The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2563
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0909, 2021-05-19 02:00:00

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2563
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

Keywords: sar63,ประกัน63



โรงเรียนมธั ยมวัดสงิ ห์ ได้จดั ทำเอกสารรายงาน การประเมินตนเองตลอดปีการศึกษา 2563
ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์
ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาประจำปีการศึกษา 2563 3 มาตรฐาน ปรากฏผลภาพรวมอยู่ในเกณฑ์คุณภาพระดับ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ รายงานและเผยแพร่ผลการพัฒนา ยอดเยยี่ ม รายงานผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาฉบับนี้
คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ประกอบด้วย เป็นการรวบรวมสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับการบริหาร
รายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของ จัดการ หวังเป็นอย่างยิ่งวา่ เอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน เพื่อใช้ในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐาน ต่อไป
ที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ และมาตรฐานท่ี 3
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ (นายเทพพร อาจเวทย)์
ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตลอดปีการศึกษา
2563 โรงเรียนได้วางแผนพัฒนาการศึกษาโดยศึกษาข้อมูล
จากการประเมินตนเองในปีการศึกษาที่ผ่านมา นโยบาย
ด้านการศกึ ษาของรฐั บาลและข้อเสนอแนะจากการประเมิน
คุณภาพภายนอกรอบสาม นอกจากนีโ้ รงเรียนได้ดำเนินการ
บริหารจัดการในด้านอื่น ๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
นกั เรยี น ตลอดจนการปลูกฝัง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม
ที่ดีงาม การสืบสานประเพณี วัฒนธรรมไทย ความรัก และ
ความภาคภมู ิใจในสถาบัน

ทสรุป ข

บของผ้บู รหิ าร

รายงานการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์
ในรอบปี 2563 โรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์ได้ดำเนินงานตามมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา มีกระบวนการ ประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ใน

ระดับ ยอดเยยี่ ม มผี ลการดำเนินงานดงั ต่อไปนี้

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ระดับคณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม

1) ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มี

ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคำนวณ โดยกลุ่ม

สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้จัดโครงการ กิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น

กิจกรรมละครสั้น Skit กิจกรรมการพัฒนานักเรียนท่ีอ่านไม่ออกเขียนไม่

คล่อง Read for Effective Writing กจิ กรรมการทดสอบวดั ระดับความรู้

ภาษาอังกฤษ CEFR โครงการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น กจิ กรรม นายเทพพร อาจเวทย์
พัฒนาทักษะทางภาษาการแข่งขันทักษะภายในภาษาต่างประเทศ โครงการ
จนิ ดามณี เปน็ ต้น นอกจากนี้ยังส่งเสริมผู้เรยี นใหม้ ีความ สามารถในการคิด ผู้อานวยการโรงเรยี น

วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและ และจัดปฏิทินการปฏิบัติงาน มีการจัดโครงสร้างการบริหารงานทั้ง 4 ฝ่าย

แก้ปัญหา มีการจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจาก อย่างชัดเจน มีคำสั่งการปฏิบัติงาน มีการจัดสภาพแวดล้อมและสังคมท่ี

Internet เพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพโดยได้รับความร่วมมือจากผู้ที่

สารสนเทศและการสื่อสาร ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล การบริหารและจัด

สำคัญ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความร้แู ละทกั ษะรอบด้าน การศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่อง

2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนส่งเสริมผู้เรียนให้เป็น มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมท่ีดี สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่าง ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

สงบสุข เปน็ พลเมืองที่ดีของประเทศด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย โครงการลูก โรงเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญในหน้าที่ของการจัดการศึกษาอย่างมี

สิงห์เป็นคนดีมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ โครงการ คุณภาพ มีการกำหนดทิศทางการดำเนินงาน มีกระบวนการ การบริหาร

ส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ โครงการสืบสานประเพณี เชิงยุทธศาสตร์อย่างเป็นระบบ ครูดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้น

วัฒนธรรมดำรงไทย โครงการเสริมสร้างคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ เป็น ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ (Active learning)

ต้น สง่ ผลให้ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตามค่าเป้าหมายท่ีกำหนด มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีความสอดคล้อง กับหลักสูตรสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง มีการนิเทศ กำกับ และติดตาม

ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม โดยผู้บริหาร บุคลากรในกลุ่มสาระ ฯ เพ่ือให้ครูผู้สอนนำผลการนิเทศไป

ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ได้บริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนด้วย พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนต่อไป นอกจากน้ีโรงเรียนยังส่งเสริมให้ครู

การใช้หลักความเป็นผู้นำในการบริหารแบบมีส่วนร่วม การบริหารโดยใช้ และบุคลากรมีการพัฒนาตนเองให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ส่งเสริม

สถานศึกษาเป็นฐาน และการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการวางแผน สนับสนุน พัฒนาศักยภาพของครูและ บุคลากรอย่างต่อเนื่องและนำมา

การดำเนินการตามแผนและการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างเป็น แลกเปล่ยี นเรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาการจดั การเรียนการสอนใหม้ คี ณุ ภาพจนเกิด

ระบบ สามารถบริหารจัดการสถานศึกษาได้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด เปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ไว้ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา / มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนงาน/แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด้ ขี น้ึ กวา่ เดิม

โดยใช้หลักการพัฒนาดว้ ยวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ในการปรับปรุงการ 1. พัฒนาคุณภาพนักเรียนให้ติดอันดับ 1 ใน 100 อันดับโรงเรียนดังของ

บริหาร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียนและทำให้โรงเรียนมีช่ือเสียง ประเทศ

เป็นท่ีรู้จัก มีการกำหนดทิศทางในการพัฒนาโรงเรียน ตามวิสัยทัศน์ 2. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรสามารถให้สามารถใช้เทคโนโลยีใน

เป้าประสงค์ และพันธกิจ โดยมีการประชุม ปรึกษาหารือ รับฟัง การจัดการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ เพ่ือให้การจัดการศึกษามีความ 3. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนทำวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือนำผลที่ได้ไปพัฒนาการจัดการ

สอดคล้องกบั บริบทของโรงเรยี น และบงั เกดิ ประสิทธผิ ล มีการวางแผน เรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ มากยง่ิ ขึ้น



ความเห็นของผู้ทรงคณุ วุฒิ

จากภายนอกสถานศกึ ษา

โรงเรียนมัธยมวัดสิงหไดดำเนินการประกัน มีรูปแบบการสอนแบบ Active Learning และผสมผสาน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยมี MWS Model ระหวาง online กับ onsite มีการจัดทำคูมือการเรียนการ
เพื่อการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน มี สอนออนไลน และใชสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายในการ
ยุทธศาสตรและกระบวนการท่ีดี มีโครงการที่สงเสริมและ จัดการเรียนการสอน สามารถพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมี
พัฒนาผูเรียนที่หลากหลาย มีการตรวจสอบ ทบทวน ความรู ความสามารถ มีทักษะดานตางๆ จนไดรับรางวัล
ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานเพื่อนำไปสูการ มากมาย สรางชื่อเสียงใหกับโรงเรียนตั้งแตระดับโรงเรียน
พัฒนา ปรับปรุงคุณภาพอยางสม่ำเสมอ มีเอกลักษณ กลุมโรงเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และ
ผูบริหาร ครู และนักเรียนมีความสัมพันธภาพอันดี ระดับประเทศ ผูบริหารโรงเรียน คณะครู และบุคลากร
อัตรากำลังของผูบริหารและครูเพียงพอ สามารถใชงบใน ทางการศึกษา ผูเรียน ตลอดจนองคกรตางๆที่มีสวน
การบริหารจัดการดานเทคโนโลยีไดอยา งเหมาะสม มีระบบ เกี่ยวของและชุมชนที่ใหความรวมมือ รวมใจ และมุงมั่น
การรักษาความปลอดภัยที่ดี มีอุปกรณในการปองกันและ พฒั นาโรงเรียนทำใหโ รงเรียนมัธยมวัดสิงห เปนโรงเรียนท่ีดี
คัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ครูมี เกง และมีคุณภาพ
ความสามารถในการใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการ
สอนทีเ่ นนผเู รยี นเปนสำคัญตรงตามศกั ยภาพ

สารบญั ง

หนา้
ก คำนำ
ข บทสรปุ สำหรบั ผบู้ รหิ าร
ค ความเหน็ ชอบของผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ากภายนอกสถานศกึ ษา
ง สารบญั

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน
2 1.1 ที่ต้งั
3 1.2 ประวัตโิ รงเรียน
6 1.3 ข้อมลู บคุ ลากร
13 1.4 ขอ้ มลู นกั เรยี น
15 1.5 ข้อมูลอาคารสถานที่
16 1.6 ขอ้ มลู งบประมาณ
16 1.7 ข้อมลู สภาพชมุ ชน
17 1.8 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา
24 1.9 แหล่งเรยี นรแู้ ละภูมิปัญญาท้องถิ่น
29 1.10 ผลการจดั การเรยี นรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
36 1.11 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
44 1.12 ผลงานดเี ดน่ /รางวลั / ผลการปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ

(Best Practice) ของสถานศึกษา
สว่ นที่ 2 การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
70 1. การบริหารจดั การของสถานศกึ ษา
73 2. วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมาย และกลยทุ ธ์ของสถานศกึ ษา
74 3. โครงการทส่ี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษา
สว่ นที่ 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

76 1. มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น
87 2. มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
96 3. มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอน

ทีเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั
สว่ นท่ี 4 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความต้องการชว่ ยเหลอื
110 4.1 สรุปผลในภาพรวม
111 4.2 แนวทางการพฒั นาในปีตอ่ ไป
111 4.3 ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลือ
113 ภาคผนวก



2

1.1 ทต่ี งั้ สงั กัด :

สถานศึกษา : สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา
โรงเรียนมัธยมวดั สิงห์ กรงุ เทพมหานคร เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
เลขท่ี 35 ก หมูท่ ี่ 3 ถนนเอกชยั แขวงบางขุนเทยี น เขต กระทรวงศึกษาธกิ าร
จอมทอง จังหวดั กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณยี ์ 10150
เปดิ สอน :
โทรศพั ท์ 0-2415-0683 / 0-2415-1681
ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ถึงระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
โทรสาร 0-2415-3291 ต่อ 200
เนอ้ื ท่ี :

37 ไร่ 100 ตารางวา

เขตพน้ื ทบี่ รกิ าร :

แขวงบางขนุ เทียน แขวงจอมทอง แขวงบางบอน แขวง
แสมดำ แขวงทา่ ข้าม และแขวงบางหวา้

3

ประวัติโรงเรยี นโดยย่อ

พ.ศ. 2496 - โรงเรียนจัดตั้งขึ้นตามประกาศ พ.ศ. 2542 - ได้รับรางวัลโรงเรียนดีเด่นของ
กระทรวงศึกษาธิการ สังกัดกรมวิสามัญศึกษาชื่อโรงเรียนวัด กรมสามญั ศกึ ษา
สิงห์ (ว.ส.) เริ่มเปิดทำการเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2496
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน พ.ศ. 2546 - ได้รับอนุมัติให้จัดการเรียนการ
นักเรียน 45 คน ครู 4 คน มีนายหงิม เกบไว้ ดำรง สอนหลักสูตรทางเลือก Mini English Program ระดับช้ัน
ตำแหน่งครูใหญ่ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 จำนวน 1 หอ้ งเรยี น

