The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0909, 2022-06-22 09:36:32

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2564

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2564



โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ได้จัดทำเอกสารรายงานผล การประเมินตนเองตลอดปีการศึกษา 2564
การประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2564 ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศ ึ ก ษ า ข อ ง โ ร ง เ ร ี ย น ม ั ธ ย ม ว ั ด ส ิ ง ห์
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานและเผยแพร่ผลการพัฒนา 3 มาตรฐาน ปรากฏผลภาพรวมอยู่ในเกณฑ์คุณภาพระดับ
คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ประกอบด้วย ยอดเยี่ยม รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาฉบับน้ี
รายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของ เป็นการรวบรวมสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับการบริหาร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน จัดการ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์
ประกอบดว้ ย มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ เพื่อใช้ในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ 3 ต่อไป
กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
(นายเทพพร อาจเวทย)์
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตลอดปีการศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรยี นมธั ยมวัดสิงห์
2564 โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาการศึกษาโดยศึกษาข้อมูล
จากการประเมินตนเองในปีการศึกษาที่ผ่านมา นโยบายด้าน
การศึกษาของรัฐ บาลและข้อเสนอแนะจากการปร ะเมิน
คุณภาพภายนอก ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานณการณ์
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)
นอกจากนี้โรงเรียนได้ดำเนินการบริหารจัดการในด้านอื่น ๆ
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน ตลอดจนการปลูกฝัง
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม การสืบสานประเพณี
วัฒนธรรมไทย ความรัก และความภาคภูมิใจในสถาบัน



ในรอบปี 2564 โรงเรียนมัยมวัดสิงห์ได้ดำเนินงานตามมาตรฐาน การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ มก่อใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื จากองคก์ รต่าง ๆ ท่ีมีส่วน
การศึกษาของสถานศึกษา มีกระบวนการประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ใน เกี่ยวข้องและชุมชนที่ให้ความร่วมมือ ร่วมใจและมุ่งมั่นในการพัฒนา
ระดับ ยอดเย่ียม มีผลการดำเนนิ งานดังตอ่ ไปน้ี โรงเรียน โรงเรียนมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อ
พัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพครู
มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผูเ้ รียน และบุคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นครูมือ
อาชีพ โดยส่งเสริมครูให้เข้ารับการอบรมต่าง ๆ สนับสนุนให้ครูทุกคนย่ืน
1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนมุ่งเน้นพัฒนาให้นักเรียนมี เอกสารขอรบั การประเมินเพ่ือขอมขี อเลื่อนวิทยฐานะ มกี ารจดั บรรยากาศ
ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคํานวณ การ ที่ร่มรื่น จัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ
วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี โรงเรยี นดำเนนิ การจัดหาและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ใน
สารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องาน การจดั การเรยี นรู้
อาชีพ ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning และ
ผสมผสานระหว่าง Online กับ Onsite ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็
การสอน ครูวางแผนและปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรม เพื่อส่งเสริม สำคัญ
ความสามารถของนักเรียนอย่างเต็มศักยภาพได้อย่างเหมาะสม มี
กระบวนการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด การปฏิบัติได้จริง
ทางการเรียน (GPA) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของ (Active Learning) และการนำความรไู้ ปปรับประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน
ผู้เรียนตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ได้ ห้องเรียนมีสื่อเทคโนโลยี เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ , สมาร์ทบอร์ด
3 และระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 มรี ะดบั การพัฒนาทด่ี ีข้ึนในทุกกลุ่มสาระ เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
การเรียนรูจ้ ากการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ผูบ้ ริหารโรงเรียน บรรลุวัตถปุ ระสงค์มากยิง่ ขึ้น อกี ทง้ั นกั เรียนยงั สามารถใช้เทคโนโลยีในการ
ส่งเสริมสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัล แสวงหาความรู้ สืบค้นข้อมูลในการพัฒนาการเรียนของตนเอง มีความ
ต่าง ๆ จากการเข้ารว่ มการแขง่ ขนั จนเป็นทีย่ อมรบั กระตอื รือรน้ ในการเรยี น มสี ว่ นรว่ มในการทำกจิ กรรม ครผู สู้ อนสามารถใช้
2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนจัดกิจกรรมที่ Google Classroom ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วง
ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร มีความรู้คู่ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
คุณธรรม มีกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดี
กิจกรรมส่งเสริมความเป็นไทย กิจกรรมตามประเพณี วัฒนธรรม และวัน แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาในปีการศึกษาตอ่ ไป
สำคัญต่าง ๆ ต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา เป็นการช่วยสนับสนุนนักเรียนใน
การทำกิจกรรมต่าง ๆ ให้ประสบความสำเร็จ และนำไปสู่รางวัลแห่งความ 1. สง่ เสริมนักเรียนด้านทกั ษะภาษาอังกฤษ
ภาคภูมิใจของนักเรียน ผลให้นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีเป็นไป 2. สง่ เสริมความเปน็ เลิศของนักเรยี นดา้ นวิชาการท่ีสอดคลอ้ งกบั
ตามอัตลกั ษณข์ องโรงเรยี น “ใฝ่หาความรู้ เชดิ ชูสถาบัน ยึดม่นั คุณธรรม” ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหม้ ากขนึ้
3. พฒั นาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี นให้มีความพร้อมใชง้ านอย่างมี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ประสทิ ธิภาพ
4. ส่งเสรมิ ครูใหม้ กี ระบวนการจัดการเรยี นการสอนเชงิ รกุ ตามข้อตกลงใน
ผู้บริหารจัดการบริหารโรงเรียนโดยยึดหลักการกระจายอำนาจ และการ การพัฒนางาน (PA) และใหค้ รูพัฒนาตนเองไปสกู่ ารขอมหี รือเล่ือนวิทย
บริหารแบบมีส่วนร่วม โดยยึดแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนเป็น ฐานะในอนาคต
แนวทางในการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยใช้กระบวนการ PDCA
ซึ่งเกิดจากการกำหนดทิศทาง เป้าหมาย ร่วมกันระหว่างผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อง
ทั้งหมด ส่งผลให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์
อัตลกั ษณ์ เอกลักษณ์ และพนั ธกจิ ทีโ่ รงเรยี นกำหนดข้นึ



โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์มีการปรับเปลี่ยนและพัฒนารูปแบบในการ
นำเสนองานประกันคุณภาพ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยนำเสนอผ่าน Google Sites ที่เป็นการ
เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดดจากปีที่ผ่านมา ทำให้การเก็บ
รวบรวมข้อมูลด้วย วิธีนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ทันกับยุคสมัย คงทน
ถาวร เข้าถงึ ได้จากทุกที่ จึงเหน็ ไดว้ า่ ฝ่ายบรหิ ารได้ใหค้ วามสำคัญกับการใช้ส่ือ
เทคโนโลยี รวมไปถึงครูและบุคคลากรทางการศึกษามีความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีโดยใช้ Google Sites ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น ทั้งคู่มือการ
จัดการเรียนการสอน, แบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน เพื่อพัฒนา
คุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะต่าง ๆ โดย
ภาพรวมแล้วมาตรฐานทั้ง 3 ด้าน มีความสอดคล้องกัน ทาง
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์มีการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีการ
พัฒนาหลักสูตรและแผนการเรียนเฉพาะเจาะจงบุคคลมากขึ้นในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งนี้ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้
ความรว่ มมอื ร่วมใจในการปรับปรุงและพัฒนาโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ เพื่อเป็น
โรงเรยี นทด่ี ี และมคี ณุ ภาพตอ่ ไป



หนา้

ก คำนำ
ข บทสรุปสำหรบั ผู้บริหาร

สารบญัค ความเห็นชอบของผู้ทรงคุณวฒุ จิ ากภายนอกสถานศกึ ษา

ง สารบญั
1 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน
2 1.1 ท่ีตง้ั
3 1.2 ประวัติโรงเรยี น
5 1.3 ขอ้ มลู บุคลากร
13 1.4 ข้อมูลนกั เรียน
15 1.5 ข้อมูลอาคารสถานท่ี
16 1.6 ข้อมลู งบประมาณ
16 1.7 ข้อมลู สภาพชุมชน
17 1.8 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา
24 1.9 แหลง่ เรียนรแู้ ละภูมิปญั ญาท้องถนิ่
28 1.10 ผลการจดั การเรียนรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา
35 1.11 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม
36 1.12 สถานศึกษาประเมินความพรอ้ มดา้ นปจั จัยนำเขา้ (Input)
39 1.13 ผลงานดเี ดน่ /รางวัล / ผลการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ของสถานศึกษา
47 สว่ นท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี
48 2.1การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา
51 2.2วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย และกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา
52 2.3 โครงการทส่ี อดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
53 ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
54 3.1 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น
68 3.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
79 3.3 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ
85 สว่ นท่ี 4 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการชว่ ยเหลือ
86 4.1 สรปุ ผลในภาพรวม
87 4.2 แนวทางการพฒั นาในปตี อ่ ไป
87 4.3 ความตอ้ งการและการช่วยเหลือ
89 ภาคผนวก



