The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nop_1886, 2021-12-02 04:57:35

การประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ

การประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ

การประเมนิ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ
ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564

โดย
นายประนม มะธปิ ไิ ข
นายไพโรจน์ ไพรเขยี ว
นายยุทธพงษ์ เกษางาม

ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดอุดรธานี
สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2564

การประเมนิ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ
ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564

โดย
นายประนม มะธปิ ไิ ข
นายไพโรจน์ ไพรเขยี ว
นายยุทธพงษ์ เกษางาม

ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดอุดรธานี
สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2564



ชอื่ เรอื่ ง การประเมนิ หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กที่มคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ
ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564
ชอื่ ผู้วจิ ัย นายประนม มะธิปิไข, นายไพโรจน์ ไพรเขียว, นายยุทธพงษ์ เกษางาม
ทปี่ รึกษางานวจิ ัย นายพิชิต สนัน่ เออ้ื ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี

บทคัดยอ่

การศึกษาในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มี
ความต้องการจาเป็นพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564 ประกอบด้วย
ด้านบริบท เก่ียวกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ด้านปัจจัยเบ้อื งต้น เก่ียวกับโครงสร้างหลกั สูตร เนื้อหา
สาระของหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ความรู้ความสามารถของผู้บริหารและครู ความพร้อมของ
อาคารสถานท่ี ความร่วมมือของชุมชน และสื่อการเรียนรู้ ด้านกระบวนการ เก่ียวกับการเตรียมการใช้
หลักสูตร การดาเนนิ การใช้หลักสูตร การติดตามการใชห้ ลกั สูตร และการวัดและประเมินผลการ
จัดการเรียนรู้ และด้านผลผลติ เกี่ยวกับการนาความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน กลุ่มเป้าหมาย คือ
ครูผู้สอนของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี จานวน 49 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย
คือ แบบสอบถามการประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564 มีลักษณะเป็นมาตรส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) มี 5 ระดับ โดยมีค่าอานาจจาแนกรายข้อ (rxy) ต้ังแต่ .25 ถึง .90 และมีค่าความเช่ือม่ัน
ท้ังฉบับเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศกึ ษา พบวา่

ครผู สู้ อนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กทีม่ ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ

ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564 โดยรวมและทุกด้านอยใู่ นระดบั มาก

ในดา้ นบริบท เกย่ี วกับจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู รได้รับการประเมนิ ในระดับมาก ในดา้ นปัจจยั เบ้อื งต้น

เกีย่ วกบั โครงสรา้ งหลกั สูตร เน้อื หาสาระของหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ความรู้ความสามารถของ

ผู้บริหารและครู ความพร้อมของอาคารสถานท่ี ความร่วมมือของชมุ ชน และส่ือการเรียนรู้ มผี ลการ

ประเมนิ เฉลยี่ อยใู่ นระดบั มาก ในดา้ นกระบวนการเก่ียวกับการเตรียมการใชห้ ลักสูตร การดาเนนิ การใช้

หลักสูตร การตดิ ตามการใช้หลกั สตู ร และการวัดและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ มีผลการประเมินเฉลยี่

อยู่ในระดับมาก และดา้ นผลผลติ เกยี่ วกับการนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มีผลการประเมนิ เฉลีย่ อยู่

ในระดบั มาก



TITLE An Evaluation of the curriculum on Early Childhood Education

AUTHOR for Children with special needs of Udon Thani Special Education
ADVISORS
Center, 2021

Mr.Pranom Mathipikhai,
Mr. Pichit Sanan-uea The Director of the Udon Thani Special Education
Center

ABSTRACT

The study of this research was the evaluate the curriculum on Early Childhood
Education for Children with special needs of Udon Thani Special Education Center, 2021.
Consisted of context (objectives), input (structure, contents, learner development
activities,knowledge and ability of administrators and teachers, place for learning,
community partnership and instructional medias), process (preparation course,
Implementation of the curriculum, follow up and assessments), and products (Applying
knowledge to everyday life).

The Target Group consisted of 49 teachers. Instruments used for collecting data
were 5-rating-scale curriculum evaluation Form and this form with a reliability of 0.95
and with a power to discriminate each item from .25 to .90 .The statistics used for
analyses of collected data were percentage, mean, and standard deviation.

The result indicated that Comments of The Target Group on the curriculum on
Early Childhood Education for Children with special needs of Udon Thani Special
Education Center, 2021, overall and all aspects were at a high level. Consisted of
context (objectives) were evaluated at high level, input (structure, contents, learner
development activities, knowledge and ability of administrators and teachers, place for
learning, community partnership and instructional medias) were at a high level, process
(preparation course, Implementation of the curriculum, follow up and assessments)
were at a high level, and products (Applying knowledge to everyday life) were at a high
level.



กิตติกรรมประกาศ

งานวจิ ยั ฉบบั นี้ สาเรจ็ สมบูรณ์ไดด้ ้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างดีจาก ผอ.พิชิต
สนัน่ เออื้ ผู้อานวยการศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี ท่ีได้กรณุ าใหค้ าแนะนา เสนอและ
ตรวจสอบข้อบกพร่อง งานวิจัยนี้สาเรจ็ ลุลว่ งตามความมงุ่ หมาย คณะผู้วิจยั ขอกราบขอบพระคณุ
เป็นอยา่ งสงู

ขอขอบพระคณุ อาจารย์ชาครยิ า พันธท์ อง อาจารย์ประจาสาขาวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ คณะ
ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี และรอง ผ.อ.สุบนิ ประสพบัว ทเี่ ป็นผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบค่า
ดัชนีความสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามกับวตั ถปุ ระสงค์ ให้คาแนะนา เสนอแนะ ตรวจสอบข้อบกพร่อง

ขอขอบพระคณุ ท่านผู้อานวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 9 จังหวัดขอนแก่น
ที่ใหค้ วามกรุณาในการทดลองใช้เครื่องมอื การวิจัยในครงั้ น้ี

ขอขอบพระคณุ ผู้บริหารและคณะครู บุคลากร ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี
ทกุ ทา่ นที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม จนทาใหง้ านวิจยั ฉบบั น้ีสาเรจ็ ลุลว่ งตามความมุ่งหมาย
คณะผู้วจิ ัยวิจยั ขอกราบขอบพระคุณ เป็นอยา่ งสูง

ประนม มะธปิ ิไข และคณะ

สารบัญ ฉ

บทคัดย่อภาษาไทย หน้า
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค
กิตติกรรมประกาศ ง
สารบญั ตาราง จ
บทท่ี 1 บทนา ฉ
1
1. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา 1
2. คาถามการวจิ ยั 4
3. วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 4
4. ขอบเขตของการวจิ ัย 4
5. นิยามศัพท์เฉพาะ 5
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง 6
1. แนวคิดเกยี่ วกบั หลกั สตู ร 6
2. แนวคิดเกีย่ วกบั การประเมินหลกั สตู ร 9
3. เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกบั ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั อุดรธานี 19
4. งานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง 23
บทที่ 3 วิธดี าเนนิ งานวิจัย 29
1. กลมุ่ เปา้ หมาย 29
2. เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 29
3. ขั้นตอนในการสร้างและหาคุณภาพของเคร่ืองมือ 30
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 31
5. การจดั กระทาข้อมลู และการวิเคราะหข์ ้อมลู 32
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 32
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 35
บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 46
1. สรปุ ผลการวจิ ัย 46
2. อภิปรายผล 47
3. ข้อเสนอแนะ 48
บรรณานุกรม 50
ภาคผนวก 53
ภาคผนวก ก รายชอื่ ผเู้ ชีย่ วชาญ 54
ภาคผนวก ข ตัวอย่างเคร่ืองมือการวจิ ยั 56
ภาคผนวก ค การหาคณุ ภาพของเครื่องมอื การวจิ ยั 62
ภาคผนวก ง เอกสารในการประสานงาน. 68
ประวัตผิ ู้วิจัย 73



สารบัญตาราง หน้า
35
ตารางท่ี 36
37
1 ร้อยละของขอ้ มลู ด้านสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม 37
2 ความคดิ เห็นของครผู สู้ อนต่อหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ท่มี ีความ 38
38
ต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี พทุ ธศักราช 39
2564 โดยรวมและรายด้าน 40
3 ความคดิ เห็นของครผู ู้สอนต่อหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ทม่ี ีความ 40
ต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศกั ราช 41
2564 ดา้ นบรบิ ท 42
4 ความคิดเหน็ ของครผู ู้สอนต่อหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่มี ีความ
ต้องการจาเปน็ พิเศษ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พทุ ธศกั ราช
2564 ด้านปัจจัยเบ้ืองตน้ (โครงสรา้ งหลักสูตร)
5 ความคิดเห็นของครผู ้สู อนต่อหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ที่มีความ
ตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พทุ ธศกั ราช
2564 ดา้ นปัจจัยเบื้องต้น (เน้ือหาสาระ)
6 ความคดิ เหน็ ของครูผู้สอนต่อหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ที่มีความ
ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช
2564 ดา้ นปัจจยั เบ้ืองตน้ (กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน)
7 ความคิดเห็นของครผู สู้ อนต่อหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ที่มีความ
ตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี พทุ ธศกั ราช
2564 ด้านปจั จัยเบ้ืองตน้ (ด้านความรคู้ วามสามารถของผู้บรหิ ารและคร)ู
8 ความคดิ เหน็ ของครูผู้สอนต่อหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่มี ีความ
ตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั อุดรธานี พุทธศกั ราช
2564 ด้านปจั จัยเบ้ืองตน้ (ด้านความพร้อมของสถานท่)ี
9 ความคิดเหน็ ของครผู ้สู อนต่อหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเดก็ ท่ีมีความ
ต้องการ จาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศกั ราช
2564 ดา้ นปัจจยั เบื้องต้น (ด้านความรว่ มมอื จากชุมชน)
10 ความคดิ เห็นของครูผู้สอนต่อหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ที่มีความ
ตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พุทธศักราช
2564 ดา้ นกระบวนการ (ด้านการเตรียมการใช้หลกั สูตร)
11 ความคิดเหน็ ของครูผสู้ อนต่อหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ทม่ี ีความ
ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช
2564 ดา้ นกระบวนการ (ด้านการดาเนินการใช้หลกั สตู ร)



สารบญั ตาราง (ต่อ) หน้า
43
ตารางที่ 43
63
12 ความคดิ เหน็ ของครผู ู้สอนต่อหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กทม่ี ีความ 67
ต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พุทธศักราช
2564 ดา้ นกระบวนการ (การนเิ ทศตดิ ตามการใช้หลกั สตู ร)

13 ความคิดเหน็ ของครผู สู้ อนต่อหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กท่ีมีความ
ต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พุทธศกั ราช
2564 ดา้ นผลผลิต

14 ค่าคะแนนเฉล่ียดชั นคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งข้อคาถามกับวัตถปุ ระสงค์ (IOC)
การประเมนิ การใช้หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่ีมีความต้องการ
จาเป็นพิเศษ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศกั ราช 2564

15 ค่าอานาจจาแนกของแบบสอบถาม (rxy) และค่าความเช่ือม่นั ของแบบสอบถาม
เกยี่ วกบั การประเมนิ หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มคี วามต้องการ
จาเป็นพเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พุทธศักราช 2564

1

บทท่ี 1
บทนำ

ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2560 ให้ความสาคัญในการสง่ เสริมการจัด

การศกึ ษาเพ่ือคนพิการไวใ้ นมาตราที่ 54 ซงึ่ กาหนดไวว้ า่ รัฐต้องดาเนนิ การใหเ้ ด็กทุกคนไดร้ บั การศึกษา
เปน็ เวลาสิบสองปี การจัดการศกึ ษาต้องจดั ใหบ้ คุ คลมีสทิ ธิและโอกาสเสมอกนั ในการรบั การศึกษาขัน้
พืน้ ฐานไมน่ ้อยกว่าสบิ สองปที ี่รฐั ต้องจดั ให้อย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย สอดคลอ้ งกับท่ี
กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 วา่ การ
จดั การศกึ ษาสาหรับบคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สงั คม การส่อื สารและ
การเรียนรู้ มรี ่างกายพิการ ทุพพลภาพ บุคคลซ่ึงไมส่ ามารถพ่ึงตนเองได้ ไม่มีผ้ดู ูแล หรอื ด้อยโอกาส ตอ้ ง
จัดให้บคุ คลดงั กลา่ วมีสทิ ธแิ ละโอกาสได้รับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานเป็นพเิ ศษ ให้จดั ตง้ั แต่แรกเกดิ หรือพบ
ความพิการโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย และใหบ้ คุ คลดังกล่าว มีสิทธไิ ด้รับสิง่ อานวยความสะดวก สอื่ บริการและ
ความชว่ ยเหลืออื่นใดทางการศกึ ษา ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษา
สาหรบั บคุ คลซ่งึ มีความสามารถพเิ ศษ ตอ้ งจดั ดว้ ยรปู แบบที่เหมาะสมโดยคานึงถึงความสามารถของบคุ คล

นอกจากนั้นพระราชบญั ญตั ิการจดั การศึกษาสาหรับคนพกิ าร พ.ศ. 2551 และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเติม
(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2556 ได้ระบุไวว้ า่ คนพิการมสี ิทธไิ ด้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตง้ั แตแ่ รกเกดิ หรอื
พบความพิการจนตลอดชีวติ พร้อมท้งั ได้รบั เทคโนโลยี ส่งิ อานวยความสะดวก สอื่ บริการและความ
ชว่ ยเหลืออ่นื ใดทางการศึกษา นอกจากนี้กม็ สี ิทธิที่จะเลอื กบรกิ ารทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและ
รูปแบบการศึกษา โดยคานึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความถนดั และความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของ
บุคคลน้ัน อีกทง้ั ยงั มีสทิ ธิได้รับการศึกษาท่ีมมี าตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้งั การจดั
หลักสตู รกระบวนการเรยี นรู้ การทดสอบทางการศึกษา ทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกบั ความต้องการจาเป็น
พิเศษของคนพิการแตล่ ะประเภทและบุคคลด้วย ซง่ึ จากผลสรปุ การศกึ ษาสภาพปัจจุบนั ของการจดั
การศึกษาสาหรบั ผู้เรียนท่มี ีความต้องการพเิ ศษ ในประเทศไทยพบว่า หลักสูตรของศูนย์การศกึ ษาพิเศษ
เปน็ หลกั สูตรทอี่ งิ พฒั นาการของมนุษย์ และทักษะทจ่ี าเป็นของผูเ้ รียนพกิ ารแตล่ ะประเภทซึง่ ไม่ไดเ้ น้น
ทักษะในการดาเนินชีวติ ซ่ึงไม่หลากหลายขาดความสอดคลอ้ งกับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของเด็ก
พิการ พรอ้ มทง้ั ครูยังไม่เขา้ ใจการปรับใช้ที่สมั พันธ์กับสภาพจรงิ ทจี่ ะเกิดประโยชนใ์ นการดารงชวี ติ รวมท้งั
สื่อ นวตั กรรมในการจดั การเรียนการสอนยงั ไมช่ ัดเจน (สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ, 2558)

กระทรวงศกึ ษาธิการจึงมีนโยบายพฒั นาการศกึ ษาปฐมวยั อย่างจรงิ จงั และต่อเนื่อง โดยได้
ประกาศใหใ้ ชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยพทุ ธศักราช 2560 เพ่ือใช้ในการจดั การศึกษาปฐมวยั แก่
สถานศกึ ษาทุกแห่งท่ีต้องพัฒนาเดก็ ตงั้ แต่แรกเกิด – 6 ปี สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษจึงไดแ้ ต่งต้งั
คณะทางานพฒั นาหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ที่มีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ พทุ ธศกั ราช
2562 โดยคณะทางานไดเ้ พิ่มทักษะจาเปน็ เฉพาะ ความพิการสาหรบั เด็กพิการแตล่ ะประเภท เพื่อให้

2

สอดคล้องกบั สภาพความพิการและศักยภาพของแตล่ ะบุคคล นอกจากนีส้ ถานศึกษา สถานพฒั นาเด็กเล็ก
และหน่วยงานท่ีมเี ดก็ ท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ สามารถนาไปใช้เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนา
เดก็ ท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษระดับปฐมวยั ให้มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
สติปัญญา และทักษะที่จาเป็นสาหรบั เดก็ พิการแต่ละประเภทเพ่ือใหด้ ารงชีวติ อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมี
ความสุข จากผลสรปุ การศึกษาสภาพปัจจบุ ันของการจดั การศึกษาสาหรบั ผู้เรียนท่ีมีความต้องการพเิ ศษ
ในประเทศไทยพบว่า หลักสตู รของศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษเป็นหลกั สูตรทอ่ี ิงพัฒนาการของมนษุ ย์ และทักษะ
ท่จี าเปน็ ของผู้เรียนพิการแตล่ ะประเภทซ่ึงไมไ่ ดเ้ นน้ ทกั ษะในการดาเนินชีวติ ซึ่งไมห่ ลากหลายขาดความ
สอดคลอ้ งกับความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของเดก็ พกิ าร พร้อมทั้งครูยังไม่เขา้ ใจการปรบั ใชท้ ี่สัมพนั ธ์กับ
สภาพจรงิ ทีจ่ ะเกดิ ประโยชนใ์ นการดารงชีวติ รวมท้ังสือ่ นวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอนยังไม่ชัดเจน
หลกั สตู รน้จี งึ เหมาะสาหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ (สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ, 2562)

ในการจัดการศกึ ษาให้เป็นตามวตั ถุประสงค์ไดน้ ั้น หลกั สตู รถอื เป็นหวั ใจสาคัญของการศกึ ษา
และการจัดการเรยี นการสอนจาเป็นตอ้ งมีหลักสตู รเป็นข้อกาหนด หรือเป็นแผนในการศึกษา หลกั สูตรที่ดี
ตอ้ งตอบสนองต่อสงั คม เม่ือสงั คมมีการเปลี่ยนแปลง หลกั สูตรจึงตอ้ งมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงตามไป
ดว้ ย หลักสตู รจงึ เป็นเคร่อื งมืออยา่ งหน่ึงทจ่ี ะทาให้ความมงุ่ หมายในการจดั การศึกษาบรรลุผล เพราะ
หลักสูตรมีความสาคัญในการพัฒนาบุคคลในทกุ ๆ ด้าน ซึง่ หลักสตู รเม่อื ใช้ไปไดร้ ะยะหนึ่งจะตอ้ งมีการ
ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงเนอื่ งจากสภาพสังคม เศรษฐกิจ ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและเทคโนโลยไี ด้มีการ
เปลย่ี นแปลง และพัฒนาตลอดเวลา (บญุ ธรรม กจิ ปรีดาบริสทุ ธ์ิ. 2533 : 212) ดังน้ัน หลักสูตรจาเป็นต้อง
มีการพฒั นา ปรบั ปรุงให้ทันกับการเปลย่ี นแปลง โดยการพัฒนาหลกั สูตรก็คือการทาให้หลักสูตรมีความ
ทนั สมยั และตรงกับความต้องการของสังคม ซ่ึงการจะพัฒนาหลักสูตรได้น้นั จาเป็นจะตอ้ งมีการประเมนิ
หลักสูตร โดยผลจากการประเมินหลักสตู รจะช่วยให้ผู้เกีย่ วข้องกับการดาเนนิ การตามหลักสตู รทราบถึง
ปญั หาและแนวทางในการปรบั ปรุง เพราะการประเมนิ หลักสตู รเป็นการหาคุณค่าของหลักสูตรนนั้ (ทศิ นา
แขมมณ.ี 2544 : 1) ดงั นนั้ การประเมินหลักสูตรจึงเป็นส่วนทีม่ คี วามสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อคุณภาพ
ของหลกั สตู ร ท้ังน้ีเพราะการประเมนิ หลักสูตรจะทาใหร้ ู้คุณค่าของหลกั สตู รวา่ เป็นอยา่ งไร ข้อมลู ที่ไดจ้ าก
การประเมินหลกั สูตรเป็นประโยชน์อยา่ งยิ่งต่อการปรบั ปรุงหลักสูตรให้มคี ุณค่าสงู ขน้ึ อันจะเป็นแนวทาง
ในการนาหลักสตู รไปสู่ความสาเร็จ (วชิ ัย วงษ์ใหญ่. 2543 : 15) ซง่ึ การประเมินหลักสูตรอาจถอื ได้ว่าเป็น
ขน้ั ตอนสุดท้ายของกระบวนการในการพัฒนาหลกั สตู ร เป็นขนั้ ตอนทจี่ ะชี้ให้เราได้ทราบว่าหลักสูตรทไี่ ด้
พฒั นาข้นึ มาเป็นรูปเล่มและนาไปใช้แล้วนัน้ ประสบความสาเร็จมากน้อยเพียงใด มขี ้อดี ข้อบกพรอง
อะไรบ้างท่ี จะต้องแก้ไขปรบั ปรงุ การประเมนิ ผลเป็นการพิจารณาคุณคา่ ของหลักสตู ร โดยอาศัยวิธีการ
ต่าง ๆ ในการวิเคราะห์เพอื่ นาไปเป็นข้อมลู ในการพฒั นาหลักสตู รในโอกาสต่อไป (สุนีย์ ภพู่ ันธ์. 2546 :
283)

การประเมนิ หลกั สตู รเป็นขนั้ ตอนในการศกึ ษาคุณคา่ ของหลักสตู รวา่ ดีหรือไม่อย่างไร บกพร่องใน
ส่วนไหน เพือ่ นาผลการประเมนิ ไปปรับปรุงหลกั สูตรในโอกาสต่อไป การประเมนิ หลกั สูตร ต้องทาเป็น
กระบวนการตามลาดับขนั้ ตอน ตั้งแตก่ าหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน วางแผนและออกแบบการ

