The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงานวิจัย สพฐ. ศึกษาและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle
เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษา : โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบี่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-10-20 06:13:13

เล่มรายงานวิจัย สพฐ.

เล่มรายงานวิจัย สพฐ. ศึกษาและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle
เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษา : โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบี่

39

จากตาราง 4.5 พบว่า การจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์วิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย
Text Editor นกั เรยี นมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทั้งภาพรวมและแยกเป็นรายด้าน เมื่อพิจารณาในแต่
ละข้อพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุดในเร่ืองของการท่ีครูผู้สอนได้ช้ีแจงวิธีการเข้าใช้บทเรียน
ออนไลน์และการให้นกั เรยี นส่งการบ้านแบบออนไลน์

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยกับนักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2560 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ท่ลี งทะเบยี นเรียนรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จานวน 14 คน ได้
ค่าสถติ ิพื้นฐานดงั ตาราง 4.6

ตาราง 4.6 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอน
ด้วยบทเรยี นออนไลน์ รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ลาดบั ประเด็นประเมนิ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบย่ี งเบน ระดับ
มาตรฐาน ความพงึ พอใจ
1 เน้ือหาและการลาดับเนื้อหา 3.71
0.54 มาก
1.1 วตั ถปุ ระสงคร์ ายวิชามคี วามชัดเจน 3.71 0.47 มาก
0.73 มาก
1.2 ปรมิ าณของเนอ้ื หาในแต่ละบทเรียน 3.71 0.52 มาก
0.27 มาก
1.3 ลาดบั เนือ้ หาเรยี งลาดับจากงา่ ยไปยาก 3.50 0.73 มาก
0.54 มาก
1.4 ความชดั เจนในการนาเสนอเน้อื หา 3.92 0.36 มาก
0.70 มาก
1.5 ความน่าสนใจในการดาเนินเร่อื ง 3.71 0.43 มาก
.55 มาก
2 แบบทดสอบ 3.98 .58 มาก
.62 มาก
2.1 ความชดั เจนของคาสัง่ แบบสอบถาม 4.14 0.52 มาก
.50 มาก
2.2 ความสอดคล้องระหวา่ งแบบทดสอบกับเนอ้ื หา 4.21 .50 มาก
.66 มาก
2.3 จานวนขอ้ ของแบบทดสอบ 3.79 .43 มาก
0.56 มาก
2.4 ชนิดของแบบทดสอบท่ีเลอื กใช้ 4.00 .47 มาก
.51 มาก
2.5 ความเหมาะสมของคาถาม 3.79

2.6 วิธีการสรุปคะแนนรวม 3.92

3 ตัวอกั ษร และสี 3.73

3.1 รปู แบบของตัวอักษรที่ใช้ในการนาเสนอ 3.64

3.2 ขนาดของตัวอักษรท่ีใช้ 3.64

3.3 สขี องตวั อกั ษรโดยภาพรวม 3.86

3.4 สขี องพืน้ หลังบทเรียนโดยภาพรวม 3.79

4 การจัดการบทเรียน 3.82

4.1 การควบคุมบทเรยี น เชน่ การใชเ้ มาส์ 3.92

4.2 การออกแบบหนา้ จอ โดยภาพรวม 3.57

40

ตาราง 4.6 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อการเรยี นการสอน
ดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

ลาดับ ประเดน็ ประเมิน คา่ เฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบน ระดบั
มาตรฐาน ความพึงพอใจ
4.3 วธิ ีการโต้ตอบบทเรยี น โดยภาพรวม 3.64
.74 มาก
4.4 ความเหมาะสมในการจดั การของ บทเรยี น 4.14 .53 มาก

เพ่อื จัดเก็บไฟล์ขอ้ มูลของ ผูเ้ รยี นแต่ละคน 0.55 มาก
.53 มากทีส่ ุด
5 การเรยี นการสอน 3.90 .52
มาก
5.1 ครไู ด้ชีแ้ จ้งวิธกี ารเข้าใช้บทเรยี นออนไลน์ 3.86 .47
.47 มาก
5.2 การให้คาปรึกษาและตอบขอ้ คาถาม 3.50 .58 มาก
.52 มาก
นักเรยี นของครู .62 มากท่สี ดุ
.62 มาก
5.3 การติดต่อสือ่ สารดว้ ยกระดานสนทนา 3.71 .62 มาก
0.54 มาก
5.4การตดิ ตอ่ ส่ือสารด้วยห้องสนทนา(Chatroom) 3.71 มาก

5.5 การติดต่อส่ือสารด้วยอีเมล์ (E-mail) 3.79

5.6 การสง่ การบ้านแบบออนไลน์ 4.50

5.7 การให้ผลสะทอ้ นกลับชิ้นงานของนกั เรียน 3.93

5.8 การพบปะและสอบวัดความรู้ในช้ันเรียน 4.07

5.9ใหน้ ักเรียนไดศ้ ึกษาคน้ คว้าหาความรดู้ ว้ ยตนเอง 4.07

รวม 3.83

จากตาราง 4.6 พบว่า การจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์วิชาการเขียนโปรแกรม

คอมพวิ เตอร์ นักเรียนมคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากท้ังภาพรวมและแยกเป็นรายด้าน เมื่อพิจารณาในแต่
ละข้อพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจมากท่ีสุดในเรื่องของการท่ีครูผู้สอนได้ชี้แจงวิธีการเข้าใช้บทเรียน
ออนไลนแ์ ละการใหน้ ักเรยี นส่งการบ้านแบบออนไลน์

จากความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลนท์ ัง้ 2 ภาคเรียน จะเห็นได้วา่ นกั เรยี น

มคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดับมากท้งั ภาพรวมและแยกเป็นรายดา้ น เมือ่ พจิ ารณาในแต่ละข้อพบว่า นักเรียนมี
ความพงึ พอใจมากที่สดุ ในเร่อื งของการทีค่ รผู สู้ อนไดช้ ้ีแจงวธิ ีการเขา้ ใชบ้ ทเรยี นออนไลน์และการให้นักเรียน
สง่ การบา้ นแบบออนไลน์

บทที่ 5
สรุปผล อภปิ รายผลและขอเสนอแนะ

บทเรียนออนไลน์ วิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 และ
วชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560

5.1 สรปุ ผลการวิจยั

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle ศึกษา
ประสทิ ธภิ าพบทเรยี นออนไลน์ท่ีพัฒนาด้วยโปรแกรม Moodle เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน
และหลังใช้บทเรียนออนไลน์ ศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนและหลังใช้บทเรียน
ออนไลน์ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์หลังใช้บทเรียนออนไลน์ โดย
ประชากรทใี่ ช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ นกั เรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จงั หวัดกระบ่ี สังกัดสานักงาน
เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 13 (ตรัง,กระบ่ี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัยกาหนดกลุ่มตัวอย่าง
ด้วยการเลอื กแบบจาเพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ท่ลี งทะเบียนเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย
Text Editor จานวน 10 คน และภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 รายวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
จานวน 14 คน โดยเป็นกลุม่ ทีผ่ ู้วิจยั เปน็ ผู้สอน

วธิ ีดาเนินการวิจัยในคร้ังนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย โดยใช้วิธีการวิจัยท้ังเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ (quantitative and qualitative research method) ทั้งน้ีเพ่ือให้การตอบคาถามตาม
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัยมีความครอบคลุมและได้สารสนเทศท่ีสมบูรณ์ยิ่งข้ึนท้ังภาพกว้างและภาพลึก โดย
มีขั้นตอนการดาเนนิ การวจิ ยั ท่สี าคัญหลงั จากท่ีไดก้ าหนดคาถามและวัตุประสงคข์ องการวจิ ัย

การเก็บรวบรวมข้อมลู ผวู้ จิ ัยดาเนินการโดย 1) ปฐมนิเทศนักเรียนท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคเรียน
ที่ 2 ปีการศึกษา 2559 รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560
รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2) นกั เรียนทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น และแบบวัด
ความสามารถในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 3) ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนท่ี
2 ปีการศึกษา 2559 รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดว้ ยบทเรยี นออนไลน์
4) สรปุ บทเรียนในคาบเรียนร่วมกัน 1 คร้ัง/สัปดาห์ ทั้ง 2 รายวิชา ได้แก่ วิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text
Editor และวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เมอ่ื เรยี นจบเร่อื งทกี่ าหนดแลว้ ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ
วดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนแบบวัดความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และแบบทดสอบความพึงพอใจ
ต่อการจดั การเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์

เคร่ืองมือการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยบทเรียนออนไลน์ท้ัง 2 รายวิชาแบบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นท้งั 2 รายวิชา แบบวัดความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองทั้ง 2 รายวิชาและแบบสอบถาม
ความพงึ พอใจตอ่ การเรยี นการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลน์ทัง้ 2 รายวิชา

ผลการวิจัย 1) การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ท้ัง 2 รายวิชามีประสิทธิภาพสูงกว่า
เกณฑ์ 80/80 เปน็ ไปตามสมมติฐานขอ้ ที่ 1 2) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังใช้บทเรียน
ออนไลน์ทั้ง 2 รายวิชาผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เป็นไปตามสมมติฐาน

42

ข้อที่ 2 3) การเปรียบเทยี บความสามารถในการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (Self-Directed Learning) ก่อนและหลัง
ใช้บทเรียนออนไลน์ท้ัง 2 รายวิชาผู้เรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน
ด้วยบทเรียนออนไลน์ใกล้เคียงกนั เปน็ ไปตามสมมติฐานขอ้ ท่ี 3 และ 4)การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนการ
สอนด้วยบทเรียนออนไลน์การจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ท้ัง 2 รายวิชา ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อ
บทเรยี นออนไลนใ์ นระดบั มาก

5.2 อภิปรายผล

การพัฒนาบทเรียนออนไลน์รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านโปรแกรม Moodle ในการจัดการกับ
เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ โดยการกาหนดเรื่องที่ต้องการสอน แต่ละเร่ืองจะมีไฟล์
บทเรียนให้ศึกษาพร้อมทั้งการบ้านและแบบทดสอบให้ทาเม่ือเรียนจบในแต่ละเรื่อง โดยได้มีการพัฒนา
บทเรยี น ผ่านผู้เช่ียวชาญ ทดลองใช้กับนักเรียน และได้มีการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนได้ประสิทธิภาพ
ของบทเรียนออนไลน์วิชาวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor 87.17/89.00 และวิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 86.33/88.00 สามารถนาบทเรียนออนไลน์ท่ีได้พัฒนาขึ้นไปใช้ในการจัดการเรียน
การสอนเพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ได้ ผลการวิจัยสอดคล้องกับลักษณ์ วจนะวิศิษฐ
(2557) ได้พัฒนาบทเรียนอีเลริ น์ นิงรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ วารสาร
เก้ือการณุ ย์ ปที ี่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2557 บทเรียนอีเลิร์นนิง มีประสิทธิภาพ 85.90/80.80
ตามเกณฑม์ าตรฐานท่ตี ง้ั ไว้คือ 80/80

ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียน
สามารถเรยี นรู้เนื้อหารายวิชาได้จากการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์และการทากิจกรรมต่าง ๆ ผ่านระบบ
ออนไลน์ไดด้ ว้ ยตนเอง ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทกุ ทที่ กุ เวลาเพราะบทเรียนออนไลน์ได้จัดระบบการเรียนการ
สอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างอิสระ ผู้เรียนจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วย
บทเรียนออนไลน์อย่างเห็นได้ชัด (ชาญชัย ยมดิษฐ์และปรัชญนันท์ นิลสุข, 2553) ซ่ึงสอดคล้องกับธัญญ
ลักษณ์ วจนะวิศษิ ฐ (2557) ไดพ้ ัฒนาบทเรยี นอเี ลิร์นนิงรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์
เกื้อการณุ ย์ วารสารเก้ือการณุ ย์ ปีท่ี 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2557 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วย
คะแนนการทดสอบเฉล่ียก่อนเรียนและคะแนนเฉล่ียหลังเรียน พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนสอบเฉล่ียหลังเรียน
แตกต่างจากคะแนนเฉลยี่ กอ่ นเรียนอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 เชน่ เดียวกันกับวาสนา ทองดี (2553)
ไดท้ าการวิจัยเร่ือง การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนเรอ่ื งระบบในรา่ งกาย สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่
2 โรงเรียนสวนแตงวิทยา จังหวัดสุพรรณบุรี ผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วย
บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนมคี ะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติที่
ระดบั .05 และนกั วจิ ยั ชตุ ิรตั น์ ประสงค์มณี (2553) ได้ทาการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี น วชิ าวิทยาศาสตร์ 8 เรอ่ื งโมเมนตัมของนักศกึ ษาที่เรียนดว้ ยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีแสดงการ
เคล่ือนทขี่ องวตั ถเุ ปน็ แบบภาพนิง่ และแบบภาพเคลอื่ นไหวหยดุ เปน็ ระยะ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียน
ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิตทิ ี่ระดับ .01

ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนและหลังใช้บทเรียนออนไลน์
รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor มีค่าเฉลี่ย 2.45 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.50 และ

43

ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าเฉลี่ย 3.63 ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.67 ซง่ึ ความสามารถในการเรยี นร้ดู ้วยตนเองก่อนเรียนและหลังเรียนดว้ ยบทเรียนออนไลน์มีค่า
ใกล้เคยี งกนั และรายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนเรียน
ด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าเฉล่ีย 3.90 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.37 และความสามารถในการเรียนรู้ด้วย
ตนเองหลงั เรยี นดว้ ยบทเรียนออนไลน์มคี ่าเฉล่ยี 3.83 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.34 ซึง่ ความสามารถในการ
เรยี นรู้ด้วยตนเองกอ่ นเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าใกล้เคียงกันเช่นเดียวกันสอดคล้องกับ
งานวิจัยของจุฑาทิพย์ เคราะห์ดี (2550) ได้ทาการศึกษา การพัฒนาแบบประเมินทักษะในการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 ศูนย์
เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาลุ่มน้าลพบุรี สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาลพบุรีเขต 1 พบว่า แบบ
ประเมินทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีความ
สอดคล้อง และไม่มีความแตกตา่ งกนั ในทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็น
วธิ ีการหนึ่งที่สามารถพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรยี นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะผู้เรียนเรียนด้วยความรู้สึก
อยากรู้ อยากเรียน เห็นคุณค่าความสาคัญของส่ิงท่ีจะเรียน รวมทั้งความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ของผู้เรียนได้จากการวัดของแบบประเมินความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนเรียน เพ่ือเป็นการ
ประเมินความสามารถของผเู้ รยี นซง่ึ เปน็ แบบวดั มาตรฐาน สะทอ้ นให้เห็นว่าผู้เรียนซึ่งเป็นนักเรียนระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 ระดับ
ความสามารถในการเรยี นร้ดู ้วยตนเองในเบอ้ื งต้นเป็นอยา่ งดีอยแู่ ลว้

ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์การจัดการเรียนการสอนด้วย
บทเรยี นออนไลน์รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นักเรียน
มีความพึงพอใจอย่ใู นระดับมากทง้ั ภาพรวมและแยกเป็นรายด้าน เมื่อพิจารณาในแต่ละข้อพบว่า นักเรียนมีความพึง
พอใจมากท่ีสุดในเร่ืองของการที่ครผู สู้ อนได้ชี้แจงวิธีการเข้าใช้บทเรียนออนไลน์และการให้นักเรียนส่งการบ้านแบบ
ออนไลน์ เนื่องจากการออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ได้ดาเนินการด้วยวิธีการออกแบบระบบการเรียนการ
สอน มีการจาแนกบทเรียนตามหน่วยเรียน จัดทาแบบฝึกหัดระหว่างเรียนและแบบทดสอบประกอบในทุกหน่วย
เรียน มกี ารวัดและประเมินผลผเู้ รยี นตามจุดประสงคร์ ายวชิ า โดยเนน้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองเป็นสาคัญ จึงได้
จัดทาสื่อประกอบเช่นอีบคุ๊ ให้ผู้เรยี นได้ดาวนโ์ หลดไปเรยี นรู้ด้วยตนเอง พร้อมท้ังจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้
ได้ด้วยตนเองอย่างอิสระ ทาให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนออนไลน์ในระดับมาก อีกท้ังระบบการจัดการ
เรยี นการสอนผ่านเว็บคณะผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมMoodle ซ่ึงเป็นโปรแกรมที่สามารถจัดการระบบการเรียนการสอน
ไดท้ ง้ั ระบบ โดยมีส่วนย่อย ๆต่าง ๆ เช่น ระบบสมาชิก ระบบตรวจสอบคะแนน ระบบการจัดการเน้ือหา ระบบการ
จัดการกิจกรรม มีการเช่ือมโยงสมบูรณ์แบบในตัวเอง ทาให้ไม่เกิดความผิดพลาดในการเชื่อมโยงภายในบทเรียน
สามารถจัดการเรียนการสอนและอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี สอดคล้อง
กับการวิจัยของธัญญลักษณ์ วจนะวิศิษฐ (2557) ได้พัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะ
พยาบาลศาสตรเ์ ก้ือการณุ ย์. วารสารเกื้อการุณย์ ปีท่ี 21 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มิถุนายน 2557 พบว่า ผู้เรียนมีความ
พึงพอใจของนักศึกษาที่ใช้บทเรียนท่ีสร้างขึ้นมีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก

44

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ข้อเสนอแนะในการนางานวิจยั ไปใช้
1) ผลการวจิ ยั แสดงให้เหน็ ว่าบทเรยี นออนไลน์ สามารถใช้ในการเรียนการสอนรายวิชาการ

เขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทั้งน้ีเพื่อช่วยเพ่ิม
ประสทิ ธิภาพการสอน สามารถชว่ ยผ้สู อนในการเปน็ ท้งั สือ่ หลักในกรณีผู้สอนติดงานประชุม เก็บข้อมูลวิจัย
บริการวชิ าการ และเป็นส่ือเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสามารถเขา้ ศึกษาทบทวนเรียนรไู้ ด้ตลอดเวลา

2) เนื่องจากรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียนโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ เปน็ รายวชิ าที่ต้องมีสอนทกุ โรงเรียน ดังน้ัน อาจจะสร้างหลกั สตู รกลางขึ้นมาสาหรับรายวิชาน้ี
โดยเฉพาะและสร้างเปน็ บทเรียนออนไลนใ์ ห้สาหรบั ทกุ โรงเรียนได้เข้าใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้
เปน็ มาตรฐานเดยี วกันทั่วประเทศ

5.3.2 ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ตอ่ ไป
1) ควรมีการพัฒนาบทเรียนออนไลน์รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor รายวิชา

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผสมผสานเทคนิคการสอนร่วมกับบทเรียนออนไลน์ โดยกาหนดสัดส่วน
การผสมผสานระหวา่ งการเรยี นบทเรียนออนไลนก์ บั การเรยี นการสอนปกตดิ ว้ ยเทคนคิ วธิ ีการตา่ ง ๆ

2) ควรมีการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ในรายวิชาอื่น ๆ โดยเฉพาะวิชาในกลุ่มสาระหลักของ
นกั เรยี น เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และสงั คมศึกษา เปน็ ต้น

ประวตั ิผ้จู ดั ทา

ชอ่ื นางสาวเตชนิ ี ภริ มย์

ท่อี ยู่ปัจจบุ นั 4 โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม ถ.อ่าวลกึ -พระแสง
ต.ปลายพระยา อ.ปลายพระยา จ.กระบี่ 81160

เบอรโ์ ทรศพั ท์ 086-470-3039
อเี มล์ [email protected]

[email protected]

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2536 – 2542 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

โรงเรยี นนาบอน จ.นครศรีธรรมราช
พ.ศ. 2542 – 2546 ปรญิ ญาตรี บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต

(คอมพิวเตอร์ธุรกจิ )

มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2548 – 2552 ปรญิ ญาโท วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ

(ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร)์
มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ กรุงเทพมหานคร

ประสบการณ์ทางาน ครปู ฏบิ ตั กิ ารสอนคอมพิวเตอร์
พ.ศ.2548 - 2556 โรงเรียนเทคโนโลยีภาคใต้ จ.นครศรธี รรมราช
อาจารยป์ ฏบิ ตั กิ ารสอนคอมพิวเตอร์
พ.ศ.2556 - 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยภี าคใต้ จ.นครศรีธรรมราช

พ.ศ.2559 - ปัจจุบนั ครูปฏบิ ตั กิ ารสอน สาระคอมพวิ เตอร์
กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบ่ี

บรรณานุกรม

กฤษพงษ์ กรี ตกิ ร. (2557). “การยกระดับคณุ ภาพครู” ใน การประชมุ คณะกรรมการปฏริ ปู
ระบบผลติ และพัฒนาครู คร้ังท่ี 2/2557 วนั ที่ 24 มกราคม 2557.

กิตตพิ งษ์ พุ่มพวง. (2547). ความหมายของระบบการจัดการการเรียนการสอน LMS (Learning
Management System). สืบค้นเม่ือ 14 กนั ยายน 2558 ,
จาก http://www.learners.in.th/blogs/posts/436596

เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศศักด.ิ์ ศ.ดร. (2552). สร้างงานพัฒนาสงั คมให้ย่งั ยืนดว้ ยแนวคดิ
การประกอบการ เพอื่ สังคม (Social Entrepreneurship).รฐั สภาสาร ปที ่ี : 57
ฉบบั ที่ : 9 เลขหน้า : 87-92 ปีพ.ศ. : 2552

ครุศาสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี. (2556). ศึกษาวิจัยเพอ่ื พฒั นารปู แบบการเรยี นการสอนผา่ น
สื่อออนไลน์.เทคโนโลยี และสื่อสารการศกึ ษา.โครงการศึกษาวจิ ัยเพื่อพัฒนารปู แบบการ
เรียนการสอนผา่ นสอ่ื ออนไลน์ สานกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร ร่วมกบั มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี

จนิ ตวรี ์ คลา้ ยสงั ข์. (2553). โครงการวิจยั รูปแบบเวบ็ ไซต์และรปู แบบบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ทีเ่ หมาะสมสาหรบั การเรยี นการสอนแบบอีเลิรน์ นงิ ในระดบั อดุ มศกึ ษา.
สานักคณะกรรมการการอดุ มศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

จฑุ าทพิ ย์ เคราะหด์ .ี (2550). การพฒั นาแบบประเมนิ ทักษะในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองรัก
การเรยี นรู้และพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
ศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาลม่ นา้ ลพบรุ ี สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
ลพบรุ ีเขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.

ชุติรตั น์ ประสงค์มณี. (2553). การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ 8
เร่ืองโมเมนตัมของนักศึกษาทเี่ รียนดว้ ยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนทีแ่ สดงการ
เคลื่อนท่ขี องวตั ถเุ ปน็ แบบภาพน่ิงและแบบภาพเคล่ือนไหวหยุดเป็นระยะ.
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ. หนา้ 595-600.

ชัยรตั น์ ไชยพจนพ์ านชิ .(2533).ทฤษฎแี ละวจิ ยั ทางเทคโนโลยีทางการศกึ ษา.กรุงเทพฯ :
ไทยวัฒนาพาณิช.

ชยั ฤทธิ์ โพธ์ิสุวรรณ. (2541). รายงานการวจิ ัยเรอ่ื ง ความพรอ้ มในการเรียนรูโ้ ดยการช้ีนาตนเอง
ของผู้เรียนผใู้ หญ่ของกิจกรรมการศกึ ษาผู้ใหญ่บางประเภท. กรงุ เทพมหานคร :
สาขาวิชาการศกึ ษาผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์

46

บรรณานุกรม (ตอ่ )

ดิเรก พรสีมา. (2554). แนวทางการพฒั นาวิชาชีพครู. (เอกสารอดั สาเนา).
ทิศนา แขมมณ.ี (2552). ศาสตรการสอน องคความรูเพ่อื การจัดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ.

กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย.
ธัญญลกั ษณ์ วจนะวศิ ิษฐ. (2557).การพัฒนาบทเรียนอีเลิรน์ นงิ รายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ

คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์. วารสารเก้ือการุณย์ ปที ี่ 21 ฉบับท่ี 1 มกราคม –
มถิ นุ ายน 2557.
นวลนอ้ ย จติ ธรรม. (2550). กจิ กรรมมุ่งปฏิบตั ิงานเพอ่ื ส่งเสรมิ ความสามารถทางการเขยี น
ภาษาอังกฤษและความสามารถในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองของนกั ศกึ ษาระดบั อาชีวศึกษา.
วทิ ยานพิ นธศ์ ึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่
บุญเก้อื กัลยาวนิ ยั .(2542). ห้องเรียนเสมือนจริง Virtual Classroom ในนวัตกรรมการศึกษา.
195-202 พมิ พค์ ร้งั ที่ 4, ภาควิชาเทคโนโลยกี ารศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย
ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.
ปรัชญานนั ท์ นลิ สขุ .(2548). พ้นื ฐานผอู้ อกแบบการเรยี นการสอนผ่านเวบ็ . วารสารวทิ ยาบรกิ าร,
ปีที่ 13 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) : 21-28.
ประกอบ คุปรัตน์. (2547). ความหมายของระบบการจัดการเรียนการสอน LMS (Learning
Management System). สืบคน้ เมอ่ื 14 กันยายน 2558 ,
จาก http://www.learners.in.th/blogs/posts/436596
ประเวศ วะสี. (2552). คาบรรยายเรอ่ื ง การศกึ ษาทพ่ี าชาตอิ อกจากวกิ ฤติ. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์.
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก
วนั ท่ี 19 สิงหาคม 2452.
พชิ ติ ตรีวทิ ยรตั น์ และ วรรณา ตรวี ิทยรตั น์, นวัตกรรมการจัดการ เรยี นการสอนระบบอเี ลิร์นนิง
แบบจุดเดียวเบ็ดเสรจ็ (One Stop eLearning Management Innovation),
การประชุมวิชาการระดบั ชาตดิ ้านอเี ลิรน์ นงิ บูรณาการการเรยี นรูอ้ อนไ์ ลนป์ ระชาคม
อาเซียน: นโยบายและกระบวนการ (Integrating ASEAN Online learning: Policy
and Process), สิงหาคม 2555, หน้า 110-113.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2555). (บรรณาธกิ าร). เพอ่ื ความเปน็ เลิศของการครศุ กึ ษาไทย. กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย์.