พ.ศ. 2498 - ได้รับอนุมัติให้จัดการเรียนการ - เดือนกรกฎาคม โรงเรียนเปลี่ยนสังกัดจากกรม
สอนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 7 – 8 แผนกวิทยาศาสตร์ สามัญศึกษาเป็นสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
และอักษรศาสตร์ พื้นฐาน ตามพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2514 - กรมวิสามัญศึกษา ยุบเลิก กรงุ เทพมหานคร เขต 3
เปล่ยี นเป็นสังกัดกรมสามญั ศกึ ษา
พ.ศ. 2547 - ได้รับอนุมัติให้ปรับการเรียนการ
- กระทรวงศึกษาธกิ ารอนมุ ัติให้เปลีย่ นชอื่ โรงเรียนเปน็ สอนหลักสูตรทางเลือก Mini English Program เป็น English
โรงเรยี นสงิ หราชพิทยาคม (ส.พ.) Program

พ.ศ. 2517 - โรงเรียนจัดการเรยี นการสอนเป็น พ.ศ. 2548 - น ั ก เร ี ย น หล ั ก ส ู ต ร English
2 รอบ ในรอบเช้า และรอบบ่าย Program จบการศึกษาระดับช่วงช้ันที่ 3 เป็นรนุ่ แรก

พ.ศ. 2518 - ไดร้ ับการประกาศให้เป็นโรงเรียน พ.ศ. 2550 - ได้รับอนุมัติให้จัดการเรียนการ
ชั้นพิเศษตามการดำรงตำแหน่งของนางวรณี ศิริบุญ สอนหลักสูตรส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์
ผ้อู ำนวยการโรงเรียน วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ( Gifted Education
Program) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน
พ.ศ. 2522 - ยกเลิกการจัดการเรียนการสอน และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 1 ห้องเรยี น
2 รอบ และจัดการเรยี นการสอนเต็มวันตามปกติ
พ.ศ. 2551 - น ั ก เ ร ี ย น หล ั ก ส ู ต ร English
พ.ศ. 2538 - กระทรวงศึกษาธิการอนุมัติให้ Program จบการศึกษาระดับช่วงชัน้ ท่ี 4 เปน็ รนุ่ แรก
เปลี่ยนชื่อโรงเรียนอีกครั้งหนึ่งเป็น“โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ”
(ม.ว.ส.)

4 - โรงเรียนได้รับโล่เกียรติยศเป็นโรงเรียนที่มีระบบ
พ.ศ. 2552 - นักเรียนหลักสูตรส่งเสริมความ

เป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดับดีเยยี่ ม

(Gifted Education Program) จบการศึกษาระดับช่วงชั้นที่ พ.ศ. 2560 - โรงเรียนได้รับการยกย่องเป็น
3 และช่วงชน้ั ที่ 4 เป็นรุ่นแรก สถานศึกษาที่ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

พ.ศ. 2553 - โรงเรียนได้รับการคัดเลือกจาก ประสบผลสำเร็จด้านการยกระดับคณุ ภาพกลุ่มสาระการเรยี นรู้

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็น คณิตศาสตร์ ระดับดีเด่น จากสำนักงานคณะกรรมการ

โรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

และเปลี่ยนสังกัด จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2561 - โรงเรียนได้รับรางวัล MOE
กรุงเทพมหานคร เขต 3 เป็น สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี AWARDS ปีการศึกษา 2559 ผลงานระดับดีเด่น ประเภท
การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 1 สถานศึกษา สาขาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน

พ.ศ. 2556 - โรงเรียนได้รับการประเมิน สถานศึกษา ( ณ วันที่ 28 กันยายน 2561)

สถานศึกษาป้องกันยาเสพติด ระดับยอดเยี่ยม จากศูนย์ พ.ศ. 2562 - โรงเรียนได้รับรางวัล ศูนย์การ
อำนวยการพลังแผน่ ดนิ เอาชนะยาเสพตดิ เรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้านการศึกษา ปี

- โรงเรียนได้รับการยกย่องเป็นสถานศึกษาที่ส่งเสริม การศึกษา 2561 (ณ วันที่ 28 กันยายน 2562) จาก

พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประสบผลสำเร็จด้าน กระทรวงศึกษาธิการ

การยกระดับคณุ ภาพกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดับดี - โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส.
จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ประเภทผลงานดีเด่น ระดับทอง โครงการสถานศึกษาสีขาว

ปลอดภัยยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2560 ( ณ วันที่

- โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่าง 16 กนั ยายน 2562)

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลัก พ.ศ. 2563 - โรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประจำปี 2556 จาก ดนตรีไทย 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ส่งเสริม สนับสนุนการเรียนการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สอนดนตรไี ทยให้บังเกิดเปน็ รปู ธรรม

พ.ศ. 2557 - โรงเรียนได้รับการยกย่องเป็น - โรงเรียนได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงาน
สถานศึกษาดีเด่นดา้ นการสนบั สนุนการศึกษาพระปริยัตธิ รรม ดีเด่น ระดับเพชร โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด

- โรงเรียนได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม และอบายมุข ปีการศึกษา 2561 ให้ไว้ ณ วันที่ 29 กรกฏาคม

จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2563 จาก กระทรวงศึกษาธกิ าร

(องคก์ ารมหาชน) ในระดบั คุณภาพ ดี

พ.ศ. 2559 - โรงเรียนได้รับโล่เกียรติยศเป็น
โรงเรียนที่จัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษาปีการศึกษา
2558 ได้มคี ณุ ภาพและมาตรฐาน ระดบั ดเี ยย่ี ม

5

ตราสัญลักษณ์ อักษรย่อ ม.ว.ส.
ประจาโรงเรยี น
เอกลักษณ์ บรรยากาศดี กจิ กรรมเด่น
ความหมายของตราสญั ลักษณ์ เป็นศูนย์รวมชุมชน

อตั ลกั ษณ์ ใฝ่หาความรู้ เชิดชสู ถาบนั
ยดึ มั่นคุณธรรม

สปี ระจำโรงเรียน
ชมพู หมายถงึ ความคิดลึกซ้ึง สรา้ งสรรค์
เขียว หมายถึง ความเจริญงอกงาม

พระประจำโรงเรียน พระพทุ ธสิงหราช

ตน้ ไม้ประจำโรงเรียน ต้นชมพพู นั ธทุ์ พิ ย์

สงิ ห์ เปน็ สญั ลักษณ์ของความสง่างาม ปรชั ญา ใฝ่หาความรู้ เชิดชสู ถาบนั ยดึ มน่ั คุณธรรม
คบเพลิง น่าเกรงขาม ทรงไว้ซ่งึ เกียรตศิ กั ด์แิ ละ
คุณธรรม อัตลักษณ์ ใฝ่หาความรู้ เชิดชสู ถาบนั ยึดมนั่ คุณธรรม

เปน็ ประทีปส่องแสงนำทางสู่ความ เอกลักษณ์ บรรยากาศดี กจิ กรรมเดน่ เปน็ ศนู ย์รวมชมุ ชน
รงุ่ เรืองและความสำเรจ็

6

7

8

9

10

1.3.3 ข้อมลู ครแู ละบุคลำกร

1. วทิ ยฐำนะ

ครแู ละ ครู ครู ครู ครู ครู ครู พนกั งำน ครู ครู ลูกจำ้ ง ลูกจำ้ ง รวม

บคุ ลำกร คศ. คศ. คศ. คศ. คศ. ผชู้ ่วย รำชกำร อัตรำ ตำ่ งชำติ ประจำ ชวั่ ครำว

54321 จ้ำง

ปกี ำรศกึ ษำ - - 13 41 72 32 1 2 16 - 42 219

2563

หมำยเหตุ รวมครทู ่ีปฏบิ ัติหน้าที่รองผู้อำนวยการโรงเรยี นตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศกึ ษา

จำนวนครแู ละบุคลำกร

ลูกจ้างชว่ั คราว ครคู ศ.3 5.94%
19.18% ครูคศ.2 18.72%

ครตู ่างชาติ 7.31% ครูคศ.1 32.88%
ครอู ตั ราจา้ ง 0.91%
พนักงานราชการ 0.46%

ครูผ้ชู ่วย 14.61%

ครูคศ.5 ครูคศ.4 ครคู ศ.3 ครคู ศ.2 ครคู ศ.1 ครูผ้ชู ่วย
ครูตา่ งชาติ ลูกจา้ งประจา ลูกจา้ งชวั่ คราว
พนักงานราชการ ครูอตั ราจา้ ง

แผนภูมิ แสดงจำนวนครแู ละบุคลากรแยกตามวทิ ยฐานะ

11

2. วุฒิกำรศึกษำ (ข้อมูล ณ วันท่ี 1 พฤศจิกายน 2563 )

จำนวนตำมระดับกำรศึกษำ (คน)

กลุม่ สำระฯ ปริญญำตรี ปริญญำโท ปริญญำเอก รวม

ผู้อำนวยกำร ชำย หญงิ รวม ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม 1
รองผู้อำนวยกำร 4
ภำษำไทย -- - 1- 1 - - - 15
คณติ ศำสตร์ 25
วิทยำศำสตร์และ 12 3 1 - 1 - - - 36
เทคโนโลยี
สงั คมศึกษำ ศำสนำ 2 10 12 1 2 3 - - - 19
และวัฒนธรรม
สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ 6 10 16 5 4 9 - - - 9
ศิลปะ 12
กำรงำนอำชีพ 9 15 24 3 9 12 - - - 10
ภำษำต่ำงประเทศ 24
กิจกรรมพัฒนำผ้เู รยี น 4 10 14 1 4 5 - - - 8
163
รวม 43 7 1 1 2 - - -
42 6 3 3 6 - - -
26 8 - 2 2 - - -
3 10 13 1 10 11 - - -
-5 5 12 3 - - -
35 73 108 19 37 55 - - -

วฒุ ิกำรศกึ ษำ

ปรญิ ญาโท 33.74%

ปรญิ ญาตรี 66.26%

ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
แผนภูมิ แสดงวฒุ กิ ารศึกษาของครูและบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

12

3) กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ และภำระงำนสอน (ข้อมูล ณ 21 ธันวาคม 63)

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ จำนวน (คน) ภำระงำนสอนเฉล่ียของครู 1 คน
ในแต่ละกลมุ่ สำระฯ (ชม./สัปดำห)์
1. ภำษำไทย 15
2. คณติ ศำสตร์ 25 260 ÷ 15 = 17.33
3. วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 36 428 ÷ 25 = 17.12
4. สังคมศึกษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม 19 657 ÷ 36 = 18.25
5. สุขศกึ ษำและพลศึกษำ 9 327 ÷ 19 = 17.21
6. ศลิ ปะ 12 158 ÷ 9 = 17.56
7. กำรงำนอำชพี 10 208 ÷ 12 = 17.33
8. ภำษำตำ่ งประเทศ 24 177 ÷ 10 = 17.70
9. กิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน 8 454 ÷ 24 = 18.92
158 88 ÷ 8 = 11.00
รวม

ภำระงำนสอนเฉลี่ยของครู 1 คน

40 15
35
30 17.33
25
20 25
15
10 17.12
5
0 36

18.25

19

17.21

9

17.56

12

17.33

10

17.7

24

18.92

8

11

จำนวนครู ภำระงำนสอนเฉล่ียของครู 1 คน
แผนภมู ิ แสดงเปรยี บเทียบภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คน ในแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ (ชม./สปั ดาห์)