3

ประเมิน รวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์ข้อมูล รายงานและสรปุ ผลการประเมนิ เพือ่ จะนาผลท่ีได้จากการ
ประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พัฒนาหลกั สตู รในโอกาสต่อไป ดงั นน้ั การประเมินผลหลกั สตู รเป็นเครอื่ งมือชี้ให้เห็น
วา่ การกาหนดหลกั สตู รไปใช้จะได้ผลมากน้อยเพยี งใด เพราะฉะนั้นการประเมินหลกั สูตรจึงเป็นข้ันตอนที่
สาคญั อีกขน้ั ตอนหนึ่งของกระบวนการพฒั นาหลกั สูตร และผลทไ่ี ด้จากการประเมินหลักสูตรจะเป็นข้อมูล
ในการตดั สนิ เพ่ือแก้ไขปรับปรงุ หรอื เปลีย่ นแปลงหลักสูตร (บุญเล้ยี ง ทมุ ทอง. 2553 : 289 - 290) เม่ือ
ไดใ้ ช้หลกั สตู รมาระยะหนง่ึ ก็ควรมขี ้อมลู เก่ยี วกับการใช้หลกั สตู รวา่ มีปัญหาหรือมปี ระสิทธิภาพในการ
บรรลุวัตถปุ ระสงค์มากน้อยเพียงใด ผู้รับผิดชอบและผูท้ เี่ ก่ียวข้องกบั หลักสตู รควรจะได้ทาการประเมนิ
หลกั สตู รนนั้ ๆ เป็นระยะ ๆ ควรหาแนวทางในการปรบั ปรงุ หลักสูตรให้สมบรู ณยงิ่ ขนึ้ เพราะการประเมิน
หลกั สตู รมีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือให้หลกั สตู รมีคณุ ภาพตามความมงุ่ หมายที่ต้ังไว ดังนัน้ การวางเค้าโครง รปู แบบ
ระบบของหลักสูตร ตลอดจนการบริหารหลกั สตู ร การนาหลักสูตรไปใชจ้ ึงต้องดาเนนิ การให้เป็นไปใน
ทิศทางที่ถูกตอ้ ง (ศักดิ์ศรี ปานะกลุ . 2543 :

ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั อุดรธานี เปน็ อกี 1 สถานศึกษาท่ีนาหลักสูตรการศกึ ษา
ปฐมวัยพทุ ธศักราช 2560 มาพฒั นาจดั ทาให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและบริบทของศูนย์ ฯ
ในปกี ารศึกษา 2564 โดยยึดตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัยสาหรับเดก็ ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ
ท่วี ่าเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรก เกดิ ถงึ ๖ ปบี รบิ รู ณ์ อยา่ งเป็นองค์รวมบนพ้ืนฐานการอบรมเล้ยี งดูและ
การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามสภาพความพิการของเด็กแตล่ ะ
บคุ คลใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ภายใต้ บรบิ ทสังคมและวฒั นธรรมท่เี ดก็ อาศัยอยู่ ด้วยความรกั ความเอ้ืออาทร
และความเขา้ ใจของทกุ คน เพอ่ื สร้างรากฐาน คณุ ภาพชีวติ ใหเ้ ด็กพัฒนาไปสู่ความเปน็ มนุษย์ท่ีสมบรู ณ์
เกิดคุณคา่ ต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และได้ประกาศใชเ้ ปน็ หลกั สตู รสถานศกึ ษาในชอื่
หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เด็กท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั
อดุ รธานี พุทธศักราช 2564

จากทกี่ ลา่ วมาข้างต้นจะเหน็ ว่าหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ท่ีมีความต้องการจาเปน็
พเิ ศษ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พุทธศกั ราช 2564 มคี วามสาคญั อย่างย่งิ ในการ
นาไปใช้ในการวางแผนการจัดการศกึ ษาสาหรับเด็กทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษท่ีมารบั บรกิ ารทศี่ นู ย์
การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี และเนื่องจากเป็นการนาหลักสตู รมาใช้เปน็ ปีแรก ศนู ย์การศึกษา
พเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี จึงต้องการประเมนิ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กท่ีมคี วามต้องการ
จาเป็นพิเศษ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั อดุ รธานี พุทธศกั ราช 2564 โดยไดน้ าแนวทางการ
ดาเนนิ การประเมินหลกั สูตรของสตฟั เฟิลบมี ทเ่ี รยี กว่า CIPP Model มาใช้ในการประเมิน แบง่ การ
ประเมินเป็นด้านบรบิ ท ด้านปจั จยั เบอื้ งต้น ดา้ นกระบวนการและด้านผลผลิต ทั้งน้ีเพ่ือให้ทราบว่า
หลกั สูตรมปี ระสิทธภิ าพมาก น้อยเพยี งใด และเปน็ ข้อมลู สารสนเทศเก่ยี วกบั ผลการดาเนินงานหลักสูตร
ตอ่ ไป

4

คำถำมกำรวิจัย
การใช้หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ

ประจาจงั หวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564 เป็นอย่างไร

วตั ถปุ ระสงค์ของกำรวิจัย
เพ่อื ประเมินการใช้หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ

ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564
1. ดา้ นบรบิ ท (Context Evaluation) ประเมินความเหมาะสมเกยี่ วกบั จุดมุง่ หมายของ

หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ทม่ี ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั
อดุ รธานี พุทธศักราช 2564

2. ดา้ นปัจจยั นาเขา้ (Input Evaluation) ประเมนิ ความเหมาะสมเก่ยี วกบั โครงสร้าง
หลักสูตร เนื้อหาวชิ าของหลักสตู รและส่งิ อานวยความสะดวกของหลกั สูตร

3. ดา้ นกระบวนการ (Process Evaluation) ประเมินความเหมาะสมเกี่ยวกบั การจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนและการวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษา

4. ดา้ นผลผลติ (Product Evaluation) ประเมนิ ผลทีเ่ กดิ จากการใช้หลกั สตู ร โดย
พจิ ารณาด้านการนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

ขอบเขตของกำรวจิ ัย
เนื้อหำ หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษ

ประจาจังหวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564
กลุม่ เป้ำหมำย คือ ครผู สู้ อนของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั อุดรธานี จานวน 49 คน

ประกอบด้วยข้าราชการครู จานวน 34 คน พนักงานราชการ จานวน 12 คน และครูอัตราจ้าง จานวน 3
คน

ระยะเวลำ กรกฎาคม - กนั ยายน 2564
สถำนท่ี ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี
ตัวแปรท่ศี ึกษำ

ตัวแปรตน้ คือ เพศ อายุ และประสบการณ์ในการทางานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตัวแปรตาม คอื ผลประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กทม่ี ีความ
ต้องการจาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พุทธศกั ราช 2564 ทั้ง 4 ดา้ น คอื
1. ด้ำนบริบท (Context Evaluation) หมายถึง การประเมินความเหมาะสมเกี่ยวกบั
จุดม่งุ หมายของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยสาหรบั เด็กทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ
ประจาจงั หวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564
2. ดำ้ นปจั จัยเบ้อื งต้น (Input Evaluation) หมายถึง การประเมนิ ความเหมาะสม
เก่ยี วกบั โครงสร้างหลักสตู ร เนื้อหาวชิ าของหลักสูตรและสิ่งอานวยความสะดวกของหลกั สูตร

5

3. ดำ้ นกระบวนกำร (Process Evaluation) หมายถึง การประเมินความเหมาะสม
เกย่ี วกบั การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนและการวัดผลและประเมินผลการศึกษา

4. ด้ำนผลผลิต (Product Evaluation) หมายถึง ประเมินผลท่เี กดิ จากการใช้
หลักสตู ร โดยพิจารณาดา้ นการนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน

นยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ
1. หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยสำหรับเดก็ ที่มคี วำมตอ้ งกำรจำเป็นพเิ ศษ ศนู ย์กำรศึกษำพเิ ศษ

ประจำจังหวดั อุดรธำนี พุทธศักรำช 2564 หมายถงึ หลักสูตรสถานศกึ ษาท่ใี ช้เป็นแนวทางในการจัด
การศึกษาสาหรับนักเรยี นของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี

2. กำรประเมนิ หลักสตู ร หมายถึง การพจิ ารณาตัดสนิ คุณคา่ ของหลกั สตู รที่สร้างขน้ึ มา สามารถ
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลกั สูตรหรือไม่ โดยมีการดาเนินการประเมนิ ทม่ี ีระบบ มีขั้นตอน ผลท่ีได้
จะชว่ ยในการตัดสนิ ใจพฒั นาปรับปรงุ หลักสตู รตอ่ ไป ซ่งึ การวิจัยคร้ังนป้ี ระเมิน 4 ดา้ น คือ

2.1 ด้ำนบริบท (Context Evaluation) หมายถึง การประเมนิ ความเหมาะสม
เกยี่ วกบั จุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรับเด็กท่ีมีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ
ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช 2564

2.2 ด้ำนปจั จยั เบื้องต้น (Input Evaluation) หมายถงึ การประเมนิ ความเหมาะสม
เกี่ยวกบั โครงสร้างหลกั สูตร เน้ือหาวิชาของหลักสูตรและสิ่งอานวยความสะดวกของหลักสตู ร

2.3 ดำ้ นกระบวนกำร (Process Evaluation) หมายถงึ การประเมนิ ความเหมาะสม
เก่ียวกับการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและการวัดผลและประเมนิ ผลการศึกษา

2.4 ดำ้ นผลผลิต (Product Evaluation) หมายถึง ประเมนิ ผลทเี่ กดิ จากการใช้
หลกั สตู ร โดยพิจารณาดา้ นการนาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวัน

3. ครผู ู้สอน หมายถึง ครู พนักงานราชการ ครูอตั ราจา้ ง ท่ีปฏิบัติหนา้ ที่การจัดการเรียนการสอน
ในศนู ย์ ฯ หน่วยบริการ และศูนยก์ ารเรียนสาหรบั เด็กในโรงพยาบาล ของศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจา
จังหวดั อุดรธานี ทีใ่ ช้หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กทมี่ ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศูนย์การศึกษา
พิเศษประจาจังหวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564

4. ศนู ยก์ ำรศึกษำพเิ ศษประจำจงั หวัดอุดรธำนี หมายถึง สถานศกึ ษาที่จัดการศึกษาสาหรบั เด็ก
ท่มี ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษในจงั หวดั อุดรธานี

6

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

การศกึ ษาเรื่องการประเมนิ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ทมี่ ีความต้องการจาเป็น
พเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564 ผ้วู จิ ยั ไดศ้ ึกษาวรรณกรรมและ

เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้องตามลาดับต่อไปนี้เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง
1 แนวคดิ เกี่ยวกบั หลักสตู ร

1.1 ความหมายของหลกั สตู ร
1.2 องคป์ ระกอบของหลักสตู ร
2 แนวคิดเกีย่ วกับการประเมินหลกั สูตร
2.1 ความหมายของการประเมนิ หลักสูตร
2.2 จุดมงุ่ หมายของการประเมนิ หลักสูตร
2.3 รูปแบบการประเมนิ หลกั สตู ร
3 ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดอดุ รธานี
3.1 สภาพปจั จบุ ันของสถานศึกษา
3.2 บทบาทหนา้ ที่ของศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอุดรธานี
3.3 มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ
4 งานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง

1. แนวคิดเกี่ยวกับหลกั สตู ร
1.1 ความหมายของหลักสูตร
หลักสูตรมคี วามหมายแตกต่างกันออกไป ซ่ึงมนี ักวชิ าการไดน้ ยิ ามความหมายไว้ดงั น้ี
วชิ ัย ดิสสระ (2535 : 5) ไดใ้ หค้ วามหมายของหลกั สูตรไวด้ งั นี้
1. กลุม่ วิชาหรือประสบการณ์ท่ีกาหนดไว้ใหผ้ ู้เรยี นภายใตค้ าแนะนาของโรงเรียน
2. หลกั สูตรประกอบดว้ ยประสบการณใ์ นโรงเรยี นท้งั มวลท่ีนักเรียนพงึ ไดร้ บั ภายใต้

การดแู ลและแนะนาของโรงเรียน
3. การจดั รายวชิ าท้งั มวล กจิ กรรมและประสบการณ์ต่างๆซง่ึ นกั เรยี นไดร้ บั ภายใต้

การดูแลและแนะนาของโรงเรียน ไม่ว่ากจิ กรรมหรือประสบการณน์ ัน้ จะเปน็ ในหรือนอกโรงเรียน
4. เซ็ทของความตั้งใจเกีย่ วกับโอกาสในการจัดให้คนไดร้ บั การศึกษาร่วมกบั คนอน่ื

และส่ิงอื่น ๆ ในระยะเวลาและเนอื้ หาที่จัดไว้อย่างแนน่ อน
5. ประสบการณท์ ุก ๆ อย่างท่ีโรงเรียนจดั ให้แก่นกั เรยี น
6. มวลประสบการณท์ ั้งหลายท่จี ดั ใหเ้ ด็กได้เรียน เนอ้ื หา ทัศนคติ แบบพฤติกรรม

กจิ วัตรส่ิงแวดลอ้ ม เมื่อประมวลกนั เขา้ แล้วกจ็ ะเป็นประสบการณ์ทผี่ า่ นเข้าในการรับรขู้ องเด็ก
7. ประกอบด้วยแมบ่ ท เอกสารและวสั ดอุ ปุ กรณก์ ารเรียน กิจกรรมการเรยี น และ

การประเมินผล
8. โปรแกรมการศึกษาซ่ึงประกอบด้วย โปรแกรมการเรยี น โปรแกรมกิจกรรม

โปรแกรมแนะแนว

7

9. คอื การประมวลความรู้และประสบการณ์ทั้งหลายทส่ี อดคลอ้ งกับเหตุการณ์
ปัจจบุ ันและตามแผนการศึกษาแห่งชาติ

กาญจนา คุณารักษ์ (2540 : 14) กล่าวถึงหลักสตู รวา่ เป็นโครงการหรือแผน หรือ
ขอ้ กาหนดอันประกอบดว้ ยหลักการ จดุ มุ่งหมาย โครงสรา้ ง กจิ กรรมและวัสดุต่างๆในการจัดการเรยี น
การสอน ทจี่ ะพัฒนาผู้เรยี นให้เกิดความรู้ ความสามารถ โดยส่งเสริมใหบ้ คุ คลไปสูศ่ กั ยภาพสูงสดุ ของ
ตนเอง มีชวี ติ อยู่ในโรงเรียน สังคม และโลกได้อย่างมีความสุข

แรมสมร อยู่สถาพร (2541 : 3) ได้ให้ความหมายของหลักสตู รว่า หลักสูตร หมายถึง
โครงการศึกษาท่ีจัดขึน้ สาหรบั นกั เรียน เพ่ือพฒั นานักเรียนใหเ้ ปน็ ผ้มู ีคณุ ธรรมและทกั ษะท่จี าเป็น
ในการดาเนนิ ชวี ติ

สงัด อทรานันท์ (2543 : 3) กลา่ ววา่ ถึงแม้จะมีคานิยามของหลักสตู รทแี่ ตกตา่ งกนั
แต่นกั ปราชญ์ทางหลกั สูตรก็ได้ยอมรบั คานิยามของหลักสูตรซึ่งกลา่ วมาในลกั ษณะใดลักษณะหนึ่ง
ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. หลกั สูตร คอื ส่ิงท่สี ร้างขน้ึ ในลกั ษณะของวิชาซงึ่ ประกอบดว้ ยเน้ือหาสาระท่ีได้จดั
เรยี งลาดบั ความยากงา่ ย หรือเป็นขั้นตอนอยา่ งดีแลว้

2. หลักสูตร ประกอบดว้ ย ประสบการณ์ทางการเรยี นซ่งึ ได้วางแผนไว้เป็นการ
ล่วงหน้าเพอ่ื มุ่งหวังจะให้เด็กได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีต้องการ หลกั สูตรเปน็ สงิ่ ทส่ี ังคม
สรา้ งขึน้ สาหรับให้ประสบการณท์ างการศึกษาแก่เด็กในโรงเรียน หลักสูตรประกอบด้วยประสบการณ์
ทง้ั หมดของผูเ้ รยี นซึ่งเขาไดท้ า ได้รบั ร้แู ละตอบสนองตอ่ การแนะแนวทางของโรงเรยี น

ธรี ชยั เนตรถนอมศักด์ิ และลัดดา ศลิ าน้อย (2544 : 32) ไดใ้ ห้ความหมายวา่
หลกั สตู รหมายถึง เอกสารท่ีกาหนดแผนงาน โครงการ รายวิชา สาระการเรยี นรู้ การจดั ประสบการณ์
การเรยี นรู้ ตลอดจนประสบการณ์ทสี่ ถาบนั การศึกษาจดั ข้นึ เพือ่ พัฒนาผู้เรียนในด้านต่างๆใหม้ ี
คุณลกั ษณะตามความมงุ่ หวังของสังคม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร (2545 : 6) กล่าวว่า หลกั สตู ร หมายถึง
ขอ้ กาหนดแผนการเรียนการสอน เพื่อนาไปสู่ความมุ่งหมายตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ หลักสตู ร
ประกอบดว้ ย จดุ หมาย หลกั การ โครงสรา้ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหาของรายวิชา ส่อื การเรียน
การสอนและการประเมินผล

วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (2545 : 64) กลา่ ววา่ หลกั สูตรคอื มวลประสบการณ์ท่จี ัดให้
ผ้เู รียนและพฒั นา เพ่ือให้มีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ เจตคติ และพฤติกรรม ตามจดุ มุ่งหมายท่ี
กาหนดไว้

เอกรินทร์ ส่มี หาศาล (2546 : 69) ไดใ้ ห้ความหมายของหลักสูตรว่า หลกั สตู รมี
ความหมายหลายนยั เชน่ หมายถึง รายวิชาหรอื เนื้อหาสาระทกี่ าหนดไว้ใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรู้ตามเกณฑ์
ท่ีคาดหวังและยังหมายรวมถึงกระบวนวชิ าทกี่ าหนดไว้ในแผนการเรยี น แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี น
การสอน และมวลประสบการณ์ท่ผี ูเ้ รยี นจะได้รบั จากโปรแกรมการศึกษาต่าง ๆ ตามช่วงระยะเวลาที่
จัดเตรียมไวส้ าหรบั กิจกรรมหนงึ่ ๆ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด

8

จากความหมายของหลกั สูตรดังกล่าว พอสรุปได้วา่ หลกั สูตรหมายถงึ มวลความรู้
ประสบการณ์ ท่ีสถานศึกษาจัดข้นึ ให้กับผู้เรียน เพ่อื เปลย่ี นแปลงกระบวนการคิดวิเคราะห์พฤตกิ รรม
และสง่ เสรมิ พัฒนาการของผเู้ รยี นในดา้ นตา่ ง ๆ เพ่ือให้บรรลุจดุ มงุ่ หมายของแผนการจัดการศกึ ษา

1.2 องค์ประกอบของหลักสูตร
นักการศึกษาและนักวิชาการหลายทา่ นได้กลา่ วถึงองค์ประกอบของหลักสตู รไว้ ดงั น้ี
ธารง บวั ศรี (2532 : 7-8) ได้กล่าวถึงองคป์ ระกอบของหลักสตู รไว้ดงั นี้
1. จุดมงุ่ หมายของหลกั สตู ร (Curriculum Aims) หมายถงึ ผลส่วนรวมทีต่ ้องการให้

เกิดแก่ผู้เรยี นหลังจากท่ีเรียนจบหลกั สตู รไปแลว้
2. จุดประสงคข์ องการเรยี นการสอน (Instructional Objective) หมายถงึ ส่งิ ที่

ต้องการใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนร้หู ลงั จากทเ่ี รียนจบเนื้อหาในวิชาทก่ี าหนดไว้
3. เนื้อหาสาระและประสบการณ์ (Content and Experiences) หมายถึงส่งิ ที่

ต้องการให้ผู้เรียนได้เรยี นรแู้ ละประสบการณ์ท่ีตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี นได้รบั
4. ยุทธศาสตร์การเรียนการสอน (Instructional Strategies) หมายถึงกระบวนการ

และวิธใี นการจัดการเรยี นการสอน รวมท้ังกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทาง
ความรู้ และอนื่ ๆตามจดุ ประสงคแ์ ละจดุ มุ่งหมายที่กาหนดไว้

5. วสั ดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media and Material)
หมายถงึ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้และวัสดุต่างๆ รวมทงั้ อุปกรณโ์ สตทศั นศึกษาท่ชี ่วยส่งเสริมคุณภาพและ
ประสิทธภิ าพการเรยี นการสอน

วิชัย ประสิทธิ์วฒุ เิ วชช์ (2542 : 50 - 52) กลา่ ววา่ องคป์ ระกอบของหลักสูตร
ประกอบด้วย

1. จุดมุ่งหมายและจุดประสงค์ (Aims and Objectives)
2. เน้อื หา สาระ และประสบการณ์ (Contents and Experiences)
3. การนาหลักสตู รไปใช้ (Curriculum Implementation)
4. การประเมนิ ผล (Evaluation)
กรมวชิ าการ (2545 : 156) ได้กาหนดองคป์ ระกอบของหลักสูตรไว้ 8 ประการ คอื
1. จดุ มุง่ หมาย
2. หลักการ
3. โครงสร้าง
4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้แต่ละรายวชิ า
5. เนอื้ หารายวชิ า
6. สอื่ การเรียน
7. วิธกี ารสอน
8. การประเมนิ ผล

9

บญุ ชม ศรีสะอาด (2546 : 11) กลา่ ววา่ หลกั สูตรมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4
องค์ประกอบ คือ

