The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เเผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยนางสาวประภัสสร หนูเเย้ม เลขที่๙ หมู่เรียนD๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by praphatsornnuyaem, 2021-05-30 09:42:54

เเผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

เเผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยนางสาวประภัสสร หนูเเย้ม เลขที่๙ หมู่เรียนD๕

Keywords: เเผนการจัดการเรียนรู้ป.4

แผนการจัดการเรยี นรู้
รายวชิ าภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔

จดั ทำโดย
นางสาวประภัสสร หนูแย้ม เลขท่ี ๙

เสนอ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พัชรภี รณ์ บางเขียว

แผนการจดั การเรียนรู้เล่มน้เี ป็นส่วนหนงึ่ ของรายวิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรียน
รหัสวิชา (๑๑๐๐๓๐๑) คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา



คำนำ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ จดั ทำขน้ึ เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางในการ
จัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

แผนการจัดการเรียนร้ปู ระกอบดว้ ยเน้ือหาสาระดงั ต่อไปนี้ แผนการจัดการเรียนรู้รายปีวิชาภาษาไทย ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ซ่ึงประกอบดว้ ย มาตรฐานและตัวช้ีวัด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระสำคญั สาระการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวิชา และตารางโครงสร้างรายวิชา ส่วนแผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยทั้งหมด ๓ แผนการจัด
การเรียนรู้ ประกอบด้วย ๑. เรื่องออมไว้กำไรชีวิต ๒. ผักสมุนไพรใบหญ้ามีคุณค่าทั้งนั้น และ ๓. โอม ! พินิจ
มหาพิจารณา ซึ่งแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ได้ระบุ มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ
สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้สมองเป็นฐาน Brain Based
Learning (BBL) ซึ่งทั้งหมดนี้นำไปสู่การบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีใบงาน แบบทดสอบและ
เกณฑ์การประเมินผล เพื่อใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนกั เรยี นแต่ละคนหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนแลว้
วา่ นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เน้ือหาสาระมากน้อยเพยี งใด ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ หรือไม่

ผู้จัดทำขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. พัชรีภรณ์ บางเขียว เป็นอย่างยิ่งที่ให้คำปรึกษาและ
คำแนะนำตลอดระยะเวลาการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้น้ี และหวังเป็นอย่างยงิ่ วา่ แผนการจดั การเรียนรู้เล่ม
นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนสำหรับครูและทำให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป

นางสาวประภสั สร หนแู ยม้

ผจู้ ัดทำ

สารบญั ข

เร่อื ง หน้า

คำนำ ก

สารบัญ ข

แผนการจดั การเรียนรู้รายปี ๑๒
๑๙
ตารางโครงสร้างรายวิชา ๒๙
๓๐
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ ออมไว้กำไรชีวติ ๓๑
๔๓
ใบงานที่ ๑ ๕๔
ใบงานที่ ๒ ๕๖
ใบงานท่ี ๓ ๖๑
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๒ ผกั สมนุ ไพรใบหญ้ามคี ุณคา่ ท้ังนั้น ๖๒
ใบงานท่ี ๑ ๖๕
ใบงานท่ี ๒ ๖๗
ใบงานท่ี ๓ ๗๘
ใบงานที่ ๔ ๘๗
ใบงานที่ ๕ ๘๘
ใบงานที่ ๖ ๙๐
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๓ โอม ! พนิ จิ มหาพจิ ารณา ๙๘
ใบงานท่ี ๑
ใบงานท่ี ๒
ใบงานที่ ๓
บรรณานกุ รม



แผนการจดั การเรยี นรู้

สาระการเรียนร้ภู าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
ครูผู้สอน นางสาวประภสั สร หนแู ย้ม
๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิด เพือ่ นำไปตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน
ชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน

มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง

ตัวช้วี ัด

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิด เพ่ือนำไปตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน
ชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน

ท ๑.๑ ป.๔/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้อง
ท ๑.๑ ป.๔/๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรอื่ งท่ีอา่ น
ท ๑.๑ ป.๔/๓ อ่านเร่ืองสัน้ ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนดและตอบคำถามจากเร่อื งที่อ่าน
ท ๑.๑ ป.๔/๔ แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรอื่ งทอี่ า่ น
ท ๑.๑ ป.๔/๕ คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่ืองทอ่ี า่ นโดยระบุเหตผุ ลประกอบ
ท ๑.๑ ป.๔/๖ สรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากเร่ืองทีอ่ า่ นเพือ่ นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
ท ๑.๑ ป.๔/๗ อ่านหนงั สอื ท่ีมีคุณค่าตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอและแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เรอ่ื งทอี่ ่าน
ท ๑.๑ ป.๔/๘ มีมารยาทในการอ่าน



มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศ และรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ท ๒.๑ ป.๔/๑ คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครงึ่ บรรทัด
ท ๒.๑ ป.๔/๒ เขยี นส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชดั เจน และเหมาะสม
ท ๒.๑ ป.๔/๓ เขียนแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ท ๒.๑ ป.๔/๔ เขยี นย่อความจากเร่อื งสั้น ๆ
ท ๒.๑ ป.๔/๕ เขยี นจดหมายถงึ เพื่อน และบิดามารดา
ท ๒.๑ ป.๔/๖ เขยี นบันทกึ และเขยี นรายงานจากการศึกษาค้นควา้
ท ๒.๑ ป.๔/๗ เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ
ท ๒.๑ ป.๔/๘ มมี ารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
ท ๓.๑ ป.๔/๑ จำแนกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรอ่ื งที่ฟังและดู
ท ๓.๑ ป.๔/๒ พดู สรุปความจากการฟงั และดู
ท ๓.๑ ป.๔/๓ พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรสู้ ึกเกย่ี วกบั เรื่องทฟ่ี ังและดู
ท ๓.๑ ป.๔/๔ ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตผุ ลจากเรอ่ื งทีฟ่ งั และดู
ท ๓.๑ ป.๔/๕ รายงานเรื่องหรอื ประเด็นทศี่ ึกษาค้นควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา
ท ๓.๑ ป.๔/๖ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ
ท ๔.๑ ป.๔/๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่าง ๆ
ท ๔.๑ ป.๔/๒ ระบุชนดิ และหน้าทข่ี องคำในประโยค
ท ๔.๑ ป.๔/๓ ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมายของคำ
ท ๔.๑ ป.๔/๔ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ท ๔.๑ ป.๔/๕ แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ
ท ๔.๑ ป.๔/๖ บอกความหมายของสำนวน
ท ๔.๑ ป.๔/๗ เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิ่นได้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นำมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ
ท ๕.๑ ป.๔/๑ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบา้ นหรือนิทานคตธิ รรม



ท ๕.๑ ป.๔/๒ อธิบายขอ้ คิดจากการอา่ นเพอื่ นำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ
ท ๕.๑ ป.๔/๓ ร้องเพลงพ้ืนบ้าน
ท ๕.๑ ป.๔/๔ ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ

๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ ความรู้ (K)
๑. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายหลกั การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วไดถ้ ูกต้อง (K)
๒. นักเรยี นสามารถอธิบายหลักการอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (K)
๓. นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของคำจากเรื่องทีอ่ า่ นได้ถูกตอ้ ง (K)
๔. นกั เรียนสามารถอธิบายความหมายของประโยคจากเรอื่ งทอี่ ่านได้ถูกตอ้ ง (K)
๕. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของสำนวนจากเร่อื งทอี่ ่านไดถ้ ูกต้อง (K)
๖. นักเรียนสามารถบอกหลักการอ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้อย่าง
ถูกตอ้ ง (K)
๗. นักเรียนสามารถพิจารณาการอ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้อย่าง
เหมาะสม (K)
๘. นักเรียนสามารถบอกความหมายของการแยกขอ้ เท็จจริงและข้อคดิ เห็นจากเรื่องท่อี า่ นได้ถกู ต้อง (K)
๙. นกั เรียนสามารถเปรียบเทยี บการแยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรื่องที่อ่านไดถ้ ูกต้อง (K)
๑๐. นกั เรียนสามารถอธบิ ายหลกั การคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่อื งท่ีอ่านโดยระบุเหตผุ ลประกอบไดถ้ ูกตอ้ ง (K)
๑๑. นักเรียนสามารถสรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากเรอื่ งทอี่ ่านเพอ่ื นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ (K)
๑๒. นกั เรียนสามารถบอกหลกั การเลอื กอา่ นหนงั สอื ท่มี คี ุณค่าตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอได้ถกู ต้อง (K)
๑๓. นกั เรียนสามารถบอกหลกั การแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับเรือ่ งที่อ่านได้ถกู ต้อง (K)
๑๔. นกั เรียนสามารถบอกมารยาทในการอา่ นได้ (K)
๑๕. นกั เรยี นสามารถบอกหลกั การคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด และครง่ึ บรรทัดได้ (K)
๑๖. นกั เรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนสือ่ สารโดยใชค้ ำไดถ้ ูกต้องชัดเจน และเหมาะสม (K)
๑๗. นักเรยี นบอกหลักการเขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ เพ่ือใชพ้ ัฒนางานเขียนได้อย่างถกู ต้อง (K)
๑๘. นักเรยี นสามารถบอกหลักการเขียนย่อความจากเร่ืองส้ัน ๆ ไดถ้ ูกต้อง (K)
๑๙. นกั เรียนสามารถอธบิ ายหลกั การเขียนจดหมายถงึ เพ่ือน และบดิ ามารดา (K)
๒๐. นักเรียนสามารถบอกหลักการเขยี นบนั ทกึ และเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าได้ถูกตอ้ ง (K)
๒๑. นกั เรียนสามารถสรปุ การเขียนบนั ทกึ และเขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ คว้าได้ถูกต้อง (K)
๒๒. นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบของการเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการได้ถูกต้อง (K)
๒๓. นกั เรยี นสามารถอธิบายหลักการเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการได้ถูกต้อง (K)
๒๔. นกั เรียนสามารถบอกมารยาทในการเขยี นไดอ้ ย่างถกู ต้อง (K)
๒๕. นกั เรยี นสามารถบอกหลักการจำแนกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ จากเร่ืองท่ฟี งั และดไู ด้ถกู ต้อง (K)



