43
จากตารางที่ 11 พบว่าครผู ูส้ อนมคี วามคิดเหน็ ต่อหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ที่มี
ความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564 ดา้ น
กระบวนการ (ด้านการดาเนินการใชห้ ลักสูตร) ในภาพรวมอยูในระดบั มาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอ
พบวา อยใู นระดบั มากทุกข้อ ขอ้ ที่มีคา่ เฉลยี่ สูงสุด ได้แก่ ข้อ 7 ศูนย์ฯส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ครูทาวจิ ัย
ในช้นั เรียน (x̅ = 4.45) รองลงมา ไดแ้ ก่ ข้อ 9 ศูนย์ฯสนบั สนนุ ให้มีการวัดและประเมนิ ผลกอ่ นเรียน
ระหว่างเรียน และหลังเรียน เพ่อื ปรบั ปรงุ คณุ ภาพการเรยี นการสอน (x̅ = 4.41) และข้อที่มคี ่าเฉล่ยี
ต่าทส่ี ดุ ได้แก่ ข้อ 12 ศนู ยฯ์ มีการสนับสนนุ การวดั และประเมินผล จากการปฏบิ ตั ิงานตามสภาพจรงิ
(x̅ = 4.12)
ตารางที่ 12 ความคิดเหน็ ของครผู สู้ อนต่อหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เด็กทม่ี ีความตอ้ งการ
จาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564
ด้านกระบวนการ (การนิเทศตดิ ตามการใชห้ ลกั สตู ร)
ขอ้ รายการ N=49 ระดับ
x̅ SD ความคดิ เหน็
1 ศนู ยฯ์ มีการนิเทศ ติดตามการใช้หลักสตู รสถานศกึ ษา 4.16 .97 มาก
2 ศูนยม์ กี ารวางแผนนิเทศการใช้หลักสตู รสถานศกึ ษา 4.16 .92 มาก
รวม 4.16 .91 มาก
จากตารางที่ 12 พบวา่ ครผู ูส้ อนมคี วามคิดเห็นต่อหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ที่มี
ความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี พทุ ธศักราช 2564 ดา้ น
กระบวนการ (การนิเทศตดิ ตามการใชห้ ลักสูตร) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายขอ้
พบว่า อยใู่ นระดับมากทุกข้อ ข้อที่มีคา่ เฉล่ยี สูงสุด ได้แก่ ข้อ 2 ศนู ย์มีการวางแผนนิเทศการใช้
หลกั สตู รสถานศึกษา (x̅ = 4.16) รองลงมา ไดแ้ ก่ ข้อ 1 ศนู ย์ฯมกี ารเิ ทศ ติดตาม การใชห้ ลักสูตร
สถานศกึ ษา (x̅ = 4.16)
ตารางท่ี 13 ความคดิ เหน็ ของครูผสู้ อนต่อหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ท่มี ีความต้องการ
จาเป็นพเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564
ด้านผลผลติ
ขอ้ รายการ N=49 ระดับ
x̅ SD ความคิดเห็น
1 นักเรียนสามารถนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิต 4.20 .84 มาก
ประจาวนั ได้
2 นกั เรยี นสามารถไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพอยา่ ง 4.24 .69 มาก
ตอ่ เนอื่ งตรงตามลักษณะความพิการ
3 นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมของชุมชน 4.20 .76 มาก
ตามศักยภาพ
44
ตารางท่ี 13 ความคิดเหน็ ของครูผสู้ อนต่อหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กทีม่ ีความตอ้ งการ
จาเป็นพิเศษ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564
ดา้ นผลผลติ (ต่อ)
ขอ้ รายการ N=49 ระดบั
x̅ SD ความคิดเห็น
4 นกั เรียนได้รบั การพัฒนาอยา่ งเต็มความสามารถ 4.29 .71
และใช้ชวี ติ ในสังคมภายนอกอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่นื ได้อย่าง มาก
มีความสุข
รวม 4.23 .71 มาก
จากตารางท่ี 13 พบว่าครูผู้สอนมีความคิดเหน็ ต่อหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ทม่ี ี
ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช 2564 ดา้ น
ผลผลิต ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ ขอ้ ทม่ี ี
ค่าเฉลย่ี สูงสดุ ได้แก่ ข้อ 4 นักเรยี นไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งเต็มความสามารถ และใชช้ ีวติ ในสังคม
ภายนอกอยรู่ ว่ มกบั ผู้อื่นได้อย่างมคี วามสุข (x̅ = 4.29) รองลงมา ไดแ้ ก่ ข้อ 2 นกั เรียนสามารถได้รับ
การพัฒนาศกั ยภาพอย่างต่อเน่อื งตรงตามลักษณะความพิการ (x̅ = 4.24) และข้อที่มคี า่ เฉล่ียตา่ ที่สดุ
ไดแ้ ก่ ข้อ 1 นักเรียนสามารถนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ (x̅ = 4.20)
ตอนที่ 3 ความคดิ เหน็ เพ่ิมเติมและข้อเสนอแนะของครูผู้สอนตอ่ หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
สาหรบั เด็กทมี่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พุทธศกั ราช
2564 สรุปไดด้ ังน้ี
จดุ เดน่
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ที่มีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษา
พิเศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564 มีความยืดหยุ่น สอดคล้องกบั หลักสตู รการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศักราช 2560 และหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ทมี่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
พทุ ธศักราช 2562 ม่งุ เน้นพฒั นาผูเ้ รยี นตามประสบการณ์ ใหผ้ ้เู รียนสามารถพฒั นาได้เต็มตาม
ศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคลและสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวนั
จุดด้อย
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนยังไม่ตอบสนองต่อความตอ้ งการและความสนใจของผูเ้ รียน
การจัดกิจกรรมตามหนว่ ยการเรียนรไู้ ม่สามารถบรู ณาการได้เหมือนหลกั สตู รปฐมวยั หน่วยการเรยี นรู้
ควรมหี น่วยยอ่ ยในแต่ละดา้ นพฒั นาการ และการประเมนิ พัฒนาการไม่สอดคล้องกับการนาไปใช้ใน
หลักสูตร
45
ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
ควรมีการกาหนดหน่วยยอ่ ยในพฒั นาการแตล่ ะด้าน ควรระบุแนวทางการจดั
กิจกรรมในหลักสูตรใหค้ รศู ึกษาเพ่ิมเติม แบบประเมินความสามารถพื้นฐานและหลกั สตู รควร
