The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jarun funrew, 2020-05-29 22:51:03

วิทยาการคำนวณ ม.6

11505-Teacher_Manual_CS_M6

คู่มือครู รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖

คู่มือครู

รายวชิ าพืน้ ฐาน
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ระดบั ชั้น

มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ัด
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

จัดท�ำ โดย
สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

ค�ำ นำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร
วธิ กี ารเรยี นรู้ การประเมนิ ผล การจดั ท�ำ หนงั สอื เรยี น คมู่ อื ครู แบบฝกึ ทกั ษะ กจิ กรรม และสอ่ื การเรยี นรเู้ พอ่ื
ใช้ประกอบการเรยี นรใู้ นกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ของการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี ๖ น้ี จัดทำ�ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมเี นอ้ื หา
เก่ียวกบั หลกั สูตรเทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ตารางวเิ คราะหก์ ารจดั ท�ำ หน่วยการเรยี นรู้ รวมทง้ั ตวั อย่าง
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี
(วทิ ยาการคำ�นวณ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ทีต่ ้องใชค้ วบคูก่ นั
สสวท. หวังเป็นอยา่ งยงิ่ วา่ คมู่ ือครูเลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การจดั การเรยี นรแู้ ละเปน็ สว่ นส�ำ คญั
ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ บุคลากรทางการศึกษาและ
หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทม่ี ีส่วนเก่ียวข้องในการจดั ท�ำ ไว้ ณ โอกาสนี้

(ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลมิ ปจิ ำ�นงค)์
ผอู้ �ำ นวยการสถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระทรวงศึกษาธิการ

ค�ำ ช้แี จง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนา
หลกั สตู รวชิ าคอมพวิ เตอร์ โดยมกี ารประกาศใชห้ ลกั สตู รครงั้ แรกในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๒๘ และมกี ารปรบั ปรงุ
หลกั สตู รมาอย่างตอ่ เนอ่ื ง จนกระทงั่ มกี ารประกาศใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ ได้เปลี่ยนช่ือวิชาเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร โดยจัดให้อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในปีพุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้มีการประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และมีการเปล่ียนชื่อวิชาเป็นเทคโนโลยี
(วิทยาการค�ำ นวณ) อยู่ในสาระเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยมีเป้าหมาย
หลักเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และมีทักษะ การคิดเชิงคำ�นวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการ
แกป้ ัญหาทพ่ี บในชวี ติ จรงิ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

คมู่ อื ครเู ลม่ นใ้ี ชป้ ระกอบการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี
(วิทยาการค�ำ นวณ) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ โดยสถานศึกษาสามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการจดั การเรียนรไู้ ด้
ตามความเหมาะสม เน้ือหาในเล่มน้ีประกอบด้วยจุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ แนวคิด
ตัวอยา่ งส่อื อปุ กรณ์ ข้นั ตอนด�ำ เนินกจิ กรรม การวดั และประเมนิ ผล สื่อและแหล่งเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ
ซ่ึงควรนำ�ไปจัดการเรียนรู้ร่วมกับหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี
(วทิ ยาการค�ำ นวณ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ทพ่ี ฒั นาโดย สสวท. จะท�ำ ใหก้ ารจดั การเรยี นรไู้ ดส้ มบรู ณส์ อดคลอ้ ง
ตามทหี่ ลกั สูตรก�ำ หนด

สสวท. ขอขอบคณุ คณาจารย์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ นกั วชิ าการ และครผู สู้ อน จากสถาบนั ตา่ ง ๆ ทใ่ี หค้ วาม
รว่ มมอื ในการพฒั นาคมู่ อื ครู และหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื ครเู ลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ เยาวชนและผเู้ กยี่ วขอ้ ง
กับการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ในการจัดการเรียนรู้ได้สมบูรณ์ตามเป้าหมาย
ของหลักสตู รตอ่ ไป

สาขาเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำ�แนะนำ�การใชค้ มู่ ือครู
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

คู่มือครูเล่มน้ีมี 9 กิจกรรม แต่ละกิจกรรมประกอบด้วย ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จุดปหระนส้างค์
สาระส�ำ คัญ แนวทางการจดั การเรียนรู้ สื่อและอุปกรณ์ การวดั และประเมนิ ผล และข้อเสนอแนะ ในการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ ควรใช้คู่กับหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 สาระเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 ซง่ึ
ได้กำ�หนดตัวช้ีวัด คือ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย
มจี รยิ ธรรม และวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยสี ารสนเทศทม่ี ผี ลตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ อาชพี สงั คม
และวัฒนธรรม
กิจกรรมในคู่มือครูน้ี มีความสอดคล้องกับตัวช้ีวัด โดยกำ�หนดเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

จำ�นวน 40 ชัว่ โมง ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

กจิ กรรมท่ี เร่อื ง สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หา เวลาในการจดั
ในหนังสอื เรียน กิจกรรม (ช่วั โมง)
1 บลอ็ กเกอรม์ อื ใหม่ บทท่ี 1
4

2 แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ บทท่ี 1 12

3 ปัญญาประดษิ ฐ์ บทที่ 2 6

4 บรกิ ารคลาวด์ บทที่ 2 2

5 โรงเรยี นอัจฉรยิ ะ บทท่ี 2 4

6 AR-VR บทที่ 2 4

7 พลเมอื งดิจทิ ลั บทท่ี 3 2

8 จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ บทที่ 3 2

9 อนาคตของฉัน บทที่ 4 4

รวม 40

ครูผู้สอนสามารถดาวน์โหลดสื่อการสอน แนวการตอบใบกิจกรรม และอื่น ๆ ได้ที่
http://oho.ipst.ac.th/csm6

สารบญั เน้อื หา

กิจกรรมที่ บล็อกเกอรม์ อื ใหม่ 2
5
1 ใบกิจกรรมที่ 1.1 กอ่ นจะเป็นบล็อกเกอร์ 7
2 9
3 ใบกจิ กรรมท่ี 1.2 บลอ็ กเกอร์มือใหม่ 13
4 20
แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ 26
5 28
ใบกจิ กรรมท่ี 2.1 แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ 29
31
ปัญญาประดิษฐ์ 34
36
ใบกิจกรรมที่ 3.1 ตรรกะพารวย 39
41
ใบกิจกรรมท่ี 3.2 AI ท�ำ งานอยา่ งไร 43
47
ใบกิจกรรมท่ี 3.2 สอน AI
49
บริการคลาวด์

ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 รู้จกั บริการคลาวด์

โรงเรยี นอจั ฉรยิ ะ

ใบกิจกรรมที่ 5.1 โรงเรียนอจั ฉรยิ ะ

ใบกิจกรรมท่ี 5.2 Show Temp และ Light

ใบกจิ กรรมที่ 5.3 ระบบแจ้งเตือนและควบคมุ

ใบกจิ กรรมที่ 5.4(ก) ระบบควบคุมหอ้ งเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตด้วย
beebotte

ใบกจิ กรรมท่ี 5.4(ข) ระบบควบคมุ ห้องเรยี นผา่ นอินเทอร์เนต็ ดว้ ย
hivemq

สารบญั เนอ้ื หา

กิจกรรมที่ AR-VR 51
54
6 ใบกิจกรรมที่ 6.1 เทา่ ไหรถ่ ึงจะพอ 56
7 58
8 ใบกจิ กรรมท่ี 6.2 D.I.Y. Google Cardboard VR 62
67
9 พลเมืองดิจิทัล 72
76
ใบกจิ กรรมท่ี 7.1 เส้นทางการเป็นพลเมอื งดิจิทลั 80
จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ 81
ใบกจิ กรรมท่ี 8.1 จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ 85
อนาคตของฉนั 93
ใบกิจกรรมที่ 9.1 อาชพี ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ใบกิจกรรมท่ี 9.2 อาชีพของฉัน 94
ใบกิจกรรมท่ี 9.3 AI VERSUS HUMAN 96
ภาคผนวก 98

แบบประเมินแฟ้มสะสมผลงาน
แบบสงั เกตพฤติกรรมการท�ำ งานกลุม่
คณะผู้จดั ทำ�

2 กจิ กรรมที่ 1 | บลอ็ กเกอร์มอื ใหม่ คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)
กิจกรรมท่ี 1 บลอ็ กเกอร์มือใหม ่
คาบที่ 1 - 4 | เวลา 4 ช่วั โมง

1 ตวั ช้ีวดั 4 ทกั ษะและกระบวนการ

ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนำ�เสนอและ 4.1 ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์

แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และ 4.2 ทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ

วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมี 4.3 ทกั ษะการสอื่ สาร

ผลต่อการดำ�เนินชวี ติ อาชพี สงั คม และวัฒนธรรม 4.4 ทักษะการท�ำ งาน การเรยี นรู้

และการพง่ึ ตนเอง

2 สาระการเรียนรู้

2.1 องคป์ ระกอบและพน้ื ฐานในการสอ่ื สาร 5 ความรเู้ ดมิ ที่นักเรียนต้องมี

2.2 การแบ่งปนั ข้อมูลดว้ ยการเขยี นบลอ็ ก -

3 จดุ ประสงค์ ใหผ้ เู้ รียนสามารถ 6 สาระสำ�คญั
3.1 วางแผนและออกแบบเค้าโครงในการ การสื่อสาร ประกอบดว้ ย ผสู้ ่ง สาร ช่องทาง
เขียนบลอ็ ก
3.2 เขยี นบลอ็ กเพ่ือแบง่ ปนั ขอ้ มลู กบั ผู้อื่น และผูร้ ับ โดยผ้สู ง่ สามารถสร้างสาร และสง่ ผา่ นชอ่ ง
3.3 แสดงความคิดเห็นอย่างสุภาพ เคารพ ทางที่เหมาะสมไปยงั ผู้รับ
ผู้อื่น ปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลทั้งของ
ตนเองและผู้อนื่ บลอ็ ก (blog) เปน็ บทความท่อี ธบิ ายหรอื ให้
ข้อมูลเก่ียวกับเรื่องท่ีผู้ส่งสารหรือผู้เขียนสนใจ
เพอ่ื น�ำ ไปแบง่ ปนั ใหก้ บั ผรู้ บั สารบนเวบ็ ไซต์ ผรู้ บั สาร
อาจแสดงความคิดเห็นกลับมายงั ผเู้ ขียนได้ เว็บไซต์
ทเ่ี ป็นช่องทางในการติดต่อส่ือสารท่เี ป็นท่ีนยิ ม เชน่
Medium, Blognone และ Dek-D