๒๖. นกั เรยี นสามารถอธิบายหลักการพูดสรปุ ความจากการฟังและดูได้ถูกตอ้ ง (K)
๒๗. นักเรียนสามารถบอกหลักการพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดูได้
ถกู ตอ้ ง (K)
๒๘. นักเรียนสามารถบอกหลกั การตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ลจากเรอ่ื งทฟ่ี ังและดูได้ถูกต้อง (K)
๒๙. นกั เรียนสามารถบอกหลักการรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ไดถ้ กู ต้อง (K)
๓๐. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนาได้
อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม (K)
๓๑. นักเรยี นสามารถบอกมารยาทในการฟงั การดู และการพูดในการไดถ้ กู ตอ้ ง (K)
๓๒. นักเรียนสามารถบอกหลักการสะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทตา่ ง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง (K)
๓๓. นกั เรียนสามารถระบุชนิดของคำในประโยคได้อย่างถกู ต้อง (K)
๓๔. นกั เรียนสามารถระบหุ น้าทขี่ องคำในประโยคไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (K)
๓๕. นักเรยี นสามารถอธิบายวธิ ีการใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคำได้ถกู ต้อง (K)
๓๖. นกั เรียนสามารถบอกองคป์ ระกอบของการแตง่ ประโยคได้ถูกต้องตามหลกั ภาษา (K)
๓๗. นักเรยี นสามารถอธิบายหลกั การแต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลกั ภาษา (K)
๓๘. นักเรยี นสามารถบอกหลักการแต่งบทร้อยกรองและคำขวญั ได้ถูกต้อง (K)
๓๙. นกั เรียนสามารถบอกความหมายของสำนวนได้อย่างถกู ต้อง (K)
๔๐. นักเรียนสามารถยกตัวอยา่ งการบอกความหมายของสำนวนไดอ้ ย่างถูกต้อง (K)
๔๑. นักเรยี นสามารถเปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่นิ ได้ถกู ต้อง (K)
๔๒. นักเรยี นสามารถระบขุ ้อคิดจากนทิ านพนื้ บ้านหรอื นิทานคตธิ รรมได้ถูกต้อง (K)
๔๓. นักเรียนสามารถอธบิ ายข้อคดิ จากการอา่ นเพ่ือนำไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้ถูกต้อง (K)
๔๔. นักเรียนสามารถบอกความหมายของการร้องเพลงพน้ื บา้ นไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (K)
๔๕. นักเรียนสามารถบอกหลกั การท่องจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนดไดถ้ กู ต้อง (K)
๔๖. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายหลักการท่องจำบทร้อยกรองท่มี ีคณุ ค่าตามความสนใจ (K)
๒.๒ ทกั ษะ (P)
๑. นกั เรยี นสามารถอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ไดถ้ ูกต้องและเหมาะสมกบั เรื่องที่อ่าน (P)
๒. นกั เรยี นสามารถอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ต้องและเหมาะสมกับเรอ่ื งทอี่ ่าน (P)
๓. นกั เรียนสามารถตรวจสอบการอธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวนจากเรื่องทอี่ ่านไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
๔. นกั เรียนสามารถอ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนดไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและรวดเรว็ (P)
๕. นกั เรียนสามารถตอบคำถามจากเรอ่ื งที่อ่านได้ถูกต้องและเหมาะสม (P)



๖. นักเรยี นสามารถแยกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองทีอ่ ่านไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
๗. นักเรยี นสามารถคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่ืองท่ีอา่ นโดยระบเุ หตผุ ลประกอบไดถ้ กู ต้อง (P)
๘. นักเรยี นสามารถเสนอการสรปุ ความรแู้ ละข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่านเพ่ือนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ (P)
๙. นักเรียนสามารถอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ี
อา่ นไดอ้ ย่างเหมาะสม (P)
๑๐. นกั เรยี นสามารถแสดงพฤตกิ รรมมีมารยาทในการอ่านได้อย่างเหมาะสม (P)
๑๑. นกั เรยี นสามารถคัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และคร่งึ บรรทัดได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และสวยงาม (P)
๑๒. นักเรยี นสามารถเขียนส่ือสารโดยใช้คำไดถ้ ูกต้องชัดเจน และเหมาะสม (P)
๑๓. นักเรียนสามารถประยุกต์การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียนได้
เหมาะสม (P)
๑๔. นักเรียนสามารถเขียนแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียนไดอ้ ย่างถูกต้อง (P)
๑๕. นักเรียนสามารถเขียนยอ่ ความจากเรอ่ื งสั้น ๆ ไดถ้ กู ต้องและเหมาะสม (P)
๑๖. นักเรียนสามารถเขียนจดหมายถึงเพื่อน และบิดามารดา ไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม (P)
๑๗. นักเรยี นเขียนบันทกึ และเขยี นรายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ ไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
๑๘. นกั เรยี นสามารถเขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม (P)
๑๙. นกั เรียนสามารถแสดงพฤติกรรมมีมารยาทในการเขยี นไดอ้ ย่างเหมาะสม (P)
๒๐. นกั เรียนสามารถจำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่อื งทฟ่ี ังและดไู ด้อยา่ งถูกตอ้ ง (P)
๒๑. นักเรียนสามารถพูดสรุปความจากการฟังและดู ไดถ้ ูกตอ้ ง และเหมาะสม (P)
๒๒. นกั เรยี นสามารถพดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรสู้ กึ เกีย่ วกับเรอื่ งทฟี่ ังและดไู ด้อยา่ งเหมาะสม (P)
๒๓. นักเรยี นสามารถตัง้ คำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ลจากเรือ่ งท่ฟี งั และดไู ดถ้ กู ต้องเหมาะสม (P)
๒๔. นักเรียนสามารถนำเสนอรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศกึ ษาคน้ คว้าจากการฟัง การดู และการสนทนาของ
ตนเองไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
๒๕. นักเรยี นสามารถแสดงพฤตกิ รรมทม่ี ีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู ไดอ้ ย่างเหมาะสม (P)
๒๖. นักเรียนสามารถสะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทตา่ ง ๆ ได้ถูกตอ้ ง (P)
๒๗. นักเรยี นสามารถเสนอการระบุชนดิ และหน้าที่ของคำในประโยคได้ถกู ต้องและเหมาะสม (P)
๒๘. นักเรียนสามารถใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมายของคำไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกต้อง (P)
๒๙. นักเรียนสามารถแต่งประโยคไดถ้ กู ต้องตามหลกั ภาษา (P)
๓๐. นักเรยี นสามารถแตง่ บทร้อยกรองและคำขวัญได้ถกู ต้องและเหมาะสม (P)
๓๑. นักเรียนสามารถนำเสนอการบอกความหมายของสำนวนไดถ้ ูกต้อง (P)
๓๒. นกั เรียนสามารถอภปิ รายการเปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ินได้ถูกตอ้ ง (P)



๓๓. นกั เรียนสามารถนำการระบขุ ้อคดิ จากนิทานพนื้ บ้านหรือนทิ านคตธิ รรมไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ (P)
๓๔. นักเรียนสามารถประยกุ ตก์ ารอธบิ ายข้อคิดจากการอ่านเพอ่ื นำไปใช้ในชีวิตจรงิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม (P)
๓๕. นกั เรยี นสามารถรอ้ งเพลงพ้นื บ้านได้ถูกตอ้ งและไพเราะ (P)
๓๖. นักเรียนสามารถท่องจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนดได้อย่างถูกตอ้ ง (P)
๓๗. นกั เรยี นสามารถท่องจำบทร้อยกรองท่มี คี ณุ ค่าตามความสนใจได้ถูกต้อง (P)
๒.๓ ทัศนคติ (A)
๑. นกั เรียนตระหนักถึงความสำคญั ของการอา่ นบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม (A)
๒. นกั เรยี นเห็นความสำคัญของการอธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเร่ืองท่อี ่านได้ถกู ตอ้ ง (A)
๓. นกั เรยี นเห็นประโยชน์ของการแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรอื่ งทอ่ี ่านอยา่ งเหมาะสม (A)
๔. นักเรยี นเห็นประโยชน์ของการสรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเรื่องทอี่ ่านเพ่ือนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน (A)
๕. นักเรียนมีความชื่นชอบในการอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น
เก่ียวกบั เร่อื งที่อา่ นอยา่ งเหมาะสม (A)
๖. นกั เรียนเหน็ คณุ คา่ ของมารยาทในการอ่าน (A)
๗. นักเรียนมคี วามพงึ พอใจในการคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครง่ึ บรรทัดของตนเอง (A)
๘. นกั เรียนเหน็ ประโยชน์ของการเขยี นสือ่ สารโดยใชค้ ำได้ถกู ต้องชดั เจน และเหมาะสม (A)
๙. นักเรียนเห็นประโยชน์ของการเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียนของ
ตนเอง (A)
๑๐. นกั เรยี นมคี วามภูมิใจในการเขยี นจดหมายถึงเพ่อื น และบดิ ามารดาของตนเอง (A)
๑๑. นกั เรียนเห็นประโยชน์ของการเขยี นบนั ทกึ และเขยี นรายงานจากการศึกษาค้นควา้ ท่ถี ูกตอ้ ง (A)
๑๒. นักเรียนมีความชนื่ ชอบการเขยี นเรื่องตามจินตนาการของตนเอง (A)
๑๓. นกั เรียนเหน็ คณุ คา่ ของมารยาทในการเขยี น (A)
๑๔. นกั เรียนยอมรบั การจำแนกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรอื่ งที่ฟังและดขู องเพ่ือนร่วมช้ันเรยี น(A)
๑๕. นกั เรียนมคี วามพึงพอใจในการพูดสรปุ ความจากการฟงั และดูของตนเอง (A)
๑๖. นกั เรยี นมคี วามภูมิในในการพดู แสดงความรู้ ความคดิ เห็นและความรสู้ กึ เก่ียวกบั เรื่องที่ฟงั และดขู องตนเอง (A)
๑๗. นกั เรยี นมมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด (A)
๑๘. นกั เรยี นเห็นความสำคญั ของการสะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทตา่ ง ๆ ทีถ่ กู ตอ้ ง (A)
๑๙. นักเรียนเห็นประโยชนข์ องการใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคำ (A)
๒๐. นักเรียนเห็นความสำคัญของการแตง่ ประโยคทีถ่ ูกต้องตามหลักภาษา (A)
๒๑. นักเรียนเห็นคณุ คา่ ของการแต่งบทร้อยกรองและคำขวญั ที่ถูกต้องและเหมาะสม (A)



๒๒. นักเรียนสามารถยอมรับการเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นในการทำกิจกรรมกลุ่มได้อย่าง
เหมาะสม (A)

๒๓. นกั เรียนเห็นคุณคา่ ของการระบุขอ้ คดิ จากนิทานพืน้ บา้ นหรอื นิทานคติธรรม (A)
๒๔. นกั เรียนเห็นความสำคญั ของการอธิบายขอ้ คิดจากการอา่ นเพื่อนำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ (A)
๒๕. นักเรยี นเห็นคณุ คา่ ของการร้องเพลงพ้ืนบ้านทีถ่ ูกต้องและไพเราะ (A)
๒๖. นกั เรยี นเห็นคุณคา่ ของการทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณคา่ ตามความสนใจ (A)

๓. สาระสำคัญ

การฟัง ดู พูด อ่าน และเขียนในรายวิชาภาษาไทย เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนทุกคนสามารถนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันและเป็นความรู้หลกั พืน้ ฐานที่จะสามารถนำไปต่อยอดในการเรียนรู้วิชาอื่น ๆ และเรียนรู้สิง่ ใหม่
ได้ นกั เรียนจึงต้องเรียนรทู้ างดา้ นหลักภาษาไทยท่จี ะชว่ ยเพิ่มพนู ความรู้ท้งั ด้านการฟัง ดู และพดู ส่ือสารอย่างมี
วิจารณญาณ สามารถแสดงความคิดเห็นและเลือกสื่อท่ีมคี วามเหมาะสมกับตนเอง เพ่อื เป็นประโยชนใ์ นการคิด
วิเคราะห์และแยกแยะสื่อสังคมในปัจจุบันที่มีผลต่อการดำรงชีวิต การอ่านและการเขียนที่มีความถูกต้องตาม
หลกั แบบแผนทางภาษาไทยทำให้นกั เรียนสามารถถ่ายทอดความรู้ ความคิด ประสบการณ์มาบันทึกข้อมูลเป็น
ตัวอักษรไทยที่มีความถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้การศึกษาวรรณคดีไทย นิทาน/ตำนานพื้นบ้าน และเพลง
พื้นบ้านไทยที่มีคุณค่าสามารถเป็นข้อคิดท่ีมีความรู้มากมายให้แก่นักเรียน อีกทั้งยังสามารถจรรโลงใจ และ
ปลูกฝังความคิดที่ดีงามผ่านวรรณกรรมและเพลงพื้นบ้านไทยเหล่านี้ เพื่อเรียนรู้เหตุการณ์และสังคมในสมัย
โบราณผ่านวรรณกรรมนำไปสู่การสืบสานการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รวมไปถึงการอนุรักษ์ประเพณีและ
วัฒนธรรมทปี่ รากฏผา่ นวรรณกรรมไทยอนั ดีงามอีกด้วย