47

บรรณานกุ รม (ต่อ)

ภาสกร เรืองรอง และคณะ. (2556). เทคโนโลยีการศึกษากบั ครไู ทยในศตวรรษท่ี 21. สบื ค้นเม่ือ
10 มีนาคม 2561 [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://hooahz.wordpress.com/tag

ภัทร์นฤน เจรญิ ลาภ. (2552). การพฒั นาบทเรียน e-Learning ชุดวชิ าการพฒั นาศักยภาพระบบ
บริการพยาบาล ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.สืบคน้ เมือ่ 10 สงิ หาคม 2560 [ออนไลน]์ .
เขา้ ถึงไดจ้ ากhttp://dcms.thailis.or.th/tdc.

วรากรณ์ สามโกเศศ และคณะ. (2553). ขอ้ เสนอระบบการศึกษาทางเลอื กทเ่ี หมาะสมกบั สขุ ภาวะ
คนไทย. กรงุ เทพฯ: ภาพพมิ พ์

วาสนา ทวกี ุลทรพั ย์ รองศาสตราจารย์ ดร. (2558). การพฒั นารูปแบบศนู ยก์ ารเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
เร่ืองประชาคมอาเซียนสาหรบั นักเรยี นประถมศกึ ษา. สาขาวชิ าศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.

วาสนา ทองดี. (2553).การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรอื่ ง ระบบในรา่ งกาย.
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิจารณ์ พานิช. (2553). ครเู พอ่ื ศิษย.์ กรุงเทพ : อัมรินทรพ์ ร้นิ ตงิ้ แอนด์พลบั ลิชชง่ิ .
วจิ ารณ์ พานชิ . (2555: 16-21).ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21.สบื คน้ เม่ือ 10 มีนาคม 2561 [ออนไลน์].

เขา้ ถึงได้จาก http://www.vcharkarn.com/varticle/60454
สพุ รรณ ชื่นคา้ . (2550). การศึกษาผลสัมฤทธดิ์ ้านความรู้ เจตคติ และทักษะการแสวงหาความรู้

ด้วยตนเองจากกิจกรรมการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง โดยใช้รถหนว่ ย
คอมพิวเตอร์เคล่ือนที่ (Computer Mobile Unit). วิทยานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตร
มหาบัณฑิต บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
สมพนั ธุ์ ชาญศิลป.์ (2551). SUT Instant Server for Developer Plus Moodle. Seminar on
Driving Open SourceUsing in Software Industry 2008
อภิญญา ปัญญาสิทธิ์. (2555).วิเคราะหป์ ัญหาการใช้ระบบการเรยี นการสอนออนไลนม์ หาวทิ ยาลยั
แมโ่ จ้. ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต (ส่ือศลิ ปะและการออกแบบสือ่ ).
อญั ชลี อตแิ พทย์. (2553). ศึกษารูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใชภ้ าษาอังกฤษเพอ่ื การ
ส่ือสาร เพอื่ การทอ่ งเทย่ี วเชิงอนรุ ักษ์ในพืน้ ทีต่ าบลทา่ คา อาเภออัมพวา
จงั หวัดสมุทรสงคราม. ทนุ อุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา
Brookfield, Stephen. (1984). Self-directed Adult Learning : A Critical Paradigm.
Adult Education Quarterly. 35(2): 59 – 71.

48

บรรณานุกรม (ตอ่ )

Gagne, Robert M.and Leslie. Briggs. (1984). Principle of Instructional Design.
New York : Holt Rinehart and Winstion.

Holdren, lori Smellooger. (2002). Effect of Computer-mediated Learning
Instruct on Community College Intermediate algebra Student’s
Attitudes and Achievement. Retrieved September 14, 2015, form
http://www.lib.umi/dissertations/fullcit/3071038.

Knowles, M. S. (1975). Self-directed Learning : A Guide for Learners and Teachers.
Englewood Cliffs : Prentice Hall/Cambridge.

McKinsey. (2007). McKinsey Report on Education. (2014, March 1).
Retrieved from http// www.mckinsey.com.

Matthew, Kathryn and Gita Varagoor. (2001). Student Responses to Online Course
Materials. online. (Available). From :
http://www.thailis.uni.net/eric/detial.nsp.

Skager, Rodney. (1978). Lifelong Education and Evaluation Practice. New York :
Unesco Institute for Education, Hambury and Pergamon Press.

Salinas, Fidel Michael, Jr. (2001). Comparative learning methods of cognitive
computerbased training with and without multimedia blending.
Digital Dissertation Abstracts International. DAI-A 62/02 : 540 ; August.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
คา่ ความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

52

คา่ ความยากงา่ ยและคา่ อานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
รายวชิ าการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor

ขอ้ ท่ี ความยากงา่ ย อานาจจาแนก ข้อที่ ความยากง่าย อานาจจาแนก

1 0.26 0.11 29 0.24 0.21

2 0.79 0.47 30 0.24 0.21

3 0.77 0.68 31 0.80 0.58

4 0.80 0.58 32 0.72 0.53

5 0.21 0.21 33 0.24 0.25

6 0.21 0.26 34 0.37 0.50

7 0.61 0.58 35 0.61 0.58

8 0.21 0.25 36 0.61 0.58

9 0.80 0.58 37 0.80 0.58

10 0.80 0.58 38 0.61 0.58

11 0.77 0.47 39 0.29 0.37

12 0.24 0.21 40 0.79 0.63

13 0.37 0.50 41 0.80 0.58

14 0.61 0.58 42 0.72 0.53

15 0.61 0.58 43 0.79 0.63

16 0.77 0.47 44 0.53 0.58

17 0.79 0.63 45 0.24 0.26

18 0.80 0.58 46 0.79 0.63

19 0.61 0.58 47 0.80 0.58

20 0.21 0.21 48 0.61 0.58

21 0.61 0.42 49 0.80 0.58

22 0.61 0.58 50 0.61 0.58

23 0.80 0.63 51 0.61 0.42

24 0.80 0.63 52 0.80 0.63

25 0.71 0.63 53 0.79 0.63

26 0.29 0.37 54 0.77 0.47

27 0.61 0.58 55 0.77 0.47

28 0.61 0.42 56 0.79 0.63

53

ค่าความยากงา่ ยและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ดว้ ย Text Editor (ตอ่ )

ข้อที่ ความยากงา่ ย อานาจจาแนก ข้อที่ ความยากงา่ ย อานาจจาแนก
57 0.80 0.63 67 0.61 0.42
58 0.77 0.68 68 0.29 0.37
59 0.79 0.63 69 0.80 0.63
60 0.79 0.68 70 0.80 0.63
61 0.80 0.63 71 0.79 0.68
62 0.61 0.58 72 0.80 0.63
63 0.79 0.68 73 0.61 0.42
64 0.80 0.63 74 0.21 0.21
65 0.61 0.42 75 0.24 0.21
66 0.80 0.63

54

ค่าความยากงา่ ยและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
รายวชิ าการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ข้อที่ ความยากง่าย อานาจจาแนก ขอ้ ที่ ความยากงา่ ย อานาจจาแนก

1 0.77 0.68 29 0.61 0.58

2 0.79 0.47 30 0.80 0.58

3 0.77 0.68 31 0.24 0.26

4 0.80 0.58 32 0.29 0.37

5 0.61 0.58 33 0.79 0.63

6 0.80 0.58 34 0.29 0.37

7 0.61 0.58 35 0.61 0.58

8 0.61 0.58 36 0.61 0.58

9 0.71 0.63 37 0.80 0.58

10 0.80 0.58 38 0.61 0.58

11 0.77 0.47 39 0.24 0.25

12 0.79 0.63 40 0.79 0.63

13 0.80 0.58 41 0.80 0.58

14 0.61 0.58 42 0.72 0.53

15 0.61 0.58 43 0.29 0.37

16 0.77 0.47 44 0.53 0.58

17 0.21 0.21 45 0.61 0.58

18 0.80 0.58 46 0.24 0.26

19 0.61 0.58 47 0.80 0.58

20 0.80 0.58 48 0.61 0.58

21 0.61 0.42 49 0.80 0.58

22 0.29 0.37 50 0.61 0.58

23 0.24 0.25 51 0.24 0.21

24 0.80 0.63 52 0.21 0.26

25 0.71 0.63 53 0.50 0.26

26 0.79 0.63 54 0.77 0.47

27 0.61 0.58 55 0.80 0.63

28 0.61 0.42 56 0.21 0.21

55

ค่าความยากงา่ ยและคา่ อานาจจาแนกของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
รายวชิ าการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (ต่อ)

ขอ้ ท่ี ความยากงา่ ย อานาจจาแนก ขอ้ ที่ ความยากงา่ ย อานาจจาแนก
57 0.61 0.42 67 0.29 0.37
58 0.77 0.68 68 0.80 0.63
59 0.79 0.63 69 0.61 0.42
60 0.79 0.68 70 0.80 0.63
61 0.79 0.68 71 0.79 0.68
62 0.80 0.63 72 0.77 0.68
63 0.79 0.68 73 0.61 0.42
64 0.80 0.63 74 0.80 0.63
65 0.61 0.42 75 0.29 0.37
66 0.24 0.26

ภาคผนวก ข
คา่ อานาจจาแนกของแบบวดั ความสามารถในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

ค่าอานาจจาแนกของแบบวดั ความสามารถในการเรียนร้ดู ้วยตนเอง 57

ลาดบั ขอ้ ความ r

1. ถ้าขา้ พเจ้าต้องการเรียนรสู้ ิ่งใด ข้าพเจ้าจะหาทางเรียนรูใ้ ห้ได้ 1.00
2. ข้าพเจ้าชอบศึกษาค้นควา้ หาความรใู้ หม่ ๆ 1.00
3. ขา้ พเจ้าไม่ชอบการเรียนรใู้ นเรือ่ งทย่ี าก 0.67
4. ขา้ พเจ้าร้สู ึกวา่ หอ้ งสมดุ เป็นสถานที่ทน่ี า่ เบอ่ื 0.67
5. ขา้ พเจา้ มีความกระตอื รอื รน้ ที่จะเรยี นร้สู ่ิงตา่ ง ๆ 1.00
6. ขา้ พเจ้าชอบเข้ารว่ มงานเสวนา/ประชมุ วิชาการตา่ งๆ 1.00
7. ข้าพเจ้าดีใจมาก ถ้าหากไมม่ ีการเรียนการสอน 0.33
8. ข้าพเจ้าดีใจท่ีมีโอกาสแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นกับคนอ่นื ๆ 0.67
9. ข้าพเจา้ ยินดที ่ไี ดแ้ ลกเปล่ยี นความคิดเหน็ กับคนอนื่ ๆ 0.67
10. การเรยี นส่งิ ทยี่ ากไมเ่ คยทาให้ขา้ พเจ้าเบื่อ ถ้าสิ่งน้ันเปน็ เรอื่ งทีน่ า่ สนใจ 0.67
11. ขา้ พเจ้าชอบร่วมวงสนทนาแลกเปลย่ี นเรียนรู้เรอ่ื งตา่ งๆ กบั ผ้อู ื่น 0.67
12. ขา้ พเจา้ รูส้ ึกตนื่ เตน้ ทุกครงั้ ทไ่ี ดเ้ รียนรสู้ ิง่ ใหม่ ๆ 0.67
13. การค้นควา้ หาขอ้ มลู เปน็ เรื่องยากสาหรบั ขา้ พเจา้ 0.67
14. ขา้ พเจ้าทราบดวี ่าข้าพเจา้ ต้องการเรยี นรู้เรื่องใด 0.33
15. ข้าพเจ้ามักเป็นผ้นู าในกล่มุ ในการเรียนร้สู ง่ิ ต่างๆ 1.00
16. ขา้ พเจ้ามีความปรารถนาอยา่ งแรงกล้าทีจ่ ะเรียนรสู้ ่ิงใหม่ๆ 1.00
17. การเรียนรูถ้ งึ วิธีการเรยี นเป็นสง่ิ สาคญั สาหรบั การศึกษา 0.33
18. ในแต่ละปกี ารศึกษา ข้าพเจ้าไดเ้ รียนรสู้ ง่ิ ใหมๆ่ หลายๆ ส่งิ ด้วยตนเอง 1.00
19. ถ้าต้องการข้อมลู บางอย่าง ข้าพเจา้ ทราบดีวา่ จะไปหาไดจ้ ากทีไ่ หน 0.67
20. ข้าพเจ้ามกี ารวางแผนการเรียนและพยายามทาให้เป็นไปตามแผนทีว่ างไว้ 0.67
21. ถ้าต้องการข้อมลู บางอย่างท่ียังไมม่ ี ขา้ พเจ้าสามารถค้นหาความรนู้ ้นั ได้ด้วยตนเอง 1.00
22. หากขา้ พเจา้ ต้องการเรียนรสู้ ่ิงใด กจ็ ะพยายามแสวงหาความรู้น้นั แมจ้ ะมภี าระ 1.00