1. จุดประสงค์
2. สาระความรู้และประสบการณ์
3. กระบวนการเรียนการสอน
4. การประเมนิ ผล
สุนยี ์ ภพู่ นั ธ์ (2546 : 18-19) ไดจ้ าแนกองค์ประกอบของหลักสูตรไว้ดังน้ี
1. จุดม่งุ หมายของหลักสตู ร (Curriculum Aims)
2. เนื้อหา (Content)
3. การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation)
4. การประเมินผลของหลกั สูตร (Evaluation)
จากแนวความคิดของนักการศึกษาและนักวิชาการเก่ียวกบั องค์ประกอบหลักสตู ร
ดังกล่าว สรุปได้ว่า หลกั สตู รท่ีสถานศึกษานามาจดั ทาเพอ่ื ให้เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนการสอน
ผเู้ รยี น ซ่งึ จะสง่ ผลใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ในทกั ษะต่าง ๆ ไดน้ ั้น ควรประกอบดว้ ยองค์ประกอบ
หลกั สูตรท่สี าคญั 6 องค์ประกอบ คือ
1. จดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตร
2. โครงสรา้ งของหลกั สูตร
3. เนื้อหาวชิ า
4. กจิ กรรมการเรียนการสอน
5. ส่ือประกอบการเรยี นการสอน
6. การวัดผลและประเมินผล

2. แนวคิดเกยี่ วกับการประเมินหลักสตู ร
2.1 ความหมายของการประเมินหลักสตู ร
นักการศึกษาและนักวชิ าการหลายท่านได้ความหมายของการประเมนิ หลักสตู รไว้

ดังน้ี
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2535 : 20) ใหค้ วามหมายวา่ การประเมนิ หลกั สูตร

หมายถึง การจัดการประเมนิ ผลเกยี่ วกับหลักสตู รวัตถุประสงคข์ องการประเมนิ ผลเพื่อจะพจิ ารณาว่า
ตรงกบั วัตถุประสงค์ของหลักสตู ร หรอื เพอ่ื จะไดใ้ ช้ในการตัดสนิ ใจ เปล่ียนแปลงเก่ียวกับหลักสูตร

นิคม ชมภูหลง (2545 : 238) ได้สรปุ ไวว้ า่ การประเมินหลกั สูตรหมายถึงการศกึ ษา
รวบรวมข้อมลู เกย่ี วกับกระบวนการจดั ทาทดลองใช้และผลของการใช้หลักสตู รตลอดจนการตดั สิน
คุณคา่ และคุณภาพของหลักสูตร

บญุ ชม ศรสี ะอาด (2546 : 95) ใหค้ วามหมายว่า การประเมินหลกั สูตร หมายถงึ การ
พจิ ารณาเปรยี บเทียบและตัดสินเกีย่ วกบั องค์ประกอบตา่ งๆในระบบหลกั สูตรวา่ มีความสัมพันธก์ ัน
อย่างไรมีความสอดคล้องระหวา่ งมาตรฐาน ความมุง่ หวงั และการปฏิบัตจิ ริงเพียงใดหลักสตู รน้นั มี

10

ประสิทธิภาพเพียงใดมีผลกระทบอยา่ งไรทงั้ นี้ เพ่อื ที่จะนาข้อมูลดงั กลา่ วมาใช้ปรับปรุงหลักสตู รนน้ั ให้
ดขี ้นึ การพฒั นาหลักสูตรจะขาดการประเมินหลกั สูตรไมไ่ ด้เลย

สนุ ีย์ ภ่พู ันธ์ (2546 : 249) ได้สรปุ ไวว้ า่ การประเมินหลักสูตร คือ กระบวนการ
ในการพิจารณาตัดสนิ คุณค่าของหลักสตู รนนั้ ๆมีประสทิ ธิภาพแค่ไหน เมื่อนาไปใชแ้ ลว้ บรรลุ
จุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้หรอื ไมม่ ีอะไรต้องแก้ไขเพื่อนาผลท่ีไดม้ าใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ในการตดั สนิ ใจ
หาทางเลอื กทีด่ ีกว่า

เยาวดี รางชัยกลุ (2548 : 7) สรุปว่า การประเมนิ ผลคาที่ใช้ในการอธิบายและตัดสิน
คณุ สมบตั บิ างอยา่ งของบคุ คลหรอื กลมุ่ บุคคล รวมทง้ั กระบวนการและโครงการตา่ งๆนัน้ คอื
กระบวนการประเมนิ ผล ประกอบดว้ ยขน้ั ตอน 3 ขน้ั ตอน คอื

1. การเลือกสงิ่ ท่ีต้องการประเมิน
2. การพฒั นาและใชก้ ระบวนการเพื่ออธิบายสิ่งทต่ี อ้ งการประเมนิ นน้ั อยา่ งถูกต้อง
3. การสงั เคราะห์หลักฐานทีเ่ ปน็ ผลจากกระบวนการเหล่านี้ไปสกู่ ารตดั สินใจ
ขั้นสุดท้าย
พิสณุ ฟองศรี (2549 : 135) ไดส้ รุปไว้ว่าการประเมินหลกั สูตรเป็นการวดั และ
เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพ่ือมาวิเคราะหพ์ ิจารณาตดั สินวา่ บรรลตุ ามจดุ ม่งุ หมายท่กี าหนดไวห้ รอื ไม่เพยี งใด
รุจริ ์ ภสู่ าระ (2551 : 159) การประเมินหลกั สตู รอาจให้ความหมายได้ ดังต่อไปน้ี
1. การวดั ผลการปฏิบตั ขิ องผู้เรียนตามจุดประสงคท์ ่กี าหนดไวใ้ นเชิงปริมาณ
2. การเปรยี บเทียบพฤติกรรมการปฏิบตั ิของผ้เู รียนกบั มาตรฐาน
3. การอธิบายและการตดั สินใจเกี่ยวกับหลักสูตร
4. การอธิบายการตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั หลกั สตู รและการเลือกการวิเคราะห์ข้อมลู ท่ี
เกี่ยวข้องกบั การตัดสนิ ใจเร่อื งหลักสูตร
จากความหมายของการประเมินหลักสูตรสรุปไดว้ ่า การประเมนิ หลักสูตร หมายถึง
การพิจารณา ตัดสินคุณคา่ ของหลกั สตู รที่สรา้ งขึ้นมา สามารถบรรลตุ ามวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร
หรือไม่ โดยมีการดาเนนิ การประเมินท่ีมรี ะบบ มีขน้ั ตอน ผลทไ่ี ดจ้ ะชว่ ยในการตดั สินใจพัฒนา
ปรบั ปรุงหลักสตู รต่อไป การประเมินจงึ เปน็ กระบวนการศกึ ษาเพื่อให้ได้ข้อมลู เพ่ือทีจ่ ะนามาใช้
ประโยชนใ์ นการพจิ ารณาตดั สินหาทางเลือก ในการปรบั ปรุงข้อบกพร่องการวางรปู แบบ การกาหนด
โครงสร้าง ตลอดจนการดาเนินงานของหลกั สูตร
2.2. จดุ มงุ่ หมายของการประเมินหลักสูตร
นกั การศึกษาและนักวชิ าการได้สรปุ จดุ มุ่งหมายของการประเมินหลกั สตู รไวด้ งั น้ี
วชิ ยั ดิสสระ (2535 : 144) ได้สรปุ ไว้ว่าการประเมินหลักสูตรจะมีจุดมุ่งหมายอยู่
เพียงอย่างเดยี ว คือการพิจารณาคณุ ค่าหรือค่านิยม (Worth or value) ของหลกั สูตร
วชิ ัย วงษใ์ หญ่ (2537 : 127) สรุปไวว้ ่า การประเมนิ หลักสูตรน้ันมีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือ
พจิ ารณาทบทวนเกี่ยวกับคุณภาพของหลกั สูตรโดยใชผ้ ลการวัดในแงม่ มุ ต่างๆของสงิ่ ที่จะประเมิน
นามาพจิ ารณารวมกนั เช่นตัวเอกสารหลกั สตู รวสั ดุกระบวนการเรียนการสอนตัวผเู้ รยี น ความคดิ เหน็
ของผใู้ ช้หลักสูตรและความคิดเห็นจากผ้เู ก่ียวข้องในชมุ ชนและสงั คมเป็นต้นแนวทางประเมินหลกั สูตร
สามารถทาได้ 3 ประการสาคัญ ๆ คอื

11

1. ระยะก่อนโครงการประเมินเพอื่ การสร้างและการพฒั นาหลกั สูตร
2. ระยะระหวา่ งโครงการประเมินเพ่ือการนาหลักสตู รให้ไปใช้
3. ระยะหลงั โครงการ ประเมินเพ่ือการตดิ ตามประเมินหลักสตู รทั้งระบบ
สมบัติ พิพฒั นเมธา (2546 : 23) ไดส้ รปุ ไว้ว่า การประเมินหลักสตู รนน้ั มจี ดุ มงุ่ หมาย
ทีส่ าคญั คือ การหาคุณค่าของหลกั สตู รโดยพจิ ารณาตั้งแต่วัตถุประสงคป์ จั จัยเบ้อื งต้นกระบวนการ
ตลอดจนผลทเ่ี กิดขนึ้ จากการใช้หลักสูตรว่ามคี วามเหมาะสมตอบสนองกบั ความต้องการของผเู้ รียน
และสงั คมมากน้อยเพียงไร เพื่อนาผลการประเมินที่ไดม้ าใช้ในการปรับปรุงหลกั สูตรให้มีประสิทธภิ าพ
มากย่งิ ข้นึ
ปราโมทย์ จนั ทร์เรือง (2548 : 98-99) ไดส้ รุปไวว้ ่าการประเมินหลักสูตรใด ๆ กต็ าม
จะมจี ุดมงุ่ หมายสาคญั ท่ีคลา้ ยคลงึ กัน ดังนี้
1. เพอ่ื หาทางปรบั ปรงุ แก้ไขสิ่งบกพร่องท่ีพบในองค์ประกอบตา่ งๆของหลกั สูตร
2. เพื่อหาทางปรบั ปรงุ แกไ้ ขของผู้บรหิ ารหลกั สตู ร การนิเทศกากับดแู ลและการจดั
กระบวนการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึ้น
3. เพอื่ ช่วยในการตัดสนิ ใจของผบู้ รหิ ารว่าควรใชห้ ลักสูตรตอ่ ไปอีกหรือยกเลิกการใช้
หลกั สตู รเพียงบางสว่ น หรือยกเลิกทั้งหมด
4. เพ่อื ต้องการทราบคุณภาพของผเู้ รียน ซึง่ เป็นผลผลติ ของหลกั สูตรว่ามีการ
เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมไปตามความม่งุ หวงั ของหลักสูตรหลงั จากผา่ นกระบวนการทางการศกึ ษา
มาแล้วหรอื ไม่อยา่ งไร
ชวลติ ชูกาแพงและประสาท เนอื งเฉลิม (2549 : 45) สรุปไว้ว่า จุดมุ่งหมายของการ
ประเมินหลกั สตู รท่ีปฏบิ ัตกิ นั ส่วนใหญ่มอี ยู่ 2 ประการคือ
1. การประเมินเพื่อการปรับปรงุ หลกั สตู รคือการประเมินในระหว่างการปฏบิ ตั ิงาน
พัฒนาหลักสตู รมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อใช้ผลการประเมนิ น้ันให้เปน็ ประโยชนใ์ นการปรับปรงุ เปล่ยี นแปลง
หลกั สตู รโดยมวี ัดผลเปน็ ระยะ ๆ ในระหวา่ งการทดลองใชห้ ลักสูตรแลว้ นาผลจากการวดั มาประเมินวา่
แต่ละขั้นตอนหลักสตู รมีความเหมาะสมและสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ดเี พยี งใด มปี ัญหาและอุปสรรค
อะไรบา้ งซ่ึงเปน็ ประโยชนแ์ ก่นกั พัฒนาหลักสูตรในการปรบั ปรุงส่วนประกอบทุกส่วนของหลกั สตู รได้
ถูกต้องก่อนทจี่ ะนาไปใช้จรงิ ต่อไป
2. การประเมินเพื่อสรุปผลว่าคุณคา่ ของการพฒั นาหลักสูตร มีความเหมาะสม
หรือไม่หลักสตู รไดส้ นองความตอ้ งการของผู้เรยี นของสังคมเพยี งใดควรจะใช้ได้ต่อไปหรือควรจะ
ยกเลิกท้ังหมดหรืออาจจะยกเลกิ บางส่วนและปรับแกไ้ ขในส่วนใด
ชวลติ ชูกาแพง (2551 : 147) สรปุ ไวว้ า่ การประเมนิ ผลหลักสูตรใดๆโดยท่วั ไปแล้ว
จะมีจุดม่งุ หมายคลา้ ยคลึงกนั อยู่ 3 ประการคือ
1. เพอ่ื หาคุณคา่ ของหลกั สูตรนนั้ โดยดูวา่ หลกั สตู รท่ีจัดขึน้ สามารถตอบสนองตาม
วัตถุประสงค์ที่หลักสูตรน้ันตอ้ งการหรอื ไม่
2. เพอ่ื ตดั สินใจวา่ การวางเคา้ โครงและรูประบบของหลกั สูตร ตลอดจน
การบริหารงาน และการสอนตามหลักสตู รเป็นไปในทางทถ่ี ูกตอ้ งหรือไม่
3. เพอ่ื วดั ผลดูว่าผลผลติ คือผเู้ รยี นนัน้ เป็นอย่างไร

12

สรุปได้วา่ จุดมุ่งหมายของการประเมนิ หลกั สูตรคือการหาคุณภาพของหลักสูตรทใ่ี ช้
ไปแลว้ ว่ามคี ณุ ภาพหรอื ไม่ เพ่ือหาทางปรบั ปรุงแก้ไขในส่งิ ที่บกพร่องใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อพัฒนาให้
เหมาะสมและสนองตอบต่อผู้เรียนและสงั คม

2.3. รปู แบบการประเมินหลักสตู ร
รปู แบบการประเมนิ หลักสตู รนนั้ ได้มนี กั การศึกษาและนักวิชาการได้เสนอไวห้ ลาย
รูปแบบดังน้ี
รปู แบบการประเมนิ หลกั สตู รของ Tyler (1970 : 110-125) เป็นการพิจารณา
ผเู้ รียนวา่ มคี วามก้าวหน้าตามจดุ มุ่งหมายที่วางไวห้ รือไม่ โดยศึกษารายละเอยี ดขององคป์ ระกอบของ
การจัดกระบวนการศึกษา 3 ประการ คือเติมจุดหมายของการศกึ ษา การจัดประสบการณ์เรียนรูแ้ ละ
การพิจารณาผลสมั ฤทธิ์ ข้นั ตอนการประเมินประกอบด้วย
1. กาหนดจุดมุ่งหมายอย่างกวา้ ง ๆ
2. กาหนดจุดมุง่ หมายเฉพาะหรอื จดุ มุ่งหมายเชงิ พฤติกรรมทีต่ อ้ งการวัดภายหลัง
จากการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
3. กาหนดสถานการณท์ แี่ สดงความสาเร็จของจุดมุ่งหมาย
4. พัฒนาและเลือกเทคนิคในการจัด
5. กาหนดเนอื้ หาหรือประสบการณ์ทางการศกึ ษาเพ่ือให้สอดคล้องและบรรลตุ าม
จดุ มุง่ หมายท่ีกาหนดไว้
6. รวบรวมข้อมลู ท่ีเป็นผลงานของผเู้ รยี น
7. เปรียบเทยี บข้อมลู กับจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
8. ถ้าไม่บรรลุจุดมงุ่ หมายท่ีกาหนดไวจ้ ะต้องมีการตดั สนิ ใจปรบั ปรงุ หลักสูตรหรือ
ยกเลกิ ถา้ บรรลจุ ดุ มุ่งหมายก็จะใช้เปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาหลกั สตู ร
รูปแบบการประเมนิ หลกั สตู รของแฮมมอนค์ (บุญชม ศรีสะอาด. 2528 :240-243)
มจี ดุ มุง่ หมายเพ่ือตรวจสอบว่าการปรับปรุงหลกั สูตรมปี ระสิทธิภาพบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไว้
หรือไมโ่ ดยมีโครงสรา้ งการประเมนิ หลกั สตู รประกอบด้วย 3 มิติ คอื มติ ดิ ้านการเรยี นการสอน มิติ
ดา้ นสถาบนั และมติ ิด้านพฤติกรรม ในการประเมนิ ตามแนวคดิ ของแฮมมอนดจ์ ะเริ่มจากประเด็น
หลักสูตรทก่ี าลงั ดาเนินการอยู่ในปัจจบุ นั เพื่อใหไ้ ด้มาซ่งึ ข้อมูลเบอ้ื งตน้ ท่จี ะนาไปสู่การตัดสินแล้วจงึ เริ่ม
กาหนดทศิ ทางและกระบวนการเปล่ยี นแปลงโดยใช้นวัตกรรมหลกั สตู รหรือพฒั นาหลักสูตรข้นึ มา
จุดมงุ่ หมายของการศึกษาประสบการณ์การเรยี นรู้ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
ใหมร่ ูปแบบการประเมนิ หลักสตู รของแฮมมอนดเ์ ปน็ การประเมินกระบวนการโดยเสนอโครงสรา้ ง 3
มิติพร้อมทงั้ ตวั แปรตา่ ง ๆ แต่ละมิติสาหรับการประเมนิ ครง้ั นี้ ขัน้ ตอนในการประเมินหลกั สตู รของ
แฮมมอนด์ เป็นไปดังต่อไปน้ี
1. ประเมนิ หลกั สูตรท่ีกาลังดาเนินการอยู่ควรทาการประเมินสว่ นย่อยของหลักสตู ร
เช่น เริม่ ทาการประเมนิ รายวิชาใดวชิ าหนงึ่ ของหลกั สตู ร
2. นยิ ามลักษณะต่างๆของตวั แปรโดยอธิบายถงึ ตวั แปรตา่ งๆในมติ ิดา้ นการเรียน
การสอน มติ ดิ า้ นสถาบนั ควรบรรยายให้ชดั เจน

13

3. กาหนดจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
4. ประเมินพฤตกิ รรมท่กี าหนดไวใ้ นจุดประสงค์ผลท่ไี ด้จากการประเมินจะเปน็
ตัวกาหนดพิจารณาหลกั สูตรที่กาลังดาเนนิ การใช้อยเู่ พื่อตัดสนิ รวมทัง้ การปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลง
หลักสตู ร
5. ประเมนิ ประสทิ ธิภาพของหลักสตู รวา่ มีมากน้อยเพียงใด โดยวเิ คราะห์ผลภายใน
องคป์ ระกอบ และความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบตา่ งๆเพอื่ หาข้อสรุปตามทีเ่ กิดขึน้ จรงิ ในทาง
ปฏบิ ตั ิการประเมินหลกั สูตรตามแนวคดิ ของแอมมอนค์ ผ้ทู ่ีจะทาการประเมนิ ได้แกค่ รูและผบู้ ริหารที่
ได้รับการอบรมด้านการประเมินหลกั สตู รมาเปน็ อยา่ งดี นอกจากนี้แฮมมอนค์ยังได้เสนอให้บุคลากรใน
ทอ้ งถน่ิ ที่ไดร้ บั การอบรมจากนักประเมินทผ่ี เู้ ช่ยี วชาญมาร่วมในการประเมินด้วย
รปู แบบการประเมินหลกั สตู รของโพรวสั (บญุ ชู ม ศรีสะอาค. 2528 : 243-252) ได้
เสนอแนวคดิ ไว้วา่ จุดประสงค์ของการประเมินหลักสตู รของโพรวสั เพ่อื ตัดสนิ ใจว่าหลักสตู รที่
ดาเนินการให้อยู่ควรปรบั ปรงุ หรือดาเนินการต่อยกเลิกการใชโ้ ดยมขี นั้ ตอนการประเมินหลกั สตู ร 5
ขนั้ ตอนคือ
1 นยิ ามหลักสูตร (Program Definition) เปน็ การบรรยายรายละเอยี ดของหลักสตู ร
โดยพิจารณาคุณภาพของสง่ิ ต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกบั หลักสูตรท่ีไดม้ าจากขณะดาเนินการใชป้ ระกอบดว้ ย
1.1 วตั ถปุ ระสงค์
1.2 คณุ ลกั ษณะของผสู้ อนผเู้ รียนโสตทศั นูปกรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวกในการ
ใชห้ ลกั สตู ร
1.3 กจิ กรรมของผู้สอนและผเู้ รยี นที่จะทาให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์โดยนาทั้งสามส่วน
ขา้ งตน้ ไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑข์ องการใชห้ ลกั สตู รทก่ี าหนดมาตรฐาน
2 การเสริมใช้หลกั สตู ร (Program Installation) เปน็ ขน้ั ตอนในการพิจารณาสภาพ
ทเ่ี ป็นจรงิ ของการดาเนนิ การหลกั สูตรเพ่ือเปรยี บเทียบมาตรฐานหลกั สูตรทกี่ าหนดไว้ว่ามคี วาม
เหมาะสมเพียงใดโดยเฉพาะด้านกจิ กรรมของผูส้ อนและผู้เรียนว่ามคี วามแตกตา่ งกนั มากนอ้ ยเพยี งใด
เพื่อเป็นขอ้ มูลใหค้ ณะกรรมการตดั สนิ การประเมินหลักสตู รในข้ันนีจ้ ะทาให้ทราบความแตกต่าง
ระหว่างส่ิงทค่ี าดหมายไวใ้ นข้ันท่ี 1 กบั สิง่ ทเ่ี ปน็ จริง
3 การประเมินกระบวนการ (Program Process) เปน็ การประเมินท่ีเกดิ ข้นึ บางส่วน
จากการใชห้ ลกั สูตรการประเมนิ หลักสูตรในช่วงน้มี ุง่ แสวงหาคาตอบวา่ หลักสตู รไดบ้ รรลุวตั ถุประสงค์
ยอ่ ย ๆ ทจ่ี ะนาไปสวู่ ตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู รมากน้อยเพยี งใดทั้งนีเ้ พ่อื การนาไปปรบั ปรงุ การ
ดาเนินการใชห้ ลกั สูตรต่อไปส่วนมาตรการของขั้นน้ีคอื ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกระบวนการกบั ผลผลิตที่
จะเกิดขนึ้ ตามทก่ี าหนดไว้
4 การประเมินผลผลติ ของหลักสูตร (Progam Product) เป็นการประเมนิ ผล
สัมฤทธิ์ผลของหลักสูตรวา่ ผลผลิตของหลักสตู รบรรลวุ ัตถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้หรือไม่
5 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน (Cost Benerit Analysis) สาหรับใน
ข้ันนี้เปน็ การประเมนิ ประสทิ ธิภาพของหลกั สตู รในดา้ นค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ การวา่ ไดผ้ ลตอบแทน
คุ้มคา่ กบั การลงทนุ หรือไม่