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 1 | บล็อกเกอร์มอื ใหม่ 3
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

7 สอื่ และอปุ กรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกิจกรรมท่ี เรอ่ื ง เวลา (นาท)ี
1.1 ก่อนจะเป็นบลอ็ กเกอร์ 60
1.2 บล็อกเกอรม์ อื ใหม่ 180

7.2 ใบความรู้
-

7.3 อื่นๆ
หนังสือเรียน รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ของสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8 แนวทางการจัดการเรียนรู้
8.1 การจดั เตรียม
8.1.1 ใบกิจกรรมท่ี 1.1 กอ่ นจะเปน็ บล็อกเกอร์ ตามจ�ำ นวนกล่มุ
8.1.2 ใบกิจกรรมท่ี 1.2 บล็อกเกอร์มอื ใหม่ ตามจำ�นวนกล่มุ
8.1.3 แบบประเมนิ การเขียนบล็อก ตามจำ�นวนกล่มุ
8.2 ขั้นตอนการดำ�เนินการ
8.2.1 ผสู้ อนนำ�เข้าสบู่ ทเรยี นโดยให้ผ้เู รยี นดูวดิ โี อเกยี่ วกับอาชีพบลอ็ กเกอร์ เชน่
“เจาะใจบล็อกเกอร์ดัง เที่ยวยงั ไงให้ได้ตังค์ (แสน)”
“แนะนำ�อาชพี เสริม Beauty Blogger ของเด็กมหาลัย : HIPSTYLE
[by Mahidol]”
“บล็อกเกอรท์ ่องเทยี่ ว เท่ยี วสนุก ไดเ้ งนิ | 24-03-60 | ชัดขา่ วเที่ยง”
จากนน้ั ตัง้ คำ�ถาม ถามผ้เู รยี นใหอ้ ภิปรายร่วมกนั เชน่
ทำ�ไมบลอ็ กเกอร์คนน้ี ถึงมีชื่อเสยี ง และมีผตู้ ิดตามเป็นจ�ำ นวนมาก
ถา้ ต้องการให้มผี ้ตู ดิ ตามจำ�นวนมาก ต้องท�ำ อย่างไรบา้ ง
นักเรยี นสามารถเป็นบล็อกเกอร์ไดห้ รือไม่ และอยากเป็นบลอ็ กเกอรใ์ นด้านใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4 กจิ กรรมท่ี 1 | บล็อกเกอรม์ ือใหม่ คมู่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

8.2.2 ผเู้ รียนศึกษาหัวข้อท่ี 1.1 องคป์ ระกอบและรูปแบบพ้ืนฐานในการสื่อสาร
ในหนังสอื เรยี น

8.2.3 ผู้สอนแบ่งผูเ้ รียนออกเป็นกลุม่ กลุ่มละ 4 คน จากนนั้ ให้แต่ละกลมุ่ ศกึ ษาบลอ็ กท่ีสนใจ
และท�ำ ใบกจิ กรรมที่ 1.1 กอ่ นจะเป็นบล็อกเกอร์

8.2.4 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มก�ำ หนดหวั ขอ้ ของบลอ็ ก วางเคา้ โครง ชว่ ยกนั ออกแบบบล็อก โดยท�ำ
ใบกิจกรรมที่ 1.2 บล็อกเกอร์มือใหม่ จากนั้นเขียนบล็อกท่ีกลุ่มตนเองสนใจบน
แพลตฟอรม์ ท่ีกลุ่มเลือก

8.2.5 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเข้าไปแสดงความความคิดเห็นบล็อกของกลุ่มเพ่ือน เพ่ือแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น

8.2.6 ผสู้ อนและผูเ้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ การเขียนบลอ็ กเพอื่ แบ่งปันขอ้ มูลกับผอู้ ่ืน

9 การวัดและประเมินผล
9.1 ประเมินจากใบกิจกรรม
9.2 สังเกตพฤตกิ รรมการทำ�งาน
9.3 ประเมนิ จากแบบประเมนิ การเขียนบลอ็ ก

10 สื่อและแหล่งข้อมลู
10.1 วิดีโอเรอื่ ง “เจาะใจบล็อกเกอรด์ งั เที่ยวยงั ไงให้ไดต้ ังค์ (แสน)”
https://www.youtube.com/watch?v=6LLQ9XGxuXs
10.2 วดิ โี อเรื่อง “แนะนำ�อาชพี เสรมิ Beauty Blogger ของเด็กมหาลัย : HIPSTYLE
[by Mahidol]” https://youtu.be/3FEsW1wzK24
10.3 วิดโี อเรื่อง “บลอ็ กเกอร์ทอ่ งเทย่ี ว เทยี่ วสนุก ได้เงิน | 24-03-60 | ชัดขา่ วเท่ยี ง”
https://youtu.be/e7iI8Gzdyl4

11 ขอ้ เสนอแนะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 1 | บล็อกเกอร์มอื ใหม่ 5
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 1.1 กอ่ นจะเป็นบล็อกเกอร์

1 ชื่อ-สกุล เลขท่ี 2 ชอ่ื -สกุล เลขท่ี

3 ชอ่ื -สกุล เลขท่ี 4 ชื่อ-สกุล เลขที่

1 ให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มค้นหาบล็อกที่
ตนเองสนใจ จากน้ันให้ศึกษาบล็อกดังกล่าว
แลว้ เขียนรายละเอียดสรปุ ลงในตาราง

หวั เร่ืองของบล็อก กลุ่มเปา้ หมายทเ่ี ปน็ ผรู้ บั สาร สิง่ ท่นี ่าสนใจในบล็อกทีท่ ำ�ให้
ผูอ้ ่านคลอ้ ยตาม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 กิจกรรมท่ี 1 | บล็อกเกอรม์ ือใหม่ คู่มอื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

2 ให้นักเรียนประเมินบล็อกท่ีตนเองสนใจในประเด็นต่าง ๆ ต่อไปน้ี ถ้าเนื้อหาในบล็อกสอดคล้องกับ
ประเดน็ ท่ีประเมินใหท้ ำ�เครื่องหมาย ถา้ ไมส่ อดคล้องใหท้ ำ�เคร่ืองหมาย

บลอ็ กเรือ่ ง บล็อกเรื่อง บลอ็ กเร่อื ง บล็อกเรอ่ื ง

ประเด็น

1 หวั ข้อน่าสนใจ
สามารถดงึ ดดู ผู้อ่านได้

2 มคี ำ�โปรยชกั ชวนผู้
อ่านใหต้ ดิ ตาม

3 เปน็ การแชร์
ประสบการณ์
ของผู้เขียน

4 เปน็ การเขียนท่เี สนอ
ความคิดเหน็ ด้วย
ถอ้ ยค�ำ สุภาพ
ไม่คุกคามผอู้ นื่

5 มกี ารปกปอ้ งขอ้ มลู
สว่ นบคุ คล ทั้งของ
ตนเอง และผ้อู นื่

6 มีภาพหรอื วิดีโอ
ประกอบเนอื้ หา

7 เรยี บเรยี งเนือ้ หาให้
อา่ นง่าย ไมซ่ ับซ้อน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 1 | บล็อกเกอรม์ ือใหม่ 7
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 1.2 บลอ็ กเกอร์มอื ใหม่

1 ช่ือ-สกุล เลขที่ 2 ช่อื -สกุล เลขท่ี

3 ชอ่ื -สกลุ เลขที่ 4 ชอ่ื -สกลุ เลขท่ี

ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ก�ำ หนดหวั ขอ้ ของบลอ็ ก โดยกำ�หนดเคา้ โครงของบล็อกและเขยี นบลอ็ กท่ีสนใจ ดังนี้
1 หัวข้อ
2 เค้าโครง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8 กิจกรรมท่ี 1 | บล็อกเกอร์มอื ใหม่ คูม่ ือครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

3 เขียนบล็อกลงบนแพลตฟอร์ม
3.1 แพลตฟอร์มทใี่ ช้คอื


3.2 Link ท่สี ามารถเขา้ ถึงบล็อก


3.3 วิธีการหรอื เทคนิคทที่ ำ�ให้บลอ็ กมคี วามน่าสนใจ


4 อา่ นบลอ็ กของเพ่อื นกล่มุ อ่ืนแลว้ โพสต์แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งเหมาะสม

5 พจิ ารณาขอ้ คิดเห็นของเพอ่ื นท่ีมตี ่อบลอ็ กของตนเอง แล้วเลอื กความคิดเหน็ ที่ชอบพร้อมบอกเหตผุ ล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 2 | แฟม้ สะสมผลงานโดนใจ 9
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)
คาบท่ี 5 - 16 | เวลา 12 ชัว่ โมง
กิจกรรมที่ 2 แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ

1 ตวั ชวี้ ัด 4 ทกั ษะและกระบวนการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและ 4.1 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และ 4.2 ทกั ษะการแกป้ ัญหา
วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี 4.3 ทักษะการส่ือสาร
ผลต่อการดำ�เนินชวี ิต อาชพี สังคม และวฒั นธรรม
5 ความรเู้ ดมิ ทนี่ กั เรียนตอ้ งมี
2 สาระการเรยี นรู้ -
2.1 องคป์ ระกอบของขอ้ มลู ทจ่ี �ำ เปน็ ในการ
สรา้ งแฟ้มสะสมผลงาน 6 สาระสำ�คญั
2.2 การนำ�เสนอผลงานให้น่าสนใจโดยใช้ แฟ้มสะสมผลงานเป็นเอกสารในการรวบรวม
เทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์ หลักฐานท่ีแสดงถึงความสามารถและผลงานของ
2.3 การแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัยและมี บุคคลเพื่อใช้ในการนำ�เสนอประกอบการพิจารณา
จริยธรรม การประเมนิ การท�ำ งาน การสมคั รเขา้ เรยี น หรอื การ
สมัครเข้าทำ�งาน และหากต้องมีการแบ่งปันข้อมูล
3 จดุ ประสงค์ ให้ผู้เรยี นสามารถ ส่วนตัวบางเร่ืองสู่สาธารณะ ควรคำ�นึงถึงความ
3.1 รวบรวมขอ้ มลู ทจ่ี �ำ เปน็ ในการสรา้ งแฟม้ ปลอดภยั และขอ้ ควรระวงั ในเรอื่ งตา่ ง ๆ ทงั้ ตอ่ ตนเอง
สะสมผลงาน และผอู้ ื่น
3.2 สร้างและนำ�เสนอแฟ้มสะสมผลงาน
อย่างสร้างสรรค์ มีจริยธรรม และ
สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้
ประเมินผลงาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

10 กิจกรรมที่ 2 | แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

7 สื่อและอุปกรณ์
7.1 ใบกิจกรรม

ใบกจิ กรรมท่ี เรื่อง เวลา (นาที)
2.1 แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ 240

7.2 ใบความรู้
-
7.3 อนื่ ๆ

หนงั สอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ของสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

8 แนวทางการจัดการเรยี นรู้
8.1 การจัดเตรียม
8.1.1 ใบกจิ กรรมที่ 2.1 แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ ตามจำ�นวนผู้เรยี น
8.1.2 แบบประเมินแฟม้ สะสมผลงาน ตามจ�ำ นวนผเู้ รียน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 2 | แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ 11
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

8.2 ขัน้ ตอนการด�ำ เนินการ
ชว่ั โมงที่ 1-4
8.2.1 ผูส้ อนนำ�เขา้ สูบ่ ทเรียนโดยการตัง้ คำ�ถาม เช่น
“แฟ้มสะสมผลงานมคี วามส�ำ คัญอยา่ งไร”
“หากจะสร้างแฟ้มสะสมผลงานเพื่อใช้ในการเข้าศึกษาต่อควรมีเนื้อหาหรือข้อมูล
ท่จี ำ�เปน็ ใดบา้ ง”
8.2.2 ผู้สอนเปดิ วดิ โี อ เรื่อง “Portfolio | เคลด็ ลับง่าย ๆ จากรุน่ พพ่ี ชิ ติ TCAS”
และใหผ้ ้เู รยี น สรปุ สงิ่ ท่ีจำ�เปน็ ในการจดั ทำ�แฟม้ สะสมผลงาน
8.2.3 ผู้เรยี นศึกษาหัวขอ้ 1.2.2 การท�ำ แฟ้มสะสมผลงาน จากหนงั สอื เรยี น
แล้วรว่ มกันอภิปรายแนวทางการจัดทำ�แฟม้ สะสมผลงาน
8.2.4 ผู้เรียนเตรียมข้อมูลที่จำ�เป็น สำ�หรับการทำ�แฟ้มสะสมผลงาน เช่น ประวัติส่วนตัว
ประวัติการศกึ ษา ผลงานเดน่ ภาพถา่ ย กจิ กรรมต่าง ๆ
8.2.5 ผู้เรยี นทำ�ใบกิจกรรมท่ี 2.1 แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ
8.2.6 ผู้เรียนจับคู่หรือแบ่งกลุ่มกันตรวจสอบข้อมูลท่ีได้จัดเตรียมในใบกิจกรรมท่ี 2.1 และ
ใหค้ ำ�แนะนำ�เพือ่ นเพมิ่ เตมิ เพอ่ื ให้แฟม้ สะสมผลงานมคี วามนา่ สนใจมากข้นึ

ช่ัวโมงท่ี 5-12
8.2.7 ผสู้ อนแจง้ ใหผ้ เู้ รยี นเตรยี มขอ้ มลู จากใบกจิ กรรม 2.1 และขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ เชน่ ไฟลภ์ าพ

ไฟลเ์ กยี รติบัตร วฒุ บิ ัตร หรือขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่จำ�เปน็ ในรปู แบบไฟลภ์ าพ
8.2.8 ผู้สอนเกร่ินนำ�ถึงการทำ�แฟ้มสะสมผลงาน และให้ศึกษาเครื่องมือสร้างแฟ้มสะสม

ผลงานบนอนิ เทอร์เน็ต เช่น E-Portfolio Online By SWAY, E-Portfolio Online
By Admissionpremium, Portfolio By Publisher แลว้ พจิ ารณาขอ้ ดแี ละขอ้ ดอ้ ย
ของเครอ่ื งมือเหลา่ นี้ เพ่อื ใชป้ ระกอบการตดั สินใจ
8.2.9 ผู้เรยี นสร้างแฟ้มสะสมผลงาน ตามท่ีไดอ้ อกแบบไว้
8.2.10 ผเู้ รยี นแตล่ ะคนนำ�เสนอและแบง่ ปนั ผลงาน และควรระมดั ระวังเก่ียวกบั การเผยแพร่
ข้อมูล ส่วนบุคคล
8.2.11 ผู้เรียนจับคู่กันประเมินแฟ้มสะสมผลงานของเพ่ือนโดยใช้แบบประเมินแฟ้มสะสม
ผลงาน และใหข้ อ้ เสนอแนะเพม่ิ เติมในการปรับปรุง
8.2.12 ผเู้ รยี นและผู้สอนร่วมกันสรปุ เกี่ยวกับการจัดท�ำ แฟม้ สะสมผลงาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

12 กิจกรรมท่ี 2 | แฟม้ สะสมผลงานโดนใจ คู่มือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

9 การวัดและประเมินผล
9.1 ประเมนิ จากใบกจิ กรรม
9.2 ประเมินจากแบบประเมนิ แฟ้มสะสมผลงาน

10 ส่ือและแหลง่ ข้อมลู
10.1 วิดีโอ เร่อื ง “Portfolio | เคล็ดลบั งา่ ยๆจากรนุ่ พี่พิชิต TCAS”
https://youtu.be/-QGJg7LbGFo
10.2 วิดโี อ เรื่อง “Guide to Sway ePortfolio”
https://youtu.be/3C6iqGz95bI

11 ขอ้ เสนอแนะ

11.1 การท�ำ ใบกิจกรรมท่ี 2.1 ผู้สอนควรให้ค�ำ แนะน�ำ เพ่มิ เตมิ เกีย่ วกบั การเขยี นบรรยายกิจกรรม
และผลงาน ตอ้ งแสดงให้เหน็ ถงึ ส่ิงทไ่ี ดร้ บั จากผลงานและกิจกรรมนัน้ ๆ รวมทัง้ แสดงใหเ้ หน็
ถึงความมุ่งม่ันต้งั ใจ ที่สามารถเช่ือมโยงไปยังสาขาวิชาท่ีตอ้ งการเขา้ ศึกษา

11.2 ผู้สอนอาจหาตัวอย่างเก่ียวกับการเขียนข้อความบรรยายท่ีดีหรือน่าสนใจ ท่ีสามารถดึงดูด
ผูอ้ ่านแฟ้มสะสมผลงานได้

11.3 ผสู้ อนอาจนำ�ข้อความบรรยายท่ีอยใู่ นแฟม้ สะสมผลงานของผู้เรียนมาระดมความคิด
เพือ่ ปรับปรุงการเขียนข้อความให้นา่ สนใจ และถูกตอ้ งมากย่งิ ขนึ้

11.4 ผู้สอนอาจให้ผเู้ รยี นศกึ ษาการทำ�แฟม้ สะสมผลงานจากเวบ็ ไซต์ เช่น
https://www.dekshowport.com, https://www.tcasportfolio.com

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 2 | แฟม้ สะสมผลงานโดนใจ 13
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมที่ 2.1 แฟม้ สะสมผลงานโดนใจ

ช่อื -สกลุ ชน้ั เลขท่ี

ใหน้ ักเรยี นเตรยี มขอ้ มูลเพ่อื จดั ท�ำ แบบรา่ งแฟ้มสะสมผลงานของตนเอง ดงั น้ี

1 ปกแฟม้ สะสมผลงาน 2 ประวตั สิ ่วนตัว

3 ประวัตกิ ารศึกษา 4 ผลงานและกจิ กรรม

1 ขอ้ มูลในส่วนของปกแฟ้มสะสมผลงาน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ชื่อ-สกลุ

แผนการเรยี น โรงเรยี น

จงั หวดั สงั กดั


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

14 กจิ กรรมที่ 2 | แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

2 ขอ้ มูลในสว่ นของประวตั ิส่วนตวั
ชอ่ื -สกุล

ช่อื เลน่ วันเดอื นปเี กดิ อายุ

อีเมล ศาสนา
อาชีพ
ท่อี ยู่ อาชีพ
อาชีพ
เบอรโ์ ทรศัพท์

เชือ้ ชาติ สัญชาติ

ชอ่ื -สกุล (บดิ า)

เบอรโ์ ทรศัพทบ์ ดิ า

ช่ือ-สกุล (มารดา)

เบอร์โทรศพั ทม์ ารดา

ชอ่ื -สกลุ (ผู้ปกครอง)

เบอรโ์ ทรศัพท์ผ้ปู กครอง

ความสามารถพเิ ศษ

ข้อมูลอืน่ ๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 2 | แฟม้ สะสมผลงานโดนใจ 15
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

3 ข้อมูลในสว่ นของประวัตกิ ารศึกษา ถงึ
ระดับการศกึ ษาชั้นประถมศกึ ษา ผลการเรียน
ตงั้ แต่ปีการศึกษา
โรงเรยี น
จงั หวัด

ระดับการศึกษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ถึง
ตงั้ แตป่ ีการศกึ ษา
โรงเรยี น ผลการเรยี น
จงั หวัด