สอดคลอ้ งกัน และอยากให้มีการปรบั ปรุงพัฒนาหลกั สตู รอยา่ งต่อเน่ือง
46
บทท่ี 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยในครง้ั นี้เป็นการวจิ ยั การประเมินหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เด็กที่มคี วาม
ต้องการจาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พุทธศกั ราช 2564 ผวู้ จิ ยั ได้นาเสนอ
ผลการวิจยั อภิปรายผลและข้อเสนอแนะดังนี้
วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย
เพือ่ ประเมนิ การใช้หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรับเดก็ ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ
ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พุทธศักราช 2564
1. ดา้ นบรบิ ท (Context Evaluation) ประเมินความเหมาะสมเกีย่ วกบั
จดุ ม่งุ หมาย
ของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กทีม่ ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ
ประจาจังหวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564
2. ดา้ นปัจจยั นาเขา้ (Input Evaluation) ประเมนิ ความเหมาะสมเกยี่ วกับ
โครงสร้างหลักสูตร เน้ือหาวิชาของหลักสตู รและส่ิงอานวยความสะดวกของหลักสตู ร
3. ดา้ นกระบวนการ (Process Evaluation) ประเมินความเหมาะสมเกยี่ วกับ
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
4. ดา้ นผลผลิต (Product Evaluation) ประเมนิ ผลทเี่ กดิ จากการใช้หลักสูตร
โดยพจิ ารณาดา้ นการนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวนั
สรุปผลการวิจัย
จากการวิเคราะห์ผลการวิจัย จากการตอบแบบสอบถามสามารถสรปุ ผลการประเมนิ ดา้ น
ตา่ ง ๆ ได้ดังน้ี
1. ด้านบริบท
เก่ยี วกับจุดมงุ่ หมายของหลักสูตร ครผู ้สู อนมีความคดิ เห็นอยู่ในระดับมาก
จุดมุ่งหมายของหลกั สูตรมีความชดั เจน มีความสอดคล้องกับความตอ้ งการของชมุ ชนท้องถ่นิ ส่งเสรมิ
ให้นกั เรียนมคี วามรแู้ ละนาความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวัน
2. ด้านปัจจยั เบ้ืองต้น
เกยี่ วกับโครงสรา้ งหลกั สูตร เน้อื หาสาระของหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
ความรู้ความสามารถของผู้บริหารและครู ความพร้อมของอาคารสถานที่ ความรว่ มมือของชมุ ชน
ครผู ้สู อนมคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดบั มาก เน่ืองจากโครงสร้างหลักสตู ร สอดคล้องกับวสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ
เปา้ หมายของสถานศึกษา เนื้อหาสาระแต่ละด้านพัฒนาการ มคี วามสอดคล้อง ตรงตามเนื้อหาสาระ
แต่ละดา้ นพฒั นาการ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นเออื้ ต่อการสง่ เสรมิ การเรียนรูแ้ ตล่ ะดา้ นพัฒนาการ
47
และเหมาะสมกับผเู้ รยี น นอกจากน้ีผบู้ รหิ ารและครูประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดี อทุ ิศตน
เพอ่ื ประโยชนส์ ่วนรวมและใช้สื่อการเรยี นการสอนอย่างคุ้มค่า
3. ดา้ นกระบวนการ
เกี่ยวกบั การเตรียมการใชห้ ลักสูตร การดาเนนิ การใชห้ ลักสูตร การตดิ ตามการใช้
หลักสูตร และการวัดและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ ครูผู้สอนมคี วามคดิ เหน็ อยู่ในระดับมาก เน้น
การเรยี นการสอนแบบปฏิบัติจริง และเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครูทาวจิ ยั ใน
ชน้ั เรียนเพอื่ แก้ปญั หาของผู้เรียน มกี ารจัดกิจกรรมทห่ี ลากหลาย รวมท้งั การวดั ผลประเมนิ ผล
ทหี่ ลากหลายครอบคลมุ จดุ ประสงค์ และมกี าริเทศ ติดตาม การใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษาเป็นระยะ
4. ด้านผลผลิต
เก่ยี วกบั การนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้ ครูผู้สอนมีความคิดเหน็
อยู่ในระดับมาก เนอื่ งจากผูเ้ รียนไดร้ บั การพฒั นาอย่างเตม็ ความสามารถ สามารถนาความรู้ไป
ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได้ และใชช้ ีวติ ในสังคมภายนอกไดอ้ ยา่ งมีความสขุ
อภิปรายผล
จากผลการประเมนิ หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พทุ ธศักราช 2564 สามารถอภปิ รายผลได้ดังน้ี
1. ดา้ นบรบิ ท
ครูผสู้ อนมีความคดิ เห็นเกย่ี วกบั จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ในภาพรวมและรายข้อ
ทกุ ข้ออยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคลอ้ งกับวิทยานพิ นธข์ อง รินทร์นภสั เกษศรรี ัตน์ (2552 : 130 - 131)
ได้ประเมินหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยพุทธศกั ราช 2546 ในสถานศึกษา สังกดั สานักงานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาศรสี ะเกษ เขต 1 โดยใช้ CIPP Model เป็นกรอบแนวคิดในการประเมนิ ผลการประเมิน
สรุปไดว้ า่ ด้านบรบิ ท ประกอบด้วย โครงสร้างของหลักสตู ร จุดมุ่งหมายของหลกั สตู รมีความ
เหมาะสมในระดับมาก ซ่งึ ผ่านเกณฑ์
2. ดา้ นปจั จยั เบอื้ งต้น
ครูผสู้ อนมีความคดิ เห็นเกย่ี วกับโครงสร้างหลักสตู ร เนอ้ื หาสาระของหลกั สูตร
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ความรู้ความสามารถของผู้บรหิ ารและครู ความพร้อมของอาคารสถานที่ ความ
ร่วมมอื ของชุมชน ในภาพรวมและรายข้อทุกข้ออยู่ในระดบั มาก ซ่ึงสอดคลอ้ งกับงานวิจยั ของ นชุ วนา
เหลืององั กรู และคณะ (2545 : 39 – 76) ไดท้ าการประเมนิ หลกั สูตรการศกึ ษามหาบณั ฑิต พบว่า
เนื้อหาสาระของหลักสตู ร สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการทางานช่วยพฒั นาในดา้ นความรู้ความ
เข้าใจ มคี วามทันสมยั เหมาะสมกบั สภาพสงั คมในปัจจุบัน จานวนหน่วยกติ หลักสตู ร เหมาะสมกับ