14

การประเมินหลกั สูตรทุกข้นั ตอนของโพรวัสจะต้องนาไปเปรียบเทียบสิ่งท่ีเปน็ จริงใน
หลักสตู รกับส่ิงทีก่ าหนดไวเ้ ป็นมาตรฐานวา่ มคี วามสอดคล้องหรอื ไม่ หากไม่สอดคล้องก็จะเปน็ ข้อมลู
นาไปสกู่ ารตัดสนิ ใจปรับปรุงเปล่ียนแปลงหรือลม้ เลิกการใช้หลักสูตร

รปู แบบการประเมนิ หลักสตู รของสตัฟเฟลิ บีม (บญุ ูชม ศรสี ะอาด. 2528 :236-239)
เสนอรูปแบบการประเมินซิปปา้ ซึ่งเป็นการประเมนิ เพื่อการตัดสินใจ โดยเฉพาะในดา้ นเกย่ี วกบั การ
วางแผนโครงสร้างการดาเนนิ การ และการตัดสนิ ใจเมื่อสิน้ สดุ โครงการ โดยประเมินองค์ประกอบของ
หลักสตู ร 4 ด้านคือ

1 การประเมนิ สภาพแวดล้อม (Context Evaluation) เป็นการประเมนิ
สภาพแวดล้อมสภาพทพ่ี ึงปรารถนาและสภาพท่เี ปน็ จรงิ บ่งชถ้ี งึ ปัญหาและความต้องการอนั นาไปสู่
การตัดสนิ ใจ

2 การประเมนิ ปจั จัยเบอื้ งตน้ (Input Evaluation) เป็นการประเมินทรัพยากร
เพอ่ื วิเคราะห์ทางเลือกสาหรับการวางแผนและการออกแบบการใชห้ ลักสูตร

3 การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เปน็ การประเมินกระบวนการ
ตา่ ง ๆ ของการใช้หลักสูตรสาหรบั การตัดสินใจว่าจะดาเนนิ การดว้ ยวธิ ีการใดจะแกไ้ ขอย่างไร

4 การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) เปน็ การประเมนิ องค์ประกอบท่เี ป็น
ผลผลิตและผลกระทบของการใช้หลกั สูตรว่า เกิดผลตามวัตถุประสงค์ของหลกั สูตรหรือไมแ่ ละยงั เป็น
ข้อมูลสาหรบั การปรบั ปรุงหลักสูตร หรอื ยกเลกิ การใชห้ ลักสตู ร

การประเมนิ ตามรูปแบบ CIPP Model ภาคขยายการประเมนิ หลกั สูตรโดยใช้
แบบจาลองซปิ ป์ (CIPP Model) วา่ ในการประเมินหลักสตู รตามแนวคดิ CIPP Model ต่อมาได้ขยาย
แนวคิดโดยขยายผลผลิต (Product) ออกเปน็ IESTโดย I (Impact) เป็นผลกระทบที่นอกเหนือจาก
ผลผลติ ท่ีตอ้ งการใหเ้ กดิ E (Effectiveness) เป็นประสิทธิผลทีเ่ กิดขึน้ S (Sustainability) เป็นความ
ยง่ั ยืนของผลทเี่ กิดขนึ้ และ T (Transportability) เปน็ ผลทีส่ ามารถถ่ายทอดขยายผลตอ่ เน่ืองได้
ในชว่ งแรกของการประเมินท่ีเน้น CIPP Model เนน้ การประเมินเพอื่ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกับหลักสตู รใน
4 ดา้ น (มาเรียม นิลพันธุ์. 2553 : 31) คอื

1. การประเมนิ สภาพแวดล้อม (Context Evaluation) เป็นการประเมนิ ท่ีมี
จุดม่งุ หมายเพอื่ ใหไ้ ด้หลกั การและเหตุผลนามากาหนดจุดมุ่งหมาย การประเมินสภาพแวดลอ้ มจะชว่ ย
ใหผ้ พู้ ัฒนาหลกั สูตรรวู้ ่าสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศกึ ษามีอะไรบา้ ง สถาณการณ์ที่
คาดหวังกับสภาพท่แี ท้จรงิ ในสภาพแวดลอ้ มดังกล่าวเป็นอย่างไร มคี วามต้องการหรือปัญหาอะไรบา้ ง
ท่ียังไม่ได้รับการตอบสนองหรือแก้ไข มีโอกาสและสรรพกาลังทีจ่ าเปน็ อะไรบา้ งท่ยี ังไม่ได้ถูกนามาใช้
ในการศึกษาและสืบเนอ่ื งมาจากปญั หาอะไร ประเด็นการประเมนิ ครอบคลุม เกย่ี วกับนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นโยบายขององค์กรการบริหารการ
ปกครองสว่ นท้องถ่นิ มลู นธิ ิ สมาคมความตอ้ งการของชมุ ชน การตีตราของสงั คม ความคาดหวงั ของ
ผู้ปกครอง วสิ ัยทัศน์ จดุ หมาย โครงสรา้ งหลกั สูตร

2. การประเมนิ ปัจจัยหรือตวั ป้อน (Input Evaluation) เป็นการประเมนิ ทม่ี ี
จดุ ม่งุ หมายเพอ่ื ให้ได้ขอ้ มลู มาช่วยตัดสินใจวา่ จะใชท้ รพั ยากรหรือสรรพกาลังต่างๆท่ีมอี ยเู่ พอื่ ให้
บรรลผุ ลตามจดุ มุ่งหมายของหลักสูตรได้อย่างไร จะขอความช่วยเหลือดา้ นทรพั ยากรและสรรพกาลัง

15

จากแหล่งภายนอกดหี รอื ไม่ อย่างไร ประเดน็ การประเมนิ ครอบคลุม เกี่ยวกบั งบประมาณ อาคาร
สถานท่คี ณุ ลักษณะ/ คุณวฒุ ิ/ คุณสมบัติ/ ประสบการณ์ของผู้บริหาร ผู้สอน/ จานวน คณุ ภาพของ
ผเู้ รยี น/พ้ืนฐานความรู้ผเู้ รยี น ส่ือ วัสดุ/ อุปกรณ/์ หนงั สือตารา เอกสารหลักสูตร การสนบั สนนุ
ส่งเสริมของคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร และชว่ งเวลา เป็นตน้

3. การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินท่ีมี
จุดมุ่งหมายเพือ่ สบื ค้นจุดเด่น จดุ ออ่ นหรือจดุ ท่ีควรพฒั นาของรปู แบบการดาเนนิ งานตามทีค่ าดหวงั
เอาไว้ หรอื จุดเด่นจุดอ่อนหรือจดุ ทีค่ วรพัฒนาของการดาเนินงานการใชห้ ลักสตู ร เพื่อนามาใชเ้ ป็น
ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการเลือกวิธกี ารต่อไป ฉะน้ันจะต้องมกี ารจดบนั ทึกผลการประเมนิ
กระบวนการน้ันจาเปน็ ต้องอาศยั วธิ ีการหลายๆวธิ ีท้ังเชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพ ประเด็นการประเมนิ
ครอบคลุมเกยี่ วกบั การบรหิ ารจดั การหลักสูตร การนิเทศ การกากบั ตดิ ตาม การจดั การเรียนการสอน
การวดั และประเมนิ ผล และการประกันคณุ ภาพการศึกษา เป็นตน้

4. การประเมนิ ผลผลติ (Product Evaluation) มีจดุ มุ่งหมายจะตรวจสอบว่าผลท่ี
เกิดขน้ึ กบั ผเู้ รียนน้นั เป็นไปตามทก่ี าหนดไว้ในวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตรที่คาดหวงั เอาไว้มากนอ้ ย
เพียงใด ผูเ้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความสามารถ ประสบการณ์ สมรรถนะ จากการเรยี นการ
สอนในหลกั สตู รไปสู่การปฏบิ ัติจริงได้หรือไม่อย่างไร อาจทาได้โดยการเปรยี บเทยี บกบั เกณฑส์ มั พันธ์
กบั หลักสตู รอ่นื ทีม่ ีอยกู่ ็ได้ ประเด็นการประเมินครอบคลุมเกี่ยวกบั คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคผ์ ลการ
เรียนรู้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ความพงึ พอใจ เหมาะสม เหน็ ด้วย สอดคลอ้ ง ทักษะความสามารถใน
การปฏบิ ัตพิ ฤติกรรม กล่าวโดยสรุป แบบจาลองซิปป์ (CIPPIEST Model) เป็นรปู แบบท่ีสามารถ
ประเมนิ ไดท้ ้งั ระบบและตอ่ เน่ือง เพราะเป็นการประเมินตงั้ แต่บรบิ ท ปจั จัยนาเข้า กระบวนการและ
ผลผลิตรูปแบบนจ้ี ึงสามารถให้ขอ้ มูลค่อนข้างละเอยี ดแกผ่ ู้บรหิ ารในการท่ีจะตดั สินใจทาการ
เปลีย่ นแปลงหรือดาเนนิ โครงการต่อไป จงึ ทาใหร้ ูปแบบนี้เปน็ ทน่ี ิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ทง้ั ในการ
ประเมนิ โครงการและการพฒั นาหลักสตู รในปัจจุบัน

จากการศึกษาแนวคิดผลการวิจัย และรปู แบบการประเมนิ หลกั สตู รแบบต่างๆทาให้
คณะผู้วิจัยเลอื กใชร้ ปู แบบการประเมนิ ผลหลกั สูตรซปิ ป์ “CIPPIEST Model” มาใช้ในการประเมิน
หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กทม่ี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจา
จังหวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564 ครงั้ น้ี เพราะเป็นรูปแบบการประเมินหลกั สตู รทชี่ ่วยในการ
ตัดสนิ ใจครอบคลุมทั้ง 4 ดา้ น คอื 1) ดา้ นบรบิ ท (Context Evaluation) ประเมนิ ความเหมาะสม
เกีย่ วกบั จุดมุง่ หมายของหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กทมี่ ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์
การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พุทธศักราช 2564 2) ดา้ นปจั จยั นาเขา้ (Input Evaluation)
ประเมนิ ความเหมาะสมเกยี่ วกบั โครงสร้างหลกั สูตร เน้อื หาวิชาของหลกั สูตรและส่ิงอานวยความ
สะดวกของหลกั สตู ร 3) ดา้ นกระบวนการ (Process Evaluation) ประเมินความเหมาะสมเกี่ยวกับ
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและการวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษา 4) ดา้ นผลผลติ (Product
Evaluation) ประเมนิ ผลทเี่ กิดจากการใชห้ ลักสูตร โดยพิจารณาดา้ นการนาความรู้ไปใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั

16

2.4 ระยะเวลาการประเมนิ ผลหลักสตู ร
การประเมนิ หลักสูตรที่ดีต้องตรวจสอบเปน็ ระยะเพ่ือลดปัญหาท่ีอาจเกดิ ข้นึ มี

รายละเอยี ดดังน้ี
สันต์ ธรรมบารุง (2527 : 140) ไดเ้ สนอแนะการประเมินผลหลักสูตร โดยท่ัวไปแลว้ จะ

แบ่งออกเป็น 3 ข้ันตอน หรือ 3 ระยะดว้ ยกนั คอื ระยะที่ 1 การประเมินผลหลักสตู รกอ่ นโครงการ
คือ การประเมนิ ผลหลกั สูตรก่อนท่จี ะนาไปใช้ เป็นการประเมินผลหลกั สูตร เมือ่ สรา้ งเสรจ็ แล้วผู้สร้าง
ประเมินดวู า่ ดีหรือไม่เพียงใดมีขอ้ ท่ีควรปรบั ปรงุ อะไรบ้าง อาจจะให้ผเู้ ช่ียวชาญวเิ คราะหห์ รอื วิจยั ดู
ก็ได้ ระยะท่ี 2 ประเมนิ ผลหลักสูตรในขณะท่ีดาเนนิ การว่าหลกั สูตรท่ีทาขึ้นนน้ั นาไปทดลองแลว้ ไดผ้ ล
เพยี งใด เช่น หลักสตู รประถมศึกษา พทุ ธศักราช 2521 มีการทดลองใชต้ ง้ั แต่ปี 2519 และ 2550
เพอื่ หาข้อบกพร่อง อปุ สรรค จะไดแ้ ก้ไขให้เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพต่อไป ระยะที่ 3 ประเมินผล
เมื่อจบโครงการ หรือประเมนิ ผลเม่อื ประกาศใช้หลักสูตรแลว้ เช่น ในปจั จุบันหลกั สูตรประถมศกึ ษา
พทุ ธศักราช 2521 และหลักสูตรมัธยมศกึ ษา พุทธศกั ราช 2521 มกี ารประกาศใชแ้ ล้ว ถ้าจะมีการวิจยั
ศึกษาเกีย่ วกับหลกั การ จดุ ม่งุ หมาย โครงสรา้ ง การเรยี น การสอน การวัดผลก็ตาม จะเป็นการ
ประเมนิ หลักสูตรที่ใช้อยู่เพือ่ จะไดป้ รับปรุงให้ดีข้นึ ต่อไป

สุนยี ์ ภู่พนั ธ์ (2546 : 252) ได้เสนอแนะการประเมินผลหลักสูตร โดยท่วั ไปแลว้ จะแบ่ง
ออกเปน็ 3 ระยะดว้ ยกนั

คือระยะท่ี 1 การประเมนิ หลักสตู รกอ่ นนาหลกั สตู รไปใช้ เปน็ การกาหนดจดุ มุ่งหมายการวดั
และการประเมนิ ผลการเรียนซง่ึ ทาได้ 2 ลักษณะ คือ

1. ประเมินหลกั สูตรเม่ือสรา้ งหลกั สตู รฉบับร่างเสรจ็ แลว้ ก่อนจะนาหลกั สูตร
ไปใชจ้ ริง

2. ประเมนิ หลักสตู รในขัน้ ทดลองใชเ้ พ่ือปรับปรุงสว่ นทข่ี าด หรอื เปน็ ปญั หาใหม้ ี
ความสมบรู ณ์เพื่อประสทิ ธิภาพในการนาไปใช้ต่อไป

ระยะที่ 2 การประเมินหลักสตู รระหว่างการดาเนนิ การใชห้ ลกั สูตร เพ่ือตรวจสอบ
หลักสูตรวา่ สามารถนาไปใชไ้ ดด้ ีเพยี งใดหรือบกพร่องจุดไหน จะไดแ้ กไ้ ขปรับปรุงใหเ้ หมาะสม

ระยะท่ี 3 การประเมินหลักสตู รหลงั การใช้หลกั สตู ร เพ่ือสรุปตัดสินว่าหลักสตู รที่จดั ทาข้นึ
นัน้ ควรจะดาเนินการใชต้ อ่ ไป หรือควรปรบั ปรุงแก้ไขให้ดขี ้ึนหรอื ควรจะยกเลิก

จากการศึกษาระยะเวลาการประเมนิ ผลสามารถสรุปได้เปน็ 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่หนึ่งคือ
การประเมินก่อนการดาเนินการ เป็นการประเมนิ เม่ือเขียนหลกั สตู รเสรจ็ แลว้ พิจารณาว่าดหี รือไม่
เพียงใด โดยอาจใหผ้ ้เู ชยี่ วชาญตรวจสอบอีกครัง้ หรือเป็นการกาหนดจดุ มุ่งหมายการวัดและการ
ประเมนิ ผลการเรยี นก่อนนาไปใช้ ระยะท่ีสองประเมนิ ขณะดาเนนิ การใช้ การนาหลักสูตรไปทดลองใช้
แลว้ ได้ผลเพียงใด เพอ่ื หาข้อบกพร่อง และนามาแก้ไข ปรับรุงตอ่ ไป และระยะทีส่ ามเปน็ การประเมิน
เมอ่ื จบการดาเนนิ การ ประเมินเมื่อประกาศใชห้ ลักสูตรแล้ว ถ้าจะมีการวิจัยเกย่ี วกับองค์ประกอบของ
หลกั สตู ร ควรจะเปน็ การประเมนิ หลกั สูตรที่ใชอ้ ยู่เพ่ือท่จี ะปรบั ปรงุ ให้ดขี ้ึน

17

2.5 เกณฑก์ ารประเมินหลกั สตู ร
นักการศกึ ษาไดเ้ สนอเกณฑท์ ใี่ ชพ้ ิจารณาสาหรบั การประเมนิ หลกั สูตรดงั น้ี
ธวชั ชัย ชยั จริ ฉายากุล (2529 : 226-227) ไดเ้ สนอแนวคิดในการใช้เกณฑ์การประเมิน

หลักสตู รวา่ เกณฑ์ท่ีนามาใช้พิจารณาใหส้ มั พันธก์ บั ผลทีไ่ ด้ท่ีพงึ ปรารถนา กระบวนการของการใช้
หลกั สตู รและความเหมาะสมของหลกั สตู รกบั มาตรฐานทก่ี าหนดไว้ผลท่ีไดร้ บั เป็นองคป์ ระกอบหน่ึงท่ี
ใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินผลการศกึ ษาซึ่งจาแนกไดเ้ ปน็ ผลทีไ่ ดร้ บั ในระยะสน้ั และระยะยาว
ผลทไ่ี ดร้ บั โดยต้งั ใจและไม่ไดต้ ้ังใจตลอดจนจาแนกผลทไี่ ด้รับจากพฤตกิ รรมท่แี สดงออกในสามด้านคือ
พฤติกรรมทางพุทธลกั ษณะจิตลกั ษณะและปฏบิ ัติลกั ษณะกระบวนการเป็นอีกเกณฑ์หน่ึงที่เกย่ี วกบั
กิจกรรมท่เี กิดขนึ้ จากการใช้หรือการเรยี นรูห้ ลกั สูตร โดยพิจารณาในรูปของผลการดาเนินงานอันเป็น
กระบวนการทไ่ี ดว้ างแผนไวก้ ิจกรรมในห้องเรยี นและปฏสิ ัมพนั ธ์เกิดขึ้นจริงหรือไม่ ความเหมาะสมกับ
มาตรฐานเปน็ การประเมนิ โดยการตรวจสอบความเหมาะสมของหลกั สูตรกับมาตรฐานได้มาจาก
ลักษณะหลกั สตู รท่ีพงึ ปรารถนาเชน่ หลกั สูตรทนั สมยั หรอื ไมส่ นองความต้องการของสังคมปจั จบุ ัน
หรือไม่

หรรษา นลิ วเิ ชยี ร (2547 : 198) การประเมินหลักสตู รที่มปี ระสิทธภิ าพควรสอดคล้องกบั
เกณฑ์ตอ่ ไปนี้

1. ความตรงภายใน (Internal validity) มคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ มลู และการบรรยาย
ปรากฏการณ์

2. ความตรงภายนอก (External validity) สามารถลงสรปุ เช่ือมโยงไปยังกลุ่มอืน่ ท่ี
สถานการณ์คล้ายกัน

3. ความเช่ือมน่ั (Reliability) มีความสม่าเสมอระหว่างการวัดหลายครงั้
4. ความเป็นปรนัย (Objectivity) มีความสอดคล้องระหว่างความคิดเห็นของผู้ประเมิน
5. ความสอดคล้อง (Relevance) มีความสอดคล้องกบั จุดประสงคข์ องการประเมิน
6. ความสาคญั (Importance) มีการเก็บข้อมูลท่ีพจิ ารณาแลว้ วา่ สาคัญ
7. ขอบขา่ ย (Scope) ควรครอบคลุมขอบข่ายทมี่ ีประโยชน์เพียงพอ
8. นา่ เชื่อถือ (Credibility) ผลการประเมินและข้อเสนอแนะเชอื่ ถือได้
9. เวลาเหมาะสม (Timeliness) ควรประเมินในเวลาท่ีเหมาะสมไมเ่ รว็ หรอื ชา้ เกินไป
10. ความแพรห่ ลาย (Pervasivenes) บคุ คลที่เกย่ี วข้องรู้และใช้ข้อมลู ท่ีได้จาก
การประเมิน
11. ประสิทธิภาพ (Efficiency) หลักการประเมินเสรจ็ ส้ินแล้วมที างเลอื กทจี่ ะปฏิบตั ไิ ด้
หลากหลายอยา่ งซ่ึงอาจเกย่ี วข้องกบั บคุ ลากรงบประมาณหรือโครงสร้างของโรงเรยี นควรมกี ารกาหนด
เกณฑป์ ระสิทธิภาพเพื่อการนาไปสู่การปฏบิ ตั ิที่เหมาะสม
ชวลิต ชูกาแพง (2551 : 184-187) ไดเ้ สนอแนวคดิ เกย่ี วกับผลการประเมนิ หลกั สตู รจะมี
ความน่าเช่อื ถือเพียงใดอยทู่ ่เี กณฑส์ าหรับการใช้พจิ ารณาตดั สนิ การประเมินหลักสูตรของ
คณะกรรมการประเมนิ หลักสูตรเลอื กใชไ้ ดเ้ หมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ

18

Guba andStufflebeam (1968) Stufflebeam และคณะ (1971) เสนอเกณฑ์ที่ใช้
พิจารณาสาหรับการประเมนิ หลักสตู รดงั นี้

1. ความเทย่ี งตรงภายใน (Internal validity) หมายถงึ การออกแบบการประเมินเพื่อการ
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทาให้ได้ข้อมูลตรงตามวตั ถุประสงค์ทปี่ ระเมนิ ผลของการประเมินตรงตามปรากฏที่
เป็นตวั แทนภายในขอบขา่ ยของการพจิ ารณาอยา่ งถกู ต้องและเปน็ จริง

2. ความเที่ยงตรงภายนอก (External validity) หมายถงึ ผลการประเมนิ หลกั สตู รทไ่ี ด้
สามารถนาไปอา้ งอิงสรปุ ไดก้ วา้ งขวางเพยี งใดเกยี่ วกบั เรื่องเวลาส่งิ แวดลอ้ มภูมิภาคและบคุ คลที่มี
สภาพความคล้ายคลงึ กับกลุ่มท่ปี ระเมนิ

3. ความเช่ือถือได้ (Reliability) หมายถึง ความคงทขี่ องข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้จากการใช้
เคร่ืองมือวัดหลายอย่างผู้ประเมนิ หลกั สูตรควรคานึงถึงความเพียงพอของการเกบ็ หรอื วัดหรอื อาจจะ
ทาการวดั หลาย ๆ ครงั้ หรือวัดคร้ังเดียวดว้ ยเทคนิคการวดั แบบตา่ ง ๆ เพ่ือตรวจสอบความคงท่ีของ
คาตอบเรื่องนี้ผู้ประเมินหลักสูตรต้องเข้าไปเก่ียวข้องกบั การวัดค่อนขา้ งมาก มคี วามละเอียดรอบคอบ
และมีความรับผดิ ชอบ

4. ความเปน็ ปรนยั (objectivity) หมายถึง คนสว่ นใหญม่ คี วามเข้าใจข้อมลู กไ็ ด้จากการ
วัดตรงกนั มากน้อยเพียงไร ผู้ประเมินรวบรวมข้อมลู รายละเอียดและตดั สินใจแปลผลตรงกับบคุ คลท่ี
รว่ มประเมินด้วยความเป็นปรนยั ของการประเมินจึงจะเกิดขึน้

5. ความสอดคล้องสัมพันธ์ (Relevance) หมายถึงข้อมูลที่ได้จากการประเมนิ มีความ
สอดคล้องกับจดุ มงุ่ หมายของการประเมนิ เพยี งไร การกาหนดจดุ มุ่งหมายของการประเมินไว้ชดั เจนจะ
ช่วยใหผ้ ู้ประเมนิ มคี วามระมัดระวังในการเก็บข้อมลู และตรวจสอบตนเองไดเ้ สมอทากจิ กรรมการ
ประเมินสอดคล้องกับประเด็นท่สี ัมพันธก์ ับจุดมุง่ หมาย

6. ความสาคญั (Importance) หมายถงึ การจัดลาดบั ความสาคญั ขององค์ประกอบ
หลกั สูตรทจ่ี ะประเมินการวางแผนเก็บรวบรวมขอ้ มลู วา่ ขอ้ มลู สว่ นใดมีประโยชนม์ ากกว่ากนั เพราะการ
ประเมินหลกั สตู รบางครั้งต้องทาการประเมนิ ท่ีมีลกั ษณะกว้างและลึกการเก็บรวบรวมข้อมลู ถา้ ไม่มี
การจัดลาดับความสาคัญขององคป์ ระกอบหลกั สตู รทีจ่ ะประเมนิ จะทาให้การเก็บข้อมูลในเรอ่ื ง
เดียวกนั จานวนมากซ่ึงต่อมาอาจพบวา่ ข้อมูลทม่ี ีความสาคัญน้อยมจี านวนมากที่ใชใ้ นการสรปุ สว่ นการ
เกบ็ ข้อมลู บางองค์ประกอบของหลกั สูตรที่เก็บข้อมลู มาจานวนนอ้ ยแต่กลบั มีความสาคัญผปู้ ระเมนิ กับ
หลักสตู รตอ้ งถือเป็นความรับผิดชอบทตี่ อ้ งจดั ลาดับความสาคัญให้กบั ขอ้ มลู ท่ีจะไปเกบ็ รวบรวม

7. ขอบข่ายของการประเมิน (scope) หมายถึงระบบและแบบแผนของการประเมินที่จะ
เอื้ออานวยให้ทาการศึกษาได้กวา้ งและลกึ ผูป้ ระเมนิ จะต้องพจิ ารณาอย่างรอบคอบและไมค่ วรหยบิ ยก
วิธกี ารประเมินเพียงอย่างใดอย่างหน่ึงมาใชใ้ นการประเมินหลักสูตร

8. นา่ เชอ่ื ถอื และการยอมรับ (Credibility) หมายถึงผ้ทู ่ีต้องการใชผ้ ลการประเมนิ มีความ
เชื่อถอื ในผปู้ ระเมนิ และยอมรับขอ้ มลู จากผลการประเมนิ ได้มากน้อยเพียงใดเพราะความสัมพันธ์ของผู้
ประเมินหลักสตู รกบั ผใู้ ชก้ ารประเมินหลกั สูตรจะมีอทิ ธพิ ลต่อการประเมินหลักสูตรมาก

9. เวลา (Timeliness) หมายถงึ การรายงานผลการประเมินจะทันใช้เวลาทตี่ ้องการ
หรอื ไม่ การใชเ้ วลาสาหรบั กิจกรรรมการประเมนิ การเขยี นรายงานการประเมินเปน็ รายละเอยี ด
จะต้องใช้เวลามาก อาจจะทาใหพ้ ลาดโอกาสทจ่ี ะใชผ้ ลการประเมินซึง่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การปฏิบตั กิ าร

19

หลกั สูตร การเปลย่ี นแปลงหลักสูตรรวมทงั้ การตดั สินใจหลกั สตู รดังนั้นการเสนอรายงานอาจจะทา
เป็นระยะโดยนาเสนอแบบไม่เปน็ ทางการก็สามารถจะชว่ ยแกป้ ัญหาเก่ียวกับการรายงานผลทถ่ี ้าเกนิ
กว่ากาหนดและไมท่ นั นามาใช้การพิจารณาตัดสนิ

10. ขอบเขตของการใชผ้ ลการประเมนิ (Pewasiveness) หมายถงึ การนาผลการประเมิน
หลกั สตู รไปใช้อยา่ งกว้างขวางและมกี ารเผยแพร่อย่างไร การเขยี นรายงานการประเมนิ หลักสูตร
จะตอ้ งกาหนดเป้าหมายท่ีจะนาเสนอให้ถูกตอ้ งเชน่ ผูบ้ ริหารศกึ ษานิเทศก์ครแู ละคณะกรรมการพฒั นา
หลกั สตู รตอ้ งการทราบและใช้ผลการประเมนิ กวา้ งและลึกในลักษณะที่แตกตา่ งกนั

11. ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) หมายถึงการพจิ ารณาทางเลอื กในการปฏิบัติเม่ือการ
ประเมนิ เสร็จเรียบร้อยทางเลือกน้ันอาจจะเกยี่ วข้องกับผ้รู ว่ มงานคา่ ใช้จา่ ยประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการ
ประเมินหลักสตู รคร้ังนี้ มีทรัพยากรอะไรบา้ งท่สี ูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ทั้ง ๆ ท่กี ารสูญเสียนั้น
สามารถหลกี เลย่ี งได้ มีสถานการณห์ รอื เหตกุ ารณ์อะไรที่เกี่ยวขอ้ งกับการประเมนิ แต่ไม่ไดน้ ามาใช้
ศกึ ษาการดาเนินการประเมนิ ส่วนมากจะพบกับข้อจากัดต่าง ๆ ผ้ปู ระเมนิ หลักสูตรต้องมีความ
ตระหนกั และรบั ผิดชอบต่อจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรได้มาก

3 ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี
3.1 สภาพปจั จบุ ันของสถานศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศจดั ตั้งศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั ให้เป็น

สถานศกึ ษาสงั กดั กองการศกึ ษาเพื่อคนพิการ กรมสามัญศึกษาครบทกุ จงั หวดั เม่ือวนั ท่ี 31 กรกฎาคม
2543 ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั อดุ รธานี จึงได้จดั ตงั้ ขน้ึ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร
สานกั งานช่ัวคราวตง้ั อยู่ทโ่ี รงเรียนศกึ ษาพิเศษอุดรธานีโดยมนี ายอานาจ ชนชนะชัย ผ้อู านวยการ
โรงเรยี นศึกษาพเิ ศษอุดรธานี ปฏิบตั หิ นา้ ท่หี วั หนา้ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี
ปจั จบุ ันศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั อุดรธานี มนี ายพชิ ิต สน่ันเอ้อื เป็นผู้อานวยการศูนย์
การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อดุ รธานีตามคาส่ังสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พื้นฐาน ท่ี
187/2552 ส่ัง ณ วนั ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2552 โดยตง้ั อยู่ภายในโรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวดั อดุ รธานี
ถนนเลย่ี งเมือง ตาบลหนองบัว อาเภอเมือง จงั หวัดอุดรธานี และในปี พ.ศ.2553 ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ
ประจาจงั หวัดอุดรธานี ได้ยา้ ยมาตั้งอยู่ที่ เลขที่ 242 หมู่ที่ 3 บา้ นหนองบุ ตาบลสามพร้าว
อาเภอเมือง จังหวดั อุดรธานี และเปดิ ให้บริการด้านการศกึ ษาพเิ ศษ มาจนถงึ ปจั จบุ นั

3.2 บทบาทหนา้ ทขี่ องศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั อดุ รธานี
3.2.1 จัดและส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาในลักษณะศูนย์บริการช่วยเหลือระยะ

แรกเร่ิม (Early Intervention : EI) และเตรียมความพร้อมของคนพิการเพื่อเข้าสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนเรียนร่วม โรงเรียนเฉพาะความพิการ ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ และ
หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

3.2.2 พัฒนา และฝึกอบรมผดู้ ูแลคนพกิ าร บคุ ลากรทจ่ี ดั การศกึ ษาสาหรับคนพิการ
3.2.3 จัดระบบ และส่งเสริม สนับสนุนการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program : IEP) สิง่ อานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลือ
อ่นื ใดทางการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร

20

3.2.4 จัดระบบบริการช่วงเชอื่ มตอ่ สาหรับคนพิการ (Transitional Services)
3.2.5 ใหบ้ ริการฟืน้ ฟูสมรรถภาพคนพิการโดยครอบครัวและชุมชน ดว้ ยกระบวนการ
ทางการศกึ ษา
3.2.6 เป็นศนู ย์ข้อมูล รวมทัง้ จดั ระบบขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร
3.2.7 จดั ระบบสนบั สนนุ การจัดการเรยี นรว่ ม และประสานงานการจดั การศกึ ษาสาหรับ
คนพิการในจงั หวัด
3.2.8 ภาระหน้าท่ีอ่ืนตามทกี่ ฎหมายกาหนดหรอื ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
3.3 กลุ่มเปา้ หมายท่ีใหบ้ ริการ

ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี ใหบ้ ริการการศึกษากลุ่มเป้าหมายตามท่ี
คณะกรรมการการคดั เลือกและจาแนกความพิการเพอ่ื การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการได้กาหนด
บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องท่ตี ้องการศกึ ษาพิเศษไว้ 9 ประการดังตอ่ ไปนี้

3.3.1 บคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางการเหน็
3.3.2 บคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ นิ
3.3.3 บคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางสติปญั ญา
3.3.4 บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ
3.3.5 บุคคลที่มีปัญหาทางการเรยี นรู้
3.3.6 บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการพูด และภาษา
3.3.7 บุคคลทมี่ ปี ัญหาทางพฤตกิ รรม หรอื อารมณ์
3.3.8 บคุ คลออทสิ ติก
3.3.9 บุคคลพิการซ้อน
1. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเหน็ หมายถึง บุคคลท่ีสูญเสยี การเหน็ ตัง้ แต่ระดับ
เล็กน้อยจนถึงตาบอดสนิทอาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1.1 คนตาบอด หมายถึง คนทส่ี ญู เสียการเหน็ มากจนตอ้ งสอนใหอ้ ่านอักษรเบรลล์
หรอื ใช้วธิ กี ารฟงั เทปหรอื แผน่ เสยี งหากตรวจวัดความชัดของสายตาขา้ งดเี ม่ือแก้ไขแลว้ อยใู่ นระดบั 6
ส่วน 60หรอื 20สว่ น 200 (20/200) ลงมาจนถงึ บอดสนิท (หมายถึง คนตาบอดสามารถมองเห็นวัตถุ
ได้ในระยะหา่ งน้อยกว่า 6 เมตรหรือ 20 ฟตุ ในขณะที่คนปกตสิ ามารถมองเห็นวตั ถเุ ดียวกันไดใ้ น
ระยะ 60 เมตรหรือ 200 ฟตุ ) หรือมีลานสายตาแคบกว่า 20 องศา (หมายถึง สามารถมองเห็นได้
กว้างน้อยกว่า 20 องศา)
1.2 คนเห็นเลอื นลาง หมายถึง คนทส่ี ญู เสียการเหน็ แตย่ ังสามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์
ที่ขยายใหญ่ได้หรือต้องใช้แว่นขยายอ่านหากตรวจวัดความชัดของสายตาข้างดี เม่ือแก้ไขแล้วอยู่ใน
ระดับระหว่าง 6 ส่วน 18 (6/18) หรือ 20 ส่วน 70 (20/70) ถึง 6 ส่วน 60 (6/60) หรือ 20 ส่วน
200 (20/200) หรือมลี านสายตาแคบกวา่ 30 องศา
2. บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ ิน หมายถึง คนท่ีสญู เสยี การได้ยนิ ต้ังแตร่ ะดับรุนแรง
จนถงึ ระดบั นอ้ ยอาจแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
2.1 คนหหู นวก หมายถึง คนทีส่ ญู เสียการไดย้ ินมากจนไมส่ ามารถรบั ข้อมลู ผ่าน
ทางการได้ยนิ ไมว่ ่าจะใสห่ รือไมใ่ สเ่ คร่อื งช่วยฟงั ก็ตามโดยท่ัวไป หากตรวจการไดย้ นิ จะสูญเสียการ

21

ได้ยินประมาณ 90 เดซิเบลขึ้นไป (เดซิเบลเป็นหน่วยวัดความดงั ของเสยี ง หมายถึง เมื่อเปรียบเทยี บ
ระดบั เรมิ่ ไดย้ ินเสียงของเด็กปกตเิ ม่ือเสยี งดังไมเ่ กิน 25 เดซิเบล คนหูหนวกจะเรมิ่ ไดย้ นิ เสียงดงั
มากกวา่ 90 เดซิเบล)

2.2 คนหูตงึ หมายถึง คนท่ีมีการไดย้ นิ เหลืออยู่พอเพียงทีจ่ ะรับข้อมลู ผา่ นทางการ
ได้ยินโดยทว่ั ไปจะใสเ่ คร่ืองชว่ ยฟังและหากตรวจการไดย้ นิ จะพบวา่ มีการสูญเสียการไดย้ นิ น้อยกวา่ 90
เดซิเบลลงมาจนถึง 26 เดซิเบล คือ เมือ่ เปรยี บเทียบระดบั เริ่มไดย้ ินเสียงของเด็กปกตเิ ม่ือเสยี งดังไม่
เกิน 25 เดซิเบล เด็กหูตึงจะเรมิ่ ไดย้ นิ เสียงที่ดังมากกว่า 26 เดซเิ บลขึน้ ไปจนถึง 90 เดซเิ บล

3. บุคคลทม่ี ีความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา หมายถงึ คนทีม่ พี ฒั นาการช้ากว่าคนปกติท่วั ไปเมอ่ื
วดั สติปัญญาโดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานแล้วมีสตปิ ัญญาต่ากว่าบคุ คลปกตแิ ละความสามารถในการ
ปรับเปลย่ี นพฤติกรรมตา่ กว่าเกณฑป์ กติอยา่ งน้อย 2 ทักษะหรือมากกว่า เช่น ทกั ษะการสอ่ื
ความหมายทักษะทางสงั คมทักษะการใช้สาธารณสมบตั ิการดแู ลตนเองการดารงชีวิตในบ้านการ
ควบคมุ ตนเองสุขอนามัยและความปลอดภัยการเรียนวชิ าการเพอื่ ชีวิตประจาวนั การใชเ้ วลาวา่ งและ
การทางานซ่ึงลกั ษณะความบกพร่องทางสติปัญญาจะแสดงอาการกอ่ นอายุ 18 ปี

4. บุคคลที่มีความบกพรอ่ งทางร่างกายหรือสขุ ภาพหมายถงึ คนที่มอี วยั วะไม่สมสว่ นอวยั วะ
ส่วนใดสว่ นหน่ึงหรอื หลายส่วนขาดหายไปกระดูกและกล้ามเนอ้ื พิการเจ็บปว่ ยเรื้อรังรนุ แรงมีความ
พกิ ารระบบประสาทมคี วามลาบากในการเคลื่อนไหว ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในสภาพปกติ ทัง้ น้ี
ไมร่ วมคนที่มีความบกพรอ่ งทางประสาทสัมผัส ได้แก่ ตาบอด หูหนวก อาจแบ่งไดเ้ ป็น 4 ประเภท
คือ

4.1 โรคของระบบประสาท เช่น ซรี บี รลั พลั ซี (Cerebral Palsy) หรอื โรคอัมพาต
เนือ่ งจากสมองพกิ ารโรคลมชกั มัลติเพลิ สเคลอโรซีส (MulitipleSclerosis)

4.2 โรคทางระบบกลา้ มเน้ือและกระดกู เชน่ ข้ออักเสบ เท้าปกุ โรคกระดูกอ่อน
โรคอัมพาต กล้ามเน้ือลีบ หรือมสั ควิ ลาร์ดสิ โทรฟี (Muscular Dystrophy) กระดูกสนั หลงั คด

4.3 การไมส่ มประกอบมาแต่กาเนดิ เช่น โรคศีรษะโตสไปนาเบฟฟิดา (SpinaBifida)
แขนขาด้วนแต่กาเนิดเตี้ยแคระ

4.4 สภาพความพิการและความบกพร่องทางสุขภาพอืน่ ๆ ไดแ้ ก่ สภาพความพิการ
อันเน่ืองมาจากอบุ ตั เิ หตุและโรคตดิ ต่อ เช่น ไฟไหมแ้ ขนขาขาด โรคโปลโิ อ โรคเยือ่ บุสมองอักเสบจาก
เช้ือไวรสั และอันตรายจากการคลอดความบกพร่องทางสขุ ภาพ เชน่ หอบหดื โรคหวั ใจ วัณโรคปอด
ปอดอักเสบ

5. บุคคลท่มี ีปญั หาทางการเรียนรู้ หมายถึง คนทม่ี ีความบกพร่องอย่างใดอยา่ งหนง่ึ หรือ
หลายอย่างในกระบวนการพน้ื ฐานทางจิตวิทยาท่เี กี่ยวกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษาอาจเปน็ ภาษา
พดู และ/หรือภาษาเขียน ซึง่ จะมีผลทาให้มปี ญั หาในการฟัง การพูด การคิด การอา่ น การเขียน การ
สะกดหรือการคิดคานวณรวมทงั้ สภาพความบกพร่องในการรับรูส้ มองไดร้ บั บาดเจบ็ การปฏบิ ตั งิ าน
ของสมองสูญเสียไปซงึ่ ทาให้มีปญั หาในการอ่านและปญั หาในการเขา้ ใจภาษา ท้งั นี้ไม่รวมคนทีม่ ปี ญั หา
ทางการเรยี น เนื่องจากสภาพบกพร่องทางการเหน็ การได้ยินการเคล่ือนไหวปญั ญาออ่ นปัญหาทาง
อารมณ์หรือความด้อยโอกาสเน่อื งจากสง่ิ แวดลอ้ มวัฒนธรรมหรือเศรษฐกิจ

22

6. บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางการพดู และภาษา หมายถึง คนท่มี คี วามบกพร่องในเร่อื ง
ของการออกเสยี งพดู เชน่ เสียงผิดปกติ อัตราความเรว็ และจังหวะการพดู ผดิ ปกติหรอื คนทม่ี คี วาม
บกพร่องในเรื่องความเขา้ ใจและหรอื การใชภ้ าษาพดู การเขียนและหรอื ระบบสัญลกั ษณ์อื่นทีใ่ ช้ในการ
ตดิ ตอ่ สอ่ื สารซ่ึงอาจเกย่ี วกบั รูปแบบของภาษาเนื้อหาของภาษาและหน้าทข่ี องภาษา

7. บคุ คลที่มปี ญั หาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ หมายถึง คนทมี่ ีพฤตกิ รรมเบยี่ งเบนไปจาก
ปกตเิ ปน็ อย่างมากและปัญหาทางพฤติกรรมน้ันเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนือ่ งไม่เป็นท่ียอมรบั ทางสงั คมหรือ
วัฒนธรรม

8. บุคคลออทิสตกิ หมายถงึ บคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางพัฒนาการดา้ นสงั คมภาษาและ
การสือ่ ความหมายพฤติกรรมอารมณ์และจินตนาการ ซึง่ มีสาเหตเุ นอื่ งมาจากการทางานในหน้าท่ี
บางส่วนของสมองที่ผิดปกติไปและความผิดปกตนิ ้ีพบได้กอ่ นวัย 30 เดอื น และมีลักษณะทส่ี าคัญคือ
มคี วามบกพร่องทางปฏิสมั พันธ์ทางสงั คมการสอื่ สารพฤติกรรมและอารมณ์การรับรทู้ างประสาทสัมผัส
ทง้ั ห้า การใชอ้ วัยวะต่างๆ อย่างประสานสมั พันธ์การจนิ ตนาการและมีความสนใจทสี่ ั้น เปน็ ต้น

