ค่มู อื การจดั การเรยี นรู้
หลักสตู รท้องถิ่นปกั ธงชัย
หลกั สตู รการทาข้าวหลามนกออก
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอปักธงชัย
สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั นครราชสมี า
สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คาํ นาํ
หลักสูตรทองถ่ินปกธงชัย โดยการมีสวนรวมของประชารัฐนําสูผูเรียนสรางคน ชุมชน
เขมแข็ง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย (กศน. อําเภอปกธงชัย)
จังหวัดนครราชสีมา ไดพัฒนาขึ้นจากการสํารวจชุมชนทองถิ่นปกธงชัยและการจัดเวทีชาวบานไดขอ
สรุปวาคนในชุมชนมีความตองการท่ีจะสืบทอดส่ิงดี ๆ ซ่ึงเปนอัตลักษณเฉพาะถ่ินของอําเภอปกธงชัยให
คงไวสูคนรุนหลังใหไดเรียนรูและสรางอาชีพใหเกิดข้ึนกับคนในชุมชนปกธงชัยอยางม่ันคงและยั่งยืน ซ่ึง
เปนเรื่องที่เกี่ยวกับคําขวัญของอําเภอปกธงชัยท่ีไดผานการยอมรับจากประชาชนในอําเภอปกธงชัยแลว
น่ันคือ “ลุมพระเพลิงนํ้าใส ผาไหมเนื้องาม ขาวหลามนกออก ถั่วงอกวังหมี หม่ีตะคุ” จากคําขวัญ
ดังกลาวกศน. อําเภอปกธงชัยโดยการมีสวนรวมของประชารัฐ ภูมิปญญาและปราชญชาวบานไดรวมกัน
พัฒนาหลักสูตรเพ่ือการนี้ข้ึน จํานวน 5 หลักสูตร คือ 1) ตามรอยพอวิถีชีวิตลุมนํ้าลําพระเพลิง
2) การประดิษฐของท่ีระลึกจากผาไหมปกธงชัย 3) การทําขาวหลามนกออก4) การเพาะและดองถั่วงอก
วังหมี 5) การทําหมี่ตะคุปกธงชัยเพ่ือสืบทอดภูมิปญญาของบรรพบุรุษอําเภอปกธงชัยใหคงอยูสืบไป
รวมท้ังใชเปนกรอบและแนวทางในการจัดการเรียนรูใหประชาชนที่มีความสนใจไดเรียนรูเห็นชองทาง
ในการประกอบอาชีพและมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและชุมชนสืบไปครู กศน. อําเภอปกธงชัย ไดนํา
หลกั สตู รดงั กลาวไปใชใ นการจัดการเรยี นรูใหก ับประชาชนในชุมชนทองถ่นิ อาํ เภอปกธงชัย จากการนิเทศ
ติดตามการจัดการเรียนรูพบวา วิทยากรสอนเน้ือหาดวยการบอก อธิบาย และใหทําตาม โดยไมมีใบ
ความรู ใบงาน และสื่อประกอบการเรียนรู ครู กศน. อําเภอปกธงชัย ที่เปนผูชวยวิทยากรขาดความมั่นใจ
ในการจัดการเรียนรู และตอ งการคมู อื เพ่ือใชเ ปนแนวทางในการจัดการเรียนรูผูบริหารจึงไดจัดทําคูมือการ
จัดการเรยี นรูหลกั สูตรทองถน่ิ ปก ธงชัยขน้ึ
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย ขอขอบคุณผูมีสวน
เก่ียวขอ งทุกทา นในการจัดทาํ หลกั สูตรทอ งถ่ินปกธงชยั จนสําเร็จลลุ ว งไปดวยดี
(นายบุญยง ครูศรี)
ผูอํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชยั
สารบญั หนา
คาํ นาํ ก
คําชี้แจงแนวทางการใชค ูมือการจัดการเรยี นรหู ลักสูตรทองถนิ่ ปกธงชัย 1
ตอนที่ 1แนวคิด ความเชอ่ื พ้นื ฐาน และหลักการศึกษานอกระบบ 1-3
คิดเปน (KIDPEN) ปรชั ญาพนื้ ฐานของ กศน. 4
หลักการศึกษานอกระบบ 4-5
หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5-6
จิตวทิ ยาการเรยี นรู 7-8
จิตวทิ ยาการเรยี นรวู ยั รนุ 8-9
วิธกี ารสอนผใู หญ 10
ตอนที่ 2 หลักสตู รทองถิ่นปกธงชยั 11-15
หลกั สตู รการทาํ ขาวหลามนกออก 16
ตอนท่ี 3 แผนการจดั การเรยี นรหู ลักสตู รทองถิ่นปกธงชัย 17-39
การทําขาวหลามนกออก 40
ตอนที่ 4 การนิเทศ ติดตาม และรายงานผล 41-44
การนิเทศ ติดตาม และรายงานผล 45-46
บรรณานกุ รม 47
ภาคผนวก :แบบทดสอบกอ นเรียนและหลังเรยี น 48-52
การทาํ ขาวหลามนกออก 53
ภาคผนวก :แบบเฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 54
การทําขาวหลามนกออก
คําแนะนําการใชคูมือการจัดการเรียนรหู ลกั สูตรทองถิ่น
1. เอกสาร“คูมือการจัดการเรียนรูหลักสูตรทองถิ่นปกธงชัย” จัดทําขึ้นสําหรับครู กศน.
อําเภอ ปกธงชัยและวิทยากร นําไปใชในการจัดการเรียนรูใหกับประชาชนที่มีความสนใจไดเรียนรู
เอกสารน้ีประกอบดวยหลักสูตรทองถิ่นปกธงชัย จํานวน 5 หลักสูตร ซ่ึง กศน.อําเภอปกธงชัยไดรวมกัน
พัฒนาขึ้นจากคําขวัญของอําเภอปกธงชัยโดยการมีสวนรวมของประชารัฐ (ภูมิปญญาและปราชญ
ชาวบา น) จาํ นวน 5 หลกั สตู ร คอื
1. วถิ ชี วี ติ ลุมนา้ํ ลาํ พระเพลิง
2. การประดิษฐของทรี่ ะลึกจากผาไหมปกธงชัย
3. การทาํ ขา วหลามนกออก
4. การเพาะและดองถวั่ งอกวังหม่ี
5. การทําหมีต่ ะคุปก ธงชัย
2. เนื้อหาของคมู ือการจัดการเรยี นรูหลกั สูตรทองถ่นิ ปกธงชยั แบง เปน 4 ตอน คอื
- ตอนที่ 1 แนวคิด ความเช่ือพืน้ ฐาน และหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
- ตอนท่ี 2 หลักสูตรทอ งถนิ่ ปกธงชยั
- ตอนท่ี 3 แผนการจดั การเรยี นรูหลักสตู รทอ งถน่ิ ปกธงชยั
- ตอนที่ 4 การนเิ ทศ ติดตาม และรายงานผล
3. เนื้อหาตอนท่ี 3 คือ แผนการจัดการเรียนรูหลักสูตรทองถิ่นปกธงชัยแตละหลักสูตร
ประกอบดวย จดุ ประสงคก ารเรียนรู กิจกรรมการเรียนรูใ บความรู ใบงาน แบบทดสอบกอนและหลังเรียน
ถือเปน ส่ือประกอบการเรยี นรขู องครู กศน.อาํ เภอปก ธงชัยและวิทยากรสอนหลักสูตรทองถนิ่ ปกธงชัย
การนําคูมือนี้ไปใช ครูกศน. และวิทยากรควรมีการจดบันทึกขอมูลการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการ
เรยี นรู เพื่อนํามาเปน ขอมลู ในการปรบั ปรุง พัฒนาคูมือในสว นทเ่ี กี่ยวขอ งตอ ไป
4. กอนจัดการเรียนรูตามคูมือน้ี ครู กศน. และวิทยากร ควรศึกษาจุดประสงคการเรียนรู
และรายละเอียดการจัดการกิจกรรมใหเขาใจ เพื่อไดเตรียมสื่อตางๆใหพรอม เชน ใบความรู ใบงาน วัสดุ
อุปกรณในการฝก ปฏิบตั ิ รวมทงั้ แหลงเรียนรทู ่ีจะใหผ ูเรยี นศึกษาหาความรูเ พมิ่ เตมิ จากภมู ปิ ญ ญา
5. กอนจัดการเรียนรูแตละหลักสูตร ครูควรจัดใหผูเรียนไดทําแบบทดสอบกอนเรียนและเม่ือ
เรียนจบหลักสูตรแลวใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพ่ือเปนการประเมินความรูพ้ืนฐานและ
ความกาวหนาของผเู รียน
ตอนที่ 1
แนวคดิ ความเชอ่ื พื้นฐาน และหลกั การศึกษานอกระบบ
“คิดเป็น” (KIDPEN) ปรัชญาพ้ืนฐานของ กศน.
หลกั การศึกษานอกระบบ
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
จิตวิทยาการเรยี นรู้
จติ วิทยาการเรยี นรู้วยั รุ่น
วธิ ีการสอนผู้ใหญ่
2
ตอนท่ี 1 แนวคิด ความเชอ่ื พ้ืนฐาน และหลกั การศึกษานอกระบบ
1. “คิดเป็น” (KIDPEN) ปรัชญาพน้ื ฐานของ กศน.
คิดเปน็ เป็นกระบวนการคิดที่เกดิ ข้ึนจากหลักการและแนวคิดของ ดร.โกวทิ วรพิพัฒน์ นักการศึกษาไทย
ที่กลา่ วไว้วา่ “การจดั การศกึ ษาต้องการสอนคน ให้คดิ เป็น ทาเป็น แก้ปญั หาเปน็ ”
คิดเป็น หมายถึง กระบวนการที่คนเรานามาใชใ้ นการตัดสินใจ โดยต้องแสวงหาขอ้ มูลของตนเอง ข้อมูล
ของสภาพแวดล้อมในชมุ ชน และข้อมูลทางวิชาการ แล้วนามาวิเคราะหห์ าทางเลือกในการตัดสนิ ใจที่เหมาะสม
มีความพอดรี ะหวา่ งตนเองและสังคม
คิดเป็น มีความเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนต้องการความสุข แต่ความสุขของแต่ละคนแตกต่างกันเนื่องจาก
มนุษย์มีความแตกต่างกันในด้านต่าง ๆ เช่น เพศ วัย สภาพสังคมส่ิงแวดล้อม วิถีชีวิต ซึ่งทาให้ความต้องการและ
ความสุขของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้น การท่ีบุคคลจะอยู่ได้อย่างเป็นสุขในสังคม จะต้องเป็นผู้คิดเป็นทาเป็น
แก้ปัญหาเป็น และกระบวนการคิดเป็น ทาเป็น แกป้ ัญหาเปน็ น้ันจะต้องนาข้อมูลอย่างน้อย 3 ประการ มาประกอบ
ในการคิด คือ ข้อมูลดา้ นตนเอง ข้อมูลด้านสงั คม ส่งิ แวดล้อม ข้อมูลด้านวิชาการ โดยเราจะต้องช่งั นา้ หนักดูว่า
ข้อมลู ใดน่าเชื่อถอื มากกวา่ หรือมีผลดีมากกว่านามาตัดสินใจโดยอาศยั การพิจารณาอย่างรอบคอบ
1.1 หลักการของการคดิ เปน็
1.1.1 คดิ เป็น เชอ่ื ว่า สังคมเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา อาจกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาซึ่งปญั หาน้ันสามารถแกไ้ ขได้
1.1.2 คนเราจะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมท่ีสุด โดยใช้ข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจอย่างน้อย3
ประการ คอื ข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเอง สงั คม และวิชาการ
1.1.3 เม่ือได้ตดั สินใจแก้ไขปัญหาด้วยการไตร่ตรองอย่างรอบคอบทั้ง 3 ด้านแล้ว ยอ่ มก่อให้เกิดความ
พอใจในการตัดสนิ ใจในการตดั สินใจน้ันและควรรบั ผดิ ชอบตอ่ การตดั สินใจน้ัน
1.1.4 เน่ืองจากสังคมเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา การคิดตัดสนิ ใจจงึ อาจจะต้องเปล่ียนแปลง ปรับปรุง
ใหมใ่ ห้เหมาะสมกบั สภาพและสถานการณ์ทเี่ ปล่ยี นไป
1.2 ลักษณะของคนคดิ เปน็ มี 8 ประการ
1.2.1 มคี วามเช่ือวา่ ปญั หาทเี่ กดิ ขึ้นเปน็ สิ่งธรรมดา สามารถแก้ไขได้
1.2.2 การคดิ ทีด่ ีต้องใช้ขอ้ มลู หลาย ๆ ดา้ น (ตนเอง สังคม วิชาการ)
1.2.3 รวู้ ่าข้อมลู เปลี่ยนแปลงอย่เู สมอ
1.2.4 สนใจทจ่ี ะวเิ คราะห์ขอ้ มูลอย่เู สมอ
1.2.5 รวู้ ่าการกระทาของตนมีผลตอ่ สังคม
1.2.6 ทาแล้ว ตัดสนิ ใจแล้ว สบายใจ และเตม็ ใจรบั ผดิ ชอบ
1.2.7 แกป้ ัญหาชวี ิตประจาวันอย่างมีระบบ
1.2.8 รู้จักช่ังน้าหนักคุณค่าและตัดสินใจหาทางเลือกให้สอดคล้องกับค่านิยมความสามารถ
สถานการณ์ หรือเงอ่ื นไขส่วนตัว และระดบั ความเปน็ ไปได้ของทางเลอื กต่าง ๆ
3
ปัญหา ความสขุ
หาสาเหตุของปญั หา
ตนเอง สงั คม วิชาการ
ไม่พอใจ หาทางแก้ปญั หา พอใจ
ปฏบิ ัติ
ประเมินผล
แผนภูมิ แสดงกระบวนการคิดเปน็
1.3 กระบวนการเรียนรูเ้ พ่อื นาไปสู่การคิดเป็น มดี ังนี้
1.3.1 ข้นั สารวจปัญหา เม่ือเกดิ ปัญหา ย่อมต้องเกิดกระบวนการคิดแกป้ ัญหา
1.3.2 ข้ันหาสาเหตุของปัญหา เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาท่ีเกิดข้ึน เพื่อทาความเข้าใจ
ในปัญหานั้น และนามาวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดข้ึนน้ัน เกิดข้ึนได้อย่างไร มีอะไรเป็นองค์ประกอบของปัญหาบ้าง
โดยสาเหตขุ องปัญหาท่ีเกิดขนึ้ อาจมาจากสาเหตุ 3 ด้าน คือ
- สาเหตุจากตนเอง เชน่ พน้ื ฐานชวี ติ ครอบครัว อาชพี การปฏบิ ัตติ น ฯลฯ
- สาเหตุจากสังคม เช่น บคุ คลที่อยู่แวดลอ้ ม ความเช่อื ประเพณี ฯลฯ
- สาเหตุจากการขาดวชิ าการ ความรู้ต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั ปญั หา
1.3.3 ข้ันวิเคราะห์ หาทางแก้ปัญหาเป็นการวิเคราะห์หาทางเลือกในการแก้ปัญหา โดยใช้ข้อมูล
ดา้ นตนเอง สังคม วชิ าการ มาประกอบในการวเิ คราะห์
1.3.4 ขั้นตัดสินใจ เมื่อได้ทางเลือกแล้วจึงตัดสินใจเลือกแก้ปัญหาในทางท่ีมีข้อมูลต่าง ๆ
พรอ้ มสมบรู ณ์ท่สี ดุ
1.3.5 ข้ันตัดสินใจไปสู่การปฏิบัติ เม่ือตัดสินใจเลือกทางใดแล้ว ต้องยอมรับว่าเป็นทางเลือกที่ดี
ทสี่ ดุ ในข้อมลู เทา่ ท่มี ขี ณะนัน้
1.3.6 ข้ันปฏบิ ัติในการแก้ปัญหา ในข้ันน้ีเปน็ การประเมินผลพร้อมกันไปด้วย ถ้าผลเปน็ ท่ี พอใจก็
จะถือว่า พบความสุขเรียกว่า คิดเป็น แต่ถ้า ไม่พอใจ หรือผลออกมาไม่ได้เป็นไปตามท่ีคิดไว้หรือข้อมูล
เปลี่ยน ตอ้ งเริม่ ตน้ กระบวนการคดิ แก้ปัญหาใหม่ (กรมการศึกษานอกโรงเรยี น,2546.)