ระดบั การศึกษาชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย ถึง
ต้งั แต่ปีการศกึ ษา
โรงเรยี น ผลการเรียน
จงั หวัด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

16 กิจกรรมท่ี 2 | แฟม้ สะสมผลงานโดนใจ คู่มอื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

4 ข้อมูลในส่วนของผลงานและกิจกรรม
ค�ำ แนะน�ำ : การเขยี นบรรยายผลงานและกจิ กรรม ตอ้ งแสดงใหเ้ ห็นถงึ สิง่ ที่ได้รับจากผลงานและ
กจิ กรรมนนั้ ๆ แสดงใหเ้ หน็ ถึงความมงุ่ มน่ั ต้งั ใจ โดยสามารถเชอ่ื มโยงไปยงั สาขาวชิ าทเี่ ลอื กศึกษาต่อ
เพอื่ ประกอบการตัดสนิ ใจในการรับเข้าศกึ ษาต่อ

คำ�บรรยาย

(ภาพกจิ กรรม / ผลงาน)

ค�ำ บรรยาย

(ภาพกิจกรรม / ผลงาน)

คำ�บรรยาย

(ภาพกจิ กรรม / ผลงาน)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 2 | แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ 17
เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ส่วนเ ิ่พมเติม

ผลงานหลัก

่สวนนำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

18 กิจกรรมท่ี 2 | แฟ้มสะสมผลงานโดนใจ คมู่ อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

แบบประเมนิ แฟ้มสะสมผลงาน

ชอ่ื เจ้าของแฟ้มสะสมผลงาน
ค�ำ ชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นประเมนิ แฟม้ สะสมผลงานของเพอื่ น และใหข้ อ้ เสนอแนะ ตามประเดน็ ทกี่ าํ หนด

ประเด็นการประเมิน 321 ขอ้ สงั เกต/ขอ้ เสนอแนะ

1 ความครบถ้วนขององค์ประกอบ
ในแฟ้มสะสมผลงาน

2 การจดั เรียงเนอื้ หาสอดคลอ้ งกับ
ความตอ้ งการของสาขาที่สมคั ร
เข้าศึกษา

3 เนื้อหาอ่านเข้าใจง่าย และแสดง
ถงึ ความสามารถของเจ้าของ
แฟ้มสะสมผลงานได้ชัดเจน

4 แสดงความเปน็ ตวั ตนและ
ทศั นคติของเจ้าของแฟ้มสะสม
ผลงาน

4 การน�ำ เสนอผลงานมีความ
ตระหนักถึงความปลอดภยั ของ
ข้อมูลส่วนบคุ คล

รวมคะแนน

(ลงชื่อ) ……………………………………………………………. ผ้ปู ระเมิน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 2 | แฟม้ สะสมผลงานโดนใจ 19
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

เกณฑ์ในการประเมินแฟ้มสะสมผลงาน

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คะแนน

321

1 ความครบถ้วนของ เนอ้ื หาและองคป์ ระกอบ เนอ้ื หาและองคป์ ระกอบ เนอ้ื หาและองคป์ ระกอบ
องคป์ ระกอบในแฟม้
ครบถว้ นและตรง ครบถ้วนและตรง ครบถ้วนและตรง
สะสมผลงาน ประเดน็
ประเดน็ เป็นสว่ นใหญ่ ประเดน็ นอ้ ย

2 การจดั เรียงเน้ือหา มกี ารจดั ล�ำ ดบั เน้อื หา มกี ารจัดล�ำ ดบั เนอื้ หา มีการจดั ลำ�ดับเนื้อหา
สอดคล้องกับความ ตรงกบั คุณสมบัตทิ ี่ ตรงกบั คุณสมบตั ิที่ ตรงกับคุณสมบตั ทิ ี่
สาขาต้องการครบ สาขาต้องการเป็น สาขาต้องการน้อย
ต้องการของสาขาท่ี ทุกด้าน สว่ นใหญ่

สมคั รเขา้ ศึกษา

3 เน้ือหาอ่านเข้าใจง่าย เนอ้ื หาอ่านเข้าใจง่าย เนื้อหาอ่านเข้าใจงา่ ย เนือ้ หาอา่ นเข้าใจงา่ ย
และแสดงถึงความ แสดงถึงความสามารถ แสดงถึงความสามารถ แตไ่ มแ่ สดงถึงความ
ทเ่ี ด่นชดั ของเจา้ ของ ท่เี ด่นชัดของเจ้าของ สามารถทเ่ี ด่นชดั ของ
สามารถของเจ้าของ แฟม้ สะสมผลงานใน แฟม้ สะสมผลงานใน เจ้าของแฟ้มสะสม
ทุกประเดน็ บางประเด็น ผลงาน
แฟม้ สะสมผลงาน

4 การแสดงถงึ ตวั ตนและ ใช้สี ส�ำ นวนภาษา และ ใช้สี ส�ำ นวนภาษา และ ใช้สี สำ�นวนภาษา และ

ทศั นคติของเจ้าของ รปู แบบของการน�ำ เสนอ รปู แบบของการน�ำ เสนอ รปู แบบของการน�ำ เสนอ

แฟม้ สะสมผลงาน บง่ บอกถึงตัวตนและ บ่งบอกถงึ ตัวตนและ ไม่บง่ บอกถึงตัวตนและ

ทศั นคตไิ ดอ้ ยา่ งชัดเจน ทัศนคตไิ ดบ้ างสว่ น ทัศนคติ

5 การนำ�เสนอผลงาน น�ำ เสนอข้อมูลโดยไม่ น�ำ เสนอขอ้ มูลทม่ี ี นำ�เสนอขอ้ มลู ท่สี ่ง

ตระหนักถงึ ความความ กระทบตอ่ ความ เนอื้ หาบางสว่ นกระทบ ผลกระทบต่อความ

ปลอดภัยของข้อมูล ปลอดภยั ของตนเอง ต่อความปลอดภัยของ ปลอดภยั ของตนเอง

สว่ นบคุ คล และผู้อน่ื ตนเองหรอื ผู้อื่น และผูอ้ นื่

ระดับคุณภาพ คะแนน 6-10 พอใช้ คะแนน น้อยกวา่ 6 ตอ้ งปรับปรงุ
คะแนน 11-15 ขึน้ ไป ดี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

20 กิจกรรมท่ี 3 | ปัญญาประดษิ ฐ์ คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)
กิจกรรมที่ 3 ปัญญาประดษิ ฐ์
คาบที่ 17 - 22 | เวลา 6 ชัว่ โมง

1 ตัวช้ีวดั 4 ทักษะและกระบวนการ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการน�ำ เสนอ และ 4.1 ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรมและ 4.2 ทักษะการแก้ปญั หา
วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี 4.3 ทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ
ผลตอ่ การด�ำ เนนิ ชีวิต 4.3 ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั ส่ือ

2 สาระการเรียนรู้ 5 ความรเู้ ดมิ ทน่ี ักเรยี นต้องมี
2.1 เทคโนโลยีปญั ญาประดษิ ฐ์ -
2.2 ผลกระทบของเทคโนโลยี
ปัญญาประดิษฐ์ 6 สาระส�ำ คญั
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เปน็ เทคโนโลยีท่ี
3 จดุ ประสงค์ ให้ผู้เรยี นสามารถ สร้างความฉลาดให้กับเครื่องจักร สามารถทำ�งาน
3.1 เข้าใจหลักการทำ�งานเบ้ืองต้นของ แทนมนุษย์ได้ในหลายรูปแบบ จึงทำ�ให้ปัญญา
เทคโนโลยปี ญั ญาประดิษฐ์ ประดิษฐ์มีอิทธิพลต่อการดำ�เนินชีวิตประจำ�วันของ
3.2 วิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยี มนุษยม์ ากขนึ้ อย่างตอ่ เนือ่ ง
ปญั ญาประดิษฐ์ตอ่ การดำ�เนนิ ชีวติ

7 สื่อและอุปกรณ์
7.1 ใบกิจกรรม

ใบกิจกรรมที่ เร่อื ง เวลา (นาที)
3.1 60
3.2 ตรรกะพารวย 60
3.3 AI เรียนรูอ้ ยา่ งไร 60
สอน AI

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 3 | ปญั ญาประดษิ ฐ์ 21
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

7.2 ใบความรู้
-
7.3 อ่ืนๆ

หนังสือเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ของสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8 แนวทางการจดั การเรียนรู้
8.1 การจัดเตรียม
8.1.1 ใบกิจกรรมท่ี 3.1 ตรรกะพารวย ตามจ�ำ นวนกล่มุ
8.1.2 ใบกิจกรรมที่ 3.2 AI เรียนรูอ้ ย่างไร ตามจ�ำ นวนผู้เรียน
8.1.3 ใบกจิ กรรมที่ 3.3 สอน AI ตามจ�ำ นวนผเู้ รียน
8.1.4 บัตรค�ำ สงั่ Tic-Tac-Toe ตามจำ�นวนผเู้ รียน