13

1.4 ข้อมูลนักเรียน ( ณ วนั ท่ี 17 กรกฎำคม 2563)

1.) จำแนกตำมระดบั ชน้ั ที่เปิดสอน

ระดบั ช้นั เพศ รวม จำนวน จำนวนนกั เรียน
ชำย หญงิ หอ้ งเรยี น เฉลย่ี ต่อห้อง
ม. 1 286 280 566
ม. 2 313 319 632 16 35.38
ม. 3 278 308 586 16 39.50
รวม 877 907 1,784 16 36.63
ม. 4 220 281 501 48 37.17
ม. 5 232 289 521 14 35.79
ม. 6 197 261 458 14 37.21
รวม 649 831 1,480 12 38.17
รวมจำนวนนกั เรียนทงั้ หมด 1,526 1,738 3,264 40 37.00
88 37.09

จำนวนนกั เรียน ปีกำรศกึ ษำ 2563

ม.4 15% ม.5 16%
ม.6 14%
ม.3 18%

ม.2 20% ม.1 17%

แผนภมู ิ แสดงการเปรยี บเทียบจำนวนนกั เรยี นจำแนกตามระดับชัน้ ทเ่ี ปดิ สอน

14

2.) จำแนกตำมปกี ำรศึกษำ 3 ปี ย้อนหลัง

ระดบั ชั้น 2561 ปกี ำรศึกษำ 2563
611 2562 566
ม. 1 603 645 632
ม. 2 611 601 586
ม. 3 478 599 501
ม. 4 467 536 521
ม. 5 464 464 458
ม. 6 3,234 457 3,264
รวม 3,302

จำนวนนักเรียนจำแนกตำมปีกำรศึกษำ 3 ปี ย้อนหลัง

33.31%

33.00% ปกี ารศึกษา 2561
ปกี ารศกึ ษา 2562
33.69% ปกี ารศึกษา 2563

แผนภูมิ แสดงจำนวนนักเรียนจำแนกตามปกี ารศกึ ษา 3 ปี ย้อนหลงั

15

1.5 ข้อมูลอำคำรสถำนท่ี

โรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์ มอี าคารสถานที่ ดงั นี้

อาคารเรยี น จำนวน 7 หลงั (อาคารเรยี น 1 - อาคารเรยี น 7)

เรือนพยาบาลเทยี นฉ่ำ จำนวน 1 หลงั

อาคารธารณานุเคราะห์ จำนวน 1 หลัง (อาคารประชาสมั พันธ์และพิพธิ ภัณฑ์

การศึกษา)

สนามฟุตบอล จำนวน 1 สนาม

สนามวอลเลยบ์ อล จำนวน 2 สนาม

สนามบาสเกตบอล จำนวน 3 สนาม

สนามตะกร้อ จำนวน 4 สนาม

สนามแบดมนิ ตัน จำนวน 5 สนาม

สนามเทนนสิ จำนวน 2 สนาม

สนามเปตอง จำนวน 4 สนาม

โรงอาหาร จำนวน 1 หลัง

หอประชุม จำนวน 1 หลงั

อาคารอเนกประสงค์ จำนวน 4 หลงั

ศาลาทรงไทยเรือนพิมพร์ ำลึก จำนวน 1 หลงั

ศนู ย์เสมารักษ์และห้องทบู ีนัมเบอรว์ ัน จำนวน 1 หลัง

สระน้ำ จำนวน 1 สระ

หอ้ งสขุ านักเรยี น จำนวน 4 หลัง

เครือ่ งออกกำลังกายกลางแจ้ง จำนวน 12 เคร่ือง

1.6 ข้อมูลงบประมำณ 16

งบประมำณ (รับ - จ่ำย) รำยจ่ำย
งบดำเนนิ การ/เงินเดอื น - คา่ จา้ ง
รำยรับ จำนวน/บำท งบพัฒนาคุณภาพการจัด จำนวน/บำท
เงินงบประมาณ 21,225,245.00 การศึกษา 12,172,537.00
เงนิ นอกงบประมาณ 33,496,048.86 งบอืน่ ๆ (ระบุ) 42,130,087.57

เงินอื่นๆ (ระบุ) 671,641.02 รวมรำยจำ่ ย 315,557.70
รวมรำยรับ 55,392,934.88 54,618,182.27

สรุป งบดำเนินการ/เงินเดอื น เงินค่าจา้ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.97 ของรายรับ
งบพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.06 ของรายรบั

1.7 ข้อมูลสภำพชมุ ชน

1.) สภำพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน

สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะเป็นที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ สถานประกอบกิจการ ร้านค้า
ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีประชากรแขวงบางขุนเทียนและเขตบางบอน ประมาณ 290,510 คน (แหล่งข้อมูล
สำนักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ) บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดสิงห์ ศาล
ธนบุรี ไปรษณีย์บางขุนเทียน สถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน สรรพากรเขตพื้นที่ 27 สำนักงานอัยการสูงสุด
(อาคารธนบุร)ี สถานีรถไฟวดั สิงห์ โรงเรียนดวงวิภา โรงเรียนวัดกำแพง อาชพี หลักของประชากรในชุมชน คอื อาชีพ
รับจ้างเป็นส่วนใหญ่และมีอาชีพอื่นๆ เช่น ประกอบธุรกิจส่วนตัว ค้าขาย รับราชการ เป็นต้น ส่วนใหญ่นับถือศาสนา
พุทธ ประเพณ/ี ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินท่เี ป็นท่รี ู้จักโดยทวั่ ไป คือ งานแห่เทยี นเขา้ พรรษา ลอยกระทง สงกรานต์

2.) สถำนภำพโดยรวมของผู้ปกครอง

ผูป้ กครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และรองลงมาคือจบการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
อาชีพหลัก คือ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย รับราชการ ประกอบธุรกิจส่วนตัว และอาชีพอื่นๆ มีบางคนไม่ได้ประกอบอาชีพ
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 95.20 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 2.70 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 2.10 ฐานะ
ทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉลย่ี ต่อครอบครัวต่อปี 175,000 บาท จำนวนคนเฉล่ียต่อครอบครวั 5 คน และแนวโน้ม
ความต้องการของผู้ปกครอง และชุมชน คือ โรงเรียนพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพในการเรียนการสอน
เน้นกระบวนการใช้ทักษะชีวิตมากกว่า เพิ่มระบบรักษาความปลอดภัย และมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ
เชื้อโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) ลดกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นนันทนาการให้น้อยลง เพิ่มกิจกรรมทักษะทาง
วิชาการให้มากขึ้น ดูแลเอาใจใส่นักเรียน อบรมคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นักเรียน เข้มงวดกับกฎระเบียบ วินัย ของ
นักเรียนให้มากยิ่งข้ึน ชี้แจงข่าวสารให้ผู้ปกครองทราบอย่างทันเหตุการณ์ ชัดเจน และถูกต้อง สม่ำเสมอ ส่งเสริม
อปุ กรณ์ การเรยี นทีท่ ันสมัย

17

3.) โอกำสและข้อจำกดั ของโรงเรียน
โรงเรียนมัธยมวัดสิงหอ์ ยู่ใกลแ้ หล่งเรียนรู้ เช่น สำนกั งานอัยการสงู สุด (อาคารธนบรุ )ี ศาลธนบรุ ี

ไปรษณีย์บางขุนเทยี น สถานตี ำรวจนครบาลบางขุนเทียน และวดั สงิ ห์ ซึ่งโรงเรียนไดร้ บั การสนบั สนุนอยา่ งดีย่ิง
จากวดั สิงห์ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สมาคมผ้ปู กครองและครฯู สมาคมศษิ ยเ์ ก่าฯ มลู นิธฯ
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาการมธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 หน่วยงานราชการใกลเ้ คียง และชุมชน
สถานะทางเศรษฐกิจและระดับการศึกษาของผู้ปกครองสว่ นใหญ่อยู่ในระดบั ปานกลาง ค่อนขา้ งต่ำ และด้วย
ปีการศกึ ษา 2563 น้ี ผู้ปกครอง ชุมชน ตอ้ งเจอผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรน่า 2019(COVID
– 19) สง่ ผลให้รายได้ของผู้ปกครองและชุมชน ลดนอ้ ยลง ทำให้ขาดศักยภาพในการสนับสนนุ พัฒนาโรงเรยี น

1.8 โครงสรำ้ งหลกั สตู รสถำนศึกษำ

โรงเรียนมธั ยมวดั สิงห์ จดั สอนตามหลกั สตู รสถานศึกษา สำหรับหลกั สูตรสถานศกึ ษาจัด ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551/หลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรยี นไดจ้ ัดสัดส่วนสาระการ
เรยี นร้แู ละเวลาเรียน ดังแสดงในตารางต่อไปนี้

ระดับช้ันมัธยมศึกษำตอนต้น
หลักสตู รแผนกำรเรยี นทั่วไป

เวลำเรยี น (ชวั่ โมงต่อปี)

ระดบั ชนั้ ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
ิวทยำศำสต ์รและ
เทคโนโลยี
สังคม ึศกษำ ศำสนำ
และวัฒนธรรม
ุสข ึศกษำและ
พลศึกษำ

ิศลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
กิจกรรม ัพฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.1 120 200 200 160 80 80 120 200 120 1,280
ม.2 120 200 240 160 120 80 80 160 120 1,280
ม.3 120 200 200 160 80 80 80 240 120 1,280
รวม 360 600 640 480 280 240 280 600 360

- จำนวนชัว่ โมงทจ่ี ดั ให้นกั เรียน เรียนทั้งปี คอื ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เท่ากบั 1,280 ชั่วโมง
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เทา่ กับ 1,280 ชัว่ โมง
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เทา่ กับ 1,280 ชวั่ โมง

18

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษำตอนตน้
หลกั สตู รสง่ เสริมควำมเป็นเลิศทำงวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และภำษำอังกฤษ

( Gifted Education Program )

เวลำเรียน (ชว่ั โมงต่อปี)

ระดบั ช้ัน
ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
ิวทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
ิกจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.1 120 240 280 160 80 80 40 240 120 1,360
ม.2 120 280 360 160 80 80 40 240 120 1,480
ม.3 120 280 280 160 80 80 80 240 120 1,440
รวม 360 800 920 480 240 240 160 720 360

- จำนวนชว่ั โมงทจี่ ัดให้นักเรยี น เรียนทั้งปี คือ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เท่ากับ 1,360 ช่วั โมง
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เท่ากับ 1,480 ชัว่ โมง
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เท่ากับ 1,440 ช่ัวโมง

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษำตอนต้น หลกั สตู ร English Program

เวลำเรยี น (ช่ัวโมงตอ่ ปี)

ระดับช้นั ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
วิทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
สังคมศึกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
สุขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
กิจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.1 120 200 280 160 80 80 40 360 120 1,440
ม.2 120 200 280 160 80 80 40 360 120 1,440
ม.3 120 200 200 160 80 80 80 360 120 1,400
รวม 360 600 760 480 240 240 160 1080 360

- จำนวนช่ัวโมงที่จดั ใหน้ กั เรียน เรยี นทั้งปี คือ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 เทา่ กับ 1,440 ชัว่ โมง
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เทา่ กับ 1,440 ชว่ั โมง
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เท่ากับ 1,400 ชั่วโมง