เนอื้ หาวิชาและรายวิชาที่กาหนดให้เรยี น ชว่ ยบรรลุจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รอยู่ในระดบั มาก แสดงวา่
โครงสร้างของหลักสูตร เน้ือหาวิชาของหลกั สตู ร และส่ิงอานวยความสะดวกของหลกั สตู ร มีความ
เหมาะสม ทันสมัย จานวนห้องเรียนมีเพยี งพอกับจานวนนักเรียน แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียน เอ้ือต่อ
การเรียนรู้ของนักเรยี น บรเิ วณโรงเรียน ห้องเรยี น สะอาด สะดวกตอ่ การจดั กจิ กรรม บรรยากาศ
สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน ร่มรืน่ จากเหตผุ ลเหลา่ นี้ ทาให้หลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
48
3. ด้านกระบวนการ
ครูผสู้ อนมีความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การเตรยี มการใช้หลกั สตู ร การดาเนนิ การใช้
หลกั สูตร การติดตามการใชห้ ลกั สูตร และการวดั และประเมินผลการจดั การเรียนรู้ในภาพรวมและ
รายขอ้ ทุกข้ออยู่ในระดับมาก ซง่ึ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ กมั ปนาท อาชา (2545 : 50 - 120) ไดท้ า
การประเมินหลักสตู รการศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม พบวา่ ด้านการวัดผล ประเมนิ ผล มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และ
สอดคล้องกับงานวจิ ัยของ นชุ วนา เหลอื งองั กรู และ คณะ (2545 : 39 - 76) ทาการประเมินหลักสูตร
การศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม พบว่า ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก โดยการสอนเน้นการปฏบิ ัติจริง เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัด
กิจกรรมการเรยี นที่หลากหลาย และดา้ นวัดผลประเมินผลการเรียนการสอน มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดบั มากเช่นกนั ทั้งนี้ มีการวัดและประเมนิ ผลก่อนเรยี น ระหวา่ งเรยี น และหลังเรียน เพือ่ ปรบั ปรงุ
คุณภาพการเรยี นการสอน มีการดาเนนิ การสร้างและพฒั นาเครือ่ งมือวดั ผลและประเมนิ ผล
ได้ครอบคลุมเนื้อหา และวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ มกี ารสนับสนุนด้านการวดั ผลและประเมินผลการ
เรียนรู้ โดยใช้วธิ กี ารหรือรปู แบบทห่ี ลากหลาย มกี ารสนบั สนุนการวดั ผล และประเมินผลจากการ
ปฏิบตั งิ านตามสภาพจรงิ
4. ดา้ นผลผลติ
ครูผสู้ อนมีความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้
ครผู ูส้ อนมีความคดิ เห็นอยู่ในระดบั มาก ซ่ึงสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ รนิ ทร์นภัส เกษศรีรตั น์ (2552 :
130 - 131) ได้ประเมนิ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 ในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาศรสี ะเกษ เขต 1 โดยใช้ CIPP Model เปน็ กรอบแนวคิดในการประเมนิ ผลการ
ประเมนิ สรุปไดว้ ่า ด้านผลผลิต ประกอบด้วย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มคี วามเหมาะสมในระดบั
มาก ซงึ่ ผา่ นเกณฑ์ และสอดคล้องกบั งานวจิ ยั ของ อานนิ สุขณะล้า (2548 : 96 - 98) ได้ศกึ ษาการ
ประเมนิ หลักสูตรการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม หลักสูตรพทุ ธศักราช 2544 โดยใช้รูปแบบซปิ ป์ (Cipp Model) พบวา่
ดา้ นผลผลิต อาจารยผ์ สู้ อน ผูบ้ ังคบั บญั ชามหาบัณฑติ และผูร้ ่วมงานมหาบณั ฑิต มคี วามเห็นว่า
คณุ ภาพมหาบัณฑิตอยู่ในระดับมาก สามารถปฏิบตั ิหน้าทีไ่ ด้ดี มคี วามรบั ผดิ ชอบมมี นษุ ย์สมั พันธด์ ี
ร่วมมือและประสานงานเพ่ือร่วมงานได้ มีความซื่อสตั ย์สุจรติ มรี ะเบยี บวินัย มคี ุณธรรม จริยธรรม
และมคี วามรคู้ วามสามารถพิเศษ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีไดเ้ ป็นอย่างดี เปน็ ไป
ตามวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร
ข้อเสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้
ควรนาผลการวจิ ัย การประเมินหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยสาหรบั เดก็ ทม่ี ีความต้องการ
จาเป็นพเิ ศษ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พุทธศักราช 2564 เปน็ ขอ้ มูลในการวางแผน
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั บริบทของสถานศกึ ษามากยิ่งข้นึ
49
2. ขอ้ เสนอแนะในการทาการวิจยั คร้งั ต่อไป
2.1 ควรมกี ารประเมนิ หลักสตู รเพ่ือให้ทราบผล เพื่อเป็นขอ้ มูลสารสนเทศในการพฒั นา
ปรับปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา อันจะก่อใหเ้ กิดประโยชนต่อผู้เรียนมากท่สี ุด
2.2 ควรทาการประเมนิ หลกั สตู รเป็นระยะๆ ท้งั ก่อนการจัดทาหลกั สตู ร ระหว่างการ
จดั ทาหลักสูตร และหลังจากการจัดทาหลักสูตรเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว ทั้งน้ีเพ่ือหาข้อบกพร่องอนั จะ
นาไปพฒั นาหลักสตู รให้มคี วามสมบรู ณ์มากยิง่ ข้นึ
50
บรรณานุกรม
กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. แนวทางการจดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษา. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2545.
ทศพล กมลสขุ . การประเมนิ หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544 ของสถานศึกษา-
ขนั้ พื้นฐานระดบั ประถมศกึ ษา สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาสระบุรี. วทิ ยานิพนธ์
ค.ม. ฉะเชิงเทรา : มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรี, 2547.
ทศิ นา แขมมณ.ี รวมบทความทางการประเมินโครงการ. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2544. ธารง บัวศรี. ทฤษฎีหลักสตู ร : การออกแบบและการพัฒนา. พิมพ์ครั้งท่ี 2.
กรุงเทพฯ : ธนธชั การพิมพ์, 2542.
