ. สนง.เกษตร การสื่อสาร โทรคมนาคม ร.ร.สกลนคร ร.ร.บานกกสมโฮง สนง.โยธาธิการ สนง.ตรวจบัญชี สหกรณ สนามกีฬา สนง.การทองเที่ยวและกีฬา ศูนย ปภ.เขต7 สกลนคร ร.ร.อนุบาล ประภัสสร สกลนคร ร.ร.สกลนครพัฒนศึกษา สนง.เทศบาลนครสกลนคร ศาลเจาพอมเหศักดิ์ ร.ร.อนุบาลสกลนคร กรมทางหลวง พิพิธภัณฑภูพาน ทองฟาจำลองร.ร.เชิงชุมราษฎรนุกูล ถ.ไสสวาง ถ.มรรคคาลัย ถ.รอบเมือง ถ.คูเมือง ถ.ไอ.ที.ยู ถ.ยุวพัฒนา ถ.เจริญเมือ ถ.กำจัดภัย ง ถ.ประชาราษฎร ถ.รัฐพัฒนา ร.ร.สกลราชวิทยานุกูล สนง.ประมงน้ำจืดกปภ.สกลนคร สถานีตำรวจสรรพากร โรงภาพยนต เนวาดา ปณ.สกลนคร สนง.บริการโทรศัพท สวนสมเด็จเจาฟากัลยาณิวัฒนาฯ(สวนแม สวนลูก) ร.ร.เซนตยอแซฟสกลนคร ถ.มรรคาลัย ถ.ประชาอุทิศ การ สน.2002 บ.ธาตุนาเวง)ทะเลสาบบหนองหาร หนองสนมรพ.รักษสกล ตลาดสดศรีคูณเมื ตลาดสดเทศบาล บขส. เกา รพ.สกลนคร หอนากิา กศน.สกลนคร สนง.อัยการ สนง.อุตุนิยมวิทยา ทีวาการอำ่เภอเมือง สนง.ปศุสัตว สนง.อุตสาหกรรม สนง.ประกันสังคม สนง.เกษตรและสหกรณ สนง.การประถมศึกษาอำเภอศาลจังหวัด สภจ.สกลนครวดั ปาสุทธาวา ปาสทธ ส ศาลากลางจังหวัด จวน ผจว. อบจ. สนง.เกษตร การสอสาื่รโทรคมนาคม ร.ร.สกลนคร ร.ร.บานกกสมโฮง สนง.โยธาธิการ สนง.ตรวจ สนง ตรวจบญชัีสหกรณ สนามกีฬา สนง.การทองเที่ยวและกีฬา ศูนย ปภ.เขต7 สกลนคร ร.ร.อนุบาล ประภัสสร สกลนครุ ร.ร.สกลนครพัฒ ร นศึกษา สนง.เทศบ นง เ าลนครสกลนคร ศาลเจาพอมเหศักดิ์ ร.ร.อนุบาลสกลนคร กรมทางหลวง พิพิธภัณฑภูพ พธภัณฑภูพาน ทองฟาจำลองร.ร.เชิงชุมราษฎรนุกูล .ร.เชิงชุมราษฎรนุกู ถ.ไสสวาง ถ.มรรคคาลั ถ.มรรคคาลย ถ.รอบเมื .ร อง .คูเมอ ถง.คูเมือง ถ.ไอ.ที.ยู ฒนาถ ยวพั.ุฒถยวพนา มองญเื ถ เจริ.ญเมืองริญ ภยจด กำ ถ.จัดภัยถ.ก ร ษฎ รา ถ.ประชารารถ.ประชาราษฎร ถ.รฐพฒนั ั ถ.รฐพฒนาถ ร.ร.สกลราชวิ รทยานุกูล ท สนง.ประมงน้ำจืดกปภ.สกลนคร สถานีตำรวจสรรพากร โรงภาพยนตเนวาดา ปณ.สกลนคร สนง บ.รกิารโทรศัพท สวนสมเด็จเจาฟากัลยาณิวัฒนาฯ ลยาณวฒนาฯ(สวนแม สวนลูก) ร.ร.เซนตยอแซฟสกลนคร รรคาลัยถ ม.รรคาลั มร ถ.ประชาอุทิศ ถ ประชาอทิศถ.ประชาอุทิศ การ สน 2002การ สน.2002 2 ง)บ.ธาตุนาเวง) วง)1 10 8 7 6 5 4 2 3 26 9 4 7 6 5 3 21 11 27 10 20 13 12 1 19 2 18 25 2 4 3 21 19 12 9 20 7 6 17 13 8 18 14 22 23 5 10 11 24 1 2 3 10 6 5 13 4 1 12 11 7 9 มือง 4 สถานที่ทองเที่ยวที่นาสนใจ พระธาตุเชิงชุม พิพิธภัณฑภูพาน สวนเทิดพระเกียรติฯ 60 พรรษามหาราชินี สวนสมเด็จพระศรีนครินทร สระพังทอง ปฏิมากรรมหนองหาร พระธาตุดุม พระธาตุนารายณเจงเวง ทะเลสาบหนองหาร ลานรวมใจไทยสกล พิพิธภัณฑพระอาจารยมั่น พิพิธภัณฑหลวงปูหลุย สถานที่แขงเรือยาวประจําป วัดที่สําคัญ วัดปาภูธรพิทักษ วัดศรีสะเกษ วัดโพธิ์ชัย วัดสะพานคํา วัดศรีโพนเมือง วัดเหนือ วัดศรีชมพู วัดแจงแสงอรุณ วัดศรีสุมังค วัดปาสุทธาวาส สัญลักษณในแผนที่จังหวัด สถานที่ทองเที่ยวที่นาสนใจ สถานที่ราชการ สถานีตํารวจ ศาลหลักเมือง วัด โรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม รานอาหาร ตลาด สถานีขนสง การประปา ไปรษณีย โทรศัพท 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 แผนที่เทศบาลนครสกลนคร คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 5


สกลนคร เป็นเมืองเก่าโบราณที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน บริเวณที่ตั้ง ของเมืองสกลนครและใกล้เคียงเป็นแหล่งอารยธรรมสามพันปี เพราะมีความ เจริญรุ่งเรืองสืบเนื่องกันมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคบ้านเชียง ทวารวดี ลพบุรี ล้านช้าง สุโขทัย อยุธยา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบัน ความเป็นมาของเมืองสกลนคร ย้อนกลับไปถึงพุทธศตวรรษที่ 16 ในยุคที่ ขอมเรืองอำ�ำนาจ เมืองหนองหารหลวงในอดีตเป็นเมืองสำ�ำคัญที่เจริญรุ่งเรืองใน อาณาจักรขอมของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ต่อมาเมื่อขอมเสื่อมอำ�ำนาจลงในปลาย พุทธศตวรรษที่ 19 เมืองหนองหารหลวงตกไปอยู่ใต้อำ�ำนาจของอาณาจักรล้าน ช้างโดยเจ้าฟ้างุ้มเป็นผู้ปกครอง จึงเรียกชื่อเมืองว่า “เมืองเชียงใหม่หนองหาร” ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยกกองทัพไปตีเวียง จันทร์และหลวงพระบางสำ�ำเร็จ เมืองสกลนครก็ตกอยู่ในความปกครองของไทย ในฐานะหัวเมืองประเทศราชและได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “เมืองสกลทวาปี” ต่อมา ในปี พ.ศ.2381 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เปลี่ยนชื่อเมือง มาเป็น “เมืองสกลนคร” ในปัจจุบันจุดที่ตั้งตามภูมิศาสตร์ของเมืองสกลนคร ถือเป็นดินแดนอู่ อารยธรรมของ แอ่งสกลนคร ซึ่งเป็นแอ่งอารยธรรมแห่ง อิสานตอนเหนือ ด้วย สภาพภูมิประเทศ สภาพแวดล้อมที่เอื้ออำ�ำนวยต่อการดำ�ำรงชีพทั้งผืนป่าบนเทือก เขาภูพาน ที่ราบลุ่มน้�้ำำที่เกิดจากแม่น้�้ำำลำ�ำธารหลายสายทำ�ำให้สกลนครมีความ ประวัติความเป็นมา “เมืองสกลนคร” 6 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งชุมชนมาช้านาน เกิดความหลากหลายทางวัฒนธรรม เป็นมรดกสืบทอดทั้งในด้านโบราณสถาน โบราณวัตถุ ประเพณี ความเชื่อ โดย เฉพาะความเจริญรุ่งเรืองทางด้านพุทธศาสนา ซึ่งมีพระภิกษุสงฆ์สายอรัญวาสีเข้า มาพำ�ำนักเพื่อบำ�ำเพ็ญธรรมอย่างเคร่งครัดจนเกิดพระอริยสงฆ์ ที่โด่งดังหลายรูป อาทิเช่น หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่เทศก์ เทศรังสี หลวงปู่ หลุย จันทสาโร ฯลฯ และสกลนครยังเป็นที่ประดิษฐานพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่สำ�ำคัญ คือ พระธาตุเชิงชุม พระธาตุนารายณ์เจงเวง พระธาตุภูเพ็ก พระธาตุศรีมงคล การเดินทาง จังหวัดสกลนคร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 647 กิโลเมตร สามารถเดินทางจากกรุงเทพมหานคร สู่จังหวัดสกลนครได้หลายวิธี อาทิเช่น • โดยรถยนต์ ใช้เส้นทางถนนทางหลวงหมายเลข 1 ถึงจังหวัด สระบุรีเลี้ยวขวาเข้าถนนมิตรภาพ (ทางหลวงหมายเลข 2) ผ่าน จังหวัดนครราชสีมา เลี้ยวขวา เข้าอำ�ำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ไปจนถึงบ้านท่าพระ เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 23 ผ่านจังหวัด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 213 เข้าสู่จังหวัดสกลนคร • รถโดยสารประจำ�ำทาง มีบริษัท ขนส่ง จำ�ำกัด และบริษัท เอกชน ให้บริการรถโดยสารประจำ�ำทางทุกวัน ออกจากสถานี ขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ www.transport .co.th • รถไฟ การรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการรถไฟไปลงที่ จังหวัดอุดรธานีทุกวัน และสามารถเดิน ทางต่อโดยรถโดยสาร ประจำ�ำทางไปยังจังหวัดสกลนคร (ระยะทาง 159 กม.) สอบถาม รายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่ www.railway .co.th • เครื่องบิน มีบริการเที่ยวบินจากกรุงเทพฯ ไปจังหวัดสกลนคร ทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : www.nokair.co.th, www.thaiairasia.co.th คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 7


Sakon Nakhon is in the upper Northeast 647 km from Bangkok has an area of 9,605 square kilometres. It is on the Phu Phan mountain range and has many forest temple retreats for meditation. These temples are also where famous monks well known in meditation circles reside. Sakon Nakhon is a Buddhist town with five Buddhist stupas. Its history dates back three thousand years. Legend says that Nongharn town, or presently Sakon Nakhon, was built in 11th century when the Khmer ruled this region. When the Khmer lost their power, the town was under the rules of Lanxang or Laotian Kingdom. It was renamed “Muang Chiang Mai Nongharn”. When the town joined Siam, it was renamed again as “Sakon Thavapi”. In 1830, during the reign of King Rama III, it was renamed “Sakon Nakhon”. Sakon Nakhon consists of the following districts: Muang Sakon Nakhon, Waritchaphum, Kut Bak, Kusuman, Ban Muang, Phanna Nikhom, Sawang Daen Din, Wanon Niwat, Phang Khon, Akat Amnuai, Song Dao, Kham Ta Kla, Tao Ngoi, Khok Si Suphan, Nikhom Nam Un, Charoen Sin, Phon Na Kaeo and Phu Phan. By car : From Bangkok, take Hightway 2 to Saraburi and turn right onto Hwy 2, via Nakhon Ratchasima, Ban Phai of Khon Kaen Province to Ban Tha Phra. Get onto Hwy 23 via Maha Sarakham and Kalasin, then use Hwy 213 to Sakon Nakhon. (7-9 hr respecting speed limits) • Kalasin 128 km southeast • Nong Khai 210 km northwest • Nakhon Phanom 93 km northeast • Udon Thani 159 km west By bus : The Transport Co. Thailand and private bus companies operate daily service from Bangkok to Sakon Nakhon. Buses leave the Northeast Bus Terminal (Mo Chit 2) daily. By trian : The State Railway of Thailand operates daily trains from Bangkok to Udon Thani, where tourists can catch a bus to Sakon Nakhon, 159 km away (3-4 hours, 100 baht, air-con. Buses going to Nakhon Phanom and Mukdahan may stop in Sakon Nakhon). The night train from Bangkok usually departs at 20:00, and is supposed to reach Udon Thani around 06:00 but 09:00 is more likely. Around 1,000 baht for a soft bed in a 2-bed first-class cabin with air-con.) By plane : Nok Air flies from Bangkok to Sakon Nakhon (900- 2,500 baht one-way; 15 kg checked in luggage included). Air Asia flies from Bangkok to Sakon Nakhon (200-1,300 baht one-way since 2014; checked in luggage is a low-cost extra). 8 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2479 ได้มีการจัดตั้งเทศบาลเมืองสกลนคร ตาม พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร พ.ศ.2479 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53 หน้า 1319 ลง วันที่ 14 มีนาคม 2479) นายกเทศมนตรีคนแรก คือ ขุนถิรมัยสิทธิการ เข้าดำ�ำรงตำ�ำแหน่งเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2480 มีพื้นที่ 13 ตารางกิโลเมตร โดยยกเอาพื้นที่ตำ�ำบลธาตุเชิงชุม ทั้งตำ�ำบลเป็นเขตเทศบาล สำ�ำนักงานเทศบาลเดิมเรียกว่า “ศาลาเทศบาล เมืองสกลนคร” ตั้งอยู่ที่สถานีรถปรับอากาศ (ลานโพธิ์) ซึ่งเป็นที่ดินของวัด แจ้งแสงอรุณ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2500 จึงย้ายมา ตั้งสำ�ำนักงานอยู่ในสถานที่ ปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ.2533 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงขยายเขตเทศบาล เมืองสกลนคร พ.ศ.2533 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 107 ตอนที่ 125 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2533) จากพื้นที่เดิม 13 ตารางกิโลเมตร เป็น 54.54 ตารางกิโลเมตร ยกฐานะเป็นเทศบาลนครสกลนคร ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ลงวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2555 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงฐานะ เทศบาลเมืองสกลนครเป็นเทศบาลนครสกลนคร ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2555 ประวัติเทศบาลนครสกลนคร คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 9