4
2. หลกั การศึกษานอกระบบ
การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจสาคัญท่ีมุ่งให้ประชาชนได้รับ
การศึกษาอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตตามมาตรฐานของสังคมซึ่งเป็น
สิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับ นอกจากนั้นยังจะได้รับการศึกษาที่ต่อเน่ืองจากการศึกษาพื้นฐานเพื่อนาความรู้ไป
พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาชุมชนและสังคมในท่ีสุด การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอก
ระบบจึงยึดหลักการสาคญั 5 ประการ คือ (กรมการศึกษานอกระบบ2546 : 3-4)
2.1 หลักความเสมอภาคทางการศกึ ษา กลุ่มเป้าหมายของการศกึ ษานอกระบบสว่ นมากเป็น
ผู้พลาดโอกาส และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ซึ่งอาจมีความแตกต่างทางด้านสถานภาพในสังคม อาชีพ
เศรษฐกิจ และข้อจากัดต่าง ๆ ในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบต้องไม่มีการ
เลอื กปฏิบัติ หากแตส่ รา้ งความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อยา่ งเทา่ เทียมกัน
2.2 หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเอง การจัดการศึกษานอกระบบจะต้องจัดการ
เรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตน สามารถเรียนรู้และเกิด
ความรู้สึกทต่ี อ้ งการจะพฒั นาตนเอง เปน็ คนคิดเป็น สามารถปรับตัวให้ทันกับกระแสการเปลยี่ นแปลงของสังคม
2.3 หลกั การบูรณาการการเรียนรู้กบั วิถีชีวติ หลักการนอี้ ยบู่ นพน้ื ฐานของการจดั การเรยี นรู้
ท่ีสัมพันธ์กับสภาพปัญหา วิถีชีวิต สภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียน ซ่ึงเป็นหลักการท่ีสาคัญในการ
จัดการทาหลักสูตรสถานศึกษา ส่งผลโดยตรงต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นลักษณะของ
การบูรณาการ โดยบูรณาการสาระต่าง ๆ เพ่ือการเรยี นรู้ และบรู ณาการวิธีการจดั การเรียนการสอนเพ่ือนาไปสู่
การพัฒนาการคณุ ภาพชวี ติ ของผเู้ รยี น
2.4 หลักความสอดคลอ้ งกับปญั หาความต้องการและความถนัดของผู้เรียน หลักการน้ีเป็น
การส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักความต้องการของตนเอง สามารถจัดการศึกษาให้กับตนเองได้อย่างเหมาะสม
วิทยากรมีบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยผู้เรียนร่วมกาหนดวัตถุประสงค์
สาระการเรยี นรู้ วธิ ีการเรยี น และการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง ซงึ่ เป็นกระบวนการทผี่ เู้ รียนเปน็ สาคญั
2.5 หลักการเรียนรู้รว่ มกันและการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน การมสี ว่ นร่วมของชุมชนนบั ว่าเป็น
หลักการสาคัญในการจัดการศึกษานอกระบบ ชุมชน สามารถเข้ามาร่วมในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดสรรทรัพยากรเป็นแหล่งเรียนรู้ และสนับสนุนในเรื่องอื่น ๆ เพ่ือผลิตผู้เรียนให้เป็นสมาชิกท่ีดีของชุมชน
ตอ่ ไป
3. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แนวพระราชดาริที่สาคัญเรื่องหนึ่งที่เหมาะสมกับการนามาประยุกต์และบูรณาการเข้าสู่การ
จัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนทุกระดับ คือ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นหลักการปรัชญา
ของการพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาทโดยคานึงถึงความพอประมาณ
ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบ
การวางแผน การตัดสนิ ใจ และการกระทา
5
3.1 กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะ
เป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและเป็นการมอง
โลกเชงิ ระบบที่มีการเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติเพ่ือความม่ันคงและความ
ยั่งยนื ของการพฒั นา
3.2 คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ
โดยเนน้ การปฏบิ ตั บิ นทางสายกลางและการพัฒนาอย่างเปน็ ข้นั ตอน
3.3 คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดงั น้ี
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
เบยี ดเบียนตนเองและผอู้ ่ืน เช่น การผลติ และการบรโิ ภคท่ีอยู่ในระดบั พอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง
เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทานั้น ๆ
อยา่ งรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ
เปล่ียนแปลงด้านตา่ ง ๆ ท่คี าดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทง้ั ใกล้และไกล
3.4 เงื่อนไขการตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัย
ทงั้ ความรแู้ ละคุณธรรมเปน็ พ้นื ฐาน กล่าวคือ
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง
รอบคอบด้านความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผนและ
ความระมดั ระวงั ในข้ันปฏบิ ตั ิ
เงื่อนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย การมีความตระหนักในคุณธรรม
มีความซือ่ สัตยส์ ุจริต มีความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดาเนนิ ชีวติ ไม่โลภ ไมต่ ระหนี่
3.5 แนวทางปฏิบัติ/ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ จากการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจสังคม
ส่ิงแวดล้อม ความรูแ้ ละเทคโนโลยี
4. จติ วทิ ยาการเรียนรู้
4.1 จิตวทิ ยาการเรียนร้ผู ู้ใหญ่
การจัดการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการจัดการเรียนรู้สาหรับ
กลุ่มเป้าหมายผู้ใหญ่ท่ีมีวุฒิภาวะ ความรู้ และประสบการณ์ท่ีแตกต่างจากเด็ก ดังนั้นการจัดการเรียนรู้สาหรับ
ผูใ้ หญ่จะต้องคานงึ ถึงศาสตร์วา่ ด้วยการเรยี นรู้ผู้ใหญ่ วธิ กี ารสอน และหลักการจัดการเรียนรใู้ ห้กับผู้ใหญ่ ดงั น้ี
โนลล์ (Malcolm S. Knowles) ได้สรุปพ้ืนฐานของทฤษฎีการเรียนรู้สาหรับผู้ใหญ่สมัยใหม่ (Modern Adult
Learning Theory) ซึ่งมีสาระสาคัญ ดังต่อไปนี้(Knowles.1978.p31 อ้างอิงจาก สุวัฒ น์ วัฒ นวงศ์.
2547:248-249)
1) ความต้องการและความสนใจ (Needs and Interests) ผู้ใหญ่จะถูกชักจูงให้เกิดการ
เรยี นรู้ได้ดี ถ้าตรงกบั ความต้องการและความสนใจในประสบการณ์ทีผ่ ่านมาจะเกิดความพึงพอใจ เพราะฉะนั้น
6
ควรจะมีการเร่ิมต้นในสิ่งเหล่าน้ีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อให้ผู้ใหญ่เกิดการ
เรียนรู้ จงึ ตอ้ งคานึงถึงสง่ิ น้ดี ว้ ยเสมอ
2) สถานการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตผู้ใหญ่ (Life Situation) การเรียนรู้ของผูใ้ หญ่จะได้ผลดี
ถ้าหากถือเอาตัวผู้ใหญ่เป็นศูนย์กลางในการสอน (Life-Centered) ดังน้ัน การจัดหน่วยการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม
เพ่ือการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ควรยึดถือเอาสถานการณ์ที่เก่ียวข้องกับชีวิตผู้ใหญ่เป็นหลักสาคัญ มิใช่ยึดที่ตัว
เน้ือหาวิชา
3) การวิเคราะห์ประสบการณ์ (Analysis of Experience) เน่ืองจากประสบการณ์เป็น
แหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณค่ามากท่ีสุดสาหรับผู้ใหญ่ ดังนั้นหลักสาคัญของการศึกษาผู้ใหญ่ก็คือ การวิเคราะห์ถึง
ประสบการณ์ของผู้ใหญ่แต่ละคนอย่างละเอียด ว่ามีส่วนไหนของประสบการณ์ท่ีจะนามาใช้ในการเรียนการ
สอนได้บา้ ง แลว้ จึงหาทางนามาใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อไป
4) ผู้ใหญต่ อ้ งการเปน็ ผู้นาตนเอง (Self-Directing) ความต้องการที่อยู่ในส่วนลกึ ของผ้ใู หญ่
ก็คือ ความรู้สึกท่ีต้องการจะนาตนเองได้ ดังน้ันบทบาทหน้าที่ของครูจึงอยู่ในกระบวนการสืบหาหรือค้นหา
คาตอบร่วมกันกับผู้เรียน (Mutual Inquiry) มากกว่าการทาหน้าที่เป็นผู้ส่งผ่านความรู้ หรือเป็นส่ือ
สาหรับความรู้ และหนา้ ที่ประเมินผลวา่ เขาคลอ้ ยตามหรอื ไม่เพยี งเทา่ น้นั
5) ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) ความแตกต่างระหว่างบุคคล
จะเพ่ิมมากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละบุคคลเมื่อมีอายุเพ่ิมมากข้ึน การสอนผู้เรียนผู้ใหญ่จึงต้องจัดเตรยี มการในด้านน้ี
อย่างดีพอ เช่น รูปแบบของการเรียนการสอน (Style) เวลาท่ีได้ทาการสอน สถานที่สอน และประการสาคัญ
คอื ความสามารถในการเรยี นรู้ในแต่ละข้ันของผ้ใู หญ่ย่อมเป็นไปตามความสามารถของผใู้ หญแ่ ต่ละคน
4.2 หลักการจดั การเรยี นรูใ้ หก้ บั ผูใ้ หญ่
ลักษณะการเรียนรู้ของผใู้ หญ่ ท่ีรวบรวมไว้ มีดงั น้ี (จงกลนี ชตุ มิ าเทวินทร.์ 2542)
4.2.1 ผู้ใหญ่ไม่ต้องถูกปฏิบัติเหมือนกับตนเองเป็นเด็ก เพราะผู้ใหญ่สามารถท่ีจะรับผิดชอบ
เคารพตนเอง และกาหนดวถิ ีของตนเองได้
4.2.2 ผู้ใหญ่มีประสบการณ์มากมายหลายอย่างท่ีสามารถนาออกมาใช้ได้ในการจัดการเรียน
ของตนเองได้
4.2.3 ผู้ใหญ่มักจะไม่สนใจเรียนรู้เก่ียวกับเรื่องท่ีมีเน้ือหามากๆหรือการที่จะต้องจดจา
ข้อเท็จจริง หรือตัวเลขท่ีมากมาย หรือการพูดถึงทฤษฎีเพียงอย่างเดียว แต่ผู้ใหญ่จะต้องแสวงหาส่ิงที่แท้จริง
และคณุ คา่ ในดา้ นอื่น ๆ ดว้ ย
4.2.4 ผใู้ หญ่จะเรียนรู้ได้ดีทสี่ ดุ ในสถานการณผ์ ่อนคลาย สนกุ สนาน และมคี วามสนใจ
4.2.5 ผู้ใหญ่จะเรียนรู้ได้เรว็ กว่า หากไดม้ ีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยการปฏิบัติ
จริง มีสว่ นร่วมในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ประสบการณ์ มากกวา่ การนัง่ ฟังการบรรยายเพียงอยา่ งเดยี ว
4.2.6 ผใู้ หญจ่ ะเรยี นรไู้ ด้ดี เมอื่ อยู่ในสภาพทพ่ี ร้อมและพอใจท่จี ะเรยี น
4.2.7 ผู้ใหญจ่ ะเรยี นรู้ไดเ้ ร็วที่สดุ โดยหลัก “ความเกย่ี วพันกัน” ซ่งึ หมายถึงทุกข้อเทจ็ จริง ทุก
แนวคิด และความคิดรวบยอดทั้งหลายนั้น จะสามารถเรยี นร้ไู ดด้ ีท่ีสดุ เมื่อสิง่ เหล่าน้ีเกี่ยวโยงกับสิ่งทเี่ คยรู้หรือมี
ประสบการณม์ าแล้ว
7
4.2.8 การเปิดโอกาสให้ผู้ใหญ่ได้ค้นพบตัวเอง เรียนรู้ด้วยตนเอง จะเป็นกิจกรรมท่ีแต่ละคน
สามารถรับผิดชอบด้วยตนเอง ในสัดสัดส่วนเวลาของตนเอง โดยมีผู้เชี่ยวชาญหรือผู้รู้คอยแนะนา ซ่ึงการเรยี น
โดยวธิ นี ้ผี ู้ใหญ่จะเรียนไดด้ ี
4.2.9 ผู้ใหญ่แต่ละคนเรียนรู้ได้เร็วหรือช้าในอัตราก้าวกระโดดท่ีแตกต่างกัน และใน
