The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงานวิจัย สพฐ. ศึกษาและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle
เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษา : โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบี่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-10-20 06:13:13

เล่มรายงานวิจัย สพฐ.

เล่มรายงานวิจัย สพฐ. ศึกษาและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle
เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษา : โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบี่

รายงานการวจิ ยั

ศกึ ษาและพฒั นาบทเรยี นออนไลนด วยโปรแกรม Moodle
เพอื่ สงเสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูส ูศตวรรษที่ 21
กรณศี ึกษา : โรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม จ.กระบ่ี

นางสาวเตชนิ ี ภิรมย

ตาํ แหนง ครู คศ.1

โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม

สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา ตรัง กระบี่

รายงานการวจิ ยั

เร่อื ง

ศกึ ษาและพฒั นาบทเรียนออนไลนด์ ้วยโปรแกรม Moodle เพ่ือสง่ เสริมการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21กรณศี กึ ษา : โรงเรยี นปลายพระยาวทิ ยาคม จ.กระบี่
Learning and Developing online class using Moodle Software
to promote learning activities toward 21st century.
Case study : Plai Phraya Wittayakhom School, Krabi

โดย
นางสาวเตชินี ภิรมย์
ตาแหน่ง ครู คศ.1
โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม
สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 13

ไดร้ ับการสนับสนุนทนุ วิจัยจาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปีงบประมาณ 2560



รายงานการวจิ ยั

เร่อื ง

ศกึ ษาและพฒั นาบทเรียนออนไลนด์ ้วยโปรแกรม Moodle เพ่ือสง่ เสริมการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21กรณศี กึ ษา : โรงเรยี นปลายพระยาวทิ ยาคม จ.กระบี่
Learning and Developing online class using Moodle Software
to promote learning activities toward 21st century.
Case study : Plai Phraya Wittayakhom School, Krabi

โดย
นางสาวเตชินี ภิรมย์
ตาแหน่ง ครู คศ.1
โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม
สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 13

ไดร้ ับการสนับสนุนทนุ วิจัยจาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปีงบประมาณ 2560



บทคดั ยอ่

การวิจยั : ศกึ ษาและพฒั นาบทเรียนออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม Moodle
เพ่อื สง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรูส้ ศู่ ตวรรษที่ 21
กรณศี ึกษา : โรงเรยี นปลายพระยาวทิ ยาคม จ.กระบี่

ช่ือนกั วิจัย : นางสาวเตชินี ภริ มย์
ครปู ฏิบตั กิ ารสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม จ.กระบี่
นายสิงหา เพชรหนองชุม
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านศรีพระยาราษฎรบ์ ำรุง อ.ปลายพระยา จ.กระบี่

E-mail Address : [email protected] , [email protected]
ระยะเวลาโครงการ : 12 เดือน
บทคัดยอ :

รายงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle
ศึกษาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และ
ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองทางการเรียนก่อนและหลังใช้บทเรียนออนไลน์ และศึกษาความพึงพอใจต่อ
การเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์หลังใช้บทเรียนออนไลน์ โดยกลุมเปาหมายเป็นนักเรียนโรงเรียนปลาย
พระยาวิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 รายวิชาการ
เขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor จำนวน 10 คน และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 รายวิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จำนวน 14 คน โดยเป็นกลุ่มท่ีผู้วิจัยเป็นผู้สอน มีเคร่ืองมือวิจัยไดแก บทเรียนออน
ไลนรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบวัด
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทั้ง 2 รายวิชา แบบวัดความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองท้ัง 2 รายวิชา และ
แบบสอบถามความพึงพอใจตอการเรยี นการสอนด้วยบทเรยี นออนไลน์ทั้ง 2 รายวชิ า ไดผ้ ลการวจิ ยั ดังนี้

1. ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor คิดเป็น
87.17/89.00 และรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คิดเป็น 86.33/88.00 ค่าโดยเฉล่ียท้ัง 2
รายวิชาคิดเปน็ 86.75/88.50

2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ท้ังสลง 2 รายวิชา
นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น

3. การเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรูด้วยตนเองก่อนและหลังใช้บทเรียนออนไลน์ท้ัง 2
รายวชิ า นักเรยี นมคี วามสามารถใกล้เคยี งกนั

4. การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ท้ัง 2 รายวิชา นักเรียนมี
ความพงึ พอใจอยูในระดบั มากท้งั ภาพรวมและแยกเป็นรายด้าน

คําหลกั : บทเรยี นออนไลน์, ความสามารถในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง



Abstract

Research : Learning and Developing online class using Moodle Software

to promote learning activities toward 21st century.
Case study : Plai Phraya Wittayakhom School, Krabi

Investigator : Miss.Teachinee Phirom
Computer Teacher Plai Phraya Wittayakhom School , Krabi
Mr.Singha Petnongchum

Director of Bansriprayaratbomrung School, Krabi
E-mail Address : [email protected] , [email protected]

Project Period : 12 Month
Abstract :

This report objective’s to develop the online learning course management system

by moodle software. Study about the performance of online learning course management
system by moodle software. Compare the achievement of self-learning skill before and

after using online learning course and check the satisfaction before and after attend
online learning course. The target group are high school students of Plai Phraya
Wittayakhom School who register the “create the website using text editor” class in the
2nd semester of 2559 and also the high school students who register “computer software
coding” class of 1st semester. The researcher has the research tool which is the online

learning course of “Create the website using text editor” class and “computer software
coding” class, Achievement Measure for both class, Skill measure of self-learning skill of
both class and satisfaction questionnaire of both online learning course’s class which

have the following result.
1. Performance of online learning course “create website using text editor” class as

87.17/89.00 and “computer software coding” class as 86.33/88.00 and average
value of both class as 86.75/88.50
2. Achievement Measurement of students after attend both online learning course’s

class having learning achievement higher than before attended.
3. Skill measurement of self-learning skill between before and after attend both

online learning course’s class is similarly.
4. Satisfaction Study to both online learning course’s class. The students are very

satisfy both overall and individual.

Keyword : e-Learning , Self Learning



กิตตกิ รรมประกาศ

คณะผู้วิจัยขอขอบคุณสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ท่ีได้ให้ทุนสนับสนุนการทางานวิจัยน้ี ขอขอบคุณนักวิจัยที่ปรึกษา ดร.
ปญุ ฑรษา อุ่นเลิศ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นท่ีปรึกษาโครงการวิจัย นักเรียนท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายในการ

วิจัย ท่ีให้ความร่วมมือในการใช้บทเรียนออนไลน์ และให้ข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์ในการปรับปรุง
บทเรียน ตลอดจนคณะอาจารย์ทุกท่านทีเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการสร้าง
บทเรยี นออนไลน์ จนงานวิจัยชิน้ นส้ี าเรจ็ ลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี

ขอขอบคณุ ครอู าจารยท์ อี่ บรมส่งั สอนใหค้ วามรู้ทางการวจิ ยั และเพือ่ รว่ มงานทกุ ท่าน และมารดาที่
เป็นกาลงั ใจในการทางานวิจัยจนสาเร็จเสร็จสิน้

