The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0909, 2022-06-22 09:36:32

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2564

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2564

45

46



48

สว่ นท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปี

1. การบริหารจัดการของสถานศกึ ษา

โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหาร
งบประมาณ กลมุ่ บริหารงานบุคคล และกล่มุ บรหิ ารท่ัวไป ผูบ้ ริหารยึดหลักการบริหารงานโดยใชก้ ลยุทธ์การมี
ส่วนร่วมของผูม้ ีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ วัดสิงห์ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานฯ สมาคมผู้ปกครองและครู
ฯ สมาคมศิษย์เก่า ผู้ปกครองเครือข่าย ผู้ปกครองและชุมชน มีการกำหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ/
กิจกรรม ซึ่งมีขั้นตอนในการดำเนินงานตามกระบวนการ PDCA โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานฯ

Plan Do/Development

การประชุมวางแผนปรับปรุง การดำเนินการและพัฒนาตาม
โครงสร้างการบริหารจัดทำ แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม
แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม

Act Check

การแกไ้ ขปรบั ปรุงและรายงานผล การตรวจสอบติดตามประเมินผล
อย่างต่อเน่อื ง

49

นอกจากนี้ฝ่ายบริหารยงั ใช้รูปแบบที่เป็นเอกลกั ษณ์ของโรงเรยี นมัธยมวัดสงิ ห์ทเ่ี รยี กวา่ “MWS Model”

M = Motivation คอื ครแู ละบุคลากรเกิดแรงจูงใจในการปฏบิ ัติงานอันเนื่องมาจากการได้รับโอกาส
และแรงเสริมจากฝ่ายบริหาร ซึ่งมอบหมายงานให้ทำตรงตามความถนัด ความรู้ความสามารถของตน มีการ
กระจายอำนาจ อย่างเปน็ ระบบ สง่ ผลใหผ้ ู้ปฏิบัตงิ าน มีความสุขกบั การทำงาน ท่มุ เท อทุ ิศตนอย่างเต็มกำลัง
ความสามารถโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในด้านการเรยี นการสอน ซึ่งเปน็ หัวใจสำคัญของการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน
ผลงานจึงปรากฏเป็นท่ีประจักษ์ และสามารถขยายผลได้ การดำเนินงาน โครงการ กจิ กรรม ไดร้ ับการจูงใจให้
ใชร้ ะบบวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) ในทกุ ภาคสว่ น

W = Wisdom คือ ความรู้ ปัญญา ประสบการณ์ ของครูและบุคลากรแต่ละคน ซึ่งเป็นเสมือนภูมิ
ปัญญาที่ถ่ายทอด หรือเรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยไม่หวงแหน ไม่ถูกจำกัดด้วยวัยวุฒิ คุณวุฒิ ส่งผลให้โรงเรียน
มัธยมวัดสิงหเ์ ปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ เกิดความสามัคคีในหมคู่ ณะ ภาพบรรยากาศการทำงานไม่ว่าจะเป็นงาน
ประจำ หรือกจิ กรรมพิเศษจงึ มีความกลมเกลยี ว เกดิ ความร่วมมืออนั ดตี อ่ กนั มคี วามร่วมมอื จากศษิ ยเ์ ก่าเข้ามา
ให้ความร้กู บั รุ่นนอ้ งทางดา้ นวชิ าการโดยการสนบั สนุนของฝา่ ยบริหาร

S = Skill ครูและบุคลากร มีทักษะ ความชำนาญ ความเชี่ยวชาญ เนื่องจากผลการปฏิบัติงานที่
ประสบความสำเรจ็ ทำให้ได้รับความไวว้ างใจจากฝ่ายบรหิ ารให้รบั ผิดชอบงานน้ันโดยทุกคนมีโอกาสได้ต่อยอด
ความคิดสรา้ งสรรค์ จนเกิดทักษะความชำนาญ

Motivation Wisdom

Skill

50

51

2. วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย และกลยุทธ์ของสถานศึกษา

วิสยั ทศั น์ (Vision)
ผู้เรียนมคี ณุ ภาพระดับมาตรฐานสากล เปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้คู่คุณธรรม

อตั ลกั ษณ์ (Identities)
ใฝห่ าความรู้ เชดิ ชสู ถาบนั ยดึ มั่นคณุ ธรรม

เอกลักษณ์ (Missions)
บรรยากาศดี กจิ กรรมเด่น เปน็ ศนู ย์รวมชุมชน

พนั ธกิจ (Missions)
1. พฒั นาและส่งเสรมิ ผู้เรยี นใหม้ ีศักยภาพ สมรรถนะ และคณุ ลกั ษณะตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร
2. พัฒนาหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้

อยา่ งมีคณุ ภาพ
3. พฒั นา ส่งเสริม และสนับสนนุ ครูให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี
4. ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม หลักธรรมาภิบาล และระบบประกัน

คณุ ภาพการศกึ ษา

เป้าหมาย
1. ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีศักยภาพตามอัตลักษณ์ และมีทักษะ

ในการดำเนนิ ชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. สัมฤทธิผลของการจัดการศึกษาเปน็ ไปตามเกณฑ์คณุ ภาพมาตรฐานสากล
3. ครมู ุง่ พัฒนาตนเองให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ และเป็นครมู ืออาชพี
4. องค์กรทุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วมส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

กลยุทธ์
กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนาผู้เรียนให้มรี ะดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการสงู
กลยุทธท์ ่ี 2 พฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามเกณฑ์และสง่ เสริมศักยภาพผูเ้ รยี นตามความถนัด
กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
กลยุทธท์ ี่ 4 เสริมสร้างใหค้ รูมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพและเปน็ ครูมืออาชีพ
กลยทุ ธ์ท่ี 5 เสริมสรา้ งประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล และการประกนั คุณภาพการศึกษา

52

3. โครงการทสี่ อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา/ ชอ่ื โครงการ

กลยทุ ย์

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รยี น

กลยุทธ์ท่ี 1 1. โครงการอา่ น ดู รู้ฉลาด สามารถพฒั นาตน

2. โครงการปลูกฝังนิสยั รกั การทำงาน และมเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ อาชพี สุจรติ

3. โครงการสง่ เสรมิ สู่ความเปน็ เลศิ ทางดา้ นวิชาการ

กลยทุ ธท์ ่ี 2 1. โครงการสร้างเสริมคณุ ลกั ษณะตามอตั ลกั ษณด์ ้าน “ยึดมน่ั คณุ ธรรม”

2. โครงการลูกสิงหส์ บื สาน วฒั นธรรมดำรงไทย

3. โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข

กลยทุ ธ์ที่ 3 1. โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน

กลยทุ ธท์ ่ี 4 -

กลยุทธ์ท่ี 5 -

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

กลยทุ ธท์ ่ี 1 1. โครงการปลูกฝงั นิสัยรักการทำงาน และมเี จตคตทิ ่ีดตี ่ออาชพี สจุ รติ

กลยทุ ธ์ที่ 2 1. โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ทางด้านทัศนศิลป/์ ดนตรี/นาฏศลิ ป์

2. โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางดา้ นสุขภาพ/กฬี า/นนั ทนาการ

กจิ กรรมสุขภาพดี ชวี ีเปน็ สขุ

กลยุทธท์ ่ี 3 -

กลยุทธ์ที่ 4 1. โครงการเสริมสรา้ งและพฒั นาครตู ามมาตรฐานวิชาชพี

กลยทุ ธท์ ี่ 5 1. โครงการชวี อนามยั ปลอดภยั ปลอดโรค

2. โครงการสานสมั พนั ธบ์ ้าน – โรงเรียน

3. โครงการเสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ EP

4. สำนกั งานโครงการ EP

5. โครงการเสรมิ สรา้ งประสทิ ธิภาพบริหารจดั การศึกษา GEP

6. สำนักงานโครงการ GEP

7. โครงการจัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

กลยุทธ์ท่ี 1 -

กลยทุ ธท์ ี่ 2 -

กลยทุ ธท์ ่ี 3 1. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

2. โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ

กลยุทธท์ ่ี 4 -

กลยุทธ์ที่ 5 -



54

ส่วนท่ี 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น

1. กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/

กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น งานหลักสูตรมีการ
ประชุมปฏิบัติการปรับปรงุ หลักสตู รสถานศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวัด ฯ เพื่อให้ครูใช้เปน็ กรอบ
ในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย ดังน้ัน
สถานศึกษาจึงมุ่งเนน้ ให้นกั เรยี นมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณ รวมทั้ง
การมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา มคี วามสามารถในการวิเคราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การสือ่ สาร และการมีความรู้ทักษะพื้นฐาน
เจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชพี
ขน้ั ตอนการวางแผน (P = Plan) มีกระบวนการวางแผน ดังน้ี

1. ศกึ ษา และเตรยี มการ ประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย และวตั ถปุ ระสงค์ในการดำเนินงาน กำหนด
บทบาทหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบงานต่าง ๆ โดยศึกษาขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ

2. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ทั้งผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ตามเกณฑ์ของแตล่ ะช่วงชน้ั

3. ร่วมกันคิดหาวิธีการส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่าง
ตอ่ เนื่อง โดยศกึ ษาจากการดำเนนิ กจิ กรรม / โครงการต่าง ๆ ของโรงเรียนในปกี ารศึกษาท่ผี ่านมา

4. เสนอโครงการ / กิจกรรม เพื่อจัดทำโครงการ / กิจกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนวางแผนจัดต้ัง
ชมรม ชุมนุม กลุ่มการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่ส่งเสริมความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด
คำนวณ รวมถงึ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

5. สรา้ งเคร่ืองมือประเมนิ คุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน

55

ขนั้ ตอนการลงมอื ปฏบิ ัติและพัฒนา (D = DO และ Development) ดังน้ี
1. ครูพัฒนาหลักสูตร ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ

ACTIVE LEARNING สร้างและพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา ออกแบบเครื่องวัดผลและ
ประเมนิ ผลและนำผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ รวมท้งั การจัดทำสารสนเทศของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

2. ปรบั ปรงุ พฒั นาห้องเรียนและจดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกบั กิจกรรมการเรียนรูต้ า่ ง ๆ
3. ดำเนินการจัดโครงการ / กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในทุกมิติ ทั้งทางวิชาการ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
4. นำนกั เรียนเขา้ รว่ มการแข่งขนั ทักษะต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประสานกับหน่วยงานภายในและ
ภายนอกโรงเรียนทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง เพ่ือดำเนนิ การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดกจิ กรรม

ขนั้ ตอนการตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ผล (C = Check)
1. ดำเนินการตามโครงการ / กิจกรรมที่กลุ่มสาระฯ รับผิดชอบตามปฏิทินการปฏิบัติงานของโรงเรียน

แล้วเกบ็ ขอ้ มลู รอ่ งรอย หลักฐาน แล้วรายงานผลการดำเนินงานใหโ้ รงเรียนทราบ
2. ดำเนนิ การเกบ็ ข้อมูลผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (GPA) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของ

ผู้เรียน ผลการสอบ O-NET ผลการพัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณ
ตรวจสอบ ติดตามผลการดำเนินการตามโครงการ / กิจกรรม ตามปฏิทินการปฏิบัติงานของโรงเรียน เพ่ือ
ทราบความก้าวหน้าของการดำเนินการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงข้อบกพร่อง เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ
และประสทิ ธิผลสงู ขึ้นในปีการศึกษาตอ่ ไป

3. ประเมินผล และรวบรวมผลการประเมินความสามารถต่าง ๆ ตามระดับคุณภาพของผู้เรียนในแต่ละ
ระดับช้นั

4. ประเมินผลกิจกรรมของตนเอง สะท้อนหน้าที่การทำงาน ประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรม
ตลอดจนการสะทอ้ นถึงปญั หาและอุปสรรคทีเ่ กดิ ขน้ึ ในการทำงาน การแกป้ ญั หาและการยอมรบั ผลทเ่ี กดิ ข้ึน

ขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา (A = Act)
1. ศึกษารายงานผลการประเมินโครงการ / กจิ กรรม เพื่อนํา ผลมาวเิ คราะห์ข้อมลู
2. ปรับปรุง แก้ไขการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลให้สูงขึ้น โดยการนิเทศ

แบบตา่ งๆ
3. จัดการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง จัดการสอนซ่อมเสริมให้นักเรียนที่สอบไม่ผ่าน ติด 0 ร มส. โดยหา

กิจกรรมที่เหมาะสมในการพัฒนานักเรียนกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้แก่
นักเรียน

4. จดั ทำขอ้ ตกลงระหว่างครูในกล่มุ สาระ MOU เพ่ือยกผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นให้สงู ขึ้น
5. สรุปผลประเมินการวัดความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สารและการคิดคำนวณตามเกณฑ์
ของแตล่ ะระดบั ชั้น

56

6. ส่งรายงานผลการประเมินการวัดความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ
ตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้นให้กับทางแผนงานเพื่อทำการรวบรวมผลการประเมิน เพื่อปรับปรุงการพัฒนา
คุณภาพผู้เรยี นในปตี อ่ ไป

2. ผลการดำเนินงาน
ตวั บ่งชี้ท่ี 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รยี น

ประเด็นพจิ ารณา 1 มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและการคิดคำนวณ

57

58

59
ประเดน็ พิจารณา 2 ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ

อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแก้ปัญหา

ประเดน็ พิจารณา 3 ความสามารถในการสร้างนวตั กรรม

60
ประเด็นพจิ ารณา 4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร

ประเดน็ พิจารณา 5 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา

61

62
ประเดน็ พิจารณา 6 มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐานและเจตคตติ อ่ งานอาชีพ

ตัวบง่ ชที้ ี่ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น
ประเด็นพิจารณา 1 การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตามอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น

“ใฝ่หาความรู้ เชิดชสู ถาบัน ยึดม่นั คณุ ธรรม”

63
ประเดน็ พจิ ารณา 2 ความภมู ิใจในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย

ประเด็นพจิ ารณา 3 การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

64
ประเด็นพจิ ารณา 4 สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม

3. จุดเดน่
1. นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น (GPA) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะทส่ี ำคัญของผู้เรียน

ตามค่าเปา้ หมายของสถานศกึ ษา
2. นกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 มีระดับการพฒั นาท่ีดีขึ้นในทุก

กล่มุ สาระการเรียนรู้จากการทดสอบระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET)
3. นักเรยี นท่มี ผี ลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน การเขียน และการสื่อสารต่ำได้รับการพัฒนา

อย่างต่อเน่อื ง
4. นกั เรยี นได้รบั รางวลั ตา่ ง ๆ จากการเขา้ ร่วมการแขง่ ขันรายการต่าง ๆ ทีม่ ชี ือ่ เสยี ง เป็นท่ียอมรบั
5. ครปู รับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
6. ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้กับผู้เรียน มีการ

จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย สำเร็จตามวัตถุประสงค์ วัน เวลาทตี่ ัง้ ไว้ตามปฏทิ นิ ปฏิบตั ิงานของโรงเรียน
มกี ระบวนการวเิ คราะห์ และวิเคราะหผ์ ้เู รียนเป็นรายบุคคลแล้วนำผลมาพัฒนาปรับปรุงให้สงู ข้ึน

7. ครูวางแผนและปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรม เพื่อส่งเสริมความสามารถของนักเรียนอย่างเต็ม
ศกั ยภาพได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ทั้งรปู แบบ On-site และ Online

8. ครทู ราบจดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของนักเรียนจากการวเิ คราะหผ์ ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล

65

9. ครูสร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เช่น
แบบประเมินการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา เพื่อ
เก็บขอ้ มลู ดา้ นการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ญั หา

10. ผู้บริหารโรงเรียนส่งเสริมสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ มีการกำกับ ติดตาม และ
ตรวจสอบผลการดำเนินงาน เพอ่ื พัฒนาความสามารถของนกั เรียนในดา้ นตา่ ง ๆ

11. โรงเรยี นส่งเสรมิ สนับสนนุ แหลง่ เรียนร้ตู า่ ง ๆ จนเป็นที่ยอมรบั ของชมุ ชนและผู้ปกครอง
12. โรงเรียนสนับสนุนการจัดหาอุปกรณ์เทคโนโลยีและเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ซ่อมบำรงุ
รวมถงึ หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูง สำหรบั การเรยี นร้ขู องนกั เรียนได้เพยี งพอต่อ
จำนวนนกั เรยี น โดยอตั ราส่วนในการใชค้ อมพวิ เตอร์ตอ่ คร้ัง คือ นกั เรียนหน่ึงคนตอ่ คอมพิวเตอร์หนึ่งเครอ่ื ง จึง
ทำให้นกั เรียนไดฝ้ ึกทักษะและเรยี นร้ไู ด้อยา่ งเหมาะสม
13. โรงเรียนจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร มีความรู้คู่
คณุ ธรรม มีกจิ กรรมส่งเสริมประชาธิปไตย มีกจิ กรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีอย่างหลากหลาย และต่อเนื่องตลอดปี
การศึกษา เป็นการช่วยสนับสนุนนักเรียนในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ให้ประสบความสำเร็จ และนำไปสู่รางวัล
แห่งความภาคภูมิใจของนักเรียน จึงส่งผลให้นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีเป็นไปตามอัตลักษณ์ของ
โรงเรยี น “ใฝ่หาความรู้ เชิดชสู ถาบนั ยดึ มั่นคณุ ธรรม”
14. นักเรียนให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมความเป็นไทย กิจกรรมตาม
ประเพณี วัฒนธรรม และวันสำคัญต่าง ๆ ที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น ทำให้นักเรียนเห็นคุณค่าของประเพณีและ
วัฒนธรรมอนั ดงี ามของไทย
15. โรงเรียนจัดกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม โดยผ่านรูปแบบการจดั กิจกรรมและนิทรรศการให้
ความรู้ ทำให้นักเรียนมีทศั นคติท่ีดีตอ่ การเรียนภาษาต่างประเทศ และภาษาต่างประเทศท่ีสอง อีกทั้งนักเรยี น
ได้แสดงศกั ยภาพของตนเอง ตามความถนัด ความสนใจในดา้ นวิชาการ ศลิ ปะ และบนั เทิง ผา่ นการจดั กจิ กรรม
ที่สร้างสรรค์ ทำให้นักเรียนรู้จักการทำงานเป็นทีม สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั
ได้
16. โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่เข้มแข็ง มีกระบวนการในการส่งเสริมและปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีค่านิยมที่ดีงาม นักเรียนมีสุขภาพกายท่ี
แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ เนื่องด้วยโรงเรียนมีกิจกรรมทีส่ ่งเสริมทั้งทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และ
กิจกรรมสร้างสรรค์อื่นๆ ซึ่งได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยงานในชุมชน และหน่วยงานอื่น ๆ
เป็นอย่างดี เชน่ โรงเรียน วัด โรงพยาบาล หนว่ ยงานภายนอกทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ฯลฯ

66

4. จดุ ควรพัฒนา

1. ควรพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 และช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ใหม้ ากกวา่ ร้อยละ 50 สำหรบั บางกลุม่ สาระการเรยี นรู้