2

1.1 ที่ตงั้ เปิดสอน :
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
สถานศึกษา :
โรงเรียนมธั ยมวดั สิงห์ เนื้อที่ :
37 ไร่ 100 ตารางวา
เลขที่ 35 ก หมู่ท่ี 3 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทยี น เขต
จอมทอง จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหสั ไปรษณีย์ 10150 เขตพ้นื ทบี่ รกิ าร :
แขวงบางขุนเทยี น แขวงจอมทอง แขวงบางบอน แขวง
โทรศัพท์ 0-2415-0683 / 0-2415-1681 แสมดำ แขวงท่าขา้ ม และแขวงบางหว้า

โทรสาร 0-2415-3291 ต่อ 200

สังกดั :
สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

3 พ.ศ. 2556 - โรงเรียนได้รับการประเมนิ สถานศึกษาป้องกนั ยาเสพตดิ

1.2 ประวัติโรงเรียนโดยยอ่ ระดบั ยอดเย่ียม จากศนู ย์อำนวยการพลังแผน่ ดนิ เอาชนะยาเสพติด
พ.ศ. 2496 - โรงเรยี นจดั ตง้ั ข้ึนตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ สงั กดั - โรงเรียนได้รับการยกย่องเปน็ สถานศึกษาทีส่ ่งเสรมิ พัฒนาคณุ ภาพและ
กรมวิสามัญศึกษาชือ่ โรงเรียนวดั สิงห์ (ว.ส.) เริ่มเปิดทำการเมื่อวันที่ 18 มาตรฐานการศกึ ษาประสบผลสำเร็จดา้ นการยกระดับคุณภาพกลมุ่ สาระการ
พฤษภาคม 2496 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน เรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับดี จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
จำนวนนักเรียน 45 คน ครู 4 คน มีนายหงิม เกบไว้ ดำรงตำแหน่ง พืน้ ฐาน
ครูใหญ่ - โรงเรยี นไดร้ บั คัดเลอื กให้เปน็ สถานศึกษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการ
พ.ศ. 2498 - ได้รับอนุมัติให้จัดการเรียนการสอนถึงระดับชั้น เรียนรแู้ ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงประจำปี
2556 จากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 7 – 8 แผนกวทิ ยาศาสตรแ์ ละอักษรศาสตร์
พ.ศ. 2514 - กรมวสิ ามัญศึกษา ยุบเลกิ เปลยี่ นเป็นสงั กัดกรมสามัญ พ.ศ. 2557 - โรงเรียนได้รบั การยกย่องเป็นสถานศึกษาดีเด่นด้านการ
ศึกษา สนบั สนนุ การศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรม
- กระทรวงศึกษาธิการอนุมัติใหเ้ ปลีย่ นช่ือโรงเรียนเป็นโรงเรียนสิงหราช - โรงเรียนได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จากสำนักงาน
รบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) ในระดับ
พทิ ยาคม (ส.พ.)
พ.ศ. 2517 - โรงเรียนจัดการเรียนการสอนเป็น 2 รอบ ในรอบเช้า คุณภาพ ดี
พ.ศ. 2559 - โรงเรียนได้รับโล่เกียรติยศเป็นโรงเรียนที่จัดทำรายงาน
และรอบบ่าย
พ.ศ. 2518 - ได้รับการประกาศให้เป็นโรงเรยี นชัน้ พิเศษตามการดำรง ประจำปีของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา 2558 ไดม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน ระดับ
ดีเย่ยี ม
ตำแหนง่ ของนางวรณี ศริ บิ ุญ ผู้อำนวยการโรงเรยี น
พ.ศ. 2522 - ยกเลิกการจัดการเรียนการสอน 2 รอบ และจัดการ - โรงเรียนได้รบั โล่เกียรติยศเป็นโรงเรยี นท่มี ีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาระดบั ดเี ยยี่ ม
เรียนการสอนเตม็ วันตามปกติ
พ.ศ. 2538 - กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุมัติให้เปล่ียนชอื่ โรงเรียนอีกครั้ง พ.ศ. 2560 - โรงเรียนได้รับการยกย่องเปน็ สถานศึกษาที่ส่งเสริมพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประสบผลสำเร็จด้านการยกระดับคุณภาพ
หน่ึงเป็น“โรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์ ” (ม.ว.ส.)
พ.ศ. 2542 - ไดร้ ับรางวัลโรงเรยี นดีเด่นของกรมสามัญศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ดีเด่น จากสำนกั งานคณะกรรมการ
พ.ศ. 2546 - ได้รับอนุมัติให้จัดการเรียนการสอนหลักสูตรทางเลือก การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
Mini English Program ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 1 หอ้ งเรยี น พ.ศ. 2561 - โรงเรยี นไดร้ ับรางวลั MOE AWARDS ปีการศกึ ษา 2559
- เดือนกรกฎาคม โรงเรียนเปลีย่ นสังกดั จากกรมสามัญศึกษาเป็นสงั กัด ผลงานระดับดีเดน่ ประเภทสถานศึกษา สาขาการป้องกันและแก้ไขปัญหายา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบ เสพตดิ ในสถานศึกษา ( ณ วนั ที่ 28 กันยายน 2561)

บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2562 - โรงเรยี นได้รบั รางวัล ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2561 (ณ วนั ที่ 28 กันยายน
กรุงเทพมหานคร เขต 3
พ.ศ. 2547 - ได้รับอนุมัติใหป้ รับการเรียนการสอนหลักสูตรทางเลอื ก 2562) จากกระทรวงศึกษาธกิ าร
Mini English Program เปน็ English Program - โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่น
พ.ศ. 2548 - นักเรยี นหลักสูตร English Program จบการศึกษาระดับ ระดับทอง โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดภัยยาเสพติดและอบายมุข ปี
ชว่ งชนั้ ท่ี 3 เป็นรนุ่ แรก การศึกษา 2560 ( ณ วันที่ 16 กันยายน 2562)
พ.ศ. 2550 - ได้รบั อนุมัตใิ หจ้ ัดการเรียนการสอนหลกั สตู รสง่ เสริมความ พ.ศ. 2563 - โรงเรียนไดร้ ับรางวลั โรงเรียนดนตรีไทย 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ ที่
เป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ (Gifted สง่ เสริม สนับสนุนการเรียนการสอนดนตรีไทยใหบ้ งั เกดิ เป็นรูปธรรม
Education Program) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน - โรงเรียนได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส ประเภทผลงาน “ดีเด่น” ระดับเพชร
โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2561
และระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 1 ห้องเรยี น
พ.ศ. 2551 - นักเรยี นหลกั สตู ร English Program จบการศึกษาระดับ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 29 กรกฎาคม 2563 จากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ช่วงช้ันที่ 4 เป็นร่นุ แรก พ.ศ. 2564 - โรงเรียนไดเ้ ข้ารว่ มการประเมนิ ข้อมลู Big Data บนเวบ็ ไซต์
พ.ศ. 2552 - นักเรียนหลักสูตรส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้าน ของสถานศึกษา ในด้านการเปิดเผยข้อมูล (Open Data Integrity and
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ( Gifted Education Transparency Assessment : OIT) ระดบั สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

Program) จบการศกึ ษาระดับชว่ งช้ันที่ 3 และช่วงชนั้ ที่ 4 เปน็ รุน่ แรก

พ.ศ. 2553 - โรงเรียนได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class

Standard School) และเปลี่ยนสังกัด จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

กรุงเทพมหานคร เขต 3 เป็น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มัธยมศกึ ษา เขต 1

4

ตราสัญลกั ษณ์ อักษรย่อ ม.ว.ส.
ประจาโรงเรยี น
เอกลกั ษณ์ บรรยากาศดี กจิ กรรมเด่น
ความหมายของตราสัญลกั ษณ์ เปน็ ศูนยร์ วมชุมชน

อตั ลกั ษณ์ ใฝห่ าความรู้ เชดิ ชสู ถาบัน
ยึดมนั่ คุณธรรม

สปี ระจำโรงเรยี น
ชมพู หมายถึง ความคิดลกึ ซึ้ง สรา้ งสรรค์
เขยี ว หมายถึง ความเจรญิ งอกงาม

สงิ ห์ เป็นสญั ลกั ษณข์ องความสงา่ งาม พระประจำโรงเรยี น พระพทุ ธสิงหราช
คบเพลงิ น่าเกรงขาม ทรงไว้ซงึ่ เกยี รติศกั ด์แิ ละ
คณุ ธรรม ตน้ ไม้ประจำโรงเรยี น ตน้ ชมพพู นั ธท์ุ พิ ย์