เตชนิ ี ภริ มย์
หัวหน้าโครงการวจิ ัย

สารบัญ

บทที่ หนา

บทคัดยอ ก
Abstract ข
กิตตกิ รรมประกาศ ค
สารบญั ตาราง ฉ
สารบญั รูปภาพ ช
1 บทนาํ
1
1.1 ความสําคญั และท่ีมาของปญ หาที่ทาํ การวิจัย 2
1.2 วัตถุประสงคข องโครงการวจิ ัย 2
1.3 ขอบเขตของโครงการวิจยั 4
1.4 ระยะเวลาทาํ การวิจยั และแผนการดาํ เนินงานตลอดโครงการวิจัย 5
1.5 สมมตุ ฐิ านของโครงการวิจัย 5
1.6 กรอบแนวความคดิ ของโครงการวิจัย 5
1.7 นยิ ามศัพทเ ฉพาะ
2 ทฤษฎแี ละเอกสารทเ่ี กี่ยวของ 7
2.1 โปรแกรม Moodle 9
2.2 ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LMS : Learning Management System) 12
2.3 e-Learning 14
2.4 ความสามารถในการเรยี นรดู วยตนเอง 16
2.5 การเรยี นรขู องคนในศตวรรษที่ 21 16
2.6 ระบบหองเรียนเสมอื น (Virtual Classroom System) 18
2.7 งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วของ
3 วธิ ดี าํ เนินการวิจยั 25
3.1 วิธีการดําเนนิ การวจิ ยั และสถานท่ีทําการทดลอง/เกบ็ ขอมูล 26
3.2 กลุมเปาหมายในการวิจยั 26
3.3 เคร่ืองมอื ที่ใชใ นการวิจัย 28
3.4 แบบแผนการทดลอง 28
3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 29
3.6 สถิติทใี่ ชใ นการวิจยั
4 ผลการวิเคราะหขอมูล 31
ตอนท่ี 1 ผลการหาประสิทธภิ าพของบทเรียนออนไลน 31
ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนกอนและหลังใชบทเรียนออนไลน 31
ตอนที่ 3 ผลการเปรยี บเทยี บความสามารถในการเรียนรดู ว ยตนเองกอ นและหลังใชบทเรียนออนไลน 34
ตอนที่ 4 ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจตอ การเรยี นการสอนดวยบทเรยี นออนไลน



สารบญั (ตอ)

บทท่ี หนา

5 สรุปผล อภิปรายและขอ เสนอแนะ

5.1 สมมตฐิ านการวจิ ยั 38

5.2 กลุม เปา หมายในการวิจยั 38

5.3 เคร่ืองมอื ท่ีใชในการวจิ ัย 38

5.4 การเกบ็ รวบรวมขอมูล 38

5.5 สรปุ ผลการวิจัย 39

5.6 อภิปรายผล 40

5.7 ขอเสนอแนะ 42

บรรณานกุ รม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก คาความยากงา ยและคา อํานาจจาํ แนกของแบบทดสอบ 48

วดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น

ภาคผนวก ข คาอํานาจจําแนกของแบบวัดความสามารถในการเรยี นรูดว ยตนเอง 53

ภาคผนวก ค แบบวัดความสามารถในการเรียนรดู วยตนเอง 57

ภาคผนวก ง แบบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 60

ภาคผนวก จ แบบสอบถามเพอ่ื การวิจัยแบบสอบถามความพงึ พอใจตอ การเรยี นการสอน 79

ดว ยบทเรยี นออนไลน

ภาคผนวก ฉ บทเรยี นออนไลน 82

ภาคผนวก ช โครงการอบรมปฏบิ ตั กิ ารระบบการจดั การเรยี นการสอน LMS ดว ย Moodle 87

ภาคผนวก ซ ภาพประกอบการถายทอดความรูระบบการจดั การเรียนการสอน LMS 101

ดว ย Moodle

สารบญั ตาราง ฉ

ตาราง หนา
32
4.1 คะแนนตํ่าสดุ คะแนนสูงสุด คะแนนเฉล่ีย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 32
ของคะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นกอ นและหลงั เรียนดว ยบทเรียนออนไลน 33
รายวชิ าการเขียนเว็บไซตด วย Text Editor 33
34
4.2 คะแนนตา่ํ สดุ คะแนนสงู สุด คะแนนเฉลีย่ และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 36
ของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกอ นและหลังเรียนดวยบทเรยี นออนไลน
รายวิชาการเขียนเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร

4.3 คา ต่าํ สดุ คา สูงสดุ คา เฉลย่ี และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความสามารถในการ
เรยี นรูดวยตนเองกอนและหลังเรยี นดวยบทเรยี นออนไลน
รายวชิ าการเขยี นเวบ็ ไซตดวย Text Editor

4.4 คา ต่าํ สดุ คา สงู สดุ คา เฉลยี่ และสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความสามารถในการ
เรยี นรูดว ยตนเองกอนและหลงั เรยี นดวยบทเรียนออนไลน
รายวิชาการเขยี นเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร

4.5 คาเฉลยี่ และสว นเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการเรยี นการสอน
ดว ยบทเรยี นออนไลน รายวชิ าการเขยี นเวบ็ ไซตด ว ย Text Editor

4.6 คา เฉล่ียและสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอ การเรยี นการสอน
ดวยบทเรียนออนไลน รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร

สารบญั ภาพ ช

ภาพประกอบท่ี หนา

1.1 แสดงกรอบแนวคดิ การวิจัย 5
2.1 แสดงการใชงานในระบบ LMS ในโปรแกรม Moodle 9
2.2 แสดงลกั ษณะการทํางานของ LMS 11
2.3 แสดงการทาํ งานของ Web base 14
ฉ.1 หนา หลักบทเรยี นออนไลน โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม 83
ฉ.2 หนาloginสาํ หรับเขาสูบทเรียนออนไลน 83
ฉ.3 หนา สมัครสมาชกิ สําหรบเขาใชงานบทเรียนออนไลน 84
ฉ.4 หนา หลกั ของบทเรียนออนไลนรายวิชาการเขียนเว็บไซตด วย Text Editor 84
ฉ.5 แบบทดสอบหลังเรียนรายวชิ าการเขยี นเว็บไซตดวย Text Editor 85
ฉ.6 หนา แรกของบทเรยี นออนไลนร ายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร 85
ฉ.7 แบบทดสอบหลงั เรียนรายวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร 86
ฉ.8 ครูผสู อนสามารถดผู ลสอบของนักเรียนไดเ ปนรายบุคคล 86
ซ.1 เปด การอบรม 102
ซ.2 กอ นเขาสูการอบรม 102
ซ.3 เขา สเู น้ือหาการอบรม 103
ซ.4 ฝกปฏิบตั ิดวยตนเอง 103