สถานการณ์ท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงมีปจั จยั ทางดา้ นจิตวทิ ยาและดา้ นร่างกาย เป็นตวั กาหนดขีดความสามารถทางดา้ น
การเรยี นรู้
4.2.10 สาหรับผู้ใหญ่แล้ว การเรียนรู้คือกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต คือสามารถเรียนรู้ได้
โดยไม่มีท่ีส้ินสุด ผู้ใหญ่จึงมีความรู้มาก ซึ่งบางคนอาจมีความรู้ ประสบการณ์มากกว่าวิทยากร ครู และผู้เรียน
ในกลุ่มเดยี วกัน
4.2.11 ผู้ใหญ่ชอบเรียนรู้ในประสบการณ์ตรง ขณะท่ีการใช้ภาษาท่าทาง และสื่อทัศนูปกรณ์
ทห่ี ลากหลายจะมผี ลตอ่ การเรียนรู้มากกวา่ สื่อท่ีเป็นภาษาเขียน
4.2.12 ถึงแม้ว่าผู้ใหญ่จะมีความรู้สึกทางด้านเกียรติภูมิและศักด์ิศรีค่อนข้างมาก แต่ผู้ใหญ่ก็
ยังมีความพอใจและความอบอุ่นใจที่ได้รับการยกย่องเช่นเดียวกับเด็ก ๆ
4.2.13 การจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้ใหญ่จะได้ผลดีมากท่ีสุด เมื่อการเรียนรู้นั้นๆสามารถ
นาไปประยุกต์ใชใ้ นงานปจั จุบนั ได้
4.2.14 การจดั กระบวนการเรยี นร้ขู องผู้ใหญ่ ควรเริ่มต้นจากภาพรวมก่อน ตอ่ จากนั้นจงึ ระบุ
ทลี ะส่วนทีละขน้ั ตอน และตามดว้ ยการแสดงใหเ้ หน็ ภาพรวมอีกคร้ัง
4.2.15 นอกจากความสามารถของผู้ใหญ่แต่ละคนจะแตกต่างกันแล้ว ความต้องการที่แท้จริง
ของแตล่ ะคนกจ็ ะแตกต่างกนั ด้วย ท้งั ในเร่ืองของทักษะเฉพาะ ความรู้ เทคนิค ทัศนคติ และประสบการณ์
4.2.16 อตั ราการหลงลืมของผู้ใหญ่อาจเกดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ และทนั ทหี ลงั การเรยี นการสอนได้
4.2.17 ทุกส่งิ ทุกอย่างอาจง่ายต่อการเรยี นรู้และการยอมรบั ของผใู้ หญ่ ถา้ หากการกระทาน้ัน
หรอื สง่ิ นั้นไมข่ ัดกบั ส่งิ ท่ไี ด้เคยเรียนรู้ หรือเคยมปี ระสบการณม์ าก่อน
4.3 จติ วทิ ยาการเรียนรวู้ ัยรุน่
นอกเหนือจากกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นผู้ใหญ่แล้ว ยังมีกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็น “วัยรุ่น” ท่ีเข้ามา
เรยี น กศน. ดังน้ันในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ครู ต้องเขา้ ใจถึงศาสตร์ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ของกลุ่มเปา้ หมาย
นี้ว่า “วัยรุ่น” เป็นวัยท่ีกาลังพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่เพ่ือเป็นกาลังและเป็นอนาคตของชาติครูจึง
จาเป็นต้องหาแนวทางและกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนากลุ่มเป้าหมายน้ี ให้มีคุณภาพ การจัดกิจกรรมสาหรับ
วยั รุน่ นอกจากเนือ้ หาท่ีดแี ล้ว ครคู วรคานึงถงึ ประเดน็ สาคัญดงั ตอ่ ไปนี้
1) ความต้องการและความสนใจ (Needs and Interests) เป็นกิจกรรมที่จัดให้วัยรุ่น
ควรเป็นกิจกรรมท่ีวัยรุ่นสนใจ มีความต้องการที่จะเรียนรู้ เปิดโอกาสให้วัยรุ่นได้มีส่วนร่วมในการคิดหรือเสนอ
กิจกรรมและความต้องการในเร่ืองท่ีอยากเรียนรู้ เนื่องจากเป็นวัยที่มีความเพ้อฝัน ความคิดอ่านกว้างขวาง
ลึกซึ้งขึ้น อยากรู้ อยากเห็น ต้องการทดลอง และแสวงหาคาตอบ เริ่มคิดถึงชีวิต อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
เกิดความกระตือรอื ร้นที่จะเรียนรู้หรือฝึกวิชาชีพ เพ่อื ความก้าวหนา้ มีความเป็นอิสระ ต้องการให้ผู้ใหญ่ รับฟัง
ความคดิ เหน็ ของตน อุดมคติสูง หัวรนุ แรง ตอ้ งการใหส้ ังคมมีความยุตธิ รรม เสมอภาค
8
2) ได้ความสนุก (Enjoyment) กิจกรรมที่จัดให้วัยรนุ่ ควรเป็นกิจกรรมท่ีสนุก มิใช่เพียงการ
น่ังฟัง นั่งเรียนแบบในชั้นเรียน แต่ควรเป็นกิจกรรมท่ีให้วัยรุ่นได้คิด ได้เคลื่อนไหว ได้ใช้พลังงานประกอบ
กิจกรรมที่ได้เรียนรู้ ท่ีสร้างจินตนาการกว้างไกล หรือการผจญภัย ทดลอง ชอบเสี่ยง (ในขอบเขตท่ีสามา รถ
ควบคุมได)้ เพราะกิจกรรมทมี่ คี วามสนกุ ชว่ ยใหว้ ยั รุ่นไม่รูส้ กึ เบอื่ หน่าย หรอื ไม่สนใจในส่ิงทตี่ อ้ งเรยี นรู้
3) ได้มิตรภาพ (Friendship) ต้องการเป็นท่ียอมรับของเพื่อน วัยรนุ่ เป็นวัยท่ีชอบเขา้ สังคม
ชอบการแสวงหาเพ่ือนและมิตรภาพ กิจกรรมสาหรับวัยรุ่นจึงควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้วัยรุ่นได้สร้างมิตรภาพ
ได้มีส่วนร่วมกับเพื่อน ๆ ด้วยกันเอง วัยรุ่นจะเช่ือถือ และรับฟังเพื่อนมากกว่าพ่อแม่ ชอบเปรียบเทียบตนเองกับ
เพ่อื นฝูง ดังนั้นการจดั กิจกรรมตอ้ งระวังและต้องไม่สร้างให้เกิดความรู้สึกมีปมดอ้ ย เพราะวยั รุ่นจะร้สู ึกท้อแท้ใจ
ไดง้ า่ ย
4) ได้ความภาคภูมิใจ (Pride) ความภาคภูมิใจในตนเองเป็นส่วนหนึ่งท่ีช่วยให้วัยรุ่นรู้สึกว่า
ตนเองมีคุณค่า เป็นที่ยอมรับและต้องการของสังคม หากกิจกรรมที่จัดช่วยให้วัยรุ่นเกิดความภาคภูมิใจเขาก็จะ
รู้สึกดีกับความรู้ และทักษะที่เขาได้รับ พร้อมจะนาสิ่งท่ีได้ไปปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง เป็นวัยที่ต้องการแสวงหาให้
รู้จกั สังคมและโลกภายนอก และรบั ผดิ ชอบตอ่ การงานทท่ี า
5) ได้รับการให้คาปรึกษาแนะแนว (Take advice) วัยรุ่นต้องการคาแนะนาตามลักษณะ
ปัญหาซึ่งประกอบด้วยการแนะแนวอาชีพ การแนะแนวปัญหาส่วนตัวอ่ืน ๆ และการแนะแนวเกี่ยวกับการมี
ครอบครัว เป็นตน้
4.4 วธิ ีการสอนผู้ใหญ่ (Teaching Methods)
จาร์วิส (Jarvis) ได้จาแนกวิธีการสอนผู้ใหญ่ออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ วธิ ีการสอนโดย
ใช้ครูเป็นศูนย์กลาง วิธีการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และวิธีการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รายบคุ คล (Jarvis. 1983. pp 130-156 อา้ งองิ จาก สุวัฒน์ วฒั นวงศ์. 2547)
1) วิธีการสอนโดยใช้ครูเป็นศูนย์กลาง (Teacher-Centered Methods) เป็นวิธีการที่มี
ครูหรือวิทยากรทาหน้าท่ีเป็นผู้นาและผู้ดาเนินการ จัดเป็นวิธีการสอนท่ีจะพยายามให้ความรู้ ข้อมูลและ
ขอ้ เท็จจรงิ แกผ่ ้เู รียนหรอื ผู้เข้าอบรมเป็นสาคัญ โดยอาจมีการใช้ศิลปะในการตั้งคาถามของครหู รือวทิ ยากร เป็น
การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการสนองตอบในการเรียน อย่างไรก็ตามครูบางคนหรือในการสอนบางครั้งก็ไม่
สามารถใชเ้ ทคนคิ ในการต้ังคาถามได้ ท้ังน้อี าจเป็นเพราะว่าไม่มีเวลา หรือเป็นเพราะว่าผู้เรียนมีจานวนมากจน
ไมส่ ามารถทจ่ี ะถามได้อย่างทัว่ ถึงทุกคน
2) วิธีการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student-entered) เป็นวิธีการสอนท่ีมี
ลักษณะที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ร่วมกันในระหว่างพวกเขากันเองเป็นส่วนใหญ่ ท้ังนี้ก็จะเป็นการนาเอาความรู้
จากประสบการณ์ของผู้เรียนมาสู่สถานการณ์การเรียนการสอนด้วยเพ่ือน (Peer Teaching)แต่ก็มีบางคน
กล่าวแย้งว่าวิธีการสอนแบบนี้มีลักษณะคล้ายกับ “คนตาบอดจูงนาทางคนตาบอดด้วยกัน” อย่างไรก็ตาม
ความจริงแล้วก็มีความรู้หลายส่ิงหลายอย่างที่ผู้เรียนเองสามารถจะเป็นแหล่งความรูไ้ ด้อย่างดี ซง่ึ กรณีน้ีครกู ็จะ
ทาหน้าทเี่ ป็น “ผอู้ านวยความสะดวกในการเรยี นรู้” (Facilitator)
9
3) วิธีการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรายบุคคล (Individual Student-Centered
Methods) เป็นวิธีการที่มีทั้งส่วนคล้ายและแตกต่างจากแบบท่ี 2 ทั้งน้ีเป็นวิธกี ารสอนซ่ึงเน้นเฉพาะผู้เรียนแต่
ละบุคคลเท่านั้น เพื่อผู้เรียนจะสามารถนาไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับตนเอง โดยมีลักษณะที่
หลากหลายในวิธีการเรียน จากการเลือกเรียนด้วยตนเอง (Self-selected Learning) หรือการให้ครูกาหนด
กิจกรรมได้
จากหลักการและแนวคิดต่างๆที่ได้กล่าวมา ล้วนมีความสาคัญต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้
ทผ่ี ูบ้ ริหาร ครูและผเู้ ก่ยี วขอ้ งควรตระหนัก และทาความเขา้ ใจ เพ่ือนามาปรับใช้เปน็ แนวทางในการกาหนดและ
ออกแบบการจัดการเรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกับหลักการ จุดมุ่งหมาย และการจดั การเรียนรู้ตามหลักสตู รการศึกษา
นอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
ตอนที่ 2
หลกั สตู รทองถิน่ ปกธงชยั
• การทําขาวหลามนกออก
หลกั สตู รทอ งถน่ิ ปกธงชยั : การทําขาวหลามนกออก
11
หลักสตู รทอ งถน่ิ ปกธงชยั : การทําขาวหลามนกออก
ความเปนมา
ประชาชนในตําบลนกออก ทําอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก ทํานา ทําสวน ทําไร การทํานา
ปลูกขาวจาวและขาวเหนียว ขาวจาวปลูกไวเพื่อจําหนาย สวนขาวเหนียวปลูกไวเพื่อทําขนมและอาหารวาง
ในงานบุญ งานประเพณีตามวาระและโอกาสตาง ๆ อาหารวางชนิดหนึ่งที่บานนกออกนิยมทําคือ ขาวหลาม
ขาวหลามเปนอาหารพื้นบานชนิดหนึ่งที่รับประทานเปนอาหารวาง หรืออาหารหลักในบางม้ือก็ได เพราะทํา
จากขาวเหนียวชาวบานจะนิยมทําขาวหลามหลังฤดูเก็บเก่ียวขาวใหมหรือชวงเวลาวางจากการทํานา ทําสวน
เพื่อรับประทานภายในครอบครัวหรือนําไปฝากญาติมิตร ซ่ึงวัตถุดิบในการทําสามารถหาไดจากทองถ่ิน ไดแก
ขาวเหนียว มะพราว ไมไ ผ และถัว่ ตาง ๆ ขา วหลามนกออกมีชอื่ เสียงดา นรสชาตอิ รอ ย จึงมีการนําขาวหลามนก
ออกมาวางจําหนายตามทองตลาดและตามงานเทศกาล ซึ่งมีผูนิยมซื้อไปรับประทานและเปนของฝาก ทําให
ชาวบานสวนหนึ่งเผาขาวหลามขายเปนอาชีพเสริมเพิ่มรายไดใหแกครอบครัว อีกท้ังยังเปนการดํารงและสืบ
ทอดอาชีพดั้งเดิมของคนในชุมชน และยังเปน การถายทอดความรเู รื่องการทําขาวหลามนกออกใหคงอยสู บื ไป
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย ไดทําการสํารวจชุมชนและ
จัดเวทีชาวบาน ไดขอสรุปวาคนในชุมชนมีความตองการที่จะสืบทอดการทําขาวหลามนกออก ซ่ึงถือเปน
อัตลักษณเฉพาะถ่ินใหคงไวและตองการสืบทอดสูคนรุนหลังใหไดเรียนรูและสรางอาชีพใหเกิดขึ้นกับคนใน
ชุมชน เนื่องจากขาวหลามนกออกเกิดจากภูมิปญญาของชาวบานนกออก ซึ่งมีข้ันตอน กรรมวิธีตามแบบฉบับ
ของชาวบาน ทําใหไดรสชาติและความอรอยท่ีไมเหมือนใครอีกท้ัง “ขาวหลามนกออก” เปนสวนหนึ่งของคํา
ขวัญอําเภอปกธงชัยที่ไดผานการยอมรับจากประชาชนในอําเภอปกธงชัย จึงไดจัดทําหลักสูตร “การทําขาว
หลามนกออก” ขึ้นเพ่ือเปนชองทางในการประกอบอาชีพและอนุรักษ สืบทอดภูมิปญญาการทําขาวหลามนก
ออกของคนในตาํ บลนกออกใหคงอยูตอไป
จดุ มงุ หมาย
เปนหลักสูตรท่ีมุงเนนใหผูเรียนเรียนรูดวยการปฏิบัติจริงในการทําขาวหลามนกออกโดยยึดหลักความ