นเิ ทศสุขกิจ ทัพซ้าย. การประเมินหลักสตู รฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2536 สาขาวิชาการศกึ ษา
โปรแกรมวิชาพลศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี (หลังอนปุ ริญญา) ในกลุ่มสถาบันราชภฏั อสี าน
เหนือ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, 2541.
นุชวนา เหลอื งองั กรู และคณะ. การประเมินหลักสูตรการศกึ ษามหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2545.
บุญชม ศรสี ะอาด. วธิ ีการทางสถิตสิ าหรับการวิจยั . พิมพ์คร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น,2546.
บญุ เล้ียง ทุมทอง. การพัฒนาหลักสูตร. พมิ พค์ รั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , 2553.
พัชรินทร์ ศรสี วสั ดิ์. การประเมนิ หลกั สูตรเศรษฐศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.
วิทยานพิ นธ์ ศษ.ม. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546.
ภัทรา นิคมานนท.์ การประเมนิ ผลการเรียน. กรงุ เทพฯ : อักษราพิพัฒน์, 2544.
เยาวดี รางชยั กุลวบิ ลู ย์ศรี. การประเมินโครงการ : แนวคิดและแนวปฏบิ ัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4.กรุงเทพฯ :
จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , 2548.
รินทรล์ ภัส เกษศรรี ตั น์. การประเมนิ หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ในสถานศกึ ษา
สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาศรีสะเกษ เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ ค.ม. อุบลราชธานี :
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี, 2552.
รัชนี นามบณั ฑติ . การประเมินหลักสูตรสถานศกึ ษาของโรงเรยี นเครอื ขา่ ย สงั กดั สานกั งาน
การประถมศกึ ษา จังหวดั ขอนแก่น. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. เลย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย,
2546.
แรมสมร อยู่สถาพร. เทคนิคและวิธีการสอนในระดบั ประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แหง่
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2541.
วิชยั ประสทิ ธิว์ ฒุ เิ วชช์. การพฒั นาหลกั สตู รสานตอ่ ทอ้ งถิน่ . กรุงเทพฯ : เลฟิ แอนด์ลิฟเพรส,2542.
วชิ ยั วงษใ์ หญ่. การพฒั นาหลักสตู รระดบั อดุ มศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ชวนพมิ พ์, 2543.
วภิ าวดี ไพเมือง. การประเมินหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนื่อง ระดบั ปริญญาตรี สาขาบรหิ ารธุรกิจ
คณะศกึ ษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. วทิ ยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่ :
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่, 2545.
51
วัฒนาพร ระงบั ทุกข์. การจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาตามหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
พุทธศักราช 2544. กรงุ เทพฯ : พริกหวานกราฟฟคิ , 2545.
วาสนา ประวาลพฤกษ์. หลักการและเทคนิคการประเมนิ ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั -
ศรนี ครินทรวิโรฒน์ ประสานมติ ร, 2544.
ศมานนั ท์ รฐั ธนะรัชต์. การประเมินหลกั สูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ชว่ งชั้นท่ี 2 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี . มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. กรุงเทพ. 2547.
ศยามา ศรมยรุ า .การประเมินการใช้หลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544
ของ โรงเรยี นนาร่องและโรงเรียนเครอื ขา่ ยการใช้หลักสตู ร สังกดั สานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาเอกชน เขตภมู ิภาคตะวนั ตก.กรุงเทพมหานคร : 2545.
ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดอุดรธานี. แผนปฏิบัติการศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั
อุดรธานี ปกี ารศกึ ษา 2564. กลุม่ บรหิ ารงานงบประมาณศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัด
อดุ รธานี. (สาเนา). (2564ก)
______ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดอุดรธาน.ี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเดก็ ที่มคี วาม
ต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั อดุ รธานี พุทธศักราช 2564.
กลุม่ บรหิ ารงานงบประมาณศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดอดุ รธาน.ี (สาเนา). (2564ข)
สมนึก ภัททิยธนี. การวดั ผลการศกึ ษา. พมิ พ์คร้ังท่ี 7. กาฬสินธุ์ : ประสานการพมิ พ์, 2555.
สมหวงั พริ ิยานวุ ัฒน์. รวมบทความทางการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,
2544.
สุนีย์ ภพู่ ันธุ์. แนวคิดพ้ืนฐานการสร้างและพัฒนาหลกั สูตร. เชยี งใหม่ : แสงศลิ ป์, 2546.
สพุ ักตร์ พบิ ูลย์. “แนวคดิ พื้นฐานเกย่ี วกับการประเมิน,” ใน ประมวลสาระชดุ วชิ าการประเมนิ และ
การจดั การโครงการประเมนิ หนว่ ยที่ 1 – 5. หนา้ 115 – 120. นนทบุรี :
สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, 2548.
สุวมิ ล ติรกานันท.์ การประเมินโครงการ : แนวทางสู่การปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , 2547.
สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ. หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรับเด็กที่มคี วามต้องการ
จาเป็นพเิ ศษ พทุ ธศักราช 2562. สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ. (สาเนา). 2562
เอกรินทร์ ส่มี หาศาล. กระบวนการจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษาแนวคดิ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ :
บุ๊คพอยท์, 2546.
Crow and A.W. Crow. Introduction to Education. New Delhi : Euraga Publishing
House, 1980.
Good, C.V. Dictionary of Education. 3rd ed. New York : McGraw Hill, 1973. Kittel, R.S.
“Abstinence Education : Creating Evaluation Criteria and
EvaluatingCurriculum,” Dissertation Abstracts International. 65(3) : 883-A ;
May,2004.
Mingucci, M.M. “Action Research as ESL Teacher Professional Development,”
Dissertation Abstracts International. 63(2) : 451-A ; March, 2002.
52
Saylor, J.G. and W.M. Alexander. Planning Curriculum for School. New York :
Holt, Rinehant and Winston, 1974.
Shoemaker, B.J. “An Evaluation Study of the Implemention of an Intergrated
Curriculum Model in Selected Elementary Schools in Eugene, Oregon,”
Dissertation Abstracts International. 10 : 3673 ; Sumer, 1994.