เทศบาลนครสกลนคร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภท เทศบาลนคร ตั้งอยู่ในเขตอำ�ำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ 54.54 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมตำ�ำบลธาตุเชิงชุมทั้งตำ�ำบล รวมทั้งบางส่วนของตำ�ำบล งิ้วด่อน ตำ�ำบลห้วยยาง ตำ�ำบลดงมะไฟ ตำ�ำบลธาตุนาเวง และตำ�ำบลฮางโฮง รวมพื้นที่เป็นตำ�ำบลธาตุเชิงชุมเพียงตำ�ำบลเดียว ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้ง ของหน่วยงานราชการ สถานศึกษา สถานพยาบาล ย่านธุรกิจการค้า ตลอดจน เป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดสกลนคร เป็นเทศบาลนครอันดับที่ 27 ของประเทศ และอันดับ 5 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นับเป็นเทศบาลนคร ใหญ่แห่งใหม่ของภาคอิสานที่กำ�ำลังเจริญเติบโตสูง เขตเทศบาลนครสกลนคร พื้นที่ 54.54 ตารางกิโลเมตร มีพิกัดตั้งอยู่ ระหว่างเส้นรุ้งที่ 16 องศา 45 ลิปดา ถึง 18 องศา 00 ลิปดาเหนือ และเส้นแวง ที่ 103 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานครทางรถยนต์ ประมาณ 633 กิโลเมตร สูงจากระดับน้�้ำำทะเล 172 เมตร ประกอบด้วยพื้นที่ เกษตรกรรม 3 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่อุตสาหกรรม 1.5 ตารางกิโลเมตร สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ส่วนด้านทิศตะวันออกและทิศเหนือเป็นที่ราบต่�่ำำ การระบายน้�้ำำในเขตเทศบาลทุกจุดมุ่งลงสู่หนองหาร โดยผ่านระบบบำ�ำบัดน้�้ำำ เสียประมาณร้อยละ 70 เฉพาะโซนในเขตชุมชนเมือง ดวงตราเทศบาลเป็นรูปวงกลมซ้อนกัน ขนาดเส้น ผ่าศูนย์กลางวงนอกประมาณ 1 นิ้วครึ่ง วงในประมาณ 1 นิ้ว มีช่องว่างระหว่างวงในและวงด้านนอก จะมีอักษร จารึกว่า “สำ�ำนักงานเทศบาลนครสกลนคร” ส่วนด้าน ล่างจารึกว่า “จังหวัดสกลนคร” ภายในวงกลมด้านใน มีรูปพระธาตุเชิงชุมตั้งอยู่ตรงกลาง ซึ่งเป็น สัญลักษณ์ หมายถึง พระธาตุเชิงชุมอัน ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็นที่เลื่อมใสและเคารพบูชา ของประชาชนชาวจังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ในวัด พระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ในเขตเทศบาลนคร สกลนคร ฉะนั้น ดวงตรานี้จึงเป็นเครื่องหมายว่า “เป็นเมืองแห่งพุทธศาสนา” 10 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


History of Sakon Nakhon Municipality On March 11, 1936, the city of Sakon Nakhon was established. By Royal Decree Sakon Nakhon Municipality Sakon Nakhon Province, 2479 (published in the Gazette, Volume 53 Page 1319, dated March 14, 1936). The first mayor was Khun Thirachai On September 15, 1937, the area was 13 square kilometers. The area of Tambon Chum Chum is the district. The old municipal office was called. “Sakon Nakhon Municipal Municipality” is located at the air-conditioned bus station (Pho), which is the land of Wat Sang Suarun. Later in 1957, it moved. In 1990, the Royal Decree was changed to expand Sakon Nakhon Municipality (published in Government Gazette, Vol. 107, Part 125, dated July 19, 1990) from an area of 13 square kilometers. Is 54.54 square kilometers As a city of Sakon Nakhon. According to the Ministry of Interior’s notification dated 24 January 2012 regarding the change of the status of Sakon Nakhon Municipality as Sakon Nakhon Municipality. From 8 March 2012, Sakon Nakhon Municipality It is a municipal government. Located in the district. Amphoe Mueang Sakon Nakhon Sakon Nakhon has an area of 54.54 square kilometers. The sub-district of Chum Chum. Some parts of Nguen Dang district, Huai Yang district, Tambon Dongmae Tambon Tambon. And the Hang Heng. The area is a subdistrict of Chum Chum. The municipality is home to government agencies, educational institutions, hospitals, business districts. It is a transportation hub of Sakon Nakhon. It is ranked 27th in the country and number 5 in the Northeast. It is a new municipality of high growth. Sakon Nakhon Municipality Area 54.54 square kilometers The coordinates are located between the latitudes at 16 degrees 45 minutes to 18 degrees 00 minutes north and 103 degrees longitude at 15 minutes east. It is about 633 kilometers from Bangkok. It is 172 meters above sea level. It consists of 3 square kilometers of agricultural land. And 1.5 square kilometers of industrial space. The area is generally flat. The east and the north are low plains. Drainage in all municipality points down. To the Nonghua through the wastewater treatment system, about 70% of the zones in the urban area. The municipal seal is a circular shape. The outer diameter is about 1 inch. The inner circle is about 1 inch, with a gap between inner circle and outer circle. There are letters that inscribe. “Sakon Nakhon Municipal Office” below the inscription. “Sakon Nakhon Province” within the circle inside the image of the Chum Chum is located in the middle. The symbol signifies the sacred chrism. The worship and worship of the people of Sakon Nakhon. Located in Wat Phra That Choom. In the municipality of Sakon Nakhon, so this brand is a sign. “A City of Buddhism” คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 11


พระตำ�ำหนักภูพานราชนิเวศน์จังหวัดสกลนคร เป็นพระตำ�ำหนักที่ สร้าง ขึ้นในบริเวณเทือกเขาภูพาน ใน พ.ศ. 2518 โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดชฯ เป็นผู้ทรงเลือกพื้นที่สร้างพระตำ�ำหนักด้วยพระองค์เอง ทรงใช้แผนที่ทางอากาศและการเสด็จสำ�ำรวจเส้นทางบริเวณ ป่าเขา น้�้ำำตก เป็น ปัจจัยในการกำ�ำหนดเขตพื้นที่ก่อสร้างพระตำ�ำหนักและบริเวณพระตำ�ำหนักซึ่ง ประกอบด้วยเขตพระราชฐานชั้นในและเขตพระราชฐานชั้นนอก พื้นที่บริเวณ พระตำ�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ เมื่อแรกตั้งพระตำ�ำหนักมี 940 ไร่ ในเวลาต่อมาได้ ขยายเขตพื้นที่เพื่อจัดทำ�ำโครงการฟื้นฟูสภาพป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติอีกประมาณ 1,010 ไร่ รวมเป็นพื้นที่ 1,950 ไร่ พระตำ�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ หมู่พระตำ�ำหนัก หมู่พระตำ�ำหนักประกอบด้วย อาคารหลังพระตำ�ำหนักปีกไม้ เป็นพระตำ�ำหนัก หลังแรกสร้างใน พ.ศ. 2518 เป็นรูปแบบล็อกเดขิน ใช้เป็นเรือนรับรองหลังแรก ต่อมาใน พ.ศ. 2519 ทรงมีพระบรมราชโองการให้สร้างพระตำ�ำหนักใหญ่เป็นตึก สองชั้น รูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ บริเวณเนินหน้าผาห่างจากพระตำ�ำหนัก ปีกไม้ ประมาณ 500 เมตร และยังได้ ก่อสร้างพระตำ�ำหนักที่มีรูปแบบใกล้เคียงกัน และต่อมาได้มีการสร้างพระตำ�ำหนักหลัง หนึ่งในบริเวณใกล้เคียงกัน รวมเป็นพระ ตำ�ำหนัก 4 หลัง ห่างจากพระตำ�ำหนักใหญ่ 12 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ประมาณ 1,500 เมตร ได้สร้างบ้านพัก พลโทเปรม ติณสูลานนท์ แม่ทัพภาค ที่ 2 (ยศและตำ�ำแหน่งขณะนั้น) นอกจากอาคารพระตำ�ำหนักและบ้านพักพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ดังกล่าวแล้ว ยังมีอาคารบ้านพักข้าราชการฝ่ายในอีก 68 หลังอยู่รายรอบมีการปลูกไม้ดอก ไม้ประดับอย่างสวยงาม ตามลักษณะภูมิทัศน์ ช่วยส่งเสริมให้พระตำ�ำหนักมี ความสดชื่น งดงาม ดูเด่นเป็นสง่าน่าประทับใจ งานภูมิทัศน์ งานภูมิทัศน์ถือว่าเป็นส่วนที่ดึงดูดให้ ประชาชนเข้าชมด้วยความประทับใจ การจัดภูมิ ทัศน์อาศัยสภาพพื้นที่เป็นพื้นฐานในการจัดคือ ลักษณะพื้นที่เป็นเชิงเนินชายเทือกเขาภูพานตอน กลาง และอาศัยสภาพผิวหน้าดินเป็นหลักในการ ปลูกไม้ดอกไม้ประดับคือ เป็นภูเขาหินทรายปกคลุม ด้วยผังดินทรายสลายบนดินลูกรัง โดยหลักการดัง กล่าว สวนในพระตำ�ำหนักภูพานอาจจัดสวนได้ 5 รูป แบบคือ 1. สวนรวมพันธุ์ไม้ (Mixed garden) 2. สวนแบบประดิษฐ์ (Formal Style) 3. สวนแบบธรรมชาติ (Informal Style) 4. สวนหินประดับประดา (Rock garden) 5. สวนประดับหิน (Stone garden) การจัดสวน นับจากเขตพระราชฐานชั้นนอกพระตำ�ำหนักริมถนนมีสระน้�้ำำขอบตั้ง หินทรายแดง (Red Stone) ปลูกบัวสายสีแดง ชมพู ม่วง ประดับเรียงราย สลับ กับต้นตะแบก ส่วนประดู่ อีกทั้ง ปลูกไม้ดอกและไม้ใบ สลับให้สวยงาม หน้ากอง รักษาการได้จัดสวนแบบประดิษฐ์ มีต้นปกปิดสีเขียว แดง เหลือง ปลูกและ ตัดแต่งเป็นรูปทหารท่าสะพายปืนดูน่าเกรงขาม เขตพระราชฐานชั้นใน ทางสำ�ำหรับรับเสด็จพระราชดำ�ำเนินต้องผ่านธารน้�้ำำมีการก่อสร้างสะพานเหล็ก คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 13


Phu Phan Rajanivet Palace Located at Phu Phan mountain range in Amphur Muang Sakon Nakhon, Phu Phan Rajanivet Palace is the place where H.M the King and Queen stayed during their visit to meet people in Northeastern part. The palace itself is opened to visitor, but only when H.M the King and Queen are not residence. ทอดข้ามมุมถนน สามแยกจัดสวนประดิษฐ์เป็นเครื่องหมายประจำ�ำพระตำ�ำหนัก ภูพานราชนิเวศน์เป็นรูปยอดพระธาตุเชิงชุม ล้อมรอบด้วยพระมหามงกุฎ ปลูก ต้นปาล์ม พัดโบก ปาล์มบังสูรย์ ต้นเข็ม และต้นยักเป็ดประดับด้วย หินทราย (Stone garden) ด้านหลังปลูกต้นปาล์มพัด หรือกล้วยลังกาในหมู่ไม้หมากผู้ เมียสีแดง และหมู่สนมูลคลุมต้นด้วยต้นผักชมแดงเป็นจุดเด่น ฝั่งตรงข้ามหมู่หิน ประดับ จัดเสริมไม้ดอกสีต่างๆ ตามฤดูกาลแบบรวบรวมพันธุ์ไม้ (Mixed Garden) บริเวณที่เป็นสวนประดับทั่วไปริมถนนภายในเขตพระราชฐาน ปลูกปาล์ม พัดคู่สลับเป็นระยะกับร่องไม้ดอก มีดอกบานเช้ากระดุมทอง บานชื่น และหมู่ไม้ ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติ ข้างพระตำ�ำหนักเป็นพรรณไม้พุ่ม เนื่องจากแสงส่องถึง น้อยจึงเหมาะที่ใช้ไม้พวกคาลาเธีย สาวน้อยประแป้ง บอนสี และเฟิร์น มาปลูก ประดับ สวนหน้าพระตำ�ำหนัก จัดประดับหิน แทรกต้นหน้าวัว เทียนหยดด่าง หลิวไทเป กล้วยไม้สกุลอีฟิเดนดัม สีส้ม กุหลาบ อาซาเลีย หรือ กุหลาบพันปีของ ไทยชยาฮาวายสีต่างๆ ปลูกเป็นไม้พุ่มทั่วไป จุดเด่นในบริเวณนี้อยู่ที่ไม้พันธุ์ต่างๆ จะมีดอกออกดอกตลอดปี และในที่นี้มีต้นพลองออกดอกสีม่วง เป็นต้นไม้ป่าซึ่ง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงโปรดมาก ที่เรือนคำ�ำหอมบริเวณนี้ ประดับด้วยพันธุ์ไม้ดอกจากป่าภูพาน เช่น ดุสิตา มณีเทวา สวิสจันทร์ ทิพย์เกสร ดอกสร้อยสุวรรณ รวมทั้งดอกเทียนป่า การปลูกประดับจะปลูกได้ในปลายฤดู ฝนถึงฤดูหนาว ดอกไม้เหล่านี้เป็นที่ชื่นชมของประชาชนผู้เข้าชมเป็นอย่างมาก และยังมีโรงช้างต้นอยู่ภายในบริเวณพระตำ�ำหนักด้วย 14 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ในเขตเทศบาลนครสกลนคร เป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูน ฐานรูปสี่เหลี่ยม สูงประมาณ 24 เมตร ยอดฉัตรทองคำ�ำ เหนือองค์พระธาตุเชิงชุมทำ�ำด้วยทองคำ�ำบริสุทธิ์น้�้ำำหนัก 247 บาท มีซุ้มประตู 4 ด้านข้างในทึบ สร้างเพื่อครอบรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้าสี่พระองค์ คือพระกกุสันทะ พระโกนาคม พระกัสสปะ และพระโคดม และนัยว่า พระพุทธเจ้าองค์ที่ 5 คือ พระศรีอริยเมตตรัย จะต้องมาประทับรอย พระพุทธบาท ณ ที่แห่งนี้ ในอนาคตเช่นกัน พระธาตุเชิงชุมสร้างขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด มีเพียงตำ�ำนาน ตามอุรังคนิทาน ถือว่าเป็นวัดแรกที่พระยาสุวรรณภิงคาระ พระนางนารายณ์ เจงเวง และเจ้าคำ�ำแดง มาสร้างวัดขึ้นเมื่อย้ายราชธานีจากบริเวณบ้านซ่งน้�้ำำพุ และท่านางอาบฝั่งตรงข้ามหนองหารเมื่อครั้งหนองหารล่มเพราะการกระทำ�ำ ของพญานาค พระธาตุเชิงชุม คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 15