8.2 ขั้นตอนการด�ำ เนนิ การ
ช่ัวโมงท่ี 1-2
8.2.1 ผู้สอนนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยเปิดเว็บไซต์ https://playtictactoe.org/ เพื่อเล่นเกม
Tic-Tac-Toe รว่ มกบั ผเู้ รยี นในหอ้ ง จากนน้ั เลอื กวธิ เี ลน่ แบบแขง่ ขนั กบั เครอ่ื ง โดยแบง่
การเล่นเปน็ 2 รอบ รอบท่ี 1 ให้ผู้เรยี นใชข้ นั้ ตอนวธิ กี ารเล่นของตนเอง และรอบท่ี 2
ใช้ข้ันตอนวิธีการเล่นจากบัตรคำ�สั่ง Tic-Tac-Toe และเปรียบเทียบผลลัพธ์จากการ
เลน่ ด้วยตนเองกับการเลน่ ตามบตั รค�ำ ส่งั
8.2.2 ผู้สอนอธบิ ายเชือ่ มโยงถึงกระบวนการคิดของปญั ญาประดษิ ฐว์ ่า ในยุคแรก การตดั สิน
ใจของปญั ญาประดษิ ฐน์ น้ั ใชว้ ธิ กี ารสรา้ งกฎส�ำ หรบั การตดั สนิ ใจ เชน่ เดยี วกบั การตดั สนิ
ใจในการเล่นเกม Tic-Tac-Toe ตามกฎในบตั รค�ำ สั่ง
8.2.3 ผสู้ อนอธบิ ายเพม่ิ เตมิ โดยยกตวั อยา่ งกฎ เพอ่ื ใหป้ ญั ญาประดษิ ฐใ์ ชใ้ นการตดั สนิ ใจส�ำ หรบั
วินิจฉยั โรควา่ เป็นปอดอักเสบหรือไม่ ดงั นี้
กฎขอ้ ที่ 1 ถ้ามอี าการไอ และหายใจหอบ และตดิ เชอ้ื ไวรัส แล้ว ปอดอักเสบ
กฎข้อที่ 2 ถา้ อุณหภูมมิ ากกว่า 37.5 °C แล้ว มีไข้
กฎขอ้ ที่ 3 ถา้ มีไข้ และอาการนานกวา่ 14 วัน แล้ว ตดิ เชอ้ื ไวรสั

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

22 กิจกรรมท่ี 3 | ปัญญาประดษิ ฐ์ คูม่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

8.2.4 ผสู้ อนใช้กฎดังกล่าวในการอภิปรายรว่ มกบั ผเู้ รยี นเรื่องการใหเ้ หตุผลโดยการอนุมาน

ตวั อยา่ งคำ�ถาม ถ้า มีอาการไอ หายใจหอบ มานาน 14 วนั และอณุ หภูมิรา่ งกาย
มากกว่า 37.5 °C จะสรุปได้อย่างไร

วธิ ที ำ�
การอนมุ านรอบท่ี 1 ข้อเทจ็ จริงท่ีก�ำ หนดให้ คอื อาการไอ หายใจหอบ เป็นมา
นาน 14 วัน และอุณหภูมริ า่ งกายมากกว่า 37.5 °C

จากกฎข้อที่ 2 จะท�ำ ใหไ้ ดข้ ้อเท็จจรงิ ใหม่ คือ มีไข้
ดังนั้นข้อเท็จจริงท่ีมีอยู่ทั้งหมด คือ อาการไอ หายใจหอบ เป็นมานาน 14 วัน
อุณหภมู ริ ่างกายมากกว่า 37.5 °C และมไี ข้

จากกฎข้อท่ี 3 จะทำ�ให้ไดข้ ้อเทจ็ จรงิ ใหม่ คือ ติดเช้ือไวรสั
ดังน้ันข้อเท็จจริงท่ีมีอยู่ทั้งหมด คือ อาการไอ หายใจหอบ เป็นมานาน 14 วัน
อุณหภมู ิร่างกายมากกว่า 37.5 °C มไี ข้ และตดิ เชอื้ ไวรสั
การอนมุ านรอบท่ี 2

จากกฎขอ้ ที่ 1 ท�ำ ให้ไดข้ ้อสรปุ คอื ปอดอกั เสบ
ดงั นน้ั จงึ สรปุ ได้วา่ มีอาการไอ หายใจหอบ เป็นมานาน 14 วัน มีอณุ หภูมริ ่างกาย
มากกว่า 37.5 °C มีไข้ และตดิ เชอื้ ไวรสั ส่งผลใหป้ อดอักเสบ
8.2.5 ผู้เรยี นศกึ ษาหัวขอ้ ที่ 2.1 ปญั ญาประดษิ ฐ์ ในหนังสือเรยี น
8.2.6 ผู้เรยี นทำ�ใบกิจกรรมที่ 3.1 ตรรกะพารวย
8.2.7 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปการให้เหตุผลโดยการอนุมานซึ่งเป็นการแทนความรู้
รูปแบบหน่ึงของปญั ญาประดิษฐ์ในยุคแรก

ช่ัวโมงที่ 3-4
8.2.8 ผูส้ อนน�ำ เขา้ ส่บู ทเรียนเก่ยี วกบั เทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐ์ โดยใหผ้ ู้เรียนดวู ดิ โี อเรือ่ ง

“Computer Science Field Guide: Artificial Intelligence (extended
video)” แล้วตอบค�ำ ถามต่อไปน้ี

หุน่ ยนต์ทำ�งานอยา่ งไร
หนุ่ ยนต์คิดเองหรือมีผคู้ วบคมุ ส่ังการ
หุ่นยนต์มกี ารท�ำ งานแทนมนษุ ย์ในเร่ืองใดบา้ ง
8.2.9 ผู้เรยี นศกึ ษาหัวขอ้ ที่ 2.1.2 นวตั กรรมท่ใี ช้ปญั ญาประดษิ ฐ์ ในหนงั สอื เรียน
8.2.10 ผสู้ อนแบง่ ผู้เรยี นออกเปน็ กลุม่ กลมุ่ ละ 4-5 คน โดยให้แต่ละคนในกลมุ่ ศกึ ษาเวบ็ ไซต์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 3 | ปญั ญาประดษิ ฐ์ 23
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

หรือแอปพลเิ คชันต่อไปน้ี แลว้ นำ�เสนอการทำ�งานของแต่ละโปรแกรมทีท่ ำ�การศกึ ษา
ใหเ้ พื่อนในกล่มุ ฟงั

https://www.autodraw.com
Voice Notes ดาวนโ์ หลดจาก Google play หรอื Voice Texting Pro จาก
App Store หรือโปรแกรมอ่ืนทคี่ ลา้ ยกัน
Google Translate
Luxand
8.2.11 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย และตอบคำ�ถามในใบกิจกรรมท่ี 3.2 AI เรียนรู้
อย่างไร
8.2.12 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายถงึ การท�ำ งานของปญั ญาประดษิ ฐท์ อี่ ยเู่ บอ้ื งหลงั การ
ท�ำ งาน ของแตล่ ะเวบ็ ไซต์ หรือแอปพลเิ คชัน
8.2.13 ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรปุ การท�ำ งานของปญั ญาประดิษฐ์

ชั่วโมงที่ 5 - 6
8.2.14 ผู้สอนกล่าวนำ�ถึงเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และอธิบายเก่ียวกับการเรียนรู้ของ

เคร่อื งจากข้อมูล
8.2.15 ผู้เรียนเข้าเว็บไซต์ https://teachablemachine.withgoogle.com/ เพื่อสอนให้

คอมพวิ เตอร์เรยี นรู้เกย่ี วกบั ภาพ เสียง และท่าทาง และทำ�ใบกิจกรรมท่ี 3.3 สอน AI
ตอนท่ี 1
8.2.16 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายการสอนให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้เก่ียวกับ ภาพ เสียง
และท่าทาง
8.2.17 ผเู้ รยี นเขา้ เวบ็ ไซต์ https://selfdrivingcars.mit.edu/deeptraffic/ เพอ่ื ศกึ ษาและ
สอนปญั ญาประดิษฐใ์ ห้เรียนรู้เกย่ี วกับการขบั รถยนต์ และทำ�ใบกจิ กรรมท่ี 3.3 สอน
AI ตอนท่ี 2
8.2.18 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายการสอนให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้การขับรถยนต์จาก
ตวั แปรที่เปน็ ปจั จยั ต่าง ๆ ในการขบั รถยนต์ใหป้ ลอดภัยและรวดเร็ว
8.2.19 ผู้สอนและผู้เรยี นร่วมกันสรุปแนวคิด นวตั กรรม และผลกระทบของปัญญาประดษิ ฐ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

24 กิจกรรมท่ี 3 | ปัญญาประดิษฐ์ คู่มอื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

9 การวัดและประเมนิ ผล
9.1 ประเมนิ จากใบกิจกรรม
9.2 สังเกตพฤติกรรมการท�ำ งานกลุ่ม

10 สอ่ื และแหล่งข้อมูล
10.1 วิดีโอเร่ือง “Computer Science Field Guide: Artificial Intelligence (extended
video)” https://youtu.be/ia-oYtacJHE
10.2 https://www.autodraw.com/
10.3 https://playtictactoe.org/
10.4 https://teachablemachine.withgoogle.com/
10.5 https://selfdrivingcars.mit.edu/deeptraffic

11 ข้อเสนอแนะ
11.1 วดิ โี อ “Computer Science Field Guide: Artificial Intelligence (extended video)”
เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ ผู้สอนอาจอธบิ ายประกอบ
11.2 ใบกิจกรรมท่ี 3.3 ตอนที่ 1 สามารถสอน AI ด้วยรปู แบบอื่นได้ เช่น การสอน AI ดว้ ยท่าทาง
(Pose Project), การสอน AI ดว้ ยเสียง (Audio Project) ผู้สอนสามารถเปลี่ยนรูปแบบได้
ตามความพร้อมของอุปกรณค์ อมพิวเตอรใ์ นห้องเรยี น
11.3 ใบกจิ กรรมท่ี 3.3 ตอนท่ี 2 การปรบั คา่ ตวั แปรใน DeepTraffic จะสง่ ผลตอ่ เวลาในการ Run
Training หากปรบั ค่าเพ่มิ ข้นึ เปน็ จ�ำ นวนมาก เช่น trainIterations เพ่มิ จาก 10,000 เป็น
100,000 จะใช้เวลาเพิ่มข้ึนมากเช่นเดียวกัน ผู้สอนควรอธิบายการปรับค่าตัวแปรอย่าง
เหมาะสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 3 | ปัญญาประดษิ ฐ์ 25
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

บตั รคำ�ส่งั

อลั กอรทิ มึ Tic-Tac-Toe

I am X… and I go first… (ให้ฉนั เป็น X และฉันเร่มิ ตน้ กอ่ น ในทีน่ ้ี X คอื ผู้แพ้จากรอบท่ี 1)
Move 1:

Go in a corner. (ใหเ้ ลอื กมมุ ใดมุมหนึ่ง)