53
ภาคผนวก
54
ภาคผนวก ก
รายชอ่ื ผู้เชี่ยวชาญ
55
รายช่อื ผู้เชย่ี วชาญ
1. นายพิชติ สนั่นเอ้ือ ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษาพิเศษ
2. นายสุบิน ประสพบัว ประจาจังหวดั อุดรธานี
3. นางสาวชาคริยา พันธ์ทอง รองผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ
เขตการศึกษา 9 จังหวดั ขอนแก่น
อาจารย์ประจาสาขาวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี
56
ภาคผนวก ข
เครือ่ งมือการวิจยั
57
แบบสอบถามการใช้หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เด็กทีม่ ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ
ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดอุดรธานี พทุ ธศักราช 2564
-------------------------------
คาชีแ้ จง
1. แบบสอบถามฉบบั น้ีเป็นเครอื่ งมือเพื่อใช้ในการเกบ็ ขอ้ มูลวิจัย เร่อื ง การประเมินการใช้หลักสตู ร
การศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัด
อุดรธานี พทุ ธศักราช 2564 วา่ เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของหลักสตู รมากน้อยเพียงใด
2. แบบสอบถามฉบบั น้ีมี 3 ตอน ดงั น้ี
ตอนที่ 1 เปน็ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเปน็ แบบ
ตรวจสอบรายการ (Check list) จานวน 4 ขอ้
ตอนที่ 2 เปน็ แบบสอบถามความคดิ เห็นเกีย่ วกบั หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ท่ีมี
ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั อุดรธานี พุทธศักราช 2564 มีลกั ษณะ
เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ แบ่งออกเปน็ 4 ดา้ นคอื
1. ด้านบรบิ ท (Context)
2. ด้านปัจจยั เบ้ืองต้น (Input)
3. ดา้ นกระบวนการ (Process)
4. ด้านผลผลติ (Product)
ตอนที่ 3 เปน็ แบบสอบถามชนดิ ปลายเปิด ให้ท่านแสดงความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
3. โปรด เคร่ืองหมาย ลงใน หรือเตมิ ข้อความลงในชอ่ งว่างที่สอดคลอ้ งกบั ความ
คดิ เห็นทีเ่ ป็นจรงิ ของท่านมากท่ีสุด ทัง้ นจ้ี ะไมเ่ กดิ ผลใดๆแก่ตัวทา่ นจากการตอบแบบสอบถามครงั้ น้ี
ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม
1. เพศ
ชาย หญงิ
2. อายุ
ต่ากว่า 25 ปี 25 ปี – 30 ปี
30 ปี – 40 ปี มากกกว่า 40 ปี
3. ประสบการณ์ในการทางาน
ตา่ กว่า 5 ปี 5-10 ปี
10 - 15 ปี มากกว่า 15 ปี
58
ตอนท่ี 2 ความคดิ เหน็ ของท่านเกี่ยวกบั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเดก็ ที่มคี วามต้องการ
จาเปน็ พิเศษ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดอดุ รธานี พุทธศกั ราช 2564
แบง่ เป็น 4 ด้าน คอื ดา้ นบริบท ดา้ นปจั จยั เบื้องตน้ ดา้ นกระบวนการ และด้านผลผลิต
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กทีม่ คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ
ประจาจงั หวดั อุดรธานี พทุ ธศักราช 2564
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสาหรบั เด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ
ประจาจังหวดั อดุ รธานี พุทธศกั ราช 2564 มงุ่ ใหเ้ ด็กท่มี ีความต้องการจาเป็นพิเศษมีพัฒนาการ
เตม็ ตามศักยภาพ และมีความพร้อมในการเรยี นรู้ต่อไป
จดุ หมายของหลกั สตู ร
1. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แขง็ แรง และมสี ขุ นิสัยทีด่ ี
2. สุขภาพจิตดี มสี นุ ทรยี ภาพ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตใจทีด่ งี าม
3. มีทักษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มวี นิ ัย และอยู่รว่ มกับ
ผู้อืน่ ได้อย่างมีความสุข
4. มที กั ษะการคิด การใช้ภาษาสอื่ สาร และการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วยั
5. มที ักษะทจ่ี าเป็นเฉพาะความพิการสาหรบั เดก็ พกิ ารแต่ละประเภท
ระดับความคดิ
ข้อ ข้อความ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย
ที่สดุ กลาง ทสี่ ดุ
1 ด้านบริบท
ก. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
จดุ มุง่ หมายของหลักสตู ร มีความสอดคล้องกับความต้องการของ
ชุมชนท้องถ่นิ
2 จดุ ประสงคข์ องหลักสตู ร มีความชดั เจน ปฏบิ ตั ิได้จริง
3 จุดประสงคข์ องหลักสูตร มคี วามสอดคล้องกับหลกั สูตรการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศักราช 2560
4 สง่ เสริมใหน้ กั เรยี นมีความรู้และนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
5 ดา้ นปัจจยั เบื้องต้น
ก. โครงสรา้ งหลักสูตร สอดคลอ้ งกบั วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมาย
ของสถานศกึ ษา
6 ความเหมาะสมของการกาหนดเวลาของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
7 ข. เนือ้ หาสาระ
เนอื้ หาสาระแตล่ ะด้านพัฒนาการ มคี วามสอดคล้องกบั คาอธิบาย
ดา้ นพฒั นาการ
8 เนอื้ หาสาระแตล่ ะดา้ นพฒั นาการตรงตามการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั
59
ระดบั ความคิด
ข้อ ขอ้ ความ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย
ทีส่ ดุ กลาง ท่สี ุด
9 ค. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นเอื้อต่อการส่งเสรมิ การเรียนร้แู ต่ละ
ด้านพฒั นาการ
10 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนตอบสนองต่อความต้องการ ความสนใจ
ของผูเ้ รียน
11 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนเหมาะสมกับผู้เรยี น
12 ง. ความร้คู วามสามารถของผู้บริหารและครู
เปน็ ผใู้ ฝห่ าความร้เู พิ่มเติม และใช้นวตั กรรมใหม่ๆ เพ่ือปรบั ปรุง
การเรยี นการสอน
13 ประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี
14 คดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้อยเู่ สมอ
15 อทุ ศิ ตนเพื่อประโยชนส์ ว่ นรวม