• แผนกำรเรียนรู/้ จุดเน้นกำรพฒั นำผเู้ รยี นท่ีตอ้ งกำรเน้นเปน็ พเิ ศษ คือ ความเปน็ เลิศทางด้าน
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

19

ระดับชั้นมธั ยมศึกษำตอนปลำย
แผนกำรเรียนวทิ ยำศำสตร์ – คณติ ศำสตร์

เวลำเรยี น (ชั่วโมงต่อปี)

ระดบั ช้นั ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
ิวทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
ิกจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 80 240 560 120 80 40 - 160 120 1,400

ม.5 80 240 560 120 80 40 40 160 120 1,440

ม.6 80 240 480 120 80 40 80 160 120 1,440

รวม 240 720 1,600 360 240 120 120 480 360

- จำนวนชวั่ โมงทีจ่ ดั ใหน้ ักเรียน เรียนทง้ั ปี คือ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เทา่ กบั 1,400 ช่วั โมง
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เท่ากบั 1,440 ชว่ั โมง
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เท่ากับ 1,440 ชั่วโมง

ระดับชั้นมธั ยมศึกษำตอนปลำย
แผนกำรเรยี นภำษำองั กฤษ – คณติ ศำสตร์

เวลำเรียน (ชั่วโมงตอ่ ป)ี

ระดับชน้ั ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
วิทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
สังคม ึศกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
กิจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 120 280 160 120 80 40 40 320 120 1,280
ม.5 160 280 160 120 80 40 40 320 120 1,320
ม.6 120 240 80 120 80 40 120 320 120 1,240
รวม 400 800 400 360 240 120 200 960 360

- จำนวนช่ัวโมงทีจ่ ดั ให้นกั เรียน เรียนท้งั ปี คอื ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เทา่ กับ 1,280 ชวั่ โมง
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เท่ากบั 1,320 ช่ัวโมง
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เทา่ กบั 1,240 ชว่ั โมง

20

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษำตอนปลำย
แผนกำรเรียนภำษำอังกฤษ - ภำษำฝรงั่ เศส , ภำษำอังกฤษ – ภำษำจนี

เวลำเรยี น (ช่วั โมงต่อป)ี

ระดับชนั้ ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
ิวทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
ิกจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 120 80 160 120 80 40 40 560 120 1,320

ม.5 160 80 160 120 80 40 40 560 120 1,360

ม.6 120 80 80 120 80 40 80 520 120 1,240

รวม 400 240 400 360 240 120 160 1,640 360

- จำนวนชัว่ โมงทจ่ี ัดใหน้ กั เรียน เรยี นทง้ั ปี คือ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เท่ากับ 1,320 ชว่ั โมง
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เทา่ กับ 1,360 ชว่ั โมง
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 เทา่ กับ 1,240 ชว่ั โมง

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษำตอนปลำย
แผนกำรเรียนภำษำอังกฤษ - ภำษำญ่ีปุน่

เวลำเรียน (ชั่วโมงตอ่ ปี)

ระดับช้ัน ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
วิทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
สังคม ึศกษำ ศำสนำ
และวัฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
กิจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 120 80 160 120 80 40 40 480 120 1,240
ม.5 160 80 160 120 80 40 40 480 120 1,280
ม.6 120 80 80 120 80 40 80 520 120 1,240
รวม 400 240 400 360 240 120 160 1,480 360

- จำนวนชัว่ โมงท่ีจดั ให้นกั เรยี น เรยี นทงั้ ปี คอื ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เทา่ กับ 1,240 ชัว่ โมง
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 เทา่ กบั 1,280 ชวั่ โมง
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เทา่ กับ 1,240 ชว่ั โมง

21

ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษำตอนปลำย
แผนกำรเรยี น ศลิ ปะ

เวลำเรยี น (ชวั่ โมงต่อปี)

ระดบั ชนั้ ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
ิวทยำศำสต ์รและ
เทคโนโลยี
ัสงคมศึกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
ิกจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 120 80 160 120 80 280 40 160 120 1,160
ม.5 160 80 160 120 80 280 40 160 120 1,200
ม.6 120 80 80 120 80 280 80 160 120 1,120
รวม 400 240 400 360 240 840 160 480 360

- จำนวนช่ัวโมงทจี่ ดั ใหน้ ักเรียน เรียนทั้งปี คอื ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เทา่ กับ 1,160 ช่ัวโมง
ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เทา่ กับ 1,200 ชั่วโมง
ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เทา่ กับ 1,120 ชว่ั โมง

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษำตอนปลำย
แผนกำรเรียนภำษำไทย – สังคม

เวลำเรียน (ชั่วโมงต่อปี)

ระดับชัน้ ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
วิทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
สังคม ึศกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
กิจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 200 80 160 320 80 40 40 160 120 1,200
ม.5 240 80 160 320 80 40 40 160 120 1,240
ม.6 200 80 80 200 80 40 480 160 120 1,440
รวม 640 240 400 840 240 120 560 480 360

- จำนวนชวั่ โมงทีจ่ ดั ให้นักเรยี น เรยี นทงั้ ปี คอื ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เท่ากับ 1,200 ช่วั โมง
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เทา่ กบั 1,240 ชว่ั โมง
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เท่ากบั 1,440 ช่ัวโมง

22

ระดับช้ันมัธยมศึกษำตอนปลำย
แผนกำรเรยี นธุรกจิ

เวลำเรยี น (ช่ัวโมงตอ่ ปี)

ระดับชน้ั ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
ิวทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
ัสงคมศึกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
ิกจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 120 80 160 120 80 40 400 160 120 1,280

ม.5 160 80 160 120 80 40 400 160 120 1,320

ม.6 120 80 80 120 80 40 400 160 120 1,200

รวม 360 240 240 360 240 120 940 480 360

- จำนวนชว่ั โมงทจ่ี ดั ใหน้ ักเรยี น เรยี นท้งั ปี คือ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 เทา่ กบั 1,280 ช่วั โมง
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เทา่ กบั 1,320 ช่ัวโมง
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เทา่ กับ 1,200 ช่ัวโมง

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย
หลักสตู รสง่ เสริมควำมเปน็ เลิศทำงวทิ ยำศำสตร์ คณติ ศำสตร์ และภำษำอังกฤษ

( Gifted Education Program )

เวลำเรียน (ชวั่ โมงตอ่ ปี)

ระดับชน้ั
ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
วิทยำศำสต ์รและ
เทคโนโล ีย
สังคม ึศกษำ ศำสนำ
และวัฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พล ึศกษำ

ิศลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
กิจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม.4 80 280 640 120 40 40 - 280 120 1,640

ม.5 80 280 640 120 40 40 40 280 120 1,680

ม.6 80 280 560 120 40 40 120 280 120 1,680

รวม 240 840 1,840 360 120 120 160 840 360

- จำนวนชั่วโมงทีจ่ ัดใหน้ กั เรยี น เรียนทงั้ ปี คือ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เท่ากบั 1,640 ช่ัวโมง
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เท่ากบั 1,680 ชว่ั โมง
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 เทา่ กบั 1,680 ชัว่ โมง

23

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย
หลักสตู ร English Program

เวลำเรยี น (ช่วั โมงต่อป)ี

ระดบั ชั้น แผน ภำษำไทย รวม
ค ิณตศำสต ์ร
ิวทยำศำสต ์รและ
เทคโนโลยี
ัสงคมศึกษำ ศำสนำ
และ ัวฒนธรรม
ุสขศึกษำและ
พลศึกษำ

ศิลปะ
กำรงำนอำชีพ
ภำษำ ่ตำงประเทศ
กิจกรรมพัฒนำ

ู้ผเ ีรยน

ม. 4 วิทย์ 80 240 560 120 40 40 - 240 120 1,440
ศิลป์ 80 240 160 120 40 40 - 480 120 1,280
120 40 40 40 240 120 1,480
ม. 5 วทิ ย์ 80 240 560 120 40 40 40 480 120 1,320
ศิลป์ 80 240 160 120 40 40 120 240 120 1,520
120 40 40 120 480 120 1,360
ม. 6 วทิ ย์ 120 240 480 360 120 120 160 720 360
ศิลป์ 120 240 80 360 120 120 160 1,440 360

รวม วทิ ย์ 280 720 1,600
ศิลป์ 280 720 400

- จำนวนช่ัวโมงท่จี ัดให้นกั เรยี น เรียนทั้งปี คือ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 วทิ ย์ เทา่ กับ 1,440 ช่ัวโมง
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ศลิ ป์ เทา่ กับ 1,280 ชัว่ โมง
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 วิทย์ เท่ากับ 1,480 ชั่วโมง
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ศลิ ป์ เท่ากับ 1,320 ชวั่ โมง
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 วทิ ย์ เทา่ กับ 1,520 ช่วั โมง
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ศิลป์ เทา่ กับ 1,360 ช่ัวโมง

แผนกำรเรียนรู้/จุดเน้นกำรพัฒนำผู้เรียนที่ต้องกำรเน้นเป็นพิเศษ คือ ความเป็นเลิศทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

24

1.9 แหลง่ เรียนรู้และภมู ิปญั ญำท้องถิน่

1.9.1 ห้องสมุด มขี นาด 495 ตารางเมตร (คิดเป็นประมาณ 5.5 ห้องเรยี น) จำนวนหนงั สือ

ในหอ้ งสมุดมที ั้งหมด 50,610 เล่ม

การสบื คน้ หนงั สือและการยมื -คืน ใชร้ ะบบทศนิยมดวิ อี้

จำนวนนักเรียนทใ่ี ช้ห้องสมดุ ในปกี ารศึกษาท่รี ายงานเฉลี่ย 551 คนตอ่ วัน

คดิ เป็นร้อยละ 16.69 ของนักเรียนทั้งหมด

1.9.2 หอ้ งปฏิบัตกิ ำร

1.9.2.1 ห้องปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 6 หอ้ ง ไดแ้ ก่

-หอ้ งปฏิบัตกิ ารเคมี จำนวน 1 ห้อง

-หอ้ งปฏบิ ตั ิการชีววิทยา จำนวน 3 ห้อง

-หอ้ งปฏิบัติการฟสิ กิ ส์ จำนวน 1 หอ้ ง

-หอ้ งปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ จำนวน 1 ห้อง

1.9.2.2 หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ จำนวน 6 ห้อง

1.9.2.3 หอ้ งปฏิบัตกิ ารภาษาตา่ งประเทศ จำนวน 4 หอ้ ง

1.9.2.4 หอ้ งปฏิบตั ิการอืน่ ๆ (ระบ)ุ

หอ้ งสมุดประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 12 หอ้ ง

ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาไทย จำนวน 3 ห้อง

หอ้ งศูนย์การเรยี นรู้สังคมศึกษา จำนวน 4 หอ้ ง

ห้องศนู ย์คณติ ศาสตร์ จำนวน 2 หอ้ ง

ห้องปฏบิ ตั ิการคณติ ศาสตร์ จำนวน 3 ห้อง

ห้องศนู ย์สุขศกึ ษา/พลศึกษา จำนวน 2 หอ้ ง

ห้องปฏบิ ตั ิการดนตรไี ทย จำนวน 3 หอ้ ง

ห้องปฏิบัติการนาฏศลิ ป์ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งปฏิบัติการดนตรสี ากล จำนวน 3 หอ้ ง