2. ควรมีการติดตามนักเรียนที่มาสาย ขาดเรียนบ่อย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ( GPA)
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะทสี่ ำคญั ของผู้เรียนใหส้ งู ขนึ้

3. ควรส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อสร้างความสนใจในการเรียนรู้ และสืบค้นทั้งในรูปแบบ
On-site และ Online เช่น จัดทำแหล่งเรียนรู้ผ่านช่องทาง YouTube Facebook Google Site การติด
เครื่องปรับอากาศ การตดิ ตงั้ ระบบอนิ เทอร์เน็ตให้ครอบคลมุ ทุกอาคารเรียน

4. ลดผลการเรยี น "0" "ร" "มส" ของนกั เรียนในแตล่ ะภาคเรยี น
5. ควรจัดการเรยี นซอ่ มเสริมนักเรยี นหลงั เลิกเรียนทไี่ มผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ในแตล่ ะตวั ชวี้ ัด
6. พัฒนาผลการการเรียนรูข้ องนักเรยี นท่ีไม่เป็นไปตามเกณฑ์
7. เพมิ่ เสถียรภาพทางด้านกายภาพจากปัจจัยภายนอก เชน่ ระบบอินเทอรเ์ น็ตท่มี ีปัญหาความเร็วตก
ใชง้ านไม่ได้ ไฟฟ้าดบั เปน็ ต้น
8. ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนไดร้ ับการส่งเสริมให้มีระเบียบวินัย และการมีความรับผิดชอบท้งั
ตอ่ ตนเองและผ้อู ื่นใหเ้ พ่ิมมากยิง่ ขึ้น
9. ควรส่งเสริมกิจกรรมที่ปลูกฝังค่านิยมในการมีจิตสาธารณะ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดี
และเติบโตเปน็ พลเมอื งที่ดขี องสงั คม
10. ควรส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่นของตนเองให้มากขึ้น เพื่อให้
นักเรียนเหน็ คุณค่าและมจี ิตสำนึกรักและภาคภูมิใจ สามารถเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล และร่วมกันอนุรักษ์
วฒั นธรรมท้องถ่ินให้คงอย่สู ืบต่อไป

5. นวตั กรรม / การปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ
-

67

6. แหล่งขอ้ มูล หลกั ฐาน Google Sites หลกั ฐานและร่องรอย
หลักฐานและร่องรอย
6.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน

ประเด็นพจิ ารณา
ประเดน็ พิจารณา 1 มีความสามารถในการอ่าน
การเขียน การสื่อสารและการคดิ คำนวณ
ประเด็นพจิ ารณา 2 ความสามารถในการคิด
วเิ คราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น
ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา
ประเด็นพิจารณา 3 ความสามารถในการสร้าง
นวตั กรรม
ประเดน็ พิจารณา 4 ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
ประเด็นพจิ ารณา 5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
ตามหลักสตู รสถานศึกษา
ประเดน็ พจิ ารณา 6 มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน
และเจตคติต่องานอาชีพ

6.2 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น Google Sites

ประเด็นพจิ ารณา
ประเด็นพิจารณา 1 การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมทด่ี ี
ตามอตั ลักษณ์ของโรงเรียน “ใฝห่ าความรู้ เชิดชูสถาบนั
ยึดมน่ั คุณธรรม”
ประเด็นพจิ ารณา 2 ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็
ไทย
ประเดน็ พิจารณา 3 การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความ
แตกต่างและหลากหลาย
ประเด็นพิจารณา 4 สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม

68

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

1. กระบวนการพฒั นา
ผู้บริหารโรงเรียนมธั ยมวัดสงิ ห์ ได้บริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนดว้ ยการใช้หลักความเป็นผู้นำใน

การบริหารแบบมีส่วนร่วม การบริหารโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน และการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการวางแผน
การดำเนินการตามแผนและการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างเป็นระบบ สามารถบริหารจัดการ
สถานศึกษาได้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา / มาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยใช้หลักการพัฒนาด้วยวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ในการปรับปรุงการบริหาร เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สงู สุดต่อผู้เรยี นและทำให้โรงเรียนมชี ่อื เสยี งเปน็ ทร่ี ูจ้ กั ดงั ขัน้ ตอนต่อไปน้ี
ข้ันตอนการวางแผน (P = Plan) มกี ระบวนการวางแผน ดงั น้ี

1. การเตรียมการ มีแนวปฏบิ ตั ิ คือ
1.1 ผู้บริหารมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองอย่างไม่หยุดยั้ง ทั้งการศึกษาอบรม การไปศึกษาดู

งาน ทำให้มีภูมิความรู้อย่างถ่องแท้ และนำข้อมูลมาเผยแพร่ขยายผลให้ครูและบุคลากรในโรงเรียน เพื่อสร้าง
แนวคิดเชิงบวก เตมิ เต็มประสบการณ์ และเสรมิ สร้างความรู้ให้ครูนำไปประยกุ ต์ใช้ จงึ เป็นแบบอย่างท่ีดี และ
เป็นเสมือนศูนย์กลางขององค์กร ซึ่งผู้เกี่ยวข้องทั้งมวลมีความรู้สึกพึงพอใจต่อการบริหารงาน และการปฏิบัติ
ตนของผบู้ รหิ าร

1.2 ผู้บริหารศึกษาระเบียบกฎหมาย กฎกระทรวง และนโยบายของทางราชการ เกี่ยวกับ
การบริหารงานทั้ง 4 ด้าน คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารบุคคล และการ
บริหารทั่วไป เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้เกิดผลตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาชาติ
โดยนำหลักการกระจายอำนาจ และการบริหารแบบมีส่วนร่วม มาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนองค์กร เช่น
กำหนดโครงสร้างการบริหารงาน กำหนดผู้รับผิดชอบงาน และมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ครอบคลุม
ภารกิจครบถ้วนทั้งด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านงานบุคคล และด้านบริหารทั่วไป พร้อมทั้งเกิดความ
รว่ มมอื การประสานงานทงั้ ภายในและภายนอก

1.3 ผู้บริหารวิเคราะห์สภาพปัญหาในปัจจุบัน วิเคราะห์งานในหน้าที่ความรับผิดชอบ
ตลอดจนความพร้อมในการทำงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อมอบหมายงานให้เหมาะสมกับตัว
บคุ คล

1.4 ผู้บริหารศึกษาวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอก จาก สมศ. ทั้งรอบแรก รอบ
สอง และรอบสาม เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขพัฒนา โดยวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการ
พัฒนาร่วมกันกับครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ตลอดจนองค์กรที่
เกยี่ วข้อง เชน่ สมาคมผปู้ กครองและครฯู สมาคมศษิ ย์เกา่ กรรมการเครือขา่ ยผู้ปกครอง เปน็ ต้น

69

1.5 ผู้บริหารกำหนดทิศทางในการพัฒนาโรงเรียน ตามวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และพันธกิจ
โดยมกี ารประชุม ปรึกษาหารอื รับฟังขอ้ เสนอแนะ ข้อคดิ เหน็ อนั เป็นประโยชน์ เพ่ือให้การจดั การศกึ ษามีความ
สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของโรงเรียน และบงั เกิดประสทิ ธิผล

2. การวางแผนการดำเนนิ งาน
2.1 ผบู้ รหิ ารกำหนดมาตรฐานหรือคุณภาพของงานที่ต้องปฏบิ ัติ
2.2 ผูบ้ ริหารกำหนดขั้นตอนของการปฏิบัติงาน (ปฏทิ ินในการดำเนินงาน)
2.3 ผู้บริหารจัดหาทรัพยากรและจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานอย่าง

ต่อเนื่องและเพยี งพอ
2.4 ผู้บริหารกำหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างชัดเจน โดยมีการกำหนดช่วง

ระยะเวลาเริ่มต้นสิ้นสุดและผ้รู บั ผิดชอบแตล่ ะกิจกรรม เพื่อใหบ้ รรลุตามวัตถุประสงค์
2.5 ผู้บริหารกำหนดให้ผู้ปฏิบัตินำกระบวนการ PDCA มาใช้ในการดำเนินงาน/โครงการ/

กิจกรรมตา่ งๆ ตลอดจนการทำงานประจำ โดยผูบ้ รหิ ารสร้างความเข้าใจในทางปฏบิ ตั ิ และสง่ เสริมให้บุคลากร
ใช้กระบวนการ PDCA ในการปฏิบัตงิ านดา้ นการเรียนการสอนอยา่ งเปน็ ปกตวิ สิ ัย

ขนั้ ตอนการลงมือปฏบิ ัติและพฒั นา (D = DO และ Development)
1. แต่งตั้งคณะทำงานตามโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน โดยกำหนดผู้ที่จะรับผิดชอบในการ

ปฏิบตั ิงานและการควบคมุ งานแต่ละสว่ นตามความรคู้ วามสามารถ
2. ประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานก่อนที่จะมีการมอบหมายงาน

ใหร้ บั ผิดชอบไปปฏบิ ัตไิ ด้รับรูเ้ น้อื หาในงานอย่างท่องแท้
3. จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป

อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
4. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรให้สอดคล้องกับ

เป้าหมายของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีที่มีมาตรฐานคุณภาพ มุ่งเน้นการดำเนินงาน โดยใช้
กระบวนการ PDCA ซง่ึ เกิดจากการกำหนดทิศทาง เป้าหมาย รว่ มกันระหว่างผู้มีสว่ นเก่ียวข้องทั้งหมด และได้
ผา่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน กอ่ นนำไปปฏบิ ัติ

5. จัดทำโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนครอบคลุมทุกด้าน ทั้งด้านผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผเู้ รยี น และดา้ นคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผเู้ รียน