สอดคลองกับศักยภาพความพรอม และความหลากหลายตามความแตกตางของผูเรียน โดยบูรณาการหลัก
ปรชั ญาคิดเปน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไวในกระบวนการเรยี นรู
วัตถุประสงค
เพอื่ ใหผ ูเรียนมีความรู ความเขาใจ เกิดทักษะในการทําขาวหลามนกออก มีเจตคติที่ดีตอการประกอบ
อาชีพ สามารถนําความรูที่ไดปรับไปใชในชีวิตประจําวันและใชเปนชองทางในการประกอบอาชีพได ตลอดจน
อนรุ กั ษสืบทอดภมู ปิ ญ ญาการทําขา วหลามนกออกของคนในตําบลนกออกใหค งอยูต อไป
กลมุ เปาหมาย
ประชาชนตําบลนกออก อําเภอปก ธงชัย และประชาชนท่ัวไปทส่ี นใจ
12
ระยะเวลาเรียน
ระยะเวลาเรียนท้ังหมด 60 ชั่วโมง
- ภาคทฤษฎี จํานวน 17 ช่วั โมง
- ภาคปฏิบตั ิ จํานวน 43 ชวั่ โมง
โครงสรางเนอ้ื หาของหลักสตู ร ประกอบดวยเนอ้ื หา 3 เร่ืองดังน้ี
บทท่ี 1 ขา วหลามนกออก (จาํ นวน 15 ชัว่ โมง)
เร่ืองที่ 1 ความเปนมาของการทําขาวหลามนกออก
เรอื่ งที่ 2 การคัดเลอื กวตั ถดุ ิบในการทําขา วหลามนกออก
- การคดั เลือกไมไ ผ
- การคดั เลือกขา วเหนียวขาว ขา วเหนยี วดํา
- การคัดเลอื กถว่ั
- การคดั เลอื กมะพราว
บทท่ี 2 การทาํ ขาวหลามนกออก (จาํ นวน 35 ชั่วโมง)
เร่อื งท่ี 1 วสั ดอุ ุปกรณแ ละสวนผสมการทาํ ขาวหลามนกออก
- วสั ดุอุปกรณ
- สว นผสม
เรือ่ งที่ 2 การเตรยี มวัสดุสาํ หรับการทําขา วหลามนกออก
- การแชขาว
- การแชถ ั่ว
- การเตรยี มกะทิ
- การคลกุ เคลา สว นผสม
เร่ืองท่ี 3 การเผาขาวหลามนกออก
- การบรรจุสว นผสมของขา วหลามนกออกในกระบอกไมไผ
- การเผาขาวหลามนกออก
เรื่องท่ี 4 การเก็บรักษาขาวหลามนกออก
- เพ่อื บริโภคและเพ่ือจําหนาย
บทท่ี 3 การบริหารจัดการอาชีพจําหนา ยขา วหลามนกออก (จํานวน 10 ช่วั โมง)
เรือ่ งที่ 1 ชอ งทางการจัดจําหนา ยและการกาํ หนดราคาจาํ หนายขา วหลามนกออก
เรอื่ งที่ 2 การทาํ บัญชีรายรับ-รายจา ย
เร่อื งท่ี 3 คุณธรรมจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพการทําขาวหลามนกออก
13
รายละเอียดโครงสรางเน้ือหาของหลักสตู ร
ที่ เรอื่ ง จดุ ประสงคการ เนื้อหา การจัดกระบวนการ จํานวนชว่ั โมง
1 ขา วหลาม เรยี นรู เรยี นรู ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
นกออก 1. อธบิ ายความ 1. ความเปนมาของ 1. บรรยาย 5 10
เปน มาของ ขา วหลามนกออก 2. สาธติ
2 การทําขาว ขา วหลามนกออก 3. ฝก ปฏิบตั ิจรงิ 8 27
หลาม ได 4. แลกเปล่ียนเรยี นรู
นกออก 2. อธิบายการ 2. การคดั เลอื กวัตถุดบิ การ จากภูมปิ ญญา
คัดเลอื กวตั ถดุ บิ ทาํ ขาวหลาม 5. ศึกษาจากแหลง
ในการทาํ นกออก เรยี นรู
ขาวหลามนกออก - การคดั เลือกไมไ ผ 6. ศกึ ษาจาก
ได - การคัดเลือก ใบความรูแ ละ
ทําใบงาน
ขาวเหนียวขาว
ขา วเหนียวดํา
- การคดั เลือกถั่ว
- การคดั เลือกมะพรา ว
1. ระบวุ ัสดุ 1. วัสดุอุปกรณการทาํ ขาว 1. บรรยาย
อปุ กรณการทาํ หลามนกออก 2. สาธิต
ขาวหลามนกออก 3. ฝกปฏบิ ตั ิจริง
ได 4. แลกเปล่ียนเรียนรู
2. บอกสว นผสม 2. สวนผสมการทํา จากภูมปิ ญญา
การทาํ ขาวหลาม ขาวหลามนกออก 5. ศกึ ษาจากแหลง
นกออกได - ขาวเหนยี ว เรียนรู
- ถว่ั 6. ศกึ ษาจาก
- กะทิ ใบความรูและ
3.เตรียมวัสดุ 3. การเตรียมวัสดุ ทําใบงาน
สําหรับทําขา ว สาํ หรับทาํ ขาวหลามนก
หลามนกออกได ออกได
- การแชข า ว
- การแชถั่ว
- การเตรียมกะทิ
- การคลุกเคลาสวนผสม
14
ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงคก าร เน้ือหา การจดั กระบวนการ จํานวนชวั่ โมง
เรียนรู เรยี นรู ทฤษ ปฏบิ ัติ
ฎี
4. บรรจุสวนผสม 4. การบรรจสุ ว นผสมของ
ของขาวหลาม ขาวหลามนกออก
นกออกในกระบอก ในกระบอกไมไผ
ไมไผไดอยาง
ถกู ตอง
5. เผาขา วหลาม 5. การเผาขาวหลาม
นกออกได นกออก
6. เก็บรักษา 6. การเก็บรักษาขาวหลาม
ขาวหลามนกออก นกออก
เพือ่ บรโิ ภคและ เพอ่ื บรโิ ภคและเพื่อ
เพือ่ จําหนา ยได จาํ หนายได
3 การบริหาร 1. ระบชุ อ ง 1. ชองทางการจัดจําหนาย 1. บรรยาย 46
จัดการอาชีพ ทางการจดั และการกําหนดราคา 2. ฝกปฏบิ ัติจริง
จาํ หนา ยขา ว จําหนายและการ จาํ หนา ยขาวหลามนกออก 3. แลกเปลี่ยนเรยี นรู
หลามนก กําหนดราคา จากภูมปิ ญญา
ออก จําหนายขาว 4. ศึกษาจากแหลง
หลามนกออกได 2. การทาํ บัญชีรายรับ- เรียนรู
2. ทาํ บญั ชรี ายรับ- รายจาย 5. ศกึ ษาจากใบความรู
รายจา ยได 3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใน และทําใบงาน
3. บอกคุณธรรม การประกอบอาชพี
จรยิ ธรรมในการ การจาํ หนายขาวหลามนก
ประกอบอาชีพ ออก
การจําหนาย
ขาวหลามนกออก
ได
ส่ือการเรยี นรู
1. สอ่ื เอกสารประกอบการเรียนรูเรอื่ ง การทําขาวหลามนกออก
1.1 ใบความรู
1.2 ใบงาน
2. แหลง เรียนรู นางสาวจเร พ่ึงทรัพย บานเลขที่ 28 หมูที่ 7 ตาํ บลนกออก อําเภอปกธงชยั
3. แหลงเรยี นรู นายคาํ มี ธนะบุตร บานเลขท่ี 119 หมทู ่ี 3 ตําบลนกออก อาํ เภอปกธงชัย
15
การวดั และประเมนิ ผล
1. ประเมนิ ความรูความสามารถ ทกั ษะ ดวยการซักถาม ทดสอบและปฏิบตั จิ ริง
2. ประเมินดา นคุณธรรม ดวยแบบประเมินคุณธรรม
3. ประเมินช้ินงาน ดว ยแบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน
4. ประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู รียน ดวยแบบสอบถาม
การจบหลกั สตู ร
1. มเี วลาเรยี นและฝก ปฏบิ ัติตามหลกั สตู ร ไมน อยกวารอยละ 80
2. มผี ลการประเมินผานตลอดหลักสตู ร ไมน อ ยกวา รอยละ 60
3. มีผลงาน (ตามรายวชิ าทเ่ี รยี น/ตามหลกั สตู ร) ที่ไดมาตรฐาน
เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
1. หลักฐานการประเมนิ ผล
2. ทะเบียนคมุ วุฒิบัตร
3. วุฒิบตั ร ออกโดยสถานศึกษา
การเทียบโอน
ผูเรียนทเี่ รียนจบหลักสูตรนีแ้ ลว สามารถนําผลการเรียนไปเทียบโอนกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพ วิชาเลือกเสรี ท่ีสถานศึกษาไดจัดทํา
ขน้ึ ในระดับใดระดบั หนงึ่ ได 1 หนวยกิต (1 หนวยกิต = 40 ชัว่ โมง)
16
ตอนที่ 3
แผนการจดั การเรยี นรหู ลกั สตู รทอ งถิ่นปกธงชัย
• การทําขาวหลามนกออก
แผนการจดั การเรยี นรหู ลกั สูตรทอ งถิ่นปก ธงชัย “ขาวหลามนกออก”
บทที่ 1 ขา วหลามนกออก (จาํ นวน 15 ชว่ั โมง)
จุดประสงคก ารเรยี นรู
17
1. อธิบายความเปนมาของขาวหลามนกออกได
2. อธิบายการคัดเลือกวตั ถุดิบในการทําขา วหลามนกออกได
เนือ้ หา
1. ความเปนมาของขา วหลามนกออก
2. การคดั เลือกวตั ถดุ บิ ในการทําขาวหลามนกออก
2.1 การคัดเลือกไมไผ
2.2 การคดั เลือกขาวเหนียวขาวขาวเหนยี วดาํ
2.3 การคดั เลือกถวั่
2.4 การคัดเลอื กมะพรา ว
เวลา 15 ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนรู
1. ผูส อนพูดคุยเร่ืองการทําขาวหลามและแลกเปล่ียนความรูกับผูเรียนเร่ืองการทําขาวหลาม
ทอ่ี าํ เภอปก ธงชัยทําอยู คอื ขา วหลามนกออก
2. ผูเรียนรับฟงการบรรยายเรื่องความเปนมาของขาวหลามนกออก จากภูมิปญญาและ
ผูสอนแลวจดบันทกึ องคค วามรทู ี่ได
3. ผูสอนระดมความคดิ ผูเ รียนเรือ่ งวัตถดุ ิบในการทําขาวหลามนกออก และการเลือกวัตถุดิบ
ในการทําขา วหลามนกออก
4. ผูเรียนรับฟงการบรรยายเร่ืองวัตถุดิบในการทําขาวหลามนกออก และการเลือกวัตถุดิบ
ในการทําขา วหลามนกออกจากภูมปิ ญ ญาและผสู อนแลวจดบันทกึ องคค วามรทู ่ีได
5. ผูเรียนดูการสาธิตการเลือกวัตถุดิบในการทําขาวหลามนกออกจากภูมิปญญาและผูสอน
และฝก ปฏิบัตกิ ารเลือกวัตถุดิบ
6. ผูเรียนศึกษาเพ่ิมเติมจากใบความรูท่ี 1เร่ือง ความเปนมาของขาวหลามนกออกและการ
คัดเลอื กวัตถดุ บิ ในการทําขา วหลามนกออก
7. ผูเรียนทาํ ใบงานท่ี 1เร่อื ง ความเปนมาของขา วหลามนกออกและการคัดเลือกวัตถุดิบในการ
ทาํ ขาวหลามนกออก
8. ผสู อนตรวจใบงานท่ี 1 แลว เฉลย
9. ผูเ รียนศึกษาแลกเปลี่ยนเรยี นรูก ับภมู ิปญ ญาในการทาํ ขาวหลามนกออก
10. ผูเรยี นศึกษาแหลง เรยี นรูการทาํ ขาวหลามนกออกในประเด็นการคัดเลือกวัตถุดิบในการทํา
ขา วหลามนกออกและชวยกันสรุปองคความรทู ไี่ ด และนําเสนอผลการเรยี นรู
11. ผสู อนสรุปและเตมิ เต็มองคค วามรูการทําขาวหลามนกออก
ส่อื การเรยี นรู
1. ใบความรูท่ี 1 เรื่อง ความเปนมาของขาวหลามนกออกและการคัดเลือกวัตถุดิบในการทํา
ขาวหลามนกออก
2. ใบงานท่ี 1 เร่ือง ความเปนมาของขาวหลามนกออกและการคัดเลือกวัตถุดิบในการทําขาว
หลามนกออก
3. แหลงเรียนรูเกย่ี วกับการทาํ ขาวหลามนกออก
4. ภูมปิ ญญาดา นการทําขา วหลามนกออก
18
การประเมนิ ผล
1. ประเมินจากการทําใบงานท่ี 1
2. สังเกตพฤติกรรมผเู รียนขณะทีร่ วมกจิ กรรมการระดมความคิด และการฝก ปฏิบัตกิ าร
คดั เลอื กวตั ถดุ บิ ในการทําขาวหลามนกออก
ใบความรทู ี่ 1
เรื่อง ความเปน มาของขา วหลามนกออกและการคัดเลือกวตั ถดุ บิ การทําขา วหลามนกออก
1. ความเปน มาของขาวหลามนกออก
ประชาชนในตําบลนกออกทําอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก ทํานา ทําสวน ทําไร การทํานาปลูก
ขาวเจาและขาวเหนียว ขาวเจาปลูกไวเพื่อจําหนายสวนขาวเหนียวปลูกไวเพื่อทําขนมในงานบุญงานประเพณี
ตามวาระและโอกาสตา งๆ ขนมชนิดหนง่ึ ทน่ี ิยมทําคือ ขา วหลาม ชาวบานจะนิยมทําขาวหลามหลังฤดูเก็บเก่ียว
ขาวใหมหรือชวงเวลาวางจากการทํานา ทําสวน เพ่ือรับประทานภายในครอบครัวและนําไปฝากญาติมิตร ซึ่ง
วัตถดุ บิ ในการทาํ สามารถหาไดจากทอ งถิ่น ไดแก ขา วเหนียว มะพราว ไมไผ และถั่วตางๆ คนท่ีไดกินขาวหลาม
นกออกตางพูดเปนเสียงเดียวกันวารสชาติอรอย จากผูคนท่ีไดเขามาเที่ยวไดนําขาวหลามกลับไปเปนของฝาก
จึงมีการนําขาวหลามนกออกมาวางจําหนายตามทองตลาดตามงานเทศกาล และมีผูนิยมซื้อไปรับประทานทํา
ใหช าวบา นสวนหนงึ่ เผาขาวหลามขายเปนอาชีพเสริมเพิ่มรายไดใหแกครอบครัว อีกท้ังยังเปนการดํารงและสืบ
ทอดอาชีพดั้งเดมิ ของคนในชมุ ชนและยงั เปน การถายทอดความรูเร่ืองการทําขาวหลามนกออกใหคงอยูสืบไปใน
ภาพรวมไดการทําขาวหลามนกออกไดมีการศึกษาความตองการของผูซ้ือ เชน ดานรสชาติตองใหทันสมัยตาม
ความชอบของคนในปจจุบันซ่ึงคนในยุคปจจุบันใสใจสุขภาพมากเพราะโรคภัยไขเจ็บทวีความรุนแรงมากข้ึน
จึงพัฒนารสชาตมิ าเปน ขาวหลามเพื่อสุขภาพ มกี ารนําธญั พืชมาเปนสวนผสมของขาวหลามทําใหขาวหลามเกิด
ความแปลกใหมแตกตา งจากที่อืน่ มรี สชาติใหม ทาํ ใหผ ูค นสนใจมากย่งิ ขึ้น
ขาวหลามนกออก ตําบลนกออก อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา มีลักษณะเดนคือ รสมัน นุม