งานมากเพยี งใดกต็ าม 1.00
23. แมจ้ ะมภี าระงานมาก ขา้ พเจ้ากส็ ามารถแบง่ เวลาในการค้นหาความรู้ทต่ี อ้ งการได้ 1.00
24. ถ้าตดั สินใจท่ีจะเรยี นรอู้ ะไรก็ตาม ข้าพเจา้ สามารถหาเวลาได้เสมอไมว่ า่ จะมี
0.67
ภารกิจยุ่งยาก 0.67
25. เม่ือประสบกบั บางสง่ิ บางอย่างท่ไี มเ่ ขา้ ใจ ขา้ พเจ้าจะหลกี เลีย่ งส่งิ นั้น 0.67
26. ข้าพเจ้าเรียนรูต้ ามลาพังได้ไม่ดนี ัก -0.33
27. ขา้ พเจ้ามีความสุขทุกครัง้ ท่ีไดเ้ รยี น 0.33
28. แม้ข้าพเจา้ จะมีความคดิ ท่ดี ี แตก่ ไ็ มส่ ามารถนามาปฏบิ ัติให้เกดิ ผลดีได้ 0.67
29. การไม่เข้าใจเน้อื หาวิชาท่ีอา่ น เป็นปญั หามากสาหรบั ขา้ พเจา้
30. ข้าพเจา้ สามารถเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองเกอื บทกุ เรอื่ งท่ีข้าพเจ้าตอ้ งการจะเรยี นรู้

58

คา่ อานาจจาแนกของแบบวดั ความสามารถในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (ตอ่ )

ลาดบั ข้อความ r

31. เมื่อขา้ พเจ้าอ่านอะไรแลว้ สามารถเลา่ หรืออธิบายใหผ้ ู้อ่ืนฟังได้ 0.67
32. เมอ่ื ขา้ พเจ้าอ่านอะไรแล้วไมเ่ ขา้ ใจ ข้าพเจ้าจะพยายามอา่ นซ้าจนกว่าจะเข้าใจ 1.00
33. ขา้ พเจ้ารสู้ กึ ทา้ ทายหากไดเ้ รยี นรใู้ นเรอ่ื งทีย่ าก 0.67
34. ขา้ พเจา้ เชอ่ื วา่ การคดิ เสมอว่าตัวเราเป็นใคร อย่ทู ีไ่ หน กาลังทาอะไรเปน็ 0.00

หลกั การสาคญั ของการศกึ ษาเรยี นรู้ 0.67
35. ข้าพเจา้ ตอ้ งการมสี ว่ นร่วมในการตดั สนิ ใจว่าควรเรียนอะไร และจะเรยี นอยา่ งไร 0.00
36. ไม่มีใครอน่ื นอกจากตัวขา้ พเจ้าท่ีจะรับผดิ ชอบในส่ิงท่ีตนเรียน -0.33
37. ข้าพเจา้ สามารถบอกไดว้ า่ ข้าพเจ้าเรยี นส่ิงใดไดด้ ีหรอื ไม่ 0.00
38. ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ เมือ่ ไรทข่ี ้าพเจ้าต้องการจะเรียนรูใ้ นเรอื่ งใดเรือ่ งหนง่ึ ใหม้ ากขึ้น 0.67
39. ข้าพเจ้าสามารถบงั คับตนเองให้กระทาในส่ิงท่ีคิดวา่ ควรกระทา 0.67
40. ขา้ พเจ้าเป็นผู้รับผดิ ชอบเก่ียวกับการเรยี นรู้ของขา้ พเจา้ ไมม่ ีใครมารับผิดชอบ
0.00
แทนข้าพเจ้าได้ -0.33
41. ข้าพเจา้ มีความเชือ่ ว่า ไมม่ ใี ครแก่เกนิ ไปทจ่ี ะเรยี นรู้สงิ่ ใหมๆ่
42. มีหลายสิง่ หลายอย่างทขี่ ้าพเจา้ ตอ้ งการเรียนรแู้ ละปรารถนาจะให้มีเวลามากๆ ที่ 0.00
0.67
จะเรียนในแต่ละวนั 0.67
43. ขา้ พเจ้าช่นื ชอบผู้ท่ีรักการเรียนรสู้ งิ่ ใหมๆ่ อยเู่ สมอ 0.33
44. การเรียนรู้เปน็ เร่ืองสนุก 0.33
45. ขา้ พเจ้ามกี าลังใจทุกคร้งั ทไี่ ดพ้ ดู คุยกับผูร้ ู้ 0.00
46. ขา้ พเจ้าเห็นดว้ ยกบั ความคิดท่วี ่า "ผู้ใฝ่เรยี นเสมอคอื ผู้นา -0.67
47. ขา้ พเจ้ากระหายที่จะเรียนร้ตู ลอดเวลา
48. ขา้ พเจา้ ชนื่ ชมทกุ คนที่ใชเ้ วลาไปกบั การศกึ ษาคน้ คว้า 0.33
49. ข้าพเจา้ ต้องการให้วนั หน่ึงมีมากกว่า 24 ชม. ในการศกึ ษาคน้ คว้าเรื่องที่สนใจ 0.67
1.00
การเรยี นรอู้ ยู่ตลอดเวลาเปน็ ส่งิ ที่นา่ เบอ่ื 1.00
50. ข้าพเจา้ สามารถคดิ ค้นวิธกี ารตา่ งๆ ได้หลายแบบ สาหรับการเรียนรสู้ ิง่ ใหม่ๆ 0.67
51. ข้าพเจา้ มีความสามารถในการคิดค้นหาวธิ กี ารแปลกๆ ใหมๆ่ ที่จะทาส่ิงตา่ งๆ -0.67
52. ขา้ พเจา้ มีความสามารถในความพยายามคน้ หาวิธีการเขา้ ถึงสงิ่ ทต่ี ้องการเรยี นรู้ 0.33
53. ขา้ พเจ้าจะหาวธิ กี ารตา่ งๆ เพอ่ื ให้ไดใ้ นสง่ิ ท่ีต้องการรู้ 0.67
54. เมือ่ ข้าพเจา้ ต้องการรู้สิง่ ใด จะหาแนวทางทห่ี ลากหลายเพื่อใหไ้ ด้ความร้นู ้นั 0.00
55. การเรียนร้ไู มไ่ ด้ชว่ ยใหช้ วี ติ ของขา้ พเจ้าเปล่ียนแปลงไป
56. ข้าพเจา้ พยายามเชอ่ื มโยงส่ิงท่กี าลังเรียนกับเป้าหมายระยะยาวทต่ี ้งั ไว้
57. ข้าพเจ้าตอ้ งการเรียนร้ใู หม้ ากยง่ิ ข้นึ เพ่ือที่ว่าจะได้เปน็ คนท่ีมคี ณุ ภาพ
58. การเรียนรูเ้ ปน็ เครื่องมอื สาหรบั การดาเนินชวี ิต

59

ค่าอานาจจาแนกของแบบวัดความสามารถในการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (ต่อ)

ลาดบั ขอ้ ความ r

59. ขา้ พเจ้าทราบวา่ อะไรท่ีต้องการเรียนรูเ้ พ่มิ เติม 0.00
60. ขา้ พเจา้ เชอื่ วา่ ความรูท้ าให้คนสงา่ งาม 0.00
61. การเรยี นรู้มีความสาคญั กบั ชวี ติ มนษุ ย์ -0.33
62. การไดเ้ รยี นร้สู งิ่ ใหม่ ๆ ทาให้การดาเนินชวี ิตมีความหมาย -0.33
63. ข้าพเจา้ รู้สึกสนุกสนานในการหาคาตอบสาหรบั ข้อคาถามต่างๆ 0.67
64. ขา้ พเจา้ ไม่ชอบแก้ปัญหาทมี่ คี าตอบถกู ต้องมากกว่า 1 คาตอบ 0.00
65. ข้าพเจ้าไมม่ ปี ญั หาเก่ยี วกบั ทกั ษะเบ้อื งต้นของการศกึ ษา (ฟัง อ่าน เขยี น และจา) -0.33
66. ขา้ พเจา้ ชอบการสารวจ ตรวจสอบปัญหาตา่ งๆ 0.67
67. ถา้ มใี ครถามในส่ิงท่ีข้าพเจา้ รู้ ขา้ พเจา้ สามารถอธบิ ายใหเ้ ข้าใจได้งา่ ย -0.33
68. ขา้ พเจ้ามีความสามารถในการอธบิ ายความรู้ให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจไดง้ ่าย 0.00
69. ข้าพเจา้ สนุกกับการแก้ปญั หา 0.00
70. ข้าพเจา้ คิดว่าปญั หาเปน็ ส่ิงทา้ ทาย 0.33

ภาคผนวก ค
แบบวดั ความสามารถในการเรียนร้ดู ้วยตนเอง

61

แบบวดั ความสามารถในการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

คาช้ีแจง โปรดพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับการประเมินความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองใน
ประเด็นต่อไปน้ี แล้วกาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่อง 5,4,3,2,1 ที่ตรงกับ ระดับการดาเนินงาน ตามความเห็นของ
ทา่ น โดยกาหนดเกณฑ์ระดับคะแนน ดังนี้

5 หมายถึง ระดบั มากทสี่ ดุ
4 หมายถึง ระดับมาก
3 หมายถึง ระดับปานกลาง
2 หมายถงึ ระดับนอ้ ย
1 หมายถงึ ระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

ลาดับ ขอ้ ความ ระดบั ความสามารถ
ในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
1. ถ้าขา้ พเจา้ ต้องการเรยี นรูส้ ง่ิ ใด ข้าพเจ้าจะหาทางเรยี นรูใ้ ห้ได้
2. ข้าพเจ้าชอบศกึ ษาคน้ คว้าหาความรู้ใหม่ ๆ 54321
3. ข้าพเจ้าไมช่ อบการเรยี นรใู้ นเร่อื งทย่ี าก
4. ขา้ พเจา้ รูส้ ึกว่าห้องสมดุ เป็นสถานทีท่ ีน่ า่ เบ่อื
5. ขา้ พเจา้ มีความกระตอื รอื ร้นทจ่ี ะเรียนรู้สงิ่ ต่าง ๆ
6. ข้าพเจา้ ชอบเขา้ รว่ มงานเสวนา/ประชมุ วิชาการตา่ งๆ
7. ขา้ พเจา้ ดีใจทมี่ โี อกาสแลกเปล่ียนความคิดเหน็ กบั คนอ่นื ๆ
8. ขา้ พเจ้ายินดีท่ีได้แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กบั คนอืน่ ๆ
9. การเรยี นสิง่ ทยี่ ากไมเ่ คยทาให้ข้าพเจ้าเบ่ือ ถ้าส่ิงนัน้ เป็นเรื่องทน่ี ่าสนใจ
10. ข้าพเจ้าชอบร่วมวงสนทนาแลกเปลีย่ นเรียนรเู้ รื่องตา่ งๆ กับผ้อู น่ื
11. ข้าพเจ้ารู้สกึ ตน่ื เต้นทกุ ครงั้ ท่ีได้เรยี นรูส้ งิ่ ใหม่ ๆ
12. การค้นคว้าหาขอ้ มูลเป็นเร่อื งยากสาหรับข้าพเจ้า
13. ขา้ พเจา้ มักเปน็ ผู้นาในกล่มุ ในการเรียนรูส้ ่ิงตา่ งๆ
14. ขา้ พเจา้ มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะเรยี นรสู้ ่งิ ใหมๆ่
15. ในแต่ละปกี ารศกึ ษา ข้าพเจ้าได้เรยี นร้สู ิง่ ใหม่ๆ หลายๆ สงิ่ ด้วยตนเอง
16. ถา้ ตอ้ งการข้อมลู บางอยา่ ง ขา้ พเจา้ ทราบดีวา่ จะไปหาไดจ้ ากที่ไหน
17. ขา้ พเจา้ มีการวางแผนการเรยี นและพยายามทาใหเ้ ป็นไปตามแผนที่วางไว้
18. ถา้ ต้องการข้อมูลบางอย่างทีย่ งั ไมม่ ี ขา้ พเจา้ สามารถคน้ หาความรู้นน้ั ไดด้ ้วยตนเอง
19. หากขา้ พเจ้าต้องการเรียนร้สู ่ิงใด ก็จะพยายามแสวงหาความร้นู ้ัน แม้จะมี