6. จดั ทำโครงการ/กจิ กรรม เพอ่ื พัฒนาคุณภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ทั้งด้านการสรา้ งเสริม
จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ โดยสนับสนุนส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรม ศึกษาต่อ ทำผลงานทางวิชาการ รวมทั้งการให้ขวัญ
กำลังใจ ให้การ ยกย่องเชิดชูต่อสาธารณะ และจัดพิธีมอบรางวัล เช่น ครูดี ศรี ม.ว.ส. มอบของขวัญวันเกิด
เปน็ ต้น

70

7. ผู้บริหารส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกคนทำงานอย่างมีความสุข เพื่อให้บุคลากรสามารถ
ปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และบรรลุเปา้ หมายตามแผนที่ไดว้ างไว้ เชน่ เป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับ
การทำผลงานเพื่อเล่อื นวทิ ยฐานะตาม ว.PA เป็นตน้

8. ผู้บริหารใหค้ ำแนะนำ เป็นที่ปรกึ ษาแก่ผู้ปฏบิ ัติงาน รวมทั้งได้ใช้กระบวนการนิเทศติดตามงานอยู่
เสมอ จึงทำใหผ้ ู้ปฏิบตั ิงานมขี วัญกำลงั ใจ และสามารถดำเนนิ งานตามการมอบหมายได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

9. ผู้บริหารกำกับติดตาม ทั้งระดับรายบุคคล รายกลุ่ม รายฝ่าย เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้มีการ
ดำเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี

10. สำรวจความคิดเห็นของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจ
ปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื พัฒนาโรงเรียน และจดั ทำข้อมลู สารสนเทศของโรงเรียน

ขั้นตอนการตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล (C = Check)
1. ตรวจสอบว่าหัวหน้างานหรือหัวหน้ากลุ่มสาระฯ ให้คำแนะนำวิธีการระหว่างขั้นตอนของการ

ดำเนนิ งานหรือไม่
2. ตรวจสอบว่ามีการบนั ทึกผลการดำเนินงานเปรยี บเทียบกับแผนทกี่ ำหนดไว้ และตรวจสอบดวู ่า ทำ

ได้ตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่
3. ตรวจสอบระหวา่ งการดำเนนิ งาน โดยให้ผดู้ ำเนนิ การตรวจสอบการดำเนนิ การด้วยตัวเอง
4. ตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามขั้นตอน เพ่ือหาข้อบกพร่องท่ีควรปรับปรุงแก้ไข โดยเก็บข้อมูลก่อนการ

แก้ปัญหาและเก็บข้อมูลหลังจากดำเนินการแก้ปัญหาแล้ว เพื่อวิเคราะห์คุณภาพเชิงเปรียบเทียบว่า บรรลุ
เปา้ หมายเพียงใด เครือ่ งมือที่ใชเ้ ก็บข้อมูลน้นั ควรเปน็ เครอ่ื งมือประเภทเดียวกันทั้งก่อนและหลงั การแก้ปัญหา
หรือไม่

5. ประเมนิ ผลการปฏิบัติงานวา่ ไดบ้ รรลเุ ป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้หรือไม่ เช่น
5.1 ผลการปฏบิ ตั ิงานได้ตามท่ตี อ้ งการมากนอ้ ยเพียงใด
5.2 ปญั หาและอุปสรรคท่ีพบมีอะไรบ้าง
5.3 ผลกระทบทีเ่ กิดขนึ้ จากการปฏบิ ตั ติ ามแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม

6. ติดตามผลการดำเนินงาน และนำผลการดำเนนิ งานไปปรบั ปรุงและพฒั นา ประเมนิ ผลการ
ดำเนนิ งาน

ขนั้ ตอนการปรับปรุงแกไ้ ขและพฒั นา (A = Act)
1. ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่

รับผิดชอบ และนาํ ผลมาวเิ คราะห์ เพ่อื ปรับปรงุ หรอื พฒั นาในปีการศกึ ษาถดั ไป
2. ระดับกลุ่มบริหาร ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่รับผิดชอบ และ

นาํ ผลมาวิเคราะห์ เพ่ือปรับปรงุ หรอื พัฒนาในปกี ารศึกษาถัดไป

71

3. ระดับโรงเรียนวิเคราะหาผลการดําเนินงานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มบริหารนำผลการ
ประเมินคุณภาพภายในมาสรุปเชื่อมโยงเปรียบเทียบกับเป้าหมายของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อ
กําหนดนโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ในปกี ารศึกษาถดั ไป

2. ผลการดำเนนิ งาน
การบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนในปีการศึกษา 2564 ปรากฏผลเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด

ตามตวั บง่ ช้ี ดงั นี้
ประเดน็ พจิ ารณา 1 มีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจท่ีสถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
ผลการประเมิน : ระดับคณุ ภาพยอดเยีย่ ม
โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ มกี ารกำหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจท่ชี ดั เจน ดังน้ี

เป้าประสงค์ (Goals)
1. ผูเ้ รยี นเป็นคนเกง่ คนดี มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มศี กั ยภาพตามอัตลักษณ์ และมีทักษะในการ
ดำเนินชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. สัมฤทธ์ิผลของการจดั การศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานสากล
3. ครูมุ่งพฒั นาตนเองใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ และเปน็ ครูมืออาชีพ
4. องค์กรทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนร่วมสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการจัดการศึกษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

วิสัยทศั น์ (Vision)
ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพระดับมาตรฐานสากล เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรคู้ ูค่ ุณธรรม

อัตลักษณ์ (Identities)
ใฝ่หาความรู้ เชดิ ชูสถาบนั ยึดมนั่ คุณธรรม

เอกลกั ษณ์ (Missions)
บรรยากาศดี กิจกรรมเดน่ เป็นศนู ยร์ วมชมุ ชน

พันธกิจ (Missions)
1. พัฒนาและส่งเสรมิ ผู้เรียนให้มศี ักยภาพ สมรรถนะ และคุณลักษณะตามเปา้ หมายของหลักสตู ร
2. พัฒนาหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
อย่าง มีคุณภาพ
3. พัฒนา ส่งเสริม และสนบั สนนุ ครูใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี

72

4. ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม หลักธรรมาภิบาล และระบบประกัน
คุณภาพการศึกษา ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการโรงเรียนได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ โดยยึด
หลักการกระจายอำนาจ และการบริหารแบบมีส่วนร่วม มีการจัดทำแผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานใน
ภาพรวมของโรงเรียน ในแต่ละกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกลุ่มงาน มีการมอบหมายหน้าท่ี
ความรับผิดชอบให้ตรงกับความรู้ความสามารถของครแู ละบุคลากร ทำให้การดำเนินงานทุกด้านของโรงเรียนมี
ความชัดเจนในการปฏิบัติงาน โดยยึดแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนเป็นแนวทางในการดำเนินงาน/
โครงการ/กิจกรรม ส่งผลใหโ้ รงเรยี นประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และพันธ
กจิ ที่โรงเรียนกำหนดขนึ้

จากการที่ผู้บริหารมีภาวะผู้นำสูง มีความคิดสร้างสรรค์ที่จะพัฒนางาน พัฒนาผู้เรียนอยู่เสมอ
ประกอบกับการใช้กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม และมุ่งผลสัมฤทธิ์ จึงก่อให้เกิดความร่วมมือจาก
บุคลากรภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน ส่งผลต่อการได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนทั้งด้านทุนทรัพย์
และการร่วมคิด ร่วมทำในการจัดกิจกรรมต่างๆ หรือการพัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม เช่น ได้รับ
เงินบริจาคเพื่อเป็นทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี ผลการพัฒนาคุณภาพ และแผนปฏิบัติการ
ประจำปที ่มี ีมาตรฐานคุณภาพมุ่งเนน้ การดำเนนิ งาน โดยใช้กระบวนการ PDCA ซง่ึ เกิดจากการกำหนดทิศทาง
เป้าหมาย ร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด และได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ก่อนนำไปปฏิบัติ และเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมแล้ว ได้มีการ
สรุปผลการประเมนิ โครงการ/กิจกรรมทกุ ภาคเรยี น

ประเดน็ พิจารณา 2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ผลการประเมิน : ระดบั คณุ ภาพยอดเยี่ยม
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์สามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้
กระบวนการPDCA มีการจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อกำหนดค่าเป้าหมายในการจัดการศึกษาตามมาตรฐาน
การศึกษาของโรงเรียน มีการจัดทำคู่มือ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ครแู ละบุคลากรในการปฏิบตั ิงาน
ต่างๆ มกี ารประชมุ คณะทำงานเพ่ือสร้างเครื่องมอื ประเมนิ คุณภาพการศึกษา มีการนำผลการประเมินมาจัดทำ
เป็นขอ้ มลู สารสนเทศ มีการตรวจสอบทบทวน และประเมินคณุ ภาพภายใน เพื่อจัดทำรายงานผลการประเมิน
คุณภาพภายในสถานศกึ ษา หรอื เลม่ SAR ประจำปี 2564
โรงเรียนให้ความสำคัญกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เน้นการสร้างความ
เข้าใจและให้ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องที่ชัดเจน เป็น
ประโยชนใ์ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มกี ารจดั ประชุมเพื่อวางแผนงาน กำหนดนโยบาย ทศิ ทาง เป้าหมาย
ซึ่งครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้กระบวนการประกันคุณภาพในการทำงานเป็นปกติวิสัย ก่อให้เกิดความ
ราบรื่นในการดำเนินงานต่างๆ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ มีโอกาสได้ปฏิบัติบทบาทหน้าที่อย่าง
สมบูรณ์ ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนในการแก้ไขปัญหาและร่วมพัฒนาผู้เรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม รวม ทั้ง