อย่างไรก็ตาม จากหลักฐานเสมาหินที่พบอยู่รอบๆ วัดพระธาตุเชิงชุมฯ และหลักบานแท่นบูชารูปเคารพ ตลอดจนศิลาจารึกตัวอักษรขอมในพุทธ ศตวรรษที่ 15-16 ซึ่งปรากฏอยู่ที่ผนังทางเข้าภายในอุโมงค์พระธาตุเชิงชุม (ชั้นใน) บ่งบอกว่า บริเวณวัดพระธาตุเชิงชุมได้มีชุมชนเกิดขึ้นต่อเนื่องกันมา งานนมัสการพระธาตุเชิงชุมประจำ�ำปี จะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 9 ค่�่ำำ ถึงวันขึ้น 15 ค่�่ำำ เดือนยี่ (เดือน 2) ของทุกปี หลวงพ่อองค์แสน เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของชาว สกลนคร ประดิษฐานเป็นพระประธานอยู่ ภายในวิหารวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร มีพุทธ ลักษณะปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสน ขัดสมาธิ ราบ ก่ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 2 เมตร สูงจากฐานถึงพระเมาลี 3.20 เมตร ประทับบนแท่นสูง 1.35 เมตร หันพระพักตร์ ไปทางทิศตะวันออก หันพระปฤศฎางค์เข้าหา องค์พระธาตุเชิงชุม จากตำ�ำนานหลวงพ่อองค์แสนสร้างขึ้นราวพุทธศักราชที่ 1800 เพื่อแทน หลวงพ่อสุวรรณแสนองค์จริงที่เป็นทองคำ�ำทั้งองค์ คือในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เกิดสงคราม ขึ้นหลายครั้ง จึงย้ายไพร่พลชาวเมืองไปอยู่นครธม ก่อนย้ายได้นำ�ำ พระสุวรรณแสนทองคำ�ำไปซ่อนไว้ใต้น้�้ำำ และสร้างหลวงพ่อองค์แสนองค์ปัจจุบันไว้ และให้นามว่าหลวงพ่อองค์แสน บ่อน้ �้ำ ำศักดิ์สิทธิ์ เป็นบ่อน้�้ำำธรรมชาติที่อยู่ในบริเวณวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร เดิมคือ แหล่งน้�้ำำธรรมชาติที่ชาวเมืองสกลนครในอดีต ใช้อุปโภคบริโภค เดิมมีน้�้ำำพุผุด ขึ้นมา เนื่องจากเป็นปลายทางของลำ�ำน้�้ำำใต้ดินซึ่งไหลมาจากเทือกเขาภูพาน ผ่านศูนย์ราชการด้านทิศเหนือ ผ่านใจกลางเมืองแล้วไหลมาผุดที่นี่ เรียกว่า 16 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


“ภูน้ �้ำ ำซอด” หรือ “ภูน้ �้ำ ำลอด” แล้วไหลผ่านไปที่สระพังทองในสวนสมเด็จพระ ศรีนครินทร์ซึ่งอยู่ติดกับวัด มีตำ�ำนานความเชื่อกันว่าบ่อน้�้ำำศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้เป็นสถานที่ที่พญานาคท่าน หนึ่งชื่อ “สุวรรณนาค” ซึ่งเป็นพญานาคที่อยู่ในศีลธรรมอันดี ไม่มีใจโหดเหี้ยม เกล็ดเป็นทองคำ�ำ เป็นผู้รักษารอยพระพุทธบาทในองค์พระธาตุเชิงชุม เป็นผู้ถือ เอาภิงคารทองคำ�ำบรรจุน้�้ำำหอมทิพย์ผุดขึ้นมาจากบ่อน้�้ำำศักดิ์สิทธิ์นี้ ประกอบพิธี ภิเษกเจ้าภิงคารเป็นเจ้าเมืองหนองหารหลวง และเป็นผู้ถวายพระนามแด่พระยา สุวรรณภิงคาระ Phratat Choeng Chum Worawihan Located in the municipal area of Muang Sakon Nakhon, Choeng Chum Worawihan Temple has been the main shrine of this town since the early date. The rectangular base hight 24 metres. The umbrella on top of Phrathat was made by pure gold (weighing 3,765.268 grams) with gate of four sides, covering footprints of four Lord Buddhas, that is Buddha Kakusandha, Buddha Konakama, Buddha Kassapa, and Buddha Kodama. Next to Phra That is the chapel that houses Luang Por Ong Saen, a sacred Buddha statue of the province. It is featured on the reverse of the ten satang coin. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 17


ในปี พ.ศ.2469 หลวงปู่เสาร์ กันตสีลเถระ กับ หลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ ได้รับการอาราธนาจาก อุบาสิกาสามพี่น้อง ได้แก่ นางนุ่ม, นางนิล ชุวานนท์ และนางลูกอินทร์ วัฒนสุชาติ ผู้มีความเลื่อมใสในพระอาจารย์ทั้งสอง มาจำ�ำพรรษา ณ เสนาสนะป่าบ้านบาก ต่อมาจึงได้ดำ�ำเนินการสร้างเป็นวัดป่าสุทธาวาส ภาย หลังที่ท่านจากภาคเหนือมาจำ�ำพรรษาที่วัดป่าโนนนิเวศน์ จังหวัดอุดรธานี คณะศรัทธาชาวสกลนครได้กราบอาราธนาท่านมาจำ�ำพรรษา ณ วัดป่าสุทธาวาส อีกครั้ง ใน พ.ศ. 2484 ท่านจึงไปจำ�ำพรรษาที่เสนาสนะ ป่าบ้านโคก จวบจนวาระ ที่ท่านใกล้มรณภาพจึงได้มาทิ้งขันธ์ ณ วัดป่าสุทธาวาสใน พ.ศ. 2492 ส่วนสภาพวัดในปัจจุบันยังคงความร่มรื่นร่มเย็น สมกับเป็นสถานที่ที่องค์ หลวงปู่มั่นเลือกจะมาพักอาพาธ หลังจากออกพรรษาในปี พ.ศ. 2492 แล้ว อาการป่วยขององค์หลวงปู่มั่นหนักขึ้นทุกวันท่านทราบถึงความเป็นไปใน อนาคตแล้วปรารภที่จะไปมรณภาพที่วัดป่าสุทธาวาสในเมืองสกลนครจึงได้มี การจะนำ�ำท่านไปยังวัดป่าสุทธาวาส โดยอาราธนาท่านพักบนคานหามแวะพักที่ ศาลาหลังเล็กวัดป่าบ้านกลางโนนภู่ก่อนเป็นเวลา 11 วัน การที่ท่านมาพักที่ วัดป่าบ้านกลางโนนภู่นี้ก็เพื่อโปรดนายอ่อน โมราราษฎร์ ผู้สร้างวัดนี้และเป็น โยมที่อุปัฏฐากที่คอยช่วยเหลือท่านที่วัดป่าบ้านหนองผือ ตลอดระยะเวลา 5 ปี ภายหลังจากที่ได้มีการประชุมเพลิงหลวงปู่มั่นเมื่อวันอังคารที่ 31 มกราคม 2493 ต่อมาได้มีการสร้างอุโบสถในบริเวณที่ประชุมเพลิง และพิพิธภัณฑ์หลวง ปู่มั่นในบริเวณกุฏิที่ท่านมรณภาพ วัดป่าสุทธาวาส 18 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ปัจจุบันกลายสภาพเป็นวัดป่ากลางเมือง เป็นสำ�ำนักเรียนสำ�ำคัญของ พระภิกษุสงฆ์ในสกลนคร ปูชนียสถานสำ�ำคัญภายในวัดนอกจากอุโบสถและ พิพิธภัณฑ์หลวงปู่มั่น แล้วก็ยังมี “จันทสารเจติยานุสรณ์” Suthawas Forest Temple Located opposite of the government center of Sakon Nakhon. Suthawas Forest Temple was where one of the most respectful. Phra Acharn Mun Phurithatto spent the last part of his life and passed away on November 11, 1949. พิพิธภัณฑ์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เนื่องจากวัดป่าสุทธาวาสเป็นสถานที่ในการละสังขารของหลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ ครั้นเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2493 ก็ได้ทำ�ำการถวายเพลิงศพ ขององค์ท่าน ณ วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร บริเวณที่ทำ�ำการถวายเพลิง ศพขององค์ท่านนั้น ท่านพระครูอุดม ธรรมคุณ (หลวงปู่มหาทองสุข สุจิตโต) ซึ่งเป็นลูกศิษย์ขององค์ท่านได้ทำ�ำการก่อสร้างอุโบสถครอบเอาไว้ เพื่อเป็น อนุสรณ์สถานรำ�ำลึกถึงองค์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เป็นพระปรมาจารย์ใหญ่ของกรรมฐาน เป็นพระ ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบกรอปด้วยศีลธรรม มีศีลาจาริยวัตรที่งดงาม มีลูกศิษย์ มากมายทั้งในและต่างประเทศ หลังจากที่ถวายเพลิงศพ ท่านเสร็จแล้ว คณะศิษย์ได้ปรึกษาหารือกันว่า สมควรที่จะสร้างเป็นพิธภัณฑ์เพื่อเป็นที่ รวบรวมเครื่องใช้ อัฐบริขารของท่าน จึงได้เริ่มสร้างพิพิธภัณฑ์ขึ้นที่วัดป่า สุทธาวาส โดยมีหลวงปู่ฝั้น อาจาโร เป็นประธานอำ�ำนวยการ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เป็นประธานดำ�ำเนินงาน ดร.เชาวน์ ณ ศีลวันต์ เป็นประธานฝ่าย ฆราวาส เริ่มสร้างในปีพุทธศักราช 2516 เสร็จและทำ�ำพิธีเปิดพิพิธภัณฑ์ในวันที่ คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 19