๔. สาระการเรยี นรู้
๑. การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว
๑.๑ หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
๑.๒ การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วจากเร่อื ง ขนมไทยไรเ้ ทียมทาน
๒. การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๒.๑ หลกั การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรองทำนองเสนาะ
๒.๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองทำนองเสนาะจากวรรณคดีเรื่อง กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ตอนเห่
ชมเคร่ืองหวาน
๓. คำ
๓.๑ ความหมายของคำ
๓.๒ คำทม่ี ี ร ล เป็นพยญั ชนะต้นและคำท่ีมพี ยญั ชนะควบกล้ำ
๓.๓ คำท่มี อี กั ษรนำ และคำประสม



๓.๔ อกั ษรย่อ และเครื่องหมายวรรคตอน
๔. ประโยค
๔.๑ ความหมายของประโยค
๔.๒ ประเภทของประโยค
๕. สำนวน
๕.๑ ความหมายของสำนวน
๕.๒ ตวั อยา่ งสำนวน คำพงั เพย สุภาษติ ปริศนาคำทาย และเครือ่ งหมายวรรคตอน
๖. หลกั การอ่านเรื่องสน้ั
๗. การพิจารณาการอา่ นเรอื่ งส้ัน
๘. การตอบคำถามจากการอา่ น
๙. ความหมายของข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเห็น
๑๐. การเปรยี บเทียบข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็น
๑๑. การแยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ จากการอ่านเร่ืองเลา่ จากประสบการณ์
๑๒. หลักการคาดคะเนเหตกุ ารณ์โดยระบุเหตผุ ลประกอบ
๑๓. การคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากการอา่ นขา่ วและเหตุกาณป์ ระจำวัน
๑๔. การสรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากการอา่ นเรื่องสนั้
๑๕. การเสนอความรแู้ ละข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่านเพ่ือนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
๑๖. หลักการเลอื กอ่านหนังสอื ท่ีมคี ณุ ค่า
๑๗. หลักการแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั การอ่าน
๑๘. การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ
๑๘.๑ หนงั สอื ที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั
๑๘.๒ หนังสอื ท่คี รูและนักเรียนกำหนดร่วมกนั
๑๙. มารยาทในการอ่าน
๒๐. หลกั การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครึง่ บรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย
๒๑. หลกั การเขยี นสอ่ื สาร
๒๒. การเขียนสอ่ื สาร

๒๒.๑ คำขวญั
๒๒.๒ คำแนะนำ
๒๓. หลกั การเขียนแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคดิ
๒๔. การประยุกต์เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพความคดิ เพ่ือใช้พัฒนางานเขยี น



๒๕. หลกั การเขยี นย่อความจากเร่อื งสั้น ๆ
๒๖. การเขยี นย่อความจากเรอ่ื งสน้ั ๆ
๒๗. หลกั การเขียนจดหมายถึงเพือ่ น และบดิ ามารดา
๒๘. หลักการเขยี นบันทกึ และเขยี นรายงาน
๒๙. การสรปุ แบบเขียนบันทึกและเขยี นรายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า
๓๐. สว่ นประกอบของการเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ
๓๑. หลักการเขียนเร่อื งตามจินตนาการ
๓๒. มารยาทในการเขียน
๓๓. หลกั การจำแนกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเร่ืองท่ีฟังและดใู นชีวติ ประจำวัน
๓๔. หลักการพดู สรปุ ความจากการฟงั และดู
๓๕. การพดู สรุปความจากการฟังและดสู ่อื ต่าง ๆ

๓๕.๑ เรือ่ งเลา่
๓๕.๒ ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน
๓๕.๓ โฆษณาและส่อื อิเล็กทรอนิกส์
๓๖. หลกั การพูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรู้สกึ
๓๗. การพูดแสดงความรู้ ความคดิ เหน็ และความรู้สกึ เกยี่ วกับสือ่ ต่าง ๆ จากเร่ือง สารพิษในชวี ิตประจำวนั
๓๘. หลักการตั้งคำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผล
๓๙. การต้งั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ลจากวรรณคดีเรือ่ ง สภุ าษิตพระรว่ ง
๔๐. หลักการรายงานเร่อื งและประเดน็ ที่ศึกษาค้นคว้า
๔๑. การวเิ คราะหร์ ายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ทีศ่ ึกษาค้นควา้
๔๒. การพูดรายงาน
๔๒.๑ การพดู ลำดับขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน
๔๒.๒ การพูดลำดับเหตกุ ารณ์
๔๓. มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
๔๔. หลักการสะกดคำ
๔๔.๑ คำในแม่ ก กา
๔๔.๒ มาตราตวั สะกด
๔๔.๓ การผนั อกั ษร
๔๔.๔ คำเป็นคำตาย
๔๔.๕ คำพอ้ ง

๑๐

๔๕. การบอกความหมายของคำ
๔๖. ชนิดของคำ
๔๖.๑ คำนาม
๔๖.๒ คำสรรพนาม
๔๖.๓ คำกริยา
๔๖.๔ คำวิเศษณ์
๔๗. ประเภทหนา้ ทขี่ องคำ
๔๗.๑ คำนาม
๔๗.๒ คำสรรพนาม
๔๗.๓ คำกริยา
๔๗.๔ คำวิเศษณ์
๔๘. หลกั การใชพ้ จนานุกรมไทย
๔๙. องค์ประกอบของประโยค
๕๐. หลักการแตง่ ประโยค

๕๐.๑ การแต่งประโยคสามัญ
- ประโยค ๒ สว่ น
- ประโยค ๓ สว่ น

๕๑. หลักการแตง่ บทร้อยกรองและคำขวญั
๕๒. การแต่งกลอนส่ี
๕๓. การแตง่ คำขวญั
๕๔. ความหมายของสำนวนท่ีเปน็ คำพงั เพยและสภุ าษิต
๕๕. ตวั อยา่ งของสำนวนทเ่ี ป็นคำพังเพยและสุภาษติ
๕๖. ภาษาไทยมาตรฐาน
๕๗. ภาษาถ่ิน
๕๘. การเปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่ิน
๕๙. การศึกษาข้อคิดจากนิทานพ้ืนบ้านหรือนิทานคตธิ รรมเร่อื ง นำ้ ผึ้งหยดเดียว
๖๐. การนำข้อคิดจากนิทานพนื้ บา้ นหรอื นิทานคติธรรมไปใช้ในชีวิตประจำวนั
๖๑. การศกึ ษาข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนำไปใช้ในชวี ติ จริงจากวรรณคดเี รื่อง นิราศเดือน
๖๒. การประยุกต์ข้อคดิ จากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชวี ติ จริง
๖๓. ความหมายของเพลงพื้นบา้ น

๑๑

๖๔. การร้องเพลงพน้ื บา้ น
๖๕. หลกั การทอ่ งจำบทอาขยาน

๖๕.๑ บทอาขยานตามที่กำหนด
๖๖. หลกั การท่องจำบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคณุ ค่า

๖๖.๑ บทรอ้ ยกรองจากวรรณคดเี รอื่ งพระอภัยมณี

๕. คำอธิบายรายวิชา
การศึกษาและฝึกปฏิบัติเก่ียวกบั การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทรอ้ ยกรอง พรอ้ มอธบิ ายความหมาย

ของคำ ประโยค และสำนวน อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนด ตอบคำถาม แยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องทอี่ ่าน คัดลายมอื ตวั บรรจง เขียนส่ือสารดว้ ยแผนภาพโครง
เรื่อง และแผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมาย เขียนบันทึก และเขียนรายงาน เขียนเรื่องตาม
จินตนาการ จำแนกขอ้ เท็จจริง และขอ้ คดิ เห็น พูดสรุปความ พดู แสดงความรู้ ความคดิ เหน็ ตั้งคำถามและตอบ
คำถาม พูดรายงานเรื่องที่ศึกษาจากการฟัง และดูอย่างมีมารยาท สะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุ
ชนิด หน้าที่ของคำในประโยค แต่งประโยค บทร้อยกรองและคำขวัญ บอกความหมายของสำนวน การใช้
พจนานุกรม เปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาถิ่น ร้องเพลงพื้นบ้าน ท่องจำบทอาขยาน และบทร้อยกรองที่มี
คุณคา่ ตามความสนใจ

ศึกษาและวิเคราะห์วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองจากวรรณคดีได้แก่เรื่อง การผจญภัยของสุดสาคร
น้ำผึ้งหยดเดียว ระบำสายฟ้า เรื่องเล่าจากพัทลุง ดวงจันทร์ของลำเจียก ห้องสมุดป่า และเที่ยวเมืองพระร่วง
เพื่อระบแุ ละอธิบายขอ้ คดิ ท่ไี ด้จากการอา่ นไปปรับใช้ในชวี ิตจริง โดยใช้การฝึกทักษะกระบวนการทางภาษา ท้ัง
ในด้านการฟงั การพูด การอา่ น และการเขียน กระบวนการคิด กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการกลุ่ม

เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ค้นคว้าหา
ความรู้ จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ ซักถามและสืบค้นเพื่อหาข้อมูล มีความรอบคอบในการ
ทำงาน ใช้ภาษาไทยไดอ้ ย่างถูกต้อง เหมาะสม มีมารยาทในการพูด การอา่ น การเขยี น และการฟัง นำความรทู้ ่ี
ได้จากการศกึ ษาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ

รหัสตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔
รวม ๓๓ ตัวชี้วดั

๑๒

ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า

รายวิชาพ้ืนฐาน รหสั วิชา ท ๑๔๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
หนว่ ยท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง / ๔ หน่วยกิต

๑ ขนมไทยไร้เทียมทาน มาตรฐาน เวลา

การเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั (ชวั่ โมง)



๑.๑ หลกั การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ๑

๑.๒ การอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ จากเรื่องขนมไทยไร้เทยี มทาน ท ๑.๑ ป.๔ /๑ ๒
ท ๑.๑ ป.๔ /๘ ๑
๑.๓ หลักการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองทำนองเสนาะ ๒
๑.๔ การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองทำนองเสนาะจากวรรณคดีเรอ่ื งกาพยเ์ ห่ชมเคร่อื ง

คาวหวานตอนเหช่ มเครื่องหวาน ๖
๑.๕ มารยาทในการอา่ น
๒ ออมไวก้ ำไรชวี ิต

๒.๑ การสรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากการอ่านเร่อื งสัน้ ท ๑.๑ ป.๔ /๖ ๒
๒.๒ การเสนอความรู้และข้อคิดเห็นจากเรอ่ื งท่อี า่ นเพ่อื นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ท ๔.๑ ป.๔ /๖ ๒
๒.๓ ความหมายและตวั อยา่ งของสำนวนทเี่ ป็นคำพังเพยและสุภาษติ ท ๕.๑ ป.๔ /๔

๒.๔ ตวั อยา่ งสำนวนท่ีเป็นคำพังเพยและสภุ าษติ ท๔.๑ ป.๔/๑

๓ การผจญภัยของสดุ สาคร ๗
๓.๑ หลักการทอ่ งจำบทอาขยาน ๓

-บทอาขยานตามทกี่ ำหนด ๔
๓.๒ หลักการทอ่ งจำบทรอ้ ยกรองท่ีมีคุณคา่
๑๒
-บทรอ้ ยกรองจากวรรณคดเี ร่อื งพระอภัยมณี ๒
๔ ผักสมนุ ไพรใบหญา้ มคี ณุ คา่ ท้ังน้ัน ๒
๔.๑ คำในแม่ กกา ๒
๔.๒ มาตราตวั สะกด ๒
๔.๓ การผนั อักษร ๒
๔.๔ คำเปน็ คำตาย ๒
๔.๕ คำพอ้ ง
๔.๖ การบอกความหมายของคำ