บทที่ 1
บทนา

1.1 ความสาคญั และทมี่ าของปัญหาทีท่ าการวจิ ัย

ทา่ มกลางการเปล่ียนแปลงบริบทสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครองวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และการส่อื สารปจั จุบนั บนโลกไร้พรมแดนทเ่ี ป็นไปอยา่ งตอ่ เนื่องรวดเร็ว และรุนแรง การศึกษา
ยังคงเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์และการพัฒนาประเทศ ที่เช่ือมโยงกันทั่วโลก ให้
สามารถดารงชีวิตท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงนี้ได้อย่างยั่งยืน ทั้งท่ีเป็นการศึกษาในระบบนอกระบบ และ
ตามอัธยาศัย รวมท้ังการศึกษาตลอดชีวิต การจัดระบบการศึกษาท่ีสนองตอบความต้องการของบุคคล
สงั คม และประเทศชาตมิ ากเทา่ ไร หมายถงึ การพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรขู้ องผเู้ รียนมศี กั ยภาพเพิ่มข้ึนเพียง
นนั้ บุคคลสาคญั ทสี่ ดุ ในกระบวนการพฒั นาการศกึ ษาและการพัฒนาการเรียนรู้ก็คือ “ครู” ครูยังคงเป็นผู้ท่ี
มีความหมายและปัจจัยสาคัญมากที่สุดในห้องเรียน และเป็นผู้ท่ีมีความสาคัญต่อคุณภาพการศึกษา ท้ังนี้
เพราะคณุ ภาพของผูเ้ รยี นข้นึ อยูก่ ับคุณภาพของครู (McKinsey, 2007 ; วรากรณ์ สามโกเศศ, 2553; ดิเรก
พรสีมา, 2554) ครูเป็นปัจจัยสาคัญในระดับโรงเรียนท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมากที่สุด จากการ
ทดสอบระดับนานาชาติประเทศท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้สูง จะมีแนวโน้มการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง
กว่า ขณะเดยี วกันประเทศท่มี ปี ระชากรมกี ารศึกษาดมี ีคุณภาพจะมคี วามเป็นประชาธิปไตยและเสถียรภาพ
ทางการเมืองและสังคมสงู กวา่ (Hanushek และ Rivkin, 2010)

นับจากอดีตถึงปัจจุบัน สังคมไทยยังคงให้ความสาคัญต่อ “ครู” ว่าเป็นบุคคลท่ีจะส่งเสริม และ
สรรคส์ รา้ งการเรียนร้ขู องผเู้ รยี นใหม้ ีคุณภาพ และเม่ือสถานการณ์การเรียนรู้เปล่ียนแปลงไป ทั้งที่เป็นการ
เรียนรู้ในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต จาเป็นต้องได้รับการส่งเสริม
พัฒนาด้านการจดั การเรยี นการสอนผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)

การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สาหรับการศึกษาจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างกว้างขวาง
ยิ่งข้ึน เรียนได้เร็วขึ้น เรียนได้ทุกท่ี ทุกเวลา ทุกโอกาส ผู้เรียนมีอิสระในการแสวงหาความรู้ มีความ
รับผิดชอบ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจึงมีความสาคัญต่อสังคมโลกาภิวัฒน์อย่างมาก ตลอดจนระบบ
อินเทอรเ์ นต็ มีใชก้ ันอย่างแพร่หลาย ดว้ ยการถ่ายโอนข้อมูลท่ีรวดเร็ว และราคาถูกลงมากกว่าสมัยก่อน ทา
ให้หลายสถาบนั การศกึ ษาไดพ้ ัฒนาสื่อการเรยี นการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต บางสถาบันจัดหลักสูตรออนไลน์
เรียนผ่านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต หรอื เรยี กว่าระบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นน่ิง (Electronic Learning
: E-Learning)

การเรยี นการสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง (E-Learning) ได้รับการยอมรับว่าเป็นกลไกสาคัญท่ีสนับสนุน
ส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนของนกั เรียนนกั ศกึ ษา เร่มิ จากปจั จุบันและจะกลายเป็นสิ่งจาเป็นใน
อนาคตอันใกล้อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ เห็นได้ชัดจากการนาร่องเรื่อง E-Government ของรัฐบาลและการ
ผลิตบทเรียนสาหรับใช้ในโรงเรียนในโครงการโรงเรียนในฝัน หนึ่งอาเภอหน่ึงโรงเรียน ท้ังน้ีเพราะระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะช่วยให้การติดต่อส่ือสารเป็นไปด้วยความรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อนามาใช้ในด้าน
การศึกษาจะทาให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ และองค์ความรู้ รวมไปถึงความสามารถที่จะเรียนรู้
ด้วยตนเองเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสทิ ธิภาพ ยง่ิ กวา่ นั้นยังสามารถตอบสนองตอ่ ระบบการเรียนรู้แบบ
มีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student-Centered Learning) ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง

2

(Self-Directed Learning) และสนับสนุนการเรียนรู้แบบทุกคน ทุกเวลา ทุกสถานที่ (Anyone
Anywhere-Anytime Learning) ได้อยา่ งดเี ย่ียม (สมพนั ธุ์ ชาญศลิ ป์, 2551)

จากความนิยมของการใชร้ ะบบบริหารจดั การการเรยี นรูทีเ่ พมิ่ มากขึ้น จึงทาให้เกิดความสนใจใน
หมูนักการศึกษาและนักพัฒนาซอฟต์แวร์ถึงแนวโน้มของระบบบริหารจัดการการเรียนรูแหง อนาคต
เครือ่ งมือทร่ี ะบบบรหิ ารจัดการการเรยี นรูแหงอนาคต ควรจะมีการบูรณาการไวรวมท้ังประเด็นสาคัญอื่นๆ
ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ บทเรียนอีเลิร์นนิงจึงเป็นทางเลือกหนึ่งท่ีจะนามาใช้
ประกอบการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ขึน้ โดยช่วยเพิ่มปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งครูผู้สอนกับนักเรียน
ไดม้ ากย่งิ ขนึ้ ใหโ้ อกาสนักเรยี นในการศึกษาหาความรู้ และเรียนรู้ได้มากขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ เปิด
โอกาสให้นักเรยี นได้ให้ข้อมูลย้อนกลับ ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่จากบทเรียนอีเลิร์นนิงส่งเสริมให้นักเรียน
แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง สง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนอย่างไมม่ ขี ีดจากดั สาหรับผู้ใฝ่หาความรู้ไม่ว่าใน
เรื่องเวลาหรือสถานท่ี และชว่ ยเพ่ิมความพงึ พอใจในการเรียน (ภัทร์นฤน เจรญิ ลาภ, 2552)

จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะผู้สอนและผู้ดูแลระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ออนไลน์ ได้
เล็งเหน็ ความสาคญั ของระบบบริหารจัดการการเรยี นรูแ้ ห่งอนาคต เพ่อื ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่
ศตวรรษที่ 21 จงึ ได้พฒั นาบทเรียนออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม Moodle เพ่อื ใชส้ าหรบั การเรยี นการสอนเปรียบ
เหมอื นห้องเรยี นเสมือนจรงิ มบี ทเรยี นออนไลนเ์ ปน็ ของตนเอง ครสู ามารถเขา้ รว่ มจดั การเรยี นรูไ้ ด้ ทั้งนเ้ี ป็น
การเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเข้ามาเรียนรู้เน้ือหาได้ตลอดเวลา
สามารถพูดคยุ สนทนา แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ระหวา่ งผเู้ รยี น ผเู้ รียนกบั ผสู้ อน สามารถสอบถามปัญหาท้ัง
ทางดา้ นการเรยี นการสอน ด้านเนอื้ หา ตลอดจนรว่ มทากิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีจัดผ่านเว็บไซต์ได้ทุกที่
ทุกเวลา ตลอดจนการวัดและประเมินผลออนไลน์ เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรู้ อันจะเป็นการช่วย
เสริมสร้างคุณลักษณะผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และการเรียนการสอนในรูปแบบน้ียังเป็นการ
สง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชวี ิต (Life long learning) อกี ด้วย (จนิ ตวีร์ คลา้ ยสังข์, 2553)