73

สามารถให้ข้อเสนอแนะผ่านการประชุมผู้ปกครองเครือข่าย ทำให้โรงเรียนได้รับประโยชน์สูงสุด และมีการ
รายงานผลความสำเรจ็ ของการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาทกุ ปี

ประเด็นพิจารณา 3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ น ตามหลักสตู ร
สถานศึกษาและทุกกลุ่มเปา้ หมาย

ผลการประเมนิ : ระดบั คุณภาพยอดเย่ียม
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ได้มีการ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ และเป็นโรงเรียนที่มี
หลกั สตู รหลากหลายใหผ้ ูป้ กครองได้เลือกนำบุตรหลานเข้ามาศึกษา จำนวน 3 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่
- หลกั สูตร English Program ทีเ่ น้น การเรียนการสอนเป็นภาษาองั กฤษ
- หลักสตู ร Gifted Education Program ที่เน้น การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์

คณติ ศาสตร์และภาษาอังกฤษ
- หลักสูตรห้องเรียนปกติ มีทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ซึ่งในระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลายนั้น มีแผนการเรียนให้นักเรียนเลือกเรียนได้ตามความถนัด เช่น แผนการเรียนวิทย์-
คณิต แผนการเรียนคณิต-อังกฤษ แผนการเรียนภาษาฝรั่งเศส แผนการเรียนภาษาจีน แผนการ
เรยี นภาษาญีป่ ุน่ แผนการเรยี นศิลปะ แผนการเรียนไทย-สงั คม และแผนการเรียนธุรกจิ
ครูโรงเรียนมัธยมวัดสิงหม์ ีศกั ยภาพสูงในการจัดการเรยี นการสอน โดยเฉพาะในช่วงปีที่ผ่านมาครูทุก
คนต้องสอนออนไลน์ และสามารถจัดทำโครงการ/กิจกรรม เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาผู้เรียนทุกคนได้อย่าง
ครบถว้ นรอบดา้ น ทงั้ ด้านวิชาการ และความเป็นเลิศทางดา้ นกีฬา ดนตรี ศลิ ปะ ซ่งึ ผ้เู รียนได้รบั รางวัลชนะเลิศ
รองชนะเลิศ จากการประกวดแข่งขันในระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับภาค และระดับประเทศ
หลากหลายรายการ สร้างความพึงพอใจและเป็นทางเลือกให้แก่นักเรียนและผู้ปกครองมากขึ้น นอกจากน้ี
โรงเรียนยังถูกจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนที่มีการแข่งขันสูง เพราะการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ในระดับช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เปน็ แบบการคัดเลือก 100 % ส่วนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 จะรับจากนักเรียนระดับ ม.3
ของโรงเรียนถึง 90 % และอีก 10 % จะสอบคัดเลือกจากนักเรียนทั่ว ๆ ไป จากการที่โรงเรียนจัด
หลกั สตู รสถานศึกษาได้ตรงกับความต้องการของผู้เรียน จดั กระบวนการเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีแหล่ง
เรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ตลอดจนจัดระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนและ
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ รวมทัง้ ดำเนินการพัฒนางานดา้ นวิชาการ โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์
ข้อมูลสารสนเทศและนำไปสู่การแก้ไข พัฒนา เช่น ผลการทดสอบระดับชาติที่สูงขึ้นทุกระดับ การวางแผน
ปรับปรุงหลักสูตรสถานศกึ ษาให้เกดิ ความเหมาะสมกับการเรียนรู้ของนักเรียน นอกจากนี้ยังสนับสนนุ ส่งเสริม
ให้ครูได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ส่งครูเข้ารับการอบรม สัมมนา จัดการอบรมให้ความรู้ภายใน
โรงเรียน จัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน ตลอดจนสนับสนุนการทำผลงานทางวชิ าการ ส่งผลให้ครูมีศักยภาพสงู
สามารถจดั การเรยี นการสอน และจดั กิจกรรมใหแ้ ก่ผ้เู รยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

74

ประเดน็ พจิ ารณา 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
ผลการประเมิน : ระดับคณุ ภาพยอดเย่ยี ม
ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นำ มีความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้หลักการ
บริหารแบบมีส่วนร่วมและการบริหารจัดการโดยใช้มาตรฐานการศึกษาในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึง
นำไปสกู่ ารเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ ง และเห็นความสำคัญของครูและบุคลากร จงึ ส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพ
ครูและบุคคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นครูมืออาชีพ โดยส่งเสริมครูให้เข้ารับ
การอบรมออนไลน์เพื่อเก็บชั่วโมงสะสมผลงาน ซึ่งครูทุกคนผ่านการอบรม 100 % นอกจากนั้นโรงเรียนยังจัด
อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ เพอื่ ส่งเสริมให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา มีวิทยฐานะตามเกณฑ์ ว.17 ว.21
ว.9/2564 (ว.PA) สนับสนุนให้ครูทุกคนยื่นเอกสารขอรับการประเมินเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ มีการสนับสนุน
ส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( Professional Learning
Community) จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันหรือการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ใน
การพัฒนาคุณภาพ/ประสิทธิภาพการปฏบิ ัตงิ านจนได้นวัตกรรมหรือการปฏบิ ัติงานท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice)
ของกลุ่มบริหาร/กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งดูแลเอาใจใส่อย่างทั่วถึง ทำให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามี
ขวัญและกำลังใจดีมาก เกิดความกระตือรือร้นในการทำงาน และมีความสมัครสมานสามัคคี จึงไม่มีความ
ขัดแย้งในหมู่บุคลากร ส่งผลให้เกิดสภาวะการร่วมมือร่วมใจในการทำงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
หรือกจิ กรรมพเิ ศษโรงเรยี นทจ่ี ดั ข้นึ อยา่ งมีประสิทธิภาพ และบรรลผุ ลสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย
โรงเรียนส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรทกุ คนในการยื่นประเมินเพื่อเลื่อนวิทยฐานะตามเกณฑ์ ว.
17 และ ว.21 ซึ่งในปี 2564 มคี รูทไี่ ด้รับการเลอื่ นวทิ ยฐานะ

➢ ครูวิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ จำนวน 9 คน ไดแ้ ก่
1. นายวุฒชิ าติ จริ เดชกำจร
2. นางน่มิ นวล อย่เู จริญ
3. นายอนันต์ ปงิ ยศ
4. นายสุรเชษฐ อน้ เพง็
5. นางสาวเกษร ศรีทองสุข
6. นายอดิเรก จนั ทร์แทน
7. นายสชุ าติ จงประเสรฐิ กลุ
8. นายเผด็จ ฉิมพันธ์
9. นายดรณ์ สุขอนนั ตกุล

➢ ครูวทิ ยฐานะชำนาญการ จำนวน 7 คน ไดแ้ ก่
1. นายชานนท์ รกั ปรางค์
2. นายนราพงษ์ มาสิก
3. นายอภริ กั ษ์ วรปรียากุล
4. นายทะเล สุนทรกลำภ์

75

5. นางสาวลกั ษณาวดี หลักคำ
6. นางสาวดาวใจ ศรสี อาด
7. นางสาวมนิ ตรา โกพล

ประเดน็ พจิ ารณา 5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นร้อู ย่างมี
คุณภาพ

ผลการประเมิน : ระดบั คุณภาพยอดเย่ียม
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ เป็นโรงเรียนที่มีพื้นที่กวา้ งขวาง เป็นระเบียบเรียบร้อย และมีบรรยากาศที่ร่ม
รื่น สามารถจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ เนื่องจากมีอาคารสถานที่ ส่ิง
อำนวยความสะดวกและสื่อเทคโนโลยีอย่างพอเพียง มีห้องปฏิบัติการและสนามกีฬาเพื่อให้บริการนักเรียน
อย่างเพียงพอ ทั้งด้านวิชาการ สุขภาพอนามัย ศิลปะ ดนตรี กีฬา นันทนาการ เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
ทำให้นักเรียน มีสุขภาพจิตดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น และรักการมา
โรงเรียน ซึ่งในช่วงสถานการณ์โควดิ -19 นั้น นักเรียนสว่ นใหญ่เลอื กมาเรียนทีโ่ รงเรียน เพราะโรงเรียนมรี ะบบ
การรักษาความปลอดภัยที่ดี มีการพ่นฆ่าเชื้อ มีการจัดซื้อตู้วัดอุณหภูมิซึ่งเป็นเครื่องมือคัดกรองที่มีคุณภาพ
รวมทั้งมีพื้นที่กว้างในการให้นักเรียนเว้นระยะห่างได้ในช่วงสถานการณ์การแพร่เชื้อโควิด-19 นักเรียนทุกคน
ไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งรอบดา้ น ทงั้ ในด้านการเรียน ความประพฤติ รวมทัง้ การแกไ้ ขสภาพปัญหา ทำให้ประสบ
ความสำเร็จในการศึกษาเล่าเรียนหรือการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา และเป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ สง่ ผลใหผ้ ปู้ กครองและผ้มู สี ่วนเกยี่ วขอ้ งมคี วามพึงพอใจ

ประเดน็ พิจารณา 6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการ
จัดการเรียนรู้

ผลการประเมิน : ระดับคุณภาพยอดเย่ยี ม
โรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์ได้ดำเนนิ การจัดหาและพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใช้ในการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา โดยการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับ
การจัดการเรียนรู้ และการบริหารจัดการ รวมไปถึงจัดให้มีจุดเครือข่ายใช้ในการเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศ
โรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์ และเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ให้บริการขอ้ มูลข่าวสารแก่ผรู้ ับบรกิ ารทงั้ ภายในและภายนอก
สถานศึกษาผา่ นเว็บไซต์ โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ และระบบต่างๆ เช่น ระบบ SESA 2.0 ระบบ B-OBEC จัดเก็บ
ข้อมูลสิ่งก่อสร้าง ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา (Education Management Information
System : EMIS) ระบบ Line Official โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จากข้อมูลที่กล่าวมาส่งผลให้ภาพรวมความพึง
พอใจของครูและบุคลากรโรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ ที่มตี ่อการใชง้ านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการ
บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-
19)