๑๓

หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา
การเรียนร้/ู ตวั ชว้ี ดั (ชั่วโมง)
๕ ภมู ใิ จมรดกโลก
๕.๑ ความหมายของคำ ท ๑.๑ ป.๔ /๒ ๑๔
๕.๒ คำทม่ี ี รลเปน็ พยญั ชนะตน้ และคำทม่ี ีพยญั ชนะควบกล้ำ
๕.๓ คำทม่ี ีอักษรนำและคำประสม ท ๔.๑ ป.๔ /๓ ๑
๕.๔ อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน ท ๕.๑ ป.๔ /๑ ๒
๕.๕ ความหมายของประโยค ๒
๕.๖ ประเภทของประโยค ท ๔.๑ ป.๔ /๒ ๒
๕.๗ ความหมายของสำนวน ๑
๕.๘ ตัวอย่างสำนวนคำพังเพยสภุ าษติ ปรศิ นาคำทายและเครือ่ งหมายวรรคตอน ท ๑.๑ ป.๔ /๔ ๒
๕.๙ หลักการใช้พจนานุกรมไทย ๑
๖ นำ้ ผึ้งหยดเดยี ว ๒
๖.๑ การศกึ ษาขอ้ คดิ จากนิทานพ้นื บ้านหรือนทิ านคตธิ รรมเร่ืองนำ้ ผง้ึ หยดเดยี ว ๑
๖.๒ การนำขอ้ คิดจากนทิ านพ้นื บา้ นหรือนิทานคตธิ รรมไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ๔

๗ ชวี ติ ที่ถกู เมิน ๒

๗.๑ คำนาม
๗.๒ คำสรรพนาม ๑๒
๗.๓ คำกรยิ า
๗.๔ คำวิเศษณ์ ๑
๗.๕ ประเภทหน้าที่ของคำนาม ๑
๗.๖ ประเภทหนา้ ท่ขี องสรรพนาม ๑
๗.๗ ประเภทหนา้ ท่ีของคำกริยา ๑
๗.๘ ประเภทหนา้ ที่ของคำวิเศษณ์ ๒
๘ โอม ! พนิ ิจมหาพจิ ารณา ๒

๘.๑ ความหมายของข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เหน็ ๒
๘.๒ การเปรียบเทียบข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เห็น ๖
๘.๓ การแยกขอ้ เทจ็ จริงและข้อคิดเห็นจากการอา่ นเร่ืองเลา่ จากประสบการณ์




๑๔

หน่วยที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา
การเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั (ชว่ั โมง)
๙ ระบำสายฟา้
ท ๑.๑ ป.๔ /๓ ๘
๙.๑ หลกั การอา่ นเรื่องสน้ั ๒
๙.๒ การพจิ ารณาการอ่านเรื่องสั้น ท ๑.๑ ป.๔ /๕ ๓
ท ๒.๑ ป.๔ /๑ ๓
๙.๓ การตอบคำถามจากการอา่ น ๕
๑๐ แรงพโิ รธจากฟ้าดิน ท ๒.๑ ป.๔ /๗
ท ๒.๑ ป.๔ /๘ ๑
๑๐.๑ หลกั การคาดคะเนเหตุการณโ์ ดยระบเุ หตุผลประกอบ ๑
๑๐.๒ การคาดคะเนเหตุการณ์จากการอ่านขา่ วและเหตกุ าณป์ ระจำวัน ท ๒.๑ ป.๔ /๒ ๓
๑๐.๓ หลักการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว

อักษรไทย
๑๑ ไวรสั วายรา้ ย ๑

๑๑.๑ ส่วนประกอบของการเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ ๑
๑๑.๒ หลกั การเขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ ๖
๑๑.๓ มารยาทในการเขียน
๑๒ เรือ่ งเล่าจากพัทลุง ๒

๑๒.๑ หลักการเขยี นสอ่ื สาร ๒
๑๒.๒ คำขวญั ๑

๑๒.๓ คำแนะนำ สอบปลายภาค ภาคเรยี นที่ ๑
๑๓ สนุกสนานกบั การเลน่

๑๓.๑ หลักการเขยี นจดหมายถงึ เพือ่ นและบดิ ามารดา ท ๒.๑ ป.๔ /๕ ๒
๑๓.๒ องคป์ ระกอบของประโยค ท ๔.๑ ป.๔ /๔ ๒
๑๓.๓ การแต่งประโยคสามัญ ๓

-ประโยค๒ สว่ น ท ๑.๑ ป.๔ /๗ ๘
-ประโยค๓ สว่ น ๑
๑๔ หนูเอยจะบอกให้ ๓

๑๔.๑ หลกั การเลือกอา่ นหนังสอื ทีม่ ีคุณค่า

๑๔.๒ หลักการแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั การอา่ น

๑๕

หน่วยที่ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา
การเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั (ชว่ั โมง)
๑๔.๓ การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ
-หนงั สอื ที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั ท ๕.๑ ป.๔ /๒ ๔
-หนงั สือทีค่ รูและนักเรยี นกำหนดรว่ มกนั
ท ๓.๑ ป.๔ /๒ ๔
๑๕ ดวงจนั ทรข์ องลำเจยี ก ๒
ท ๓.๑ ป.๔ /๖ ๒
๑๕.๑ การศึกษาข้อคิดจากการอา่ นเพอื่ นำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ จากวรรณคดีเรื่องนริ าศเดอื น ท ๓.๑ ป.๔ /๑ ๗
๑๕.๒ การประยุกต์ข้อคดิ จากการอ่านเพือ่ นำไปใชใ้ นชวี ิตจริง ท ๓.๑ ป.๔ /๓ ๒

๑๖ คนดศี รโี รงเรยี น ท ๒.๑ ป.๔ /๔
ท ๕.๑ ป.๔ /๓ ๑
๑๖.๑ หลักการพดู สรุปความจากการฟงั และดู ท ๒.๑ ป.๔ /๓ ๗

๑๖.๒ การพดู สรปุ ความจากการฟังและดูสื่อต่างๆ ๒
- เรื่องเลา่ ๓
- ข่าวและเหตุการณ์ประจำวนั
-โฆษณาและสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ ๖

๑๖.๓ มารยาทในการฟังการดู และการพูด ๒

๑๗ สารพษิ ในชวี ติ ประจำวัน ๒
๑๗.๑ หลักการจำแนกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คดิ เห็นจากเรือ่ งทฟ่ี งั และดูในชีวิตประจำวัน ๔
๑๗.๒ หลักการพูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรู้สกึ ๒
๑๗.๓ การพูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรสู้ กึ เก่ียวกบั ส่อื ต่างๆจากเร่ือง ๒

สารพิษในชวี ติ ประจำวนั
๑๘ หอ้ งสมดุ ป่า
๑๘.๑ หลกั การเขยี นยอ่ ความจากเร่อื งส้นั ๆ
๑๘.๒ การเขียนย่อความจากเรื่องสน้ั ๆ
๑๘.๓ ความหมายของเพลงพ้ืนบา้ น

๑๘.๔ การรอ้ งเพลงพ้นื บ้าน
๑๙ อยา่ งนี้ดคี วรทำ
๑๙.๑ หลักการเขียนแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพความคดิ
๑๙.๒ การประยกุ ต์เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพอ่ื ใชพ้ ฒั นางานเขยี น

๑๖

หน่วยที่ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา
การเรียนรู/้ ตวั ช้วี ดั (ชัว่ โมง)
๒๐ กระดาษนี้มีท่ีมา
๒๐.๑ หลักการเขยี นบนั ทกึ และเขยี นรายงาน ท ๒.๑ ป.๔ /๖ ๑๐
๒๐.๒ การสรปุ แบบเขยี นบนั ทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ ท ๓.๑ ป.๔ /๕ ๑
๒๐.๓ หลักการรายงานเร่ืองและประเดน็ ทศ่ี กึ ษาค้นคว้า ๒
ท ๓.๑ ป.๔ /๔ ๑
๒๐.๔ การวิเคราะห์รายงานเร่อื งหรือประเด็นท่ศี ึกษาค้นคว้า
ท ๔.๑ ป.๔ /๗ ๒
๒๐.๕ การพดู ลำดบั ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน
๒๐.๖ การพดู ลำดบั เหตุการณ์ ท ๔.๑ ป.๔ /๕ ๒
๓๓ ๒
๒๑ เทีย่ วเมืองพระร่วง

๒๑.๑ หลกั การต้ังคำถามและตอบคำถามเชงิ เหตผุ ล ๒
๒๑.๒ การตงั้ คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากวรรณคดีเรอื่ งสภุ าษติ พระรว่ ง ๒

๒๒ รักท่คี ุม้ ภยั ๑
๒๒.๑ ภาษาไทยมาตรฐาน

๒๒.๒ ภาษาถน่ิ ๒
๒๒.๓ การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิน่ ๖
๒๓ ธรรมชาตนิ ม้ี ีคุณ ๒

๒๓.๑ หลกั การแตง่ บทรอ้ ยกรองและคำขวัญ ๒
๒๓.๒ การแตง่ กลอนส่ี ๑
๑๖๐
๒๓.๓ การแตง่ คำขวัญ

สอบปลายภาค ภาคเรยี นท่ี ๒

รวม

๑๗

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายหนว่ ย

๑๘

แผนการเรียนรรู้ ายหน่วย
หน่วยที่ ๒ เร่อื งออมไวก้ าไรชีวิต

๑๙

แผนการจัดการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรือ่ งออมไวก้ ำไรชีวิต
เวลา ๖ ชั่วโมง

๑.มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชว้ี ดั

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพื่อนำไปตัดสินใจ แกป้ ัญหาในการดำเนนิ
ชวี ติ และมีนิสัยรักการอ่าน

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ

ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๔/๖ สรุปความรู้และข้อคดิ จากเร่อื งทอ่ี ่านเพ่ือนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน

ท ๔.๑ ป.๔/๖ บอกความหมายของสำนวน

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นักเรียนสามารถสรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเร่ืองทอ่ี า่ นเพือ่ นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ (K)
๒.๒ นักเรยี นสามารถบอกความหมายของสำนวนได้อยา่ งถูกตอ้ ง (K)
๒.๓ นกั เรียนสามารถยกตัวอยา่ งการบอกความหมายของสำนวนได้อยา่ งถูกต้อง (K)
๒.๔ นักเรียนสามารถเสนอการสรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดเห็นจากเรอื่ งที่อ่านเพอื่ นำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ (P)
๒.๕ นักเรียนสามารถนำเสนอการบอกความหมายของสำนวนได้ถูกต้อง (P)
๒.๖ นกั เรียนเหน็ ประโยชนข์ องการสรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรื่องท่ีอา่ นเพอื่ นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน (A)

๓. สาระสำคญั

หน่วยที่ ๒ เรื่องออมไว้กำไรชีวิตมีความรู้เกี่ยวกับการสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเรื่องสั้นซึ่งนักเรียน
สามารถนำข้อคิดมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้และสามารถนำเสนอผลงาน แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย และมีความรู้เกี่ยวกับสำนวนและสุภาษิตไทยซึ่งเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งที่
นักเรียนทุกคนจะสามารถรับรู้ความหมายของสำนวนต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในงานเขียนและมีประโยชน์ในการ
สอื่ สารในชวี ิตประจำวัน

๒๐

๔. สาระการเรียนรู้
หน่วยย่อยท่ี ๑ เร่ืองการสรุปความรู้และข้อคดิ จากการอา่ นเรอ่ื งสน้ั

๑.๑ การสรปุ ความรจู้ ากการอา่ นเร่ืองสน้ั
๑.๒ การสรุปข้อคดิ จากการอ่านเรือ่ งส้ัน
หนว่ ยย่อยที่ ๒ เร่ืองการเสนอความรแู้ ละขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองที่อ่านเพอื่ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
๒.๑ การเสนอความรู้จากเร่ืองที่อา่ นเพื่อนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
๒.๒ การเสนอขอ้ คดิ เห็นจากเร่อื งที่อ่านเพื่อนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั
หน่วยย่อยท่ี ๓ เร่อื ง ความหมายของสำนวนทเี่ ป็นคำพงั เพยและสุภาษิต
๓.๑ ความหมายของสำนวนท่ีเป็นคำพงั เพยและสภุ าษิต
หนว่ ยย่อยที่ ๔ เรอ่ื ง ตัวอยา่ งของสำนวนที่เปน็ คำพังเพยและสุภาษติ
๔.๑ ตัวอย่างของสำนวนท่เี ป็นคำพังเพยและสุภาษิต