ภาระงานมากเพยี งใดกต็ าม
20. แมจ้ ะมภี าระงานมาก ข้าพเจา้ ก็สามารถแบง่ เวลาในการค้นหาความรทู้ ีต่ อ้ งการได้
21. ถ้าตัดสินใจทีจ่ ะเรียนรอู้ ะไรก็ตาม ข้าพเจา้ สามารถหาเวลาได้เสมอไม่ว่าจะมี

ภารกิจยุ่งยาก
22. เมือ่ ประสบกับบางสิ่งบางอย่างที่ไม่เข้าใจ ขา้ พเจา้ จะหลกี เลีย่ งส่ิงน้ัน
23. ข้าพเจ้าเรยี นร้ตู ามลาพังไดไ้ ม่ดนี ัก

62

ระดบั ความสามารถ

ลาดับ ขอ้ ความ ในการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง

54321

24. ขา้ พเจา้ มคี วามสุขทุกคร้ังที่ได้เรยี นเรยี น

25. ขา้ พเจา้ สามารถเรยี นร้ดู ้วยตนเองเกือบทกุ เรื่องทข่ี า้ พเจา้ ต้องการจะเรยี นรู้

26. เม่ือขา้ พเจา้ อ่านอะไรแลว้ สามารถเล่าหรอื อธบิ ายให้ผูอ้ นื่ ฟังได้

27. เมือ่ ขา้ พเจ้าอ่านอะไรแล้วไมเ่ ขา้ ใจ ข้าพเจ้าจะพยายามอ่านซา้ จนกว่าจะเข้าใจ

28. ข้าพเจ้ารู้สึกท้าทายหากไดเ้ รยี นรใู้ นเรื่องที่ยาก

29. ขา้ พเจา้ ต้องการมีส่วนร่วมในการตดั สินใจว่าควรเรยี นอะไร และจะเรยี นอยา่ งไร

30. ข้าพเจา้ สามารถบงั คับตนเองใหก้ ระทาในสง่ิ ท่คี ดิ ว่าควรกระทา

31. ข้าพเจา้ เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบเก่ยี วกับการเรยี นรขู้ องข้าพเจา้ ไม่มใี ครมารบั ผดิ ชอบ

แทนข้าพเจา้ ได้

32. การเรียนรูเ้ ปน็ เรอื่ งสนุก

33. ข้าพเจา้ มกี าลังใจทกุ ครัง้ ทไ่ี ดพ้ ดู คุยกบั ผู้รู้

34. ข้าพเจา้ มคี วามสามารถในการคดิ คน้ หาวิธกี ารแปลกๆ ใหม่ๆ ทจี่ ะทาสิ่งตา่ งๆ

35. ข้าพเจา้ มคี วามสามารถในความพยายามค้นหาวิธกี ารเข้าถึงสิง่ ท่ีตอ้ งการเรยี นรู้

36. ขา้ พเจา้ จะหาวธิ กี ารต่างๆ เพ่ือให้ได้ในส่ิงทตี่ ้องการรู้

37. เมอื่ ขา้ พเจา้ ต้องการรสู้ ่ิงใด จะหาแนวทางที่หลากหลายเพ่ือให้ได้ความรนู้ ั้น

38. ขา้ พเจ้าต้องการเรยี นรู้ให้มากยิง่ ข้ึน เพอื่ ทว่ี ่าจะไดเ้ ปน็ คนทม่ี ีคุณภาพ

39. ขา้ พเจา้ รสู้ ึกสนกุ สนานในการหาคาตอบสาหรบั ขอ้ คาถามตา่ งๆ

40. ขา้ พเจ้าชอบการสารวจ ตรวจสอบปัญหาตา่ งๆ

ภาคผนวก ง
แบบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

64

แบบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
รายวิชาการเขียนเว็บไซตด์ ว้ ย Text Editor

จงทาเครอื่ งหมายวงกลม  ในหัวขอ้ ท่ถี กู ท่ีสดุ เพียงข้อเดยี ว

1. ข้อใดหมายถึงเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ท่ใี หบ้ ริการ?

ก. เซิร์ฟเวอร์ ข. ไคลเอนต์ ค. เวบ็ ไซต์ ง. โฮมเพจ

2. ขอ้ ใดหมายถงึ กลุ่มของหน้าเวบ็ เพจที่สรา้ งไวเ้ พอื่ นาเสนอข้อมลู ร่วมกนั ?

ก. เซิรฟ์ เวอร์ ข. ไคลเอนต์ ค. เว็บไซต์ ง. โฮมเพจ

3. ขอ้ ใดคือหนา้ ทขี่ องโดเมนเนม?

ก. ทาหนา้ ทใี่ นการจัดสรรไอพีแอดเดรส
ข. ใชแ้ ทนไอพีแอดเดรสเพ่ือให้จาได้งา่ ย
ค. แปลงโดเมนเนมกลับไปเปน็ ไอพีแอดเดรส
ง. แบ่งข้อมูลเปน็ สว่ นย่อยๆ เพ่ือปอ้ งกันการผิดพลาด

4. ข้อใดคอื ขนั้ ตอนแรกกอ่ นสร้างเว็บไซต?์ ข. กาหนดโครงร่างของเวบ็ ไซต์
ก. กาหนดการเช่ือมโยงระหว่างเวบ็ เพจ ง. อพั โหลดไฟลเ์ ว็บเพจ
ค. ออกแบบหน้าเวบ็ เพจ

5. ขอ้ ใดกล่าวไดถ้ ูกต้องเกี่ยวกับข้ันตอนในการพฒั นาเว็บไซต์?
ก. Site Map อยู่ในข้นั ตอนการออกแบบเว็บเพจ
ข. ขัน้ ตอนแรกตอ้ งเริม่ จากการเชอ่ื มโยงระหวา่ งเวบ็ เพจ
ค. เราต้องจองพืน้ ทีเ่ กบ็ เวบ็ เพจก่อนทจ่ี ะอพั โหลดขอ้ มูลข้ึนไป
ง. ต้องออกแบบเว็บเพจแต่ละหนา้ ก่อนแลว้ ค่อยวางแผนการเชอื่ มโยง

6. ข้อใดคือขัน้ ตอนของ Web Hosting ? ข. การเช่อื มโยงระหว่างเวบ็ เพจ
ก. การออกแบบเว็บเพจ ง. จองพ้นื ท่ีเก็บขอ้ มูลเว็บไซต์

ค. อัพโหลดเว็บไซต์

7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเก่ียวกับภาษา HTML ?
ก. เป็นภาษาหลักท่ีใช้ในการสร้างเว็บเพจ
ข. คาสง่ั จะอยูใ่ นเครอื่ งหมาย < และ >
ค. คาสง่ั สว่ นใหญ่จะแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ แท็กเปิดและแท็กปิด
ง. ในแทก็ ปดิ จะต้องมีเครือ่ งหมาย \

65

8. ข้อใดเป็นรปู แบบของแท็กในภาษา HTML ? ข.<แทก็ >ขอ้ ความ</แทก็ >
ง. <แทก็ ,ข้อความ><\แทก็ >
ก. <แท็ก,ขอ้ ความ></แทก็ >
ค. <แทก็ >ข้อความ<\แท็ก>

9. ข้อใดคอื ส่วนท่ีใส่เนือ้ หาของเว็บเพจท่ีจะไปแสดงผลทีเ่ วบ็ บราวเซอร์?

ก. <html> ... </html> ข. <head> ... </head>

ค. <body> ... </body> ง. <title> ... </title>

10. แท็ก <title> ... </title> เปน็ แทก็ ทใ่ี ชอ้ ยู่ภายในแท็กข้อใด ?

ก. <html> ... </html> ข. <head> ... </head>

ค. <body> ... </body> ง. <h๒> ... </h๒>

11. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั XHTML ?
ก. เขียนโปรแกรมงา่ ยเพราะไมส่ นใจความแนน่ อนของภาษา
ข. เรม่ิ ต้นใชง้ านไม่ยากเพราะพฒั นามาจาก HTML ๔
ค. การพฒั นาแท็กคาสงั่ และโมดูลให้ทางานรว่ มกนั ได้

ง. สามารถทางานไดเ้ ขา้ กับทกุ ระบบ

12. ข้อใดเป็นแท็กสาหรบั การข้นึ บรรทดั ใหม่? ข. <br>...</br>
ก. <br /> ง. ถกู ทัง้ ขอ้ ก. และ ข.
ค. <nobr>

13. ข้อใดเป็นแท็กสาหรับการจัดขอ้ ความแบบเป็นยอ่ หนา้ ?

ก. <p /> ข. <p>

ค. <br> ง. <pre>

14. ข้อใดเป็นการจัดหน้าเวบ็ เพจโดยให้ข้อความแสดงเหมือนตามที่เรากาหนดไว้?

ก. <br> ข. <p>

ค. <nobr> ง. <pre>

15. ข้อใดคอื การใชแ้ ทก็ <hr> แสดงเส้นคนั่ แนวนอนยาว ๓๐% ของความกวา้ งหนา้ จอ ?

ก. <hr="๓๐%" /> ข. <๓๐%:hr />

ค. <hr width="๓๐%" /> ง. <width="๓๐%":HR />

16. ขอ้ ใดคือรปู แบบของการเพิ่มหมายเหตุเตือนความจา?

ก. <!--หมายเหตุ--> ข. <!--หมายเหตุ--!>

ค. //หมายเหตุ ง. /*หมายเหตุ*/

66

17. ขอ้ ใดคอื ไฟล์ภาพทน่ี ยิ มนามาใชบ้ นเวบ็ เพจมากทสี่ ดุ ?

ก. GIF และ TIFF ข. GIF และ JPEG

ค. PSD และ JPEG ง. PSD และ TIFF

18. หากตอ้ งการแสดงภาพวิวที่เปน็ ภาพถา่ ยบนเวบ็ เพจควรแสดงเป็นไฟล์ตามข้อใด ?

ก. GIF ข. TIFF

ค. JPEG ง. PSD

19. ขอ้ ใดควรระวงั ในการนาไฟล์ภาพข้ึนใช้งานบนเวบ็ เพจ ?
ก. ขนาดไมค่ วรใหญ่จนเกนิ ไป
ข. ตรวจสอบให้ดกี อ่ นว่าภาพน้นั มลี ขิ สิทธหิ์ รือไม่

ค. ควรเลือกชนิดภาพท่ีใชอ้ ย่างเหมาะสม และใช้ภาพเท่าท่จี าเปน็
ง. ถูกทกุ ข้อ

20. ข้อใดไม่ใช่คา่ ท่ีสามารถกาหนดในแอททริบิวท์ align ได้ ?
ก. top ข. down

ค.left ง. right

21. ข้อใดเปน็ แอททรบิ วิ ท์ท่ีใช้ในการใส่ข้อความกากบั ภาพ ?
ก. alt ข. shift
ค. ctrl ง. txt

22. ขอ้ ใดคือรูปแบบการลิงคโ์ ดยใชแ้ ท็ก
<a href="#ชอ่ื จุดเชื่อมโยง">...</a> ?

ก. การเชื่อมโยงข้อมลู ภายในเวบ็ เพจเดียวกัน
ข. การเชอ่ื มโยงกับเวบ็ เพจอื่นภายในเว็บไซต์เดยี วกนั

ค. การเชือ่ มโยงไปยังเวบ็ ไซต์อน่ื
ง. การเชอื่ มโยงไปยงั ไฟลอ์ นื่ ทไี่ ม่ใชเ่ อกสาร HTML

23. ขอ้ ใดคอื รปู แบบการลิงคโ์ ดยใช้คาสงั่
<a href="http://www.microsoft.com">... </a> ?