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารศิลปะ (ทัศนศิลป)์ จำนวน 3 ห้อง

หอ้ งปฏิบตั ิการอุตสาหกรรม จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งปฏิบัตกิ ารอตุ สาหกรรม(การสอนงานไม)้ จำนวน 1 หอ้ ง

ห้องปฏิบัติการอตุ สาหกรรม(งานเขียนแบบ) จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งปฏิบัตกิ ารอตุ สาหกรรม(งานไฟฟา้ ) จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคหกรรม (งานอาหาร) จำนวน 1 ห้อง

ห้องปฏบิ ตั ิการคหกรรม (งานผา้ และเคร่ืองแต่งกาย) จำนวน 2 หอ้ ง

ห้องปฏบิ ัตกิ ารเกษตรกรรม จำนวน 1 ห้อง

ห้องศูนย์การเรยี นรแู้ นะแนว จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น จำนวน 1 ห้อง

25

1.9.3 คอมพิวเตอร์ จำนวน 536 เครือ่ ง

1.9.3.1 ใช้เพ่อื การเรียนการสอน 396 เครอ่ื ง

1.9.3.2 ใชเ้ พอ่ื การบรหิ ารจัดการ 140 เคร่ือง

1.9.4 แหลง่ เรยี นรู้ภำยใน

ช่ือแหลง่ เรยี นรู้ ระดับช้นั นกั เรยี นที่ จำนวน จำนวนคร้ังทีใ่ ช/้ ปี
เรียนรู้ นักเรยี น

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศึกษา
1. สวนพรรณไมใ้ นวรรณคดี ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปีการศึกษา
2. ห้องสมดุ ภาษาไทย ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศกึ ษา
3. ป้ายนเิ ทศ เรอ่ื ง สำนวนไทย 460 ตลอดปีการศกึ ษา
4. ปา้ ยนิเทศ เรื่องโลกและจกั รวาล (ไตรภูมพิ ระรว่ ง) ม. 6 3,252 ตลอดปีการศกึ ษา
5. ป้ายนเิ ทศ ฉันทลกั ษณ์ ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปีการศกึ ษา
6. ปา้ ยนิเทศ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศึกษา
7. ปา้ ยนิเทศ พระราชนิพนธ์ในรชั กาลที่ 2 ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศกึ ษา
8. ป้ายนเิ ทศ พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศกึ ษา
9. ปสา้ยยานมิเบทรศมรกาาชรกทมุำาโครรี งงานภาษาไทย ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศึกษา
10. ป้ายนเิ ทศ เรอ่ื ง รา่ ยสภุ าพ ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปีการศกึ ษา
11. ปา้ ยนิเทศแผนผังคำประพนั ธช์ นิดต่างๆ ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศึกษา
12. ปา้ ยนิเทศ ตัวละครในวรรณคดี ม. 1 – 6 3,252 ภาคเรยี นที่ 1
13. ป้ายนิเทศ เร่อื ง วนั ไหวค้ รู ม. 1 – 6 3,252 ภาคเรยี นที่ 1
14. ป้ายนิเทศ เรื่อง วนั สนุ ทรภู่ ม. 1 – 6 3,252 ภาคเรยี นที่ 1
15. ปา้ ยนิเทศ เรอ่ื ง วนั เฉลิมพระชนมพรรษา ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปีการศกึ ษา
16. ป้ายนเิ ทศ เรื่อง ดอกไมใ้ นวรรณคดี ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศึกษา
17. ปา้ ยนิเทศ เรอ่ื ง การแต่งโคลงสสี่ ภุ าพ ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปกี ารศกึ ษา
18. ป้ายนเิ ทศ เรอ่ื ง นริ าศภเู ขาทอง ม. 1 – 6 3,252 ตลอดปีการศึกษา
19. ปา้ ยนเิ ทศ เรื่อง โคลงสสี่ ภุ าพ ม. 1 – 6
กลุม่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำต่ำงประเทศ 3,293 ตลอดปีการศกึ ษา
1. ห้องสมุดกลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ (ห้อง 141) ม. 1 – 6 3,293 ตลอดปกี ารศึกษา
2. ห้องศูนยก์ ารเรียนร้ภู าษาอังกฤษ (ห้อง 141) ม. 1 – 6 3,293 ตลอดปีการศึกษา
3. ห้องศนู ย์การเรยี นรภู้ าษาจนี (ห้อง 143) ม. 1 – 6

26

ช่ือแหลง่ เรียนรู้ ระดบั ช้ันนกั เรียนที่ จำนวน จำนวนคร้ังที่ใช้/ปี
เรยี นรู้ นักเรยี น
4. หอ้ งศนู ยเ์ รียนรภู้ าษาฝร่งั เศส (ห้อง 336) ตลอดปีการศกึ ษา
5. หอ้ งศนู ย์เรียนรภู้ าษาญี่ปุน่ (หอ้ ง 232) ม. 1 – 6 3,293 ตลอดปกี ารศกึ ษา
6. ปา้ ยนเิ ทศของกลมุ่ สาระภาษาตา่ งประเทศ ม. 1 – 6 3,293 ตลอดปีการศกึ ษา
7.สวนมหัศจรรย์ (Wonderful Language) ม. 1 – 6 3,293 ตลอดปกี ารศกึ ษา
8. วนั ฝรัง่ เศส ม. 1 – 6 3,293 ตลอดปกี ารศึกษา
9. วันทานาบาตะ ม. 1 – 6 3,293 ตลอดปีการศึกษา
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม ม. 1 – 6 3,293
1. ศนู ย์การเรยี นรู้ห้องคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 88
2. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้อาเซยี นศกึ ษา ม.1 - 6 3,264 88
3. ฐานการเรียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (บรเิ วณอาคาร 6) 88
4. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (เรอื นพ่อหลวง) ม.1 - 6 3,264 88
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ
1.ฐานการเรียนรูว้ งโยธวาฑติ ม.1 - 6 3,264 ตลอดปีการศึกษา
2.ห้องเรียนทัศนศลิ ป์ ตลอดปีการศกึ ษา
3.ห้องเรยี นทศั นศิลป์ ม.1 - 6 3,264 ตลอดปกี ารศึกษา
4.ศูนย์ปฏบิ ัตศิ ลิ ปะภาพพมิ พ์ ตลอดปกี ารศกึ ษา
5.ศนู ยป์ ฏบิ ัตดิ นตรไี ทย 100% ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปกี ารศกึ ษา
6.ศนู ยป์ ฏิบตั ิขับรอ้ ง ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปีการศกึ ษา
7.ศูนยป์ ฏบิ ัตินาฏศลิ ป์ ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปีการศึกษา
8.หอ้ งเรียนทศั นศิลป์ ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปีการศกึ ษา
9.หอ้ งเรียนทัศนศลิ ป์ ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปีการศกึ ษา
10.ศูนยป์ ฏิบตั ดิ นตรสี ากล ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปกี ารศกึ ษา
11.ห้องเรียนดนตรสี ากล ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปีการศึกษา
กลุ่มสำระกำรเรียนรกู้ ำรงำนอำชพี ม. 1 – 6 3,270
1.ห้องสมุดโรงเรยี นมัธยมวัดสิงห์ ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปีการศึกษา
2.หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ICT ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปีการศกึ ษา
3.โรงอาหารโรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปกี ารศึกษา
4.ห้องปฏิบัตกิ ารคหกรรม (421-422) ตลอดปีการศึกษา
ม.1-6 3,293
ม1/4 ม.5/10 3,293
3,293
ม.1-6 3,293
ม.1-6

27

ช่อื แหลง่ เรยี นรู้ ระดับชน้ั นกั เรียนท่ี จำนวน จำนวนคร้ังทใี่ ช้/ปี
เรียนรู้ นกั เรยี น
5.ห้องเรียนธรรมชาติ ตลอดปีการศกึ ษา
6.หอ้ งเรียน (411) ม.1-6 3,293 ตลอดปกี ารศกึ ษา
7.หอ้ งเรียน (412) ม.1-6 3,293 ตลอดปกี ารศกึ ษา
8.หอ้ งเรียนธรุ กิจค้าปลกี CP (621) ม.1-6 3,293 ตลอดปีการศึกษา
9.ห้องทักษะงานชา่ ง (431-432) ม.1-6 3,293 ตลอดปีการศกึ ษา
10.ห้องเรยี น 146 (ธรุ กิจ) ม.1-6 3,293 ตลอดปกี ารศึกษา
11.ห้องเรียน 311 ม.1-6 3,293 ตลอดปีการศกึ ษา
12.ห้องพักครกู ลุ่มสาระการงานอาชพี (410) ม.1-6 3,293 ตลอดปกี ารศึกษา
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ม.1-6 3,293
1.หอ้ งเรยี นคอมพิวเตอร์
2.หอ้ งเรียนปฏบิ ตั กิ าร ทางวิทยาศาสตร์ ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปกี ารศกึ ษา
กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ ม. 1 – 6 3,270 ตลอดปกี ารศึกษา
1. สนามกีฬาเปตอง
2. สนามกฬี าแบดมินตนั ม. 1 - 6 22 ตลอดปีการศกึ ษา
3. สนามฟตุ บอลโรงเรยี นมัธยมวดั สงิ ห์ ม. 1 - 6 600 ตลอดปีการศึกษา
4. สนามฟุตซอลโรงเรยี นมธั ยมวัดสิงห์ ม. 1 - 6 1,000 ตลอดปีการศกึ ษา
5. สนามตะกร้อโรงเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์ ม. 1 - 6 500 ตลอดปกี ารศึกษา
6. สนามบาสเกตบอลโรงเรยี นมธั ยมวดั สงิ ห์ ม. 1 - 6 540 ตลอดปีการศึกษา
7. ห้องศนู ย์สขุ ศกึ ษา (3210) ม. 1 - 6 750 ตลอดปกี ารศึกษา
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ ม.1 - 6 1,000 ตลอดปกี ารศึกษา
1. ศนู ย์การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ (312)
โครงกำรพิเศษ English Program ม.1 - 6 3264 ตลอดปีการศึกษา
1. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ (ICT)
2. หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ (Lab Sci) ม. 1 – 6 229 ตลอดปีการศึกษา
3. ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางเคมี (Lab chemistry) ม. 1 – 6 229 ตลอดปกี ารศึกษา
4. หอ้ งดนตรี ม. 1 – 6 229 ตลอดปกี ารศึกษา
5. หอ้ งสมุด ม. 1 – 6 229 ตลอดปกี ารศกึ ษา
ม. 1 – 6 229 ตลอดปีการศึกษา