เปน็ ประทปี สอ่ งแสงนำทางส่คู วาม
รงุ่ เรืองและความสำเร็จ



6

7

8

9

10

1.3.3 ขอ้ มลู ครูและบคุ ลากร

1. วทิ ยฐานะ

ครแู ละ ครู ครู ครู ครู ครู ครู พนักงาน ครู ครู ลกู จา้ ง ลูกจ้าง รวม

บุคลากร คศ. คศ. คศ. คศ. คศ. ผู้ช่วย ราชการ อตั รา ตา่ งชาติ ประจำ ช่วั คราว

54321 จ้าง

ปีการศกึ ษา - - 26 40 83 5 1 3 17 - 19 194

2564

หมายเหตุ รวมครูท่ปี ฏิบตั หิ น้าท่ีรองผู้อำนวยการโรงเรยี นตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา

แผนภูมิ แสดงจำนวนครแู ละบคุ ลากรแยกตามวทิ ยฐานะ

11

2. วุฒิการศกึ ษา (ข้อมูล ณ วันท่ี 24 มถิ ุนายน 2564 )

จำนวนตามระดับการศึกษา (คน)

กลมุ่ สาระฯ ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก รวม

ผ้อู ำนวยการ ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม 1
รองผู้อำนวยการ 3
ภาษาไทย -- - 1- 1 - - - 14
คณติ ศาสตร์ 22
วิทยาศาสตร์และ -- - 21 3 - - - 36
เทคโนโลยี
สังคมศกึ ษา ศาสนา 1 10 11 1 2 3 - - - 19
และวัฒนธรรม
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 5 7 12 4 6 10 - - - 9
ศิลปะ 10
การงานอาชีพ 10 13 23 5 8 13 - - - 11
ภาษาต่างประเทศ 24
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 3 9 12 2 5 7 - - - 8
157
รวม 43 7 1 1 2 - - -
43 7 1 2 3 - - -
27 9 - 2 2 - - -
2 9 11 2 11 13 - - -
-7 7 1 - 1 - - -
31 68 99 20 38 58 - - -

แผนภมู ิ แสดงวฒุ กิ ารศกึ ษาของครแู ละบคุ ลากรของสถานศึกษา

12

3) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และภาระงานสอน และจำนวนชั่วโมงของการเขา้ ร่วมกิจกรรม PLC

(ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉล่ียของครู จำนวนชว่ั โมงเฉลี่ย การ
1 คน ในแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ เขา้ ร่วมกิจกรรม PLC
1. ภาษาไทย 14
2. คณติ ศาสตร์ 21 (ชม./สัปดาห์) ของครู
3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 36 263÷14=18.79 1 ช่ัวโมง 40 นาที
4. สงั คมศึกษา ศาสนา และ 19 448 21 = 21.33 1 ช่วั โมง 40 นาที
วัฒนธรรม 674÷36=18.72 1 ชั่วโมง 40 นาที
5. สุขศึกษาและพลศึกษา 9 328 19 =17.26 1 ชว่ั โมง 40 นาที
6. ศิลปะ 10
7. การงานอาชพี 12 176 9 =19.56 1 ชว่ั โมง 40 นาที
8. ภาษาตา่ งประเทศ 24 204 10 = 20.40 1 ชว่ั โมง 40 นาที
9. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 7 185 12 =15.42 1 ชั่วโมง 40 นาที
152 486 24 = 20.25 1 ชั่วโมง 40 นาที
รวม 107 7 =15.29 1 ชั่วโมง 40 นาที

25 18.79
20 21.33
15
10 18.72
5 17.26
0
19.56
20.4

15.42
20.25

15.29

แผนภมู ิ แสดงเปรียบเทียบภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน ในแต่ละกล่มุ สาระฯ (ชม./สปั ดาห์)

13

1.4 ข้อมูลนักเรยี น ( ณ วนั ท่ี 24 มิถนุ ายน 2564)

1.) จำแนกตามระดบั ชั้นทเ่ี ปิดสอน

ระดบั ชัน้ เพศ รวม จำนวน จำนวนนกั เรยี น
ชาย หญิง หอ้ งเรยี น เฉลี่ยต่อห้อง
ม. 1 263 270 533
ม. 2 282 272 554 16 33.31
ม. 3 307 320 627 16 34.63
รวม 852 862 1,714 16 39.19
ม. 4 232 280 512 48 35.71
ม. 5 217 278 495 14 36.57
ม. 6 229 289 518 14 35.36
รวม 678 847 1,525 14 37.00
รวมจำนวนนักเรียนทงั้ หมด 1,530 1,709 3,239 42 36.31
90 35.99

แผนภมู ิ แสดงการเปรยี บเทยี บจำนวนนกั เรยี นจำแนกตามระดบั ชัน้ ทเ่ี ปิดสอน

14

2.) จำแนกตามปีการศึกษา 3 ปี ย้อนหลัง

ระดับชั้น 2562 ปกี ารศกึ ษา 2564
645 2563 533
ม. 1 601 566 554
ม. 2 599 632 627
ม. 3 536 586 512
ม. 4 464 501 495
ม. 5 457 521 518
ม. 6 3,302 458 3,239
รวม 3,264

3,310 33.00% 33.69% 33.31%

3,300 ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564
3,290
3,280
3,270
3,260
3,250
3,240
3,230
3,220
3,210
3,200

ปกี ารศกึ ษา 2562

แผนภมู ิ แสดงจำนวนนกั เรียนจำแนกตามปกี ารศกึ ษา 3 ปี ยอ้ นหลงั

3) สรปุ ข้อมลู สำคญั ของสถานศึกษา

ประเภท จำนวน หมายเหตุ

3.1 ระดับมธั ยมศึกษา

อตั ราส่วนครู ต่อ ผู้เรยี น 1 : 22

อตั ราส่วนผูเ้ รียน ตอ่ หอ้ ง 1 : 36

จำนวนครู ครบชั้น ครบช้ัน

3.2 ร้อยละของผ้สู ำเร็จการศกึ ษา

มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 97.83 นักเรยี นท่ยี ังไม่จบคือมีผล

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 98.46 0, ร, มส. และลาออก

3.3 จำนวนวนั ท่ีสถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอนจริงใน

ปีการศึกษา 2564

ระดบั มัธยมศึกษา 201

15

1.5 ข้อมูลอาคารสถานที่

โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ มีอาคารสถานท่ี ดังนี้

อาคารเรียน จำนวน 7 หลัง (อาคารเรยี น 1 - อาคารเรียน 7)

เรือนพยาบาลเทียนฉำ่ จำนวน 1 หลัง

อาคารธารณานุเคราะห์ จำนวน 1 หลัง (อาคารประชาสัมพนั ธ์)

สนามฟุตบอล จำนวน 1 สนาม

สนามวอลเลยบ์ อล จำนวน 2 สนาม

สนามบาสเกตบอล จำนวน 3 สนาม

สนามตะกร้อ จำนวน 4 สนาม

สนามแบดมนิ ตัน จำนวน 5 สนาม

สนามเทนนิส จำนวน 2 สนาม

สนามเปตอง จำนวน 4 สนาม

โรงอาหาร จำนวน 1 หลัง

หอประชุม จำนวน 1 หลัง

อาคารอเนกประสงค์ จำนวน 4 หลงั

ศาลาทรงไทยเรอื นพมิ พร์ ำลกึ จำนวน 1 หลงั

ศนู ยเ์ สมารกั ษแ์ ละห้องทบู นี ัมเบอรว์ ัน จำนวน 1 หลัง

สระน้ำ จำนวน 1 สระ

ห้องสุขานักเรยี น จำนวน 4 หลงั

เคร่ืองออกกำลงั กายกลางแจ้ง จำนวน 12 เคร่ือง

1.6 ขอ้ มูลงบประมาณ 16

งบประมาณ (รับ - จา่ ย) รายจ่าย
งบดำเนินการ/เงินเดอื น - ค่าจา้ ง
รายรบั จำนวน/บาท งบพัฒนาคุณภาพการจดั จำนวน/บาท
เงินงบประมาณ 28,593,184.16 การศกึ ษา 12,422,727.00
เงนิ นอกงบประมาณ 46,762,907.66 งบอนื่ ๆ (ระบ)ุ 41,544,035.60

เงนิ อ่ืนๆ (ระบุ) 2,039,862.24 รวมรายจา่ ย 2,912,029.89
รวมรายรบั 77,395,954.06 56,878,792.49

สรุป งบดำเนนิ การ/เงินเดอื น เงินค่าจา้ ง คดิ เป็นร้อยละ 16.05 ของรายรับ
งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ 53.68 ของรายรับ