76

ประเดน็ พิจารณา 7 จดั กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ เครอื ข่ายการเรยี นรู้สชู่ มุ ชน
ผลการประเมนิ : ระดับคณุ ภาพยอดเยย่ี ม
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สู่ชุมชน โดยโรงเรียนได้ไปให้
ความรู้ในชุมชน และทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน รวมทั้งเป็นสถานที่ให้บริการชุมชน จึงได้รับความร่วมมือจาก
ชุมชน และหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน เช่น วิทยากรดนตรีไทยในกิจกรรมสานสุข สืบ
วัฒนธรรม นำวถิ ใี หม่ เยาวชนคนสร้างสรรค์ กจิ กรรมเรยี นรธู้ รรมะกบั พระสงฆ์ การขยายฐานการเรียนรู้ เพ่ือ
สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ เปน็ ตน้ ทำใหโ้ รงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชน มีความสมั พนั ธ์ที่ดี และได้รับความ
รว่ มมือเป็นอยา่ งดีในการจดั กจิ กรรมทกุ ครั้ง

3. จุดเดน่
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์มีความโดดเด่น ด้านเอกลักษณ์ของโรงเรียน คือ “บรรยากาศดี กิจกรรมเด่น

เปน็ ศนู ยร์ วมของชุมชน” ดังนี้
3.1 “บรรยากาศดี” โรงเรียนได้ปรับปรงุ และพัฒนาอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมต่างๆ ภายในบริเวณ

โรงเรียน ให้มีบรรยากาศสวยงาม ร่มรื่น เรียบร้อย และปลอดภัย เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของ
นกั เรยี น ทำให้นักเรียนส่วนใหญ่มคี วามสุขเมื่ออย่ใู นโรงเรียน ส่งผลให้กระบวนการจดั การเรียนการสอนของครู
มปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ

3.2 “กิจกรรมเด่น” โรงเรียนสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งภายในและ
ภายนอก ทั้งด้านกีฬา และศิลปะ/ดนตรี/ นาฏศิลป์ ทำให้นักเรียนสามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเอง ส่งผลให้
โรงเรียนเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับจากชุมชน และหน่วยงานภายนอกต่าง ๆ นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้
นักเรียนเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กีฬาระหว่างคณะสี กิจกรรมสายสัมพันธ์น้อง -พี่ กิจกรรม
ชมุ นมุ /ชมรมต่าง ๆ เป็นตน้

3.3 “เป็นศูนยร์ วมของชมุ ชน” โรงเรียนเปน็ สถานทีใ่ หบ้ ริการชมุ ชน จงึ ไดร้ ับความรว่ มมือจากชุมชน
และหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐ และเอกชนในการจัดกิจกรรมร่วมกัน เช่น วิทยากรดนตรีไทยในกิจกรรม
สานสขุ สืบวัฒนธรรม นำวิถใี หม่ เยาวชนคนสร้างสรรค์ กจิ กรรมเรียนรู้ธรรมะกับพระสงฆ์ การขยายฐานการ
เรยี นรู้ เพ่อื สรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ เปน็ ตน้ ทำให้โรงเรยี นเป็นท่ยี อมรับของชุมชน มีความสัมพนั ธ์ท่ีดี และ
ไดร้ ับความรว่ มมือเปน็ อยา่ งดใี นการจดั กจิ กรรม ร่วมกบั ชุมชนทุกคร้งั

3.4 การดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียน เน้นการมสี ว่ นรว่ ม ดำเนินการในรูปแบบของ
คณะกรรมการ สรา้ งวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกระดบั

3.5 โรงเรียนมีการเตรียมจัดประชุมภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) โดยจัดที่นั่งแบบเว้นระยะห่าง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการทำงาน วางแผนการทำงาน
ในแตล่ ะ ภาคเรียนทำความเข้าใจขอบเขตของแต่ละภาระงาน เพื่อลดปญั หาในการทำงานลง

77

3.6 โรงเรียนมีการวางแผนและดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ทุก
กลุ่มเป้าหมาย โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการ English Program และโครงการ
Gifted Education Program ดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรม มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างหลากหลาย เช่น การทำโครงงาน ศึกษาแหล่งเรียนรู้ การประกวดแข่งขัน การอบรม เป็นต้น ทำให้
นักเรยี นได้เรยี นร้จู ากประสบการณต์ รง เรยี นรตู้ ามความสนใจ และตามศกั ยภาพของตนเอง

3.7 ระบบสารสนเทศของโรงเรียนจัดทำข้อมูลเป็นปัจจุบัน มีข้อมูลที่ทันสมัยพร้อมต่อการนำไปใช้
งาน

3.8 โรงเรียนให้บริการข้อมูลและประชาสัมพันธ์ ผ่านเว็บไซต์โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ และ Line
Official โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ @mwsschool เพจโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ และอื่นๆ มีจุดเครือข่ายเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตภายนอก AIS WIFI สำหรับให้บริการอินเทอร์แก่ครูและบุคลากร นักเรียน บุคคลภายนอก ที่เข้า
มาใช้บรกิ ารภายในโรงเรยี นอยา่ งเพยี งพอ

3.9 มีการจัดซื้อ iPad ให้กับกลุ่มบริหารฯ /กลมุ่ สาระการเรียนรู้ เพื่อบริหารจัดการภายในช้ันเรียนใน
รูปแบบ Onsite และ Online และมีการจัดซื้อ ซิมการ์ด ให้บริการอินเทอร์เน็ตกับนักเรียนทุกคนสำหรับใช้
เรยี นออนไลน์

3.10 มีการจัดทำระบบ ITAs การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ และเปิดบริการห้องสมุดดิจิตอล MWS
E-Library

3.11 โรงเรยี นสนบั สนุนและส่งเสรมิ ให้ครูและบุคลากรมีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพตามเกณฑ์ ว17 ว
21 และ ว.9/256(ว.PA) โดยจดั อบรมสัมมนาใหค้ รแู ละบุคลากรในโรงเรียน และมีการตดิ ตามผลอย่างต่อเนื่อง
เพ่ือพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ

3.12 โรงเรียนมีศูนย์การเรียนรู้ที่หลากหลาย มีห้องปฏิบัติการที่พร้อมเพียงทั้งสื่อและอุปกรณ์
เทคโนโลยี และมีภมู ทิ ัศนท์ ส่ี วยงาม ร่มร่ืน เออื้ ต่อการเรยี นรู้ของผู้เรียน

4. จุดควรพัฒนา
4.1 โรงเรียนควรจัดทำโครงการและกิจกรรมเพื่อช่วยพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

รวมทง้ั จดั การเรยี นซ่อมเสรมิ ให้กบั นักเรียนท่ีมีผลการเรียนต่ำ
4.2 โรงเรียนควรแต่งตั้งคณะกรรมการรักษาอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียนให้มีการปฏิบัติ

อย่าง ตอ่ เนอ่ื งเป็นรปู ธรรม เพอื่ สร้างความเชือ่ ถอื และศรทั ธาจากผู้ปกครอง ชมุ ชนและศิษยเ์ กา่
4.3 โรงเรียนควรสร้างความตระหนัก การรับรู้ และการเห็นคุณค่าของการนำระบบการประกัน

คุณภาพมาใช้ควบคู่กบั การจดั การเรียนการสอน
4.4 โรงเรียนควรมีการนิเทศ ติดตาม การดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม อย่างสม่ำเสมอ และนำ

เทคโนโลยีมาใชใ้ นการรายงานผลการจดั โครงการ/กจิ กรรม

78

4.5 โรงเรียนควรมีการจัดอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การผลิตสื่อนวตั กรรม เทคโนโลยีที่ทนั สมัย เพื่อให้ครู
สามารถนำความรไู้ ปพฒั นาและปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ

4.6 โรงเรียนควรจดั ทำโครงการพฒั นาครูสู่การทำผลงานวิชาการอย่างมีคุณภาพอย่างเป็นระบบ โดย
ประสานความร่วมมือกับนักวิชาการ หรือนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย มาเป็นที่ปรึกษาให้กับครูในการจัดทำ
ผลงานทางวิชาการ

4.7 โรงเรยี นควรเพิ่มเตมิ ปา้ ยนเิ ทศท่ีเปน็ ข้อความเสริมเปน็ ภาษาตา่ งๆ หรือคติธรรม
4.8 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการให้มีมาตรฐาน และเพิ่มจุดเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตใหเ้ พยี งพอตอ่ การจัดการเรยี นรู้
4.9 พฒั นาครูและบุคลากรให้มสี มรรถนะดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการเรยี นรู้

5. นวตั กรรม / การปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นเลิศ Google Sites หลักฐานและร่องรอย
-

6. แหลง่ ขอ้ มูล หลกั ฐาน

ประเดน็ พิจารณา
ประเด็นพิจารณา 1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และ
พนั ธกิจท่ีสถานศึกษากำหนดชดั เจน
ประเดน็ พจิ ารณา 2 มรี ะบบบริหารจดั การ
คุณภาพสถานศกึ ษา
ประเด็นพิจารณา 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ี
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ประเด็นพิจารณา 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มี
ความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี
ประเด็นพิจารณา 5 จัดสภาพแวดล้อมทางทาง
กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมีคุณภาพ
ประเด็นพิจารณา 6 จัดเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื
สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา 7 จัดกิจกรรมสร้างเสริม
เครอื ขา่ ยการเรยี นรู้สู่ชมุ ชน