2 กุมภาพันธ์ 2518 ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์มีอัฐิธาตุของหลวงปู่มั่น ที่แปร สภาพเป็นแก้วผลึกใสสีขาว และการจำ�ำลองรูปเหมือนโดยสร้างเป็นหุ่นขี้ผึ้งในท่า ขัดสมาธิ รูปร่างของพิพิธภัณฑ์นั้น มีลักษณะคล้ายกับถ้�้ำำ เงื้อมผาส่วนภายในเป็น ที่ประดิษฐานรูปหล่อเหมือนเท่าองค์จริงของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต อัฐิธาตุ อัฐบริขาร เครื่องใช้ประจำ�ำวัน ตู้ที่ 1 ตั้งแสดงผ้าบริขาร มีผ้าสังฆาฏิ จีวร สบง ผ้าอังสะ ผ้าอาบน้�้ำำฝน ตู้ที่ 2 ตั้งแสดง บาตร ผ้าสังฆาฏิที่ท่านเคยใช้ มีด กล่องด้าย กล่องเข็ม ด้าย ตู้ที่ 3 ตั้งแสดงพระพุทธรูปที่หลวงปู่มั่น ใช้บูชาในกุฏิ ส่วนฐานพระหลวง ปู่ท่านทำ�ำขึ้นเอง หนังสือธรรมะ สมุดบันทึกข้อธรรม หลวงปู่มั่น ท่านได้ให้ข้อคิด เกี่ยวกับหนังสือเอาไว้ว่า “หนังสือชาติใดก็ตาม สามารถจารึกคำ�ำสอนของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทั้งนั้น จึงควรเคารพยำ�ำเกรง” ตู้ที่ 4 ตั้งแสดงประวัติย่อ รูปภาพ ใบตราตั้งพระอุปัชฌาย์ หนังสือสุทธิ หนังสือประวัติ ซึ่งเขียนโดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี ไม้เท้า ตู้ที่ 5 ตั้งแสดงเครื่องใช้ในการธุดงค์ มีกาน้�้ำำ ธมกรก กลด มีด เชือก กระติกน้�้ำำ เทียน มุ้งกลด หนังจัมมขันธ์ หมอนไม้ ตู้ที่ 6 ตั้งแสดงเครื่องใช้ประจำ�ำวัน มีแปรงสีฟัน ฟันปลอม สบู่ ช้อน กระติกน้�้ำำ แก้วน้�้ำำ คันโทน้�้ำำ มีด รองเท้าหนัง ไม้นวดหลัง 20 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ตู้ที่ 7 ตั้งแสดงยาสมุนไพรรักษาโรคต่างๆ อ่างบดยา ครกบดยา ตะกร้า โคมไฟ ถุงใส่ยา แส้ไม้ไผ่ไล่ยุง น้�้ำำเต้าดิน กระโถนดินเผา กระโถนปากแตร กระโถนไม้ไผ่ ตู้ที่ 8 ตั้งแสดงโกฏิบรรจุอัฐิธาตุของหลวงปู่ เชิงเทียน เทียน กระโถน หอยสังข์ กระโถนดินเผา ในแต่ละวันนั้นมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ มากราบ นมัสการ มาชมพิพิธภัณฑ์ของ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต กันอย่างไม่ขาดสาย Museum of Phra Acharn Mun Puhrithato Located in Suthawas Forest Temple, the museum built under architectural design. Phra Acharn Mun Phurithatto sculpture, his cremains which transformed into crystal, his belongings and his biography. พิพิธภัณฑ์หลวงปู่หลุย จันทสาโร ก่อสร้างขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) โดยพระองค์ทรงร่างแบบพระราชทานเบื้องต้นใน การก่อสร้างอาคารหลังนี้และมีพระราชกระแสรับสั่งว่า “ควรสร้างเจดีย์ที่วัดป่า สุทธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร ที่วัดนี้ มีอัฐิธาตุของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ท่านจะได้อยู่ใกล้กัน Museum of Phra Acharn Louis Chandasaro Located in Suthawas forest Temple is the museum of Phra Acharn Louis Chandasaro, a senior monk who was disciple of Phra Acharn Mun Phurithatto. The architecture of stupa which contains relics and cremains of Phra Acharn Louis was designed by H.M the King. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 21


ประวัติความเป็นมาและการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ หลวงปู่หลุย จันทสารเถระ (พ.ศ.2444 - 2532) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่ ฝ่ายวิปัสสนาธุระศิษย์ของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตะเถระ หลวงปู่หลุยเป็นผู้มี ปฏิปทา ชอบจาริกไปในที่ต่างๆ ตลอดจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของท่าน เมื่อ ท่านมรณภาพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ทรงร่างแบบเจดีย์เพื่อบรรจุอัฐิธาตุของหลวงปู่หลุย และมีกระแสรับสั่งให้สร้าง ไว้ใกล้กับอัฐิของพระอาจารย์มั่น ที่อยู่ภายในพิพิธภัณฑ์บริขารพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตะเถระ ในวัดป่าสุทธาวาส จากพิพิธภัณฑ์พระอาจารย์มั่น ป้ายบอกทางชี้ไปยังพิพิธภัณฑ์หลวง ปู่หลุย ซึ่งห่างออกไปเป็นระยะประมาณ 200-300 เมตร ลักษณะของอาคาร เป็นทรงเจดีย์ฐานแปดเหลี่ยม บันไดปรากฏอยู่ด้านหน้านำ�ำผู้เข้าเยี่ยมไปยัง ชั้นสอง ซึ่งเป็นพื้นที่จัดแสดง ส่วนด้านล่างมีลักษณะเป็นโถงที่มีการสร้าง ภาพจำ�ำหลักใช้เทคนิคลงรักปิดทอง แบ่งเนื้อหาเป็น 7 ส่วน ได้แก่ (1) โลกมืดด้วยอวิชชา (2) พระสัมมาสัมพุทธะเจ้าอุบัติในโลก (3) อริยสัจสี่ (4) พระพุทธดำ�ำรัสตรัสสั่ง (4) พระสังคายนาครั้งที่ 1 (5) พระเถราประกาศ พระศาสนา (6) คณะสงฆ์ไทยฝ่ายธรรมยุติ และได้กล่าวถึงพระสงฆ์ผู้ที่สั่งสอน สายวิปัสสนาธุระ พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต และ พระอาจารย์หลุย จันทสาโร ชั้นบนมีทางเข้าในตัวอาคาร 3 ทาง กรอบหน้าต่างเป็นส่วนประกอบ อาคารที่นำ�ำเสนอสิ่งที่เกี่ยวโยงกับพระพุทธศาสนาคือ เป็นรูปคล้ายใบโพธิ์หรือ กลีบบัว ภายในแสดงรูปหุ่นขี้ผึ้งจำ�ำลองพระอาจารย์หลุย โดยมีวัตถุที่เกี่ยวข้อง กับหลวงปู่แสดงไว้ในอาคารเช่นเดียวกันกับพิพิธภัณฑ์ของพระอาจารย์มั่น ทั้งบริขารประจำ�ำวัน สมุดบันทึกธรรม และเครื่องมือทำ�ำกลด ซึ่งเป็นงาน อดิเรกของพระอาจารย์หลุย คำ�ำบรรยายเป็นภาษาไทยเพียงอย่างเดียวไม่เหมือน กับคำ�ำบรรยายในอาคารพิพิธภัณฑ์พระอาจารย์มั่น ที่มีทั้งภาษาไทยและอังกฤษ 22 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


วัดถ้�้ำำผาแด่น ตั้งอยู่บนเทือกเขาภูพาน หมู่ 9 บ้านดงน้อย ตำ�ำบลดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร อยู่ห่างจากตัวจังหวัด 17 กม. มีเนื้อที่ 3,000 ไร่ เป็นอีกหนึ่งใน สถานที่ ที่ห้ามพลาดของสกลนครที่งดงามด้วยงานแกะสลักบนหน้าผาหินที่มีเอกลักษณ์วิจิตร ศิลป์ สวยสดงดงามถ่ายทอดเรื่องราวพุทธประวัติ เป็นวัดเก่าแก่อีกวัดหนึ่งในจังหวัด สกลนคร มีความเป็นมานับร้อยปี และโดยมีชื่อตามทะเบียนสำ�ำนักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2483 ตั้งอยู่เทือกเขาภูพาน สภาพธรรมชาติร่มรื่น มีต้นไม้ และโขดหินขนาดใหญ่ เหมาะแก่การบำ�ำเพ็ญ ภาวนา ซึ่งในอดีตได้มี พระเกจิอาจารย์สายวิปัสสนาหลายองค์มาจำ�ำพรรษาปฏิบัติธรรม อาทิ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต มาจำ�ำพรรษาด้วย และเมื่อช่วงปี 2550 พระอาจารย์ปกรณ์ กนฺตวีโร เจ้าอาวาสคนปัจจุบัน ได้เข้ามาพัฒนาวัด ให้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม และพัฒนาเป็น สถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมะ เพื่อดึงประชาชน และกลุ่มวัยรุ่นให้เข้าวัดมากขึ้น วัดตั้ง อยู่บนภูเขาสูง ท่ามกลางธรรมชาติที่ร่มรื่นและ โดยมีการจัดพื้นที่ให้สามารถชม ทิวทัศน์และถ่ายรูป บริเวณศาลาผาแดงมองเห็นตัวเมืองสกลนคร และทะเลสาบ หนองหารได้แบบ 180 องศา ภายในวัดเต็มไปด้วยงานประติมากรรมแกะสลักหินทรายประติมากรรม หินทรายขนาดใหญ่ถูกแกะสลักเป็นเรื่องราวต่างๆ เช่น ภาพแกะสลักหินทราย พระพุทธสีหไสยาสน์ ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 19 เมตร เป็นที่กราบไหว้สักการะบูชา ของผู้มาเยือน ประดิษฐาน ท่ามกลางธรรมชาติที่ร่มรื่น เป็นจุดเด่น ของวัดถ้�้ำำผาแด่น วัดถ้้ำำผาแด่น คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 23


ภาพแกะสลักเป็นเรื่องราวพุทธประวัติ ตั้งแต่ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ด้านหลัง เป็นภาพพระอริยสงฆ์รูปต่างๆ ของประเทศไทย ส่วนด้านข้าง คือ พญาครุฑเวสสุวรรณ สื่อถึง ความอยากได้อำ�ำนาจ เงินตราของมนุษย์อย่างไม่ สิ้นสุด ด้านบนเป็นที่ตั้งของหินสีทอง ที่สามารถ มองเห็นมาแต่ไกล เปรียบเสมือนเขาพระสุเมรุ ตามคติในศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา คือภูเขาที่เป็นหลักของโลก ตั้งอยู่ จุดศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล พร้อมแกะสลักหิน สื่อถึงรูปต่างๆ เป็นที่อยู่ของ สิ่งมีวิญญาณในภพและภูมิต่างๆ นับแต่สัตว์นรก สัตว์เดรัจฉาน ไปถึงมนุษย์นาค ครุฑ ยักษ์มาร และเทวดา โดยมีปลาอานนท์หนุนอยู่ รอบๆ เขาพระสุเมรุ ภาพแกะสลักรอยพระพุทธบาท 4 รอยจำ�ำลอง สื่อให้พุทธศาสนิกชนตระหนักในคำ�ำสอนของ พระพุทธเจ้า และหินก้อนที่อยู่ด้านล่างสุด เป็น ภาพแกะสลักหิน 4 มหาเทพ หรือเรียกว่าหิน เทพ สื่อถึงการมีอำ�ำนาจอิทธิฤทธิ์ แต่ยังไม่หลุด พ้นวัฏสงสาร บริเวณรอบวัดยังมีการแกะสลักหินรูปปั้นหลวงปู่ทวดองค์ใหญ่ แกะจากหิน ขนาดใหญ่ทั้งก้อนมีช้างหมอบด้านข้างและมีงูใหญ่คอย ปกป้อง เป็นองค์ประธานให้ ประชาชนได้กราบไหว้ภาพแกะสลักพระพุทธรูปประจำ�ำวันเกิด ปางต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีศาลายาใจ คนบุญ ที่นำ�ำเอาต้นไม้ขนาดใหญ่หายากอายุหลายร้อยปี มาทำ�ำเป็นเสา ศาลาเป็นการอนุรักษ์ให้อนุชนรุ่นหลังได้ดูอีกด้วย การเดินทางไปวัดถ้�้ำำผาแด่น เริ่มจากตัวจังหวัดสกลนครใช้เส้นทางสกลนคร-กาฬสินธุ์ ผ่านสี่แยกบายพาส ถึงไทวัสดุ ให้ชะลอรถ จะมี 3 แยกที่บ้านศรีวิชา มีป้าย บอกไปวัดถ้�้ำำผาแด่น และไป อำ�ำเภอเต่างอย เลี้ยวซ้ายตรงไปอีก 10 กม.ถึงบ้านดงน้อย มีป้ายบอกว่าไปถ้�้ำำผาแด่น เลี้ยวขวาเข้าไปตาม ทางเข้าหมู่บ้านไปอีก 3 กม. ขึ้นภูเขา ถนนสะดวกสบาย เป็นทาง ลาดยางจนถึงวัด 24 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


พระธาตุนารายณ์เจงเวง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครสกลนคร ห่างจากตัวเมืองประมาณ 6 กิโลเมตร บนถนน สายสกลนคร-อุดรธานี เป็นพระธาตุประกอบด้วยปรางค์องค์เดียว สร้างด้วยหินทราย ฐานก่อด้วยศิลาแลงขนาดใหญ่ องค์เจดีย์เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมในรูปแบบศิลปะเขมรสมัย ปาปวน มีทับหลังจำ�ำหลักภาพพระกฤษณะฆ่าสิงห์ สลักลวดลายลงบนเนื้อหิน วัดพระธาตุนารายณ์เจงเวง สร้างขึ้นพร้อมกันกับ “พระธาตุนารายณ์เจงเวง” หรือ “อรดีมายานารายณ์เจงเวง” ตามตำ�ำนานอุรังคธาตุกล่าวถึงตำ�ำนานการสร้าง พระธาตุนารายณ์เจงเวงไว้ว่า ชายหญิงชาวเมืองหนองหารหลวง แข่งขันกันสร้างอบ มุง (อุโมงค์) เพื่อเตรียมบรรจุอุรังคธาตุ โดยเริ่มสร้างตั้งแต่รุ่งเช้า และสิ้นสุดการสร้าง เมื่อดาวเพ็ก (ดาวประกายพรึก) ขึ้น ฝ่ายชายหลงระเริงด้วยคิดว่ามีกำ�ำลังไพร่พล มากกว่า ฝ่ายหญิงก็มิได้เกรงกลัวด้วยใช้อิตถีมายาหยอกเหย้าและทำ�ำโคมไฟแขวนให้ ฝ่ายชายคิดว่าดาวเพ็กขึ้นแล้วต้องเลิกสร้าง และตามตำ�ำนานอุรังคธาตุกล่าวถึงโบราณ สถานแห่งนี้ว่า เมื่อพระมหากัสปะเถระและบริวารเดินทางมาถึงเมืองหนองหารหลวง กลุ่มสตรีชาวเมืองหนองหารได้ทูลขอแบ่งอุรังคธาตุ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่พระมหาเถระผู้ใหญ่มิได้ทรงอนุญาตด้วยผิดวัตถุประสงค์ที่พระพุทธองค์ที่ได้ตรัส ไว้ให้นำ�ำอุรังคธาตุไปประดิษฐานบรรจุเจดีย์ที่ ภูกำ�ำพร้ากลางลำ�ำน้�้ำำโขง (พระธาตุพนม) แต่เพื่อมิให้เสียศรัทธาพระมหากัสสปะเถระได้ให้พระอรหันต์รูปหนึ่งไป อัญเชิญพระอังคารธาตุมาประดิษฐาน และให้ชื่อว่า “พระธาตุนารายณ์” ตามคำ�ำพูดของฝ่ายหญิงที่พูดเปรียบเปรยไว้ก่อนสร้างว่าใครจะมี กำ�ำลังเสมอด้วยพระนารายณ์ แต่อุโมงค์นี้คนเฒ่าคนแก่เรียกว่า อุโมงค์ อิตถีมายา งานประเพณีเฉลิมฉลองพระธาตุนารายณ์เจงเวงจัดขึ้น เป็นประจำ�ำเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 11 ค่�่ำำ ถึง 15 ค่�่ำำ เดือน 4 ของทุกปี Prathat Narai Jeng Weng Situated in Tambol Ban Tat, Amphur Muang, Sakon Nakhon, Phrathat narai Jeng Weng is a single stupa, built by sandstone laterite and being engraved with the texture of Khmer arts during Bapuan regime, the form of which similar to Khom stone stupa. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 25