ก. การเชื่อมโยงข้อมลู ภายในเว็บเพจเดยี วกัน
ข. การเชื่อมโยงกับเว็บเพจอื่นภายในเวบ็ ไซตเ์ ดียวกัน
ค. การเช่อื มโยงไปยงั เวบ็ ไซตอ์ ื่น

ง. การเช่ือมโยงไปยงั ไฟล์อ่นื ทไ่ี ม่ใช่เอกสาร HTML

67

24. ขอ้ ใดเปน็ การเขยี นคาสั่งเพื่อใชภ้ าพ picture.jpg เป็นตวั ลงิ ค์ไปเวบ็ ไซต์ adobe ?

ก. <a href="http://www.adobe.com"><img src="picture.jpg"></a>
ข. <a href="http://www.adobe.com">"picture.jpg"</a>
ค. <a href="http://www.adobe.com" img src="picture.jpg"></a>

ง. ไม่มีข้อถูก

25. คาสง่ั <body link="ส"ี vlink="สี" alink="ส"ี >
เป็นคาส่งั ที่ใช้กาหนดสขี องลิงค์ ซ่งึ สีที่กาหนดแตล่ ะตวั มคี วามหมายตามข้อใดตามลาดบั ?
ก. ไมเ่ คยถูกใช้ กาลังคลิกเมาส์อยู่ ถกู ใช้แล้ว

ข. ไมเ่ คยถกู ใช้ ถกู ใชแ้ ล้ว กาลงั คลิกเมาส์อยู่
ค. กาลงั คลกิ เมาสอ์ ยู่ ไมเ่ คยถูกใช้ ถกู ใช้แลว้

ง. ถกู ใชแ้ ลว้ ไมเ่ คยถูกใช้ กาลงั คลิกเมาส์อยู่

26. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้องเก่ยี วกับการสร้างลิงค์โดยวธิ ี Rollover ?
ก. คาส่งั ทเ่ี ขียนเพ่มิ เรยี กวา่ Event Handler หรือคาสั่งตอบสนองเหตุการณ์
ข. ต้องใช้แอททรบิ วิ ทท์ ี่สาคัญคอื OnMouseDown และ OnMouseOut

ค. ตอ้ งเขียนคาสง่ั ของ Javascript เพิ่มเติม
ง. ไมม่ ขี อ้ ถกู

27. ข้อใดเป็นการลิงคภ์ ายในเวบ็ ไซต์เดียวกนั โดยลิงคจ์ ากเว็บเพจ home.html
ไปยัง success.html ซง่ึ มกี ารเก็บหน้าเว็บเพจในไดเรก็ ทอร่ี ดงั รูป ?

ก. <a href="../../success.html">
ข. <a href="/../../success.html">
ค. <a href="../../../success.html">

ง. <a href="project๑/success.html">

28. จากข้อ 37 ถ้าเราจะสรา้ งลงิ ค์กลบั จาก success.html กลบั สู่ home.html
เราจะใช้ลงิ ค์ขอ้ ใด ?
ก. <a href="project๑/project๒/home.html">

ข. <a href="/project๑/project๒/home.html">
ค. <a href="/project๒/project๓/home.html">

ง. <a href="project๒/project๓/home.html">

29. ข้อใดคือความหมายของการใช้แท็ก <li> ? ง. สร้างรายการ
ก. กาหนดชนิดของรายการ
ข. สรา้ งหัวขอ้ ใหญ่ของรายการ
ค. กาหนดสญั ลักษณ์ดา้ นหนา้ รายการ

68

30. ข้อใดคอื แท็กในการกาหนดเคร่อื งหมายนาหน้ารายการใหเ้ ป็นวงกลมทบึ เหมือนกันหมด

ทกุ รายการ ?

ก. <ul type="disc"> ข. <ul type="circle">

ค. <li type="disc"> ง. <li type="circle">

31. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเกย่ี วกบั Ordered List ?
ก. เปน็ การสร้างลสิ ต์แบบมีลาดับ
ข. หากไม่มกี ารกาหนดชนิดของเลขลาดับจะใชเ้ ปน็ เลขโรมนั
ค. ใชแ้ ท็ก <ol> ในการสรา้ งรายการแบบ Ordered List

ง. ชนิดของเลขลาดับท่ีกาหนดได้แก่ ตวั อกั ษร, เลขโรมัน และเลขอารบิก

32. ขอ้ ใดคอื แท็กท่ีใช้สรา้ งรายการแบบ Ordered List ทมี่ ชี นดิ ลาดับเป็นอกั ษรพมิ พใ์ หญ่ ?

ก. <li type="A"> ข. <li type="capitals">

ค. <ol type="capitals">ง. <ol type="A">

33. ข้อใดคอื คาสัง่ ท่ใี ช้สรา้ งรายการแบบ Ordered List ให้ค่าเรมิ่ ต้นการจัดลาดับที่ ๒๐ ?

ก. <li start="๒๐"> ข. <li type="๒๐">

ค. <ol start="๒๐"> ง. <ol type="๒๐">

34. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกี่ยวกบั ลสิ ต์แบบจากดั ความ?
ก. ใช้แยกคาและความหมายออกจากกัน

ข. Definition List คือ ลิสต์แบบจากัดความ
ค. สามารถกาหนดเครอื่ งหมายนาหนา้ ขอ้ ความได้
ง. แบง่ ออกได้เป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกคือคาศัพท์ และความหมายของศพั ท์

35. <dt> และ <dd> เปน็ คาสัง่ ในการสรา้ งลิสต์แบบใด ?

ก. ลสิ ต์แบบไมม่ ีลาดับ ข. ลสิ ตแ์ บบมลี าดบั

ค. ลสิ ตแ์ บบจากดั ความ ง. ลสิ ตแ์ บบซอ้ นกนั

36. ข้อใดไม่ใช่รปู แบบของลสิ ต์ เพียงแต่เป็นการนารปู แบบของลสิ ตม์ าประยกุ ตใ์ ช้เทา่ นนั้ ?

ก. ลสิ ตแ์ บบไมม่ ลี าดับ ข. ลสิ ต์แบบเมนูลิสต์

ค. ลสิ ต์แบบจากัดความ ง. ลิสตแ์ บบซอ้ นกนั

37. ข้อใดเป็นแทก็ ในการสรา้ งแถวและคอลัมน์ตามลาดบั ?

ก. <tr>...</tr> และ <td>.. </td> ข. <th>...</th> และ <td>.. </td>

ค. <td>...</td> และ <tr>.. </tr> ง. <tr>...</tr> และ <th>.. </th>

69

38. ข้อใดเป็นความหมายของการใส่เแอททริบิวท์ border หลงั แทก็ <table> ?

ก. ข้อความในตารางเป็นตัวหนา ข. ใส่เส้นตาราง

ค. ใสห่ ัวข้อใหก้ บั ตาราง ง. สรา้ งกรอบล้อมรอบตาราง

39. ขอ้ ใดเปน็ ความหมายของการใชแ้ ทก็ <caption align="ตาแหน่ง">....</caption> ?
ก. กาหนดตาแหนง่ ของคาอธิบายตาราง

ข. กาหนดตาแหน่งของตารางในหนา้ เวบ็ เพจ
ค. กาหนดตาแหน่งของข้อความในตาราง
ง. กาหนดตาแหนง่ ของ caption

40. ข้อใดเปน็ แทก็ ท่ใี ช้กาหนดใหม้ ีทีว่ า่ งระหวา่ งขอบเซลลแ์ ละข้อมูล?

ก. <cellspacing> ข. <cellpadding>

ค. <cellwidth> ง. <cellspan>

41. ข้อใดเป็นแทก็ ท่ใี ชใ้ นการกาหนดสีลงในช่องตาราง?

ก. backcolor ข. background

ค. color ง. Bgcolor

42. ขอ้ ใดเป็นการปรับขนาดของตารางทัง้ ตารางใหม้ ีความกว้างเปน็ ๖๐% ของหน้าจอบราวเซอร์ ?

ก. <table width="๖๐"> ข. <table border="๖๐%">

ค. <colgroup width="๖๐"> ง. <table width="๖๐%">

43. ขอ้ ใดเปน็ การใสร่ ูปภาพ sea.gif ใหเ้ ป็นภาพพ้นื หลงั ของตาราง ?
ก. <table src="sea.gif">
ข. <table background="sea.gif">
ค. <table><img src="sea.gif"></table>
ง. <table bgimage="sea.gif">

44. ในการกาหนดเส้นของตาราง ค่าแอททรบิ ิวท์ frame="void" มคี วามหมายตรงตามข้อใด ?

ก. แสดงเส้นด้านล่างของชอ่ งตาราง ข. ไมแ่ สดงเสน้

ค. แสดงเสน้ ดา้ นบนของชอ่ งตาราง ง. แสดงเฉพาะเสน้ void

45. หากเราต้องการกาหนดเส้นของตารางให้แสดงเฉพาะเส้นแนวนอนทง้ั หมด

เราจะกาหนดคา่ ของแอททรบิ วิ ท์ rules ด้วยคา่ ใด ?

ก. horizon ข. rows

ค. horizons ง. row

70

46. ขอ้ ใดกล่าวได้ถูกตอ้ งเกยี่ วกบั แอททริบิวท์ valign ทกี่ าหนดในแทก็ <td> ?

ก. เป็นการจดั ขอ้ มลู ในแนวนอน
ข. รปู แบบคาสง่ั คอื valign="ตาแหนง่ "
ค. ตัวเลือกท่กี าหนดได้ คือ top, middle และ bottom

ง. ถกู ทกุ ข้อ

47. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู เกีย่ วกบั รปู แบบการทางานของฟอร์มและ CGI ?
ก. CGI ย่อมาจาก Common Gateway Interface
ข. โปรแกรมทีใ่ ช้ในการประมวลผลขอ้ มลู มีชอื่ เรียกวา่ CGI Script

ค. ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากฟอรม์ และนาไปประมวลผลเรยี บร้อยแล้วเรียกวา่ CGI
ง. เราใช้ภาษา HTML ในการสร้างฟอร์มเพือ่ สง่ ข้อมลู ใหก้ บั เซริ ฟ์ เวอร์

48. ข้อใดคอื ความหมายของการกาหนด method="post" ภายในแท็ก <form...> ?
ก. การส่งข้อมลู ภายในฟอร์ม ไปยงั CGI ทลี ะตวั อกั ษร
ข. การสง่ ขอ้ มูลภายในฟอร์ม ไปยงั CGI ทลี ะบรรทัด
ค. การส่งข้อมลู ภายในฟอร์ม ไปยัง CGI พร้อมกนั ทง้ั หมด

ง. ไมม่ ขี ้อถกู

49. ขอ้ ใดไมใ่ ช่แอททริบิวท์ท่ีอย่ใู นอุปกรณ์รับขอ้ มูลท่สี รา้ งโดยใชแ้ ท็ก <input>?

ก. name ข. size

ค. maxlength ง. Action

50. ขอ้ ใดไม่ใช่ชนดิ ของอุปกรณใ์ นแทก็ <input> ?

ก. name ข. image

ค. hidden ง. button

51. ขอ้ ถกู ตอ้ งเก่ียวกบั ชอ่ งกรอกขอ้ มลู แบบ Password ?
ก. ส่ิงทพ่ี มิ พ์จะปรากฏข้นึ ภายในช่อง
ข. กาหนด input type="text"

ค. ไม่สามารถใชห้ ลายๆ ตวั ในฟอรม์ หนึง่ ได้
ง. ใช้ maxlength ในการกาหนดจานวนตวั อกั ษรสงู สดุ ของ Password

52. หากเราต้องการทาแบบสอบถามเกีย่ วกบั การใช้สนิ ค้าท่ีสามารถตอบคาถามไดม้ ากกว่า ๑ ขอ้ ควร

เลือก input type ในขอ้ ใด ?

ก. checkbox ข. password

ค. radio ง. textarea

71

53. ขอ้ ใดเป็นแท็กที่ใชใ้ นการจดั หมวดหมรู่ ายการ ?

ก. <group> ข. <optgroup>

ค. <fieldgroup> ง. <formgroup>

54. ข้อใดเป็นแท็กทใ่ี ชใ้ นการจัดแบ่งแบบฟอร์มออกเปน็ สว่ นๆ ?

ก. <formset> ข. <formgroup>

ค. <fieldset> ง. <fieldgroup>

55. ขอ้ ใดคือความหมายของเครอ่ื งหมาย * ทใ่ี ส่เพ่อื แบ่งขนาดของแถวและคอลัมน์ของเฟรม?