28

ชือ่ แหลง่ เรียนรู้ ระดับชนั้ นกั เรยี นที่ จำนวน จำนวนครง้ั ทใ่ี ช้/ปี
เรียนรู้ นักเรียน
โครงกำรพิเศษ Gifted Education Program
1. หอ้ งเพาะเลี้ยงเนื้อเยอ่ื พชื ม. 1 – 6 471 ตลอดปกี ารศึกษา
2. ห้องเพาะเล้ยี งเหด็ ถงั เชา่ สที อง ม. 1 – 6 471 ตลอดปีการศกึ ษา
3. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ม. 1 – 6 471 ตลอดปีการศึกษา
4. ห้องปฏิบตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ ม. 1 – 6 471 ตลอดปีการศกึ ษา
5. หอ้ งสมดุ โครงการห้องเรยี นพิเศษ GEP ม. 1 – 6 471 ตลอดปกี ารศกึ ษา
กิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น (สนับสนนุ กำรสอน)
1. ห้องสมุด ม.1 - 6 12,400 ตลอดปีการศกึ ษา
2. หอ้ งแนะแนว ม.1 - 6 3,264 ตลอดปีการศกึ ษา
3. หอ้ งพยาบาล ม.1 - 6 3,264 ตลอดปกี ารศึกษา
4. หอ้ งกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ม.1 - 6 3,264 ตลอดปกี ารศกึ ษา

1.9.5 ปรำชญ์ชำวบำ้ น/ภูมิปญั ญำทอ้ งถ่นิ ผูท้ รงคุณวฒุ ทิ ีส่ ถำนศึกษำเชิญมำใหค้ วำมรู้

ท่ี ผู้ให้ควำมรู้ หนว่ ยงำน ให้ควำมรูเ้ รอ่ื ง ระดับชนั้ สถิติกำรให้
ควำมรู้ (คร้ัง/ปี)
1 นายสวุ ทิ ย์ สุนทรกิจเสนยี ์ ประธานสภา กฎหมายน่าร้สู ู่ ม. 4/9, ม. 5/9
ทนายความจังหวัด ประชาชน และ ม. 6/9 1
2 นายสมชาย จิรสัตยส์ ุนทร
ธนบรุ ี กฎหมายนา่ รู้สู่ ม. 4/9, ม. 5/9 1
3 นายพรี ะพงษ์ เครอื รตั น์ ประธานสภา ประชาชน และ ม. 6/9
ทนายความจงั หวัด 1
4 พระครูพศิ ิษฎ์ สรคณุ กฎหมายน่ารู้สู่ ม. 4/9, ม. 5/9
5 พระมหาเสรชี น นรสิ สะโร ธนบรุ ี ประชาชน และ ม. 6/9 20
6 พระมหารณพง กติ ตวิ ฑั โฒ ประธานสภา 20
ทนายความจงั หวัด รายวิชา ม. 1 20
พระพุทธศาสนา
ธนบุรี ม. 2
พระอาจารยวดปทม รายวิชา
คงคาราชวรวิหาร พระพทุ ธศาสนา ม. 3
พระอาจารย์วดั ปทุม
คงคาราชวรวิหาร รายวชิ า
พระอาจารย์วดั ปทมุ พระพุทธศาสนา
คงคาราชวรวิหาร

29

1.10 ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ

1.10.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของสถำนศกึ ษำ

- ระดบั สถำนศกึ ษำ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผ้เู รยี นทง้ั หมดโดยเฉลีย่ 3.29

- ระดับชั้นเรยี น

ระดับ จำนวน จำนวนนกั เรยี นทม่ี ีผลกำรเรยี นรู้ จำนวนนักเรียนที่
ชน้ั เรยี น นักเรยี น ได้ระดับ 3 ้ึขนไป
(คน) ร้อยละ ันกเรียนท่ีไ ้ด
ระดับ 3 ้ึขนไป
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี 1 566 8 25 25 41 45 69 84 270 422 74.55
440 69.55
ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 2 632 25 36 29 46 56 72 75 293 417 71.21
390 77.90
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 3 586 7 43 30 41 48 62 68 288 435 83.50
399 87.09
ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 4 501 7 17 17 31 38 56 66 269
2,497 76.50
ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 5 521 7 13 12 23 31 56 72 307

ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 6 458 2 13 7 15 22 44 65 289

รวมจำนวนนกั เรยี นม.1- 6 3,264 56 148 121 199 242 360 430 1708

- ระดบั กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียน 8 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ระดับชน้ั ม.1 – ม.6

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ จำนวน จำนวนนกั เรียนทม่ี ผี ลกำรเรยี นรู้ จำนวนนักเรียน ี่ทได้
(คน) ระดับ 3ข้ึนไป

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ร้อยละ ันกเ ีรยน ี่ทไ ้ด
ระ ัดบ 3ขึ้นไป

ภำษำไทย 3,264 57 184 139 284 317 453 538 1,293 2,284 69.98
คณติ ศำสตร์ 3,264 213 372 258 365 378 433 353 893 1,678 51.41
วทิ ยำศำสตร์ 3,264 69 159 138 228 269 384 457 1,560 2,401 73.57
สังคมศกึ ษำ ศำสนำ 3,264 39 122 92 151 198 319 428 1,915 2,662 81.56
และวัฒนธรรม
สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ 3,264 8 68 84 108 139 240 332 2,286 2,857 87.53
3,264 4 41 55 147 202 214 323 2,278 2,815 86.24
ศลิ ปะ 3,264 29 240 99 132 132 274 371 1,986 2,632 80.63
กำรงำนอำชีพและ
เทคโนโลยี 3,264 21 74 95 183 264 455 533 1,639 2,626 80.46
ภำษำตำ่ งประเทศ

หมำยเหตุ ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนท้งั สองตารางจำนวนนักเรยี นท่ขี าดไปคือจำนวนนกั เรยี นท่ีติด ร และ มส

30

1.10.2 ผลกำรประเมินคุณภำพกำรศกึ ษำระดับชำติขน้ั พน้ื ฐำน (O-NET)
1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 – 2563

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติขน้ั พน้ื ฐำน (O-NET) ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 3 และ 6

ระดบั ช้นั ม.3 ม.6

ปีการศกึ ษา 2561 2562 2563 2561 2562 2563

ภาษาไทย 59.57 60.18 61.35 50.97 45.27 46.87

คณติ ศาสตร์ 34.97 32.26 32.55 32.68 27.46 28.40

วิทยาศาสตร์ 37.51 31.46 34.20 30.91 28.67 32.72

สังคมศึกษาฯ ไม่มกี ำรจัดสอบรำยวิชำน้ี 36.50 36.66 36.83

ภาษาองั กฤษ 33.76 39.23 42.25 36.01 33.60 33.79

ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติข้ันพื้นฐำน (O-Net) ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ 3

80 59.57
60.18
60 61.35
34.97
40 32.26
32.55
37.51
31.46
34.2
33.76
39.23
42.25

20

0 คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

ภาษาไทย

ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563

แผนภมู ิ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-Net) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
ยอ้ นหลงั 3 ปกี ารศกึ ษา 2561 – 2563

31

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขน้ั พน้ื ฐำน (O-Net) ชั้นมธั ยมศึกษำปที ่ี 6

60 50.97
45.27
50 46.87
32.68
40 27.46
28.40
30 30.91
28.67
32.72
36.5
36.66
36.83
36.01
33.6
33.79

20

10

0 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ

ภาษาไทย

ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563

แผนภูมิ แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-Net) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ยอ้ นหลัง 3 ปกี ารศึกษา 2561 – 2563

2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ปีการศึกษา 2563

ระดับ / รำยวิชำ ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ

คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียน 61.35 32.55 34.20 42.25

คะแนนเฉลยี่ ระดับ สพม. กท 1 59.51 31.61 33.02 43.87

คะแนนเฉลย่ี ระดับจังหวดั 59.51 31.61 33.02 43.87

คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ. ทง้ั หมด 55.18 25.82 30.17 34.14

คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ 54.29 25.46 29.89 34.38

หมำยเหตุ เนื่องจากในปีการศกึ ษา 2563 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 เข้ารับการทดสอบ O – Net
โดยความสมคั รใจสอบ จึงไม่ใชส่ ถิติจำนวนนกั เรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้งระดบั ชนั้

32

3) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6

ปีการศึกษา 2563

ระดับ / รำยวิชำ ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ สงั คมศกึ ษำ ภำษำอังกฤษ

คะแนนเฉล่ียของโรงเรยี น 46.87 28.40 32.72 36.83 33.79

คะแนนเฉล่ยี ระดับ สพม. กท 1 51.46 34.35 37.94 39.36 40.97

คะแนนเฉล่ีย ระดบั จงั หวัด 51.46 34.35 37.94 39.36 40.97

คะแนนเฉลย่ี สงั กดั สพฐ. ทง้ั หมด 45.22 26.33 33.04 36.32 29.73

คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ 44.36 26.04 32.68 35.93 29.94

1.10.3 ผลกำรประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ปีกำรศึกษำ 2563

ระดบั ช้นั จำนวนนกั เรยี นท้ังหมด จำนวน (รอ้ ยละของนกั เรียนตำมระดับคณุ ภำพ)

ดีเย่ียม ดี ผำ่ น ไม่ผ่ำน

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 566 81.65 8.13 0.71 0.00

มัธยมศึกษาปที ่ี 2 632 90.19 4.91 0.32 4.59

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 586 87.54 9.90 2.56 0.00

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 501 88.22 8.58 2.99 0.20

มัธยมศึกษาปที ี่ 5 521 87.91 7.87 4.03 0.19

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 458 87.77 10.70 1.31 0.22

รวม 3,264 2,901 268 63 32

เฉลยี่ รอ้ ยละ 100 88.88 8.21 1.93 0.98

ผลกำรประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ปกี ำรศึกษำ 2563

120 0.00 80..7113 4.59 0.00 92.9.506 0.20 0.19 4.03 0.22 1.31
100 0.32 2.99 10.7
4.91 8.58 7.87 ไม่ผ่ำน
ผ่ำน
80

60 ดี
40 81.65 90.19 87.54 88.22 87.91 87.77
ดีเย่ยี ม
20

0

แผนภมู ิ แสดงผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ปกี ารศกึ ษา 2563

33
1.10.4 ผลกำรประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 5 ด้ำน ปีกำรศึกษำ 2563

จำนวนนักเรียน จำนวน (รอ้ ยละของนกั เรียนตำมระดับ
ดำ้ น ทั้งหมด
คุณภำพ)

ดเี ย่ียม ดี ผ่ำน ไมผ่ ำ่ น

1) ความสามารถในการสอื่ สาร 3,264 83.00 16.82 0.18 0
2) ความสามารถในการคิด 3,264
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3,264 82.26 16.70 1.04 0
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 3,264
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3,264 80.39 18.78 0.83 0
3,264
รวม 100 82.57 13.42 4.01 0
เฉลี่ยร้อยละ
88.45 5.85 5.70 0

2,720 467 77 0

83.33 14.31 2.36 0.00

ผลกำรประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 5 ดำ้ น ปีกำรศกึ ษำ 2563

100 16.82 0.1168.7 1.1084.78 0.83 4.051.85 5.7
83 82.26 13.42 82.57 88.45
80 80.39
60
40
20

0

ดีเยีย่ ม ดี ผา่ น

แผนภูมิ แสดงผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 5 ดา้ น ปกี ารศึกษา 2563

34
1.10.5 ผลกำรประเมินกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะห์ และเขียน ปีกำรศึกษำ 2563

ระดับชน้ั จำนวนนกั เรียนทงั้ หมด จำนวน (ร้อยละของนักเรยี นตำมระดับคณุ ภำพ)