1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการวจิ ยั

1) เพือ่ พฒั นาบทเรยี นออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม Moodle
2) เพอื่ ศึกษาประสทิ ธิภาพบทเรยี นออนไลน์ทพี่ ัฒนาด้วยโปรแกรม Moodle
3) เพื่อเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนและหลงั ใช้บทเรยี นออนไลน์
4) เพ่ือศกึ ษาเปรยี บเทียบความสามารถในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองกอ่ นและหลังใชบ้ ทเรียนออนไลน์
5) เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลนห์ ลังใชบ้ ทเรยี นออนไลน์

1.3 ขอบเขตของโครงการวจิ ัย

1) กลมุ่ เป้าหมายท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ไดแ้ ก่ นักเรยี นโรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี
5 ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor
จานวน 10 คน และภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2560 รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จานวน 14
คน โดยเปน็ กลุ่มท่ผี ้วู ิจยั เปน็ ผูส้ อน

3

2) ตัวแปรที่ศึกษา

2.1) ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ บทเรยี นออนไลน์ท่สี รา้ งด้วยโปรแกรม Moodle
2.2) ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่

2.2.1) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

2.2.2) ความสามารถในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
2.2.3) ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์

1.4 ระยะเวลาทาการวิจัย และแผนการดาเนินงานตลอดโครงการวิจัย

แผนการดาเนนิ งานวิจยั เดือนท่ี 1 2 3

ศกึ ษาเอกสาร ตารา วารสาร และงานวิจยั

ศึกษาและรวบรวมข้อมูลการจัดทาระบบการ

จัดการเรียนการสอน

ศึกษาปญั หาการเรียนในช้นั เรยี นปกติ

จัดทาระบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์

สร้างบทเรียนออนไลน์

นกั เรียนเรยี นผา่ นบทเรยี นออนไลน์

ประเมินผล

สรุปผลการวิจัย

ถา่ ยทอดความรู้

4
4 5 6 7 8 9 10 11 12

5

1.5 สมมุติฐานของโครงการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้กาหนดสมมติฐานไว้ดังนี้
1) บทเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80
2) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์
3) ผ้เู รียนมีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียน

ออนไลน์ใกล้เคยี งกนั
4) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนออนไลน์ในระดับมาก

1.6 กรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย ตัวแปรตาม

ตัวแปรตน้

ระบบบรหิ ารจดั การบทเรียน - ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
ออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม Moodle - ความสามารถในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
- ความพงึ พอใจตอ่ การเรียนการสอน
บทเรียนออนไลน์
ดว้ ยบทเรียนออนไลน์

ภาพประกอบท่ี 1.1 แสดงกรอบแนวคิดการวจิ ัย

1.7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ

การเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 หมายถึง นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการ
เรียนรู้ ฝึกฝนให้ เปรียบเสมือนครูเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการ
เรียนรู้ของนักเรียน ซึง่ ส่ิงท่เี ป็นตวั ช่วยของครใู นการจัดการเรียนรู้ คอื บทเรยี นออนไลน์

บทเรยี นออนไลน์ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ โดยจัดทาระบบการจัดการเรียน
การสอนด้วยโปรแกรมมเู ดิลในวิชาหลักการวัดและประเมินผลการศึกษา ให้ผูเ้ รียนศกึ ษาด้วยตนเอง

วชิ าการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor หมายถึง รายวิชาเพิ่มเติมสาหรับนักเรียนสายวิทย์-
คณติ โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่

วิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถงึ รายวชิ าเพิม่ เติมสาหรบั นกั เรียนสายวิทย์-คณิต
โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม จงั หวดั กระบี่

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถท่ีผู้เรียนได้รับหลังจากเรียนด้วย
บทเรยี นออนไลนร์ ายวชิ าหลักการวัดและประเมินผลการศึกษา สามารถวัดได้ด้วยแบบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน

6

ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง หมายถึง คุณลักษณะของผู้เรียนท่ีสามารถศึกษาหา
ความรใู้ นเร่ืองราว เน้ือหา ท่ีตนเองสนใจ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง วัดได้โดยใช้แบบวัด
ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นตามทฤษฎีของกูกลิเอลมิโน (Guglielimino)
จานวน 8 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่

1) การเปิดโอกาสต่อการเรียนรู้ (Openness to learning opportunities) ได้แก่
ความสนใจในการเรียน ความภมู ิใจเมื่อเรียนสาเร็จ ชอบศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ยอมรับ
คาติชมในความผดิ พลาดของตนเอง และมคี วามพยายามในการทาความเข้าใจในเร่อื งท่ียาก ๆ

2) มโนมติของตนเองในด้านการเป็นผู้เรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ (self concept as
an effective learning) ได้แก่ ความสามารถที่จะเรียนเมื่อต้องการเรียน เม่ือตัดสินใจเรียนแล้ว
สามารถแบ่งเวลาให้กับการเรียนได้แม้จะมีงานอ่ืนก็ตาม โดยรู้ว่าเม่ือไรท่ีจะเรียน สามารถหาแหล่ง
เรียนรูต้ า่ ง ๆ เพื่อเรยี นรู้สิ่งใหม่ ๆ และรู้วา่ เมอ่ื ต้องการขอ้ มลู จะไปหาไดจ้ ากทไ่ี หน

3) มีความคิดริเร่ิมและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Initiative and independence in
learning) ได้แก่ ความไมท่ อ้ ถอยแม้จะไม่ค่อยเข้าใจในส่ิงที่กาลังทาอยู่ ชอบที่จะเรียน ไม่มีปัญหาใน
การทาความเขา้ ใจจากการอา่ น และสามารถทางานด้วยตนเองได้อยา่ งดี

4) มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน (Informed acceptance of
responsibility for one's own learning) ได้แก่ การยอมรับตนเองว่าเป็นผู้ท่ีมีความฉลาดพอควร
มคี วามเชื่อว่าการคิดอย่เู สมอว่าตนเองเป็นใคร กาลงั ทาอะไรเป็นส่ิงสาคญั ต่อการศึกษาของตน

5) มคี วามรกั ในการเรียนรู้ (Love of learning) ไดแ้ ก่ ความชื่นชมต่อบุคคลที่ศึกษา
ค้นคว้าอยู่เสมอ มคี วามต้องการที่จะเรียนและปรารถนาให้มีเวลามากกว่านี้ มีความสนุกสนานในการ
คน้ ควา้ และมีความกระหายในการเรยี นรู้

6) มีความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ได้แก่ มีความคิดที่จะทาสิ่งต่าง ๆ ได้ดี
สามารถหาแนวทางในการเรยี นส่ิงใหม่ ๆ ไดห้ ลายทาง

7) มองอนาคตในแงด่ ี (Positive orientation to the future) ได้แก่ ความต้องการ
ท่จี ะเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ชอบคดิ ถงึ เร่อื งในอนาคต คิดว่าปัญหาเป็นสิ่งท่ีท้าทายและรู้ดีว่าตนเองต้องการ
เรียนอะไรเพิ่มเตมิ

8) สามารถใช้ทักษะในการแสวงหาความรู้และทักษะการแก้ไขปัญหา (Ability to
use basic study skills and problem-solving skills) ได้แก่ มีทักษะในการอา่ น การเขยี น การฟงั
และการจา มคี วามสนกุ กบั การแก้ปัญหาและคดิ ว่าปัญหาเปน็ สง่ิ ท้าทาย

ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ หมายถึง ความรู้สึกชอบหรือไม่
ชอบของผู้เรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์รายวิชาการเขียน
เว็บไซตด์ ว้ ย Text Editor และรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ประสทิ ธภิ าพบทเรียนออนไลน์ หมายถึง ผลของคะแนนเฉล่ียร้อยละ 80/80 ของนักเรียน
ท่ีเรียนจากบทเรียนท่ีสร้างขึ้นในรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และบรรจไุ ว้ในระบบการจดั การเรียนรู้ คดิ จาก

80 ตวั แรก เป็นคะแนนเฉลี่ยของแบบฝกึ หดั ระหว่างเรยี น
80 ตัวหลัง เป็นคะแนนเฉลยี่ ของแบบทดสอบหลังเรยี น

บทท่ี 2
ทฤษฎีและเอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง

การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ได้จัดทาด้วยโปรแกรม Moodle เพื่อเป็นสื่อเสริมการเรียนการสอน
ระบบออนไลน์ ผวู้ จิ ัยได้ทาการศึกษาทฤษฎีและเทคโนโลยีต่างๆ ที่มีความเก่ียวข้องเชื่อมโยง ซ่ึงครอบคลุม
ในเรื่องต่างๆ ดังนี้

2.1 โปรแกรม Moodle

Moodle ย่อมาจาก (Modular Object - Oriented Dynamic Learning Environment) คือ
ระบบจัดการเรียนการสอนหรือ Learning Management System (LMS) หรือ Course Management
System (CMS) หมายถงึ ชดุ จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในระบบการเรียนแบบออนไลน์ให้มีบรรยากาศ
เหมือนเรียนในห้องเรียน Moodle เป็นโปรแกรมท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ทาให้มีเวอร์ชันใหม่ออกมา
ค่อนข้างรวดเร็ว ซ่ึงเป็นการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นเมื่อพบข้อผิดพลาดจากเวอร์ชันก่อนหน้า Moodle เป็น
ซอฟทแ์ วร์เสรีภายใตส้ ญั ญาอนุญาต GNU/GPL Moodle ชว่ ยใหผ้ ู้ใช้สรา้ งออนไลนค์ อรส์ ได้ง่ายและรวดเร็ว
คอรส์ นัน้ อาจประกอบไปด้วยเอกสารประกอบการเรยี นการสอนซง่ึ อาจอยู่ในรูปเอกสารเวิร์ด รปู แบบตาราง
รูปภาพ แผนผัง แผนภมู ิ วดิ โี อ เสยี ง เว็บเพจ เอกสาร pdf และรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมาย และชุดกิจกรรม
หลกั ประกอบไปดว้ ย ดังนี้

2.1.1 ชดุ กจิ กรรมหลกั ใน Moodle
2.1.1.1 โมดูลการบ้าน (Assignment) กาหนดวนั ส่ง , คะแนนสูงสุด , ให้ส่งการบ้านออนไลน์

, ผสู้ อนสามารถใหค้ าแนะนา ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การบ้านแต่ละชน้ิ
2.1.1.2 โมดูลห้องสนทนา (Chat) สื่อสารแบบต่อเน่ืองในเวลาจริง , แสดงภาพในประวัติ

ส่วนตัว , แสดงลิงค์ URLs , รูปภาพ เปน็ ตน้
2.1.1.3 โมดูลโพลล์ (Choice) ทาการสารวจความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นในช้นั
2.1.1.4 โมดูลกระดานเสวนา (Forum) มีหลายประเภทให้เลือก ,สมัครเป็นสมาชิกได้ สมาชิก

จะได้รบั อเี มลเ์ มอื่ มีการโพสต์ในกระดานเสวนา , ใหค้ ะแนนการโพสต์ได้
2.1.1.5 โมดูลบันทึกความก้าวหน้า (Journal) ช่วยในการสร้างสารระหว่างผู้สอน และ

นักเรยี นโดยเฉพาะ , สะทอ้ นใหเ้ หน็ ความคิดของนักเรียนท่ีมีตอ่ วชิ าน้ัน ๆ ปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ , หรอื ให้ผู้สอนได้
ดพู ัฒนาการในการเรยี นของนักเรยี น

2.1.1.6 โมดูลแบบทดสอบ (Quiz) ตัดเกรดอัตโนมัติ ปรนัย, เติมคา, ถูก/ผิด, จับคู่, แบบสุ่ม
ตัวเลข, หลายตวั เลอื ก,นาเข้าคาถามไดห้ ลายรปู แบบและสามารถกาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบได้

2.1.1.7 โมดูลแหล่งข้อมูล (Resource) นาเสนอเน้ือหาหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นไฟล์เวิร์ด
แฟลช พาวเวอร์พ้อยท์ วีดโี อเสยี html เป็นตน้

2.1.1.8 โมดูลแบบสอบถาม (Survey) แบบสอบถามสาเร็จรูป (COLLES , ATLAS) สะท้อน
ความคดิ เห็นจากนกั เรียนในช้ันที่มีต่อรายวิชา

2.1.1.9 โมดูลห้องปฏิบัติการ (Workshop) ห้องปฏิบัติการออนไลน์ , นักเรียนช่วยกันให้
คะแนนและนักเรยี นให้คะแนนตนเอง

8

2.1.1.10 โมดลู บทเรยี นสาเร็จรูป (Lesson) แตกบทเรียนได้หลายสาขาย่อย , นักเรียนศึกษา
และทาแบบทดสอบจนกว่าจะเข้าใจ , นาเขา้ คาถามได้

2.1.1.11 โมดูลอภิธานศัพท์ (Glossary) เพ่ิมคาศัพท์สาหรับแต่ละรายวิชา , นักเรียนเพิ่ม
คาศัพทไ์ ด้ , มรี ะบบการให้คะแนนคาศัพท์ , แสดงความเหน็ ตอ่ การใหค้ วามหมายของคาศพั ท์

2.1.1.12 โมดูล Wiki สร้างสารานกุ รมของเว็บหรอื รายวชิ าเกบ็ ไว้เพอื่ อา้ งองิ
2.1.2 ชุดกจิ กรรมเสริมใน Moodle