ก. พ้นื ทที่ เี่ หลอื จากส่วนอนื่ ข. ครึ่งหนึง่ ของพ้นื ท่ีทั้งหมด

ค. เต็มพน้ื ท่ีทงั้ หมด ง. ไม่มีข้อใดถกู

56. ขอ้ ใดกล่าวได้ถกู ต้องเกย่ี วกบั การใชค้ าสัง่ frameset ?
ก. ในการแบ่งเฟรมนน้ั ผลรวมท้ังหมดจะตอ้ งเทา่ กบั ๑๐๐%
ข. เฟรมแตล่ ะเฟรมจะแสดงหนา้ เว็บเพจเดยี วกนั เสมอ
ค. เมอ่ื เราใชแ้ ถบเลอื่ นขอ้ มลู ขอ้ มูลเฟรมที่อยตู่ ิดกนั จะเล่ือนไปพรอ้ มกัน

ง. แทก็ <frameset> จะใช้ตอ่ ท้ายแทก็ <body>

57. ขอ้ ใดคอื แท็กท่ีใช้แสดงขอ้ ความใหผ้ ใู้ ชท้ ราบเมอื่ บราวเซอร์รุ่นเก่าไมส่ ามารถแสดงเฟรมได้ ?

ก. <noframe> ข. <notframe>

ค. <notframes> ง. <noframes>

58. ข้อใดเป็นการกาหนดใหเ้ ฟรมมีขนาดที่แนน่ อนและไม่สามารถทาการปรับขนาดได้ ?

ก. ใช้แอททริบิวท์ notresize แทรกในแท็ก <frame...>

ข. ใชแ้ อททรบิ ิวท์ notresize แทรกในแทก็ <frameset...>

ค. ใชแ้ อททรบิ วิ ท์ noresize แทรกในแทก็ <frame...>

ง. ใช้แอททริบิวท์ noresize แทรกในแท็ก <frameset...>

59. ขอ้ ใดเปน็ การกาหนดให้เฟรมไม่แสดงแถบเล่อื น ?
ก. ใช้แอททรบิ วิ ท์ scrolling="no" แทรกในแท็ก <frame...>

ข. ใชแ้ อททรบิ วิ ท์ scroll="no" แทรกในแท็ก <frame...>
ค. ใช้แอททริบวิ ท์ noscrolling="noscrolling" แทรกในแท็ก <frameset...>

ง. ใช้แอททริบวิ ท์ noscrolling="noscrolling" แทรกในแทก็ <frame...>
60. ข้อใดกล่าวไมถ่ ูกต้องในการใช้แอททริบิวท์ target เพอ่ื การแสดงผล ?

ก. แทรกในแทก็ <frame...>

ข. ใชใ้ นการกาหนดเฟรมปลายทางทีต่ ้องการให้หน้าเวบ็ ท่ีลิงค์ไปแสดง
ค. รปู แบบคือ target="ช่ือเฟรมปลายทาง"

ง. ไมม่ ีข้อถูก

72

แบบวัดผลสัมฤทธิ์
รายวิชาการเขียนโปรแกรม

จงทาเคร่ืองหมายวงกลม  ในหัวขอ้ ท่ีถูกที่สดุ เพียงขอ้ เดียว

1. อปุ กรณใ์ ดในคอมพิวเตอรท์ ่ีทาหนา้ ที่เปน็ หน่วยความจาหลัก

ก. CPU ค. RAM

ข. Harddisk ง. Monitor

2. ขอ้ มูลที่อยู่ในคอมพิวเตอร์จะอยใู่ นลักษณะใด

ก. เลขฐานสิบ ค. เลขฐานสอง

ข. ภาษาอังกฤษ ง. เลขอารบคิ

3. บคุ คลใดที่ทาหน้าท่เี ขียนโปรแกรม ค. System Analyst
ก. Admin ง. Programmer
ข. Webmaster

4. เมอื่ ต้องการพฒั นาโปรแกรมจะตอ้ งทาส่งิ ใดก่อน ?

ก. วิเคราะห์ปัญหา ค. เขียนโปรแกรม

ข. เขียนรหสั จาลอง ง. เลอื กภาษาท่ีต้องใชเ้ ขียน

5. ขอ้ ใด ไม่ใช่ กิจกรรมที่ต้องทาในการกาหนดและวเิ คราะหป์ ญั หา

ก. เขียนผงั งาน ค. กาหนดข้อมูลนาเขา้

ข. กาหนดรปู แบบของผลลัพธ์ ง. กาหนดตัวแปรท่ีใช้

6. ขอ้ ใดเรียงลาดับขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรมไดถ้ กู ต้อง ?
ก. เขยี นโปรแกรม > ทาเอกสาร > เขยี นผงั งานและซโู ดโคด้ > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม>
วิเคราะหป์ ัญหา

ข. เขยี นโปรแกรม > ทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม > วิเคราะหป์ ญั หา > ทาเอกสาร >
เขยี นผังงานและซูโดโคด้

ค. วิเคราะห์ปัญหา > เขียนผังงานและซโู ดโคด้ > เขยี นโปรแกรม > ทดสอบและแก้ไข
โปรแกรม > ทาเอกสาร

ง. วเิ คราะห์ปญั หา > เขียนโปรแกรม > เขยี นผังงานและซูโดโคด้ > ทดสอบและแกไ้ ข

โปรแกรม > ทาเอกสาร

73

7. การเขียนโปรแกรม (Programming) หมายถงึ ข้อใด
ก. กระบวนการใช้ภาษาคอมพวิ เตอร์ เพือ่ กาหนดโครงสรา้ งของขอ้ มลู และกาหนด
ขัน้ ตอนเพอื่ แก้ปัญหา โดยใชเ้ กณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ของแตล่ ะภาษา
ข. กระบวนการแปลงขอ้ มูลให้เป็นสารสนเทศเพือ่ เป็นประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจ
ค. วิธกี ารทาให้คอมพวิ เตอรม์ คี วามสามารถคลา้ ยมนษุ ย์หรอื เลยี นแบบพฤตกิ รรมมนุษย์
โดยเฉพาะความสามารถในการคดิ เองได้ หรือมีปญั ญา
ง. ปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ รี่ วบรวมเอาความรคู้ วามชานาญและวิธคี ิดท่เี ป็นเหตุเป็นผล
ของมนุษยน์ ามาสร้างเป็นฐานความรูโ้ ดยทาหนา้ ท่ีเปน็ ผ้เู ชย่ี วชาญใหค้ าปรึกษา
ให้คาแนะนาบอกวธิ ีการแกไ้ ขปญั หากบั มนุษยใ์ นเรอื่ งต่าง ๆ

8. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเก่ยี วกบั ผงั งาน
ก. ผังงานคือการใช้สญั ลักษณ์อธิบายขัน้ ตอนการแกป้ ัญหาเรื่องใดเรอื่ งหนึง่
ข. การเขียนผงั งานแบบตามลาดบั มี 3 กระบวนการ คอื อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์
ค. ปลกู ศรในหัวผังงานอาจมีหัวลกู ศรสองทางได้
ง. ลาดบั ขั้นตอนควรเขียนจากบนลงลา่ ง หรือจากซ้ายไปขวา

9. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชน์ของผังงาน
ก. ช่วยลาดับข้นั ตอนการทางานได้งา่ ยไม่สบั สน
ข. สามารถตรวจสอบได้และแก้ไขงานไดย้ าก
ค. ช่วยให้การดดั แปลงแก้ไขทา ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
ง. สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย

10. สัญลักษณ์ แสดงถงึ การทางานของโปรแกรมในข้ันตอนใด

ก. เริม่ ตน้ หรอื จบการทางาน ค. การรับค่า

ข. การคานวณ ง. การประมวลผล

11. สญั ลักษณ์ แสดงถึงการทางานของโปรแกรมในขัน้ ตอนใด

ก. เร่ิมตน้ หรือจบการทางาน ค. การรับค่า
ข. การคานวณ ง. การประมวลผล

12. สญั ลกั ษณ์ แสดงถงึ การทางานของโปรแกรมในขน้ั ตอนใด

ก. เรมิ่ ตน้ หรอื จบการทางาน ค. การรับค่า
ข. การคานวณ ง. การประมวลผล

74

13. สัญลกั ษณ์ แสดงถงึ การทางานของโปรแกรมในข้นั ตอนใด

ก. เร่ิมตน้ หรือจบการทางาน ค. การตดั สินใจ
ข. แสดงผลทางจอภาพ ง. การประมวลผล

14. สญั ลกั ษณ์ แสดงถงึ การทางานของโปรแกรมในขน้ั ตอนใด

ก. เรมิ่ ต้นหรือจบการทางาน ค. การตดั สินใจ
ข. แสดงผลทางจอภาพ ง. การประมวลผล

15. ทิศทางการไหลของข้อมลู ใช้สัญลกั ษณ์แบบใด

ก.
ข.
ค.
ง.

16. สญั ลักษณ์ในขอ้ ใดไมม่ ที ศิ ทางการไหลเข้าของขอ้ มูล
ก. จดุ เร่ิมตน้
ข. จดุ ส้นิ สุดของผังงาน

ค. แสดงผลขอ้ มูลทางจอภาพ
ง. แสดงการประมวลผล

จาก Flow chart ต่อไปน้ี กาหนดให้ x = 17 และ y = 18 จงตอบคาถามข้อ

75

17. จงหาค่าของตวั แปร amount มีค่าเทา่ ไหร่
ก. 12
ข. 15
ค. 18
ง. 2

18. จงหาคา่ ของตวั แปร num มีค่าเท่าไหร่
ก. 10
ข. 7
ค. 4
ง. -2

19. โปรแกรมนม้ี กี ารวนรอบก่คี ร้งั
ก. 7
ข. 6
ค. 5
ง. 4

20. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. คู่มือการใชโ้ ปรแกรมเปน็ สิ่งสาคัญในการเขยี นโปรแกรมตอ้ งจัดทาเปน็ อันดับแรก
ข. โปรแกรมแปลภาษาอนิ เทอรพ์ รีเทอร์จะแปลโปรแกรมตน้ ฉบับให้เปน็ ภาษาเครื่อง
คร้งั ละคาส่งั
ค. Source Code (ซอร์สโค้ด) คือโปรแกรมท่ีผา่ นการแปลภาษาแล้ว
ง. “โจทยต์ อ้ งการผลลัพธ์อะไร การจะให้ไดผ้ ลลพั ธ์เช่นนั้น ต้องการข้อมลู ใดบ้าง...”
เป็นขน้ั ตอนกาหนดแผนในการแกป้ ญั หาของข้นั ตอนการเขียนโปรแกรม

21. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกยี่ วกบั ภาษาซี
ก. ภาษาซมี ตี น้ กาเนดิ มาจากภาษาคอมพิวเตอร์บนยนู กิ ซ์
ข. ภาษาซีไมส่ ามารถเรยี กใช้คาสง่ั ซอ้ นคาสั่งได้
ค. เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) เปน็ ผคู้ ิดค้นภาษาซี
ง. ภาษาซพี ฒั นามาจากภาษาบี

22. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเกี่ยวกับโปรแกรม Dev-C++
ก. เป็นโปรแกรมท่สี ามารถนาไปทางานนาเสนอได้
ข. เปน็ ฟรแี วร์ ของ สสวท.
ค. เป็นโปรแกรม editor และมี compiler ในตวั เดยี วกนั
ง. เปน็ ชดุ พัฒนาหรือเคร่ืองมือท่ีช่วยในการพฒั นาโปรแกรม

76

23. การสัง่ ให้โปรแกรมท่ีเขียนด้วยภาษาซีทางาน (Run) โดยใช้คาสงั่ จากแปน้ พิมพ์

ต้องใช้ฟงั ก์ชนั ใด

ก. Alt + F5 ค. Alt + F9

ข. Ctrl + F5 ง. Ctrl + F9

24. ข้อมลู ในภาษาซปี ระเภทใด ไมส่ ามารถนาไปใช้ในการคานวณได้

ก. ตวั อกั ขระ ค. เลขจานวนเตม็

ข. ข้อความ ง. เลขทศนิยม

25. Header File ที่นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาซชี ่อื ว่าอะไร

ก. studio.h ค. studio.s

ข. stdio.s ง. stdio.h

26. เครือ่ งหมายใดท่ีใชน้ าหน้า include ค. #
ก. % ง. &
ข. $

27. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สญั ลักษณ์ของหมายเหตุ ค. /*
ก. // ง. */
ข. \\

28. ขอ้ ใดคือชอ่ื ตัวแปรที่ถูกต้อง ค. CAN_02
ก. 123ABC ง. SA WAS
ข. !ABC

29. ข้อมลู จานวนนักเรยี นควรใชต้ ัวแปรชนดิ ใด ค. char
ก. int ง. char []
ข. float

30. ขอ้ มูลช่ือโรงเรียนควรใชต้ วั แปรชนิดใด ค. char
ก. int ง. char []

ข. float

31. ขอ้ มลู ดอกเบ้ียธนาคารควรใช้ตวั แปรชนิดใด

ก. int ค. char

ข. float ง. char []

77

32. การประกาศตวั แปรข้อใดทาให้เกดิ ความผดิ พลาด ค. int = 5;
ง. int a;
ก. int a,b;
ข. int a = 5;