79

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั

1. กระบวนการพัฒนา
ขัน้ การวางแผน (P : Plan)

1. จัดประชุมร่วมกันกับคณะกรรมการของตัวบ่งชี้ เพื่อปรึกษา วางแผน ตั้งคณะกรรมการจัดหา
บุคคล ที่มีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดปฏิบัติจริงและกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้สามารถนำความรูไ้ ป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และกลุ่มงาน เพื่อให้การดำเนินการประกันคุณภาพบรรลุ
เปา้ หมายตามที่กำหนดภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2. ศึกษาแนวทาง รูปแบบ ตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ 3.1 – 3.5 เกี่ยวกับข้อมูลของมาตรฐานในปี
การศึกษา 2563 เพื่อหาวิธีส่งเสริมให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างตอ่ เนอื่ ง

3. ร่วมกันหาวิธีการส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ
สามารถ นำความรู้ประสบการณ์ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ โดยศึกษาจากแผนการจดั การเรยี นรู้ของ
แตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมตา่ ง ๆ

4. กำหนดบทบาทของคณะกรรมการแต่ละคน โดยแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อติดตามหา
รอ่ งรอยหลักฐานการปฏิบตั ิงานตามโครงการและกจิ กรรมต่าง ๆ ของแตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้ และกลุ่มงาน
ต่าง ๆ รวมทั้งประสานงานกับหัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ เพื่อชี้แจงกระบวนการในการการนิเทศการจัดการ
เรยี นรู้ และกำหนดขอบเขตเวลาในการนเิ ทศ

ขั้นการลงมือปฏิบัติและพัฒนา (D : Do and Development)
1. พิจารณาและวิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้หรือจัดกิจกรรมของครูแต่ละกลุ่มสาระการ

เรียนรู้ และนำมาเปรียบเทียบตามเกณฑ์ที่คาดหวัง เพื่อพิจารณาว่ากระบวนการการจัดการเรียนรู้หรือ
กจิ กรรมใดที่ผ่านตามเกณฑท์ คี่ าดหวงั

2. กำหนดกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ลงในแผนปฏิบัติการของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดทำ
แผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาสื่อการเรียนการสอน พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ที่ให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้
ด้วยตนเองจากส่ือท่ีหลากหลาย พัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ ทใ่ี หผ้ ูเ้ รียนได้เขา้ ไปสบื ค้น รวมทั้งภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ทใ่ี ช้ใน
การจดั การเรยี นการสอน

3. คณะกรรมการบริหารวิชาการ นำข้อกำหนดในการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน
ที่หลากหลาย รว่ มกนั กำหนดช้นิ งานบูรณาการที่เหมาะสม ประเมนิ ตามสภาพจริง โดยกำหนดให้มีการวัดและ
ประเมินผลที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ และนำผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาตาม
ศกั ยภาพ

80

4. หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ นำนโยบายและข้อกำหนดจากการประชุมวชิ าการแจ้งให้ครูผู้สอนใน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้นำไปปฏิบัติ รวมถงึ ดำเนนิ การนิเทศการจดั การเรียนรู้ภายในกลมุ่ สาระการเรียนรู้แบบการ
จับค่นู เิ ทศ (Buddy)

5. ครูผสู้ อนศกึ ษาวิเคราะห์ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล และนำผลการศึกษามาพฒั นาผู้เรยี น
6. สนบั สนนุ ใหม้ ีการจัดสอนซ่อมเสรมิ ให้แกผ่ เู้ รียนที่มีปัญหาทางการเรียน รวมทั้งสง่ เสรมิ ใหค้ รูผูส้ อน
มกี ารพัฒนาผลลพั ธ์ทางการเรียนรู้ของผ้เู รยี น

ขน้ั การตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมินผล (C : Check)
1. ติดตามการจัดการเรียนการสอนของครูกับการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้แหล่ง

เรยี นรู้ที่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรูท้ ี่หลากหลายตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ เพื่อประเมินผลการดำเนินงาน กิจกรรมโครงการต่าง ๆ การ

จัดการเรียนรู้ ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ โดยการสอบถาม สัมภาษณ์ การสังเกต
พฤติกรรมในการ มีส่วนรวมของผู้เรียน ประเมินผลการวัดความสามารถเกี่ยวกับกระบวนการคิดและ
ความสามารถในการนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวันไดจ้ รงิ ของนักเรียนในแตล่ ะรายวิชาและกิจกรรม

3. คณะกรรมการตัวบ่งชี้ที่ 3.1 – 3.5 ประสานงานกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อรวบรวมร่องรอย หลักฐานจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ตามหัวข้อที่กำหนด เพื่อรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
ตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ และนำมาประมวลผลและเผยแพร่ตามระดับ
คุณภาพของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น รวมถึงส่งแบบวัดและประเมินผลมายังงานกำกับ ติดตามและนิเทศ
การศกึ ษา งานวชิ าการและรายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านตอ่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น

ข้นั การปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนา (A : Act)
1. การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน

ชีวิตประจำวันได้การใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ การดำเนินงานกจิ กรรมโครงการต่าง ๆ การจดั การเรยี นรู้
ขอ้ มลู การสะท้อนกลบั จากการนเิ ทศการจัดการเรยี นรู้มาพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรขู้ องแตล่ ะกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ และแหล่งเรียนรู้ รวมทงั้ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ เพ่ือวางแผนและพฒั นา
สำหรบั การดำเนินการในปกี ารศกึ ษาต่อไป กำหนดระยะเวลาในการตดิ ตาม ตรวจสอบ แก้ไข ปรบั ปรุง เพื่อให้
ตัวชี้วดั ใหม้ ีคะแนนสูงขึ้น และเพอ่ื ใหก้ ารทำงานเกิดกลไกและพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง

2. วเิ คราะห์ข้อมูลจากเอกสารท่ีรวบรวม เพ่อื นำมาเปรยี บเทยี บกบั ระดับคุณภาพการประเมินและหา
ขอ้ มลู /หลักฐานอนื่ เพิ่มเตมิ เพ่ือใหส้ อดคล้องและครบถว้ นตามระดบั คุณภาพการประเมิน

3. สรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ แก้ไข ปรบั ปรงุ พฒั นา และรายงานผลต่องานประกันคุณภาพ
โรงเรยี น เพอื่ จดั ทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองต่อไป

81

2. ผลการดำเนินงาน

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยประเมินจากประเด็นพิจารณาตาม
มาตรฐานกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั ดงั ตอ่ ไปนี้

1. รอ้ ยละ 100 ครูผสู้ อนมีแผนการจดั การเรียนรู้ทเี่ น้นกระบวนการคิด การปฏิบัตไิ ด้จริง และการนำ
ความรไู้ ปปรบั ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

2. นักเรียนผ่านการประเมินผลจากกิจกรรมและผลงานนักเรียนที่เกิดจากการเรียนรู้โดยเน้น
กระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริงและนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ ร้อยละ

3. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
นำมาใช้และพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
เพื่อให้มีผลสัมฤทธ์ิที่ดีมากขึ้น ครูสามารถวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนรายบุคคลและนำสารสนเทศมาออกแบบการเรียนรู้
ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด และคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

4. ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสื่อ เทคโนโลยีสารสนทศ และแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการ
เรยี นรูโ้ ดยแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลายโดยผู้สอนไดด้ ำเนินการจัดการเรยี นการสอนตลอดปี
การศกึ ษา อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม

5. ครูผูส้ อนมกี ารวัดและประเมนิ ผล การจัดทำแผนการประเมินผลรายวิชา จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผลโดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์การ
ประเมินผลงาน ภาระงาน/ชิ้นงาน ร่วมกับครูผู้สอน มีการวัดและประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน มี
กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ ในสว่ นเน้อื หาทบ่ี กพรอ่ งให้ผ่านเกณฑ์ มกี ารทำรายงานการพฒั นาผลลัพธท์ างการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนมีการวัดและประเมินผลหลังเรียน ดำเนินการตัดสินผลการเรียนรู้ตาม
หลกั เกณฑ์การวดั และประเมินผล รายงานผลการเรียนความก้าวหนา้ ในการเรยี นให้กบั ผ้เู รียนและผูป้ กครอง

6. โรงเรียนดำเนินการจัดทำโครงการและกิจกรรมเพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ปัจจบุ ันและบรรลุตามเปา้ หมาย ปรัชญา วิสัยทัศน์

3. จุดเดน่
3.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ของครสู ง่ ผลให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ได้จริง
3.2 ผลงานของนักเรียนเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์และสามารถ

เผยแพร่ได้

82

3.3 ผู้สอนมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่หลากหลาย และแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในโรงเรียนและ
นอกโรงเรียน ห้องเรียนมีสื่อเทคโนโลยี เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ , สมาร์ทบอร์ด ในการจัดการเรียนการสอน
ตามห้องเรียนต่าง ๆ เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และบรรลุ
วัตถุประสงค์มากยิ่งขึ้น อีกทั้งนักเรียนยังสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลในการพัฒนาการเรียนของ
ตนเอง มีความกระตือรือร้นในการเรียน มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ มีความสามัคคีในหมู่
คณะ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการเรยี น รวมถึงสภาพบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้ การ
จดั กจิ กรรมใหผ้ ้เู รยี นไดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ

3.4 ครูผู้สอน ใช้ Google Classroom เป็นสื่อในการเรียนการสอน ซึ่งสามารถกำหนดภาระงาน
การแนบไฟล์เอกสาร ไฟล์งาน หรือไฟล์นำเสนอต่าง ๆ และสามารถกำหนดการส่งงานให้นักเรียนส่งผ่าน
Google Classroom ได้ รวมทั้งใช้ในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดเชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