9. บคุ คลพกิ ารซ้อน หมายถงึ คนท่ีมีสภาพความบกพรอ่ งหรอื ความพกิ ารมากว่าหนึ่ง
ประเภทในบคุ คลเดียวกันเชน่ คนปัญญาออ่ นทสี่ ูญเสียการไดย้ ิน เปน็ ต้น

3.4 มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศนู ย์การศึกษาพิเศษพ.ศ. 2561 มีจานวน 3
มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น

1.1 ผลการพฒั นาผเู้ รยี น
1) มพี ฒั นาการตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกถงึ ความรู้

ความสามารถ ทักษะตามทรี่ ะบไุ วใ้ นแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการให้บริการ
ช่วยเหลอื เฉพาะครอบครัว

2) มคี วามพร้อมสามารถเข้าสู่บรกิ ารช่วงเชอ่ื มต่อหรอื การส่งตอ่ เข้าสู่
การศกึ ษาในระดับทสี่ ูงข้นึ หรือการอาชีพหรือการดาเนนิ ชีวิตในสังคมไดต้ ามศักยภาพของแต่ละบุคคล

1.2 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของผเู้ รียน
1) มีคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
2) มคี วามภมู ิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย ตามศักยภาพของผู้เรยี นแต่

ละบคุ คล
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

2.1 มเี ปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกิจท่สี ถานศึกษากาหนดชัดเจน
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสตู ร
สถานศึกษาและทกุ กล่มุ เป้าหมาย
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้อย่าง
มีคณุ ภาพ

23

2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั

3.1 จัดการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในชวี ติ ได้

3.2 ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้
3.3 มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ
3.5 มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การ
จัดการเรยี นรู้

4 งานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง
4.1 งานวจิ ัยในประเทศ
กฤติกา อนแุ สน (2558) ได้ประเมนิ หลักสตู รEnglish/Science/ Communication

ของโรงเรยี น สาธิตมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝา่ ยประถม) โดยใชร้ ูปแบบการประเมนิ แบบซิปป
(CIPP Model) ไดแ้ ก การประเมนิ ด้านบรบิ ท เกย่ี วกบั จดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร การประเมนิ ดา้ น
ปจั จยั เบือ้ งต้น โดยประเมินจาก โครงสร้างหลักสูตร เน้อื หาสาระของหลักสูตร กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
ความรู้ ความสามารถของผู้บรหิ ารและครู ความพร้อมของอาคารสถานที่ ความร่วมมือของชมุ ชน
ดา้ นครูผู้สอน และสื่อการเรยี นรู การประเมนิ ด้านกระบวนการ โดยประเมินเกย่ี วกับการเตรยี มการใช้
หลกั สูตร การดาเนนิ การใชห้ ลักสูตร การติดตามการใช้หลักสตู ร และการวดั และประเมินผลการ
จัดการเรยี นรู้ และการประเมินด้านผลผลติ เกยี่ วกับด้านรางวัล/เกยี รติยศและการยอมรับของชมุ ชน
ผลการวิจยั สรุปไดว้ ่า การประเมินในทุกดา้ นมผี ลการประเมินเฉลี่ยอยู่ในระดบั มาก ในด้านบรบิ ท
จุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รได้รับการประเมินในระดบั มาก ในด้านปจั จัยเบ้อื งต้น ในสว่ นของโครงสร้าง
หลกั สูตร เนอ้ื หาสาระของหลักสตู ร กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ความรู้ความสามารถ ของผู้บริหารและครู
ความพร้อมของอาคารสถานท่ี ความร่วมมือของชมุ ชน ด้านครผู ู้สอนและสื่อการเรยี นรู้ มีผลการ
ประเมนิ เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ในด้านกระบวนการเกย่ี วกับการเตรยี มการใช้หลักสตู ร การดาเนนิ การ
ใชห้ ลักสตู ร การติดตามการใช้หลักสูตร และการวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ มีผลการ
ประเมินเฉลย่ี อยใู่ นระดบั มาก ในด้านผลผลติ เกี่ยวกบั ด้านรางวัล/เกยี รตยิ ศและการยอมรบั ของชมุ ชน
มผี ลการประเมินเฉลี่ยอยู่ในระดบั มากและมากที่สุด

นุชวนา เหลืองอังกูร และคณะ (2545 : 33 - 76) ไดป้ ระเมินหลกั สตู รการศกึ ษา
มหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม มคี วามมุ่งหมายเพื่อประเมนิ หลกั สูตรการศึกษามหาบัณฑติ
(กศ.ม.) ของมหาวิทยาลยั มหาสารคาม กลุม่ ตัวอยา่ งประกอบดว้ ย มหาบัณฑิตทส่ี าเรจ็ การศึกษา
ปกี ารศึกษา 2544 จานวน 327 คน และผู้บงั คับบญั ชาของมหาบัณฑติ 49 คน เครอื่ งมือท่ีใช้
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู คือ แบบสอบถามจานวน 2 ชดุ ผลการวจิ ยั ปรากฏดงั น้ี 1. เน้ือหาสาระของ
หลักสูตร สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการทางาน ช่วยพัฒนา ด้านความรู้ความเขา้ ใจ มีความทันสมยั
เหมาะสมกับสภาพสังคมในปัจจุบัน จานวนหน่วยกติ ของหลักสูตรเหมาะสมกบั เนื้อหาวชิ าและ
รายวชิ าท่กี าหนดให้เรยี น ชว่ ยให้บรรลุจดุ มงุ่ หมายของหลักสูตรในระดบั มาก 2. การจดั กจิ กรรม

24

การเรยี นการสอน ด้านการวางแผนการสอน การเตรียมตวั สอน การเนน้ การนาไปปฏิบัติได้จริง เน้น
ผเู้ รียนเป็นสาคญั การจัดกจิ กรรมการเรยี นที่หลากหลาย การให้งาน และการศึกษาด้วยตนเอง
มีความเหมาะสมระดับมาก 3. ด้านการวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน มีการวดั ผลทห่ี ลากหลาย
เครื่องมือท่ีใชว้ ัดและประเมนิ ผลมคี วามเหมาะสม ผู้สอนนาผลการประเมนิ ปรับปรงุ การเรียนการสอน
และผู้เรียนพอใจในวธิ ีการวดั และประเมินผลในระดับมาก วธิ วี ัดและประเมินมีความยตุ ธิ รรมในระดับ
ปานกลาง 4. มหาบณั ฑติ โดยรวม และทุกสาขาวิชาเห็นว่า มคี วามรู้ความสามารถทางวชิ าการ
ความสามารถในการปฏบิ ัติหน้าท่ี บคุ ลิกภาพ การปรบั ตวั ต่อหนว่ ยงาน และความสามารถพเิ ศษด้าน
ต่าง ๆ ในระดับมาก 5. มหาบณั ฑติ มีความพึงพอใจต่อการเรยี นระดับปริญญาโทท่ีมหาวิทยาลัย
มหาสารคาม อยู่ในระดับมาก 6. มหาบัณฑติ ได้รบั ประโยชน์จากการเรยี นระดับปริญญาโท
ทม่ี หาวิทยาลัยมหาสารคาม อยู่ในระดับมาก 7. มหาบณั ฑติ ภาคภูมใิ จที่ได้เรยี นและสาเรจ็ การศกึ ษา
ระดับปริญญาโท ที่มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม อยู่ในระดับมาก

ศยามา ศรมยุรา (2545) ได้ศึกษาวิจัยเรอื่ ง การประเมนิ การใช้หลักสูตรการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของโรงเรียนนาร่องและโรงเรียนเครือข่ายการใช้หลกั สูตร สงั กัด
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตภูมิภาคตะวันตก โดยใช้รูปแบบการประเมนิ ซิปป์
(CIPP Model ) ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั คอื โรงเรียนเอกชนทเี่ ป็นโรงเรยี นนาร่องและโรงเรียน
เครอื ข่ายการใช้หลกั สตู ร ภาคการศกึ ษาต้น ปีการศกึ ษา 2545 เขตภูมิภาคตะวนั ตก จานวน 19
โรงเรียน ผู้ให้ข้อมลู แบ่งเปน็ 4 กลุ่ม คอื กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มครผู ู้สอน และกลุ่มคณะกรรมการบริหาร
หลกั สูตร ฯ และกลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน รวม 114 คน ผลการวจิ ัยพบว่าดา้ นบริบท
ปัจจยั ภายในและภายนอกของสถานศึกษา จดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร โครงสร้างของหลักสตู ร และ
สาระการเรยี นรู้ของหลักสตู ร โดยภาพรวมของสถานศึกษาเขตภูมิภาคตะวนั ตกมีการปฏบิ ัตอิ ยู่ใน
เกณฑป์ านกลาง ด้านปัจจยั เบื้องต้น คุณลักษณะของครู คุณลักษณะของนกั เรียน และส่ือการเรียนรู้
โดยภาพรวมของสถานศึกษาเขตภมู ิภาคตะวันตกอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ด้านกระบวนการ การจัดทา
หลกั สูตรสถานศึกษา การบริหารหลักสตู ร การจดั การเรยี นรู้ และการวดั และประเมินผล โดยภาพรวม
ของสถานศกึ ษาเขตภูมิภาคตะวนั ตกมีการปฏบิ ัตอิ ยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ด้านผลการปฏิบตั ติ าม
กระบวนการ การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา การบรหิ ารหลักสูตร การจดั การเรียนรู้ และการวัดและ
ประเมนิ ผล โดยภาพรวมของสถานศึกษาเขตภูมิภาคตะวันตกมีผลการปฏบิ ตั ิอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง

ศมานันท์ รฐั ธนะรชั ต์ (2547) ได้ศกึ ษาวิจยั เร่อื งประเมินหลักสตู รสถานศึกษากลุ่ม
สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชว่ งชน้ั ที่ 6 โรงเรยี นอสั สมั ชัญธนบรุ ี ด้านบรบิ ท ด้านปัจจยั นาเข้า
ด้านกระบวนการ และด้านผลผลติ โดยใช้รปู แบบการประเมินหลักสตู รแบบ CIPP Model กลมุ่
ตัวอย่างท่ใี ช้ในการวิจัย จานวน 600 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร 4 คน ครผู ู้สอน 4 คน
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 7 คน นกั เรยี น 102 คน และ ผู้ปกครอง 303 คน เคร่ืองมือท่ีใช้
ในการวิจยั ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉล่ีย (x)
ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวเิ คราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวจิ ยั พบว่า
หลักสูตรสถานศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นท่ี 2 โรงเรียนอสั สัมชัญธนบุรี มคี วาม
เหมาะสมในระดบั มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านบรบิ ท ด้านปัจจยั นาเขา้ และดา้ นผลผลิต
มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านกระบวนการ มีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง

25

ด้านบรบิ ทหลกั สูตร พบว่า ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ จดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร โครงสร้างหลกั สูตร
ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง มคี วามเหมาะสมมาก แต่ควรปรบั ปรุง สาระการเรยี นรู้ และด้านปัจจยั นาเขา้
พบว่า คุณสมบตั ิ ของผู้เรียน คุณสมบตั ิครูอาจารย์ คุณสมบตั ผิ ู้บรหิ าร ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ อาคาร
สถานท่ี งบประมาณ มีความเหมาะสมมาก แต่ควรปรบั ปรุง จานวนเวลาเรียน ด้านกระบวนการ
พบว่า การบริหารหลักสตู ร การประกันคุณภาพการศึกษา มีความเหมาะสมมาก แต่ควรปรับปรุง
การจดั การเรยี นรู้ และการวดั และประเมินผล ด้านผลผลิต พบว่า ผลการเรียนรู้ คณุ ลักษณะที่พงึ
ประสงค์ มีความเหมาะสมมาก แตค่ วรปรับปรงุ ความสามารถในการทาผลงานวิทยาศาสตร์ และ
เสริมสร้างความพึงพอใจต่อวิชาวทิ ยาศาสตร์

ธรรมรงค์ ภูนาชัย (2547 : 46 - 104) ได้ประเมนิ หลักสูตรการศกึ ษามหาบัณฑติ
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
ประเมนิ หลกั สูตรการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย
มหาสารคาม หลักสตู รฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2539 กลุ่มตวั อยา่ งประกอบด้วยอาจารยผ์ สู้ อนรายวชิ า
ตามโครงสร้างของหลักสูตร จานวน 7 คน นิสติ จานวน 44 คน มหาบัณฑิต จานวน 114 คน
ผู้ร่วมงานของมหาบัณฑติ จานวน 113 คน และหัวหน้างานหรอื ผบู้ งั คบั บญั ชาของมหาบัณฑิต จานวน
15 คน รวมทงั้ สิน้ 293 คน ดาเนนิ การประเมิน โดยใช้ CIPP Model เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการเกบ็
รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วเิ คราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยหาความถี่
ร้อยละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมลู เชงิ คุณภาพโดยการวิเคราะห์เนือ้ หา
ผลการวจิ ยั ปรากฏดงั นี้ 1. ดา้ นบรบิ ท วัตถุประสงค์ เน้ือหาวชิ าของหลกั สูตร มคี วามชัดเจน
สอดคลอ้ งกับสงั คมปัจจุบนั และสามารถนาไปปฏบิ ัติไดจ้ ริงในระดบั มาก ควรมีการปรับปรงุ ในเรอ่ื ง
โครงสร้างรายวชิ า และเนื้อหาวิชาทคี่ ลา้ ยคลึงกัน และเพิ่มรายวิชาเลือกเก่ยี วกับระเบียบวิธีวิจยั
การใชเ้ ทคโนโลยีและการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการบรหิ ารและการส่ือสาร 2. ดา้ นปัจจยั เบื้องต้น
มคี วามเหมาะสมในระดบั มาก ยกเวน้ ด้านภาระงานของอาจารยผ์ ้สู อน และดา้ นวัสดุ อุปกรณ์
ตาราเรยี นและสถานที่เรียน ควรมีการปรับปรงุ 3. ดา้ นกระบวนการ มคี วามเหมาะสมในระดับมาก
ควรปรับปรงุ ในเรอื่ งการทาแผนการนิเทศ และการพฒั นาบุคลาการอย่างต่อเนื่อง ระบบการคัดเลือก
นิสติ การบริการด้านต่าง ๆ เช่น การลงทะเบียนเรยี น การตอบปญั หาข้อขัดข้องใจตา่ ง ๆในการศึกษา
ให้มคี วามสะดวกรวดเร็วและชัดเจนยิ่งขึ้น 4. ดา้ นผลผลติ ของหลักสูตร คณุ ภาพของมหาบัณฑิต
มีความเหมาะสมในระดับมาก ตรงตามความต้องการของหลักสตู ร

ภทั ราวรรณ ฤทธิวงศ์ (2547 : 36 - 102) ไดป้ ระเมนิ หลักสูตรการศกึ ษามหาบัณฑิต
สาขาวชิ าการวจิ ยั การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มคี วามมุ่งหมายเพอ่ื ประเมินหลักสตู ร
การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลยั มหาสารคามโดยใช้รูปแบบซิปป์
(CIPP Model) เปน็ กรอบในการประเมิน กลุ่มตวั อยา่ งทใี่ ช้ในการวจิ ยั มที ั้งส้นิ 242 คน ประกอบด้วย
อาจารยผ์ สู้ อนในหลกั สูตร จานวน 2 คน นสิ ติ ปรญิ ญาโททเ่ี ขา้ ศกึ ษาในหลกั สูตร จานวน 38 คน
มหาบณั ฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาตามหลกั สตู ร จานวน 64 คน ผูบ้ งั คับบญั ชาของมหาบัณฑติ จานวน 64
คน และเพ่อื นรว่ มงานของมหาบณั ฑติ จานวน 64 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ประกอบดว้ ย แบบประเมนิ ชนิดมาตรส่วนประมาณค่า และแบบสมั ภาษณ์ สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์
ข้อมูลคอื ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ยั สรุปได้ดงั นี้ 1. ด้านบรบิ ท มคี วามเหมาะสม

26

โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาแต่ละประเดน็ ปรากฎว่าอยู่ในระดับมากทุกประเด็นไดแ้ ก่
วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตรและเนื้อหาสาระของหลกั สตู ร 2. ดา้ นปจั จยั ปอ้ น
มคี วามเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมอื่ พิจารณาแต่ละประเดน็ ปรากฏว่า อยู่ในระดบั มากทุก
ประเดน็ ได้แก่ คุณลักษณะของผเู้ รียน ด้านคุณลกั ษณะของอาจารยผ์ สู้ อน และวสั ดุการศกึ ษา สื่อ
ตาราเรยี น และสถานทีเ่ รียน 3. ด้านกระบวนการมคี วามเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก
เม่ือพจิ ารณาแต่ละประเดน็ ปรากฏวา่ อยใู่ นระดบั มากทุกประเด็น ได้แก่ กระบวนการจดั การเรียน
การสอน การวดั และประเมนิ ผล และการบรหิ ารจัดการหลักสูตร 4. ดา้ นผลผลติ มคี วามเหมาะสม
โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก เม่ือพจิ ารณาแตล่ ะประเดน็ ปรากฏวา่ อยู่ในระดบั มากทุกประเด็น ไดแ้ ก่
ความรู้ความสามารถดา้ นการวิจยั การศึกษาของมหาบัณฑติ ความเปน็ ผูน้ าดา้ นการวจิ ัยของ
มหาบณั ฑิต ความกา้ วหน้าดา้ นผลงานการวจิ ัยและการสนองความตอ้ งการกาลังคนสาขาวจิ ยั
การศกึ ษา

อานิน สขุ ณะล้า (2548 : 96 - 98) ได้ศึกษาการประเมนิ หลักสูตรการศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หลักสูตร
พทุ ธศักราช 2544 โดยใช้รปู แบบซิปป์ (Cipp Model) กล่มุ ตัวอย่างทีใ่ ชใ้ นการวิจัย จานวน 361 คน
ประกอบด้วย อาจารยผ์ ู้สอน จานวน 14 คน นสิ ิต จานวน 137 คน มหาบณั ฑิตจานวน 70 คน
ผูบ้ ังคบั บญั ชาของมหาบัณฑติ จานวน 70 คน และเพื่อนรว่ มงานของมหาบัณฑิตจานวน 70 คน
เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลมี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
ผลการวจิ ยั สรปุ ได้ดังน้ี 1. ด้านบรบิ ท อาจารยผ์ สู้ อน นสิ ิตมหาบัณฑติ และมาบัณฑิต มคี วามเหน็ ว่า
วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตรมคี วามสมอยใู่ นระดับมาก จดุ เด่นของหลักสูตรมคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ ง
ชดั เจนและทนั สมยั บุคลากรมคี วามรคู้ วามสามารถในการสอน จดุ ออ่ นของหลกั สตู ร คือ เวลาใน
การเรยี นการสอนมีน้อย แหล่งศกึ ษาคน้ ควา้ อย่ไู กล เอกสารค้นควา้ และอ้างอิงมีน้อยในส่วนปัญหา
และความต้องการคือ การติดตอ่ กับอาจารย์ผู้สอนเพ่ือแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นมีน้อยควรมีเวลาพบ
อาจารยท์ ่ปี รึกษาเพื่อรับฟงั คาแนะนามากขนึ้ และควรมีสื่อและอปุ กรณ์อย่างเพยี งพอเน้นการนา
หลักสูตรไปปรบั ปรุงใช้สถานศกึ ษา 2. ด้านปัจจัยเบือ้ งต้น อาจารยผ์ สู้ อน นสิ ติ มหาบัณฑิต และ
มหาบัณฑติ มคี วามคิดเหน็ วา่ โครงสรา้ งของหลักสูตร เนอ้ื หาของหลักสูตร และสงิ่ อานวยความสะดวก
มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับมาก สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการทางานมคี วามทนั สมยั เหมาะสมกับ
ภาพสังคมปจั จบุ นั จานวนหน่วยกติ หลกั สตู รเหมาะสมกบั เน้อื หาวิชาและรายวชิ า ชว่ ยให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 3. ดา้ นกระบวนการ อาจารย์ผู้สอน นสิ ิตมหาบัณฑิต และมหาบณั ฑติ
มคี วามคดิ เหน็ วา่ โครงสร้างของหลักสตู ร เนื้อหาหลักสูตร และสิ่งอานวยความสะดวก มีความ
เหมาะสมอย่ใู นระดบั มาก โดยสอนเน้นในการนาไปปฏิบัติจริง เนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ จดั กจิ กรรมท่ี
หลากหลายมีการวัดผลและประเมนิ ผลหลายรปู แบบ สอดคลอ้ งกับเน้ือหา 4. ด้านผลผลติ อาจารย์
ผสู้ อน ผู้บงั คบั บัญชามหาบัณฑิต และผรู้ ว่ มงานมหาบัณฑิตมีความเหน็ ว่าคุณภาพมหาบัณฑิตอยู่ใน
ระดับมาก สามารถปฏบิ ัตหิ น้าทไ่ี ด้ดี มีความรบั ผดิ ชอบมีมนุษย์สัมพนั ธด์ ี รว่ มมือและประสานงานเพอื่
รว่ มงานได้ มีความซ่อื สัตยส์ ุจรติ มรี ะเบียบวนิ ยั มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีความรูค้ วามสามารถ
พิเศษ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการปฏิบัติหนา้ ทไ่ี ดเ้ ปน็ อยา่ งดี เป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ อง
หลักสูตร