Move 2:
IF the other player did not go there (ผู้เลน่ อีกคนหนง่ึ ไม่เลอื กมมุ ใดมุมหนึง่ ใช่ไหม)
THEN go in the opposite corner to move 1 (ถ้าใช่ ใหเ้ ลือกมมุ ตรงขา้ ม กับการเลอื กคร้งั
ที่ 1)
ELSE go in a free corner (ถา้ ไม่ใช่ ให้เลอื กมมุ ว่างทเี่ หลืออยู)่

Move 3:
IF there are 2 Xs and a space in a line (มี การเลอื ก X 2 ชอ่ งและมชี อ่ งวา่ ง 1 ชอ่ ง ในแถว
เดียวกนั ใช่ไหม)
THEN go in that space. (ถ้ามี ให้เลอื กทชี่ อ่ งว่างในแถวนั้น)
ELSE IF there are 2 Os and a space in a line (ถา้ มกี ารเลอื ก O 2 ช่อง และมี 1 ช่องว่าง
ในแถวเดียวกนั ใชไ่ หม)
THEN go in that space. (ถ้าใช่ ใหเ้ ลือกทีช่ ่องวา่ งในแถวนนั้ )
ELSE go in a free corner. (ถา้ ไม่ใช่ ใหเ้ ลอื กมมุ วา่ งที่เหลืออยู)่

Move 4:
IF there are 2 Xs and a space in a line (มี การเลือก X 2 ชอ่ งและมชี ่องว่าง 1 ชอ่ ง ในแถว
เดยี วกนั ใชไ่ หม)
THEN go in that space. (ถา้ มี ให้เลือกทีช่ ่องวา่ งในแถวน้ัน)
ELSE IF there are 2 Os and a space in a line (ถา้ มีการเลือก O 2 ชอ่ ง และมี 1 ชอ่ งว่าง
ในแถวเดยี วกัน ใชไ่ หม)
THEN go in that space. (ถา้ ใช่ ใหเ้ ลอื กทช่ี อ่ งวา่ งในแถวนน้ั )
ELSE go in a free corner. (ถ้าไม่ใช่ ใหเ้ ลือกมุมวา่ งทเ่ี หลอื อยู่)

Move 5:
Go in the free space. (เลือกชอ่ งว่างท่ีเหลอื อยู่)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

26 กิจกรรมท่ี 3 | ปญั ญาประดษิ ฐ์ คมู่ ือครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)
ใบกจิ กรรมที่ 3.1 ตรรกะพารวย
เลขที่
ชอ่ื -สกลุ

ค�ำ ช้แี จง: ใหน้ ักเรียนศึกษากฎแต่ละขอ้ และให้หาขอ้ สรปุ โดยการอนุมานวา่
“หากขยันเรียนและโชคไม่ดจี ะมีเงินหรือไม”่
กฎขอ้ ที่ 1 ถ้าโชคดี แลว้ ถูกสลากออมสิน
กฎข้อที่ 2 ถ้าโชคไม่ดี แล้ว ไมถ่ กู สลากออมสนิ
กฎขอ้ ที่ 3 ถ้ามคี วามร้หู รือโชคดี แลว้ สอบผ่าน
กฎขอ้ ท่ี 4 ถา้ ไม่มคี วามรูแ้ ต่โชคดี แลว้ สอบผ่าน
กฎข้อที่ 5 ถ้าขยนั เรียน แล้ว มีความรู้
กฎขอ้ ท่ี 6 ถ้ามคี วามรแู้ ละสอบผา่ น แลว้ มงี านทำ�
กฎขอ้ ที่ 7 ถ้ามงี านท�ำ หรือถูกสลากออมสิน แล้ว มีเงิน

ขอ้ เทจ็ จริงคือ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 3 | ปญั ญาประดิษฐ์ 27
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

การอนมุ านรอบที่ 1: ทำ�ใหไ้ ดข้ ้อเท็จจรงิ ใหม ่
กฎทส่ี อดคล้องกับขอ้ เท็จจรงิ : ท�ำ ใหไ้ ด้ขอ้ เทจ็ จริงใหม ่
ท�ำ ให้ไดข้ ้อเท็จจรงิ ใหม ่
ท�ำ ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ






ขอ้ เทจ็ จริงใหม่คือ

การอนมุ านรอบท่ี 2: ทำ�ให้ได้ขอ้ เท็จจริงใหม ่
กฎทีส่ อดคล้องกับข้อเทจ็ จริง: ท�ำ ให้ไดข้ ้อเท็จจรงิ ใหม ่
ทำ�ให้ได้ขอ้ เทจ็ จริงใหม ่
ท�ำ ใหไ้ ด้ข้อสรุป






ข้อสรปุ คอื

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

28 กจิ กรรมท่ี 3 | ปญั ญาประดิษฐ์ ค่มู อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมที่ 3.2 AI เรยี นร้อู ย่างไร

1 ชอื่ -สกลุ เลขที่ 2 ชือ่ -สกุล เลขท่ี

3 ชอื่ -สกุล เลขที่ 4 ชอ่ื -สกลุ เลขที่

ให้แตล่ ะกลุ่มเตมิ คำ�ตอบเก่ยี วกบั โปรแกรมที่ได้ศึกษาในตารางต่อไปนี้

ชื่อโปรแกรม

ค�ำ ถาม autodraw Voice Notes/ Google Luxand
Voice Texting Translate
ความสามารถของ
โปรแกรม Pro

การเรียนร้ขู องเคร่ือง
จากขอ้ มลู เขา้ /ขอ้ มลู ออก

ประโยชน์ส�ำ หรบั ชีวติ
ประจ�ำ วนั

จากกจิ กรรมข้างตน้ นกั เรียนคิดว่าปญั ญาประดษิ ฐ์ หรือ AI คอื อะไร และมหี ลักการทำ�งานอย่างไร


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 3 | ปัญญาประดิษฐ์ 29
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมท่ี 3.3 สอน AI

1 ชอ่ื -สกุล เลขที่ 2 ชื่อ-สกลุ เลขท่ี

3 ช่ือ-สกุล เลขที่ 4 ช่ือ-สกลุ เลขที่

ตอนท่ี 1 สอน AI ให้เรยี นรู้ ภาพ เสยี ง และทา่ ทาง

ให้เข้าเว็บไซต์ https://teachablemachine. AI สามารถรู้ได้อยา่ งไรว่า
withgoogle.com/train และเข้าไปทดลองใช้ ภาพแต่ละภาพหมายถึงอะไร
งาน ดังนี้
1 คลิกเลือก Image Project เพ่ือสอน AI
จากการทดลองใช้งาน นักเรียนอาจจะพบว่า AI
ให้รูจ้ กั ภาพ ไมส่ ามารถแยกประเภทของภาพไดช้ ดั เจน นักเรียน
2 อัปโหลดภาพที่นักเรียนต้องการสอน AI คิดว่าจะต้องทำ�อย่างไร AI จึงจะสามารถแยก
ประเภทของภาพไดช้ ัดเจนมากยิ่งขึ้น
โดยแยกประเภทตาม Class เชน่ Class 1
เป็นภาพ สุนัข, Class 2 เป็นภาพ แมว,
Class 3 เป็นภาพกระตา่ ย
นักเรียนสามารถอัปโหลดภาพในแต่ละ
Class ไดห้ ลายภาพ เชน่ ภายใน Class 1
เป็นภาพสุนขั โดยภาพที่ 1 เปน็ สุนัขพันธุ์
บเี กลิ ภาพท่ี 2 เป็นสนุ ัขพันธ์ชุ ีวาวา
3 เมื่ออัปโหลดภาพทกุ Class เรียบร้อยแล้ว
ให้สอน AI โดยคลิกเลอื ก Train Model
เพอ่ื ให้ AI เรยี นรภู้ าพท่ีอัปโหลด
4 เม่ือ AI ประมวลผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว
นักเรียนสามารถอปั โหลดภาพอน่ื ๆ เข้าไป
เพื่อให้ AI ตรวจสอบว่าเป็นภาพสุนัข
ภาพแมว หรอื ภาพกระตา่ ย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

30 กจิ กรรมท่ี 3 | ปัญญาประดิษฐ์ คมู่ ือครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ตอนที่ 2 สอน AI ขับรถยนต์

AUTO เปดิ เวบ็ ไซต์ https://selfdrivingcars.mit.edu/deeptraffic/
เพอ่ื ฝกึ สอนให้รถยนตอ์ ตั โนมัตวิ ่งิ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และเร็วที่สุด ดงั น้ี

หมายเหตุ: สามารถศึกษาการปรับเปล่ียนค่าตัวแปรเพ่ือการสอนรถยนต์อัตโนมัติเพ่ิมเติมได้ท่ี
https://selfdrivingcars.mit.edu/deeptraffic-documentation/

1 ปรบั คา่ ของตวั แปรเกย่ี วกบั การขบั เคลอื่ นรถยนตอ์ ตั โนมตั ิ เชน่ lanesSide,

patchesAhead, patchesBehind, trainIterations
2 คลกิ ท่ี Apply Code and Reset Net เพอ่ื ก�ำ หนดคา่ ตวั แปรใหก้ บั โปรแกรม

นำ�ไปใช้ในการประมวลผล
3 คลิก Run Training เพื่อให้โปรแกรมประมวลผลด้วยค่าของตัวแปรที่

กำ�หนดในข้อ 2
4 เมือ่ สอนเสรจ็ แล้วคลกิ ท่ี Start Evaluation Run เพ่อื ประเมนิ คา่ ความเร็ว

เฉลย่ี ของรถยนต์

ความเร็วเฉลีย่ ท่ีมากทสี่ ุดท่นี ักเรียนทำ�ไดค้ อื mph

นกั เรยี นมกี ารปรบั คา่ ตวั แปรอยา่ งไรบา้ งเพอ่ื ใหร้ ถยนตว์ งิ่ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั
และเร็วท่ีสดุ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 4 | บริการคลาวด์ 31
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)
คาบที่ 23 - 24 | เวลา 2 ชวั่ โมง
กจิ กรรมที่ 4 บรกิ ารคลาวด ์