ดีเย่ยี ม ดี ผ่ำน ไมผ่ ำ่ น

มัธยมศึกษาปีที่ 1 566 89.08 0.00 0.00 0.53

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 632 99.37 0.00 0.00 0.63

มัธยมศึกษาปที ่ี 3 586 99.15 0.00 0.00 0.85

มัธยมศึกษาปที ่ี 4 501 97.01 2.40 0.00 0.60

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 521 98.85 0.00 0.00 1.15

มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 458 96.72 0.00 0.00 3.28

รวม 3,264 3,216 12 0 36

เฉลย่ี รอ้ ยละ 100 98.53 0.37 0.00 1.10

ผลกำรประเมินกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะห์ และเขียน ปีกำรศกึ ษำ 2563

105 0.63 0.85 0.20 1.15 3.28 ไม่ผำ่ น
100 2.40

95 0.53 96.72 ผ่ำน
90 ดี
85 99.37 99.15 97.01 98.85 ดเี ย่ียม
89.08

80

แผนภูมิ แสดงผลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ปกี ารศกึ ษา 2563

35
1.10.6 ผลกำรประเมินกจิ กรรมพฒั นำผูเ้ รียน ปีกำรศกึ ษำ 2563

ระดับช้นั จำนวนนักเรียนทั้งหมด จำนวน (รอ้ ยละของนกั เรยี น)

ผำ่ น ไม่ผ่ำน

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 566 99.47 0.53

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 632 99.06 0.94

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 586 100.00 0.00

มัธยมศึกษาปที ่ี 4 501 99.21 0.79

มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 521 99.80 0.20

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 458 99.35 0.65

รวม 3,264 3,247 17

เฉล่ยี ร้อยละ 100 99.48 0.52

ผลกำรประเมนิ กจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน ปีกำรศกึ ษำ 2563

ผ่ำน ไม่ผ่ำน

0.00
100 0.20
99.8 0.53 0.94 0.79 0.65
99.6

99.4 99.47 99.06 100 99.8
99.21
99.2 99.35
99

98.8

98.6

98.4

แผนภูมิ แสดงผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ปีการศึกษา 2563

36

1.11 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก

1.11.1 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558) ของสถานศึกษา
สถานศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม จาก สมศ.

เม่ือวันที่ 6 ถงึ 8 เดือน มกราคม พ.ศ. 2557

สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ดังตารางตอ่ ไปนี้

ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน นำ้ หนกั คะแนน ระดับ
(มัธยมศึกษา) (คะแนน) ทีไ่ ด้ คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1 ผลการจดั การศึกษา 10.00 9.66 ดีมาก
กล่มุ ตัวบ่งชพ้ี ื้นฐาน 10.00 9.79 ดีมาก
ตัวบ่งชท้ี ่ี 1 ผเู้ รยี นมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี 10.00 9.26 ดมี าก
ตวั บ่งชี้ที่ 2 ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทีพ่ ึงประสงค์ 10.00 9.06 ดมี าก
ตวั บ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมคี วามใฝ่รู้ และเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง 20.00 10.57 พอใช้
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผเู้ รียนคิดเป็น ทำเปน็ 5.00 5.00 ดมี าก
ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผ้เู รยี น 5.00 5.00 ดมี าก
กลุ่มตัวบง่ ชี้อัตลักษณ์
ตัวบง่ ช้ีท่ี 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/วสิ ัยทศั น์ 5.00 5.00 ดมี าก

พนั ธกิจ และวัตถุประสงคข์ องการจดั ต้งั สถานศึกษา 5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบง่ ชี้ท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจดุ เด่นทสี่ ่งผลสะทอ้ นเปน็ 5.00 5.00 ดมี าก

เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา
กลมุ่ ตัวบง่ ชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ

สถานศึกษา
มาตรฐานท่ี 2 การบริหารจดั การศกึ ษา
กลมุ่ ตัวบ่งช้พี ื้นฐาน
ตวั บ่งชี้ท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจดั การและการพฒั นาสถานศึกษา
กลุ่มตวั บ่งช้ีมาตรการสง่ เสรมิ
ตวั บง่ ชท้ี ่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพอ่ื ยกระดับมาตรฐาน

รกั ษามาตรฐานและพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ที่สอดคล้องกับ
แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา

37

ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน นำ้ หนกั คะแนน ระดับ
(มัธยมศกึ ษา) (คะแนน) ท่ไี ด้ คุณภาพ

มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ 10.00 9.00 ดีมาก
กลมุ่ ตวั บง่ ชีพ้ ้ืนฐาน
ตวั บง่ ช้ีท่ี 6 ประสิทธผิ ลของการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั 5.00 5.00 ดมี าก
มาตรฐานที่ 4 ว่าดว้ ยการประกันคณุ ภาพภายใน 100.00 87.34 ดี
กลุ่มตัวบง่ ช้ีพื้นฐาน
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 8 พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษา

และตน้ สังกดั
ผลรวมคะแนนท้งั หมด

1.11.2 ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก

1) จุดเด่น
1. ดา้ นผลการจัดการศกึ ษา
1) ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี เนื่องจากได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะ

ความรู้และความเข้าใจในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพกายที่ดี ปลอดจากปัญหาทางเพศและสิ่งเสพติด รวมทั้ง
การได้เข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ตามความถนัด ความสนใจอย่างเต็มตามศักยภาพของ แต่
ละบุคคล โดยการเข้าร่วมโครงการและกิจกรรมที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการสุขภาพดีมีสุข
โครงการอาชีวอนามัยปลอดภัยปลอดโรค โครงการโรคอ้วนมหันตภัย โครงการสิงห์เซย์โน โครงการ LOVE
SAY PLAY โครงการกีฬาระหว่างคณะสี กิจกรรมแอโรบิกตอนเช้าหน้าเสาธง โครงการกีฬา/นันทนาการสู่
มาตรฐานสากลและความเปน็ เลิศ โครงการดนตรี/ศิลปะเพ่ือสนุ ทรียะและความเปน็ เลิศ

2) ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ เนื่องจากได้รับการ
ปลูกฝังขัดเกลาจิตใจให้เป็นคนดีจากการจัดกิจกรรม /โครงการที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องของสถานศึกษาและ
ความรว่ มมือจากชุมชน ผู้ปกครองในการช่วยดูแลพฤติกรรมของนักเรียนเป็นประจำ เชน่ โครงการลูกสิงห์ดีมี
คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ โครงการบูรณาการคุณธรรม บ้าน วัด โรงเรียนและปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง โครงการค่ายพุทธบุตร กิจกรรมการเรียนธรรมศึกษา รวมทั้งการจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มี
ประสทิ ธิภาพของสถานศึกษา

38

3) ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัย
รักการอ่าน รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สามารถนำทักษะความรู้ และประสบการณ์ที่ได้จากการใ ช้
แหล่งเรียนรู้มาใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสมจากการจัดกิจกรรม/โครงการที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องของ
สถานศกึ ษา เช่น โครงการโลกกว้างสรา้ งนิสยั ใฝเ่ รียนรู้ โครงการสิงหร์ ักการอ่าน โครงการจนิ ดามณี ส่งผลให้
ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ รู้จักประมวลประสบการณ์เพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้และนำเสนอได้
อย่างเป็นรูปธรรม

4) ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็นเนื่องจากได้รับการพัฒนาทักษะการคิดในทุกขั้นตอนของ
กิจกรรมการเรียนการสอน รู้จักการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน ช่วยเหลือกัน และมีความสามัคคีในการทำงาน รวมทั้ง
ได้รับการส่งเสริมให้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการและพื้นฐาน ความรู้
ของผู้เรียน โดยการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการสิงห์รักการอ่าน
โครงการโลกกวา้ งสร้างนิสัยใฝ่เรียนรู้สู่สากล การเรียนรู้จากโครงงาน การสืบค้นความรู้ด้วยตนเองในทุกกลุม่
สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการประกวดแข่งขันทักษะวิชาการและทักษะวิชาชีพ กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมการ
เข้าค่ายวิชาการ กจิ กรรม ทัศนศึกษา กจิ กรรมเข้าค่ายพักแรม

5) สถานศึกษาได้กำหนดปรัชญาและวิสัยทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผู้เรียน คือ
“ใฝ่หาความรู้ เชิดชูสถาบัน ยึดมั่นคุณธรรม” ดำเนินโครงการและกิจกรรม ได้แก่ โครงการสิงห์รักการอ่าน
กิจกรรมบันทึกรักการอ่าน โครงการโลกกวา้ งสร้างนิสัยใฝเ่ รียนรู้สู่สากล เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเหน็ คุณค่าของ
แหล่งเรียนรู้ กอ่ ใหเ้ กิดนิสัยใฝ่เรยี นรู้ รกั การศึกษาค้นควา้ อยู่เสมอ โครงการคา่ ยพุทธบุตร เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี น
มีค่านิยมที่ดีงามตามแบบแผนวัฒนธรรมและประเพณีไทย กิจกรรมสวดมนต์ประจำสัปดาห์ นำผู้เรียน
เข้าอบรม ฝึกสมาธิที่วัดสิงห์ทุกวันอังคาร ผู้เรียนได้รับการอบรมบ่มเพาะให้มีค่านิยมในวัฒนธรรม ประเพณี
และมีจิตใจที่ ดงี าม ได้รบั การพัฒนาให้มลี ักษณะนิสยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั การศึกษาค้นควา้ มคี วามรัก ความสามัคคี
ในหมู่คณะ รักและเชิดชูสถาบัน ผลการดำเนินงานโครงการเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน และ
องค์กรภายนอกใหค้ วามศรัทธาเชอ่ื มั่นในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

6) สถานศึกษากำหนดจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
คอื “บรรยากาศดี กิจกรรมเดน่ เปน็ ศูนย์รวมชุมชน” ดำเนนิ กิจกรรม/โครงการเพื่อสง่ เสริม ไดแ้ ก่ โครงการ
กีฬาขุนเทยี นสัมพันธ์ โครงการโรงเรยี นเข้มแข็ง ชุมชนเขม้ แขง็ โครงการต้นกล้าปลกู ปญั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาและนันทนาการ โครงการ “รักวนารวมใจ สานสายใยรักสิ่งแวดล้อม”
รวมทัง้ การให้บริการดา้ นอาคารสถานทแี่ ก่ชมุ ชน ผลการดำเนนิ งานมคี วามเข้มแขง็ ต่อเนื่องเปน็ วัฒนธรรมของ
องค์กร ทำให้สถานศึกษามีจุดเน้นและจุดเด่นตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับจากองค์กรภายนอกเข้ามาศึกษาดู
งานและร่วมพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

39

7) สถานศึกษามีผลการดำเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา
ไดแ้ ก่ โครงการรกั วนารวมใจ สานสายใยรกั สง่ิ แวดล้อม เพ่ือแก้ปญั หาด้านพฤตกิ รรมผู้เรียนทีไ่ ม่สนใจการเรียน
ขาดจติ สาธารณะและขาดความรับผดิ ชอบ โครงการลกู สิงห์ปลอดสารเสพตดิ เพอ่ื แก้ปญั หาผู้เรยี นกลุม่ เสี่ยงต่อ
การติดบุหรี่ เหล้าและยาเสพติด โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านศิลปะ (ทัศนศิลป์-ดนตรีไทยและสากล
นาฏศิลป์ ) เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนที่ขาดโอกาสในการพัฒนาทักษะ ความสามารถและสุนทรียภาพทางศิลปะ
ดนตรี และนาฏศิลป์ โดยมีครู ผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ส่งผลให้ผู้เรียนมี
พัฒนาการด้านพฤติกรรมที่ดีขึ้น เป็นที่พึงพอใจและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับชุมชน สถานศึกษาใกล้เคียงเข้า
มาศกึ ษาดูงานและรว่ มกันพัฒนา