27

บญุ ชม ศรีสะอาด และอรนุช ศรีสะอาด (2551 : 40 - 75) ไดศ้ ึกษาการประเมิน
หลักสตู รการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารและพฒั นาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัย
มหาสารคาม ประชากรทใ่ี ชใ้ นการวิจัย ประกอบด้วย อาจารย์ผ้สู อน 13 คน ดุษฎบี ัณฑิต จานวน 5
คน นสิ ิตดษุ ฎบี ัณฑติ 66 คน และผูบ้ ังคับบัญชาดษุ ฎบี ัณฑิต จานวน 5 คนรวมทง้ั ส้ิน 89 คน
เครอ่ื งมอื ในการทาวิจยั ไดแ้ ก่ แบบประเมินหลกั สูตรจานวน 4 ฉบบั ผลการวิจัยพบวา่ ปรชั ญาและ
จดุ มุง่ หมายของหลักสตู ร จานวนหน่วยกติ ท่เี รียนรายวิชาที่เรยี นชว่ งเวลาที่เรียนและเวลาเรียนตลอด
หลักสตู รมคี วามเหมาะสมในระดับมาก มีความสะดวกในการใช้อปุ กรณห์ รือบรกิ ารตา่ ง ๆ ของ
อาจารย์ผู้สอนในระดับมาก มีสงิ่ อานวยความสะดวกสาหรับนิสิตโดยรวมในระดบั มาก นสิ ติ ได้รบั
ประโยชน์ท่ีได้จากการเรยี นรายวิชาต่าง ๆ 11 รายวิชา ในระดบั มาก นสิ ิตมีคุณภาพในระดับมาก
มกี ารจดั การเรยี นการสอนหรือประสบการณ์การเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมคี ณุ ภาพในระดับมาก ผ้บู งั คับบัญชา
หรอื หวั หน้างานของนิสติ ทีส่ าเร็จการศึกษา ประเมินว่าผูส้ าเรจ็ การศึกษามีความร้คู วามสามารถในดา้ น
ต่าง ๆ ระดับมาก และมคี ุณลักษณะตา่ ง ๆ โดยรวมในระดับมาก ดุษฎีบัณฑติ ประเมนิ ว่าหลักสตู รน้ี
บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ทั้ง 5 ขอ้ ในระดับมากที่สดุ

รนิ ทรน์ ภสั เกษศรรี ตั น์ (2552 : 130 - 131) ได้ประเมนิ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช 2546 ในสถานศึกษาสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 โดยใช้ CIPP
Model เปน็ กรอบแนวคิดในการประเมิน ผลการประเมินสรุปได้ดังน้ี 1. ด้านบรบิ ท ประกอบด้วย
โครงสร้างของหลักสตู ร จดุ มุ่งหมายของหลกั สตู รมคี วามเหมาะสมในระดับมาก ซง่ึ ผา่ นเกณฑ์
2. ดา้ นปจั จยั เบ้อื งตน้ ประกอบด้วย บริเวณอาคารสถานท่ี สภาพห้องเรียนเครื่องมอื สื่อวัสดุอปุ กรณ์
และความพรอ้ มของครปู ระจาช้ัน มีความเหมาะสมในระดับมาก ซง่ึ ผ่านเกณฑ์ 3. ด้านกระบวนการ
ประกอบด้วย กจิ กรรมการสอน 6 กจิ กรรมหลกั วธิ กี ารวดั และประเมินพฒั นาการ การนิเทศ มคี วาม
เหมาะสมในระดับมาก ซ่งึ ผ่านเกณฑ์ 4. ด้านผลผลติ ประกอบดว้ ย คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มคี วามเหมาะสมในระดับมาก ซ่งึ ผ่านเกณฑ์

4.2 งานวจิ ัยต่างประเทศ
Neville (1999 : 963-A) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการประกันคุณภาพ

การศกึ ษาและการวางแผนปรับปรุงโรงเรยี นของคณะกรรมการการศึกษาแหง่ รฐั อลิ ลินอยสอ์ ันเปน็
กรอบสาหรบั การวางแผนปรับปรุงโรงเรยี นของรัฐ การศกึ ษาไดห้ าทางกาหนดขอบเขตท่ีนกั การศึกษา
มคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การวางแผนปรับปรุงโรงเรยี น อันเป็นวิธที ่จี ะให้ไดร้ ับความสาเรจ็ ในการปรบั ปรุง
โรงเรียนของตน โครงการศกึ ษาครัง้ นีแ้ บ่งออกเป็น 3 ระยะ แต่ละระยะมวี ธิ ดี าเนินการตา่ งกันตาม
ขัน้ ตอนเพ่ือเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการวิเคราะหข์ ้อมลู ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ (1) กิจกรรมท่ี
สัมพนั ธก์ ับโปรแกรมการประกันคุณภาพการศึกษาและการวางแผนปรับปรุงโรงเรยี นน้นั สนบั สนุน
ความเข้าใจในประโยชน์ของการรวมกันปฏบิ ัตมิ ากขนึ้ (2) กรอบงานของรฐั ไมไ่ ด้ทาให้ภาระทาง
เทคนคิ ของการวางแผนการปรับปรุงสาหรบั โรงเรียนเหลา่ นัน้ ก้าวหน้าขนึ้ ไป (3) การสนทนาเก่ียวกับ
หลักสตู รซึง่ สัมพันธ์กับกิจกรรมการสังเกตเข้ารวมงานและสัมพนั ธก์ บั โอกาสนน้ั ไดร้ ับการสนับสนุน
จากการเขา้ เก่ยี วข้องกับโปรแกรมการประกนั คณุ ภาพการศึกษาและวางแผนการปรับปรุงโรงเรยี นแต่
ไม่มีหลักฐานยืนยนั ว่าโปรแกรมนกี้ ่อให้เกดิ การเปล่ียนแปลงหลกั สตู รอยา่ งกระฉบั กระเฉง (4) บทบาท
ของคะแนนจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบมาตรฐานในระบบโรงเรยี นอันเป็นตัวบง่ ชเี้ บ้อื งต้นของ

28

การปรบั ปรงุ โรงเรียนนน้ั นบั ว่ามีนยั สาคญั (5) ภาพลักษณข์ องคณะกรรมการการศึกษาแห่งรัฐ
อิลลนิ อยสไ์ ด้ปรบั ปรุงตนในท่ีตง้ั ของโรงเรียนเหล่านีแ้ ต่ละโรงอันเป็นผลของลกั ษณะและการนาการ
รเิ รม่ิ โครงการความรับผิดชอบน้ไี ป

Minggucci (2002 : 451-A) ไตศ้ ึกษาการประเมินผลของการวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารทมี่ ี
ตอ่ การพัฒนาวชิ าชพี ของครูภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาทส่ี องระดับหลังมัธยมศึกษา จานวน 8 คน ผรู้ ่วม
วจิ ยั ที่ทางานในโปรแกรมการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองในมหาวทิ ยาลัยวทิ ยาลัยชุมชนได้อาสา
ดาเนนิ การวจิ ยั เชิงปฏบิ ัติการในขน้ั เรยี นวิชาการเขยี นภาษาเป็นเวลา 2 ภาคเรียนตติ ต่อกัน ผู้ศึกษาได้
สารวจวา่ ผบู้ ริหารการศกึ ษาสามารถส่งเสริมการสรา้ งชุมชนการเรยี นรดู้ า้ นการศึกษา โดยเขา้ ร่วม
เกี่ยวข้องกบั วิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารครง้ั นไี้ ด้อย่างไร และไดศ้ ึกษาปัญหาทว่ี ่าการวิจัยเชงิ ปฏิบัติการหรือ
การทาวิจยั ในชน้ั เรยี นของครูซึ่งเปน็ นิยามง่ายกว่าเปน็ การสืบเสาะท่ีครูดาเนนิ การเพื่อใหเ้ ขา้ ใจและ
ปรบั ปรุงการปฏิบัตขิ องตนนน้ั สามารถให้ประสบการณ์ในการพัฒนาวชิ าชพี ซ่งึ ผูว้ ิจัยรับรวู้ า่ มี
ความหมายต่อการสอนของตนมากกว่าหรือไม่ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้หลายวิธี ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม
การสมั ภาษณ์ และจดบนั ทึกสภาพ รวมท้ังบนั ทึกเรอ่ื งส้นั ๆ ดว้ ยผลการศึกษาพบว่า ครูที่ร่วมวิจยั ได้
ประโยชน์หลายดา้ นจากการฝึกปฏบิ ัติไดแ้ กก่ ารมีความเช่ือในตนเองและทางวิชาชพี อน่ื ๆ อนั เปน็ ผล
มาจากทาโครงการวิจัยในชัน้ เรียนนอกจากนย้ี งั มหี ลกั ฐานยืนยนั วา่ การวจิ ัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารสามารถชว่ ย
สรา้ งชมุ ชนการเรยี นรดู้ า้ นการศึกษาได้ ผู้ร่วมวิจัยมีการอภปิ รายร่วมกนั ในโครงการวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการ
อนื่ ๆ ทาให้มสี ว่ นร่วมแบ่งปนั ในปัญหา มีการเรยี นรจู้ ากเพ่ือน มปี ฏิสมั พันธก์ ับเพื่อนในเชงิ สร้างสรรค์
ผลงาน

29

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนนิ กำรวิจัย

ในการวิจัยครงั้ นี้ ผู้วจิ ัยไดด้ าเนินการศึกษาการประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กท่มี ี
ความต้องการจาเปน็ พิเศษ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั อดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564 ซง่ึ มายละเอียด
ในการดาเนินการตามลาดับดังน้ี

1. กล่มุ เป้าหมาย
2. เคร่อื งมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
3. ขน้ั ตอนในการสร้างและหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การจดั กระทาข้อมลู และการวิเคราะหข์ ้อมลู
6. สถติ ิที่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู

กล่มุ เปำ้ หมำย

กล่มุ เป้าหมาย คือ ครูผสู้ อนของศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี จานวน 49 คน
ประกอบด้วยข้าราชการครู จานวน 34 คน พนักงานราชการ จานวน 12 คน และครูอตั ราจ้าง จานวน 3
คน

เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นกำรเก็บรวบรวมข้อมูล

เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั ในครงั้ นี้ เปน็ แบบสอบถามทผ่ี วู้ จิ ยั สรา้ งขนึ้ เอง เพื่อประเมนิ การใช้

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ท่มี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัด

อดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564 แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน

ตอนที่ 1 เปน็ แบบสอบถามข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามเปน็ แบบตรวจสอบรายการ

(Check list) จาแนกตามเพศ อายุ และประสบการณใ์ นการทางาน

ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกบั หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่มี คี วามตอ้ งการ

จาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พุทธศกั ราช 2564 ตามความคิดเห็นของ

ครผู สู้ อน ประกอบไปดว้ ย 4 ด้าน

1. ด้านบรบิ ท จานวน 4 ข้อ

2. ดา้ นปัจจัยเบอื้ งต้น จานวน 21 ขอ้

3. ดา้ นกระบวนการ จานวน 20 ข้อ

4. ด้านผลผลติ จานวน 4 ข้อ

ลกั ษณะแบบสอบถาม มลี กั ษณะเป็นมาตรสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) มี 5 ระดับ ตามวธิ ี

ของลิเคิร์ท (Likert, 1967 , pp. 90-95) ดังนี้

30

5 หมายถึง มีความความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด
4 หมายถงึ มีความความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก
3 หมายถงึ มีความความเหมาะสมอยู่ในระดบั ปานกลาง
2 หมายถึง มีความความเหมาะสมอยู่ในระดบั น้อย
1 หมายถงึ มีความความเหมาะสมอยู่ในระดับน้อยท่ีสดุ
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและความคดิ เห็นทว่ั ไปเกี่ยวกบั หลักสตู ร มลี ักษณะปลายเปดิ (Open
End) จานวน 1 ข้อ

ข้นั ตอนในกำรสร้ำงและหำคุณภำพของเครอ่ื งมอื

ผวู้ จิ ัยได้สร้างแบบสอบถามที่ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการรวบรวมขอ้ มูล โดยมีวิธีการสร้าง

แบบสอบถาม ตามลาดับดงั นี้

1. ศึกษาหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ศนู ย์การศึกษา

พิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พทุ ธศักราช 2564

2. ศกึ ษาค้นคว้าจากเอกสาร หลักการ แนวคดิ ทฤษฎี เอกสาร ตารา บทความ และงานวจิ ัย

ท่เี ก่ียวข้องกบั การการประเมินหลกั สูตร

3. นาจุดมงุ่ หมายหรือวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ท่ีมคี วามต้องการ

จาเป็นพิเศษ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พุทธศกั ราช 2564 มาวิเคราะห์เป็นรายข้อเพ่ือ

สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตรกบั ความมุ่งหมายของการวิจัย

4. สร้างเครื่องมือแบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scales) 5 ระดบั

ตามวิธีของลเิ คริ ์ท (Likert’s type)

5. ตรวจสอบหาความเท่ยี งตรงเชิงเน้อื หา (Content validity) โดยใหผ้ ทู้ รงคุณวุฒจิ านวน 3

ท่าน เป็นผ้พู จิ ารณาความสอดคลอ้ งข้อคาถามกบั นิยามศัพทเ์ ฉพาะ ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม

ทางภาษา และความเหมาะสมของรปู แบบการวัด โดยพจิ ารณาจากคา่ ดัชนีความสอดคลอ้ งระหวา่ งข้อ

คาถามกับวัตถุประสงค์ (Index of Items-objective congruence: IOC) (ไพฑรู ย์ โพธสิ วา่ ง,2554,หนา้

169-171) ซง่ึ ผ้ทู รงคุณวุฒมิ รี ายช่อื ดงั ตอ่ ไปนี้

5.1 นายพิชติ สน่นั เออ้ื ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษาพิเศษ

ประจาจังหวัดอุดรธานี

5.2 นายสุบิน ประสพบัว รองผู้อานวยการศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ

เขตการศกึ ษา 9 จงั หวัดขอนแก่น

5.3 นางสาวชาครยิ า พันธท์ อง อาจารย์ประจาสาขาวิชาการศกึ ษาพิเศษ

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั

อุดรธานี

31

หลงั จากน้นั นาคะแนนของผเู้ ชีย่ วชาญมาหาคา่ ดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามกับ
วตั ถปุ ระสงค์ (Index of Items-objective congruence: IOC) โดยใช้สูตร ดังน้ี


IOC =

เมอื่ ∑ แทน ผลรวมคะแนนของผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ งั้ หมด
แทน จานวนผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนน
+1 หมายถึง แนใ่ จว่าข้อคาถามมีความสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์การวิจยั
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อคาถามมีความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั
-1 หมายถึง แนใ่ จว่าข้อคาถามไม่มคี วามสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย
โดยกาหนดเกณฑก์ ารพิจารณาระดบั ค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหว่างข้อคาถามกบั วตั ถุประสงค์
(Index of Items-objective congruence: IOC) มรี ายละเอยี ดของเกณฑ์การพจิ ารณา คอื ค่า IOC
ตง้ั แต่ .67 ขนึ้ ไป คัดเลือกข้อคาถามข้อนน้ั ไว้ใช้ได้ ต่ากว่า .67 พิจารณาแก้ไข ปรบั ปรุง หรอื ตัดทงิ้
5. นาแบบสอบถามทไี่ ดร้ ับการปรบั ปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เช่ยี วชาญ ไปทาการทดลองใช้
(Try out) ประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอยา่ ง จานวน 30 คน โดยทาหนังสอื ขอความอนุเคราะห์ถึง
ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9 จงั หวัดขอนแก่น สังกดั สานกั บรหิ ารงานการศึกษา
พิเศษ ในการทดลองใช้เคร่ืองมือ
6. นาแบบสอบถามทไี่ ดจ้ ากการทดลองใช้ (Try out) หาคา่ อานาจจาแนก (Discrimination
power) โดยเลือกข้อคาถามทีมีค่าอานาจจาแนกตง้ั แต่ .20 ขึน้ ไป (Ferguson, 1981, p. 180 อ้างถึงใน
ประยรู อ่มิ สวาสดิ์, 2552,หน้า 75) จากน้ันหาค่าอานาจจาแนกรายข้อ และได้ค่าอานาจจาแนกรายข้อ
ระหวา่ ง .25 ถงึ .90
7. หาค่าความเชอ่ื มนั (Reliability) ดว้ ยการคานวณหาคา่ สัมประสิทธ์แิ อลฟา (Alpha
coefficient) ตามวธิ ีของครอนบาค (Cronbach,1990 , pp. 202- 204) ไดค้ า่ ความเชอื่ ม่ันของ
แบบทดสอบทง้ั ฉบบั เท่ากบั .95

กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลได้ดาเนนิ การ ดงั นี้
1. ทาบันทกึ ขออนญุ าตผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดอดุ รธานี เพื่อขอเกบ็

ข้อมูลการวิจัย
2. ผ้วู ิจยั แจกแบบสอบถามให้กบั ครูผสู้ อน โดยการแจกและรับคนื จากผตู้ อบภายในวันนั้น โดยมี

ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 49 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100

32

กำรจดั กระทำข้อมูลและกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล

การวิเคราะห์ข้อมลู ไดด้ าเนินการ ดังน้ี
1. ตรวจสอบความสมบรู ณ์จากแบบสอบถามท่ไี ดร้ บั คืนมาแตล่ ะฉบับ แล้วนาฉบบั
ท่สี มบรู ณม์ าให้คะแนน ตามนา้ หนกั คะแนนแต่ละข้อ และบนั ทกึ ขอ้ มูลลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพ่อื วเิ คราะหข์ ้อมลู ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรปู
2. ทาการวิเคราะห์ แล้วนาผลวิเคราะห์ไปแปรผล ตามวตั ถุประสงค์และสมมติฐานของการ
ศกึ ษาวิจัย การแปลความหมายของคะแนน โดยใช้ค่าคะแนนเฉลีย่ เป็นตวั ชีว้ ัด โดยกาหนดเกณฑ์
ท่ีใช้ในการวิเคราะห์ตามแนวคิดของบุญชม ศรสี ะอาด และบุญส่ง นลิ แก้ว (2535,หน้า 23-24)
มีดงั น้ี
4.51 - 5.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมากที่สุด
3.51 - 4.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก
2.51 - 3.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมอย่ใู นระดับน้อย
1.00 - 1.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั น้อยท่ีสดุ

3. แบบสอบถามทเี่ ป็นแบบปลายเปิด จะใช้การพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis)

สถิติท่ใี ช้ในกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู
1. สถิติท่ีใช้ในการหาคุณภาพของเครอื่ งมอื

1.1 หาคา่ อานาจจาแนกของแบบสอบถามเป็นรายข้อโดยใช้สมั ประสิทธ์สิ หสัมพนั ธ์

อย่างงา่ ยแบบ Pearson ระหว่างคะแนนรายขอ้ กบั คะแนนรวม (Item – total Correlation) ดังน้ี

(สมนึก ภทั ทยิ ธนี. 2555 : 254)

= ∑ − ∑ ∑
√[ ∑ 2−(∑ )2][ ∑ 2−(∑ )2]

เมือ่ แทน คาอานาจจาแนกรายข้อ
แทน จานวนคนทง้ั หมด

แทน คะแนนรายขอ้

แทน คะแนนรวม

33

1.2 หาค่าความเช่อื มั่นโดยใช้วิธีสมั ประสทิ ธ์ิแอลฟ่า(Alpha Coefficient) ของครอนบาค
(Cronbach) ดงั นี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2553 : 99)

 = 1 {1 − ∑ 2 }
− 2

เม่อื  แทน ค่าสัมประสิทธิ์ความเช่ือม่นั ของแบบสอบถาม
แทน จานวนข้อของแบบสอบถาม
∑ 2 แทน ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนแตล่ ะข้อ
2 แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนรวม

2. สถติ พิ นื้ ฐานทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู ได้แก่
2.1 รอ้ ยละ (Percentage) โดยใช้สตู ร ดงั น้ี (สมนึก ภทั ทิยธน.ี 2555 : 237)

เมื่อ = × 100



แทน รอ้ ยละ
แทน ความถ่ี
แทน จานวนความถีท่ ั้งหมด

2.2 ค่าเฉลีย่ (Arithmetic Mean) โดยใช้สูตร ดงั นี้ (สมนกึ ภทั ทยิ ธน.ี 2555 : 237)

̅ = ∑ ̅



เมือ่ ̅ แทน ค่าเฉลย่ี
∑ ̅ แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
แทน จานวนคนทั้งหมด

34

2.3 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สตู ร ดงั นี้ (สมนกึ ภทั ทิยธนี.
2555 : 250)

. . = √ ∑ 2−(∑ )2 =

( −1)

เมอ่ื . . แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
แทน คะแนนแตล่ ะคน
แทน จานวนคนท้งั หมด
 แทน ผลรวม

35

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การวิจัย เร่ือง การประเมนิ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ทมี่ ีความต้องการจาเป็น
พเิ ศษ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พุทธศกั ราช 2564 มผี ลการวิเคราะหข์ ้อมูล
นาเสนอตามลาดับวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ดังนี้

เพื่อประเมินการใช้หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ
ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พทุ ธศักราช 2564

1. ด้านบรบิ ท (Context Evaluation) ประเมินความเหมาะสมเกยี่ วกบั จุดมงุ่ หมาย
ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจา
จังหวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564

2. ดา้ นปจั จยั นาเข้า (Input Evaluation) ประเมนิ ความเหมาะสมเกย่ี วกบั
โครงสร้างหลกั สตู ร เนื้อหาวิชาของหลักสูตรและสง่ิ อานวยความสะดวกของหลักสตู ร

3. ดา้ นกระบวนการ (Process Evaluation) ประเมินความเหมาะสมเก่ียวกับการ
จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและการวดั ผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา

4. ดา้ นผลผลติ (Product Evaluation) ประเมินผลที่เกดิ จากการใช้หลกั สูตร
โดยพจิ ารณาด้านการนาความรไู้ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

มผี ลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดังน้ี
ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ของผ้ตู อบแบบสอบถามของครผู ้สู อนศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ
ประจาจงั หวดั อดุ รธานี

ตารางท่ี 1 ร้อยละของข้อมลู ด้านสถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม

สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ครูผสู้ อน ร้อยละ
จานวน (คน)
24.49
1. เพศ 75.51
100.00
1.1 ชาย 12
2.04
1.2 หญิง 37 32.65
38.78
รวม 49 26.53
100.00
2. อายุ

2.1 ต่ากว่า 25 ปี 1

2.2 ต้ังแต่ 25 ปี - 30 ปี 16

2.3 ตง้ั แต่ 30 ปี – 40 ปี 19

2.4 มากกว่า 40 ปี 13

รวม 49

36

ตารางท่ี 1 รอ้ ยละของข้อมูลดา้ นสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม (ต่อ)

สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ครูผ้สู อน ร้อยละ
จานวน (คน)
55.10
3 ประสบการณ์ในการทางาน 22.45
12.24
3.1 ต่ากวา่ 5 ปี 27 10.20
100.00
3.2 ตั้งแต่ 5 – 10 ปี 11

1.1 ตัง้ แต่ 10 – 15 ปี 6

1.2 มากกวา่ 15 ปี 5

รวม 49

จากตารางที่ 1 พบวา่ จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม ทัง้ หมด 49 คน โดยแบ่งตามเพศ คือ
เพศชาย จานวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.49 เพศหญงิ จานวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 75.51
แบ่งตามอายุ คือตา่ กว่า 25 ปี จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.04 ตัง้ แต่ 25 ปี - 30 ปี จานวน
16 คน คิดเป็นร้อยละ 32.65 ตง้ั แต่ 30 ปี – 40 ปี จานวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 38.78
มากกวา่ 40 ปี จานวน 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.53 แบ่งตามประสบการณ์ในการทางาน คอื
ต่ากวา่ 5 ปี จานวน 27 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 55.10 ตงั้ แต่ 5 – 10 ปี จานวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
22.45 ตง้ั แต่ 10 – 15 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12.24 และมากกว่า 15 ปี จานวน 5 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 10.20

ตอนท่ี 2 ผลการประเมินการใช้หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ที่มีความต้องการ
จาเปน็ พิเศษ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564 โดยรวมและรายดา้ น

ตารางท่ี 2 ความคิดเห็นของครูผู้สอนตอ่ หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เด็กทีม่ ีความต้องการ

จาเป็นพเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564 โดยรวมและ

รายดา้ น

ท่ี รายการ N=49 ระดบั
x̅ SD ความคดิ เหน็

1 ด้านบริบท 4.16 .58 มาก

2 ด้านปจั จยั เบอ้ื งตน้ 4.09 .59 มาก

3 ด้านกระบวนการ 4.21 .76 มาก

4 ดา้ นผลผลิต 4.23 .71 มาก

รวม 4.17 .57 มาก

จากตารางท่ี 2 พบวา่ ครผู สู้ อนมคี วามคดิ เห็นต่อหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กท่ีมี
ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564 โดยรวมและ
ทุกด้านอยู่ในระดบั มาก ดา้ นทีม่ คี ่าเฉลี่ยมากทส่ี ดุ ได้แก่ ด้านผลผลิต (x̅ = 4.23) รองลงมาไดแ้ ก่
ดา้ นกระบวนการ (x̅ = 4.21) และดา้ นท่ีมคี ่าเฉลย่ี ตา่ ที่สุด ได้แก่ ดา้ นปัจจยั เบื้องตน้ (x̅ = 4.09)

37

ตารางท่ี 3 ความคิดเห็นของครผู สู้ อนต่อหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ท่ีมีความต้องการ

จาเป็นพิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช 2564 ด้านบริบท

ขอ้ รายการ N=49 ระดบั
x̅ SD ความคดิ เห็น

1 จุดมุ่งหมายของหลักสูตร มีความสอดคล้องกับความ 4.02 .83 มาก

ตอ้ งการของชุมชนทอ้ งถิ่น

2 จดุ ประสงค์ของหลักสตู ร มคี วามชัดเจน 4.04 .73 มาก

ปฏิบตั ิไดจ้ ริง

3 จดุ ประสงค์ของหลักสตู ร มีความสอดคล้องกับ 4.31 .62 มาก

หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

4 ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นมีความร้แู ละนาความรู้ไปใช้ใน 4.27 .70 มาก

ชวี ติ ประจาวัน

รวม 4.16 .58 มาก

จากตารางที่ 3 พบว่าครผู สู้ อนมคี วามคิดเหน็ ต่อหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรับเดก็ ที่มี
ความต้องการจาเปน็ พิเศษ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พทุ ธศักราช 2564 ใน
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อทม่ี ีค่าเฉลยี่ สงู สดุ
ได้แก่ ขอ้ 3 จดุ ประสงค์ของหลกั สตู ร มคี วามสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช

2560 (x̅ = 4.31) รองลงมา ได้แก่ ข้อ 4 สง่ เสริมให้นักเรยี นมีความรูแ้ ละนาความรู้ไปใช้ใน

ชวี ติ ประจาวัน (x̅ = 4.27) และข้อท่ีมคี า่ เฉลยี่ ตา่ ท่สี ุด ได้แก่ ขอ้ 1 จดุ มุง่ หมายของหลักสูตร มีความ

สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของชมุ ชนท้องถ่ิน (x̅ = 4.02)

ตารางท่ี 4 ความคดิ เห็นของครผู ้สู อนตอ่ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กที่มคี วามต้องการ

จาเปน็ พเิ ศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั อดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564

ดา้ นปจั จัยเบ้ืองตน้ (โครงสร้างหลกั สูตร)

ขอ้ รายการ N=49 ระดับ
x̅ SD ความคิดเหน็

1 โครงสร้างหลักสูตร สอดคล้องกับวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ 4.24 .66 มาก

เป้าหมายของสถานศึกษา

2 ความเหมาะสมของการกาหนดเวลาของกจิ กรรม 4.10 .59 มาก

พฒั นาผเู้ รยี น

รวม 4.17 .52 มาก

จากตารางที่ 4 พบว่า ครผู ู้สอนมีความคิดเห็นต่อหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มี
ความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564 ดา้ นปจั จัย
เบ้อื งต้น (โครงสรา้ งหลักสตู ร) ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เมอ่ื พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อยู่ในระดับ

38

มากทุกข้อ ข้อทมี่ ีค่าเฉล่ียสงู สุด ได้แก่ ขอ้ 1 โครงสรา้ งหลักสูตร สอดคลอ้ งกับวิสยั ทศั น์ พันธกิจ
เปา้ หมายของสถานศกึ ษา (x̅ = 4.24) รองลงมา ไดแ้ ก่ ข้อ 2 ความเหมาะสมของการกาหนดเวลา
ของกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (x̅ = 4.10)

ตารางที่ 5 ความคิดเหน็ ของครูผู้สอนต่อหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ที่มคี วามต้องการ

จาเปน็ พิเศษ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564

ดา้ นปจั จัยเบ้ืองต้น (เนอื้ หาสาระ)

ขอ้ รายการ N=49 ระดบั
x̅ SD ความคิดเห็น

1 เนือ้ หาสาระแต่ละดา้ นพัฒนาการ มคี วามสอดคล้อง 4.02 .72 มาก

กับคาอธบิ ายดา้ นพัฒนาการ

2 เน้อื หาสาระแตล่ ะดา้ นพฒั นาการตรงตามการเรยี นรู้ 4.02 .72 มาก

ทีค่ าดหวงั

รวม 4.02 .66 มาก

จากตารางที่ 5 พบวา่ ครผู ูส้ อนมีความคิดเหน็ ต่อหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่ีมี
ความต้องการจาเป็นพิเศษ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564
ด้านปจั จยั เบ้อื งตน้ (เน้อื หาสาระ) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
อยู่ในระดบั มากทุกขอ้ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสงู สุด ได้แก่ ข้อ 1 เนอ้ื หาสาระแตล่ ะด้านพัฒนาการ มคี วาม

สอดคล้องกบั คาอธบิ ายดา้ นพัฒนาการ (x̅ = 4.02) และ ขอ้ 2 เน้อื หาสาระแตล่ ะด้านพฒั นาการ

ตรงตามการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั (x̅ = 4.02)

ตารางท่ี 6 ความคิดเห็นของครูผสู้ อนตอ่ หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กท่ีมีความต้องการ

จาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564

ด้านปัจจัยเบือ้ งตน้ (กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น)

ขอ้ รายการ N=49 ระดับ
x̅ SD ความคิดเห็น

1 กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนเอื้อต่อการส่งเสรมิ การเรียนรู้ 3.94 .63 มาก

แต่ละดา้ นพัฒนาการ

2 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนตอบสนองต่อความต้องการ 3.82 .73 มาก

ความสนใจของผเู้ รียน

3 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นเหมาะสมกบั ผู้เรียน 3.86 .65 มาก

รวม 3.87 .60 มาก

จากตารางท่ี 6 พบวา่ ครูผู้สอนมีความคิดเหน็ ตอ่ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ที่มี
ความต้องการจาเปน็ พิเศษ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564 ด้านปจั จัย
เบอ้ื งตน้ (กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า

39

อยู่ในระดบั มากทุกขอ้ ขอ้ ทมี่ ีคา่ เฉล่ยี สงู สุด ได้แก่ ข้อ 1 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนเออ้ื ตอ่ การส่งเสริมการ
เรียนร้แู ต่ละด้านพัฒนาการ (x̅ = 3.94) รองลงมา ไดแ้ ก่ ข้อ 3 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนเหมาะสมกบั
ผ้เู รียน (x̅ = 3.86) และข้อที่มีคา่ เฉล่ียต่าทสี่ ุด ไดแ้ ก่ ขอ้ 2 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนตอบสนองต่อความ
ตอ้ งการ ความสนใจของผเู้ รียน (x̅ = 3.82)

ตารางที่ 7 ความคิดเห็นของครผู สู้ อนตอ่ หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ทมี่ คี วามต้องการ

จาเป็นพิเศษ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั อดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564

ด้านปัจจยั เบื้องตน้ (ด้านความรคู้ วามสามารถของผู้บริหารและครู)

ข้อ รายการ N=49 ระดับ
x̅ SD ความคดิ เหน็

1 ความรู้ความสามารถของผบู้ ริหารและครู 4.16 .80 มาก

เป็นผู้ใฝ่หาความรเู้ พ่ิมเติม และใชน้ วตั กรรมใหมๆ่

เพ่อื ปรับปรุงการเรยี นการสอน

2 ประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี 4.39 .67 มาก

3 คดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรคใ์ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.22 .72 มาก

อยู่เสมอ

4 อุทิศตนเพ่ือประโยชนส์ ว่ นรวม 4.35 .78 มาก

5 สื่อการเรยี นการสอนเพียงพอและเหมาะสม 4.04 .79 มาก

กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

6 มกี ารใช้ส่อื การเรยี นการสอนอย่างคุ้มค่า 4.24 .86 มาก

รวม 4.23 .64 มาก

จากตารางที่ 7 พบว่า ครผู ูส้ อนมคี วามคิดเหน็ ตอ่ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กท่ีมี
ความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564 ด้านปัจจยั
เบ้ืองต้น (ดา้ นความรคู้ วามสามารถของผู้บรหิ ารและครู) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณา
เป็นรายขอ้ พบวา่ อยู่ในระดับมากทุกข้อ ข้อที่มีคา่ เฉลีย่ สงู สุด ได้แก่ ขอ้ 2 ประพฤตแิ ละปฏิบตั ติ น

เป็นแบบอยา่ งที่ดี (x̅ = 4.39) รองลงมา ไดแ้ ก่ ขอ้ 4 อุทศิ ตนเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม (x̅ = 4.35) และ
ขอ้ ท่ีมคี ่าเฉลี่ยตา่ ทีส่ ดุ ได้แก่ ขอ้ 5 ส่ือการเรียนการสอนเพียงพอและเหมาะสมกบั การจัดกจิ กรรมการ

เรยี นการสอน (x̅ = 4.04)

40

ตารางที่ 8 ความคิดเหน็ ของครผู สู้ อนต่อหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เด็กที่มคี วามต้องการเป็น

พิเศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พทุ ธศกั ราช 2564 ดา้ นปจั จยั เบ้ืองต้น

(ดา้ นความพร้อมของสถานท่ี)

ขอ้ รายการ N=49 ระดบั
x̅ SD ความคิดเหน็

1 จานวนหอ้ งเรียนมเี พียงพอกบั จานวนนกั เรียน 3.96 1.12 มาก

2 แหล่งเรยี นรู้ภายในศูนย์ฯเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 3.96 1.04 มาก

ของนักเรียน

3 บริเวณศูนย์ฯ หอ้ งเรียนสะอาด สะดวกตอ่ การจัด 4.35 .69 มาก

กจิ กรรม

4 บรรยากาศสงิ่ แวดล้อมภายในศูนย์ฯ ร่มรืน่ 4.49 .68 มาก

รวม 4.19 .76 มาก

จากตารางท่ี 8 พบวา่ ครผู ู้สอนมีความคดิ เห็นต่อหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ที่มี
ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช 2564 ดา้ นปัจจยั
เบื้องต้น (ดา้ นความพรอ้ มของสถานท)่ี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพจิ ารณาเป็นรายข้อ
พบว่า อยใู่ นระดบั มากทุกข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉลย่ี สงู สุด ได้แก่ ข้อ 4 บรรยากาศสง่ิ แวดล้อมภาย

ในศูนย์ฯ ร่มร่นื (x̅ = 4.49) รองลงมา ได้แก่ ข้อ 3 บริเวณศูนย์ฯ หอ้ งเรียนสะอาด สะดวกตอ่ การจดั

กิจกรรม (x̅ = 4.35) และข้อท่ีมคี า่ เฉลีย่ ตา่ ท่ีสดุ ไดแ้ ก่ ข้อ 1 จานวนหอ้ งเรยี นมีเพยี งพอกับจานวน

นักเรยี น (x̅ = 3.96)

ตารางท่ี 9 ความคิดเห็นของครูผสู้ อนตอ่ หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรับเด็กทมี่ ีความต้องการ

จาเป็นพิเศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564

ด้านปัจจัยเบื้องต้น (ด้านความร่วมมือจากชุมชน)

ข้อ รายการ N=49 ระดับ
x̅ SD ความคดิ เห็น

1 ชุมชนเปน็ แหล่งภูมปิ ญั ญา 4.02 1.05 มาก

2 ชมุ ชนมแี หลง่ ทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ 4.00 .94 มาก

3 บุคลากรในชุมชนเป็นผู้มคี วามรู้ ความสามารถ 4.12 .90 มาก

เปน็ ทีเ่ ชอื่ ถือของบุคคลทัว่ ไป

4 ชุมชนสนใจและให้การสนับสนนุ การจดั การศกึ ษา 4.10 .92 มาก

เป็นอย่างดี

รวม 4.06 .88 มาก

41

จากตารางที่ 9 พบว่าครผู ้สู อนมคี วามคดิ เห็นตอ่ หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มี
ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช 2564 ดา้ น
ปัจจัยเบอ้ื งต้น (ด้านความรว่ มมือจากชมุ ชน) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้
พบว่า อยใู่ นระดบั มากทุกข้อ ขอ้ ที่มคี ่าเฉล่ยี สูงสดุ ไดแ้ ก่ ข้อ 3 บุคลากรในชมุ ชนเปน็ ผ้มู ีความรู้

ความสามารถเปน็ ท่ีเชือ่ ถือของบคุ คลท่ัวไป (x̅ = 4.12) รองลงมา ได้แก่ ข้อ 4 ชุมชนสนใจและให้การ

สนบั สนนุ การจดั การศึกษาเป็นอย่างดี (x̅ = 4.10) และข้อที่มคี า่ เฉลี่ยตา่ ทสี่ ุด ได้แก่ ข้อ 2 ชมุ ชน

มีแหลง่ ท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ (x̅ = 4.00)

ตารางที่ 10 ความคิดเห็นของครูผสู้ อนต่อหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กทีม่ ีความต้องการ
จาเปน็ พเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564

ด้านกระบวนการ (ด้านการเตรียมการใช้หลักสตู ร)

ขอ้ รายการ N=49 ระดบั
x̅ SD ความคดิ เหน็
1 ศูนยฯ์ จดั ประชมุ ช้ีแจงบุคลากรเก่ียวกบั รายละเอยี ด 4.10 .92
ของคมู่ ือครู เอกสารหลกั สตู รและแผนการจดั การ มาก

เรยี นรู้

2 มกี ารส่งเสริมใหบ้ ุคลากรเกี่ยวกับรายละเอยี ดของ 4.16 .92 มาก

คมู่ อื ครู เอกสารหลักสตู รและแผนการจดั การเรยี นรู้

3 ศูนยฯ์ สง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรภายในศูนย์ฯ ได้มโี อกาส 4.22 .87 มาก

พฒั นาศักยภาพในด้านอาชีพ เช่นการอบรม
ศึกษาดูงานและการศกึ ษาต่อ

4 ศนู ยฯ์ จัดครเู ข้าสอนหรอื มอบหมายงานอน่ื 4.18 .88 มาก
โดยคานงึ ถึงวุฒิ ประสบการณ์ตามความรู้
ความสามารถและความเหมาะสม

5 ศูนย์ ฯ มกี ารกาหนดกจิ กรรมพัฒนานกั เรียนอยา่ ง 4.14 .79 มาก

เหมาะสม

6 ศนู ย์ ฯ มีการกาหนดคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ 4.31 .92 มาก
นกั เรียน

รวม 4.19 .81 มาก

จากตารางที่ 10 พบวา่ ครผู ู้สอนมีความคดิ เหน็ ต่อหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กทม่ี ี

ความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564 ดา้ น

กระบวนการ(ดา้ นการเตรียมการใช้หลกั สตู ร) ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เม่ือพจิ ารณาเป็นรายขอ้

พบว่า อยใู่ นระดบั มากทุกข้อ ขอ้ ท่ีมีคา่ เฉลีย่ สูงสุด ได้แก่ ข้อ 6 ศนู ย์ ฯ มีการกาหนดคณุ ลกั ษณะอนั

พงึ ประสงคข์ องนักเรยี น (x̅ = 4.31) รองลงมา ได้แก่ ข้อ 3 ศนู ย์ฯสง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรภายในศูนย์ฯ

ไดม้ โี อกาสพัฒนาศกั ยภาพในดา้ นอาชีพ เชน่ การอบรม ศึกษาดงู านและการศกึ ษาต่อ (x̅ = 4.22)

42

และข้อทมี่ ีค่าเฉลยี่ ต่าทสี่ ดุ ได้แก่ ข้อ 1 ศนู ยฯ์ จดั ประชุมช้ีแจงบคุ ลากรเกี่ยวกับรายละเอียดของ
คมู่ ือครู เอกสารหลกั สูตรและแผนการจดั การเรียนรู้ (x̅ = 4.10)

ตารางท่ี 11 ความคิดเหน็ ของครูผ้สู อนตอ่ หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เด็กทีม่ ีความต้องการ

จาเปน็ พเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564

ดา้ นกระบวนการ (ด้านการดาเนนิ การใชห้ ลกั สตู ร)

ขอ้ รายการ N=49 ระดบั
x̅ SD ความคดิ เหน็

1 มกี ารจัดเตรยี มการเกีย่ วกับกระบวนการเรยี น 4.14 .96 มาก

การสอนก่อนเปดิ ภาคเรยี นทุกครง้ั

2 จดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู เ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั 4.37 .78 มาก

3 จัดกิจกรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถ 4.37 .60 มาก

ความถนัดของนักเรียน

4 จัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยฝกึ ให้นกั เรียน 4.31 .68 มาก

มคี ุณลกั ษณะนสิ ัยท่ีดตี ามความม่งุ หมาย

ของหลกั สูตรสถานศึกษา

5 จัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยฝึกใหน้ ักเรยี นสามารถ 4.29 .71 มาก

นาความรู้ ความเข้าใจในส่ิงท่เี รยี นไปใช้

ในชวี ิตประจาวนั

6 ศูนย์ฯส่งเสริม สนบั สนนุ ใหค้ รูผลิตส่อื การเรยี น 4.39 .61 มาก

การสอน

7 ศูนยฯ์ สง่ เสริม สนบั สนุนให้ครูทาวิจยั ในช้นั เรยี น 4.45 .65 มาก

8 ศนู ยฯ์ ใช้การวิจัยเปน็ ส่วนหนงึ่ ของกระบวนการเรียนรู้ 4.27 .76 มาก

9 ศูนยฯ์ สนับสนุนให้มีการวดั และประเมินผลกอ่ นเรยี น 4.41 .86 มาก

ระหวา่ งเรียน และหลงั เรียน เพ่อื ปรบั ปรงุ คุณภาพ

การเรียนการสอน

10 ศนู ย์ฯดาเนินการสร้างและพัฒนาเครื่องมือวดั และ 4.18 .91 มาก

ประเมนิ ผล ได้ครอบคลมุ เน้อื หาและวัตถปุ ระสงค์

การเรียนรู้

11 ศูนยฯ์ มกี ารสนับสนุนด้านการวัดผลและประเมนิ ผล 4.20 .87 มาก

การเรยี นรโู้ ดยใช้วธิ ีการหรอื รปู แบบที่หลากหลาย

12 ศนู ยฯ์ มกี ารสนบั สนนุ การวดั และประเมินผล 4.12 .86 มาก

จากการปฏบิ ัติงานตามสภาพจรงิ

รวม 4.29 .64 มาก


Click to View FlipBook Version