16 ส่ือการเรยี นการสอนเพียงพอและเหมาะสมกับการจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอน
17 มกี ารใช้สือ่ การเรียนการสอนอยา่ งคุ้มคา่
18 จ. ความพร้อมของสถานท่ี
จานวนห้องเรียนมเี พยี งพอกับจานวนนักเรยี น
19 แหล่งเรียนร้ภู ายในศนู ยฯ์ เอื้อตอ่ การเรียนรู้ของนักเรียน
20 บรเิ วณศนู ยฯ์ หอ้ งเรยี นสะอาด สะดวกตอ่ การจดั กิจกรรม
21 บรรยากาศสิ่งแวดล้อมภายในศนู ย์ฯ รม่ รน่ื
22 ฉ. ความร่วมมือจากชุมชน
ชมุ ชนเป็นแหล่งภูมปิ ญั ญา
23 ชมุ ชนมแี หลง่ ทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้
24 บุคลากรในชมุ ชนเปน็ ผมู้ ีความรู้ ความสามารถเปน็ ทเี่ ช่ือถือของ
บคุ คลทั่วไป
25 ชุมชนสนใจและให้การสนับสนุนการจดั การศกึ ษาเป็นอยา่ งดี
26 ด้านกระบวนการ
ก. การเตรยี มการใชห้ ลักสูตร
ศูนย์ฯจัดประชุมชแี้ จงบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอยี ดของคมู่ ือครู
เอกสารหลักสตู รและแผนการจัดการเรียนรู้
27 มีการส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรเกย่ี วกับรายละเอยี ดของคู่มือครู เอกสาร
หลักสตู รและแผนการจดั การเรียนรู้
60
ระดับความคดิ
ข้อ ขอ้ ความ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ท่สี ุด กลาง ท่สี ุด
28 ศนู ยฯ์ สง่ เสริมให้บุคลากรภายในศูนย์ฯ ได้มโี อกาสพัฒนาศักยภาพ
ในดา้ นอาชีพ เชน่ การอบรม ศึกษาดงู านและการศึกษาตอ่
29 ศนู ยฯ์ จดั ครูเข้าสอนหรอื มอบหมายงานอื่น โดยคานึงถึงวฒุ ิ
ประสบการณ์ตามความรู้ ความสามารถและความเหมาะสม
30 ศูนยฯ์ มีการกาหนดกิจกรรมพัฒนานกั เรยี นอย่างเหมาะสม
31 ศนู ยฯ์ มีการกาหนดคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรียน
32 ข. การดาเนินการใช้หลักสตู ร
มกี ารจดั เตรยี มการเกยี่ วกบั กระบวนการเรยี นการสอนก่อนเปดิ
ภาคเรียนทกุ คร้ัง
33 จัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ
34 จัดกจิ กรรมการเรียนรูส้ อดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัด
ของนักเรยี น
35 จดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยฝกึ ให้นักเรียนมีคุณลกั ษณะนสิ ัยท่ีดี
ตามความมุ่งหมายของหลักสตู รสถานศึกษา
36 จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยฝกึ ให้นักเรียนสามารถนาความรู้
ความเขา้ ใจในส่งิ ที่เรียนไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
37 ศูนยฯ์ ส่งเสริม สนับสนนุ ใหค้ รูผลิตส่อื การเรียนการสอน
38 ศนู ยฯ์ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหค้ รูทาวจิ ัยในชั้นเรียน
39 ศูนย์ฯใชก้ ารวิจยั เป็นสว่ นหน่ึงของกระบวนการเรยี นรู้
40 ศนู ย์ฯสนบั สนุนให้มีการวดั และประเมินผลกอ่ นเรียน ระหว่างเรียน
และหลังเรียน เพื่อปรบั ปรุงคุณภาพการเรียนการสอน
41 ศูนย์ฯดาเนินการสรา้ งและพัฒนาเคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผล
ได้ครอบคลมุ เน้ือหาและวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
42 ศูนย์ฯมีการสนบั สนุนด้านการวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้
โดยใช้วธิ กี ารหรอื รปู แบบทห่ี ลากหลาย
43 ศนู ย์ฯมีการสนบั สนนุ การวดั และประเมินผลจากการปฏิบัติงาน
ตามสภาพจริง
44 ค. การนเิ ทศติดตามการใช้หลักสูตร
ศนู ย์ฯมีการนิเทศ ตดิ ตาม การใช้หลักสูตรสถานศึกษา
45 ศนู ยม์ กี ารวางแผนนเิ ทศการใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษา
46 ดา้ นผลผลติ
ก. นกั เรยี นสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
61
ข้อ ขอ้ ความ ระดับความคดิ
47 นกั เรียนสามารถได้รบั การพัฒนาศักยภาพอยา่ งตอ่ เนื่องตรงตาม มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย
ลกั ษณะความพกิ าร ท่สี ุด กลาง ทส่ี ดุ
48 นกั เรียนมสี ่วนร่วมในกิจกรรมของชมุ ชน
ตามศักยภาพ
49 นักเรียนไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งเตม็ ความสามารถ และใชช้ ีวติ ใน
สงั คมภายนอกอยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื ได้อยา่ งมคี วามสุข
ตอนท่ี 3 ความคดิ เหน็ เพ่มิ เติมและข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
จดุ เดน่ และจุดด้อยของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ
ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัด อุดรธานี พทุ ธศักราช ๒๕๖๔
3.1 จุดเด่น คอื
................................................................................................................................... ..........
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................... ............................................................................................ ..........
3.2 จดุ ด้อย คือ
.......................................................................................................................... ..................
...................................................................................................... ................................................ ..........
............................................................................................................................. ...................................
...................................................................................................................................................... ..........
3.3 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
......................................................................................................................................... .......................