2.1.2.1 โมดลู หนังสอื (Book) สาหรับสรา้ งเน้ือหาทีม่ หี ลายหน้า
2.1.2.2 โมดูล Hotpot สาหรับนาเขา้ คาถามที่สรา้ งจาก Hot Potatoes
2.1.2.3 โมดูลบันทึกการเข้าเรียน (Attendance) ใช้ในการบันทึกการเข้าเรียนของนักเรียน
จากหมายเลขไอพที ่ใี ชเ้ ขา้ มาโดยบนั ทกึ วันเวลาที่เข้ามาศกึ ษา
2.1.2.4 โมดูลแบบสารวจ (Qialogue) ใชส้ รา้ งแบบสารวจทต่ี ้องการคิดคาถามขึ้นเองในหัวข้อ
ท่ีตอ้ งการถาม
2.1.2.5 โมดูลบทสนทนา (Dialoque) นักเรียนสามารถเปิดทนสนทนาหรือถามคาถาม
อาจารยแ์ ละอาจารยส์ ามารถโตต้ อบกลับคลา้ ยการฝากขอ้ ความถงึ กัน นกั เรียนสามารถท่ีจะเปิดการสนทนา
กบั เพอื่ นได้ในกรณีท่ผี ูด้ ูแลระบบเปดิ การใช้งานให้
2.1.2.6 โมดูลแบบฝึกหัด (Exercise) คล้ายกับโมดูลห้องปฏิบัติการรวมกับโมดูลการบ้าน
แตเ่ ป็นการให้นกั เรยี นประเมนิ ผลตนเอง
2.1.3 ข้อดีของ Moodle
2.1.3.1 เป็นระบบซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส (Open Source) ไม่มลี ขิ สทิ ธิสามารถดาวน์
โหลดมาใชง้ านไดฟ้ รี
2.1.3.2 ติดต้ังได้ทุกระบบปฏบิ ตั ิ
2.1.3.3 กรณมี ปี ญั หาเกิดขน้ึ สามารถช่วยเหลอื ในระบบสงั คมออนไลนไ์ ด้
2.1.3.4 มีภาษารองรับหลากหลายภาษา สามารถพัฒนารองรบั การเข้าสู่สมาคม อาเซียนได้
2.1.3.5 โปรแกรมมรี ะบบความปลอดภัยสงู สามารถ Blackup ขอ้ มูลได้
2.1.3.5 โปรแกรมสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชง้ านไดต้ ามความพอใจความต้องการขององค์กร
2.14 ความตอ้ งการของระบบ
Moodle ได้รบั การพัฒนาข้ึนด้วยภาษา PHP ในระบบปฏิบัติการ Linux และ ใช้Apache เป็น
เว็บเซิร์ฟเวอร์และฐานข้อมูล MySQL เรียกโดยย่อว่าระบบ LAMP แต่มีการทดสอบระบบในฐานข้อมูล
แบบ PostgreSQL และยังมีการทดสอบในระบบปฏิบัติการ Window XP, Mac OS X และ Netware 6
เวบ็ เซริ ์ฟเวอรต์ อ้ งมคี วามสามารถในการอา่ นภาษา PHP ท่ใี ชใ้ นการเขยี นโปรแกรมอกี ทงั้ แสดงผลได้ถูกต้อง
จึงจาเป็นตอ้ งติดต้งั โปรแกรมดงั ต่อไปน้ี
1. Apache Server สาหรับการตดิ ตั้งบน Linux หรือ Appserv สาหรับการใชง้ านบนWindows
2. PHP 4.2.0 หรอื เวอร์ชนั สงู กวา่
3. MySQL 3.23.X หรอื เวอร์ชันสงู กวา่
4. Web Browser Microsoft Internet Explorer 8 ข้ึนไป
5. ส่วนประกอบหลกั ของ Moodle

9

โปรแกรม Moodle ประกอบดว้ ยสว่ นหลัก 3 กลมุ่ ดังน้ี
1. กล่มุ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีหน้าที่ติดต้ังระบบ ปรับแต่งระบบ กาหนดค่าของระบบ กาหนดสิทธิ

ผ้ใู ช้ เพิ่มเติมโปรแกรมเสริม กาหนดความปลอดภัยข้อมูล การสารองข้อมูล และการก้คู ืนข้อมลู
2. กลุม่ ครผู ูส้ อน (Teacher) มีหนา้ ทีเ่ ปน็ ผสู้ รา้ งเนื้อหาบทเรียนสาเรจ็ รปู วางแผนการจัดการเรียนการสอน

ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ การโต้ตอบกบั ผเู้ รียน กาหนดสิทธิผ้เู รยี น และประเมนิ ผลการเรียนการสอน
3. กลุ่มผู้เรียน (Student) มีหน้าที่ สมัครเข้าเรียนด้วยตนเองหรือตามท่ีครูผู้สอนกาหนดไว้

เขา้ ไปศกึ ษาหาความรู้ แหล่งเรียนรู้ ตอบคาถามในกิจกรรม ประเมินผลได้
จากส่วนประกอบหลัก 3 กลุ่ม ในโปรแกรม Moodle แสดงให้เห็นหน้าที่ของแต่ละกลุ่ม

ดงั ภาพประกอบท่ี 2.1

ภาพประกอบที่ 2.1 แสดงการใชง้ านในระบบ LMS ในโปรแกรม Moodle

2.2 ระบบบริหารจดั การการเรยี นรู้ (LMS : Learning Management System)

2.2.1 ความหมายของระบบบริหารจดั การการเรียนรู้
ระบบบริหารจัดการการเรยี นรู้ (LMS : Learning Management System) มนี กั วชิ าการหลาย

ท่านไดให้ความหมายไวดังนี้
ประกอบ คุปรัตน์ (2547) ได้ให้ความหมายของ LMS ว่าเป็นระบบจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์ หรือ e-Learning เป็นซอฟต์แวร์ท่ีช่วยในระบบจัดการห้องเรียนเสมือน ทาให้สถาบันการศึกษา
หรอื แหล่งจัดการเรียนการสอนสามารถให้ผู้เรียนได้มี Login และ Password เพื่อมีสิทธิเข้าเรียน สามารถ
จดั การเลอื กสรรรายวิชาทีจ่ ะเรียน มบี นั ทกึ เกยี่ วกบั เวลาและข้อมูลการเข้าเรียนและการทารายงานผลให้กับ
ระบบการศกึ ษา

กิตติพงษ์ พุ่มพวง (2547) ได้ให้ความหมาย LMS ว่าเป็นระบบจัดการเรียนการสอนผ่าน
เครือข่ายมีเครื่องมือและส่วนประกอบท่ีสาคัญสาหรับผู้สอน ผู้เรียนและผู้ดูแลระบบ ได้แก่ ระบบจัดการ
รายวิชาระบบจัดการสร้างเน้ือหา ระบบบริหารจัดการผู้เรียน ระบบส่วนการจัดการข้อมูลบทเรียน และ

10

ระบบเครอื่ งมอื ช่วยจัดการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ และจัดกระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ การส่ือสาร Chat e-
mail Web board การเข้าใช้ การเกบ็ ข้อมลู และการรายงานผล เป็นตน้