๕. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแกป้ ญั หา
ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. ทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น)
ทกั ษะการอ่าน (Reading)
ทกั ษะการเขยี น (Writing)
ทกั ษะการคดิ คำนวณ (Arithmetic)
ทักษะดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and problem solving)
ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and innovation)
ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ (Collaboration , teamwork and leadership)
ทกั ษะด้านความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
ทักษะดา้ น การส่อื สาร สารสนเทศ และรู้เท่าทนั สือ่ (Communication information and media literacy)
ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing)
ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change)
ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change)

๒๑

ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills)
ภาวะผูน้ ำ (Leadership)

๗. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน(หลักฐาน/รอ่ งรอยแสดงความรู้)
๗.๑ ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง “ชวนนอ้ งหนสู รุปความรู้ดขู ้อคิด”
๗.๒ ใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง “เกมตามหาความหมายสำนวนสภุ าษติ คำพงั เพยไทย”
๗.๓ ใบงานที่ ๓ เรื่อง “ตัวอยา่ งสำนวนทเี่ ปน็ คำพงั เพยและสุภาษิต”
๗.๔ ใบความรู้เรอ่ื งการเสนอความร้แู ละข้อคดิ เหน็ จากนิทานพ้ืนบา้ น
๗.๕ แบบทดสอบเก็บคะแนน

๘. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน : แบบใช้สมองเป็นฐาน Brain Based Learning (BBL)
หนว่ ยย่อยที่ ๑ เร่ือง การสรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากการอ่านเร่อื งสัน้ (ชวั่ โมงท่ี ๑ – ๒)
ขั้นท่ี ๑ เตรียมความพรอ้ ม (Warm Up)
๑.๑ ครถู ามนักเรยี นเก่ยี วกับเรือ่ งสั้นหรอื หนงั สอื ทั่วไปท่นี กั เรยี นเคยอา่ นมาแล้ว
ขั้นท่ี ๒ นำเสนอข้อมูลความรู้ (Present)
๒.๑ ครูจัดการเรียนการสอนเรื่องการสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเรื่องสั้น โดยการเขียนแผนผัง

ความคดิ ใหน้ กั เรียนดูท่กี ระดาน
- การสรุปความรู้จากการเรื่องส้ัน
- การหาข้อคิดจากการอา่ นเรอื่ งส้นั

ขน้ั ท่ี ๓ ลงมือเรยี นรู้ ฝึกปฏบิ ัติ (Learn-Practice)
๓.๑ ครใู หน้ กั เรยี นทกุ คนร่วมกนั อ่านเรื่องออมไว้กำไรชวี ิตจากหนงั สือภาษาพาที
๓.๒ ครใู ห้นักเรียนทำใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง “ชวนนอ้ งหนูสรุปความร้ดู ขู ้อคดิ ” โดยมคี รคู อยให้คำปรกึ ษา
ขน้ั ที่ ๔ สรุปความรู้ (Summary)
๔.๑ ครถู ามนกั เรยี นเรือ่ งหลักการสรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากเรื่องสนั้ คนละ ๑ ขอ้ โดยครเู ป็นผ้ตู รวจสอบ
ความถกู ต้องใหน้ ักเรยี นทุกคนและครรู ว่ มพูดสรุปความรู้ควบค่ไู ปด้วย
ขนั้ ที่ ๕ ประยุกต์ใชค้ วามรู้ (Apply)
๕.๑ ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่องการสรปุ ความรู้และข้อคิดจากเรือ่ งสั้นนำไปใช้ในหน่วยย่อยที่ ๒ การ
เสนอความรู้และข้อคิดเห็นจากเร่อื งทอ่ี ่านเพ่ือนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

๒๒

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน : แบบใชส้ มองเปน็ ฐาน Brain Based Learning (BBL)
หน่วยย่อยที่ ๒ เรื่อง การเสนอความรู้และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(ชว่ั โมงที่ ๓ – ๔)
ขน้ั ท่ี ๑ เตรียมความพร้อม (Warm Up)

๑.๑ ครเู ปิดวดี ิโอนทิ านเรื่องการออมเงนิ ของหนดู ใี ห้นกั เรียนดู
๑.๒ ครถู ามความร้เู ดิมของนักเรยี นเร่ืองการสรุปความรูแ้ ละขอ้ คิดจากเรื่องส้ันเช่ือมโยงกับการดูวีดิโอ
ขั้นที่ ๒ นำเสนอขอ้ มลู ความรู้ (Present)
๒.๑ ครูจัดการเรียนการสอนเรื่องการเสนอความรู้และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั

- การเสนอความรู้จากเรื่องทอ่ี า่ นเพอื่ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- การเสนอขอ้ คิดเห็นจากเรอ่ื งที่อา่ นเพื่อนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
ขัน้ ท่ี ๓ ลงมอื เรยี นรู้ ฝกึ ปฏิบตั ิ (Learn-Practice)
๓.๑ ครูใหน้ ักเรียนจบั กลมุ่ ๓ คนและร่วมกันอา่ นใบความรู้ท่คี รูแจกให้กลุม่ ละ ๑ แผน่
๓.๒ ครูให้นักเรียนร่วมกันเสนอความรู้และข้อคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์จากใบความรู้เรื่องเสนอความรู้
และข้อคดิ เหน็ อย่างสรา้ งสรรค์จากนทิ านพ้นื บ้านภาคใตเ้ รอื่ งปลาแก้มชำ้ โดยมคี รูคอยให้คำปรกึ ษา
ข้นั ที่ ๔ สรปุ ความรู้ (Summary)
๔.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดนำเสนอความรู้และข้อคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์จากใบความรู้
ของกลุ่มตนเอง
๔.๒ ครพู ูดสรุปความรู้เรื่องการเสนอความร้แู ละข้อคดิ เห็นจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน
ขั้นที่ ๕ ประยุกต์ใชค้ วามรู้ (Apply)
๕.๑ ครใู ห้นกั เรียนนำความรู้เรือ่ งการเสนอความรแู้ ละขอ้ คิดเห็นจากเรื่องทอ่ี ่านไปใช้ในชวี ิตประจำวนั

รปู แบบการจดั การเรียนการสอน : แบบใช้สมองเป็นฐาน Brain Based Learning (BBL)
หนว่ ยย่อยท่ี ๓ เรื่อง ความหมายของสำนวนทเ่ี ปน็ คำพังเพยและสุภาษิต (ชัว่ โมงที่ ๕ )
ขั้นท่ี ๑ เตรยี มความพรอ้ ม (Warm Up)

๑.๑ ครแู สดงบตั รภาพให้นกั เรียนทายภาพทคี่ รกู ำหนดให้
๑.๒ ครถู ามความรู้เดิมของนกั เรยี นเกย่ี วกบั ความหมายสำนวนท่เี ป็นคำพังเพยและสภุ าษิต
ข้ันที่ ๒ นำเสนอขอ้ มูลความรู้ (Present)
๒.๑ ครจู ดั การเรียนการสอนเรื่องการความหมายของสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิตจากส่ือบัตรคำ
สำนวน

- ความหมายของสำนวนทีเ่ ปน็ คำพงั เพยและสภุ าษติ ไทย

๒๓

ขน้ั ท่ี ๓ ลงมือเรียนรู้ ฝกึ ปฏิบัติ (Learn-Practice)
๓.๑ ครูให้นักเรียนเล่นเกมตามหาความหมายสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิตไทย โดยครูจะวาง
สำนวนสภุ าษติ ไทยไว้ตามมุมห้องใหน้ กั เรยี นตามหาความหมายสำนวนใหค้ รบแลว้ แล้วนำมาเขยี นใส่ใบงานที่ ๓
๓.๒ ครใู ห้นกั เรียนทำใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง “เกมตามหาความหมายสำนวนสุภาษิตคำพังเพยไทย” โดยมีครู
คอยใหค้ ำปรกึ ษา
ขัน้ ท่ี ๔ สรปุ ความรู้ (Summary)
๔.๑ ครพู ดู สรุปความรู้ความหมายของสำนวนท่เี ปน็ คำพังเพยและสภุ าษิตจากเกมท่ีใหน้ ักเรียนเล่น
ขั้นที่ ๕ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ (Apply)
๕.๑ ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่องความหมายของสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิตมาใช้ในการเรียน
หน่วยยอ่ ยท่ี ๔ เรือ่ งตวั อย่างของสำนวนทเ่ี ปน็ คำพงั เพยและสุภาษิต

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน : แบบใชส้ มองเปน็ ฐาน Brain Based Learning (BBL)
หน่วยย่อยท่ี ๔ เร่ืองตัวอย่างของสำนวนที่เป็นคำพงั เพยและสุภาษติ (ชั่วโมงที่ ๖)

ขน้ั ท่ี ๑ เตรยี มความพรอ้ ม (Warm Up)
๑.๑ ครเู ปดิ วดี ิโอสำนวนที่เปน็ คำพังเพยและสุภาษติ ให้นักเรียนรับชม
๑.๒ ครูถามความรู้เดิมของนักเรียนเรื่องความหมายของสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิตที่เคยเรียน
มาแลว้
ขั้นที่ ๒ นำเสนอข้อมูลความรู้ (Present)
๒.๑ ครูจัดการเรียนการสอนเรื่องตัวอย่างของสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิตจากเรื่องออมไว้กำไร
ชวี ติ ในหนงั สือเรียนภาษาพาที

- ตวั อยา่ งของสำนวนทเี่ ปน็ คำพังเพยและสภุ าษิตไทย
ขั้นที่ ๓ ลงมอื เรียนรู้ ฝกึ ปฏิบัติ (Learn-Practice)
๓.๑ ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม ๕ คนแล้วให้นักเรียนช่วยค้นหาตัวอย่างสำนวนที่เป็นสำนวนคำพังเพยและ
สภุ าษติ ใหม้ ากท่สี ดุ โดยสืบหาจากอนิ เตอรเ์ น็ตในคอมพวิ เตอรท์ ่หี ้องคอมพิวเตอร์
๓.๒ ครูให้นักเรียนทำใบงานท่ี ๓ เรื่อง “ตัวอย่างสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต”โดยมีครูคอยให้
คำปรึกษา
ขน้ั ท่ี ๔ สรุปความรู้ (Summary)
๔.๑ ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมาพูดนำเสนอใบงานของกลุ่มตนเอง
๔.๒ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ความรู้เร่อื งตวั อย่างสำนวนทีเ่ ป็นคำพงั เพยและสภุ าษติ

๒๔

ขั้นท่ี ๕ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ (Apply)
๕.๑ ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่องตัวอย่างสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิตมาทำแบบทดสอบเก็บ
คะแนน

๙. ส่ือการสอน
๑. วดี โิ อประกอบการเรียนการสอนภาษาไทย
๒. บัตรสำนวนไทย
๓. หนงั สอื เรียนภาษาพาที วิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔
๔. ใบงาน
๕. ใบความรู้
๖. บัตรภาพ
๗. อนิ เตอรเ์ น็ตคอมพิวเตอร์
๘. แบบทดสอบเก็บคะแนน

๑๐. แหลง่ เรียนรใู้ นหรอื นอกสถานท่ี

๑. หอ้ งคอมพวิ เตอร์

๒๕

๑๑. การวดั และประเมนิ ผล

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูห้ รอื วธิ ีวัด เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การ
ประเมิน
ส่งิ ท่ีต้องการจะวัดและ