2. ด้านการบริหารจัดการศกึ ษา
1) สถานศึกษามีการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

เนื่องจากผู้บริหารมีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ เป็นผู้นำทางวิชาการ และจัดโครงสร้างการ
บริหารที่ดี ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นผู้มีความรู้
ความสามารถและมีความหลากหลายในอาชีพ พรอ้ มให้ความรว่ มมือในการดำเนนิ งานเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
เป็นอย่างดี

2) สถานศึกษามีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ทั้งด้านผู้เรียน ครู และการบริหารจัดการ เนื่องจากได้นำ
ข้อเสนอแนะของ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองไปวางแผนพัฒนาและบรรลุเป้าหมายในการ
พฒั นาตามแผนปฏิบัติการประจำปอี ย่างตอ่ เน่ือง

3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
สถานศึกษามกี ารพัฒนาประสิทธิผลในการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

อย่างเป็นระบบ เนื่องจากผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะครูมีส่วนร่วมในการ
กำหนดแผนงานพัฒนาบคุ ลากรทีส่ อดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษา มีการจดั กจิ กรรม/โครงการในการพัฒนา
ครู การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน แบบทดสอบ และข้อทดสอบ รวมท้ัง
การนำผลการประเมินที่ได้มาพฒั นาคุณภาพครูอยา่ งต่อเน่ืองและเข้มแขง็

40

4. ด้านการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล เนื่องจากมีการกำหนด
และประกาศใช้มาตรฐานการศึกษา วางแผนดำเนินการ และกำหนดเป้าหมายตามมาตรฐาน มีระบบการ
บริหารตามวงจรคุณภาพ (PDCA) อย่างตอ่ เนอื่ ง

2) จดุ ที่ควรพัฒนา

1. ด้านผลการจดั การศึกษา
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศอยู่ในระดับคุณภาพต้องปรับปรุง เนื่องจากผู้เรียนยังไม่สามารถนำหลักการความรู้มา
เชื่อมโยงกับสถานการณ์หรือสิ่งทีอ่ ยูร่ อบตัวเองได้ ผู้เรียนขาดทักษะ ความสามารถในการจับประเด็นใจความ
สำคัญของเนื้อหา และการวิเคราะห์รายละเอียด รวมทั้งครูยังไม่ได้นำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผลการ
ทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาแนวทางพัฒนา
ตามลำดบั ความสำคัญ ทำให้มีผลต่อการทดสอบระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET)

2. ดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
ไมม่ ี

3. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั
ไม่มี

4. ดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน
ไม่มี

41

3) ข้อเสนอแนะ
1. ด้านผลการจัดการศึกษา
1) ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ดอี ยู่แล้ว แต่ควรได้รับการดูแลดา้ นสุขภาพ

ร่างกายอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับผู้เรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย
ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองช่วยดูแลการปรับพฤติกรรมทางโภชนาการเมื่ออยู่ที่บ้านซึ่ งควรดำเนินงานอย่าง
เปน็ ระบบและต่อเนอื่ ง

2) ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงคด์ ีอยู่แล้ว แต่ควรได้รับการ
สง่ เสรมิ และพัฒนาด้านจิตอาสาทง้ั ในและนอกสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่องเพ่ือปลูกฝังจิตสำนึกในการให้และเห็น
คณุ ค่าของการเสยี สละ โดยควรดำเนินงานอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื ง

3) ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่องดีอยู่แล้ว แต่สถานศึกษาควรพัฒนา
ห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีความสมบูรณ์ทันสมัย มีระบบการให้บริการที่รวดเร็ว สร้างบรรยากาศภายใน
ให้ปลอดโปร่ง มีแสงสวา่ งเพยี งพอ และควรจัดให้อยู่ในสถานท่ี ท่ีเปน็ ศนู ยก์ ลางสะดวกต่อผู้เรียนในการไปใช้
บรกิ าร ซ่ึงควรดำเนนิ งานอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ ง

4) ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็นดีอยู่แล้ว แต่ควรได้รับการส่งเสริมด้านทักษะการคิดให้
เป็นระบบมากขึ้น ฝึกการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การใช้แผนผังความคิด และการสรุปเน้ือหาจากเรื่องที่อ่าน
การใช้สถานการณ์จำลองรูปแบบต่าง ๆ เพื่อฝึกให้ผู้เรียนตั้งสมมติฐานด้วยตัวเอง รวมทั้งการพัฒนาแบบ
ประเมนิ ผู้เรียนด้านความสามารถในการคดิ และความสามารถในการปรบั ตัวเข้ากับสังคม โดยใหผ้ ูเ้ รียนได้เขียน
เพิ่มเติม เพื่อสะท้อนความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ ตามรายการที่ประเมินด้วย ซึ่งควรดำเนินงานอย่างเป็น
ระบบและตอ่ เนือ่ ง

5) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นในกลุ่มสาระการ
เรยี นร้ภู าษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ศลิ ปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ โดยการ
นำข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนจากผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มาวิเคราะห์
เปรียบเทียบ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาตามลำดับความสำคัญ การวิเคราะห์ข้อสอบ O-NET ตาม
มาตรฐาน สาระ และตัวชี้วัดสู่การสอดแทรกในวิชาตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทัง้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ โดย
ค่อย ๆ เติมเต็มทุกระดับชั้น เพื่อเป็นการขจัดความถี่หรือความแน่นในเนื้อหาสาระที่ไม่ต้องมาติวเข้มในช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในการจัดทำข้อสอบส่วนกลางที่สอดคล้องกับมาตรฐาน สาระ
และตัวชี้วัด ควรเป็นข้อสอบแบบคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อการนำไปใช้ โดยการสร้างแบบทดสอบที่ใช้
รูปแบบ วิธีตอบหลากหลายวิธี ทั้งนี้จะต้องนำไปใช้และวิเคราะห์ข้อสอบให้ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ผู้เรียน รวมทั้งการจัดกิจกรรมการสอนเสริมด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นความสนใจใฝ่เรียนรู้
ของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม โดยครูผู้เชี่ยวชาญหรือวิทยากรภายนอกที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะ เพื่อเป็นการ
เตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนในการสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและการเข้าทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) จากสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

42

6) สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ
และวัตถปุ ระสงค์ของการจัดตัง้ สถานศกึ ษาดีอยู่แลว้ ควรพฒั นาใหต้ อ่ เน่ือง โดยการจดั ระบบให้ทุกฝ่ายท่ีมีส่วน
เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมกิจกรรม ทั้งด้านการแสดงความคิดเห็น การจัดกิจกรรม และการติดตามประเมินผล
รวมถึงการวางแผนพัฒนาปรับปรุงการดำเนินโครงการในแผนปฏิบัติการประจำปีที่เกี่ยวข้ องให้ประสบ
ผลสำเร็จมากขน้ึ ทุกปี มีการประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่ผลการดำเนนิ งานสู่ชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพือ่ กระตุ้นให้เกิด
การยอมรับจากชมุ ชนมากข้ึน

7) สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น
เอกลักษณ์ของสถานศึกษาดีอยู่แล้ว ควรพฒั นาให้ต่อเน่ือง โดยการเรยี นเชญิ ชมุ ชนและหน่วยงานภายนอกให้
มีส่วนร่วมในการกำหนดจุดเน้น จุดเด่นของสถานศึกษา และร่วมกำหนดแผนปฏิบัติการประจำปีที่มีการ
ดำเนินโครงการสอดคล้องกับจุดเน้น จุดเด่นดังกล่าว ซึ่งจุดเน้น จุดเด่นของสถานศึกษาควรพิจารณาภายใต้
บริบท ศักยภาพและความพร้อมในการดำเนินการของทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งนี้จุดเน้น จุดเด่นและ
แผนปฏิบัติการข้างตน้ ควรผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งผลกระทบท่ีดีต่อ
ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เป็นต้น รวมทั้งเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการ
ดำเนินโครงการเหล่านี้ไปยังชุมชน สาธารณชน และองค์กรภายนอกในลักษณะการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการ
เขา้ รว่ มแข่งขัน สรา้ งการยอมรับจากองคก์ รภายนอกในระดบั ท้องถ่ิน จังหวดั และประเทศมากขนึ้

8) สถานศึกษามีผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ
สถานศึกษา โดยดำเนินโครงการเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนดีอยู่แล้ว จึงควรขอความ
ร่วมมือจากหน่วยงานต้นสังกัด ชุมชน ผู้ปกครอง องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกันพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องสม่ำเสมอต่อไป หรือเพิ่มเติมโครงการพิเศษในการแก้ปัญหาด้านอื่นของสถานศึกษาหรือของชุมชน
อันก่อให้เกิดความร่วมมอื ในการทำกิจกรรมของบุคลากร นกั เรียน และชมุ ชน

2. ด้านการบรหิ ารจัดการศึกษา
1) สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาดี

อยูแ่ ล้ว ควรพฒั นาให้ต่อเน่ือง โดยการจัดระบบการพฒั นาหลักสูตรให้เป็นหมวดหมู่และเชื่อมโยงกับความเป็น
เอกลักษณ์และอัตลักษณข์ องสถานศกึ ษาอยา่ งเป็นรปู ธรรม

2) สถานศึกษามีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาดีอยู่แล้ว ควรพัฒนาให้เกิดความต่อเนื่อง โดยสร้างและพัฒนา
ความสัมพันธ์กับผู้ปกครอง ศิษย์เก่า ชุมชน และองค์กรต่าง ๆ ของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
การศึกษา

43

3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
สถานศึกษามีประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญดีอยู่

แล้ว แต่ครูควรศกึ ษาเทคนิครูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นกลุ่มใหญ่ ทั้งนี้จำนวน
ผู้เรียนที่มากย่อมมีผลตอ่ การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
ซ่งึ บางคร้ังอาจดแู ลช่วยเหลือผู้เรียนใหเ้ กดิ การเรียนรไู้ ดไ้ ม่ท่ัวถงึ รวมท้งั การนำข้อมลู จากการสรปุ ผลการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนทีไ่ ด้วิเคราะห์ประเมินผลมาใช้ในการพัฒนาผู้เรยี น เพื่อยกระดับคุณภาพการเรยี นการสอนให้มี
ประสทิ ธภิ าพอยู่เสมอโดยควรดำเนินงานอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่อื ง

4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น

สังกัดดีอยู่แล้ว ควรพัฒนาให้ต่อเนื่อง โดยการจัดระบบการบริหารเชิงคุณภาพที่ชัดเจน ในด้านการติดตาม
ประเมินผล และการนำผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินใจ พัฒนาปรับปรุง กำหนดวิธีการประเมินผลท่ี
หลากหลาย และมีเครื่องมือในการประเมินผลที่ชัดเจน จัดระบบข้อมูลสารสนเทศของผลการดำเนินงานท่ี
เกี่ยวข้องกับภารกิจงาน 4 ด้าน ให้สะดวกต่อการนำไปใช้อย่างแท้จริง ทั้งนี้ควรให้ทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
รว่ มแลกเปลย่ี นความคิดเห็นในผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาเพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาอย่างต่อเนื่อง

44


Click to View FlipBook Version