ชัยรัตน์ ไชยพจน์พานิช (2533) ได้ให้ความหมายของ LMS ว่าเป็นซอฟต์แวร์บริหารจัดการรายวิชาที่
รวบรวมเครื่องมือ ซึ่งออกแบบไว้เพ่ืออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือช่วยสนับสนุนผู้ใช้งาน 4 กลุ่ม คือ ผู้เรียน (Student) ผู้สอน (Instructor) เจ้าหน้าที่ทะเบียน
(Registration) และผู้ดูแลระบบ (Administrator) ซ่ึงเครื่องมือและระดับขงสิทธิในการเข้าใช้ที่จัดหาไว้ให้จะมีความ
แตกต่างกนั ไปตามแตก่ ารใช้งานของแต่ละกลุ่ม

ดังน้ันสรุปไดวา Learning Management System หรือ LMS เปนระบบการจัดการเกี่ยวกับ
การบริหารการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning เพ่ือจัดการกับการใชคอรสแวร (Courseware) ใน
รายวิชาต่างๆ ระหว่างผู้สอน (Instructors) ผู้เรียน (Learners) และผู้ดูแลระบบ (Administrator) โดย
ออกแบบระบบเพื่อเป็นซอฟตแ์ วรท์ ท่ี าหน้าท่ีบริหารจดั การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ จะประกอบด้วยเครื่องมือ
อานวยความสะดวก เช่น โปรแกรมจะทาหน้าท่ีตรวจสอบการเข้ามาใช้บทเรียน เน้ือหา กิจกรรมต่างๆ
ตารางเรียน ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หองสนทนา กระดานถามตอบ การทาแบบทดสอบ เป็นต้น และ
องคป์ ระกอบทสี่ าคัญ คือ การเก็บบนั ทึกขอ้ มูลกิจกรรมการเรียนของผู้เรียนไวบนระบบเพ่ือผู้สอนสามารถ
นาไปวเิ คราะห์ติดตามและประเมนิ ผลการเรียนการสอนไดอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

2.2.2 ผใู้ ชง้ านในระบบ LMS
สาหรบั ผใู้ ช้งานในระบบ LMS นั้นสามารถท่ีจะแบ่งได้เปน็ 3 กลุ่ม คือ
1) กล่มุ ผ้บู รหิ ารระบบ (Administrator) ทาหนา้ ทใ่ี นการติดตงั้ ระบบ LMS การกาหนดค่า

เริ่มต้นของระบบการสารองฐานขอ้ มลู การกาหนดสทิ ธก์ิ ารเปน็ ผู้สอน
2) กลุ่มอาจารย์หรือผู้สร้างเน้ือหาการเรียน (Instructor / Teacher) ทาหน้าที่ในการเพ่ิมเนื้อหา

บทเรียนต่างๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา ใบเน้ือหา เอกสารประกอบการสอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ข้อสอบ
ปรนยั อัตนยั การใหค้ ะแนน ตรวจสอบกจิ กรรมผู้เรียน ตอบคาถาม และสนทนากับนกั เรียน

3) กลุ่มผู้เรียน (student/Guest) หมายถงึ นกั เรียน นักศึกษา ท่ีสมัครเข้าเรียนตามหัวข้อ
ต่างๆ รวมทั้งการทาแบบฝึกหัด ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารย์สามารถทาการแบ่งกลุ่ม
ผเู้ รยี นได้ และสามารถต้ังรหสั ผา่ นในการเข้าเรยี นแตล่ ะวิชาได้

LMS เป็นระบบท่ีมีความสาคัญอย่างมากใน e-Learning ดังคากล่าวท่ีว่า “that if course
content is King, then infrastructure (LMS) is God” โดย LMS เป็นแอพพลิเคชันท่ีมาช่วยจัดการ
และควบคุมกิจกรรมการเรียนการสอนท้ังหมดของ e-Learning อาศัยการติดตามผล วิเคราะห์ และ
รายงานถงึ ประสทิ ธภิ าพของระบบฝกึ อบรมรวมทง้ั ช่วยในการจดั การฐานข้อมูลความรู้ของหน่วยงาน ซึ่งถือ
เปน็ สง่ิ สาคญั เปน็ อย่างยง่ิ ท่จี ะทาใหก้ ารดาเนนิ ธรุ กจิ ในยคุ New Economy ประสบผลสาเร็จ

11

ภาพประกอบท่ี 2.2 แสดงลกั ษณะการทางานของ LMS
LMS กเ็ ปรยี บเสมือนกบั โรงเรียน เม่อื คณุ ลอ็ กอนิ เขา้ สูร่ ะบบ LMS เพอื่ เข้าเรียน ก็เหมือนกับคุณ
ก้าวเทา้ เข้าส่ปู ระตูโรงเรียน คุณสามารถทาอะไรกไ็ ดใ้ น LMS เหมอื นกบั ท่ีคุณทาได้ในโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็น
การเลือกวิชาท่ีจะลงเรียน การเข้าไปอ่านเน้ือหาของบทเรียน ทาแบบฝึกหัด ทาแบบทดสอบ และมี
ปฏิสมั พนั ธ์กับอาจารย์ผูส้ อน หรือนักเรียนคนอ่ืนๆ อาจารย์ผู้สอน, ผู้ดูแลระบบ,ผู้จัดการ สามารถสังเกตดู
พฤตกิ รรมการเขา้ เรียนของคุณผ่านข้อมูลท่ไี ดถ้ กู บันทึกไวใ้ นฐานขอ้ มูลของ LMS ปัจจบุ นั ระบบของ LMS น้ี
จะมีอยู่สองรูปแบบคือรูปแบบของ ซอฟต์แวร์ปกติ และ ASP (Application Service Provider) ซ่ึงแบบหลังก็
เหมือนกบั การใชบ้ ริการ ซึง่ การเลอื กใช้ LMS ระบบใดกข็ ้นึ อยกู่ ับปัจจัยหลายๆ อยา่ งของหนว่ ยงาน
การจัดการศึกษาแบบออนไลน์เป็นเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาท่ีมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายท่ี
เป็นมวลชน ตอบสนองการปฏิรูปการศึกษาของทุกประเทศท่ีกระจายโอกาสทางการศึกษาเป็นการศึกษา
ตลอดชีวิต (Life Long Education) การศึกษาตามอัธยาศัย ผู้เรียนจะเป็นใคร จะอยู่ ณ สถานท่ีใด
ช่วงเวลาใด ก็สามารถจะเลือกเรียนตามความต้องการของผู้เรียนได้ (Anywhere Anytime Anyone) ซึ่ง
กาลงั ได้รบั ความนยิ มในขณะนี้ และเปน็ เทคโนโลยีการศึกษา ที่ได้มีพัฒนาการอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงผู้ออกแบบ
และพัฒนาการศึกษาแบบออนไลน์จะต้องใช้กรอบแนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษามาสร้างสรรค์และ
ออกแบบพัฒนาระบบการศกึ ษาแบบออนไลนใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพตามความเหมาะสมของผูเ้ รียน