3.5 ครูผู้สอนใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย โดยเน้นจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่
ช่วยส่งเสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและได้ลงมือปฏิบัติจริง ใช้แหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัด
บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์การประเมินผล ครูผู้สอนมีการ
สอนซ่อมเสริมผู้เรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ รวมทั้งส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีการพัฒนาผลลัพธ์ทางการเรียนรู้ของ
ผ้เู รียน

4. จดุ ควรพฒั นา
4.1 เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้จัด

กิจกรรมหรอื จัดการเรยี นรู้ไดไ้ ม่เต็มศกั ยภาพ
4.2 อุปกรณ์ สายต่ออุปกรณ์ต่างๆ มีการชำรุดเสียหายบางส่วน ทำให้บางครั้งต้องใช้เวลาในการ

เปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่หรือแก้ไข ให้สามารถใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีในการเรยี นการสอนได้ ดังนั้นทางโรงเรียนจึงมี
ความจำเป็นต้องตรวจเช็คอุปกรณ์ และจัดซื้ออุปกรณ์ให้มีความทันสมัยและมีคุณภาพดี รองรับการใช้ส่ือ
เทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอนของครูได้

4.3 จัดทำระบบการประเมนิ การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ ผา่ นเวบ็ ไซต์โรงเรียนที่สามารถให้ผู้เรียน
ครผู ูส้ อนและผปู้ กครองเขา้ มสี ว่ นรวมการประเมินได้

4.4 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหค้ รผู ูส้ อนทุกคนใชเ้ ทคโนโลยีในการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ และนำ
เทคโนโลยมี าชว่ ยในการจัดการเรยี นการสอนและพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รียน

4.5 ส่งเสริมให้ครูผู้สอนทุกคนเข้าร่วมการประเมินด้วยระบบออนไลน์ โดยแนวคิดจาก เพจ inskru
หรือจากเพจตา่ ง ๆ

83

4.6 สถานศกึ ษาควรมีการนำข้อมลู จากการสะท้อนกลับของแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้ มาแลกเปลย่ี น
เรียนรู้แก่กันและกันระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้ข้อมูลสะท้อนกลับมาประยุกต์และบูรณาการจัดการ
เรยี นรใู้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแกผ่ เู้ รยี น

5. นวัตกรรม / การปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลศิ Google Sites หลักฐานและร่องรอย
-

6. แหลง่ ขอ้ มลู หลกั ฐาน

ประเด็นพิจารณา
ประเด็นพิจารณา 1 จดั การเรยี นรู้ผ่าน
กระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และ
สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน
ประเดน็ พจิ ารณา 2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ที่เอื้อต่อการ
เรยี นรู้
ประเดน็ พจิ ารณา 3 มีการบริหารจัดการชน้ั
เรยี นเซงิ บวก
ประเดน็ พจิ ารณา 4 ตรวจสอบและประเมนิ
ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นา
ผู้เรียน
ประเด็นพิจารณา 5 มีการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนา
และปรบั ปรงุ การจัดการ

84

สรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา 2564
เม่ือวันท่ี 1 มถิ ุนายน 2565

มาตรฐาน ชือ่ มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ

ท่ี ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน

ระดบั แปลผล ระดบั แปลผล

คุณภาพ คุณภาพ

1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน 4 ดเี ลิศ 4 ดเี ลิศ

2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 5 ยอดเยีย่ ม 5 ยอดเย่ียม

3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น 5 ยอดเยยี่ ม 5 ยอดเยย่ี ม

ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

สรปุ ผลในภาพรวม 5 ดเี ลิศ 5 ยอดเยี่ยม



86

ส่วนที่ 4 สรุปผล แนวทางการพฒั นาและความต้องการช่วยเหลอื

4.1 สรุปผลในภาพรวม

จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จัดการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน และจากผลการประเมินสรุปว่ามี
คุณภาพอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ทั้งนี้ เพราะมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการ
สอนทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั อยู่ในระดับ ยอดเยีย่ ม

ทั้งนี้ เป็นเพราะโรงเรียนมัธมยมวัดสิงห์ มีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายที่
เปน็ ไปตามปญั หาและความต้องการพัฒนาตามสภาพของผเู้ รยี น มกี ารกำหนดวางแผนหลักสตู ร และแผนการ
เรยี นท่ีส่งเสริมความสนใจเฉพาะบุคคลไดม้ ากข้นึ จนมผี ลการพฒั นาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ในประเด็นท่ีจะส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนพัฒนาการที่เป็นสมรรถนะที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 เช่น มีความสามารถใน
การคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร และมีความรู้
ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ และโรงเรียนมัธยมวดั สิงห์ยังมีการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
นอกจากนี้ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและเขียน การสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ความสามารถในการคิดคำนวณ และมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีเปน็ ไปตามหลักสูตรสถานศึกษาอยู่ในระดับท่ี
ดเี ลิศ ดังท่ปี รากฏผลประเมินในมาตรฐานที่ 1 สำหรบั ด้านกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
มีผลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม เพราะโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ มีการวางแผน ออกแบบ
กิจกรรมและดำเนนิ งานตามแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการดำเนินงานทีผ่ ่านมาเปน็
ฐานในการพฒั นา และสอดคลอ้ งกับเป้าหมายการพฒั นา ตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไข
งานให้ดีขึ้นอยา่ งตอ่ เนื่อง ซึ่งเป็นการดำเนินการตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยกระบวนการบริหารจัดการน้ัน
ดำเนินการภายใต้กรอบของโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ที่จะสร้าง
กระบวนการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ และสง่ เสรมิ ผู้เรียนใหพ้ ฒั นาศกั ยภาพของตนเองตามความถนัด
อย่างรอบด้าน ตามรายละเอยี ดในมาตรฐานท่ี 2 และครูจดั กระบวนการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญมี
ผลประเมินอย่ใู นระดับ ดีเย่ียม เพราะได้มกี ารวเิ คราะห์ ออกแบบและจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ ป็นไปตามความต้องการ
ของหลกั สูตร และบริบทโรงเรยี น ซง่ึ ในปกี ารศกึ ษาท่ีผ่านครูไดพ้ ัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนใน
รูปแบบออนไลน์ทุกระดับชั้น โดยสามารถพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและ
ช่วยเหลือนักเรยี นเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหารายบคุ คล มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ผ่านกระบวนการ PLC ทั้งกลุ่ม
ครูดว้ ยกนั และครูกบั กล่มุ ผู้ปกครอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ของผูเ้ รียนเปน็ ไปตามค่าเป้าหมายของโรงเรียนที่ตั้งไว้
ดังผลการประเมินทปี่ รากฏในมาตรฐานท่ี 3

87

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาที่จำแนกตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

มาตรฐาน จำนวน จำนวนประเดน็ พิจารณาแยกตามผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ท่ี ประเดน็
พิจารณา คุณภาพตา่ ง ๆของมาตรฐาน

1 10 ยอด ดีเลิศ ดี ปาน กำลัง คา่ ผลการ
27 เป้าหมาย ประเมนิ
35 เย่ยี ม กลาง พฒั นา ดเี ลศิ
ดเี ลิศ
73 - - - ยอดเยยี่ ม
ยอดเย่ียม ยอดเยยี่ ม
7- - - - ยอดเย่ยี ม
ยอดเยยี่ ม
5- - - - ดีเลิศ

ผลการประเมินในภาพรวม

4.2 แนวทางการพัฒนาในปีต่อไป

1) โรงเรยี นควรมีการส่งเสริมการดำเนนิ การของโครงการ/กิจกรรม ใหม้ แี นวทางท่ีชัดเจนในการที่จะ
ส่งเสริมอัตลักษณ์ “ใฝ่หาความรู้ เชิดชูสถาบัน ยึดมั่นคุณธรรม” เพื่อให้สอดรับกับสภาพบริบทสังคมโลกที่มี
การเปล่ยี นแปลงแบบพลิกผัน (VUCA World)

2) โรงเรียนควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาในลักษณะ
ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เพื่อให้เกิดการส่งเสริมการจัดการศึกษาที่จะสอดรับกับความ
ต้องการทแี่ ตกตา่ งกนั ของผู้เรยี น อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

3) โรงเรียนควรส่งเสริม/พัฒนาครูให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก ท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้มี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างหลากหลาย ใช้แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง และมีการ
จัดการชัน้ เรียนเชงิ บวก

4) โรงเรยี นควรสง่ เสริม ใหเ้ กดิ เวทีในกระบวนการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ให้กับครูและ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้เกิดเป็นนวัตกรรมในการพัฒนาผู้เรียนด้านต่างๆ ทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

5) โรงเรยี นควรมุง่ พัฒนา อาคาร หรือสถานที่ต่างๆ ภายในบริเวณโรงเรียนที่ห่างหายจากการใช้งาน
มาปรับเปล่ียนภูมทิ ศั น์ ให้เกิดเป็นแหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมสำหรบั ผเู้ รยี นกลุม่ ต่างๆ

6) โรงเรียนควรตระหนักถึงความปลอดภัยในสถานศึกษาสำหรับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาอย่างรอบด้าน โดยอาศัยมาตรการสถานศึกษาปลอดภัย (MOE Safety Center) มาเป็นกรอบในการ
พัฒนาโรงเรียน

4.3 ความต้องการและการช่วยเหลือ

โรงเรียนต้องการงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพื่อใช้ใน
การจัดซื้อครุภณั ฑ์ วัสดุอุปกรณ์สาํ หรับห้องเรียนในอาคารเรียนนวการวิมล ให้พร้อมกับการจดั การเรยี นการ
สอนโดยเร็วทีส่ ดุ





90

คำสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ทบทวนและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2564

91

92

93

94


Click to View FlipBook Version