1 ตัวช้ีวัด 4 ทกั ษะและกระบวนการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและ 4.1 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
แ บ่ ง ปั น ข้ อ มู ล อ ย่ า ง ป ล อ ด ภั ย มี จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ การแกป้ ัญหา
วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมี 4.2 ทักษะการส่ือสารและการร่วมมือ
ผลต่อการด�ำ เนินชวี ติ อาชีพ สงั คมและวัฒนธรรม
5 ความรเู้ ดิมท่ีนกั เรยี นตอ้ งมี
2 สาระการเรียนรู้ -
2.1 การประมวลผลแบบคลาวด์
2.2 ผลกระทบของการประมวลผล 6 สาระสำ�คัญ
แบบคลาวด์ การประมวลผลแบบคลาวด์ เปน็ รปู แบบหนง่ึ
ของการให้บริการทรัพยากรคอมพิวเตอร์ผ่าน
3 จุดประสงค์ ใหผ้ เู้ รียนสามารถ อินเทอรเ์ นต็ ซง่ึ อ�ำ นวยความสะดวกใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถ
3.1 อธบิ ายแนวคดิ และความส�ำ คญั ของการ ใชง้ านทรพั ยากรเหลา่ นน้ั ไดท้ กุ ทที่ กุ เวลา โดยไมต่ อ้ ง
ประมวลผลแบบคลาวด์ สนใจวา่ ทรพั ยากรทใี่ ชน้ น้ั อยทู่ ใี่ ด
3.2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคลาวด์เพ่ือ
อำ�นวยความสะดวกในชวี ติ ประจ�ำ วัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

32 กิจกรรมที่ 4 | บริการคลาวด์ คมู่ ือครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

7 สือ่ และอปุ กรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกิจกรรมที่ เร่อื ง เวลา (นาท)ี
4.1 60
รู้จักบริการคลาวด์

7.2 ใบความรู้
-
7.3 อ่ืนๆ

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ของสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8 แนวทางการจัดการเรียนรู้
8.1 การจัดเตรยี ม
8.1.1 ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 ร้จู กั บรกิ ารคลาวด์ ตามจำ�นวนกลุ่ม

8.2 ขน้ั ตอนการด�ำ เนนิ การ
8.2.1 ผสู้ อนน�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหผ้ เู้ รยี นดวู ดิ โี อเรอ่ื ง “มาท�ำ ความรจู้ กั กบั Cloud Computing
กันนะ” จากนน้ั ต้งั ค�ำ ถามใหผ้ เู้ รียนอภปิ รายรว่ มกนั เช่น
การประมวลผลแบบคลาวด์ท�ำ งานอย่างไร
ขอ้ ดีและข้อจ�ำ กดั ของการประมวลผลแบบคลาวด์
นกั เรยี นสามารถน�ำ การประมวลผลแบบคลาวดม์ าประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ของ
นกั เรียนไดอ้ ย่างไร
8.2.2 ผู้เรยี นศึกษาหวั ข้อที่ 2.2 การประมวลผลแบบคลาวด์ ในหนังสอื เรยี น
8.2.3 ผูส้ อนแบ่งผู้เรียนออกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3-4 คน จากนนั้ ศึกษาหวั ข้อท่ไี ด้รบั มอบหมาย
(Dropbox, Google G-suite, Microsoft Office 365) และบันทึกลงใบกจิ กรรมที่
4.1 รู้จกั บรกิ ารคลาวด์
8.2.4 ผเู้ รยี นแตล่ ะกลุ่มนำ�เสนอ และสาธติ วธิ กี ารใชง้ าน ตามหัวขอ้ ของกลมุ่ ตนเอง
8.2.5 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรปุ แนวคดิ ขอ้ ดแี ละขอ้ จ�ำ กดั ของบรกิ ารคลาวดป์ ระเภทตา่ ง ๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 4 | บรกิ ารคลาวด์ 33
เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

9 การวดั และประเมินผล
9.1 ประเมนิ จากใบกิจกรรม
9.2 สงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งานกลุม่

10 สื่อและแหลง่ ขอ้ มูล
วิดีโอ เร่อื ง “มาท�ำ ความรจู้ ักกบั Cloud Computing กนั นะ”
https://youtu.be/es0JOur3qFk
https://www.dropbox.com/th_TH
https://gsuite.google.com/
https://www.office.com/

11 ข้อเสนอแนะ
ผู้สอนอาจเลือกบริการคลาวด์อื่นบนอินเทอร์เน็ต ให้ผู้เรียนศึกษานอกเหนือจากท่ียกตัวอย่างใน
กจิ กรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

34 กิจกรรมที่ 4 | บรกิ ารคลาวด์ คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 4.1 รูจ้ ักบรกิ ารคลาวด์

1 ช่ือ-สกลุ เลขที่ 2 ชอ่ื -สกุล เลขท่ี

3 ชอื่ -สกลุ เลขท่ี 4 ชอื่ -สกลุ เลขท่ี

หวั ขอ้ ทไ่ี ดร้ ับ
หวั ขอ้ ที่ไดร้ บั มีการใหบ้ รกิ ารด้านใด

ข้อดี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 4 | บริการคลาวด์ 35
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

ขอ้ จ�ำ กดั
หากนักเรียนเป็นผพู้ ฒั นาบรกิ ารคลาวดน์ ี้ นกั เรยี นจะแก้ไข ปรับปรุง หรอื พฒั นาสิ่งใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

36 กิจกรรมท่ี 5 | โรงเรียนอัจฉริยะ คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)
กจิ กรรมท่ี 5 โรงเรียนอจั ฉริยะ
คาบท่ี 25 - 28 | เวลา 4 ช่ัวโมง

1 ตัวช้วี ัด 4 ทักษะและกระบวนการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและ 4.1 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
แ บ่ ง ปั น ข้ อ มู ล อ ย่ า ง ป ล อ ด ภั ย มี จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ แก้ปญั หา
วเิ คราะหก์ าร เปลยี่ นแปลงเทคโนโลยสี ารสนเทศทม่ี ี 4.2 ทกั ษะการส่ือสารและการร่วมมือ
ผลตอ่ การดำ�เนนิ ชีวิต อาชพี สงั คมและวัฒนธรรม
5 ความรเู้ ดิมทน่ี ักเรียนตอ้ งมี
2 สาระการเรียนรู้ 5.1 การเขียนโปรแกรม โดยใช้โปรแกรม
2.1 แนวคิดและตัวอย่างอินเทอร์เน็ตของ KB-IDE
สรรพสงิ่ 5.2 กล่องสมองกล IPST-WIFI 4.0
2.2 การออกแบบและใชเ้ ทคโนโลยี 5.3 Protocol MQTT
อนิ เทอร์เน็ตของสรรพส่งิ
6 สาระส�ำ คญั
3 จดุ ประสงค์ ใหผ้ ้เู รียนสามารถ อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of
3.1 อธบิ ายแนวคดิ และหลกั การท�ำ งานของ Things: IoT) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาข้ึนเพ่ือ
อนิ เทอร์เนต็ ของสรรพสงิ่ เชื่อมต่อ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
3.2 การออกแบบและใชเ้ ทคโนโลยี เพื่อช่วยอำ�นวยความสะดวกให้กับมนุษย์ และลด
อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่ง เวลาในการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรยี นอจั ฉริยะ 37
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

7 สอ่ื และอปุ กรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกิจกรรมท่ี เรอื่ ง เวลา (นาที)
5.1 โรงเรยี นอจั ฉริยะ 60
5.2 Show Temp และ Light 40
5.3 ระบบแจ้งเตอื นและควบคุม 60
ระบบควบคุมห้องเรยี นผา่ นอินเทอร์เน็ตด้วย beebotte 120
5.4 (ก) ระบบควบคุมหอ้ งเรียนผ่านอินเทอรเ์ น็ตด้วย hivemq 120
5.4 (ข)

7.2 ใบความรู้
-
7.3 อน่ื ๆ

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ของสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

8 แนวทางการจัดการเรยี นรู้
8.1 การจัดเตรียม
8.1.1 ใบกิจกรรมที่ 5.1 โรงเรยี นอจั ฉรยิ ะ ตามจ�ำ นวนกลมุ่
8.1.2 ใบกิจกรรมท่ี 5.2 Show Temp และ Light ตามจำ�นวนผ้เู รยี น
8.1.3 ใบกจิ กรรมที่ 5.3 ระบบแจ้งเตือนและควบคมุ ตามจำ�นวนผู้เรียน
8.1.4 ใบกิจกรรมที่ 5.4 (ก) ระบบควบคุมห้องเรียนผา่ นอินเทอร์เน็ตด้วย beebotte หรอื
ใบกจิ กรรมที่ 5.4 (ข) ระบบควบคมุ ห้องเรยี นผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ตดว้ ย hivemq
ตามจ�ำ นวนผู้เรียน

8.2 ข้นั ตอนการด�ำ เนนิ การ
8.2.1 ผสู้ อนน�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยถามผเู้ รยี นวา่ “นกั เรยี นอยากควบคมุ สง่ิ ใดภายในบา้ นโดย
ใช้โทรศพั ท์มอื ถอื บา้ ง เพราะเหตุใด” และชใี้ ห้ผู้เรียนเห็นความสำ�คัญของ IoT

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

38 กจิ กรรมที่ 5 | โรงเรียนอจั ฉริยะ คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

8.2.2 ผเู้ รยี นศึกษาหัวขอ้ 2.3 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ในหนงั สือเรียน
8.2.3 ผสู้ อนแบ่งผูเ้ รียนออกเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ ท�ำ ใบกิจกรรมที่ 5.1

โรงเรียนอัจฉรยิ ะ
8.2.4 ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมาน�ำ เสนอโรงเรยี นอจั ฉรยิ ะ และรว่ มกนั อภปิ รายระบบ