--------------------------------------- ขอขอบพระคณุ ทุกทา่ นท่ีตอบแบบสอบถาม ---------------------------
62
ภาคผนวก ค
การหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือการวิจยั
( คา่ ดัชนคี วามสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามกับวัตถปุ ระสงค์ : IOC และ
อานาจจาแนกและค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ )
63
ตารางที่ 14 ค่าคะแนนเฉล่ียดัชนคี วามสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามกับวัตถุประสงค์ (IOC)
การประเมินการใช้หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อุดรธานี พุทธศกั ราช 2564
ขอ้ ขอ้ ความ คะแนนการพจิ ารณา IOC ความ
ของผู้ทรงคณุ วุฒิ หมาย
123
1 ดา้ นบริบท
ก. จุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
จดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร มีความสอดคล้องกับความ
ต้องการของชุมชนทอ้ งถิน่
2 จุดประสงค์ของหลักสตู ร มคี วามชดั เจน +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ปฏบิ ัตไิ ด้จรงิ
3 จุดประสงค์ของหลักสตู ร มีความสอดคล้องกับ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
4 สง่ เสริมให้นกั เรียนมีความรู้และนาความรู้ไปใช้ +1 +1 0 .67 ใช้ได้
ในชวี ติ ประจาวนั
5 ดา้ นปจั จัยเบือ้ งต้น
ก. โครงสรา้ งหลักสูตร สอดคลอ้ งกับวิสยั ทศั น์ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
พนั ธกิจ เป้าหมายของสถานศึกษา
6 ความเหมาะสมของการกาหนดเวลาของกิจกรรม +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
พัฒนาผ้เู รียน
7 ข. เน้ือหาสาระ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
เน้ือหาสาระแตล่ ะด้านพฒั นาการ มคี วามสอดคล้อง
กับคาอธบิ ายด้านพฒั นาการ
8 เน้อื หาสาระแตล่ ะด้านพัฒนาการตรงตามการเรียนรู้ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ที่คาดหวงั
9 ค. กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น +1 +1 0 .67 ใช้ได้
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นเอื้อต่อการส่งเสรมิ การเรียนรู้
แตล่ ะด้านพฒั นาการ
10 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นตอบสนองต่อความต้องการ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ความสนใจของผ้เู รียน
11 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นเหมาะสมกับผู้เรยี น +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
12 ง. ความรคู้ วามสามารถของผู้บรหิ ารและครู +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
เปน็ ผใู้ ฝห่ าความรูเ้ พ่ิมเตมิ และใช้นวตั กรรมใหม่ๆ
เพอ่ื ปรับปรุงการเรยี นการสอน
13 ประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
64
ขอ้ ขอ้ ความ คะแนนการพิจารณา IOC ความ
ของผู้ทรงคณุ วุฒิ หมาย
123
14 คดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
อยเู่ สมอ
15 อทุ ิศตนเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
16 สื่อการเรยี นการสอนเพียงพอและเหมาะสมกับการ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
17 มีการใชส้ อ่ื การเรยี นการสอนอย่างคุ้มคา่ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
18 จ. ความพรอ้ มของสถานท่ี +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
จานวนห้องเรียนมีเพยี งพอกับจานวนนักเรียน
19 แหล่งเรยี นร้ภู ายในศนู ยฯ์ เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ของ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
นักเรยี น
20 บรเิ วณศูนยฯ์ ห้องเรียนสะอาด สะดวกต่อการจดั +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
กจิ กรรม
21 บรรยากาศสง่ิ แวดล้อมภายในศนู ย์ฯ ร่มร่ืน +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
22 ฉ. ความร่วมมอื จากชมุ ชน +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ชมุ ชนเป็นแหล่งภูมปิ ัญญา
23 ชมุ ชนมีแหล่งท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
24 บคุ ลากรในชุมชนเปน็ ผมู้ ีความรู้ ความสามารถเปน็ ท่ี +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
เชอื่ ถือของบุคคลท่วั ไป
25 ชมุ ชนสนใจและให้การสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษา +1 +1 0 .67 ใชไ้ ด้
เป็นอย่างดี
26 ด้านกระบวนการ
ก. การเตรียมการใช้หลกั สูตร +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ศูนย์ฯจดั ประชุมชแี้ จงบุคลากรเกีย่ วกบั รายละเอียด
ของคมู่ ือครู เอกสารหลกั สูตรและแผนการจัดการ
เรียนรู้
27 มกี ารสง่ เสริมใหบ้ ุคลากรเกยี่ วกบั รายละเอียดของ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
คมู่ อื ครู เอกสารหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้
28 ศูนย์ฯสง่ เสรมิ ให้บุคลากรภายในศูนยฯ์ ได้มีโอกาส +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
พัฒนาศักยภาพในด้านอาชีพ เชน่ การอบรม
ศกึ ษาดงู านและการศกึ ษาต่อ
29 ศนู ยฯ์ จัดครูเข้าสอนหรอื มอบหมายงานอืน่ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
โดยคานงึ ถึงวุฒิ ประสบการณ์ตามความรู้
ความสามารถและความเหมาะสม
65
ข้อ ข้อความ คะแนนการพิจารณา IOC ความ
ของผู้ทรงคุณวุฒิ หมาย
123
30 ศูนย์ฯมกี ารกาหนดกิจกรรมพัฒนานกั เรยี น +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
อยา่ งเหมาะสม
31 ศูนย์ฯมีการกาหนดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ของนักเรยี น
32 ข. การดาเนินการใชห้ ลักสูตร +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
มีการจดั เตรยี มการเก่ียวกับกระบวนการเรียน
การสอนก่อนเปิดภาคเรียนทุกครงั้
33 จัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
34 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับความสามารถ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ความถนัดของนักเรียน
35 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยฝึกใหน้ กั เรยี นมี +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
คุณลักษณะนิสัยท่ดี ตี ามความมงุ่ หมายของหลักสตู ร
สถานศึกษา
36 จัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยฝกึ ใหน้ กั เรยี นสามารถนา +1 +1 0 .67 ใชไ้ ด้
ความรู้ ความเข้าใจในส่งิ ทเ่ี รยี นไปใชใ้ น
ชวี ิตประจาวนั
37 ศนู ย์ฯสง่ เสริม สนับสนนุ ใหค้ รูผลติ สื่อการเรียน +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
การสอน
38 ศนู ย์ฯส่งเสริม สนบั สนุนให้ครูทาวิจยั ในช้นั เรียน +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
39 ศนู ย์ฯใชก้ ารวิจยั เป็นส่วนหน่ึงของกระบวน +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
การเรยี นรู้
40 ศนู ยฯ์ สนับสนนุ ใหม้ ีการวัดและประเมินผลก่อนเรียน +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ระหว่างเรียน และหลังเรียน เพอ่ื ปรบั ปรงุ คุณภาพ