ประเมนิ ผล

๑. นักเรียนสามารถสรุป ตรวจใบงาน ใบงานที่ ๑เรื่อง “ชวนน้องหนู คะแนน ๙-๑๐ ดีมาก
สรุปความรดู้ ขู ้อคิด” คะแนน ๗-๘ ดี
ความรูแ้ ละข้อคิดจากเร่อื ง ท่ี ใบงานที่ ๒ เรื่อง “เกมทาย คะแนน ๕-๖ ปานกลาง
ความหมายสำนวนสุภาษิตคำ คะแนน ๓-๔ พอใช้
อ่ านเพื่ อนำไปใช ้ ใ น พงั เพยไทย” คะแนน ๑-๒ ปรบั ปรุง
ใบงานที่ ๓ เรื่อง “ตัวอย่าง (ผา่ นเกณฑ์ระดบั
ชวี ติ ประจำวันได้ (K) สำนวนที่เป็นคำพังเพยและ คะแนน ๑๖-๒๐ ปานกลางข้ึนไป)
สภุ าษติ ” คะแนน ๑๑-๑๕ ดมี าก
๒. นักเรียนสามารถบอก ตรวจแบบทดสอบ คะแนน ๖-๑๐ ดี
ความหมายของสำนวนได้ แบบทดสอบเก็บคะแนนหน่วย คะแนน ๐-๕ พอใช้
อยา่ งถกู ต้อง (K) ย่อยที่ ๔ เรื่อง ตัวอย่างของ ปรบั ปรงุ
สำนวนที่เป็นคำพังเพยและ (ผา่ นเกณฑ์ระดับ
๓. นักเรียนสามารถ สภุ าษิต พอใช้ขนึ้ ไป)
ยกต ั วอย ่ างการบอก
ความหมายของสำนวนได้
อย่างถกู ต้อง (K)

๔. นักเรียนสามารถเสนอการ ประเมินพฤติกรรมการ แบบประเมินพฤติกรรมการ ตารางเกณฑก์ ารให้ (ผา่ นเกณฑ์ระดบั
นำเสนอของนักเรียนรายกลุ่ม คะแนนแบบประเมนิ ปานกลางขน้ึ ไป)
สรุปความรู้และข้อคิดเห็น นำเสนอของนกั เรียน พฤตกิ รรมการนำเสนอ
จากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ ของนักเรียนรายกลุ่ม

ในชวี ิตประจำวนั ได้ (P)

๕.นักเรียนสามารถนำเสนอ
การบอกความหมายของ
สำนวนได้ถูกตอ้ ง(P)

จุดประสงค์การเรียนรหู้ รอื วิธวี ัด เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๒๖
สิง่ ทต่ี อ้ งการจะวัดและ
สังเกตพฤตกิ รรม เกณฑก์ าร
ประเมินผล นกั เรยี นรายบคุ คล ประเมนิ
๖. นักเรียนเห็นประโยชน์
ของการสรุปความรู้และ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของ ตารางเกณฑก์ ารให้ (ผ่านเกณฑร์ ะดบั
ข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อ นกั เรียนรายบคุ คล คะแนนแบบสงั เกต ดขี น้ึ ไป)
นำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั (A) พฤตกิ รรมของนกั เรยี น

รายบคุ คล

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน วิธวี ดั เครือ่ งมือวัด เกณฑ์การให้ เกณฑ์การ
คะแนน ประเมนิ
๑. ความสามารถในการ ประเมินสมรรถนะ แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญ (ผา่ นเกณฑร์ ะดับ
สื่อสาร สำคญั ของผู้เรยี น ของผูเ้ รยี น ตารางเกณฑก์ ารให้ ปานกลางขน้ึ ไป)
คะแนนแบบประเมนิ
สมรรถนะผเู้ รยี น

ทกั ษะของผู้เรยี นใน วธิ ีวดั เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ ารให้ เกณฑก์ าร
ศตวรรษที่ ๒๑ คะแนน ประเมนิ
ประเมินทกั ษะของ แบบประเมนิ ทักษะของผูเ้ รียน (ผา่ นเกณฑร์ ะดับ
๑. ทักษะการอา่ น (Reading) ผ้เู รียนในศตวรรษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ตารางเกณฑก์ ารให้ ปานกลางขึ้นไป)
คะแนนแบบประเมนิ
ที่ ๒๑ ทักษะของผเู้ รียน

๒. ทกั ษะการเขยี น(Writing) ประเมินทักษะของ แบบประเมินทักษะของผู้เรียน ตารางเกณฑ์การให้ (ผา่ นเกณฑ์ระดบั
ผ้เู รียนในศตวรรษ ในศตวรรษท่ี ๒๑ คะแนนแบบ ปานกลางขึ้นไป)

ท่ี ๒๑ แบบประเมินทกั ษะของผูเ้ รียน ประเมนิ ทกั ษะของ (ผา่ นเกณฑร์ ะดับ
ในศตวรรษที่ ๒๑ ผ้เู รยี น ปานกลางขึ้นไป)
๓.ทกั ษะด้านความรว่ มมอื ประเมินทกั ษะของ
การทำงานเป็นทีม และภาวะ ผเู้ รียนในศตวรรษ ตารางเกณฑ์การให้
ผู้นำ (Collaboration , คะแนนแบบ
teamwork and leadership) ท่ี ๒๑
ประเมนิ ทกั ษะของ
ผเู้ รยี น

๒๗

๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ...................................................................... ......................

๑๓. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

นกั เรียนทง้ั หมดจำนวน.....................คน

จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อท่ี จำนวนนักเรียนทีผ่ า่ น จำนวนนักเรียนท่ไี ม่ผ่าน

จำนวนคน รอ้ ยละ จำนวนคน ร้อยละ







๑๔. ปญั หา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๑๕. ขอ้ เสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………............................

ลงชือ่ ........................................................................ ....................................
()

ตำแหนง่ ครูวิทยฐานะ .................................................................................

ลงชื่อ................................................................ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
()

ลงชอื่ .......................................................... รองผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารวชิ าการ
()

๒๘

ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศึกษา

ได้ทำการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ..........................................................................แลว้ มีความคิดเห็นดังน้ี

๑. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่

 ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง

๒. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้

 เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไม่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป

๓. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ

............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... .................................................

ลงช่ือ...............................................................................................
(............…......………………………………………………)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียน……………………………………………………………..

คะแนน
๒๙

ใบงานที่ ๑ เรื่อง ชวนน้องหนูสรุปความรู้ดูขอ้ คิด

คำชี้แจง : ใหน้ ักเรียนเขียนสรุปความรู้และข้อคดิ ทไี่ ดจ้ ากการอ่านเร่ืองออมไว้กำไรชีวิตลงใน
ช่องวางทก่ี ำหนดให้

....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

คะแนน
๓๐

ใบงานที่ ๒ เรื่อง เกมตามหาความหมายสำนวนสุภาษิตคำพังเพยไทย

คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นนำสำนวนสุภาษิตคำพงั เพยไทยพร้อมความหมายที่นกั เรียนตามหามา
ไดเ้ ขยี นใสล่ งในชอ่ งวางให้ถูกตอ้ งทงั้ ๕ ชอ่ ง

จุดเร่ิมต้น

สำนวนที่ ๑

..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................

...........................

สำนวนที่ ๒ สำนวนท่ี ๕
..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
..........................................................
...........................
...........................
สำนวนท่ี ๓
.......................................................... สำนวนที่ ๔
..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
..........................................................
........................... ..........................................................

...........................

คะแนน
๓๑

ใบงานท่ี ๓ เรื่อง ตวั อย่างสำนวนทีเ่ ปน็ คำพงั เพยและสุภาษิต

คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเขยี นสำนวนท่ีเป็นคำพังเพยและสุภาษติ ท่กี ลุ่มของนักเรียนคน้ หา
แลว้ นำมาใส่ลงในช่องว่างใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ

๓๒

ใบความรเู้ รอื่ งการเสนอความรู้และข้อคดิ เหน็ จากนิทานพ้นื บ้าน

นิทานพน้ื บ้านภาคใต้เร่ืองปลาแก้มช้ำ

กาลคร้งั หนงึ่ นานมาแล้ว มคี รอบครวั อยู่ครอบครวั หน่งึ มอี ยดู่ ว้ ยกนั 4 ชวี ติ ได้แก่ ตา ยาย
หมา และแมว ยายนั้นมีแหวนอยูว่ งหนึ่งงามมาก หมาเมื่อไดเ้ ห็นแหวนของยายแล้วก็นึกชอบอย่ใู น
ใจของมนั ยิ่งนกั

ต่อมาไม่นาน หมาก็ได้ลักแหวนของยายไปเสีย ตายายจึงใช้ให้แมวตามไปเอาแหวนคืนมา
จากหมาให้ได้ แมวก็ได้ตามไปทันหมาที่สะพานแห่งหนึ่งซึ่งหมากำลังข้ามอยู่บนสะพานนั้นพอดี
แมวจงึ ได้ร้องถามหมาข้ึนว่าไดล้ ักแหวนของยายมาบ้างไหม หมาจงึ อ้าปากจะพูดโต้ตอบกับแมวเลย
ทำให้แหวนทีม่ ันคาบอยู่นนั่ หลน่ ลงไปในคลองเสีย และกบ็ งั เอิญในคลองนนั้ ได้มฝี ูงปลาฝูงหนง่ึ อาศัย
อยู่ แหวนวงนัน้ จงึ ไดถ้ กู ปลาตัวหนึ่งคาบเอาไป

เมื่อแหวนได้ตกลงไปในคลองเสียเช่นนั้นแล้ว หมากับแมวก็ได้หันหน้าเข้าหากันเพ่ือ
ปรึกษาหารือที่จะงมแหวนจากคลองนั้นให้ได้ โดยหมาได้รู้สึกนึกผิดที่ได้ลักเอาของมีค่าของผู้มี
พระคุณของมนั มา มันจงึ ได้บอกกบั แมววา่ มนั จะตอ้ งเอาแหวนนัน้ ไปคนื ยายให้ได้ มิฉะนั้นแล้วมันก็
จะไม่กลับไปบ้านของตายายอีกเป็นอันขาด หมาจึงได้ลงไปดำว่ายอยู่ในคลองเพื่อหาแหวนแต่ก็ไม่
พบแต่อย่างใด มันจึงคิดที่จะวิดน้ำในคลองนั้นให้แห้งเสียเลย หมาจึงได้ลงไปในคลองนั้นแล้วก็
ขน้ึ มาสะบดั น้ำ ออกจากตัวมนั ได้ทำอยู่เชน่ น้ันท้ังวนั ทงั้ คืน

ฝ่ายปลาที่อาศัยอยู่ในคลองนั้นต่างก็ตกใจกลัวว่าน้ำจะแห้งแล้วพวกตนก็จะพากันตาย
หมด หัวหน้าฝูงปลาจึงได้มาพูดขอร้องกับหมาทันทีโดยให้หมายุติการวิดคลองเสีย แล้วตนก็อาสา
เอาแหวนมาคืนให้ หัวหน้าฝูงปลาจึงได้พาบริวารออกค้นหาปลาตัวที่คาบแหวนนั้นไปจนพบ แล้วก็
ได้ขอแหวนคืนให้หมาแต่โดยดี แต่ปลาตัวนั้นก็ ไม่ยอมคืนให้ ปลาทั้งฝูงโกรธปลาตัวนั้น จึงพากัน
เข้าตบตยี ้ือแย่งเอาแหวนวงน้นั มา และได้นำไปใหห้ มาไดใ้ นทีส่ ุด

ในการยื้อแย่งเอาแหวนจากปลาด้วยกนั ครั้งน้ัน ปลาตัวที่มีแหวนอยูใ่ นครอบครองก็ไดถ้ ูก
เพื่อน ๆ ปลาตบตีเอาจนแก้มทั้งสองช้ำชอกยิ่งนัก ปลาตัวนั้นจึงได้แกม้ ช้ำมาตั้งแต่บัดนั้นและมนั ก็
ได้มีเผ่าพันธุ์ต่อมา ปลาทุกตัวที่สืบเชื้อสายมาจากปลาตัวนี้ก็ล้วนแต่มีลักษณะคล้ายกับแก้มช้ำ
เหมอื นกันหมด จึงได้เรียกชื่อปลาชนดิ น้ตี ามลกั ษณะของมันวา่ "ปลาแก้มชำ้ " มาจนทกุ วนั นี้

อา้ งองิ : https://hilight.kapook.com/view/80884.