การท�ำ งานท่มี กี ารใช้เทคโนโลยี IoT ในการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการทำ�งาน หรือการใช้
ชวี ิตประจำ�วนั
8.2.5 ผ้เู รยี นแต่ละกลุ่มทำ�ใบกิจกรรมที่ 5.2 Show temp และ Light
8.2.6 ผูส้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั อภปิ รายเร่ืองการประหยัดคา่ ไฟฟ้าในห้องคอมพิวเตอร์ โดย
ใช้เทคโนโลยี IoT
8.2.7 ผู้เรยี นแต่ละกลมุ่ ท�ำ ใบกิจกรรมที่ 5.3 ระบบแจง้ เตอื นและควบคุม
8.2.8 ผเู้ รยี นแต่ละกลุม่ ทำ�ใบกิจกรรมท่ี 5.4 ระบบควบคมุ หอ้ งเรยี นผ่านอินเทอรเ์ น็ต
8.2.9 ผ้สู อนให้ผู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอใบกจิ กรรมที่ 5.4 และแนวทางพัฒนาในอนาคต
8.2.10 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรปุ ความรจู้ ากการท�ำ กจิ กรรม และการใชป้ ระโยชนจ์ าก IoT

9 การวดั และประเมนิ ผล
9.1 ประเมนิ จากใบกิจกรรม
9.2 สังเกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานกลมุ่

10 สื่อและแหล่งข้อมลู
https://kbide.org

11 ข้อเสนอแนะ
11.1 ผสู้ อนอาจใชก้ ระดานแสดงความคิดเห็นออนไลน์ เช่น Padlet เพอื่ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ และ
กระต้นุ ความสนใจผ้เู รยี นผา่ นสือ่ การสอนในรปู แบบต่าง ๆ
11.2 กจิ กรรมนต้ี อ้ งการใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจหลกั การเบอ้ื งตน้ ของ IoT หากโรงเรยี นใดไมม่ อี ปุ กรณ์ IoT
สามารถเลอื กท�ำ เฉพาะใบกจิ กรรมท่ี 5.1
11.3 โรงเรยี นสามารถเลอื กใชอ้ ุปกรณ์ IoT อ่นื เชน่ KidBright, Micro:bit ในการท�ำ กิจกรรม
แทน ส�ำ หรบั การใช้งาน KidBright แบบ IoT สามารถศึกษาเพมิ่ เตมิ ได้จาก แนวทางจดั การ
เรียนรู้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ): Coding with KidBright ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
https://www.kid- bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/
11.4 ผู้สอนอาจเลือกให้ผู้เรยี นท�ำ ใบกจิ กรรมท่ี 5.4 (ก) หรือ 5.4 (ข) เพยี งใบกิจกรรมเดยี ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรียนอจั ฉรยิ ะ 39
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 5.1 โรงเรยี นอัจฉริยะ

1 ชือ่ -สกลุ เลขท่ี 2 ชื่อ-สกลุ เลขท่ี

3 ชอ่ื -สกลุ เลขท่ี 4 ช่อื -สกลุ เลขที่

1 นักเรยี นอยากให้โทรศัพทห์ รอื คอมพวิ เตอร์สามารถสงั่ งานอะไรในโรงเรียนได้บา้ ง








2 จากความตอ้ งการในขอ้ 1 นกั เรยี นเลอื กออกแบบเทคโนโลยี IoT ทใี่ ชง้ านภายในโรงเรยี นของนกั เรยี น

ทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อตนเอง โรงเรยี นและส่ิงแวดล้อม
2.1 เทคโนโลยี IoT ที่สรา้ งคือ





2.2 ประโยชนข์ องเทคโนโลยี IoT ทีจ่ ะสร้างขึน้ เพือ่ ประโยชน์ต่อตนเอง โรงเรยี น และส่งิ แวดล้อม

ประโยชน์ตอ่ ตนเอง



ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น




ประโยชนต์ อ่ สง่ิ แวดล้อม




สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

40 กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรยี นอัจฉริยะ คูม่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

2.3 รายละเอยี ดของอุปกรณ์เทคโนโลยี IoT ทีจ่ ะสร้างสำ�หรับโรงเรยี นอัจฉริยะ




2.4 วาดภาพจำ�ลองการทำ�งานของเทคโนโลยี IoT สำ�หรบั โรงเรยี นอัจฉรยิ ะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 5 | โรงเรยี นอัจฉริยะ 41
เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมที่ 5.2 Show Temp และ Light

1 ชือ่ -สกลุ เลขท่ี 2 ชอ่ื -สกลุ เลขที่

3 ชอ่ื -สกลุ เลขท่ี 4 ชอื่ -สกุล เลขท่ี

1 นกั เรยี นอยากใหโ้ ทรศพั ทห์ รอื คอมพิวเตอร์สามารถสัง่ งานอะไรในโรงเรยี นได้บา้ ง
1.1 อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการสร้างระบบ

อุปกรณ์ ลกั ษณะการใชง้ าน

เซนเซอรว์ ัดอุณหภูมิ

หน้าจอแสดงผล (OLED) ลักษณะการใช้งาน

1.2 กลุ่มบลอ็ กค�ำ สั่งทใี่ ช้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บลอ็ ก
GPIO
Display

Variables
Math
Text

42 กิจกรรมที่ 5 | โรงเรียนอจั ฉรยิ ะ คมู่ อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

1.3 เขียนโปรแกรมเพื่อตรวจสอบอณุ หภมู ิในหอ้ งเรยี น โดยใหท้ ำ�งานตามขนั้ ตอนดงั นี้

1 รบั คา่ อณุ หภมู ิจากเซนเซอร์ 2 แปลงค่าท่ีรับมาจากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ
วัดอุณหภูมิไปเก็บไว้ในตัวแปร เป็นองศาเซลเซียส โดย บอร์ด IPST-
WiFi จะคำ�นวณโดยใช้สูตร
คา่ อุณหภูมิ = (คา่ ท่รี ับมา - 400) /19.5
ค่าที่ค�ำ นวณไดจ้ ะอยูร่ ะหวา่ ง -10 ถงึ 125
องศาเซลเซยี ส

3 แสดงผลบนหนา้ จอแสดงผล (OLED)

4 ใหแ้ สดงผลคา่ ใหมท่ ุก ๆ คร่ึงวนิ าที

2 ให้นักเรียนสร้างระบบตรวจสอบปริมาณแสงในห้องเรียนแล้วให้
แสดงผลผา่ นจอแสดงผลอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบปรมิ าณแสง
เช่อื มต่อผ่าน input pin

oho.ipst.ac.th/m6/5211 ค�ำ ส่ังที่ใช้แสดงผลค่าปริมาณแสง


โดยแสดง ณ ตำ�แหนง่ ที่ X = Y=

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรยี นอจั ฉริยะ 43
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 5.3 ระบบแจง้ เตือนและควบคุม

1 ชอ่ื -สกุล เลขท่ี 2 ชอื่ -สกุล เลขที่

3 ชอ่ื -สกลุ เลขที่ 4 ช่อื -สกลุ เลขที่

1 ให้นักเรียนสร้างระบบการเปดิ ปิดหลอดไฟในห้องเรียน โดยกำ�หนดสถานการณ์ด้ังน้ี

เมอ่ื นกั เรยี นเดนิ เขา้ มาในหอ้ งใหก้ ดเปดิ สวติ ชค์ วบคมุ หลอดไฟแสงสวา่ ง เพอ่ื ใหร้ ะบบท�ำ การตรวจ

สอบแสงภายในหอ้ งเรยี น ถา้ ปรมิ าณแสงต�่ำ กวา่ คา่ ทกี่ �ำ หนด (นกั เรยี นก�ำ หนดเอง) หนว่ ย

หลอดไฟแสงสวา่ งจะตดิ ทนั ที แตถ่ า้ ปรมิ าณแสงสงู กวา่ คา่ ทก่ี �ำ หนด (นกั เรยี นก�ำ หนดเอง)

หนว่ ย หลอดไฟแสงสวา่ งจะดบั โดยอตั โนมตั ิ และเมอื่ จะออกจากหอ้ งเรยี นใหท้ �ำ การกดปดิ สวติ ชค์ วบคมุ

หลอดไฟแสงสว่าง

1.1 อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการสรา้ งระบบ ลักษณะการใช้งาน
อุปกรณ์

แผงวงจรตรวจจบั แสง

หนา้ จอแสดงผล (OLED)

หลอดไฟ LED

สวติ ช์

ไฟ NeoPixel

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

44 กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรียนอัจฉริยะ ค่มู อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)
1.2 กลุ่มบลอ็ กค�ำ สง่ั ท่ใี ช้
บลอ็ กค�ำ สงั่ ลักษณะการใชง้ าน
GPIO
Display
Variables
Math
Text

1.3 เขียนโปรแกรมใหท้ ำ�งานตามขัน้ ตอนดงั น้ี

1 ตรวจสอบการกดสวติ ช์ ถา้ มกี ารกดสวติ ช์แล้ว จะ
รอจนกว่าจะปล่อย สวติ ช์จะเปล่ยี นสถานะ ถา้
เครื่องปิด จะเปลี่ยนเปน็ เปดิ แตถ่ า้ เคร่อื งเปิด จะ
เปลย่ี นเป็น ปิด

2 เม่ือเคร่ืองเปิด จะแสดงสถานะท่ี
จอภาพ ดว้ ยขอ้ ความ “LED On” และ
จะอ่านค่าแสง ถ้ามีค่าน้อยกว่า 500
จะเปดิ ไฟ แต่ถ้า มากกว่า 700 จะปิด
ไฟ แต่เมื่อเครื่องอยู่ในสถานะปิด จะ
แสดงสถานะท่ี จอภาพ ด้วยข้อความ
“LED Off”

3 แสดงผลคา่ แสงบนหน้าจอ oho.ipst.ac.th/m6/5311
แสดงผล (OLED)

4 ให้ตรวจสอบและแสดงผลคา่ ใหม่
ทุก ๆ คร่งึ วินาที

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version