การเรียนการสอน
41 ศูนยฯ์ ดาเนินการสรา้ งและพัฒนาเครอ่ื งมือวดั และ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ประเมินผล ไดค้ รอบคลุมเน้ือหาและวตั ถุประสงค์
การเรยี นรู้
42 ศูนย์ฯมกี ารสนับสนนุ ด้านการวดั ผลและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
การเรยี นรโู้ ดยใช้วธิ ีการหรอื รูปแบบทหี่ ลากหลาย
43 ศูนย์ฯมีการสนับสนุนการวัดและประเงินผลจากการ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ปฏบิ ัตงิ านตามสภาพจรงิ
44 ค. การนิเทศตดิ ตามการใชห้ ลกั สตู ร
ศนู ย์ฯมีการนิเทศ ติดตาม การใชห้ ลกั สตู ร +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
66
สถานศึกษา
ขอ้ ขอ้ ความ คะแนนการพิจารณา IOC ความ
ของผู้ทรงคณุ วุฒิ หมาย
123
45 ศูนยม์ กี ารวางแผนนิเทศการใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษา +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
46 ด้านผลผลิต
นักเรียนสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ประจาวนั ได้
47 นักเรยี นสามารถได้รบั การพฒั นาศักยภาพอย่าง +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ตอ่ เนื่องตรง
ตามลักษณะความพิการ
48 นักเรยี นมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชมุ ชนตาม +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ศกั ยภาพ
49 นกั เรียนได้รับการพฒั นาอยา่ งเตม็ ความสามารถ และ +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใช้ชวี ิตในสงั คมภายนอกอยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ได้อยา่ มี
ความสขุ
67
ตารางที่ 15 คา่ อานาจจาแนกของแบบสอบถาม (rxy) และคา่ ความเชือ่ มัน่ ของแบบสอบถามเกยี่ วกับ
การประเมินหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเด็กที่มีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานี พุทธศกั ราช 2564
ขอ้ ท่ี ค่าอานาจจาแนก (rxy) ขอ้ ท่ี คา่ อานาจจาแนก (rxy)
1 .71 26 .73
2 .56 27 .52
3 .78 28 .75
4 .42 29 .25
5 .50 30 .86
6 .53 31 .62
7 .53 32 .73
8 .42 33 .56
9 .86 34 .36
10 .80 35 .44
11 .31 36 .44
12 .36 37 .36
13 .34 38 .42
14 .31 39 .27
15 .32 40 .58
16 .26 41 .37
17 .42 42 .35
18 .36 43 .42
19 .34 44 .62
20 .31 45 .73
21 .52 46 .37
22 .53 47 .90
23 .86 48 .62
24 .73 49 .42
25 .36
ค่าความเช่ือมน่ั ทั้งฉบับเทา่ กับ .95
68
ภาคผนวก ง
เอกสารในการประสานงาน
69
70
71
72
73
ประวัตผิ ู้วิจยั
ชอ่ื -สกุล นายประนม มะธิปไิ ข
วนั เดอื น ปเี กดิ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2529
ทีอ่ ยูป่ ัจจุบัน เลขที่ 109 หมู่ 3 ตาบลหนองกงุ ศรี อาเภอโนนสะอาด
ประวตั กิ ารศึกษา จงั หวดั อุดรธานี
พ.ศ. 2553 การศึกษาบัณฑิต (การศึกษาพิเศษ
พ.ศ. 2560 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ตาแหนง่ และประวัติการทางาน การศกึ ษามหาบัณฑิต (การบรหิ ารการศึกษา)
พ.ศ. 2553-2556
พนกั งานราชการ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ เขตการศึกษา 12
พ.ศ. 2553-2556 ตาบลหนองชาก อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี
สังกัดสานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ
พ.ศ. 2556-2562 ครูผชู้ ่วย ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 12
ตาบลหนองชาก อาเภอบ้านบึง จังหวดั ชลบุรี
พ.ศ. 2562-2563 สังกดั สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ
ครู ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 12
พ.ศ. 2563-ปจั จบุ ัน ตาบลหนองชาก อาเภอบา้ นบึง จังหวัดชลบุรี
สังกดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ ศนู ย์การศึกษาพิเศษ
ประจาจงั หวดั อุดรธานีอดุ รธานี ตาบลสามพรา้ ว
อาเภอเมืองอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี
สงั กดั สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ
รองผ้อู านวยการ วิทยฐานะ รองผู้อานวยการชานาญการ
ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจงั หวดั อุดรธานอี ดุ รธานี
ตาบลสามพรา้ ว อาเภอเมืองอุดรธานี จงั หวัดอุดรธานี
สงั กัดสานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ
74
ประวตั ิผู้วิจัย
ช่อื -สกุล นายไพโรจน์ ไพรเขียว
วัน เดอื น ปีเกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2532
ท่อี ยูป่ จั จบุ ัน เลขท่ี 242 หมู่ 3 ตาบลสามพรา้ ว อาเภอเมืองอดุ รธานี
ประวตั ิการศึกษา จังหวัดอุดรธานี
พ.ศ. 2558 การศกึ ษาบัณฑติ (การศึกษาพิเศษ)
พ.ศ. 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
ตาแหน่งและประวตั ิการทางาน การศกึ ษามหาบัณฑิต (การบรหิ ารการศึกษา)
พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์
พ.ศ. 2558-2560 พนักงานราชการ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวดั บรุ ีรัมย์
ตาบลอิสาน อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
พ.ศ. 2560-2563 สังกดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ครูผู้ช่วย ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั ปัตตานี
พ.ศ. 2563-ปัจจบุ นั ตาบลรูสะมิแล อาเภอเมือง จังหวดั ปัตตานี
สังกัดสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ
ครู ศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดปตั ตานี
ตาบลรสู ะมแิ ล อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
สังกดั สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ
ครู ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดอดุ รธานี
ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั อุดรธานอี ดุ รธานี
ตาบลสามพร้าว อาเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอดุ รธานี
สังกัดสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ
75
ประวัตผิ ู้วิจัย
ช่อื -สกลุ นายยทุ ธพงษ์ เกษางาม
วนั เดอื น ปีเกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2538
ท่ีอยู่ปจั จุบัน เลขที่ 47 หมู่ 11 ตาบลพานพร้าว อาเภอศรเี ชยี งใหม่
จังหวัดหนองคาย 43130
ประวัตกิ ารศึกษา
พ.ศ. 2561 วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (กายภาพบาบัด)
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2563 ประกาศนียบัตรบัณฑิต (วชิ าชีพครู)
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ตาแหน่งและประวตั ิการทางาน
พ.ศ. 2562-2564 ครูผชู้ ่วย ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดอุดรธานี
ตาบลสามพรา้ ว อาเภอเมืองอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี
พ.ศ. 2564-ปัจจบุ นั สงั กดั สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ
ครู ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดอดุ รธานีอุดรธานี
ตาบลสามพร้าว อาเภอเมืองอุดรธานี จงั หวดั อดุ รธานี
สงั กัดสานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