พระธาตุดุม ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระธาตุดุม ชุมชนธาตุดุม 1 เขตเทศบาลนครสกลนคร เป็น สถาปัตยกรรมแบบปราสาทเขมร (ขอม) สันนิษฐานว่าสร้างราวพุทธศตวรรษที่ 15- 16 เป็นศิลปะแบบปาปวน มีลักษณะเป็นองค์พระธาตุรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตัวเรือนธาตุ ทำ�ำเป็นย่อมุมทั้ง 4 มุม และที่ผนังของเรือนธาตุทางด้านเหนือ ใต้ และตะวันตกทำ�ำเป็น ซุ้มมีประตูหลอก และเหนือประตูขึ้นไปเป็นทับหลัง ส่วนยอดทำ�ำสอบเรียวป้านขึ้นไป เรียกว่าเครื่องบน ประกอบด้วยเชิงบาตรคล้ายพุ่ม แต่ปัจจุบันได้พังทลายลงไปแล้ว สันนิษฐานว่าเป็นสถานที่สร้างขึ้นเพื่อประดิษฐานสิ่งที่เคารพบูชา พระธาตุดุมในปัจจุบันคงเหลือเฉพาะองค์กลาง ส่วนองค์ทางด้านทิศเหนือและ องค์ทางด้านทิศใต้เหลือเฉพาะฐานเท่านั้น โครงสร้างของพระธาตุนั้นฐานก่อด้วยศิลา แลง ส่วนเรือนธาตุและ ยอดเฉพาะองค์กลางก่อด้วยอิฐด้วยวิธีเรียงอิฐแบบเฟลมมิช บอนด์ (Flemish Bond) คือ วิธีเรียงอิฐตามหน้ายาว และหน้าตัดอยู่ในแถวเดียวกัน และแบบอิงลิชบอนด์ (English Bond) คือก่ออิฐด้วยวิธีเรียงหน้ายาวแถวหนึ่งและ หน้าตัดแถวหนึ่งสลับกันไป วิธีการก่ออิฐด้วยวิธีการทั้ง 2 แบบนี้ จะไม่สอด้วยปูน จึงนับว่าพระธาตุดุมใช้วิธีการเรียงอิฐทั้งสองแบบผสมผสานกัน ส่วนประกอบของ พระธาตุดุมมีลวดลายและภาพจำ�ำหลักประดับตามส่วนต่างๆ ของ องค์พระธาตุ มีทับหลังสลักลวดลายพระกฤษณะรบสิงห์ศิว นาฏราช และนารายณ์บรรทมสินธุ์ กรอบประตูหลอกส่วนใหญ่ เป็นวัสดุที่ทำ�ำจากหินทราย Phra That Dum Is a religious structure or stupa located in Wat Phra That Dum, a temple. The lone stupa was built with laterite in the Ba Puan Khmer art style, dating back to the 11th or 12th century. It the only one of three brick Khmer stupas that has remained standing. A lintel decorates each of the four sides of the stupa, featuring God Vishnu and other deities. The temple and stupa are located in the province’s main town district, Amphoe Mueang SakonNakhon. 26 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ศาลมเหศักดิ์ เดิมเรียกว่า ศาลเจ้าปู่โต่งมเหศักดิ์หลักเมือง ได้มีการเปลี่ยนชื่อ ใหม่ในปีพุทธศักราช 2543 มาเป็นศาลมเหศักดิ์ ซึ่งมีเหตุผลในการเปลี่ยนชื่อเรียกคือ 1. โต่ง ในพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน (น.) แปลว่าสิ่งของที่เป็นแนว เช่น ปลายโต่ง ท้ายโต่ง (ก) เป็นภาษาไทยพื้นบ้านในภาคอิสาน คือการรองรับสิ่งของ ที่โยนมา ไหลมา ตกลงมา เช่น โต่งตักปลา โต่งน้�้ำำหลังคา 2. มเหศักดิ์ ในพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน (น.) หมายถึง เจ้าผู้ครอง เมืองในท้องถิ่นนั้น บรรพบุรุษหรือผีปู่ตา มเหศักดิ์ หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ เจ้าปู่โต่ง เป็นศาลเจ้าที่ตั้งเรียงรายในคูเมืองคูหมากเสื่อและโนนหลักเมือง คือ ศาลมเหศักดิ์ ปัจจุบันขณะนี้ โดยเฉพาะหรือ พระอุปฮาดโต่ง ในราชวงศ์เมืองสารพัน วันทองของสองฝั่งแม่น้�้ำำโขง โดยพระอุปฮาดโต่งถูกส่งมาเพื่อปกป้องคุ้มครองชาว เมืองหนองหารหลวงให้อยู่เย็นเป็นสุขทั้งทางบกและทางน้�้ำำในเขตลุ่มน้�้ำำหนองหาร หลวงและแม่น้�้ำำก่�่ำำที่ไหลลงไปสู่แม่น้�้ำำโขงตอนล่าง และมารักษาพระธาตุเชิงชุมเมือง หนองหารหลวงสมัยนั้น ศาลเจ้าปู่โต่งมเหศักดิ์หลักเมืองนั้นได้สืบทอดกันมายาวนาน หลายชั่วอายุคนในเมืองสกลนคร เมื่อเจ้าโต่งอุปฮาดราชวงศ์สิ้นพระชนม์แล้ว ท่านยัง คงสถิตอยู่ในเมืองนี้ ชาวเมืองจึงตั้งศาลเจ้าปู่โต่งมเหศักดิ์หลักเมืองและบวงสรวงเซ่น ไหว้ตราบจนทุกวันนี้ เทศบาลนครสกลนคร ร่วมกับประชาชนทุกชุมชนในเขตเทศบาล ได้จัดให้มีพิธี บวงสรวงศาลมเหศักดิ์ ในวันขึ้น 3 ค่�่ำำ เดือน 6 ของทุกปี ในพิธีการบวงสรวงมีความ เชื่อว่า เพื่อเป็นการกราบไหว้บวงสรวงบรรพบุรุษ ระถึงถึงพระคุณของบุพการี คุณแห่งความดีงาม ขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคล ความอยู่เย็นเป็นสุข หายทุกข์โศก โรคภัย มีโชคลาภ เป็นขวัญกำ�ำลังใจในการดำ�ำรงชีวิต การประกอบอาชีพ เนื้อคู่ และ การเป็นอยู่แห่งความสุข ศาลมเหศักดิ์ คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 27


อำ�ำมาตย์โท พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ�ำ พรหมสาขา ณ สกลนคร) เป็น เจ้าเมืองสกลนครคนที่ 3 ซึ่งเป็นคนสุดท้ายที่ครองตำ�ำแหน่งเจ้าเมืองและดำ�ำรง ตำ�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนครคนแรก ถือกำ�ำเนิดในตระกูลเจ้านายจากคณะอาญาสี่แห่งเมืองสกลนคร ซึ่งเป็นตระกูล ที่สืบเชื้อสายจากเจ้านายผู้สร้างเมืองมหาไชยกองแก้ว และเจ้านายในราชวงศ์ศรีโคตร บูรของเมืองนครพนมในอดีต พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ�ำ) กำ�ำเนิดหลัง รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์ราว 11 ปี ซึ่งตรงกับรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวัน อาทิตย์ เดือนยี่ ขึ้น 15 ค่�่ำำ ปีกุน เอกศก จ.ศ. 1201 ตรงกับวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2382 พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ�ำ) เป็นบุตรของเจ้าราชวงศ์อิน (อินทร์ หรือ จันทร์) เจ้านายในคณะอาญาสี่เมืองสกลนคร กับอาชญานางเทพ วังเดิมของพระยา ประจันตประเทศธานีตั้งอยู่ ณ ตำ�ำบลธาตุเชิงชุม ใกล้วัดพระธาตุเชิงชุม ในตัวเมือง สกลนคร พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ�ำ) ได้ศึกษาอักขระสมัยตามประเพณี บุตรหลานเจ้านายบ้านเมืองลาว รู้หนังสือลาวทั้งอักษรลาวอักษรธัมม์และหนังสือไทย โดยสมควร มีสติปัญญาฉลาดหลักแหลมมาแต่กำ�ำเนิด เข้ารับราชการเมื่ออายุ 19 ปี และมีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น 3 ตริตราภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) ตามลำ�ำดับ พระยาประจันตประเทศธานี ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2466 ด้วยโรคชรา สิริอายุ 85 ปี อนุสาวรีย์พระยาประจันตประเทศธานี 28 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ตั้งอยู่นอกเมืองทางด้านทิศเหนือติดกับลานรวมใจไทสกล ถนนสกล-อุดร ลักษณะสะพานก่อด้วยศิลาแลง ศิลปะลพบุรี อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 16 เมตร สูง 3 เมตร ด้านบนเป็นพื้นเรียบ ยกขอบศิลา แลงเป็นคันขึ้นมาทั้งสองข้าง ฐานสะพานก่อด้วยศิลาแลง 11 ช่อง เพื่อรับน้�้ำำหนัก ด้านบน และเป็นช่องให้น้�้ำำไหลผ่านได้ สภาพในปัจจุบันได้รับการบูรณะเมื่อ พ.ศ. 2520-2524 นักโบราณคดีคาดว่าในอดีตสะพานขอมแห่งนี้ เป็นสะพานที่ใช้สำ�ำหรับข้าม ลำ�ำน้�้ำำสาขา (ห้วยโมง) ที่ไหลมาจากทิศตะวันตกไปสู่หนองหารทางด้านทิศเหนือ โดยสะพานเป็นส่วนหนึ่งของ คันดินถนนและเป็นเส้นทางสัญจรระหว่างชุมชน ในเมืองสกลนครกับชุมชนที่อยู่แถบปราสาทนารายณ์เจงเวง Khmer Bridge or Stone Bridge This small ancient bridge located nearby the entrance of the city. It is believed that the bridge had linked Sakon Nakhon with the countryside as this area was once a swamp. สะพานขอม คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 29


เป็นทะเลสาบน้�้ำำจืดที่มีชื่อเสียงมากแห่งหนึ่งของประเทศไทย มีขนาดใหญ่ ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ บนเนื้อที่ 123 ตางกิโลเมตร เป็นแหล่งรับน้�้ำำของลำ�ำห้วยต่างๆ หลายสาย และยัง เป็นต้นน้�้ำำของลำ�ำน้�้ำำก่�่ำำซึ่งไหลลงสู่แม่น้�้ำำโขงที่ อำ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม หนองหาร เป็นแหล่งน้�้ำำธรรมชาติที่อำ�ำนวยประโยชน์ในด้านการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง ระดับน้�้ำำลึกโดยเฉลี่ย 3-8 เมตร บริเวณหนองหารมี เกาะต่างๆ มากกว่า 20 เกาะ และ มีเกาะที่สำ�ำคัญและเป็นที่รู้จักกันดีคือ เกาะ ดอนสวรรค์ ซึ่งเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุด อุดมด้วย พืชพรรณไม้หลากหลาย และมีความเป็นธรรมชาติที่สมบูรณ์ เกาะต่างๆ ในหนองหาร ยังมีต้นไม้ใหญ่ เจริญเติบโตอยู่มากมาย เป็นที่อยู่อาศัยของนกนานาชนิด บางเกาะได้สร้างศาลา พักผ่อน เช่น เกาะแก้ว เกาะดอนสะคาม และเกาะดอนสะทุง ฯลฯ ในเวลากลาง วันสามารถมองเห็นสาหร่ายที่ อยู่ใต้พื้นน้�้ำำสะท้อนแสงอาทิตย์อย่างสวยงาม และเมื่ออาทิตย์อัสดง ภาพดวงตะวันรอนที่หนองหาร ก็เป็นภาพที่สวยงามน่า ประทับใจยิ่ง เกาะดอนสวรรค์ใหญ่ มีรากฐานศาสนสถานเก่า ขนาดไม่ใหญ่โตนัก 1 แห่ง ก่อด้วยศิลาแลง ขนาดกว้างประมาณ 39.40 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตร หนา 12 เซนติเมตร รอบๆ บริเวณ ซากศาสนสถานมีศิลาแลง กระจายเกลื่อนอยู่ มากมาย บนซากฐานศิลาแลงมีร่องรอยการก่อสร้าง เป็นศาสนสถานด้วยอิฐใน รุ่นหลัง และมีชิ้นส่วนของเสา 8 เหลี่ยม ก่อด้วยอิฐฉาบปูนหักตกอยู่ด้วย อีก 2 ชิ้น ถัดจากซากศาสนสถานไปทางเหนือเล็กน้อย เป็นศาลาโถง สร้างใหม่ด้วยไม้ เป็นที่ประดิษฐาน รอยพระพุทธบาท ยาวประมาณ 135 เซนติเมตร สลักรอย หนองหาร 30 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