1.7 ขอ้ มูลสภาพชุมชน

1.) สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียน

สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะเป็นที่อยู่อาศยั อาคารพาณิชย์ สถานประกอบกิจการ ร้านค้าทั้ง
ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีประชากรแขวงบางขุนเทียนและเขตบางบอน ประมาณ 287,629 คน (แหล่งข้อมูล
สำนักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ) บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดสิงห์ ศาล
ธนบุรี ไปรษณีย์บางขุนเทียน สถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน สรรพากรเขตพื้นที่ 27 สำนักงานอัยการสูงสุด
(อาคารธนบรุ ี) สถานีรถไฟวดั สิงห์ โรงเรียนดวงวิภา โรงเรียนวัดกำแพง อาชพี หลักของประชากรในชุมชน คือ อาชีพ
รับจ้างเป็นส่วนใหญ่และมีอาชีพอื่นๆ เช่น ประกอบธุรกิจส่วนตัว ค้าขาย รับราชการ เป็นต้น ส่วนใหญ่นับถือศาสนา
พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ งานแห่เทียนเข้าพรรษา ลอยกระทง สงกรานต์
งานประจำปวี ดั สิงห์

2.) สถานภาพโดยรวมของผู้ปกครอง
ผปู้ กครองส่วนใหญจ่ บการศึกษาระดับปริญญาตรี และรองลงมาคือจบการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
อาชีพหลัก คือ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย รับราชการ ประกอบธุรกิจส่วนตัว และอาชีพอื่นๆ มีบางคนไม่ได้ประกอบอาชีพ
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 94.35 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 2.95 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 2.70 ฐานะทาง
เศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี 160,000 บาท จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 5 คน และแนวโน้ม
ความต้องการของผู้ปกครอง และชุมชน คือ อยากให้โรงเรียนเน้นกระบวนการใช้ทักษะชีวิตมากกว่าวิชาการ เพิ่ม
มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ลดการบ้านให้น้อยลง เพิ่มกิจกรรม
ให้นักเรยี นได้เรียนร้ดู ว้ ยตนเอง เขม้ งวดกับกฎระเบยี บ วนิ ัย

17

3.) โอกาสและขอ้ จำกดั ของโรงเรียน

โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์อยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ เช่น สำนักงานอัยการสูงสุด (อาคารธนบุรี) ศาลธนบุรีไปรษณีย์
บางขุนเทียน สถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน และวัดสิงห์ ซึ่งโรงเรียนได้รับการสนับสนุนอย่างดียิ่งจากวัด
สิงห์ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมผู้ปกครองและครูฯ สมาคมศิษย์เก่าฯ มูลนิธฯ สำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 หน่วยงานราชการใกล้เคียง และชุมชน สถานะทาง
เศรษฐกิจและระดับการศึกษาของผู้ปกครองส่วนใหญ่อยู่ในระดบั ปานกลาง ค่อนข้างต่ำ และด้วย ปีการศึกษา 2564
นี้ ผ้ปู กครอง ชมุ ชน ต้องเจอผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สง่ ผลให้รายได้
ของผูป้ กครองและชุมชน ลดน้อยลง ทำให้ขาดศักยภาพในการสนบั สนุนพัฒนาโรงเรียน

1.8 โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา

โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา สำหรับหลักสูตรสถานศึกษาจัดตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551/หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนได้จัดสัดส่วนสาระการ
เรียนรแู้ ละเวลาเรยี น ดังแสดงในตารางต่อไปน้ี

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สตู รแผนการเรียนทวั่ ไป

เวลาเรยี น (ช่ัวโมงต่อปี)

ระดบั ชน้ั ภาษาไทย รวม
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
สังคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรม ัพฒนา

ูผ้เรียน

ม.1 120 200 200 160 80 80 120 200 120 1,280
ม.2 120 200 240 160 120 80 80 160 120 1,280
ม.3 120 200 200 160 80 80 80 240 120 1,280
รวม 360 600 640 480 280 240 280 600 360

- จำนวนชว่ั โมงทีจ่ ัดใหน้ กั เรยี น เรยี นท้งั ปี คอื ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เท่ากบั 1,280 ชว่ั โมง
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เท่ากับ 1,280 ชัว่ โมง
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เทา่ กับ 1,280 ช่วั โมง

18

ระดบั ชั้น ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรส่งเสริมความเปน็ เลิศทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ

( Gifted Education Program )

เวลาเรียน (ชั่วโมงต่อปี)
รวม
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา

ผู้เรียน

ม.1 120 240 280 160 80 80 40 240 120 1,360
ม.2 120 280 360 160 80 80 40 240 120 1,480
ม.3 120 280 280 160 80 80 80 240 120 1,440
รวม 360 800 920 480 240 240 160 720 360

- จำนวนช่วั โมงทจ่ี ดั ให้นักเรยี น เรียนทงั้ ปี คอื ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เท่ากับ 1,360 ชั่วโมง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เทา่ กบั 1,480 ชั่วโมง
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เท่ากบั 1,440 ชั่วโมง

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สตู ร English Program
เวลาเรียน (ช่ัวโมงต่อปี)

ระดบั ช้นั ภาษาไทย รวม
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
สังคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
สุขศึกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรม ัพฒนา

ู้ผเรียน

ม.1 120 200 280 160 80 80 40 360 120 1,440
ม.2 120 200 280 160 80 80 40 360 120 1,440
ม.3 120 200 200 160 80 80 80 360 120 1,400
รวม 360 600 760 480 240 240 160 1080 360

- จำนวนชวั่ โมงทจ่ี ดั ให้นักเรยี น เรียนทั้งปี คอื ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 เทา่ กับ 1,440 ชว่ั โมง
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เท่ากบั 1,440 ชั่วโมง
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เท่ากับ 1,400 ชั่วโมง

• แผนการเรียนร/ู้ จดุ เน้นการพฒั นาผูเ้ รียนทต่ี ้องการเน้นเปน็ พเิ ศษ คือ ความเปน็ เลิศทางดา้ น
วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

19

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์

เวลาเรียน (ชั่วโมงต่อปี)

ระดับช้ัน ภาษาไทย รวม
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา

้ผูเรียน

ม.4 80 240 560 120 80 40 - 160 120 1,400
ม.5 80 240 560 120 80 40 40 160 120 1,440
ม.6 80 240 480 120 80 40 80 160 120 1,440
รวม 240 720 1,600 360 240 120 120 480 360

- จำนวนชวั่ โมงทจ่ี ดั ให้นกั เรียน เรียนทัง้ ปี คอื ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เท่ากบั 1,400 ชว่ั โมง
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เท่ากับ 1,440 ชวั่ โมง
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เทา่ กบั 1,440 ช่ัวโมง

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย
แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ – คณิตศาสตร์

เวลาเรยี น (ชั่วโมงต่อปี)

ระดับช้ัน ภาษาไทย รวม
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
สังคมศึกษา

ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ

พล ึศกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา
ู้ผเรียน

ม.4 120 280 160 120 80 40 40 320 120 1,280
ม.5 160 280 160 120 80 40 40 320 120 1,320
ม.6 120 240 80 120 80 40 120 320 120 1,240
รวม 400 800 400 360 240 120 200 960 360

- จำนวนช่ัวโมงท่จี ัดให้นักเรียน เรยี นท้งั ปี คือ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เทา่ กับ 1,280 ชว่ั โมง
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เท่ากบั 1,320 ชว่ั โมง
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 เท่ากบั 1,240 ชว่ั โมง

20

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
แผนการเรยี นภาษาอังกฤษ - ภาษาฝร่ังเศส , ภาษาองั กฤษ – ภาษาจีน

เวลาเรยี น (ชั่วโมงต่อปี)

ระดับชน้ั ภาษาไทย รวม
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา

้ผูเรียน

ม.4 120 80 160 120 80 40 40 560 120 1,320
ม.5 160 80 160 120 80 40 40 560 120 1,360
ม.6 120 80 80 120 80 40 80 520 120 1,240
รวม 400 240 400 360 240 120 160 1,640 360

- จำนวนชั่วโมงท่จี ัดใหน้ ักเรยี น เรยี นท้งั ปี คือ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เท่ากับ 1,320 ชั่วโมง
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เทา่ กบั 1,360 ชว่ั โมง
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เทา่ กบั 1,240 ช่วั โมง

ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
แผนการเรยี นภาษาอังกฤษ - ภาษาญป่ี นุ่

เวลาเรียน (ชั่วโมงต่อปี)

ระดบั ช้นั ภาษาไทย รวม
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
สังคมศึกษา

ศาสนา
แสุลขะศึ ัวกฒษนาธแรลระม

พล ึศกษา
ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา
ู้ผเรียน

ม.4 120 80 160 120 80 40 40 480 120 1,240
ม.5 160 80 160 120 80 40 40 480 120 1,280
ม.6 120 80 80 120 80 40 80 520 120 1,240
รวม 400 240 400 360 240 120 160 1,480 360

- จำนวนช่วั โมงทจ่ี ัดใหน้ กั เรยี น เรียนทง้ั ปี คอื ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เทา่ กับ 1,240 ชวั่ โมง
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เท่ากับ 1,280 ชว่ั โมง
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 เท่ากบั 1,240 ชั่วโมง