กลมกลอม ชวนรบั ประทาน เนื่องจากการทําขาวหลามนกออกไดใชกระบอกไมไผบานที่อายุพอเหมาะปรุงขาว
เหนยี วดวยนาํ้ กะทจิ ากมะพราวท่ีแกจัดใสเ กลอื ผสมดวยอตั ราสวนที่พอเหมาะ เผาดวยฟนหรือไมแหง ซึ่งจะทํา
ใหความรอนในการเผาสมํ่าเสมอ ทําใหขาวหลามสุกท่ัวถึงท้ังกระบอกเวลารับประทานขาวหลามท่ีสุกแลวติด
เยื่อไมไผด ี มกี ารพฒั นาวธิ ีการปรงุ โดยการเพ่ิมสว นประกอบเชน ถั่วลิสง ถว่ั ดํา มันเทศ ฟกทอง เผอื ก ขา วโพด
2. การคดั เลอื กวตั ถุดิบการทาํ ขาวหลามนกออก
ขาวหลามนกออก ของอาํ เภอปกธงชัยเปน อาหารพืน้ บา นที่ทํากินทําขายทั่วไปไมเฉพาะตําบลนกออกมี
ชาวบานหลายหมูบานทําขาวหลามขายโดยเฉพาะท่ีบานบุโกรก ขาวหลามบานน้ําซับและบานนกออก มี
ช่ือเสียงมากข้ึนในเรื่องของความอรอย มีกล่ินหอมจากการเผาเพ่ือสืบทอดมรดกภูมิปญญาการเผาขาวหลาม
และสามารถสรา งรายไดเ ปน อาชพี หลักซึ่งมรี ายไดดี ทําใหฐานะความเปนอยูและคุณภาพชีวิตดีขึ้นการคัดเลือก
วัตถุดิบในการทําขาวหลามนกออกมีสวนสําคัญมากที่จะทําใหขาวหลามมีความอรอย การคัดเลือกวัตถุดิบใน
การทาํ ขา วหลามนกออกมีดงั นี้
19
1. การคัดเลือกไมไผ เลือกไมไผที่คอนขางออนจะมีเย่ือมาก เพื่อใหขาวหลามที่สุกแลว เม่ือแกะ
รบั ประทานจะสะดวกเพราะมนั รอนหลดุ จากเปลือกไมไ ผไดงาย ถา กระบอกไมไ ผอ ันไหนมีกลนิ่ ก็ไมใช เพราะจะ
ทําใหขาวหลามมีกลิ่นไปดวย สําหรับจุกที่จะอุดปากกระบอกขาวหลามเพ่ือชวยใหขาวหลามระอุ ก็ทําจาก
ใบตองแหง หอกาบมะพราวอยางออนใหไ ดขนาดพอเหมาะกับกระบอกไมไ ผแตล ะกระบอก
2. การคัดเลือกขาวเหนียว ขาวเหนียวท่ีใชตองเปนขาวเหนียวเม็ดยาว ใชขาวเหนียวที่หุงแลวมีความ
ออนนมุ ไมแ ขง็ เชน ขาวเหนยี วตราดอกบวั ขา วเหนียวเขี้ยวงู
3. การคัดเลือกถ่ัว
3.122 ดลู ักษณะของเมลด็ ถั่วดําทอ่ี วบ สมบูรณ เมล็ดไมลบี
3.222 นําเมล็ดไปแชน ํา้ โดยเทนํา้ ใหท ว มเมล็ดถั่วดํา แลวสังเกตดูวาเมล็ดไหนลอยน้ํา ใหคัดท้ิง
สวนเมล็ดท่ีเหลือนําไปแชนํ้ากอนนําไปตม22 เปนเวลาคร่ึงช่ัวโมงเพ่ือใหถั่วดํานิ่มขึ้น จากน้ันยกขึ้นต้ังไฟตมนาน
1 ชั่วโมง ใชมือบีบเม็ดถ่ัวดํา หากน่ิมแลวจึงนํามาใชไดหลังจากตมถ่ัวดําจนสุกแลว ตองลางถั่วดําดวยนํ้าหลาย
ๆ คร้ังจนนาํ้ ใสและสะเด็ดนํา้ ใหแหงไมเ ชน นัน้ ขา วหลามท่ีไดจ ะมสี ดี ําแลดูไมสวย
4.การคัดเลือกมะพราว มะพราวที่ใชตองเปนมะพราวท่ีมีความมัน เชนมะพราวใตเกาะสมุยมีราคาแพง
แตจะทําใหข าวหลามหอมและมนั กําลังดี
20
ใบงานท่ี 1
เร่ือง ความเปนมาของขา วหลามนกออกและการคดั เลือกวตั ถดุ บิ การทาํ ขาวหลามนกออก
คําช้แี จง : ผูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ใหถ ูกตอ ง
1. บอกความเปนมาของขาวหลามนกออกมาพอสังเขป
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. บอกการคดั เลือกวัตถดุ ิบตอไปน้ใี นการทําขา วหลามนกออก
2.1 การคัดเลอื กไมไ ผ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2.2 การคัดเลอื กขาวเหนยี วในการทาํ ขาวหลามนกออก
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2.3 การคัดเลือกถว่ั
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2.4 การคดั เลือกมะพรา ว
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
21
บทท่ี 2 การทําขา วหลามนกออก (จํานวน 35 ช่วั โมง)
จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. ระบุวัสดุอปุ กรณการทาํ ขาวหลามนกออกได
2. บอกสว นผสมการทําขาวหลามนกออกได
3. เตรียมวัสดุสําหรับทําขา วหลามนกออกได
4. บรรจสุ ว นผสมของขาวหลามนกออกในกระบอกไมไ ผไดอยา งถูกตอง
5. เผาขาวหลามนกออกได
6. เกบ็ รกั ษาขาวหลามนกออกเพื่อบริโภคและเพอ่ื จําหนา ยได
เนอ้ื หา
1. วัสดุอปุ กรณก ารทําขาวหลามนกออก
2. สว นผสมการทําขา วหลามนกออก
2.1 ขาวเหนียว
2.2 ถัว่ ดาํ
2.3 กะทิ
3. การเตรียมวัสดุสําหรบั ทาํ ขา วหลามนกออกได
3.1 การแชข าว
3.2 การแชถ่ัว
3.3 การเตรียมกะทิ
3.4 การคลุกเคลา สว นผสม
4. การบรรจสุ ว นผสมของขาวหลามนกออกในกระบอกไมไผ
5. การเผาขา วหลามนกออก
6. การเกบ็ รกั ษาขาวหลามนกออกเพ่ือบริโภคและเพ่ือจําหนายได
เวลา 35 ช่วั โมง
กจิ กรรมการเรียนรู
1. ผูส อนทบทวนการทาํ ขา วหลามนกออกของอําเภอปกธงชัย
2. ผูเรียนศึกษาเรียนรูการทําขาวหลามนกออกจากภูมิปญญาและแหลงเรียนรู ในหัวขอ
ตอ ไปนี้ แลวจดบนั ทกึ องคค วามรูท ี่ได
2.1 วัสดุอปุ กรณการทาํ ขาวหลามนกออก
2.2 สว นผสมการทําขา วหลามนกออก
2.3 การเตรยี มวัสดสุ ําหรบั ทําขาวหลามนกออกได
2.4 การบรรจสุ วนผสมของขาวหลามนกออกในกระบอกไมไ ผ
2.5 การเผาขาวหลามนกออก
2.6 การเกบ็ รกั ษาขาวหลามนกออกเพ่อื บริโภคและเพื่อจําหนา ยได
3. ผูเรียนนําเสนอองคความรูที่ไดจากการไปศึกษาเรียนรูการทําขาวหลามนกออก
ตามประเด็นในขอ 2.1 - 2.6
4. ผูเรียนศกึ ษาเพ่ิมเตมิ จากใบความรูท่ี 2 เรือ่ งการทาํ ขาวหลามนกออก
5. ผูเรียนฝกปฏิบัติการทําขาวหลามนกออก โดยเริ่มจากข้ันตอนการเตรียมวัสดุ อุปกรณ
และวัตถุดิบ รวมทงั้ การเตรยี มสถานทเี่ ผาขา วหลาม
22
6. ผเู รยี นปฏิบตั ิการเผาขาวหลามพรอมกบั บันทกึ ผลที่เกิดขึน้ จากการปฏบิ ัตกิ ารทําขา วหลาม
7. ภูมิปญ ญา และผูสอน ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิการทําขาวหลาม พรอมใหขอเสนอแนะ
8. ผเู รยี นแลกเปลีย่ นเรยี นรกู บั ภมู ปิ ญ ญาในเร่ืองการทําขา วหลามนกออก
9. ผเู รียนทาํ ใบงานที่ 2 เรอื่ งการทําขาวหลามนกออก
10. ผสู อนตรวจใบงานท่ี 2 แลว เฉลย
11. ผูสอนและภมู ปิ ญญาสรุปและเติมเต็มองคความรูก ารทาํ ขาวหลามนกออก
สอ่ื การเรียนรู
1. ใบความรทู ่ี 2 เรอ่ื ง การทําขาวหลามนกออก
2. ใบงานที่ 2 เรอื่ ง การทาํ ขาวหลามนกออก
3. แหลง เรยี นรเู ก่ียวกับการทําขาวหลามนกออก
4. ภูมปิ ญ ญาดา นการทําขา วหลามนกออก
การประเมนิ ผล
1. ประเมินจากการทําใบงานท่ี 2
2. สงั เกตพฤติกรรมผูเ รียนขณะทีร่ วมกจิ กรรมตอไปน้ี
2.1 การศึกษาเรยี นรูการทําขาวหลามนกออกจากภมู ปิ ญ ญา แหลงเรยี นรู
2.2 ผลการนาํ เสนอองคความรทู ีไ่ ดจ ากการไปศึกษาเรียนรูการทาํ ขาวหลามนกออก
2.3 การฝกปฏบิ ตั กิ ารทาํ ขาวหลามนกออก
23
ใบความรทู ่ี 2
เรอ่ื ง การทาํ ขาวหลามนกออก
"นกออก" เปนช่ือหมูบานและตําบลหนึ่งของอําเภอปกธงชัย หางจากที่วาการอําเภอไปทางทิศใต
ประมาณ 5 กม. ชาวบานสวนใหญมอี าชพี ทาํ นา ทําสวน บานนกออกมีช่ือเสียงในการทําขาวหลามที่อรอยมาก
ชาวบานจะทําขาวหลามหลังฤดูเก็บเกี่ยวขาวใหมหรือชวงเวลาวางจากการทํานา ทําสวน เพ่ือรับประทานใน
ครอบครวั หรอื นําไปฝากญาตมิ ิตร ดวยความอรอยของขาวหลามนกออก เมื่อนําไปวางขายตามเทศกาลตาง ๆ
จึงมผี นู ิยมซื้อไปรับประทาน ทาํ ใหชาวบานสวนหนง่ึ เผาขาวหลามขายเปนอาชพี เสริมเพ่มิ รายไดใหแกค รอบครัว
วสั ดุในการทําขา วหลามนกออก
ขาวสารเหนียว 1 กโิ ลกรมั
นํา้ ตาลทราย 3 ขีด
เกลือ 1 ชอนโตะ
ถว่ั ดํา 1 ถว ย
กะทิ 1 กิโลกรมั
ใบตอง/ใบเตย 10 ใบสําหรับทาํ จุก
ไมไ ผ 8 กระบอก
กากมะพรา ว
ขน้ั ตอนการทําขาวหลามนกออก มีดงั นี้
1. การเตรยี มวัตถุดิบไดแ ก
1.1 ไมไผสําหรับทํากระบอกขาวหลาม ไมไผไมที่นิยมใชกันคือไมไผปา ลักษณะของไมไผท่ีดี
คือตอ งคดั เลือกเอาเฉพาะไมที่ไดกําหนดตัดและมีเย่ือหนาเทาน้ันความรอนท่ีพอดีขณะเผาและระยะเวลาที่เผา
24
จะทําใหเ ยอื่ แยกออกจากกระบอกไมไผเม่ือเย็นลงจะหดตัวพันขาวเหนียวทําใหสามารถเคาะเน้ือขาวหลามจาก
กระบอกไดโดยไมตองผาไมไผปาที่นํามาทําเปนกระบอกนั้นไดมาจากกาญจนบุรี สิงหบุรี และจากเขมร ไมไผ
จากกาญจนบุรีมีคุณภาพดีท่ีสุดแตละวันตองใชไมไผสําหรับทํากระบอกขาวหลามประมาณ 150-200 ลําๆ
ละประมาณ 10 กระบอก
1.2 จุกสําหรับปดปากกระบอก ทําจากใบตองเพ่ือใหเกิดความหอมขณะเผาผูท่ีประกอบ
อาชีพนี้จะตองทําจุกปดเอง ซ่ึงเดิมเก็บแยกกับตัวกระบอกตอมาเพ่ือแกปญหาขาวลือท่ีวามีสัตวเขาไปหลบ
ภายในกระบอกจึงปด จุกทนั ทที ี่เลือ่ ยไมไผเสร็จ
1.3 ขาวเหนยี ว น้ําตาล เกลอื ถั่วดํา กะทิ และวตั ถดุ บิ อน่ื ๆ ที่ใชใ นการทําขา วหลาม
2. การบรรจุลงกระบอกทาํ ดงั นี้
2.1 เปดฝาจุกออกและเปาลมเพอื่ ไลลมในกระบอก
2.2 กรอกขาวเหนียวดบิ ลงกระบอก ตามดว ยกะทิทผ่ี สมเกลือ
และนา้ํ ตาลแลว ปดจกุ ตามเดิม
วิธีการทําขาวหลามนกออกของกลุมขาวหลามบานบุโกรก ตําบลนกออก อําเภอปกธงชัย จังหวัด
นครราชสีมา
1. ลา งขา วสารใหสะอาด แชน้าํ ไวป ระมาณ 3 ชม. พกั ไวใ นกระชอนพอสะเดด็ นํา้
2. คัน้ กะทิ ใสเกลอื นํา้ ตาล ชมิ รสตามตองการ
3. นาํ กะททิ ่ีปรุงรสแลวมาคลกุ เคลากับขา วเหนียวใหเขา กนั
4. นาํ ขา วเหนียวท่ปี รุงรสแลว ไปใสกระบอกไมไผ
5. เคาะกระบอกไมไผเบา ๆ เพื่อใหขาวเหนียวลงไปในกระบอกไมไผอยางท่ัวถึง เหลือท่ีวาง
ไวป ระมาณ 2 นวิ้ ครึ่ง
6. นาํ กะทิทป่ี รงุ รส ใสเ ขาไปในกระบอกไมไ ผอีกครงั้
7. นํากาบมะพรา วหอดวยใบตองกลว ยอุดปากกระบอกไมไผไ วใหแ นน
8. นําไปเผาไฟในลกั ษณะตงั้ เอยี ง
25
9. หมน่ั พลกิ ดานเพ่ือใหข า วทีอ่ ยูในกระบอกไมไผส ุกอยา งทว่ั ถึง
10. เม่ือขา วสกุ แลว นํามาปอกเปลือกไมไผ เหลาผิวใหส ะอาดเพ่อื สะดวกในการแกะ
รับประทานถาตองการรสหวาน มัน เค็ม ก็เติมน้ําตาล กะทิ เกลือ ไดตามตองการ หรืออาจใสถ่ัวลิสง ถั่วดํา
เพือ่ เพิม่ รสชาติใหนา รับประทานยิ่งขึน้
การเผาขาวหลาม ลักษณะของเตาเผาทําเปนราว มีขนาดความยาวราวละ
1-2 วาจาํ นวนของขา วหลามที่เผาไดในแตละราวข้ึนกับความยาวราวซ่ึงเดิม
ทําเปนราวต้ังกับพื้น ตอมาพัฒนาเปนราวท่ียกพ้ืนสูงข้ึนเพ่ือใหยืนทําได
ระยะเวลาของการเผาแตกตางกัน โดยเตาแรกตองใชเวลาเผาประมาณ
2 -3 ชั่วโมงเตาตอมาใชเวลาเผานอยลงไดดังนั้นงานเผาขาวหลามจึงเปน
งานทีใ่ ชเ วลามากและผูทําตอ งอดทนตอ ความรอน
ประโยชนข องบรรจุภัณฑก ระบอกไมไผ
บรรจุภัณฑทางธรรมชาติน้นั มดี ว ยกันหลากหลายมากในโลกนี้ และเปนบรรจุภัณฑแรกๆท่ีเริ่มนํามาใช
ประโยชนกันอยางมาก เชน หมูยอกระบอกไมไผ กลองเหลา กลองไวนท่ีทํามาจากบรรจุภัณฑกระบอกไมไผ
ไอศกรีมในกระบอกไมไผ เยลลี่ในกระบอกไมไผ วุนในกระบอกไมไผ บะจางในกระบอกไมไผ และอ่ืนๆ
อีกมากมาย ขา วหลามก็เปนการใชบรรจภุ ณั ฑท างธรรมชาตใิ นการทําทําไมคนในสมัยกอนๆน้ันจึงไดใชกระบอก
ไมไผมาเปนบรรจุภัณฑใสขาวเหนียวเพ่ือที่จะทําขาวหลามกัน ก็เพราะวาเปนวัสดุทางธรรมชาติที่หาไดงายอีก
ท้ังเมื่อนํามาเผาไฟกล่ินควันไฟของกระบอกไมไผจะทําใหขาวดานในกระบอกไมไผหอมนารับประทานมากข้ึน