พระพุทธบาทเป็นมงคล 108 ซึ่งเข้าใจว่า นำ�ำโบราณวัตถุในสมัยรัตนโกสินทร์ ส่วนในสุดของศาลาโถง มีชิ้นส่วนพระพุทธรูปปั้นด้วยปูนขาวที่ได้รับการ ซ่อมแซมใหม่แล้ว 2 องค์ การเกิดขึ้นของหนองหารนั้น ตามความเชื่อที่ว่า แต่เดิมขอมปกครองเมืองนี้ มาก่อน ยังปรากฏในตำ�ำนานนิทานพื้นบ้าน เล่าสืบกันมาจนทุกวันนี้คือ ตำ�ำนาน ฟานด่อน หรือ เก้งเผือก และนิทานเรื่องกะฮอกด่อน หรือ กระรอกเผือก ตำ�ำนาน ฟานด่อน เป็นตำ�ำนานที่ปรากฏอยู่ในหนังสืออุรังคนิทานเป็นเรื่องอธิบายสาเหตุ ที่เมืองเก่าซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณท่านางอาบ บ้านท่าศาลา บ้านน้�้ำำพุ ริมหนองหาร ถล่มล่มลงในหนองหาร และแล้วมีการสร้างเมืองใหม่ขึ้น ที่บริเวณ ธาตุเชิงชุม อีกฝั่งหนึ่งของหนองหาร โดยพระยาสุวรรณภิงคาร โอรสพญาขอม ตำ�ำนานเรื่องนี้ ยังมีความสอดคล้องกับชื่อหมู่บ้านอีกหลายแห่งริมหนองหาร จึงทำ�ำให้ผู้คนเชื่อว่า เป็นเรื่องจริง จนถือกันว่า เมื่ออยู่ในหนองหารไม่ควรพูดถึง เรื่องนี้ จะได้รับอันตราย เรือจะล่มถูกเงือกทำ�ำร้าย หรือหาปลาไม่ได้ ในส่วน นิทา นกะฮอกด่อน แม้จะเป็นการอธิบายการเกิดหนองน้�้ำำขนาดใหญ่ทั่วไปก็ตาม แต่ ชาวสกลนครก็เชื่อว่า นิทานเรื่องนี้ เป็นที่มาของการถล่มทลายหนองหาร ซึ่งเกิด จากการกระทำ�ำของพญานาค Nong Han In the city of Sakon Nakho, Nong Han Lake is one of the most well-known and enormous lake in Thailand which complies more than 20 islands within its area. Here at Nong han Lake, watching the sunset, traveling by boat to admire the beauty of different islands, paying homange to old Buddha image and fascinating the golden seaweeds in the daytime are famous activites. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 31


นิทานพื้นบ้านเมืองสกลนคร ครั้งหนึ่งยังมีเมืองอยู่เมืองหนึ่งชื่อ นครเอกชะทีตา มีพระยาขอมเป็น กษัตริย์ ปกครองเมืองด้วยความร่มเย็น พระยาขอมมีพระธิดาสาวสวยนามว่า “นางไอ่คำ�ำ” ซึ่งเป็นที่รักและหวงแหนมาก จึงสร้างปราสาท 7 ชั้น ให้อยู่พร้อม เหล่าสนม นางกำ�ำนัล คอยดูแลอย่างดี ขณะเดียวกันยังมีเมืองอีกเมืองหนึ่งชื่อ เมืองผาโพง มีเจ้าชายนามว่า ท้าว ผาแดง เป็นกษัตริย์ ปกครองอยู่ ได้ยิน กิตติศัพท์ความงามของธิดาไอ่คำ�ำมาก่อน แล้ว ใคร่อยากจะเห็นหน้า จึงปลอมตัวเป็นพ่อค้าพเนจรถึงนครเอกชะทีตา และ ติดสินบนนางสนมกำ�ำนัล ให้นำ�ำของขวัญลอบเข้าไป ให้นางไอ่คำ�ำ ด้วยผลกรรมที่ ผูกพันมาแต่ชาติปางก่อน นางไอ่คำ�ำและท้าวผาแดงจึงได้มีใจ ปฏิพัทธ์ต่อกัน จน ในที่สุดทั้งสองก็อภิรมย์สมรักกัน ก่อนท้าวผาแดงจะจากไป เพื่อจัดขบวนขันหมากมาสู่ขอนางไอ่คำ�ำ ทั้ง สองได้คร่�่ำำครวญต่อกัน ด้วยความอาลัยยิ่ง วันเวลาผ่านไปถึงเดือน 6 เป็น ประเพณีแต่โบราณของเมืองเอกชะทีตา จะต้องมีการทำ�ำบุญบั้งไฟบูชาพญาแถน พระยาขอมจึงได้ประกาศบอกไปตามหัวเมืองต่างๆ ว่าบุญบั้งไฟปีนี้จะเป็นการ หาผู้ที่จะมาเป็นลูกเขยอีกด้วย ขอให้เจ้าชายหัวเมืองต่างๆ จัดทำ�ำบั้งไฟ มาจุด แข่งขันกัน ผู้ใดชนะก็จะได้อภิเษก กับพระธิดาไอ่คำ�ำด้วย 32 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ข่าวนี้ได้ร่�่ำำลือไปทั่วสารทิศ ทุกเมืองในขอบเขตแว่นแคว้นต่างๆ ก็ส่ง บั้งไฟเข้ามาแข่งขัน เช่น เมืองฟ้าแดดสูงยาง เมืองเชียงเหียน เชียงทอง แม้ กระทั่งพญานาคใต้เมืองบาดาล ก็ได้ยินร่�่ำำลือจนสิ้น จนท้าวพังคีเจ้าชาย พญานาคเมือง บาดาลก็อดใจไม่ไหว ปลอมตัวเป็น กระรอกเผือก มาดูโฉมงาม นางไอ่คำ�ำ ด้วยในวันงานบุญบั้งไฟ เมื่อถึงวัน แข่งขัน จุดบั้งไฟ ปรากฏว่า บั้งไฟ ท้าวผาแดงจุดไม่ขึ้นพ่นควันดำ�ำอยู่ 3 วัน 3 คืน จึงระเบิดออกเป็นเสี่ยงๆ ทำ�ำให้ ความหวังท้าวผาแดงหมดสิ้นลง ขณะเดียวกัน ท้าวพังคีพญานาคที่ปลอมเป็นกระรอกเผือก มีกระดิ่งผูก คอน่ารักมาไต่เต้น อยู่บนยอดไม้ข้าง ปราสาท นางไอ่คำ�ำ ก็ปรากฏร่าง ให้นางไอ่ คำ�ำเห็น นางจึงคิดอยากได้มาเลี้ยง แต่แล้วก็จับไม่ได้ จึงบอกให้นายพรานยิงเอา ตัวตายมา ในที่สุดกระรอกเผือกพังคี ก็ถูกยิง ด้วยลูกดอก จนตาย ก่อนตายท้าว พังคีได้อธิษฐานไว้ว่า “ขอให้เนื้อของข้าได้ แปดพันเกวียน คนทั้งเมืองอย่าได้กิน หมดเกลี้ยง” จากนั้นร่างของกระรอกเผือกก็ใหญ่ขึ้น จนผู้คนแตกตื่นมาดูกัน และจัดการแล่เนื้อนั้นแบ่งกัน ไปกินทั่วเมือง ด้วยว่าเป็นอาหารทิพย์ ยกเว้นแต่ พวก แม่ม่ายที่ชาวเมืองรังเกียจ ไม่แบ่งเนื้อ กระรอกให้ พญานาคแห่งเมือง บาดาล ทราบข่าว ท้าวพังคีถูกมนุษย์ฆ่าตายแล่เนื้อไปกิน กัน ทั้งเมือง จึงโกรธ แค้นยิ่งนัก ดึกสงัดของคืนนั้นเอง ขณะที่ชาวเมือง เอกชะทีตากำ�ำลังหลับใหล เหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น ท้องฟ้าอื้ออึงไปด้วย พายุฝน ฟ้ากระหน่�่ำำลงมา อย่างหนักอยู่ มิได้ขาด แผ่นดินเริ่มถล่มตัวยุบตัวลงไปทีละน้อย ท่ามกลางเสียง หวีดร้องของผู้คนที่วิ่งหนีตาย เหล่าพญานาคผุดขึ้นมา นับหมื่น นับแสนตัว ถล่ม เมืองชะทีตาจมลงใต้บาดาลทันที คงเหลือไว้เป็นดอน 3-4 แห่ง ซึ่งเป็นที่อยู่ของ พวกแม่ม่าย ที่ไม่ได้กินเนื้อ กระรอกเผือกจึงรอดตาย คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 33


ฝ่ายท้าวผาแดงได้โอกาสรีบควบม้าหนีออกจากเมือง โดยไม่ลืมแวะรับ พระธิดาไอ่คำ�ำไปด้วยแต่แม้จะเร่งฝีเท้าม้าเท่าใดก็หนีไม่พ้นทัพพญานาคที่ ทำ�ำให้ แผ่นดินถล่มตามมาติดๆ ในที่สุดก็กลืนท้าวผาแดงและพระธิดาไอ่คำ�ำ พร้อมม้า แสนรู้ชื่อ “บักสาม” จมหายไปใต้พื้นดิน รุ่งเช้าภาพของเมืองเอกชะทีตาที่เคยรุ่งเรืองโอฬาร ก็อันตรธานหาย ไปสิ้น คงเห็นแต่พื้นน้�้ำำ กว้างยาว สุดตา ทุกชีวิตในเมืองเอกชะทีตาจมสู่ใต้ บาดาล จนหมดสิ้นเหลือไว้แต่แม่ม่ายบนเกาะร้าง 3-4 แห่ง ในผืนน้�้ำำอันกว้างนี้ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นหนองหารหลวงดังปรากฏในปัจจุบัน Pha Daeng – Nang Ai According to Esarn folklore there was a city named “Muang Aek-hita” ruled by “Phaya Khmer”. He had a beautiful daughter named “Nang Ai” or “Nang Ai Kham”. Her beauty was well know everywhere. Because of this, many princes from different cities were infatuated with her. Similarly, “Thao Phang Kee”, the son of Phaya Nak, the ruler of Muang Badan was infatuated with her too. Nang Ai was fond of “Thao Pha Daeng”, the son of Muang Phapong’s ruler. They met each other at the Bang Fai festival for the first time. Thao Pha Daeng fell in love with her at the first sight. Thao Phang Kee, Phaya Nak’s son, a young naga fell in love with her too. It was an impossible love since he was a naga, and she was a human. He was worried about that. With the power of love, Thao Phang Kee transformed himself into a white squirrel with a small golden bell. Then he left Muang Badan to see Nang-Ai’s beauty in the human world. While she and her chaperon were relaxing in the flower garden, she heard the sound of the3 ringing bell. When she looked around the garden, she saw the lovely white squirrel. She ordered her chaperon to find a hunter to catch it but it was so swift that the hunter could not catch it so he decided to use a poison arrow to shoot and kill the squirrel. Before the squirrel died, he made a wish that his 34 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


body would grow so large that his meat could feed all the townspeople. After that, the hunter and the chaperon cut the meat of the squirrel and distributed it to all the people in this town, except a widow. Nang Ai also ate to squirrel’s meat. When Thao Pha Daeng rod “Bag Sam”, his horse to visit Nang Ai in the evening, she told him about this story in detail. He was very frightened because he knew that whoever ate the squirrel’s meant would be killed by the naga. He realized the town was in great danger. So he carried Nang Ai on the horse to escape the Naga’s pursuit. She was so frightened that she grasped a gong and a cymbal to protect herself. No matter where she hid, the nagas chased her because she had eaten the squirrel’s meat. While the nagas were chasingher, the town was destroyed by and earthquake. While Thao Pha Daeng was riding to the north, the nagas transformed themselves into logs barring his way. So he turned his horse back, but it fell down, exhausted. Nang Ai threw away her ring, the gong and the cymbal in an attempt to stop the nagas, but she could not. Suddenly, she fell of the horseback because she was hit by Suthonakafaj’s lashing tail. (King Suthonakaraj was Thao Phang Kee’s father and the ruler of the nagas) As Nang Ai spoke her last words promising to meet Thao Pha Daeng in the next world, she was buried alive when the ground collapsed around her body. She died before Thao Pha Daeng’s very eyes and he was so grief-stricken that he could not love another woman. After that Thao Pha Daeng pined for her until he died. With the power of Thao Pha Daeng and Nang Ai’s love their spirits met each other in Muang Badan or the underworld. Both Thao Phang Kee and Thao Pha Daeng still fought each other in the Swamp under the earth. Whoever won this battle would marry Nang Ai. Until now nobody knows who the winner was. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 35


สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดสกลนคร ได้จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสอัน เป็นมหามงคลที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระชนมายุครบ 80 พรรษา เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2523 โดยกระทรวงศึกษาธิการได้เสนอโครงการสร้าง สวนสาธารณะ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เขตการ ศึกษาละ 1 แห่ง รวม 12 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2523 มีมติเห็นชอบอนุมัติให้กระทรวงศึกษาธิการดำ�ำเนินการและได้รับ พระราชทานชื่อสวนสาธารณะแต่ละแห่งว่า “สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์” ต่อท้าย ชื่อจังหวัดที่สร้าง สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดสกลนคร ได้รับอนุมัติให้จัดสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2526 เป็นสวนแห่งที่ 10 ของประเทศไทย สมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนีทรงเสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิด เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2530 มีพื้นที่ ประมาณ 120 ไร่ เป็นพื้นดินประมาณ 60 ไร่ พื้นน้�้ำำประมาณ 60 ไร่ ตั้งอยู่ในเขต เทศบาลนครสกลนคร มีลักษณะเป็นสวนป่า สวนน้�้ำำและสวนไม้ดอกไม้ประดับ ลานเอนกประสงค์ ทางเดินรอบสระพังทอง และหนองน้�้ำำภายในบริเวณสวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ ภายในสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เป็นที่ประดิษฐานพระราชานุ สาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในพระอิริยาบถประทับพระเก้าอี้ ขนาด โตเท่าครึ่งพระองค์จริง โดยได้มีพิธีอัญเชิญพระราชานุสาวรีย์ฯ ขึ้นประดิษฐาน เมื่อ วันที่ 4 เมษายน 2543 และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดพระราชานุสาวรีย์ฯ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 36 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2543 จึงนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ต่อ ปวงพสกนิกรชาวสกลนคร และปวงประชาราษฎร์โดยถ้วนหน้า เพื่อให้ประชาชนได้ สักการะและรำ�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่มีต่อพสกนิกรชาวไทย ทุกหมู่เหล่า เทศบาลนครสกลนคร เป็นองค์กรที่รับผิดชอบต่อการบริหารจัดการบำ�ำรุงรักษา และปรับปรุงโดยจัดสรรกำ�ำลังคน เครื่องมืออุปกรณ์ และงบประมาณสำ�ำหรับสวน สมเด็จฯ เป็นสวนสาธารณะที่มีภูมิทัศน์สวยงามที่สุดแห่งหนึ่งระดับประเทศ เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำ�ำคัญของจังหวัดสกลนคร ควบคู่กับการอนุรักษ์เพื่อประโยชน์ ใช้สอยของประชาชน เพื่อใช้สำ�ำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ ตลอดจนจัดกิจกรรม ต่างๆ มากมายรวมทั้งการใช้พื้นที่บริเวณสวนเพื่อประกอบกิจกรรมสำ�ำคัญ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สืบทอดกันตั้งแต่บรรพบุรุษ อันได้แก่วันสงกรานต์ วันลอยกระทงวันปีใหม่ ฯลฯ ประการสำ�ำคัญสวนสมเด็จฯ ยังเป็นปอดของเมืองสกลนคร ให้ประชาชนใช้เป็น สถานที่ออกกำ�ำลังกาย ทั้งวิ่ง เดิน แอโรบิก ลีลาศเพื่อสุขภาพ รวมทั้งสนามเด็กเล่น และสวนสุขภาพด้วย จึงได้ประโยชน์ทั้งการออกกำ�ำลังกายและสูดอากาศบริสุทธิ์ Princess Mother Park This place is a beautiful park which was built in the commemoration year of the 80th birthday celebration for HRH Srinakharin. Sra Pang Thong is a huge pond surrounded by garden comprising beautiful flower, natural ston, waterfall, recreational area in the city of Sakon Nakhon. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 37


สวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สวนแม่ สวน ลุก) จังหวัดสกลนคร เป็นสวนที่สองของประเทศไทยต่อจากจังหวัดปัตตานีที่สร้างขึ้น เนื่องในวโรกาสมหามงคลสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ ทรงเจริญ พระชนมายุ 84 พรรษา วันที่ 6 พฤษภาคม 2550 พสกนิกรชาวจังหวัดสกลนคร โดยเทศบาลเมืองสกลนคร ได้จัดสร้างสวน สาธารณะนี้ขึ้น และได้รับพระราชทานชื่อสามัญว่า “สวนแม่ สวนลูก” ก่อสร้างต่อ เติมจากสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ส่วนขยาย ในบริเวณหนองหาร ขนาดพื้นที่ 20 ไร่ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นองค์ประธานเปิด สวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2551 นับว่าสวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ (สวนแม่ สวนลูก) เป็นสวนสาธารณะที่มี ความสวยงามมากอีกแห่งหนึ่ง ที่มีวัตถุประสงค์ มุ่งหวังให้ประชาชนชาวจังหวัด สกลนคร และประชาชนทั่วไปที่ต้องการพักผ่อนหย่อนใจ ออกกำ�ำลังกาย เข้ามาใช้ บริการได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ HRH Princess Kanlayaniwattana Park (Suan Mae-Suan Look) Located next to Princess Mother Park, the park was completed in 2007, the year in commemoration of the 84th HRH Princess Kanlayaniwattana birthday, HRH Princess Kanlayaniwattana named this park Suan Mae-Wuan Look which means “mother and daughter park” in order to express her love towards her mother. Sra Pang Thong with 69-meters-high fountain surrounding by beautiful landscape linked to two parks together. สวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สวนแม่ สวนลูก) สกลนคร 38 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานพระราชดำ�ำริให้จัด ตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานขึ้น เมื่อพุทธศักราช 2525 โดยมี ม.จ.จักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธ์ องคมนตรี และนายสุนทร เรียวเล็ก อธิบดีกรมชลประทาน พร้อมทั้ง นายเล็ก จินดาสวน เข้าเฝ้าฯ ณ กรมราชองครักษ์ สวนจิตรลดา เพื่อรับสนอง พระบรมราชโองการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ เริ่มดำ�ำเนินการตั้งแต่พุทธศักราช 2527 โดยเพิ่ม ศึกษาค้นคว้าวิจัยทดลองงานพัฒนาการเกษตรที่เหมาะสมแก่ท้องถิ่น และนำ�ำออก เผยแพร่เป็นตัวอย่างให้ราษฎรนำ�ำไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาอาชีพ ฟื้นฟู และพัฒนาป่าไม้ การปลูกพืชเศรษฐกิจที่ให้ผลเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร การดำ�ำเนินงานของ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ นี้ มีหน่วยราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลาย หน่วยร่วมรับผิดชอบ เช่น กรมชลประทาน กรมป่าไม้ กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย เป็นต้น ด้วยเดชะพระบารมี พระปรีชาสามารถที่ทรงเห็นการณ์ไกล และพระ มหากรุณาธิคุณที่ทรงมุ่งมั่นบำ�ำบัดทุกข์บำ�ำรุงสุขแก่ราษฎรที่ยากไร้ในชนบท ศูนย์ศึกษา การพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ำริ ได้อำ�ำนวยประโยชน์แก่ราษฎรในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ให้พัฒนาผืนดิน พัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและอาชีพเสริม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านความรู้สุขภาพอนามัย พระเกียรติคุณของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในฐานะพระมหากษัตริย์ นักพัฒนา ได้ปรากฏ ขจายขจรเป็นที่ ยกย่องเทิดทูนทั้งในประเทศไทย และนานาประเทศทั่วโลก กิจกรรมของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ ครอบคลุมทุกด้านที่มีผลต่อการ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอันเหมาะสมแก่สภาพพื้นที่ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของราษฎรในพื้นที่ ได้แก่ ศูนย์ศึกษาพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ำริ คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 39


งานชลประทาน สร้างแหล่งเก็บกักน้�้ำำ เช่น อ่างเก็บน้�้ำำห้วยตาดไฮใหญ่ อ่างเก็บน้�้ำำห้วยเดียก ฝายกักเก็บน้�้ำำจากต้นน้�้ำำลำ�ำธาร แนะนำ�ำการจัดระบบส่งน้�้ำำและการใช้น้�้ำำแก่เกษตรกร งานศึกษาและพัฒนาเกษตรกรรม ศึกษาทดลองวิธีการที่ได้ผลในการเพิ่มผลผลิตและรายได้ เช่น ศึกษาทดสอบ เลือกสายพันธุ์ข้าว พืช และไม้ผลที่เหมาะสมแก่สภาพพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ข้าว พืชไร่ พืชสวน เป็นต้นว่า เงาะ ลำ�ำไย ทุเรียน น้อยหน่า หม่อนไหม ยางพารา เห็ด การจัดระบบการทำ�ำฟาร์ม การศึกษาวิธีแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร งานศึกษาและพัฒนาป่าไม้ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ที่ทรุดโทรม ปลูกและบำ�ำรุงป่าธรรมชาติ ส่งเสริมการ ปลูกป่าทดแทน ส่งเสริมการปลูกหวายดง ไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ ตลอดจนการเพาะเลี้ยง ครั่ง ควบคุมและป้องกันไฟป่า งานส่งเสริมและพัฒนาแหล่งน้ �้ำ ำเพื่อการประมง ศึกษาทดลองและพัฒนาการประมงน้�้ำำจืด ส่งเสริมการเลี้ยงปลาบ่อ และใน กระชังในอ่างเก็บน้�้ำำ งานศึกษาและพัฒนาด้านปศุสัตว์ ปรับปรุงทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ศึกษาและทดลองการเลี้ยงสัตว์ การผลิตอาหาร สัตว์ เช่น ส่งเสริมการปลูกกระถินเป็นรั้วบ้าน ผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วฮามาด้า การจัดการ ด้านการเลี้ยงสัตว์ และวิธีแก้ปัญหา เช่น การป้องกันและกำ�ำจัดโรคของสัตว์ งานศึกษาและพัฒนาปรับปรุงบำ�ำรุงดิน อนุรักษ์ดินและน้�้ำำวิจัยทดสอบ ถ่ายทอดความรู้แก่ราษฎรเพื่อให้พัฒนาที่ดิน ให้เกิดประโยชน์ งานส่งเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน แนะนำ�ำฝึกอบรม ส่งเสริมความรู้ด้านอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น การตีเหล็ก ผลิตมีด และเครื่องมือเกษตร ฝึกอบรมย้อมสีด้าย ทอผ้า เพื่อให้ราษฎรทำ�ำเครื่องใช้ใน ครัวเรือนเป็นการประหยัด หรือเป็นอาชีพเสริมเพิ่มพูนรายได้ งานส่งเสริมการเกษตร นำ�ำความรู้ด้านเกษตรที่ศึกษาทดลองได้ผลเป็นที่พอใจแล้ว เผยแพร่แก่ เกษตรกรให้นำ�ำไปปฏิบัติด้วยตนเอง 40 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


งานศึกษาและพัฒนาหมู่บ้านตัวอย่าง จัดระเบียบชุมชนและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ความจำ�ำเป็นพื้นฐาน จัด ตั้งและพัฒนาองค์กรประชาชนในหมู่บ้านรอบศูนย์ งานฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรกรรมแก่ราษฎรในหมู่บ้านรอบศูนย์ และราษฎรใน จังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อให้นำ�ำความรู้ไปพัฒนาอาชีพและ คุณภาพชีวิต ที่ตั้งโครงการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ำริ ตั้งอยู่ที่บ้านนา นกเค้า ตำ�ำบลห้วยยาง อำ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โทร (042) 712975 โทรสาร (042) 712945 ห่างอำ�ำเภอเมืองไปทางทิศตะวันตกประมาณ 10 กิโลเมตร มีพื้นที่ ดำ�ำเนินการทั้งหมด 13,300 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่พัฒนาการเกษตรประมาณ 2,300 ไร่ พื้นที่เขตปริมณฑลเพื่อการพัฒนาป่าไม้ประมาณ 11,000 ไร่ อยู่ในเขตป่าสงวนแห่ง ชาติที่มีชื่อว่า ป่าภูล้อมข้าวและป่าภูเพ็ก Phu Phan Royal Development Study Center Located at about 10 kilometres to the west from Amphur Muang Sakon Nakhon, Phu Phan Royal Development Study Center is the researchs and experimental area for agriculture which opens daily for visitors and tourists. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 41