21

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
แผนการเรียน ศิลปะ

เวลาเรยี น (ชั่วโมงต่อปี)

ระดบั ชั้น ภาษาไทย รวม
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา

้ผูเรียน

ม.4 120 80 160 120 80 280 40 160 120 1,160
ม.5 160 80 160 120 80 280 40 160 120 1,200
ม.6 120 80 80 120 80 280 80 160 120 1,120
รวม 400 240 400 360 240 840 160 480 360

- จำนวนช่วั โมงท่จี ัดใหน้ ักเรยี น เรยี นทงั้ ปี คือ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เทา่ กับ 1,160 ชั่วโมง
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 เท่ากบั 1,200 ชว่ั โมง
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เทา่ กบั 1,120 ช่ัวโมง

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย
แผนการเรียนภาษาไทย – สงั คม

เวลาเรยี น (ช่ัวโมงต่อปี)

ระดับชนั้ ภาษาไทย รวม
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
สังคมศึกษา

ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
สุข ึศกษาและ

พล ึศกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา
ู้ผเรียน

ม.4 200 80 160 320 80 40 40 160 120 1,200
ม.5 240 80 160 320 80 40 40 160 120 1,240
ม.6 200 80 80 200 80 40 480 160 120 1,440
รวม 640 240 400 840 240 120 560 480 360

- จำนวนช่ัวโมงท่ีจัดให้นักเรยี น เรยี นทัง้ ปี คือ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เท่ากับ 1,200 ชั่วโมง
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 เทา่ กับ 1,240 ชว่ั โมง
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่ากบั 1,440 ช่ัวโมง

22

ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
แผนการเรยี นธุรกิจ

เวลาเรยี น (ช่ัวโมงต่อปี)

ระดับชน้ั ภาษาไทย รวม
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
ิกจกรรมพัฒนา

้ผูเรียน

ม.4 120 80 160 120 80 40 400 160 120 1,280
ม.5 160 80 160 120 80 40 400 160 120 1,320
ม.6 120 80 80 120 80 40 400 160 120 1,200
รวม 360 240 240 360 240 120 940 480 360

- จำนวนชวั่ โมงทจี่ ัดใหน้ ักเรียน เรียนทง้ั ปี คือ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เทา่ กบั 1,280 ชั่วโมง
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 เท่ากบั 1,320 ชั่วโมง
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เทา่ กบั 1,200 ชั่วโมง

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

หลกั สูตรส่งเสริมความเป็นเลศิ ทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และภาษาอังกฤษ

( Gifted Education Program )

เวลาเรยี น (ชั่วโมงต่อปี)

ระดับชน้ั ภาษาไทย รวม
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
สังคมศึกษา

ศาสนา
แสุลขะศึ ัวกฒษนาธแรลระม

พล ึศกษา
ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพัฒนา
้ผูเรียน

ม.4 80 280 640 120 40 40 - 280 120 1,640
ม.5 80 280 640 120 40 40 40 280 120 1,680
ม.6 80 280 560 120 40 40 120 280 120 1,680
รวม 240 840 1,840 360 120 120 160 840 360

- จำนวนช่ัวโมงท่จี ัดให้นกั เรยี น เรยี นทง้ั ปี คือ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เท่ากับ 1,640 ชวั่ โมง
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เท่ากบั 1,680 ชั่วโมง
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เท่ากับ 1,680 ชั่วโมง

23

ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
หลกั สตู ร English Program

เวลาเรียน (ช่ัวโมงต่อปี)

ระดับชั้น ภาษาไทย รวม
แผน ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์และ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษา ศาสนา
และ ัวฒนธรรม
ุสข ึศกษาและ
พล ึศกษา

ศิลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรม ัพฒนา

ูผ้เรียน

ม. 4 วทิ ย์ 80 240 560 120 40 40 - 240 120 1,440
ศลิ ป์ 80 240 160 120 40 40 - 480 120 1,280

ม. 5 วทิ ย์ 80 240 560 120 40 40 40 240 120 1,480
ศลิ ป์ 80 240 160 120 40 40 40 480 120 1,320

ม. 6 วิทย์ 120 240 480 120 40 40 120 240 120 1,520
ศลิ ป์ 120 240 80 120 40 40 120 480 120 1,360

รวม วิทย์ 280 720 1,600 360 120 120 160 720 360
ศิลป์ 280 720 400 360 120 120 160 1,440 360

- จำนวนชั่วโมงที่จดั ให้นกั เรยี น เรยี นทง้ั ปี คือ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 วิทย์ เทา่ กบั 1,440 ชัว่ โมง
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ศลิ ป์ เทา่ กับ 1,280 ช่ัวโมง
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 วิทย์ เทา่ กบั 1,480 ชัว่ โมง
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ศิลป์ เทา่ กบั 1,320 ชั่วโมง
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 วิทย์ เท่ากับ 1,520 ชวั่ โมง
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ศิลป์ เท่ากับ 1,360 ชว่ั โมง

แผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือ ความเป็นเลิศทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

24

1. 9 แหลง่ เรยี นรู้และภมู ิปัญญาท้องถน่ิ

1.9.1 หอ้ งสมดุ มีขนาด 495 ตารางเมตร (คดิ เป็นประมาณ 5.5 ห้องเรียน)

จำนวนหนงั สอื 50,610 เลม่ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ จำนวน 544 เล่ม

จำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษาที่รายงานเฉลี่ย 19.85% (ภายในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019 ห้องสมดุ เปิดใหบ้ รกิ ารรปู แบบออนไลน์ E-Library ผา่ นเว็บไซต์ http://mws.vlcloud.net )

1.9.2 ห้องปฏบิ ตั ิการ

1.9.2.1 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 6 หอ้ ง

- ห้องปฏิบัติการเคมี จำนวน 1 ห้อง

- หอ้ งปฏบิ ตั ิการชวี วิทยา จำนวน 3 หอ้ ง

- หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารฟสิ ิกส์ จำนวน 1 หอ้ ง

- หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ จำนวน 1 หอ้ ง

1.9.2.2 ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ จำนวน 6 หอ้ ง

1.9.2.3 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาษาต่างประเทศ จำนวน 4 ห้อง

1.9.2.4 ห้องปฏิบตั กิ ารอนื่ ๆ

- ห้องสมดุ ประจำกลุม่ สาระการเรียนรู้ จำนวน 12 ห้อง

- ห้องศนู ยก์ ารเรยี นรภู้ าษาไทย จำนวน 3 หอ้ ง

- ห้องศนู ย์การเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา จำนวน 4 ห้อง

- หอ้ งศนู ย์การเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ จำนวน 2 หอ้ ง

- หอ้ งปฏิบตั กิ ารคณิตศาสตร์ จำนวน 3 หอ้ ง

- หอ้ งศนู ยก์ ารเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ จำนวน 4 หอ้ ง

- หอ้ งศนู ย์กาเรียนรู้สขุ ศกึ ษา พลศึกษา จำนวน 2 หอ้ ง

- ห้องปฏิบตั กิ ารดนตรไี ทย จำนวน 3 ห้อง

- ห้องปฏิบัตกิ ารนาฏศลิ ป์ จำนวน 1 ห้อง

- ห้องปฏบิ ตั ิการดนตรีสากล จำนวน 3 ห้อง

- หอ้ งปฏบิ ตั ิการศลิ ปะ จำนวน 3 ห้อง

- หอ้ งปฏบิ ัติการอตุ สาหกรรม จำนวน 5 ห้อง

- ห้องปฏิบัตกิ ารคหกรรม (งานผา้ และเครอื่ งแตง่ กาย) จำนวน 2 หอ้ ง

- หอ้ งปฏิบตั กิ ารเกษตรกรรม จำนวน 1 ห้อง

- หอ้ งศนู ย์การเรียนรู้แนะแนว จำนวน 1 หอ้ ง

- ห้องกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จำนวน 3 หอ้ ง

25

1.9.3 คอมพิวเตอร์ จำนวน 536 เคร่อื ง

1.9.3.1 ใช้เพอื่ การเรียนการสอน จำนวน 396 เครอ่ื ง
140 เคร่อื ง
1.9.3.2 ใชเ้ พือ่ บรหิ ารจัดการ จำนวน
สถิตกิ ารใช้ (จำนวนคร้งั /ปี)
1.9.4 แหลง่ เรียนรภู้ ายใน 2,329