อีกดวย ซึ่งในปจจุบันขาวหลามท่ีวามานี้ก็ยังคงใชกระบอกไมไผเปนบรรจุภัณฑในการทําขาวหลามอยู และที่
สําคัญยังไดรับความนิยมเปนอยางมากอีกดวย การใชกระบอกไมไผมาทําเปนบรรจุภัณฑนั้น สามารถชวยลด
ปริมาณของการใชบรรจุภณั ฑท ีท่ ํามาจากวสั ดุอนื่ ๆท่ีเปน ภยั ตอ ธรรมชาตไิ ดอีกดวย และท่ีสําคัญยังเปนสวนหนึ่ง
ในการชว ยลดโลกรอนไดเปน อยางดีเลยทีเดียว
การเกบ็ รกั ษาขาวหลามนกออกเพ่ือบริโภคและเพื่อจําหนาย
การเก็บรักษาขาวหลามเพื่อยืดอายุขาวหลามในการรับประทานและการจําหนายใหไดนาน มีวิธีการ
งายๆคือ ลางขาวเหนียวใหสะอาดจนนํ้าใสเห็นขาวเหนียว จากน้ันสามารถนําไปปรุงตามข้ันตอนการทําขาว
หลาม วธิ กี ารน้จี ะทําใหขาวหลาม อยูไดนานขึ้นประมาณ 2 –3 วัน ไมบูดงาย ไมเปนยางยืด ขาวเหนียวเม็ดไม
รวน รสชาติยงั อรอ ยเหมอื นเดิมหรือเก็บไวในชองแชแ ขง็ เมอื่ จะรับประทานใหนาํ ขาวหลามมาอุน
26
ใบงานท่ี 2
เร่อื ง การทําขา วหลามนกออก
คําชีแ้ จง : ผเู รยี นตอบคําถามใหถ ูกตอง
1. อธิบายการเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ และวัตถดุ ิบสาํ หรบั การทําขา วหลามนกออก
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. บอกสวนผสมในการทําขาวหลามนกออก
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. อธิบายวธิ กี ารข้ันตอนการทําขา วหลามนกออก
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. อธิบายการเผาขาวหลามนกออก
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. อธบิ ายวธิ ีการเก็บรักษาขาวหลามนกออกเพอ่ื บรโิ ภคและเพ่ือจําหนา ย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
27
บทท่ี 3 การบริหารจดั การอาชีพจําหนา ยขา วหลามนกออก (จํานวน 10 ช่ัวโมง)
จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. ระบุชอ งทางการจัดจาํ หนายขาวหลามนกออกได
2. กาํ หนดราคาจาํ หนายขาวหลามนกออกได
3. ทําบญั ชี รายรับ - รายจายได
4. บอกคุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพจําหนา ยขาวหลามนกออกได
เนื้อหา
1. ชองทางการจัดจําหนา ยขาวหลามนกออก
2. การกําหนดราคาจาํ หนายขา วหลามนกออก
3. การทาํ บญั ชีรายรบั รายจาย
4. คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพจาํ หนา ยขาวหลามนกออก
เวลา 10 ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนรู
1. ผูสอนพูดคุยกับผูเรียนเกี่ยวกับเร่ืองชองทางการประกอบอาชีพ แลวเชื่อมโยงถึงการ
บริหารการจัดการอาชีพการจาํ หนายขาวหลามนกออกทปี่ ระสบความสําเร็จ
2. ผูสอนระดมความคิดผูเรียนเก่ียวกับเร่ืองชองทางการจัดจําหนายและการกําหนดราคา
จาํ หนา ยขาวหลามนกออก
3. ผเู รยี นศึกษาเพ่ิมเตมิ จากใบความรูที่ 4.1 เรื่องชองทางการจดั จาํ หนา ยและการกําหนด
ราคาจาํ หนา ยขา วหลามนกออก
4. ผูส อนบรรยายพรอ มสาธติ การทาํ บญั ชรี ายรับ-รายจา ย และใหผูเ รียนฝกปฏิบัติการทํา
บญั ชีรายรบั -รายจา ยของตวั เองและศกึ ษาเพม่ิ เติมจากใบความรทู ่ี 4.2 เร่อื งการทาํ บัญชีรายรับ-รายจา ย
5. ผูสอนระดมความคิดผูเรียนเก่ียวกับเรื่อง คุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ
จําหนายขาวหลามนกออกและศึกษาเพ่ิมเติมจากใบความรูท่ี 4.3 เรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการประกอบ
อาชีพจาํ หนา ยขา วหลามนกออก
6. ผูเ รยี นทําใบงานตอ ไปนี้
6.1 ใบงานที่ 4.1 เร่ือง ชอ งทางการจดั จําหนา ยและการกาํ หนดราคาจาํ หนา ย
ขาวหลามนกออก
6.2 ใบงานท่ี 4.2 เร่ือง การทําบญั ชรี ายรบั -รายจาย
6.3 ใบงานที่ 4.3 เรอ่ื ง คุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพจาํ หนายขาวหลาม
นกออก
7. ผสู อนตรวจใบงานท่ี 4.1-4.3แลว เฉลยรว มกับผเู รยี น โดยมกี ารถามตอบกบั ผเู รยี นตามขอ
คาํ ถามในใบงานท่ี 4.1-4.3
8. ผูสอนสรุปบทเรียนรว มกบั ผเู รียน
28
ส่อื การเรียนรู
1. ใบความรตู อไปน้ี
- ใบความรูที่ 4.1 เรือ่ ง การบรหิ ารจดั การอาชีพการจาํ หนา ยขาวหลามนกออก
- ใบความรูที่ 4.2 เรอื่ ง การทําบญั ชรี ายรบั -รายจาย
- ใบความรูท่ี 4.3 เร่อื ง คุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพจาํ หนา ย
ขา วหลามนกออก
2. ใบงานตอ ไปนี้
- ใบงานที่ 4.1 เร่ือง ชอ งทางการจัดจําหนายและการกาํ หนดราคาจาํ หนาย
ขา วหลามนกออก
- ใบงานที่ 4.2 เร่อื ง การทาํ บัญชีรายรบั -รายจา ย
- ใบงานที่ 4.3 เร่ือง คณุ ธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชพี จาํ หนา ย
ขา วหลามนกออก
3. ภูมปิ ญญา หมบู านบโุ กรก ต.นกออก อ.ปก ธงชัย จ.นครราชสมี า
4. แหลงเรยี นรู ต.นกออกอ.ปก ธงชัย จ.นครราชสีมา
การประเมนิ ผล
1. ประเมนิ จากการทําใบงานที่ 4.1-4.3
2. สังเกตพฤติกรรมผเู รียนขณะท่รี ว มกจิ กรรมการเรยี นรู
3. ผลการฝกปฏบิ ตั ิการกําหนดราคาจาํ หนายและการทําบญั ชรี ายรับ-รายจาย
29
ใบความรูท่ี 4.1
เรอ่ื ง ชองทางการจดั จําหนายและการกาํ หนดราคาจาํ หนายขาวหลามนกออก
1. ชอ งทางการจดั จําหนายขาวหลามนกออก
การจดั จําหนายขา วหลามนกออก สามารถจัดจาํ หนายไดหลายชอ งทาง ไดแก
1. การจําหนายทางหนาราน เปนชองทางการจําหนายท่ีสามารถเขาถึงลูกคาทุกระดับ
ซึง่ ตองคํานงึ ถึงปจ จัยตอ ไปนี้
1.1 ทําเลที่ต้ัง ตองอยูยานชุมชน มีที่จอดรถการคมนาคมสะดวก สถานท่ีรมร่ืนถา
เปน ไปไดใ หม พี ื้นทข่ี องรา นกวา งพอสมควรในการทํางาน
1.2 การตกแตงราน ตองตกแตงรานใหสวยงาม สะอาด ทันสมัย มองแลวสะดุดตา
มตี วั อยางแบบจําลอง รูปภาพ ไวด ึงดูดความสนใจของลูกคา
2. การจัดจําหนายผานสื่ออินเตอรเน็ต การจัดจําหนายผานทางอินเตอรเน็ต ควรใหขอมูล
แกล ูกคาดังนี้
2.1 รปู แบบของผลผลติ ตอ งมรี ปู ภาพของผลผลิตไวใหล ูกคา เลือกหลากหลาย พรอม
ระบุราคาและอัตราคา บรกิ าร
2.2 วิธกี ารสั่งสนิ คา การสงั่ สนิ คาผา นอินเตอรเน็ตนั้น ควรมีขอมูลของลูกคาที่ชัดเจน
เชน ชื่อ ที่อยู เบอรโทรศัพทของลูกคา สถานท่ีติดตอ วันเวลาที่นัดหมายรับสินคา ราคาสินคา การชําระเงิน
การวางมดั จาํ การสง สินคา ตลอดจนระยะเวลาในการทํางาน
3. การสรางพันธกิจกับรานท่ีเก่ียวของกับการนําผลผลิตไปใช เพ่ือเปนชองทางในการจัด
จําหนา ย เชน รานคา รา นขายของชาํ รา นอาหารฯลฯ
4. การจัดจําหนายผานตัวแทน เพ่ือเปนชองทางในการกระจายผลผลิตสูผูบริโภคอยาง
ทั่วถงึ
5. การจัดจําหนายขายตรง เปนชองทางการจดั จําหนายทไ่ี มผ านตวั แทน ดวยการขายตรง
ในตลาดสด หรือแหลง ชมุ ชนหรืองานเทศกาลตาง ๆ
2. การกําหนดราคาจําหนา ยขาวหลามนกออก
การกําหนดราคาจําหนายผลผลิต ตองกําหนดใหคุมทุนเมื่อหักคาใชจายแลวเหลือคือกําไร ทั้งนี้ตอง
คํานึงถึงราคาของคูแขง และความพึงพอใจของลูกคาหรือผูซื้อประกอบกันดวยการกําหนดราคาจําหนาย
ผลผลิตโดยท่วั ไปแลว จะมสี มการ ดงั นี้
ราคาขาย = ต้นทนุ การผลิต + กาํ ไรที่ต้องการ
30
3. การหาตน ทุน
ตนทุนเปนสวนที่ผูประกอบอาชีพ ลงทุนไปเปนคาใชจายในการผลิตสินคา หรือเพ่ือดําเนิน
กิจการ ต้ังแตเ ร่มิ ตน จนสามารถจาํ หนายได ตนทนุ ในการประกอบอาชีพประกอบดวย
1. คา วตั ถดุ บิ ไดแก ขา วสารเหนยี ว นํา้ ตาลทรายเกลือ ถวั่ ดาํ กะทิ
2. คาอุปกรณ ไดแ ก มดี ปลอกขา วหลาม ราวเหลก็ ชอน หมอ ใบตอง ฟน
ไมไผออ นสําหรบั บรรจุขาวหลาม ฯลฯ
3. คาแรงงาน กรณีที่มีการจางแรงงานชวยในการผลิตขาวหลาม การจางแรงงานควรมีการ
ตกลงกันเร่ืองคาแรงกอนวาจะจายเปนรายวัน รายเดือน เปนรายเดือนแบบหักเงินกรณีไมมาทํางานเปนวัน
หรือตามช้ินงาน และการจายคาแรงงานตามกฎหมายกําหนดจะเปนสิ่งบงบอกถึงความมีจริยธรรมของ
ผปู ระกอบการอยา งหนึ่งแลว ยังสรา งความรูสึกเปน เจาของใหก ับแรงงานเหลา นน้ั ซึ่งจะสง ผลตอการผลติ ขาวหลาม
4. คา เชา สถานที่ กรณีทตี่ อ งเชา สถานที่ ควรพิจารณาสญั ญาเชา ใหรอบคอบ เพอื่ จะได
ไมเ กิดความเสยี หายภายหลัง
5. คาสาธารณูปโภค เชน คานํ้า คาไฟฟา คาโทรศัพท ซึ่งเปนส่ิงที่ผูประกอบอาชีพ
หลายคนมองขา ม แตใ นทางธุรกิจจะนํามาคิดเปน ตน ทนุ ดว ยแตไมใ ชท้ังหมด คิดเปนบางสวนที่จําเปนตองใชกับ
งานนั้น ๆ เทานั้น เชน คาไฟฟา คาน้ํา ท่ีตองใชในการผลิตสินคา เหลานี้อาจตองนํามาคิดตนทุนบางเปน
บางสว น เพือ่ ใหก จิ การอยรู อด
31
ใบงานท่ี 4.1
เรื่อง ชองทางการจัดจําหนายและการกําหนดราคาจําหนายขาวหลามนกออก
คาํ ช้ีแจง : ผูเรียนตอบคําถามตอ ไปน้ี
1. บอกชอ งทางการจดั จําหนา ยขา วหลามนกออก มาพอสงั เขป
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. บอกการกาํ หนดราคาและการหาตน ทุนการผลิต
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
32
ใบความรทู ี่ 4.2
เร่อื ง การทาํ บัญชรี ายรับ-รายจาย
การทําบญั ชรี ายรับ-รายจา ย
ในการประกอบอาชีพ การจัดทําบันทึกรายรับ - รายจาย เปนส่ิงสําคัญซึ่งจะทําใหเราทราบตนทุน
กําไร สถานะทางการเงิน การจดั ทําบัญชีรายรับ - รายจา ย มีประโยชนดังน้ี
1. ทําใหร ูรายรับ-รายจา ยในชว งเวลาหนึง่ 2. ทําใหส ามารถวางแผนการใชจ ายเงนิ ได
3. ชว ยเตือนความจํา 4. เปนขอมลู ในการตัดสินใจ
5. ทาํ ใหท ราบสถานะทางการการเงิน
การจัดทําบัญชีรายรับ-รายจาย สามารถจัดทําไดอยางงาย โดยการบันทึกรายการรับในชองรับ
และบันทึกรายการจายในชองจาย การบันทึกรายการคงเหลือเปนการบันทึกโดยการบันทึกรายการจาย
หักดว ยรายการรับ
สว นประกอบของการทาํ บญั ชรี ายรับ-รายจา ย
วัน เดอื น ป รายการ รายรบั รายจา ย คงเหลือ
รายละเอียดการบนั ทกึ บัญชีรายรบั -รายจายเปน ดังน้ี
1. รายละเอยี ดเกย่ี วกับรายรับ
1.1 วนั เดอื นป หมายถึง วนั เดือนปทร่ี บั รายได
1.2 รายการ หมายถงึ รายรับที่ไดม าจากใคร
1.3 รายรบั หมายถงึ จํานวนเงนิ ทีไ่ ดรบั มาซึง่ มหี นว ยเปน บาท
2. รายละเอียดเกี่ยวกับรายจาย
2.1 วนั เดอื นป หมายถงึ วนั เดอื นปท จี่ า ยเงินออกจากรา น
2.2 รายการ หมายถึง รายจาย เพื่อใหไดมาซึ่งสินคา หรือวัตถุดิบ เชน คาวัตถุดิบ
ไดแก ขาวสารเหนียว น้ําตาลทรายเกลือ ถั่วดํา กะทิ/ คาอุปกรณ ไดแก มีดปลอกขาวหลาม ราวเหล็ก ชอน
หมอ ใบตอง ฟน ไมไ ผอ อ นสาํ หรับบรรจุขา วหลาม ฯลฯ
2.3 รายจาย หมายถงึ ราคาสงิ่ ของที่ซ้ือหรอื จาํ นวนเงินที่จายไปมหี นว ยเปนบาท
3. จาํ นวนเงนิ คงเหลอื
เงินคงเหลือ หมายถึง จํานวนเงินที่เหลือจากการใชจาย โดยนํารายจายมาหัก
กับรายรบั ทไ่ี ด มีหนว ยเปนบาท