33. \n หมายถงึ อะไร ค. ทาซ้า
ก. แสดงตวั n แบบเฉียง ง. จัดระยะ
ข. ขึน้ บรรทดั ใหม่

34. ขอ้ ใดไม่ใชข่ อ้ มูลในภาษาซี ค. ขอ้ ความ
ก. เลขจานวนเตม็ ง. รปู ภาพ
ข. ตวั อักขระ

35. ข้อมลู ใดหมายถึงเลขจานวนเตม็ ค. “150”
ก. 150 ง. 150.00
ข. ‘150’

36. ข้อมูลใดหมายถงึ ขอ้ ความ ค. “15”
ก. 15 ง. (15)
ข. ‘15’

37. การนาขอ้ มลู ตวั แปร และตวั ดาเนินการมาเขียนประกอบกันเพือ่ ทาการประมวลผลเรยี กว่าอะไร

ก. คาส่ัง ค. ประโยค

ข. หมายเหตุ ง. นิพจน์

38. รหัสรปู แบบ %d มีความหมายตามข้อใด ค. ใช้จัดรปู แบบขอ้ มลู เลขทศนยิ ม
ก. ใช้จัดรูปแบบขอ้ มูลอกั ขระ ง.ใช้จดั รปู แบบขอ้ มูลชุดอกั ขระ
ข. ใช้จดั รูปแบบข้อมลู เลขจานวนเตม็

39. ข้อใดเป็นรหัสรูปแบบของตวั อักขระ ค. %f
ง. %s
ก. %d
ข. %c

40. ขอ้ ใดเป็นรหัสรปู แบบของข้อความ ค. %f
ก. %d ง. %s
ข. %c

78

41. ขอ้ ใดเปน็ รหสั รูปแบบของทศนิยม ค. %f
ง. %s
ก. %d
ข. %c

42. ขอ้ ใดไมใ่ ชฟ่ งั ก์ชันรับข้อมูล ค. getch()
ก. gets() ง. getcha()
ข. getchar()

43. ถ้าการประกาศตวั แปรมีตัวแปรมากกวา่ 1 ตัวให้ใชเ้ ครื่องหมายอะไรคน่ั ระหว่างตัวแปร
ก. {} ค. ,
ข. ; ง. ()

44. คาสัง่ ทุกคาสัง่ ทเ่ี ขียนข้นึ ต้องสิน้ สดุ คาสัง่ ด้วยเครือ่ งหมายใด
ก. , ค. .
ข. : ง. ;

45. ข้อใดเปน็ ผลลพั ธ์ท่ไี ด้จากโคด้ printf(“‘I am a programmer.’”);

ก. “‘I am a programmer.’” ค. ‘I am a programmer.’

ข. “I am a programmer.” ง. I am a programmer.

46. ขอ้ ความทีอ่ ยู่ในคาสั่ง printf ในโปรแกรม Dev-C++ จะแสดงดว้ ยสีอะไร
ก. สีฟ้า ค. สแี ดง
ข. สดี า ง. สเี ขยี ว

47. ผลลัพธ์จากโคด้ printf(“\”\\m\“”); คอื ข้อใด ค. \\m
ก. “\m” ง. \”\\m\“
ข. “\\m”

48. ผลลพั ธ์จากโค้ด printf(“\n Great \?”); คือขอ้ ใด ค. Great \?
ง. Great ?
ก. \n Great
ข. \n Great ?

49. โคด้ printf(“character : %c \n”, 'g'); จะแสดงผลลัพธใ์ นขอ้ ใด

ก. character : ค. character : \n

ข. character : %c ง. character : g

79

50. ข้อใดกล่าวถกู ต้องเกยี่ วกบั โคด้ printf(“Today is : %c \n”, ‘Monday’);

ก. การใช้ %c ไม่เหมาะสม เพราะ %c จะแสดงคา่ ตวั อกั ษรเพยี งตวั เดยี ว
ข. โค้ดน้จี ะแสดงผลลัพธ์ออกมาวา่ Today is Monday.
ค. โคด้ นี้จะแสดงผลลัพธ์ออกมาว่า Today is y.

ง. ถูกทง้ั ข้อ ก. และ ค.

51. ขอ้ ใดเป็นชอ่ื ตวั แปรไมไ่ ด้ ค. g5
ก. %boy ง. customerName
ข. address_2

52. ข้อใดประกาศตัวแปรไดถ้ กู ต้องและเหมาะสม ค. char cat = ‘A’;
ง. int 2be = 90;
ก. float y = 6;
ข. int x =5.43;

53. หากกาหนดให้ if(x<=5) ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้อง
ก. ตอ้ งมกี ารกาหนดคา่ x เพ่ือให้คาส่ัง if นี้ทางานได้

ข. หาก x มีค่าเท่ากับ 8 จะได้ผลลัพธ์ if วา่ เปน็ เท็จ
ค. หาก x มคี า่ เท่ากบั 5 จะได้ผลลพั ธ์ if วา่ เปน็ เท็จ
ง. หาก x มคี า่ เท่ากบั 2 จะทางานตามคาสง่ั ในวงเล็บปีกกาทีอ่ ยู่ต่อจากคาสง่ั if น้ี

54. หากต้องการแสดงเกรดของนกั เรียนออกทางจอภาพ และใหก้ ดแท็บ 1 ครง้ั ควรใช้คาสัง่ ในข้อใด

ก. float grade;
printf(”grade = %.2f\n”,grade);

ข. float grade;

printf(”grade = %.2f\b”,grade);
ค. float grade;

printf(”grade = %.2f\t”,grade);
ง. float grade;

printf(”grade = %.2f\a”,grade);

จ. float grade;
printf(”grade = %.2f\r”,grade);

ใช้โค้ดนตี้ อบคาถามขอ้ 55

80

55. จากโคด้ ดา้ นบน หากผู้ใชใ้ ส่เลข 2 จะไดผ้ ลลัพธเ์ ป็นข้อใด

ก. Good ค. Error

ข. Bad ง. Good Bad Error

56. “…ไม่ว่าเง่อื นไขจะจรงิ หรอื ไม่ คาสั่งทกุ คาส่ังจะถกู ทางานไปแลว้ 1 ครง้ั เสมอ…”

ขอ้ ความน้ีเก่ียวขอ้ งกบั คาสงั่ ใด

ก. if-else ค. do while

ข. while ง. switch case

57. ข้อใดต่อไปนี้ คอื จานวนรอบของการทางานจากชดุ คาสัง่ ทีก่ าหนดให้ ?

ก. 5 รอบ ค. 0 รอบ
ข. 10 รอบ ง. ไมม่ ขี อ้ ใดถกู

ใช้โคด้ นต้ี อบคาถามข้อ 58-59

81

58. จากโค้ดดา้ นบน ข้อใดไม่ถูกต้อง

ก. ตวั แปรช่ือ x
ข. ให้พมิ พค์ ่า x ซ้า ๆ กัน โดยห่างกนั เปน็ ระยะ ๆ ใน 1 บรรทดั
ค. x++ คอื เพิ่มคา่ x ทีละ 2

ง. เมือ่ x มคี ่ามากกวา่ 8 จะทาให้เงื่อนไขเป็นเท็จ

59. ผลลัพธ์ทีไ่ ด้จากโคด้ น้ี คอื ขอ้ ใด ค. 1 2 3
ก. 1 2 3 4 5 6 7 8 ง. 1 2 3 4 5 6 7 8
ข. 3 4 5 6 7 8

ใช้โคด้ น้ีตอบคาถามข้อ 60

60. จากโค้ดด้านบน ผลทไ่ี ดค้ อื ข้อใด
ก. 1234567891011121314151617181920

ข. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
ค. 2019181716151413121110987654321
ง. 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1

ภาคผนนวก จ
แบบสอบถามเพือ่ การวิจยั
แบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์

83

แบบสอบถามเพอื่ การวจิ ยั
แบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์

แบบสอบถามฉบับนมี้ ีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลน์ราย
วชิ าการเขยี นเว็บไซต์ดว้ ย Text Editor และรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ สาหรบั งานวจิ ยั ศกึ ษา

และพฒั นาบทเรยี นออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle เพือ่ สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้สู่ศตวรรษท่ี 21 กรณีศึกษา : โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบี่

คาชี้แจง โปรดพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนการสอนด้วย
บทเรียนออนไลน์ในประเด็นตอ่ ไปนี้ แลว้ กาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่อง 5,4,3,2,1 ท่ตี รงกับ ระดบั การ
ดาเนินงาน ตามความเหน็ ของท่าน โดยกาหนดเกณฑร์ ะดบั คะแนน ดังน้ี

5 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสดุ
4 หมายถงึ พงึ พอใจมาก
3 หมายถงึ พึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง มีพึงพอใจนอ้ ย
1 หมายถึง พงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ

ลาดับ ประเด็นประเมิน ระดับ
ความพงึ พอใจ
1. เนอื้ หาและการลาดบั เนื้อหา
1.1 วัตถุประสงคร์ ายวชิ ามคี วามชัดเจน 54321
1.2 ปริมาณของเนอ้ื หาในแต่ละบทเรยี น
1.3 ลาดับเนอ้ื หาจากง่ายไปยาก
1.4 ความชดั เจนในการนาเสนอเน้ือหา
1.5 ความนา่ สนใจในการดาเนนิ เรอื่ ง

2. แบบทดสอบ
2.1 ความชัดเจนของคาส่งั แบบสอบถาม
2.2 ความสอดคลอ้ งระหวา่ งแบบทดสอบกบั เน้ือหา
2.3 จานวนข้อของแบบทดสอบ
2.4 ชนดิ ของแบบทดสอบท่ีเลือกใช้
2.5 ความเหมาะสมของคาถาม
2.6 วธิ กี ารสรปุ คะแนนรวม

3. ตวั อักษร และสี
3.1 รปู แบบของตวั อักษรท่ใี ช้ในการนาเสนอ
3.2 ขนาดของตัวอักษรทใ่ี ช้

ลาดบั ประเด็นประเมิน 84

3. ตัวอักษร และสี ระดับ
3.1 รูปแบบของตวั อกั ษรทใี่ ช้ในการนาเสนอ ความพึงพอใจ
3.2 ขนาดของตวั อกั ษรท่ใี ช้ 54321
3.3 สีของตวั อักษร โดยภาพรวม
3.4 สขี องพน้ื หลงั บทเรยี นโดยภาพรวม

4. การจัดการบทเรยี น
4.1 การควบคมุ บทเรยี น เชน่ การใช้เมาส์
4.2 การออกแบบหนา้ จอภาพโดยภาพรวม
4.3 วธิ กี ารโตต้ อบบทเรยี น โดยภาพรวม
4.4 ความเหมาะสมในการจัดการของบทเรยี นเพอ่ื จดั เกบ็ ไฟล์ข้อมลู ของ
ผเู้ รยี นแต่ละคน

5. การเรียนการสอน
5.1 ครไู ด้ชแี้ จงวิธกี ารใชบ้ ทเรยี นออนไลน์
5.2 การให้คาปรึกษาและตอบข้อคาถามนกั เรยี นของครู
5.3 การติดต่อส่ือสารด้วยกระดานสนทนา (Webboard)
5.4 การตดิ ต่อส่ือสารดว้ ยห้องสนทนา (Chatroom)
5.5 การตดิ ต่อส่ือสารดว้ ยอีเมล์ (E-mail)
5.6 การสง่ การบา้ นแบบออนไลน์
5.7 การให้ผลสะทอ้ นกลบั ช้ินงานของนกั เรยี น
5.8 การพบปะและสอบวดั ความรู้ในชนั้ เรียน
5.9 ใหน้ กั เรยี นไดศ้ ึกษาคน้ คว้าหาความร้ดู ้วยตนเอง

ภาคผนวก ฉ
บทเรยี นออนไลน์
- รายวิชาการเขยี นเวบ็ ไซตด์ ้วย Text Editor

- รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

86
ภาพประกอบท่ี ฉ.1 หนา้ หลกั บทเรยี นออนไลน์ โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม

ภาพประกอบท่ี ฉ.2 หนา้ login สาหรบั เข้าสู่บทเรยี นออนไลน์

87
ภาพประกอบท่ี ฉ.3 หน้าสมคั รสมาชกิ สาหรบเข้าใชง้ านบทเรยี นออนไลน์
ภาพประกอบท่ี ฉ.4 หนา้ หลักของบทเรยี นออนไลน์รายวชิ าการเขียนเว็บไซต์ดว้ ย Text Editor

88
ภาพประกอบท่ี ฉ.5 แบบทดสอบหลงั เรียนรายวชิ าการเขียนเวบ็ ไซตด์ ว้ ย Text Editor
ภาพประกอบท่ี ฉ.6 หนา้ แรกของบทเรยี นออนไลน์รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์


Click to View FlipBook Version