คะแนน
๓๓

แบบทดสอบเกบ็ คะแนนเร่ืองตัวอย่างของสำนวนทเี่ ป็นคำพงั เพยและสุภาษิต

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว โดยทำเครื่องหมาย

กากบาท × ลงในคำตอบ

๑. ข้อใดคอื สำนวนสภุ าษิต ข.น้ำตาลใกล้มด
ก.นำ้ ลดต่อผุด ง.นำ้ นิ่งไหลลกึ
ค.น้ำแพ้ไฟ

๒. เขาแสดงอาการไมเ่ ตม็ ใจทำงาน ความว่า "แสดงอาการไม่เต็มใจ" ตรงกบั สำนวนใด

ก.มอื แขง็ ข.หวั แขง็

ค.มอื เปลา่ ง.อดิ ๆ ออด ๆ

๔. ขอ้ ใดคือสำนวนสภุ าษิตท่ีถกู ตอ้ งที่สดุ ข.กินปรู ้อนท้อง
ก.ข่ีช้างจับต๊ักแตน ง.ย้อมเหมียวขาย
ค.อาบน้ำเยน็ มาก่อน

๕. ขอ้ ใดต่อไปนี้ ไมใ่ ช่คำพังเพย ข.จบั แพะชนแกะ
ก.กบในกะลาครอบ ง.เป็นคำพังเพยทกุ ข้อ
ค.ฝนทัง่ ให้เป็นเขม็

๓๔

๖. ผชู้ ายคนน้ันดูเก่งมาก แตก่ ลับทำอะไรไมเ่ ป็นเลย ตรงกับสำนวนใด

ก.เหลอื บ่ากวา่ แรง ข.ผักชีโรยหน้า

ค.ทา่ ดที เี หลว ง.มอื เปลา่

๗. เมตตาธรรม ค้ำจนุ โลก เปน็ ขอ้ ความประเภทใด ข.สภุ าษิต
ก.สำนวน ง.คตพิ จน์
ค.คำพงั เพย

๘. "สิง่ ที่เป็นภยั อยู่ใกลต้ ัว" ใช้สำนวนวา่ อยา่ งไร ข.ขวา้ งงูไมพ่ น้ คอ
ก.หนเี สอื ปะจระเข้ ง.ชา้ งสาร งเู หา่ ขา้ เก่าเมยี รกั
ค.หนามยอกอก

๙. "คนท่ที ำสิ่งใดโดยวธิ ีรนุ แรง" กลา่ วเปน็ สำนวนไดอ้ ย่างไร

ก.นำ้ เช่ียวอยา่ เอาเรอื ขวาง ข.หกั ด้ามพรา้ ด้วยเข่า

ค.ตดั ไปหัวลม ง.ขงิ กร็ าขา่ กแ็ รง

๑๐. สำนวนข้อใดมรี ากฐานจากสภาพแวดลอ้ มที่อย่หู ่างไกลตัวเราทสี่ ุด

ก.ติเรอื ทัง้ โกลน ข.ถอยหลงั เข้าคลอง

ค.ชกั แม่นำ้ ทง้ั หา้ ง.ขนทรายเขา้ วัด

๓๕

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ คะแนน

๕(ดมี าก) ๔ (ด)ี ๓ (ปานกลาง) ๒ (พอใช)้ ๑ (ปรบั ปรงุ )

๑.ผลงานตรงตามจุดประสงค์ ผลงานมีความ ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานมีความ

สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั

จุดประสงค์ของ จุดประสงค์ของ จุดประสงคข์ อง จุดประสงคข์ อง จดุ ประสงคข์ อง

เน้อื หาท่ีเรียนครบ เนื้อหาท่ีเรยี นเป็น เนอื้ หาบาง เน้ือหาทเ่ี รียน เนื้อหาท่ีเรียน

ทุกประเดน็ สว่ นใหญ่ ประเด็น น้อย นอ้ ยมาก

๒.ผลงานมีเน้ือหาทถ่ี กู ต้อง ผลงานมีเนือ้ หาที่ ผลงานมีเนื้อหาท่ีมี ผลงานมีเนื้อหา ผลงานมเี น้ือหา ผลงานมเี นื้อหา

มคี วามถูกตอ้ ง ความถูกต้องเป็น ที่มคี วามถกู ต้อง ท่ีมีความถกู ต้อง ท่ีมคี วามถูกตอ้ ง

ทง้ั หมด สว่ นใหญ่ เปน็ บางสว่ น น้อย นอ้ ยมาก

๓.ผลงานมกี ารใชภ้ าษาที่ถกู ต้อง ผลงานมีการใช้ ผลงานมกี ารใชภ้ าษา ผลงานมีการใช้ ผลงานมกี ารใช้ ผลงานมกี ารใช้

ภาษาท่ีถูกต้อง ท่ีถกู ตอ้ งสว่ นใหญ่ ภาษาทถ่ี ูกต้อง ภาษาที่ถกู ตอ้ ง ภาษาท่ีถูกตอ้ ง

ทั้งหมด เปน็ บางคำ เปน็ นอ้ ย นอ้ ยมาก

๔.ส่งงานตรงตามเวลากำหนด ส่งงานตรงตามเวลา สง่ งานเลยเวลาท่ี ส่งงานเลยเวลาที่ สง่ งานเลยเวลาที่ ส่งงานเลยเวลาที่

ที่กำหนด กำหนด๑วัน กำหนด๒วนั กำหนด๓วนั กำหนดมากกวา่

๔ วนั

เกณฑก์ ารประเมิน

คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๙-๑๐ ดมี าก
๗-๘ ดี
๕-๖ ปานกลาง
๓-๔ พอใช้
๑-๒ ปรบั ปรุง

(ผา่ นเกณฑร์ ะดับปานกลางขน้ึ ไป)

๓๖

แบบประเมนิ พฤติกรรมการนำเสนอของนกั เรยี นรายกลุ่ม

ช่ือกลุ่ม...................................................................................

รายชอ่ื สมาชิก ๑........................................................................................................... ...............................
๒...................................................................................................................... .....................
๓...................................................................................................................... .....................
๔............................................................................................................ ...............................
๕...................................................................................................................... .....................

ท่ี หัวข้อการประเมนิ ผา่ น ไม่ผา่ น
๑ การเตรยี มความพรอ้ ม
๒ เนื้อหามีความถูกตอ้ ง
๓ พูดนำเสนอชดั เจน
๔ สมาชกิ กลมุ่ ให้ความรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื กนั
๕ สามารถตอบคำถามได้

รวมคะแนนข้อทผี่ ่าน

คะแนน ระดับคณุ ภาพ
๕ ดีมาก
๔ ดี
๓ ปานกลาง
๒ พอใช้
๑ ปรับปรุง
(ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ปานกลางขน้ึ ไป)

๓๗

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นรายบคุ คล

ชื่อ-นามสกุล....................................................................................เลขท.่ี ...........ชัน้ ป.๔/........

ลำดับ พฤตกิ รรม ๓ คะแนน ๑
(สม่ำเสมอ) ๒ (นอ้ ย)
๑ มคี วามมุง่ มนั่ ตัง้ ใจในการทำกจิ กรรม
๒ แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง (บ่อยคร้งั )
๓ กล้าคิดกล้าแสดงออก
๔ เข้าเรียนตรงต่อเวลา
๕ มีความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี

รวม

ลงชื่อ............................................................
(……………………………………………………………)

ผูป้ ระเมิน

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ระดับคณุ ภาพ
๑๑-๑๕ ดมี าก
๖-๑๐ ดี
๐-๕ พอใช้

(ผา่ นเกณฑร์ ะดับดขี ้ึนไป)

๓๘

แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

เลขที่ ช่อื -นามสกุล ความสามารถในการสื่อสาร

๕๔๓๒๑

ลงชอ่ื ............................................................
(……………………………………………………………)

ผู้ประเมิน

๓๙

เกณฑ์การประเมนิ

สมรรถนะ คะแนน

๕ (ดมี าก) ๔ (ด)ี ๓ (ปานกลาง) ๒ (พอใช)้ ๑ (ปรบั ปรงุ )

๑. ความสามารถในการสื่อสาร สอ่ื สารได้ชดั เจนมาก สือ่ สารไดช้ ัดเจน ส่อื สารได้ สอ่ื สารไมช่ ดั เจน สอ่ื สารไม่ชัดเจน

ข้อมลู ถูกต้องและมี ข้อมลู ถูกต้องและมี คอ่ นขา้ งชดั เจน ข้อมลู ถกู ต้อง ข้อมลู ไมถ่ ูกตอ้ ง

ทกั ษะในการส่ือสาร ทกั ษะในการสอ่ื สาร ข้อมูลถกู ตอ้ ง บางส่วนและมี และมที กั ษะใน

ดีเย่ยี ม ในระดบั ดี และมที ักษะใน ทกั ษะในการ การส่ือสารใน

การส่ือสารระดับ สื่อสารในระดับ ระดบั นอ้ ยมาก

ปานกลาง นอ้ ย

(ผ่านเกณฑร์ ะดับปานกลางขึ้นไป)

๔๐

แบบประเมินทักษะของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑

หัวขอ้ การการประเมนิ

เลขท่ี ชอ่ื -นามสกลุ ทักษะการอา่ น ทักษะการเขียน ทักษะดา้ นความรว่ มมอื
ทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ

๕๔๓๒๑๕๔๓๒๑ ๕ ๔๓๒ ๑

ลงชอื่ ............................................................
(……………………………………………………………)

ผ้ปู ระเมิน

๔๑

เกณฑ์การประเมินทกั ษะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ ๒๑

ทักษะ คะแนน

๕ (ดมี าก) ๔ (ด)ี ๓ (ปานกลาง) ๒ (พอใช)้ ๑ (ปรับปรงุ )

๑. ทักษะการอา่ น (Reading) สามารถอ่านได้อย่าง สามารถอา่ นได้อยา่ ง สามารถอ่านได้ สามารถอ่านได้ไม่ ไมส่ ามารถอ่านได้

คล่องแคล่วชัดเจน คล่องแคล่วชดั เจน อย่างคล่องแคลว่ คล่องแคล่วชัดเจน อยา่ งคลอ่ งแคลว่

และถูกต้องตามหลัก และถกู ตอ้ งตามหลกั แตไ่ ม่ชดั เจนและ และถกู ตอ้ งตาม ชดั เจนและถกู ตอ้ ง

ภาษาทกุ คำ ภาษาเปน็ ส่วนใหญ่ ถกู ต้องตามหลัก หลกั ภาษานอ้ ย ตามหลกั ภาษา

ภาษาเปน็ บางคำ นอ้ ยมาก

๒. ทักษะการเขียน(Writing) สามารถเขียนได้ สามารถเขียนได้ สามารถเขียนได้ สามารถเขียนได้ ไม่สามารถเขียนได้

ถูกต้องตามหลัก ถูกต้องตามหลัก ถูกต้องตามหลัก ถูกต้องตามหลัก ถูกต้องตามหลัก

ภาษาทุกคำ ภาษาเปน็ สว่ นใหญ่ ภาษาบางคำ ภาษาไดน้ ้อย ภาษา

๓.ทกั ษะด้านความรว่ มมือ ให้ความร่วมมือใน ใหค้ วามรว่ มมือใน ใหค้ วามรว่ มมือใน ใหค้ วามรว่ มมอื ใน ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือ

การทำงานเปน็ ทีมและภาวะ การทำงานแบบกลุ่ม การทำงานแบบกล่มุ การทำงานแบบ การทำงานแบบ ในการการทำงาน

ผ้นู ำ(Collaboration, ทุกกิจกรรม เปน็ สว่ นใหญใ่ น กลมุ่ เปน็ บาง กล่มุ กจิ กรรมได้ แบบกลมุ่ กจิ กรรม

teamwork and leadership) กิจกรรม กิจกรรม น้อย

(ผ่านเกณฑ์ระดบั ปานกลางข้ึนไป)

๔๒

แผนการเรียนรรู้ ายหนว่ ย
หนว่ ยที่ ๔ เรอ่ื งผกั สมนุ ไพรใบหญา้ มีคณุ คา่ ทงั้ นนั้

๔๓

แผนการจัดการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ เรอื่ ง ผักสมนุ ไพรใบหญา้ มคี ุณคา่ ทัง้ นนั้
เวลา ๑๒ ช่ัวโมง

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ

ตวั ชีว้ ัด
ท ๔.๑ ป.๔/๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่าง ๆ

๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ นกั เรียนสามารถบอกหลักการสะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทตา่ งๆได้ถูกต้อง (K)
๒.๒ นกั เรียนสามารถสะกดคำและบอกความหมายของคำในบรบิ ทต่าง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
๒.๓ นักเรียนเห็นความสำคญั ของการสะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทตา่ ง ๆ ทถ่ี กู ต้อง (A)
๓. สาระสำคัญ
หนว่ ยที่ ๔ เรื่องผักสมนุ ไพรใบหญ้ามีคุณคา่ ท้ังนน้ั มคี วามรเู้ กี่ยวกับหลักการสะกดคำและการบอกความหมาย
ของคำท่ีเป็นพื้นฐานสำคัญที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ด้านหลักภาษาไทยมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
บอกหลกั การและสามารถสะกดคำได้ถูกต้องจึงประกอบดว้ ย คำในแม่ ก กา มาตราตัวสะกด การผนั อักษร คำ
เป็น คำตาย คำพ้อง การบอกความหมายของคำ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับชั้นต่อไป
และมีเนื้ อห าท่ี ส อดแทร กคว ามรู ้เ กี่ ยว กับ พืชส มุ น ไพร ไทย ท่ีผ ู้ เร ียน สามาร ถน ำความร ู้ มา ป ร ะยุ กต์ ใช ้ ใน
ชีวติ ประจำวนั ได้

๔. สาระการเรยี นรู้
หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ เร่อื งคำในแม่ ก กา

๑.๑ หลักการสะกดคำในแม่ ก กา
๑.๒ ตวั อยา่ งคำในแม่ก กา
หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ เร่ืองมาตราตัวสะกด
๒.๑ มาตราตัวสะกดตรงตามมาตรา
๒.๒ มาตราตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา

๔๔

หนว่ ยยอ่ ยที่ ๓ เรอื่ งการผันอักษร
๓.๑ อกั ษรสูง อักษรกลาง อกั ษรต่ำ

หนว่ ยย่อยที่ ๔ เร่ืองคำเป็น คำตาย
๔.๑ หลักการสังเกตและลกั ษณะของคำเปน็
๔.๒ หลักการสังเกตและลักษณะของคำตาย

หน่วยย่อยที่ ๕ เร่อื งคำพอ้ ง
๕.๑ คำพ้องรูป คำพ้องเสยี ง คำพอ้ งความ

หน่วยยอ่ ยที่ ๖ เรอ่ื งการบอกความหมายของคำ
๖.๑ หลกั การบอกความหมายของคำ
๖.๒ การอา่ นและการเขียนบอกความหมายของคำ

๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น
ความสามารถในการส่ือสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปญั หา
ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. ทกั ษะของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นสู่การพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น)
ทักษะการอ่าน (Reading)
ทกั ษะการเขยี น (Writing)
ทกั ษะการคิดคำนวณ (Arithmetic)
ทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and problem solving)
ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation)
ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ (Collaboration , teamwork and leadership)
ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
ทักษะด้าน การสอ่ื สาร สารสนเทศ และร้เู ท่าทนั ส่อื (Communication information and media literacy)
ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing)
ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)
ทกั ษะการเปลีย่ นแปลง (Change)
ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skills)

๔๕

๗. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน/รอ่ งรอยแสดงความรู้)
๗.๑ ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง “หลกั การสะกดคำในแม่ ก กา”
๗.๒ ใบงานที่ ๒ เรื่อง “การอา่ นนิทานมาตราตวั สะกด”
๗.๓ ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง “การสะกดคำ/ผนั อักษร”
๗.๔ ใบงานที่ ๔ เร่ือง “เรียนรู้รว่ มคน้ หาคำเป็นคำตายจากหนังสอื ”
๗.๕ ใบงานที่ ๕ เรอ่ื ง “การเขยี นคำพ้อง”
๗.๖ ใบงานที่ ๖ เร่ือง “การบอกความหมายของคำ”
๗.๗ แบบทดสอบเกบ็ คะแนนประจำรายหน่วย ๕ หน่วยยอ่ ย

๘. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน : แบบใชส้ มองเปน็ ฐาน Brain Based Learning (BBL)
หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ เรอื่ ง คำในแม่ ก กา (ชว่ั โมงที่ ๑ – ๒)
ขน้ั ท่ี ๑ เตรยี มความพรอ้ ม (Warm Up)
๑.๑ ครเู ปดิ เพลงคำในแม่ ก กา ให้นักเรยี นฟงั และให้นกั เรียนสังเกตคำในแม่ ก กา จากเพลง
๑.๒ ครถู ามความร้เู ดมิ ของนกั เรียนเรือ่ งคำในแม่ ก กา
ขั้นท่ี ๒ นำเสนอข้อมลู ความรู้ (Present)
๒.๑. ครูจัดการเรยี นการสอนเรอ่ื งคำในแม่ ก กา โดยการอธิบาย ใช้สอ่ื หนังสือเรยี นภาษาพาที
- หลกั การสะกดคำในแม่ ก กา
- ตัวอย่างคำในแม่ก กา จากเรือ่ งผกั สมุนไพรใบหญา้ มีคณุ ค่าทั้งนัน้ ในหนงั สือเรยี นภาษาพาที
ข้ันท่ี ๓ ลงมือเรยี นรู้ ฝึกปฏบิ ตั ิ (Learn-Practice)
๓.๑ ครูนำสื่อบัตรคำจำนวน ๑๐๐ คำ แจกให้นักเรียนแต่ละคนจำนวน ๔ ใบเท่ากัน และให้นักเรียน

แยกบตั รคำท่ีเป็นคำในแมก่ กา ๒ ใบ และคำทไ่ี มใ่ ช่แม่ ก กา ๒ ใบ
๓.๒ ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ ๑ เรื่อง “หลักการสะกดคำในแม่ก กา” โดยให้นักเรียนนำบัตรคำทั้ง ๔

ใบมาใส่ใบงานในช่องว่างใหถ้ กู ต้องและเขียนหลักการสะกดคำให้ถูกต้องโดยมคี รคู อยให้คำปรึกษา
ขน้ั ท่ี ๔ สรปุ ความรู้ (Summary)
๔.๑ ครูให้นักเรียนแต่ละคนออกมานำเสนอบัตรคำที่ตนเองได้และอธิบายว่าคำนั้นเป็นคำในแม่ ก กา

หรอื ไม่ และบอกหลกั การสะกดคำในแม่ก กา โดยครูเป็นผ้ตู รวจสอบความถูกต้องใหน้ ักเรยี นทุกคน
๔.๒ ครูพูดสรุปความรเู้ รือ่ งคำในแมก่ กา
ข้ันท่ี ๕ ประยุกต์ใชค้ วามรู้ (Apply)
๕.๑. ครูให้นักเรียนนำความรู้เรื่องคำในแม่ ก กา ที่ได้เรียนรู้ มาเขียนเป็นประโยคในแบบทดสอบเก็บ

คะแนน

๔๖

รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน : แบบใชส้ มองเปน็ ฐาน Brain Based Learning (BBL)
หน่วยย่อยที่ ๒ เร่อื ง มาตราตัวสะกด (ช่วั โมงที่ ๓ – ๔)
ข้ันท่ี ๑ เตรยี มความพร้อม (Warm Up)

๑.๑ ครใู หน้ กั เรียนดวู ดี โิ อและฟังเพลงมาตราตัวสะกด
๑.๒ ครใู หน้ ักเรียนสังเกตคำมาตราตัวสะกดจากการดูวดิ ีโอและฟงั เพลงมาตราตวั สะกดและครูสอบถาม
ความรู้เดิมของนักเรียน
ขน้ั ท่ี ๒ นำเสนอขอ้ มูลความรู้ (Present)
๒.๑ ครูจัดการเรียนการสอนเรือ่ งมาตราตัวสะกดโดยการอธิบาย ใช้ส่ือ PowerPoint

-มาตราตัวสะกดตรงตามมาตรา
-มาตราตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
ขั้นที่ ๓ ลงมอื เรยี นรู้ ฝึกปฏบิ ัติ (Learn-Practice)
๓.๑ ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมการอ่านนิทานมาตราตัวสะกดโดยให้นักเรียนแต่ละคนอ่านนิทานอีสป
และคน้ หาคำทีม่ มี าตราตัวสะกดทั้ง ๘ มาตรา
๓.๒ นักเรียนทำใบงานที่ ๒ เรื่อง “การอ่านนิทานมาตราตัวสะกด”จากกิจกรรมข้างต้น หลังจาก
นักเรียนอา่ นนิทานแลว้ โดยใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตอบและมีครูตรวจสอบความถกู ต้อง
ขน้ั ที่ ๔ สรุปความรู้ (Summary)
๔.๑ ครูใหน้ ักเรยี นร่วมสรุปความรู้โดยให้เลือกตัวแทน ๒ คนมาพูดถึงมาตราตัวสะกดท่ีตนเองชอบที่สุด
พร้อมยกตัวอยา่ งคำจากนทิ านหรอื คำทช่ี อบมาคนละ ๑ คำและบอกขอ้ คดิ ทีไ่ ดจ้ ากนทิ านทีอ่ า่ น
ขน้ั ที่ ๕ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ (Apply)
๕.๑ ครูให้นักเรียนนำความรู้เรือ่ งมาตราตวั สะกดตอบคำถามในแบบทดสอบเก็บคะแนนเพื่อให้นักเรียน
มีความแม่นยำในเรอื่ งมาตราตัวสะกดและสามารนำความรู้ไปใช้ตอ่ ในหนว่ ยยอ่ ยที่ ๔ เร่อื งคำเป็นคำตายได้

รปู แบบการจดั การเรียนการสอน : แบบใชส้ มองเปน็ ฐาน Brain Based Learning (BBL)
หนว่ ยย่อยท่ี ๓ เร่ือง การผันอกั ษร (ช่ัวโมงที่ ๕ – ๖)
ขั้นที่ ๑ เตรียมความพร้อม (Warm Up)

๑.๑ ครูใหน้ ักเรียนทุกคนท่องพยญั ชนะในภาษาไทย
๑.๒ ครูถามความร้เู ดมิ ของนักเรียนเรอื่ งการผันอกั ษร
ขน้ั ท่ี ๒ นำเสนอข้อมลู ความรู้ (Present)
๒.๑ ครูจดั การเรยี นการสอนเรอ่ื งการผันอกั ษรโดยการอธบิ าย ใช้ส่อื ใบความรู้

- อกั ษรสงู อกั ษรกลาง อกั ษรตำ่
ขัน้ ท่ี ๓ ลงมือเรยี นรู้ ฝกึ ปฏบิ ัติ (Learn-Practice)


Click to View FlipBook Version