33
ตวั อยา งการบนั ทกึ บญั ชีรายรบั รายจา ยของนางเย็น สบายดี
ประจาํ เดอื นกรกฎาคม 2559
**********************
วันท่ี 1 กรกฎาคม 2559
ยอดคงเหลือยกมา เปนเงิน 5,000 บาท
ซ้ือขาวเหนยี ว 10 กก. ๆ ละ 30 บาท เปน เงนิ 300 บาท
ซอ้ื กะทิ 5 กก. ๆ ละ 50 บาท เปนเงนิ 250 บาท
ซื้อนํ้าตาล 3 กก. ๆ ละ 25 บาท เปน เงนิ 75 บาท
ซอ้ื เกลือ 1 กก. ๆ ละ 10 บาท เปน เงนิ 10 บาท
ซื้อถวั่ ดํา 2 กก. ๆ ละ 55 บาท เปนเงิน 110 บาท
ซ้ือไมไผ 10 ลาํ ๆ ละ 80 บาท เปน เงิน 800 บาท
ซ้อื ใบตอง 1 กก. ๆ ละ 15 บาท เปน เงนิ 15 บาท
วันที่ 2 กรกฎาคม 2559
รบั เงนิ ขายขา วหลามกระบอกใหญ กระบอกละ 50 บาท ขายได 20 กระบอก เปนเงิน 1,000 บาท
รบั เงนิ ขายขาวหลามกระบอกเลก็ กระบอกละ 30 บาท ขายได 30 กระบอก เปนเงิน 900 บาท
วนั ที่ 3 กรกฎาคม 2559
รบั เงนิ ขายขา วหลามกระบอกใหญ กระบอกละ 50 บาท ขายได 10 กระบอก เปนเงิน 500 บาท
รบั เงนิ ขายขาวหลามกระบอกเลก็ กระบอกละ 30 บาท ขายได 20 กระบอก เปน เงิน 600 บาท
วันที่ 4 กรกฎาคม 2559
ซ้ือขา วเหนียว 10 ก.ก ๆ ละ 30บาท เปน เงนิ 300 บาท
ซื้อกะทิ 5 ก.ก ๆ ละ 50บาท เปนเงนิ 250 บาท
ซอื้ น้าํ ตาล 3 ก.ก ๆ ละ 25บาท เปนเงิน 75 บาท
ซ้ือเกลือ 1 ก.ก ๆ ละ 10บาท เปนเงิน 10 บาท
ซื้อถ่ัวดาํ 2 ก.ก ๆ ละ 55บาท เปนเงนิ 110 บาท
ซ้อื ไมไผ 10 ลาํ ๆ ละ 80 บาท เปนเงนิ 800 บาท
ซือ้ ใบตอง 1 ก.ก ๆ ละ 15 บาท เปน เงิน 15 บาท
วนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2559
รับเงนิ ขายขาวหลามกระบอกใหญ กระบอกละ 50 บาท ขายได 20 กระบอก เปนเงิน 1,000 บาท
รับเงินขายขาวหลามกระบอกเลก็ กระบอกละ 30 บาท ขายได 30 กระบอก เปนเงิน 900 บาท
วันที่ 6 กรกฎาคม 2559
รับเงนิ ขายขา วหลามกระบอกใหญ กระบอกละ 50 บาท ขายได 10 กระบอก เปนเงนิ 500 บาท
รบั เงนิ ขายขาวหลามกระบอกเลก็ กระบอกละ 30 บาท ขายได 20 กระบอก เปนเงิน 600 บาท
34
จากรายการขางตนสามารถนาํ รายการตา ง ๆ มาบันทึกบัญชีรายรบั – รายจา ย ไดดังนี้
บัญชีรายรบั รายจายของนางเย็น สบายดี ประจําเดือน กรกฎาคม 2559 คงเหลอื
รายรบั รายจาย (บาท)
วัน เดือน ป รายการ (บาท) (บาท) 5,000.-
4,700.-
1 ก.ค. 59 ยอดยกมา 300.- 4,450.-
ซอ้ื ขา วเหนยี ว 10 ก.ก ๆ ละ 30 บาท 250.- 4,375.-
2 ก.ค. 59 ซอื้ กะทิ 5 ก.ก ๆ ละ 50 บาท 75.- 4,365.-
3 ก.ค. 59 ซอ้ื นาํ้ ตาล 3 ก.ก ๆ ละ 25 บาท 10.- 4,255.-
4 ก.ค. 59 ซื้อเกลือ 1 ก.ก ๆ ละ 10 บาท 110.- 3,455.-
ซื้อถั่วดาํ 2 ก.ก ๆ ละ 55 บาท 800.- 3,440.-
ซอ้ื ไมไ ผ 10 ลํา ๆ ละ 80 บาท 15.- 3,440.-
ซอ้ื ใบตอง 1 ก.ก ๆ ละ 15 บาท 1,560.- 4,440.-
รวมเงนิ 300.- 5,340.-
รับคา ขายขาวหลามกระบอกใหญ 1,000.- 250.- 5,840.-
กระบอกละ 50 บาท ขายได 20 กระบอก 900.- 75.- 6,440.-
รบั คาขายขาวหลามกระบอกเลก็ 500.- 10.- 6,440.-
กระบอกละ 30 บาท ขายได 30 กระบอก 600.- 110.- 6,140.-
รับคา ขายขาวหลามกระบอกใหญ 3,000.- 800.- 5,890.-
กระบอกละ 50 บาท ขายได 10 กระบอก 15.- 5,815.-
รับคา ขายขาวหลามกระบอกเล็ก 1,560.- 5,805.-
กระบอกละ 30 บาท ขายได 20 กระบอก 5,695.-
รวมเงนิ 4,895.-
ซ้ือขาวเหนียว 10 กก. ๆ ละ 30 บาท 4,880.-
ซอื้ กะทิ 5 กก. ๆ ละ 50 บาท 4,880.-
ซื้อน้ําตาล 3 กก. ๆ ละ 25 บาท
ซ้อื เกลือ 1 กก. ๆ ละ 10 บาท
ซอ้ื ถ่วั ดาํ 2 กก. ๆ ละ 55 บาท
ซ้อื ไมไ ผ 10 ลํา ๆ ละ 80 บาท
ซอ้ื ใบตอง 1 กก. ๆ ละ 15 บาท
รวมเงิน
35
วนั เดือน ป รายการ รายรบั รายจา ย คงเหลือ
(บาท) (บาท) (บาท)
5 ก.ค. 59 รบั คาขายขาวหลามกระบอกใหญ 5,880.-
6 ก.ค. 59 กระบอกละ 50 บาท ขายได 20 กระบอก 1,000.-
รบั คาขายขาวหลามกระบอกเลก็
กระบอกละ 30 บาท ขายได 30 กระบอก 900.- 6,780.-
รับคาขายขาวหลามกระบอกใหญ
กระบอกละ 50 บาท ขายได 10 กระบอก 500.- 7,280.-
รับคา ขายขาวหลามกระบอกเลก็
กระบอกละ 30 บาท ขายได 20 กระบอก 600.- 7,880.-
รวมเงิน 3,000.- 3,120.- 7,880.-
รวมทงั้ สิ้น 6,000.- 3,120.- 7,880.-
สรุปการบนั ทกึ บัญชรี ายรบั -รายจา ย ณ วันท่ี 6 กรกฎาคม 2559 ไดด ังน้ี
1. รายรับรวมทงั้ ส้นิ 6,000 บาท
2. รายจา ยรวมทั้งสิ้น 3,120 บาท
3. ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559 มีเงนิ คงเหลอื เทา กบั 7,880บาท
(ยอดยกมา + รายรบั รวม) – รายจา ยรวม = เงินคงเหลอื
(5,000+ 6,000) –3,120 = 7,880 บาท
36
ผูเรยี นนําขอ มูลตอไปนี้ บันทึกบัญชีรายรบั – รายจา ยลงในตารางขางลา งใหถูกตอง
วันที่ 5 สงิ หาคม 2559 ถอนเงินฝากจากธนาคาร จํานวน 10,000 บาท
จา ยคา ซ้อื ไมไผ 50 ลาํ เปน เงนิ 4,000 บาท
จา ยคาซอ้ื ถวั่ ดํา 10 กก. เปนเงิน 550 บาท
จายคาซอื้ มะพราว 100 ลกู เปนเงนิ 2,000 บาท
จายคา ซ้ือน้ําตาล 15 กก. เปนเงนิ 375 บาท
จา ยคาซอื้ เกลือ 5 กก. เปน เงิน 50 บาท
จา ยคา ซอ้ื ขา วเหนียว 50 กก. เปน เงนิ 1,500 บาท
จา ยคาซอ้ื ใบตอง 5 กก. เปนเงนิ 75 บาท
วนั ท่ี 6 สิงหาคม 2559 ขายขาวหลามนกออก ไดเงนิ 12,000 บาท
วนั ท่ี 7 สิงหาคม 2559 ขายขาวหลามนกออก ไดเ งนิ 4,560 บาท
วัน เดือน ป รายการ รายรบั รายจาย คงเหลือ
(บาท) (บาท) (บาท)
37
ใบงานท่ี 4.3
เรอ่ื ง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการประกอบอาชีพจําหนา ยขา วหลามนกออก
ความหมายของคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรมในการประกอบอาชพี หมายถงึ การกระทาํ ที่เปนประโยชนต อการประกอบอาชีพซ่ึงกอใหเกิด
ผลผลติ และรายไดโดยไมเบียดเบียน หรือ ทําใหผูอ่ืน เดือดรอน และเปนท่ียอมรับของสังคม ผูประกอบอาชีพ
ทุกคนตองมีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ เพ่ือธํารงศักดิ์ศรีของมนุษยเกิดความภาคภูมิใจในตนเองชวย
เสรมิ สรา งบคุ ลิกที่ดี สรางความสาํ เร็จมนั่ คงและปลอดภัยในการประกอบอาชพี
คุณธรรมพนื้ ฐานในการประกอบอาชีพทุกคนควรมี ไดแ ก
1. ความซ่อื สัตย
2. ความขยนั อดทน
3. ความยุตธิ รรม
4. ความรับผดิ ชอบ
จรยิ ธรรม คือ คุณความดที ี่ใชเปน ขอปฏบิ ตั ใิ นการประพฤติที่ดีทช่ี อบ โดยมีพ้นื ฐานมาจากกฎหมาย
หรือศลี หรือจากประเพณีวัฒนธรรมของคนในแตล ะสังคม
คณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชพี
ผปู ระกอบอาชีพโดยทว่ั ไปไมว า จะเปนผูผ ลิตหรือเปนผจู ําหนายก็ตาม จําเปนตองมีคุณธรรม จริยธรรม
ทีดี ในการประกอบอาชพี ดงั ตอ ไปน้ี
1. มีความรูค วามสามารถ โดยรอบรูในส่งิ ท่ดี าํ เนนิ การอยใู นขณะนัน้ หรอื จะดําเนนิ การใน
อนาคต
2. มคี วามรับผิดชอบในการประกอบอาชีพ นอกจากน้ี ยงั รวมถึงความรับผดิ ชอบตอ บุคคล
หรือส่งิ ท่ีเกีย่ วขอ ง ไดแก ลูกจาง พนกั งาน สงั คม ประเทศชาติ
3. มคี วามซอ่ื สตั ยส จุ รติ ตอการประกอบอาชีพ ตลอดจนสังคมสวนรวม
4. มีความคิดริเรม่ิ สรา งสรรคแ ละใฝรูเพ่อื จะไดนาํ ขอ มูลและวทิ ยาการตาง ๆ มาชวยในการ
ประกอบอาชีพใหเกดิ ประสิทธภิ าพดยี ิ่งขนึ้
5. มคี วามตรงตอ เวลาในการประกอบอาชีพ
6. มีความตงั้ ใจและเสยี สละในการประกอบอาชพี
7. มีมนษุ ยสัมพันธท ี่ดีและเปนกนั เองกบั ลกู คา
8. มีลักษณะของความเปน ผนู าํ กลา คิด กลาตดั สินใจและทํางานดว ยความรอบคอบ
9. มคี วามยุตธิ รรมตอ ลูกคา ในดานของคุณภาพ ปรมิ าณ และการตั้งราคาขายสนิ คา
10. มมี นุษยธรรม ผูป ระกอบการตองไมเอาเปรยี บลูกจา ง ไมใชงานลูกจา งอยา งไรความ
เมตตา
38
ใบงานท่ี 4.3
เรอ่ื ง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการประกอบอาชีพจําหนา ยขาวหลามนกออก
1. บอกความหมายของคุณธรรม จริยธรรม
คณุ ธรรม หมายถงึ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
จริยธรรม หมายถึง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. บอกคุณธรรมพน้ื ฐานในการประกอบอาชพี ทุกคนควรมี
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. บอกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชพี โดยทั่วไป
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ตอนท่ี 4
การนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล
41
ตอนท่ี4การนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล
การนเิ ทศ ตดิ ตาม
เป็นกจิ กรรมทีส่ ำคัญในกำรส่งเสริม สนับสนนุ ช่วยเหลือ แนะนำ พัฒนำ ปรบั ปรงุ ประสิทธิภำพกำรจัด
กิจกรรมกำรศึกษำต่อเน่ือง ตลอดจนกำรแก้ไขปัญหำกำรดำเนินกิจกรรมกำรศึกษำของสถำนศึกษำให้ดขี ้ึน เป็น
กำรเพม่ิ พลังกำรปฏบิ ัตงิ ำนให้แก่ผู้ปฏบิ ัติงำน เพ่ือใหง้ ำนต่ำง ๆ สำมำรถดำเนนิ กำรไดส้ ำเร็จลุลว่ งตำมเป้ำหมำย
อย่ำงมีคุณภำพ และส่งผลต่อคุณภำพผู้เรียน ดังนั้น ผู้บริหำรจึงควรจัดให้มีกำรนิเทศ ติดตำมและรำยงำนผล
อย่ำงเป็นระบบ และต่อเน่ืองกำรนิเทศ ติดตำมผล กำรจัดกำรศึกษำต่อเนื่อง เป็นกระบวนกำรทำงำนร่วมกัน
ของบุคลำกรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ต้ังแต่ผู้กำหนดนโยบำย ผู้บริหำร ผู้ปฏิบัติงำน ผู้สอน ภำคีเครือข่ำย และชุมชน
นับเป็นเครื่องมือสำคัญของผู้บริหำรท่ีจะสร้ำงควำมมั่นใจได้ว่ำ กำรปฏิบัติขององค์กรไปในทิศทำงท่ีถูกต้อง
สำมำรถสร้ำงผลงำนที่สอดคล้องตำมจุดมงุ่ หมำยท่ีวำงไว้หรือไม่ ซึ่งจะสำมำรถปรบั เปลย่ี นกลยุทธ์ให้สอดรับกับ
สถำนกำรณท์ ี่เปล่ียนแปลงไป
ผู้ทำหนำ้ ที่นิเทศติดตำมผล ประกอบดว้ ย
1. ผบู้ รหิ ำร
2. ศกึ ษำนิเทศก์
3. ผู้ทำหนำ้ ทีน่ เิ ทศท่ีได้รับมอบหมำย
กระบวนการนิเทศติดตามผลการจัดการศกึ ษาต่อเนือ่ ง
กระบวนกำรนิเทศติดตำมผลกำรจัดกำรศึกษำต่อเนื่อง ดำเนินกำรเป็นระบบกำรบริหำรงำนตำมวงจร
PDCA หรือวงจรเดมม่ิง ของ Edward Deming ประกอบด้วย ข้ันตอนกำรวำงแผน (Plan) กำรปฏิบัตติ ำมแผน
(Do) กำรตรวจสอบหรือกำรประเมิน(Check) และนำผลกำรประเมินย้อนกลับไปปรับปรุงแก้ไข (Act)
รำยละเอียด ดังนี้
ขน้ั ตอนการวางแผนนิเทศติดตามผล (P)เป็นกำรเตรียมกำรและวำงแผน ดังน้ี
1. สร้ำงควำมเข้ำใจ ควำมไว้วำงใจ และควำมตระหนักร่วมกัน เป็นขั้นตอนกำรดำเนินงำนอย่ำง
กัลยำณมิตร เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจ หลักกำร และสร้ำงศรัทธำและควำมสัมพันธ์ โดยอำจดำเนินกำรในลักษณะ
ประชุมช้ีแจงผเู้ ก่ยี วข้องทง้ั หมดเปิดโอกำสใหม้ ีกำรอภปิ รำยซกั ถำม แสดงควำมคิดเหน็ อย่ำงเสรี โดยวิธกี ำรจงู ใจ
มำกกวำ่ กำรบังคบั