ตั้งอยู่ริมฝั่งหนองหารน้อย ซึ่งตรงกันข้ามกับฝั่งหนองหาร ห่างจากพื้นที่ตั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตำ�ำบลเชียง เครือ ประมาณ 5 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดกว่า 50 ไร่ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อ เป็นแหล่งรวบรวมบัวพันธุ์ต่างๆ มากกว่า 100 สายพันธุ์ และรองรับการประชุม วิชาการบัวนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2553 ปัจจุบันใช้เป็นสถานที่ศึกษาและค้นคว้าของ นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป รวมทั้งยังเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและเป็น แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของ จังหวัดสกลนคร ภายใน “อุทยานบัว” แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนรวบรวมพันธุ์บัว เป็นการรวบรวมพันธุ์บัวทั้งในและต่างประเทศ ทั้งหมด 34 สายพันธุ์ เช่น บัวกระด้ง, บัวสาย, บัวผัน-เผื่อน และบัวฝรั่ง รวบรวมไว้ในรูปแบบ สระบัวบนพื้นที่ 10 ไร่ โดยมีทางเดินที่สามารถเดินลงไปชมบัวได้อย่างใกล้ชิด 2. ส่วนแสดงพันธุ์บัว โดยนำ�ำบัวพันธุ์จำ�ำนวน 74 สายพันธุ์มาจัดโชว์บนกระถาง เพื่อให้ผู้สนใจได้ใกล้ชิดกับบัวมากขึ้น 3. ส่วนนิทรรศการ ได้จัดแสดงไว้ในชั้นล่างของอาคารวิจัยและพัฒนา ซึ่งเป็น นิทรรศการความรู้และความเป็นมาของบัวพันธุ์ต่างๆ เหมาะแก่การศึกษาค้นคว้าได้ เป็นอย่าง ภายในห้องนิทรรศการประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับบัวต่างๆ ดังนี้•การจำ�ำแนกพันธุ์บัว • โรคและศัตรูที่สำ�ำคัญ • ประวัติบัวในไทย•การปรับปรุงพันธุ์ • การปลูกบัว •การทำ�ำนาบัว•การดูแลรักษา • ประโยชน์จากบัว Nong Han Chalermphakiat Park Nong Han Chalermphakiat Park is part of “Nong Han” the provincial water resources, given by Department of Fisheries to collect and study about inland fisheries, the local flora and fauna water plants as well as to be the learning center for people in community. เวลาเปิด-ปิด ( โทรศัพท์ : 0 4272 5000 โทรสาร : 0 4272 5013 ) วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30–16.30 น., วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 08.30-18.00 น. (ยกเว้นห้องนิทรรศการบัว ปิดวันหยุดราชการและนักขัตฤกษ์) อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฯ จังหวัดสกลนคร 42 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ประติมากรรมหนองหารหลวง (ประตูเมืองสกลนคร) อยู่บริเวณทางเข้าตัวเมืองสกลนคร ถนนสกล-อุดร ตรงข้ามลานรวมใจไท สกล เป็นที่ประดิษฐาน “หนองหารหลวงลานรวมใจไทสกล เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา” ด้านบนของประตูเมืองเป็นประติมากรรมปูนปั้นปราสาทผึ้ง สามหลัง ประดิษฐานพระพุทธรูปจำ�ำลองหลวงพ่อองค์แสน รูปเหมือนพระ อาจารย์มั่น ภูริทัตโต และพระอาจารย์ฝั้น อาจารโร ฐานล่างเป็นประติมากรรม ดินเผาเล่าตำ�ำนานหนองหาร เป็นสัญลักษณ์เสมือนเป็นศูนย์กลางรวมความ ศักดิ์สิทธิ์ และรวมใจของชาวเมืองสกลนคร Main Sacred Place of Sakon Nakhon Situated on top of gate was sculpture of three was processing palaces with the installement of replica of Laungpor Ongsaen, Phra Acharn Mun Phurithatto and Phra Acharn Fun Ajaro. The lower part os ceramic sculpture displaying the legend of Nongharn. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 43


พิพิธภัณฑ์ภูพาน ตั้งอยู่ใกล้กลับสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 พระชนมพรรษา 80 พรรษา (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯ) ชุมชนหนองหารหลวง หลังโรงเรียนอนุบาลสกลนคร ตำ�ำบล ธาตุเชิงชุม อำ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ดำ�ำเนินการก่อสร้างตามยุทธศาสตร์แผนการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน (สกลนคร นครพนม มุกดาหาร) ได้กำ�ำหนดให้มีโครงการหนึ่ง จังหวัดหนึ่งผลิตภัณฑ์ เพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานในการส่งเสริมการท่องเที่ยว ของกลุ่มจังหวัด ซึ่งในส่วนของจังหวัดสกลนครได้จัดทำ�ำโครงการก่อสร้างพิพิธภัณฑ์ ภูพานขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสกลนคร ภายในแบ่งเป็น ห้องจัดแสดง 9 โซน ดังนี้ โซนที่ 1 ห้องโหมโรง (Orientaiton) โซนที่ 2 นิทรรศการ “มหัศจรรย์ภูพาน” โซนที่ 3 ภูมินิเวศน์ผู้คน ชุมชนในป่าบุ่งป่าทาม โซนที่ 4 ภูมินิเวศน์หนองหารกับการตั้งเมืองสกลนคร โซนที่ 5 คนสกลนคร โซนที่ 6 อาศิรวาท องค์ราชันย์ องค์ราชินี โซนที่ 7 นิทรรศการเทิดพระเกียรติ โซนที่ 8 ดินแดนแห่งธรรม โซนที่ 9 ประติมากรรม ณ ลานกลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์ภูพาน 44 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


PHU PHAN MUSEUM A knowledge learning place of Sakon Nakhon province, where the 4 important things located, which are Dhamma, Civilization, Culture, and Nature. Inside the museum is divided into 9 zones including. Zone 1 Prelude Zone 2 Incredible Phu Phan Zone 3 Landscape ecology (Bhuminives) of people and society in Bung Pa Ham forest Zone 4 Nong Han and the set up of Sakon Nakhon town Zone 5 Sakon Nakhon people Zone 6 Esteem respect to His majesty the King and Queen Zone 7 An exhibition in Honor of His Majesty the King Zone 8 Land of Dhamma Zone 9 Sculpture at Outdoor courtyard 80 Years Anniversary King Bhumibol Adulyadej Park, behind the Sakon Nakhon kindergarten school, That Choeng Chum Mueang Sakon Nakhon Sakon Nakhon 47000 Telephone : 042-714 853 Website : https://www.facebook.com/ppms.sakhon คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 45


ประเพณีออกพรรษา หรือบุญออกพรรษา จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่�่ำำ เดือน 11 ซึ่ง เป็นสิ้นสุดระยะเวลาจำ�ำพรรษา 3 เดือน ของพระภิกษุสงฆ์ โดยที่พระภิกษุสงฆ์จะ ทำ�ำการสังฆกรรมปวารณา และพุทธศาสนิกชนเข้าวัดบำ�ำเพ็ญกุศล ทำ�ำบุญตักบาตรครั้ง ใหญ่ที่เรียกว่า ตักบาตรเทโวโรหณะ เพื่อรำ�ำลึกถึงเหตุการณ์ที่องค์พระสัมมาสัมพุทธ เจ้าได้เสด็จลงมาจากเทวโลกกลับมาจากการโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ พร้อม ทั้งทรงแสดงโลกวิวรรณปาฏิหาริย์เปิดโลกทั้งสามที่ใกล้ประตูเมือง สังกัสสนคร ทำ�ำให้ พุทธศาสนิกชนเชื่อว่าเหตุการณ์นี้ทำ�ำให้ผู้คนได้เห็นความแตกต่างของความสะดวก สบายบนสวรรคภูมิ และความยากลำ�ำบากของนรกภูมิ พุทธศาสนิกชนจึงคิดสร้าง อาคารศาสนสถานถวายเป็นพุทธบูชาด้วยหวังให้เป็นอานิสสงค์ได้ไปเกิดบนสวรรค์ และเป็นการอุทิศส่วนกุศล แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ครั้นสมัยพระยาสุวรรณภิงคาระ ได้โปรดให้ข้าราชบริพารจัดทำ�ำ “ต้นเพิ่ง” (ต้น เผิ่ง) โดยการนำ�ำเอาต้นกล้วยมาแกะก้านกล้วยมาทำ�ำเป็นโครงปราสาท แล้วนำ�ำขี้ผึ้งที่ หล่อออกมาเป็นรวงผึ้ง เอามาติดประยุกต์ลงในโครงปราสาทที่ทำ�ำด้วยก้านกล้วย โดย นำ�ำดอกไม้สดประดับอย่างสวยงาม เรียกว่า “ปราสาทผึ้งโบราณ” ประเพณีออกพรรษาแห่ปราสาทผึ้งและแข่งขันเรือยาว เทศกาล งานประเพณีศิลปะ วัฒนธรรม 46 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


ต่อมาเมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของโครงปราสาทจน กลายเป็นโครงไม้ มีแม่พิมพ์ลวดลายต่างๆ โดยนำ�ำเอาซิลิโคนมาเป็นแบบ จากนั้นก็นำ�ำ มาหล่อกับ ขี้ผึ้ง แล้วแกะออกมาเป็นขี้ผึ้งเป็นลวดลายต่างๆ ที่สวยงามแล้วนำ�ำไปติด ปะลงในโครงปราสาท ทำ�ำให้เกิดความสวยงาม เรียกว่า “ปราสาทผึ้งประยุกต์” แต่ละ คุ้มวัดจะนำ�ำปราสาทผึ้งมาแสดงร่วมกันซึ่งจะมีนางฟ้าหรือเทพี นั่งอยู่ตอนหน้า แวดล้อมองค์ปราสาทผึ้ง แล้วแห่ไปรอบเมืองสิ้นสุดยังวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหารเป็น ประจำ�ำทุกปี ในขบวนแห่จะมีคนหนุ่มสาวคนเฒ่าคนแก่แต่งกายในชุดพื้นเมืองร่วม ขบวน มีการแสดงพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดสกลนคร เช่น รำ�ำมวยโบราณ ฟ้อนภูไท โซ่ทั่งบั้ง และเซ็ง เรือยาว เป็นต้น End of Buddhist Lent with Wax Palace Procession Wax Palace Procession and Boat Racing Festival is organized at the end of Buddhist Lent period, the full moon night of the 11th month, annually. The procession will end at Wat Prathat Choeng Chum. There are also Wax Palace Queen Beauty contest, Wax Palace Building Contest, demonstration of how to make Wax Palace, and other entertainments. งานประเพณีแข่งขันเรือยาว การแข่งขันเรือยาว “ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี” เป็นเทศกาลงานที่ยิ่งใหญ่ของชาวจังหวัดสกลนคร กำ�ำหนดจัดขึ้น ควบคู่กับการจัดงานประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง Boat Racing Festival The Boat Racing Festival is organized to win trophy from HRH Princess Mahachakri. คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 47


งานนมัสการพระธาตุเชิงชุมและหลวงพ่อองค์แสน จัดขึ้นเป็นประจำ�ำทุกปี ระหว่างวันขึ้น 9 ค่�่ำำ ถึงวันขึ้น 15 ค่�่ำำ เดือนยี่ ภายในงาน มีพิธีนมัสการองค์พระธาตุเชิงชุม นมัสการรอยพระพุทธบาท 4 พระองค์ พิธีทำ�ำบุญ ตักบาตร เวียนเทียนรอบองค์พระธาตุเชิงชุม ถวายเครื่องสักการะ ฟังการแสดง พระธรรมเทศนา พิธีรำ�ำถวายองค์พระธาตุ พร้อมนมัสการหลวงพ่อองค์แสน ที่เชื่อกัน ว่าท่านจะให้ดลบัลดาลความสุข ความเจริญให้แก่ผู้กราบไหว้บูชา งานเทศกาลวิสาขบูชา แห่โคมบัวบูชา เป็นงานเทศกาลที่จัดทำ�ำขึ้นเพื่อสืบสานจรรโลงพุทธศาสนา ถือศีล แต่งกายด้วยชุดขาวเข้าร่วมพิธี เดินถือโคมบัวบูชาที่จุดไฟสว่างไสวไปในขบวน รถที่ประดับตกแต่งเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา จากบริเวณลานพิธี (ลานรวม น้�้ำำใจไทสกล) ไปตามถนนสายธรรมะ ซึ่งประดับด้วยทุงโบราณ และโคมประทีป มุ่งสู่ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร และร่วมกันเวียนเทียนรอบองค์พระธาตุเชิงชุม 48 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


Wisakha Festival The festival is organized on full moon day of th 6th month of Wisakha day in order to join magnificient parade of lotus lantern candle lighting and strolling around Phrathat Choeng Chum. Khao Pan Kon parade, excursion activities, ordain of novices, and to view the practices of Buddhist meditation. เทศกาลลอยพระประทีปพระราชทานสิบสองเพ็งไทสกล จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่�่ำำ เดือน 12 บริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ (สระพัง ทอง) จังหวัดสกลนครเป็นจังหวัดหนึ่งที่ได้รับพระราชทานพระประทีปและกระทง พระราชทานจากพระบรมวงศานุวงศ์มีการแห่ขบวนอัญเชิญพระประทีปพระราชทาน ไปยังสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์โดยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่จะเป็นผู้นั่งขบวนรถแห่ อัญเชิญพระประทีป และเมื่อถึงมณฑลพิธีจะมีการอัญเชิญกระทงพระราชทานไป ประดิษฐานที่แท่นหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ของทุกพระองค์ มีการกล่าวคำ�ำบูชา พระประทีปและกระทงก่อนอัญเชิญพระประทีปและกระทงจากทุกพระองค์ลอยลง สระพังทอง การฟ้อนหางนกยูงหัวเรือ เป็นการแสดงที่มีมานานนับร้อยปี เพื่อเป็นการบวงสรวงเจ้าพ่อหลักเมือง การ แสดงนี้จะแสดงท่ารำ�ำบนหัวเรือแข่ง ท่ารำ�ำดัดแปลงมาจากการรำ�ำไหว้ครูของนักรบ ต่อ คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร 49


มาได้มีการปรับปรุงท่ารำ�ำใหม่ให้มีลักษณะอ่อนช้อยเหมือนนกยูงรำ�ำแพน ถ้าเป็นการ รำ�ำคู่ผู้แสดงจะแสดงคล้ายนกยูงกำ�ำลังเกี้ยวพาราสีกัน เป็นการแสดงที่มีพื้นที่อย่าง จำ�ำกัด ดังนั้นผู้ที่จะฟ้อนหางนกยูงนั้นต้องมีการฝึกฝนให้เกิดความชำ�ำนาญ เทศกาลแห่ดาวที่ท่าแร่ จัดขึ้นในข่วงเทศกาลคริสต์มาสของทุกปี โดยชาวบ้านท่าแร่จะมีการ ประดับไฟรูปดาวตามบ้านเรือนอย่างสวยงาม พร้อมทั้งจัดขบวนรถแห่ที่ตกแต่ง ด้วยดาวขนาดใหญ่ประดับประดาด้วยดวงไฟหลากสีสันงดงามตระการตา เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซูเจ้า เทศกาลแห่ดาวที่บ้านท่าแร่ นี้ถือเป็นแห่งเดียวในประเทศไทย Parade of Stars Festival During Christmas season of each year, everywhere is decorated with beautiful Star Lighting on the buildings and cars along the road. This event is only existed in Tharae. 50 คู่มือนำ�เที่ยวจังสกลนคร


Click to View FlipBook Version