ลำดบั ชอื่ แหล่งเรยี นรู้ ตลอดปกี ารศึกษา
ตลอดปกี ารศึกษา
1 ห้องสมดุ ดิจิตอล (E-Library) ตลอดปีการศกึ ษา
ตลอดปีการศึกษา
2 ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ ตลอดปกี ารศกึ ษา
ตลอดปกี ารศกึ ษา
3 ห้องปฏบิ ตั กิ ารดนตรีไทย ตลอดปีการศึกษา
ตลอดปกี ารศึกษา
4 หอ้ งปฏบิ ตั ิการนาฏศิลป์ ตลอดปีการศกึ ษา
ตลอดปีการศกึ ษา
5 หอ้ งปฏบิ ัติการดนตรสี ากล ตลอดปีการศกึ ษา
ตลอดปีการศึกษา
6 หอ้ งปฏิบัติการศิลปะ ตลอดปกี ารศกึ ษา
ตลอดปกี ารศกึ ษา
7 ห้องปฏบิ ัติการอตุ สาหกรรม ตลอดปกี ารศึกษา
ตลอดปีการศึกษา
8 ห้องปฏิบัตกิ ารอุตสาหกรรม (งานไม)้ ตลอดปีการศกึ ษา
ตลอดปกี ารศกึ ษา
9 ห้องปฏิบัติการอตุ สาหกรรม (งานเขยี นแบบ) ตลอดปกี ารศกึ ษา
ตลอดปีการศึกษา
10 ห้องปฏิบตั กิ ารอตุ สาหกรรม (งานไฟฟ้า) ตลอดปีการศึกษา

11 หอ้ งปฏิบตั ิการอตุ สาหกรรม (งานอาหาร)

12 หอ้ งปฏิบตั ิการคหกรรม (งานผา้ และเครื่องแต่งกาย)

13 ห้องปฏบิ ัติการเกษตรกรรม

14 ห้องศูนยก์ ารเรยี นร้แู นะแนว

15 ห้องศูนย์กาเรียนรสู้ ขุ ศึกษา พลศกึ ษา

16 ห้องศูนย์การเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

17 หอ้ งศนู ย์การเรยี นรู้ภาษาไทย

18 หอ้ งศนู ย์การเรยี นรสู้ ังคมศึกษา

19 หอ้ งศนู ยก์ ารเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

20 ศนู ย์เพาะเลี้ยงถงั เชา่ สีทอง

21 ศนู ย์เพาะเล้ยี งเนอ้ื เยอ่ื พชื

22 ศูนยก์ ารเรยี นรเู้ ศษรฐกิจพอเพียง (เรอื นพมิ พร์ ำลกึ )

26

1.9.5 แหลง่ เรยี นรู้ภายนอก สถติ ิการใช้ (จำนวนครัง้ /ปี)
1
ลำดับ ชอ่ื แหล่งเรียนรู้
1 I-TIM (International Hotel and Tourism Industry Management 1
School) 1
2 สถานทตู สวิตเซอรแ์ ลนด์ 1
3 โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา (สอบวดั ระดบั ความรูภ้ าษาฝร่งั เศส) 1
4 สมาคมฝรั่งเศสกรุงเทพ (เทศกาลประชาคมผู้ใชภ้ าษาฝร่ังเศส ออนไลน์)
5 วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (โครงการครูภาษามาหาถึง 1
ห้องเรียน ออนไลน)์
6 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (กิจกรรมแนะแนวภาษา 1
สัญจร ออนไลน์) 1
7 ศนู ย์พัฒนาวิชาการภาษาฝรง่ั เศส โรงเรยี นชโิ นรสวทิ ยาลยั 1
8 ศนู ยพ์ ัฒนาวิชาการภาษาฝรงั่ เศส โรงเรยี นสรุ ศักดิ์มนตรี 1
9 พพิ ิธภณั ฑน์ ิทรรศนร์ ัตนโกสนิ ทร์ 1
10 ศนู ยว์ ัฒนธรรมแห่งประเทศไทย 1
11 วดั กำแพง 1
12 วดั สิงห์ 1
13 วดั ชโิ นรสารามวรวิหาร 1
14 วัดสนามนอก จังหวดั นนทบุรี 1
15 วัดสะแกงาม 1
16 อาคารศลิ ปวฒั นธรรม จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั
17 สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทย

27

1.9.6 ปราชญ์ชาวบ้าน/ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิท่ีสถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้

ที่ ผ้ใู หค้ วามรู้ หน่วยงาน ให้ความรเู้ ร่ือง ระดับชั้น สถติ กิ ารให้
ความรู้ (คร้งั /ปี)
1 ทนายสุวทิ ย์ สุนทรกจิ เสนยี ์ ประธานสภา กฎหมายน่ารู้สู่ ม.4/10 , ม.5/9
1
ทนายความ ประชาชน ม.6/9
1
จงั หวดั ธนบุรี
1
2 ทนายสมชาย จริ สัตยส์ ุนทร ประธานสภา กฎหมายนา่ รสู้ ู่ ม.4/10 , ม.5/9
20
ทนายความ ประชาชน ม.6/9 20
20
จังหวดั ธนบุรี

3 ทนายพรี ะพงษ์ เครือรตั น์ ประธานสภา กฎหมายนา่ รูส้ ู่ ม.4/10 , ม.5/9

ทนายความ ประชาชน ม.6/9

จังหวดั ธนบุรี

4 พระครูพิศิษฎ์สรคณุ วดั ปทมุ คงคาราช พระพทุ ธศาสนา ม.1

(อนนท์ ปัญญาคโม) วรวหิ าร ม.1

5 พระมหารณพงศ์ กิตติวฑุ โฒ วดั ปทุมคงคาราช พระพทุ ธศาสนา ม.2

วรวหิ าร ม.2

6 พระมหาเสรชี น นริสสโร วัดปทมุ คงคาราช พระพทุ ธศาสนา ม.3

วรวิหาร ม.3

28

1. 10 ผลการจดั การเรียนรูต้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

1.10.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษา

- ระดับสถานศกึ ษา

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเ้ รยี นท้ังหมดโดยเฉลี่ย 3.19

- ระดบั ชน้ั เรยี น

ระดับ จำนวน จำนวนนักเรียนที่มผี ลการเรยี นรู้ จำนวนนักเรียนที่
ช้นั เรียน นกั เรียน ได้ระ ัดบ 3 ้ึขนไป
(คน) ร้อยละ ันกเรียนท่ีไ ้ด
ระดับ 3 ้ึขนไป
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 533 28 44 28 35 38 53 59 241 353 66.23
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 554 30 53 23 37 37 56 51 257 364 65.70
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 627 30 72 29 41 43 61 59 286 406 64.75
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 512 14 29 17 27 31 45 51 292 388 75.78
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 495 17 19 12 16 21 34 48 323 405 81.82
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 518 6 18 8 17 19 33 42 374 449 86.68
รวมจำนวนนักเรยี นม.1- 6 3,239 125 235 117 173 189 282 310 1773 2365 73.02

- ระดับกลมุ่ สาระการเรียนรู้

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทกุ ระดบั ชัน้ ม.1 – ม.6

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวน จำนวนนักเรียนทม่ี ผี ลการเรียนรู้ จำนวนนักเรียน ี่ทได้
(คน) ระดับ 3ข้ึนไป

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ร้อยละ ันกเ ีรยน ี่ทไ ้ด
ระ ัดบ 3ขึ้นไป

ภาษาไทย 3,264 130 327 128 180 208 335 429 1460 2224 68.66
คณิตศาสตร์ 3,264 213 445 212 266 270 360 349 1052 1761 54.37
3,264 137 229 118 160 195 292 338 1697 2327 71.84
วทิ ยาศาสตร์ 3,264 102 176 108 154 156 227 236 2074 2537 78.33
สังคมศกึ ษา ศาสนา
และวฒั นธรรม 3,264 159 167 83 150 146 216 214 2068 2498 77.12
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 3,264 75 186 60 146 129 332 290 2021 2643 81.60
ศิลปะ 3,264 62 287 124 148 160 239 252 1949 2440 75.33
การงานอาชพี และ
เทคโนโลยี 3,264 111 197 121 195 226 282 348 1741 2371 73.20
ภาษาต่างประเทศ

หมายเหตุ ข้อมลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนท้ังสองตารางจำนวนนกั เรยี นทข่ี าดไปคือจำนวนนักเรียนท่ีตดิ ร และ มส

29

1.10.2 ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET)
1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 และ

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2562 – 2564

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 และ 6

ระดบั ช้นั ม.3 ม.6

ปีการศกึ ษา 2562 2563 2564 2562 2563 2564

ภาษาไทย 60.18 61.35 65.67 45.27 46.87 54.05

คณติ ศาสตร์ 32.26 32.55 31.27 27.46 28.40 26.72

วิทยาศาสตร์ 31.46 34.20 35.35 28.67 32.72 34.35

สังคมศึกษาฯ ไม่มีการจดั สอบรายวิชาน้ี 36.50 36.66 41.53

ภาษาอังกฤษ 39.23 42.25 39.08 33.60 33.79 30.87

แผนภูมิ แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-Net) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
ยอ้ นหลงั 3 ปีการศกึ ษา 2562 – 2564

30

แผนภมู ิ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-Net) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
ย้อนหลงั 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564

2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปีการศกึ ษา 2564

ระดบั / รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลยี่ ของโรงเรยี น 65.67 31.27 35.35 39.08

คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพม. กท 1 59.76 32.32 35.98 43.22

คะแนนเฉลี่ย ระดับจังหวัด 59.76 32.32 35.98 43.22

คะแนนเฉลย่ี สงั กดั สพฐ. ทง้ั หมด 52.13 24.75 31.67 30.79

คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ 51.19 24.47 31.45 31.11

หมายเหตุ เน่ืองจากในปีการศกึ ษา 2564 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เข้ารบั การทดสอบ O – Net
โดยความสมคั รใจสอบ จงึ ไม่ใช่สถิติจำนวนนักเรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ท้งั ระดบั ชั้น

31

3) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดบั / รายวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 54.05 26.72 34.35 46.40 30.87

คะแนนเฉล่ีย ระดับ สพม. กท 1 54.67 32.83 33.37 42.04 39.53

คะแนนเฉล่ยี ระดบั จังหวัด 54.67 32.83 33.37 42.04 39.53

คะแนนเฉลี่ย สงั กัด สพฐ. ทงั้ หมด 47.74 21.83 29.04 37.45 25.83

คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 46.40 21.28 28.65 36.87 25.56

1.10.3 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ปีการศกึ ษา 2564

ระดบั ช้นั จำนวนนกั เรียนทงั้ หมด จำนวน (ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คุณภาพ)

ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น

มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 533 90.24 7.88 1.69 0.19

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 554 86.64 12.27 0.72 0.36

มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 627 87.72 9.09 2.71 0.48

มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 512 88.28 10.94 0.59 0.20

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 495 93.13 6.26 0.40 0.20

มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 518 87.45 11.97 0.39 0.19

รวม 3,239 2,877 316 37 9

เฉลีย่ รอ้ ยละ 100 88.82 9.76 1.14 0.28

105 0.19. 0.36 0.48. 0.20 0.2 0.4 0.19 0.39
100 1.69 0.72 0.59 11.97
95 7.88 2.71
6.26
12.27 9.09 10.94 ไมผ่ า่ น

90 ผา่ น

85 90.24 86.64 87.72 88.28 93.13 ดี

80 87.45 ดเี ย่ยี ม

75

แผนภมู ิ แสดงผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ปีการศกึ ษา 2564

32
1.10.4 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน 5 ด้าน ปกี ารศกึ ษา 2564

จำนวนนกั เรยี น จำนวน (รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดับ
ทงั้ หมด
ดา้ น คณุ ภาพ)
3,239
1) ความสามารถในการสื่อสาร 3,239 ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น
2) ความสามารถในการคิด 3,239
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 3,239 90.93 8.82 0.25 0
4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 3,239
5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 3,239 83.45 15.96 0.59 0
100
รวม 77.43 21.52 1.06 0
เฉล่ยี รอ้ ยละ
87.86 11.39 0.75 0

94.19 5.59 0.22 0

2,894 317 18 0

89.35 9.79 0.56 0.00

120 01.255.96 0.59 1.1016.39 0.75 0.22
90.93 21.52 77.43 5.59 94.19
100 8.82 83.45 87.86

80
60
40
20

0

ดีเยยี่ ม ดี ผา่ น

แผนภูมิ แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 5 ดา้ น ปกี ารศึกษา 2564

33
1.10.5 ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ปีการศกึ ษา 2564

ระดบั ชนั้ จำนวนนกั เรียนทั้งหมด จำนวน (ร้อยละของนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ)

ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 533 99.44 0.00 0.00 0.56

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 554 98.19 0.00 0.00 1.81

มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 627 98.25 0.00 0.00 1.75

มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 512 95.12 0.00 0.00 4.88

มัธยมศึกษาปที ี่ 5 495 97.37 0.20 0.00 2.42

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 518 98.84 0.00 0.00 1.16

รวม 3,239 3,171 1 0 67

เฉลี่ยร้อยละ 100 97.90 0.03 0.00 2.07

100 0.56 0.85 0.20 4.88 2.42

98

96
94 ไมผ่ า่ น

92 0.53 99.44 98.19 98.25 97.37 ผ่าน
90 95.12 ดี
88

86 89.08 ดีเยี่ยม

84

82

แผนภูมิ แสดงผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ปกี ารศึกษา 2564

34
1.10.6 ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ปกี ารศึกษา 2564

ระดับชั้น จำนวนนกั เรียนทั้งหมด จำนวน (ร้อยละของนกั เรยี น)

ผ่าน ไมผ่ า่ น

มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 533 100.00 0.00

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 554 99.46 0.54

มธั ยมศึกษาปีที่ 3 627 97.45 2.55

มัธยมศึกษาปที ่ี 4 512 100.00 0.00

มัธยมศึกษาปีท่ี 5 495 99.80 0.20

มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 518 100.00 0.00

รวม 3,239 3,191 48

เฉลีย่ รอ้ ยละ 100 98.52 1.48

ผา่ น ไมผ่ ่าน

100 0.53 0.00 0.54 0.20 0.20
99.5

99 2.55

98.5 99.47 100 100 99.8
98
97.5 99.46

97 97.45

96.5

96

แผนภูมิ แสดงผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปกี ารศกึ ษา 2564

35

1. 11 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก

1.11.1 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์

COVID – 19

สถานศึกษาไดร้ บั การรบั รองจากคณะผู้ประเมนิ เม่ือวันที่ 13 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564

สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – 19 ดังตารางต่อไปนี้

มาตรฐานที่ ระดบั คณุ ภาพ

1. คณุ ภาพของผูเ้ รียน ดี

2. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดี

3. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ดี

ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลการประเมินระดับสูงขน้ึ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลและหลักฐานเพิ่มเติมใน SAR เพื่อให้มีความชัดเจนในรายละเอียด ดังนี้ ข้อมูล

เปา้ หมายในการพัฒนาตามมาตรฐานคุณภาพของผู้เรยี น ด้านศกั ยภาพ สมรรถนะ และคณุ ลักษณะตามเป้าหมายของ
หลกั สตู รท้ังเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ ขอ้ มูลการเปรียบเทียบผลการดำเนนิ งานกับเปา้ หมายท่ีกำหนด ข้อมลู ตัวอย่าง
โครงการกิจกรรมที่มีรายละเอียด และสรุปผลโครงการ ข้อมูลการนำผลการสรุปโครงการหรือบันทึกหลังการจัดการ
เรียนรูไ้ ปส่งเสริมความสามารถของผเู้ รยี น ขอ้ มูลการรายงานผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี นใหผ้ ู้ปกครอง ผเู้ กยี่ วข้องได้
รบั ทราบ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลและหลักฐานเพิ่มเติมใน SAR เพื่อให้มีความชัดเจนในรายละเอียด ดังนี้ ข้อมูล
การนำแผนไปปฏิบัติ การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล ตามแผนพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
รายละเอียดการดำเนินการโครงการและกิจกรรม ข้อมูลประเมินผลการดำเนินการ การกำหนดค่าเป้าหมายตาม
มาตรฐานการศึกษา และโครงการและกิจกรรม ข้อมูลสรุปผลการดำเนินการเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายตาม
มาตรฐานการศึกษาด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ และโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ข้อมูลร้อยละของ
ผ้เู กย่ี วข้องทุกฝา่ ยเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการดำเนนิ การว่ามีกลุ่มใดบ้าง มีสว่ นรว่ มอยา่ งไร เร่อื งอะไร และมีความพึงพอใจ
ร้อยละเท่าไร เพื่อการพัฒนาในปีต่อไป ข้อมูลการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ผลงานของสถานศึกษาผ่านสื่อในรูปแบบ
ใดบ้าง เช่น ทางเว็บไซต์ หรือเฟซบคุ ของโรงเรยี น เปน็ ตน้

36

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลและหลักฐานเพิ่มเติมใน SAR เพื่อให้มีความชัดเจนในรายละเอียด ดังน้ี ข้อมูล
จำนวนหรือร้อยละของครูที่จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชาทุกชั้นปีที่สอน ข้อมูลตัวอย่างแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โครงการและกิจกรรมที่แสดงรายละเอียดกระบวนการดำเนินงาน ข้อมูล
กระบวนการกำกับติดตาม การนำแผนการจัดการเรียนรู้ โครงการ กิจกรรม ในการนำไปพัฒนาผู้เรียน ข้อมูลการนำ
สรุปผลการโครงการและกิจกรรม บันทึกผลหลังสอนไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้อมูลที่ได้จากการ
แลกเปลีย่ นเรียนรไู้ ปพัฒนาปรับปรุงการจดั การเรียนการสอนอยา่ งไร
ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ
ในการเขียน SAR ในปีการศึกษาต่อไป สถานศึกษาควรระบุหรือเพิ่มเติมข้อมูลเหล่านี้ไว้ด้วย ดังนี้ ข้อมูล
ทัว่ ไปของสถานศึกษา จำนวนบคุ ลากรอืน่ ๆ ขอ้ มลู สำคญั ของสถานศึกษา อัตราส่วน ครู ต่อ ผเู้ รยี น จำนวนครคู รบช้ัน
เรียนหรอื ไม่ครบชั้น รอ้ ยละของผู้สำเร็จการศึกษาชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวนวันท่ีสถานศึกษา
จัดการเรียนการสอนจริง ในปีการศึกษาท่ปี ระเมิน และข้อมูลผลการดำเนินงานตามทส่ี ถานศึกษากำหนดไวใ้ น นิยาม/
จุดเนน้ ของแตล่ ะมาตรฐาน ยอ้ นหลัง 3 ปกี ารศึกษาวา่ มผี ลการพฒั นาท่ีสูงขึ้นหรือไม่ อย่างไร หากสูงเท่าเดิมหรือเพิ่ม
สูงข้นึ สถานศึกษามีแผนหรือวธิ ีการ กระบวนการในการดำเนนิ งานเร่ืองนีอ้ ยา่ งไร