2. กำหนดมำตรฐำนกำรจัดกำรศึกษำต่อเนื่องร่วมกัน เพ่ือกำหนดเป็นจุดมุ่งหมำยกำรดำเนินงำน และ
กำรพฒั นำสมู่ ำตรฐำนกำรจัดกำรศกึ ษำ
3. กำรวำงแผนกำรนิเทศติดตำม ผู้นิเทศติดตำมและผู้ปฏิบัติงำนควรร่วมกันวำงแผนและกำหนด
ข้นั ตอนกำรปฏิบตั กิ ำรนิเทศตดิ ตำม
4. สร้ำงเคร่ืองมือนิเทศติดตำม โดยจัดทำให้มีลักษณะท่ีใช้ได้สะดวก สำมำรถเก็บข้อมูลที่ต้องกำรได้
เที่ยงตรงมำกท่ีสุด และมีคุณภำพได้มำตรฐำนเป็นท่ีเชื่อถือได้ เพื่อให้ผู้นิเทศติดตำมใช้นิเทศครู กศน./
สถำนศึกษำ ในกำรจัดกจิ กรรมกำรศกึ ษำตอ่ เน่อื ง (แบบ กน.20)
42
5.จัดปฏิทินปฏิบัติกำรนิเทศติดตำม เพ่ือให้กำรนิเทศติดตำมเกิดประสิทธิภำพ ผู้นิเทศติดตำมควร
จัดทำปฏิทินปฏิบัติกำรนิเทศติดตำมให้สอดคล้องเหมำะสมกับกำรจัดกิจกรรมในพื้นท่ี และปฏิบัติกำรนิเทศ
ติดตำมตำมแผนที่กำหนดไว้ ในกรณีที่มีบุคลำกรไม่เพียงพอ อำจให้เครือข่ำยในพื้นท่ีช่วยนิเทศติดตำม และ
รวบรวมขอ้ มูลนิเทศตดิ ตำม เพอ่ื นำมำปรึกษำหำรอื รว่ มกันในกำรประชมุ ประจำเดือน
ข้นั ตอนการดาเนนิ การนเิ ทศติดตาม (D)
กำรดำเนินกำรนิเทศติดตำม เป็นกำรปฏิบัติกำรนิเทศติดตำมตำมแผนที่กำหนดไว้ ที่ต้องเก่ียวข้องกับ
บุคลำกรหลำยฝ่ำย เพ่ือชี้แนะ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ ให้กำรดำเนินงำนประสบผลสำเร็จตำม
วตั ถุประสงค์อย่ำงมีคณุ ภำพและประสิทธิภำพ ดังนน้ั กำรนิเทศติดตำมควรยดึ หลักประชำธิปไตยในกำรทำงำน
ใหค้ วำมสำคัญและให้กำรยอมรบั ควำมคิดเห็นซงึ่ กันและกัน โดยดำเนินกำรอย่ำงเป็นระบบและยึดกระบวนกำร
ทำงวิทยำศำสตร์ในกำรแก้ปัญหำ ซ่ึงผู้นิเทศติดตำมจะต้องเตรียมตัวเองให้พร้อมท้ังด้ำนควำมรู้ในเร่ืองท่ีจะนิเทศ
อุปกรณ์ หรือเครื่องมือกำรนิเทศติดตำมเพื่อรวบรวมข้อมูลจำกกำรนิเทศติดตำมนำมำปรับปรุง วำงแผนกำร
นเิ ทศตดิ ตำมในครง้ั ต่อไปเม่ือส้ินสดุ กำรปฏบิ ตั ิงำนนเิ ทศตดิ ตำมแตล่ ะครง้ั ผู้นเิ ทศตดิ ตำมตอ้ งปฏบิ ัติ ดงั นี้
1. กำรบนั ทึกกำรนิเทศติดตำม ผ้นู เิ ทศควรจดบันทึกผลกำรนเิ ทศตดิ ตำมทกุ ครั้ง เพ่ือเป็นหลกั ฐำนหรอื
สัญญำร่วมกันระหว่ำงผู้นิเทศติดตำม และผู้ปฏิบัติงำนว่ำมีส่ิงใดท่ียังต้องปรับปรุงพัฒนำให้ได้ตำมข้อกำหนดท่ี
ต้องกำร
2. กำรสรุปผลกำรนิเทศติดตำม เมื่อเสร็จสิ้นกำรนิเทศติดตำมแต่ละคร้ัง ผู้นิเทศติดตำมจำเป็นต้อง
จัดทำรำยงำนผลกำรนิเทศติดตำมให้ผู้บริหำรได้รับทรำบ เพ่ือกำรวินิจฉัยสั่งกำรและทำรำยงำนเก็บเข้ำแฟ้ม
และนำไปประกอบกำรรำยงำนผลกำรนิเทศติดตำม กำรรำยงำนผลกำรนิเทศติดตำมอำจใช้กำรรำยงำนที่เป็น
รปู แบบเดยี วกันทส่ี ถำนศึกษำกำหนด ซ่งึ ประกอบด้วยประเด็นท่สี ำคัญ อำทิ
-วตั ถปุ ระสงค์
-กิจกรรมกำรนเิ ทศติดตำม
- เนอ้ื หำสำระของกำรนเิ ทศติดตำม ซึ่งได้แก่ สภำพกำรดำเนินกำร สภำพปญั หำ อปุ สรรคทีเ่ กดิ ขึน้ เปน็ ตน้
- ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
- กำรนำเสนอแนวทำง/ยุทธศำสตร์ทีจ่ ะนำไปสู่กำรเปล่ียนแปลงหรอื กำรพฒั นำ
- ผลผลิตและผลลัพธท์ ่เี กิดขึน้ ก่อนและหลังกำรพัฒนำ
- กำรวินิจฉัยสั่งกำรของผบู้ รหิ ำร เพือ่ กำรแก้ปัญหำหรอื พฒั นำกิจกรรม
3. กำรพัฒนำกิจกรรม ผู้นิเทศติดตำมนำผลจำกกำรนิเทศตดิ ตำมเข้ำท่ีประชมุ ตำมระยะเวลำท่ีกำหนด
เพ่ือพิจำรณำแนวทำงรว่ มกันในกำรแกไ้ ขปญั หำที่เกดิ ขึ้นจำกกำรนิเทศติดตำมตลอดจนพิจำรณำทำงเลอื กใน
ข้นั ตอนการประเมนิ ผลการนิเทศตดิ ตาม (C)
กำรประเมินผลกำรนิเทศติดตำม เป็นขั้นตอนที่มีควำมสำคัญยิ่งในกำรควบคุมและพัฒนำคุณภำพกำร
จัดกำรศึกษำ ควรสร้ำงข้อตกลงร่วมกันในกำรกำหนดเกณฑ์กำรประเมินผล ซึ่งกำรประเมินผลควรจะประเมิน
43
ระหว่ำงกำรดำเนินงำนเป็นระยะ ๆ เพ่ือให้กำรพัฒนำงำนได้บรรลุวัตถุประสงค์และควรประเมินผลเม่ือจบ
หลักสูตร เพื่อดูผลผลิตและผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นว่ำสนองตำมข้อกำหนดเป้ำหมำยและตัวชี้วัดหรือไม่ นับได้ว่ำเป็น
กำรนิเทศเชิงวิจัย ซึ่งจะทำให้ผู้นิเทศและผู้ปฏิบัติงำนมีข้อมูลเพ่ือกำรพัฒนำงำนอย่ำงต่อเนื่อง ทำให้เกิดกำร
ดำเนนิ งำนทมี่ ีประสทิ ธิภำพยงิ่ ขึน้
วิธีการประเมนิ ผล สามารถดาเนนิ การได้ดังน้ี
1. กำรประเมินผลโดยใช้เครื่องมือ ผู้ดำเนินกำรจะรวบรวมข้อมูลโดยใช้เคร่ืองมือต่ำง ๆ กับบุคคลท่ี
เกี่ยวข้อง กำรดำเนินกำรประเมินผลในลักษณะน้ี ควำมสำคัญอยู่ท่ีกำรสร้ำงเครื่องมือที่มีคุณภำพได้มำตรฐำน
สำมำรถรวบรวมข้อมูลให้ตรงกับควำมเป็นจริงมำกที่สุดและเลือกใช้สถิติข้อมูลท่ีเหมำะสม กำรนำเสนอผลกำร
ประเมินอำจนำเสนอด้วย แผนภูมิ กรำฟ หรือเป็นกำรบรรยำย หรือประกอบด้วยท้ังสำมส่วนรวมกัน เพ่ือจะ
ชว่ ยใหผ้ อู้ ำ่ นเขำ้ ใจไดง้ ำ่ ยยิ่งข้ึน
2. กำรประเมินผลด้วยกำรประชุม เป็นกำรประเมนิ ผลท่ีอำศยั บุคลำกรจำนวนมำก เพ่ือพิจำรณำขอ้ มูล
ร่วมกัน อำจดำเนินกำรในลักษณะของกำรประชุมปรึกษำหำรือ หรือสัมมนำเกี่ยวกับสภำพกำรปฏิบัติงำน ซ่ึง
ผู้เข้ำร่วมประชุมต้องมีควำมสำมำรถควบคุมกำรประชุมให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องกำรด้วยบรรยำกำศแห่ง
ควำมเป็นมิตรและไว้วำงใจกันและกัน ซ่ึงอำจนำวิธีกำรประเมินเช่นน้ีในวำระกำรประชุม เป็นกำรประเมินผล
ระหวำ่ งกำรดำเนนิ กำรก่อนมกี ำรประเมนิ ผลเมือ่ จบหลักสูตรกไ็ ด้
การรายงานผลการนเิ ทศติดตามการจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง
กำรรำยงำนผลกำรนิเทศติดตำมหลังจำกประเมินผลกำรนิเทศติดตำมหรือเม่ือจบหลักสูตร ผู้นิเทศ
ติดตำมควรจัดทำรำยงำนผลกำรนิเทศติดตำม เพ่ือให้ผู้เกี่ยวข้องได้เห็นควำมก้ำวหน้ำ ปัญหำ อุปสรรค พร้อม
ท้ังควำมร่วมมอื สนับสนุนในเร่ืองต่ำงๆ ดงั น้ี
1. กศน.อำเภอ/เขต รำยงำนผลกำรนเิ ทศ ตดิ ตำม ต่อสำนักงำน กศน.จงั หวดั /กทม.
2. สำนักงำน กศน.จงั หวัด/กทม. รำยงำนผลกำรนิเทศ ติดตำม ตอ่ สำนักงำน กศน.
3. ศว./ศฝช. รำยงำนผลกำรนิเทศ ตดิ ตำม ต่อสำนกั งำน กศน.
ขน้ั ตอนการปรบั ปรุงและพฒั นา (A)เปน็ ขน้ั ตอนของกำรนำผลกำรประเมินย้อนกลบั มำวเิ ครำะห์สำเหตุ เพ่ือ
หำแนวทำงปรบั ปรุง แก้ไข และพัฒนำกระบวนกำรนเิ ทศและกำรจัดกิจกรรม กศน. ใหม้ ีประสทิ ธิภำพยิ่งข้นึ
44
แผนภูมิแสดงกระบวนการนิเทศติดตามการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง
1.สรำ้ งควำมเขำ้ ใจ ควำมไว้วำงใจ และควำมตระหนกั ร่วมกัน
2. กำหนด/พฒั นำมำตรฐำนคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำตอ่ เนอ่ื งของสถำนศกึ ษำ
P 3. วำงแผนกำรนเิ ทศ
4. สรำ้ งเครื่องมอื
5. จัดทำปฏทิ นิ นเิ ทศติดตำม
D ดำเนนิ กำรนเิ ทศติดตำมตำมแผน
C 1. ประเมินผลกำรนิเทศตดิ ตำม และรำยงำน
2.รำยงำนผลกำรนเิ ทศ
สรุปรำยงำนผลกำรนเิ ทศติดตำม
A กำรปรับปรงุ และพฒั นำงำน
บรรณานุกรม
กรมการศึกษานอกโรงเรยี น. แนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ การศกึ ษานอกโรงเรยี น. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2546.
จงกลนี ชตุ มิ าเทวนิ ทร์. การฝกึ อบรมเชิงพัฒนา. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
ชศู กั ด์ิ เพรสคอทท์. “วิธีการและสื่อการฝกึ อบรมแบบรายกรณี เกม และสถานการณ์จาลอง”.
ในประมวลสาระชุดเทคโนโลยีและส่ือสารการฝึกอบรม หนว่ ยที่ 6 หน้า 189 นนทบรุ ี
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์, 2537.
สวุ ฒั น์ วฒั นวงศ.์ จิตวิทยาเพ่ือการฝกึ อบรมผ้ใู หญ่. กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย, 2547.
สุวิทย์ มลู คา ละคณะ. 19 วิธจี ัดการเรยี นรู้ : เพื่อพัฒนาความรแู้ ละทักษะ. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพ์ภาพพิมพ,์ 2545.
สวุ ิทย์ มลู คา ละคณะ. 20 วิธจี ัดการเรียนรู้ : เพ่ือพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และการเรียนรโู้ ดยการ
แสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง. พิมพค์ ร้ังที่ 6. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ภาพพมิ พ์, 2550.
สวุ ิทย์ มลู คา ละคณะ. 21 วิธีจดั การเรียนรู้ : เพือ่ พัฒนากระบวนการคิด. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพภ์ าพพิมพ,์ 2546.
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาต.ิ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทีแ่ กไ้ ข
เพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร : บริษัท พริกหวานกราฟฟคิ จากัด, 2545.
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงาน
สง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2522.
กรงุ เทพมหานคร : หจก.ยนู ิเวอรแ์ ซล กราฟฟิค แอนด์ เทรดด้งิ , 2551
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. พระราชบัญญัติสง่ เสรมิ การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551. กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551.
สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หลกั สูตรสถานศึกษา. เอกสารอัดสาเนา,
2551.
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . แนวทางการพัฒนาหลกั สูตร
สถานศึกษา. อดั สาเนา, 2551.
สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. แนวทางการวดั และประเมนิ ผล
สถานศกึ ษาอดั สาเนา, 2551.
46
เอกสารอา้ งองิ
หน่งึ นุช สายปิน่ . (2546). การตลาดและกลยทุ ธ์ทางการตลาด้นา้ นมแพะในเขตกรงุ เทพมหานคร.
วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญาโท
ศริ ิวรรณ เสรรี ัตน.์ (2534). การบรหิ ารการตลาดยุคใหม่. สานกั พมิ พ์พัฒนาศึกษา
สมยศ นาวีการ. (2538). การบรหิ ารเชิงกลยุทธ์. สานักพมิ พ์บรรณกิจ 1991 จ้ากัด
ฟิลลปิ คอตเลอร.์ (2546). การจัดการการตลาด. พมิ พค์ รั้งท่ี 1 กรุงเทพมหานคร:
บริษัท เอช เอน็ กรุป๊ จ้ากัด
บัญญัติ จุลนาพันธุ์ , อุไรวรรณ แย้มนาม , พรรพมิ ล ก้านกนก , สมจติ ร ลว้ นจา้ เริญและ วชั ราภรณ์
ชีวโศภษิ ฐ์ (2534). หลกั การตลาด. พิมพ์ครงั้ ที่ 4 กรงุ เทพมหานคร สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามค้าแหง
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2524). การตลาด กรงุ เทพมหานคร โรงพิมพม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม วิสาหกจิ ชุมชนบ้านตะคุ อาเภอปักธงชยั จงั หวัดนครราชสมี า