1.12 สถานศกึ ษาประเมินความพร้อมด้านปัจจยั นำเข้า (Input) เพ่ือวเิ คราะห์
ประสิทธิภาพ และโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

รายการ แนวการพิจารณา ระดบั
ความพรอ้ ม
1. ด้านกายภาพ
1) การจดั ห้องเรียนต่อ  มีการจัดห้องเรียน ครบตามระดับช้ันทีเ่ ปิดสอน 3 มาก

ระดับช้นั  มีการจัดห้องเรียน แบบคละช้ัน 2 ระดับช้นั 2 ปานกลาง

2) ห้องปฏิบัติการ/ห้อง  มีการจัดห้องเรียน แบบคละช้ันมากกวา่ 2 ระดับชั้น 1 น้อย
พเิ ศษ / แหลง่ เรยี นรู้
ในโรงเรยี น  มีหอ้ งปฏบิ ตั ิการ/ห้องพิเศษ/แหล่งเรยี นรู้เพยี งพอและพรอ้ มใชง้ าน 3 มาก

 มีห้องปฏบิ ตั ิการ/ห้องพิเศษ/แหลง่ เรียนรเู้ พยี งพอแต่ไม่พรอ้ ม 2 ปานกลาง

ใชง้ าน หรอื มีไม่เพยี งพอแตพ่ ร้อมใชง้ าน

 มีห้องปฏบิ ัตกิ าร/ห้องพิเศษ/แหลง่ เรยี นรู้ไมเ่ พยี งพอ และไม่พรอ้ ม 1 นอ้ ย

ใช้งาน

 มีสอื่ เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้อยา่ งหลากหลาย และครบทุก 3 มาก

กล่มุ สาระการเรียนรู้

37

รายการ แนวการพจิ ารณา ระดบั
ความพร้อม
3) สือ่ เทคโนโลยี  มสี อื่ เทคโนโลยีส่งเสรมิ การเรียนรอู้ ย่างหลากหลาย แต่ไมค่ รบทกุ 2 ปานกลาง

ประกอบ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 1 นอ้ ย

การเรยี นการสอน  มีสื่อเทคโนโลยสี ง่ เสริมการเรยี นร้ไู ม่หลากหลาย และไม่ครบทุก 3 มาก
2 ปานกลาง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 1 น้อย
3 มาก
2. ดา้ นบคุ ลากร 2 ปานกลาง

1) ผบู้ ริหารสถานศึกษา  มผี อู้ ำนวยการสถานศึกษา 1 นอ้ ย
3 มาก
 มีผูร้ กั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา 2 ปานกลาง
1 น้อย
 ไม่มีผ้อู ำนวยการ/ผ้รู ักษาการในตำแหน่งผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา
3 มาก
2) จำนวนครู  มจี ำนวนครูครบทุกระดับช้ัน และทกุ รายวชิ า 2 ปานกลาง
1 นอ้ ย
 มจี ำนวนครคู รบทุกระดับช้ันแตไ่ ม่ครบทุกรายวชิ า หรือมคี รูไม่ครบ
3 มาก
ทกุ ระดบั ชนั้ แต่ครบทุกรายวชิ า 2 ปานกลาง
1 นอ้ ย
 มีจำนวนครูไม่ครบทุกระดบั ชั้น และไม่ครบทุกรายวิชา 3 มาก

3) จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยการ  มีชว่ั โมงเฉลย่ี ตงั้ แต่ 20 ชั่วโมงขน้ึ ไป 2 ปานกลาง

พัฒนาตนเองของครู  ชวั่ โมงเฉลีย่ ระหว่าง 10 - 19 ช่วั โมง 1 นอ้ ย

ระดับการศึกษาขั้น  มีช่ัวโมงเฉลี่ยนอ้ ยกวา่ 10 ชั่วโมง

พื้นฐาน ทั้งหมดใน

ปกี ารศกึ ษาทผ่ี า่ นมา

4) จำนวนช่วั โมงเฉลยี่  มีช่ัวโมงเฉลีย่ ตัง้ แต่ 50 ช่วั โมงขน้ึ ไป

การเขา้ ร่วมกิจกรรม  มีชวั่ โมงเฉลย่ี ระหว่าง 25 - 49 ชัว่ โมง

PLC ของครรู ะดบั  มีชัว่ โมงเฉลี่ยนอ้ ยกว่า 25 ช่วั โมง

การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

ท้ังหมดในปีการศึกษา

ท่ผี ่านมา

5) บคุ ลากรสนบั สนุน  มบี คุ ลากรสนับสนุนงานวิชาการ และธรุ การ

 มบี ุคลากรสนบั สนนุ งานวิชาการ หรือธุรการ

 ไมม่ ีบุคลากรสนับสนุน

6) การให้ความรู้ ความ  มีการประชมุ /อบรม/แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เรอ่ื งการประกนั คณุ ภาพฯ

เข้าใจเกีย่ วกับการ กับครทู กุ คน

ประกันคุณภาพ  มีการประชุม/อบรม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรอ่ื งการประกนั คุณภาพฯ

การศึกษาในปี กบั ครูทรี่ บั ผดิ ชอบงานประกนั คุณภาพการศึกษา

การศกึ ษาทผ่ี ่านมา  ไม่มีการประชุม/อบรม/แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เรือ่ งการประกนั

คุณภาพฯ

38

รายการ แนวการพิจารณา ระดับ

ความพรอ้ ม

3. ดา้ นการสนบั สนนุ จากภายนอก

1) การมีสว่ นร่วมของ  ผูป้ กครองรอ้ ยละ 80 ขึ้นไป เข้ารว่ มประชมุ หรอื กิจกรรมของ 3 มาก

ผ้ปู กครอง สถานศกึ ษา

 ผู้ปกครองร้อยละ 50 - 79 เข้ารว่ มประชุมหรือกิจกรรมของ 2 ปานกลาง

สถานศึกษา

 ผู้ปกครองน้อยกว่ารอ้ ยละ 50 เข้าร่วมประชุมหรือกจิ กรรมของ 1 นอ้ ย

สถานศกึ ษา

2) การมีส่วนร่วมของคณะ  คณะกรรมการสถานศกึ ษาเขา้ ร่วมประชมุ กับสถานศึกษา อย่าง 3 มาก

กรรมการสถานศึกษา น้อย 4 ครัง้ ต่อปี

ขัน้ พื้นฐาน  คณะกรรมการสถานศึกษาเข้าร่วมประชุมกับสถานศึกษา 2-3 ครงั้ 2 ปานกลาง

ต่อปี

 คณะกรรมการสถานศึกษาเขา้ ร่วมประชมุ กบั สถานศึกษา นอ้ ยกวา่ 1 นอ้ ย

2 คร้ังต่อปี

3) การสน ั บสน ุ นจาก  ไดร้ บั การสนบั สนุนเพียงพอ และส่งผลต่อการพฒั นาสถานศกึ ษา 3 มาก

หน่วยงาน /องค์กรที่  ได้รับการสนับสนนุ เพยี งพอ แต่ไมส่ ง่ ผลต่อการพัฒนาสถานศึกษา 2 ปานกลาง

เกีย่ วขอ้ ง หรอื ได้รับการสนับสนุนไมเ่ พยี งพอ แต่ส่งผลต่อการพัฒนาสถานศึกษา

 ไดร้ ับการสนับสนุนไม่เพียงพอ และไม่ส่งผลต่อการพัฒนา 1 นอ้ ย

สถานศกึ ษา

สรุประดับความพรอ้ ม

สถานศึกษามีความพรอ้ มอยูใ่ นระดบั มาก 10 รายการ
สถานศกึ ษามีความพรอ้ มอยใู่ นระดับปานกลาง 2 รายการ
สถานศกึ ษามคี วามพรอ้ มอยูใ่ นระดบั น้อย 0 รายการ

39

40

41

42

43

44


Click to View FlipBook Version