12

2.3 e-Learning

2.3.1 ความหมายของ e-Learning
เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเปล่ียนแปลงวิธีเรียนที่เป็นอยู่เดิม เป็นการเรียนท่ีใช้เทคโนโลยีที่

ก้าวหนา้ เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต ดาวเทียม วิดีโอเทป แผ่นซีดี ฯลฯ คาว่า e-Learning คือ
การเรียนผ่านเว็บ ห้องเรียนเสมือนจริง ปัจจุบันคนส่วนใหญ่มักจะใช้คาว่า e-Learning กับการเรียนการสอน
หรือการอบรม ท่ีใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Based Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยี
ระบบการจัดการหลักสูตร (CMS - Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนด้านต่าง ๆ
โดยผ้เู รียนท่ีเรยี นดว้ ยระบบ e-Learning น้ี สามารถศึกษาเน้ือหาในลักษณะออนไลน์ หรือจากแผ่นซีดีรอม ก็ได้
และที่สาคัญอีกส่วนคือ เนื้อหาต่าง ๆ ของ e-Learning สามารถนาเสนอ โดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
(Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)

2.3.2 ประโยชน์ของ e-Learning
ยดื หยุ่นในการปรับเปล่ียนเนื้อหา และสะดวกในการเรียนการสอนผ่านระบบ e-Learning นั้น

งา่ ยต่อการแก้ไขเน้ือหา และกระทาไดต้ ลอดเวลา เพราะระบบการผลิตจะใช้คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบ
หลัก นอกจากนผี้ ้เู รียนกส็ ามารถเรยี นโดยไม่จากัดเวลา และสถานท่ี

ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึง e-Learning ได้ง่ายสามารถใช้โปรแกรม Web Browser
ของบรษิ ทั ใดกไ็ ด้ ผู้เรยี นสามารถเรียนจากเครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ่ใี ดกไ็ ด้ และในปัจจบุ นั น้ี การเข้าถึงเครือข่าย
อนิ เตอร์เน็ตกระทาได้ง่ายขนึ้ มาก และยังมคี ่าเชอื่ มต่ออนิ เตอร์เน็ตทม่ี ีราคาต่าลง

ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยกระทาได้ง่าย เนื่องจากผู้สอน หรือผู้สร้างสรรค์งาน e-Learning จะสามารถ
เข้าถงึ ตวั บทเรียนจากทใ่ี ดกไ็ ด้ การแกไ้ ขข้อมูล และการปรับปรุงขอ้ มูล จึงทาไดท้ นั เวลาด้วยความรวดเร็ว

ประหยัดเวลา และคา่ เดนิ ทาง ผู้เรยี นสามารถเรียนโดยใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ โดย
ไม่จาเปน็ ต้องไปที่สถานศึกษา หรอื ทีท่ างาน รวมทงั้ ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งใชเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองประจาก็ได้ ซ่ึง
เปน็ การประหยดั เวลามาก

2.3.3 การนา e-Learning ไปใช้ประกอบการเรยี นการสอนทาได้ 3 ระดบั ดงั นี้
ใช้เปน็ สอ่ื เสรมิ (Supplementary) หมายถึง การนา e -Learning ไปใช้ในลักษณะสื่อเสริม

กลา่ วคือ นอกจากเนื้อหาทีป่ รากฏในลักษณะ e-Learning แลว้ ผเู้ รียนยังสามารถศกึ ษาเน้อื หาเดียวกันนี้ใน
ลกั ษณะอ่ืนๆ เชน่ จากเอกสารประกอบการสอน จากวีดีทศั น์ ฯลฯ การใช้ e-Learning ในลักษณะนี้เท่ากับ
ว่าผูส้ อนเพยี งตอ้ งการจัดหาทางเลือกใหมอ่ กี ทางหน่ึงสาหรับผเู้ รียนในการเข้าถึงเนือ้ หาเพอื่ ให้ประสบการณ์
พิเศษเพ่ิมเตมิ ใหแ้ ก่ผู้เรยี นเทา่ นนั้

สื่อเพิ่มเติม (Complementary) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะเพิ่มเติมจาก
วิธีการสอนในลกั ษณะอ่ืนๆ เชน่ นอกจากการบรรยายในห้องเรียนแล้ว ผู้สอนยังออกแบบเน้ือหาให้ผู้เรียน
เข้าไปศกึ ษาเพมิ่ เติมจาก e-Learning ไปใช้กับการเรยี นการสอนตามปกติ (ที่ไม่ใช่ทางไกล) แล้ว อย่างน้อย
ควรตั้งวัตถุประสงค์ส่ือเพ่ิมเติมมากกว่าแค่เป็นส่ือเสริม เช่น ผู้สอนจะต้องให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาจาก
e-Learning เพ่ือวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หน่ึง เป็นต้น ทั้งน้ีเพ่ือให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียนใน
ท้องถ่ินของเรา และต้องการคาแนะนาจากครูผู้สอน รวมทั้งการท่ีผู้เรียนส่วนใหญ่ยังขาดการปลูกฝังให้มี
ความใฝร่ โู้ ดยธรรมชาติด้วยการพงึ่ พาตนเอง

ส่ือหลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะ
แทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเน้ือหาทั้งหมดออนไลน์ ในปัจจุบัน e-Learning ส่วน

13

ใหญ่ในตา่ งประเทศจะได้รับการพัฒนาขึ้นเพ่ือวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นส่ือหลักแทนครู เพื่อสอนทางไกล
ด้วยแนวคิดท่ีว่ามัลติมีเดียท่ีนาเสนอทาง e-Learning สามารถช่วยในการถ่ายทอดเน้ือหาได้ใกล้เคียงกับ
การสอนจรงิ ของครผู ูส้ อน

2.3.4 ระบบการจดั การเน้ือหาเว็บไซด์ (Content Management System : CMS)
ความหมายของระบบจัดการจัดการเน้ือหาเว็บไซด์ คือ ระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เป็น

โปรแกรมสรา้ งเว็บไซดส์ าเร็จรปู เปน็ ระบบท่นี ามาชว่ ยในการสร้างและบรหิ ารเว็บไซต์แบบสาเร็จรูป ทางาน
อยบู่ นเวบ็ เซิร์ฟเวอรใ์ นรปู แบบของเวบ็ แอปพลิเคชนั่ โปรแกรม CMS ถกู เขียนดว้ ยภาษาสคริปต์ เช่น ภาษา
PHP,ASP และ Java มีเคร่ืองมือสาหรับบรหิ ารการจัดการเน้ือหาบนเว็บไซด์แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่
1) เคร่ืองมือการจัดการเนื้อหา (Content Management Application : CMA) มีหน้าท่ีจัดการเนื้อหาทุก
ชนดิ บนหนา้ เว็บเพจ 2) เครื่องมือจัดการข้อมูลของเนื้อหา (Metacontent Management Application :
MMA) มีหน้าที่อธิบายคุณลักษณะของข้อมูล เช่น สร้างข้อมูลเมื่อไร ใครเป็นผู้กระทา สถานที่เก็บ ถูกใช้
งานบนหน้าเว็บเพจใด เป็นต้น และ 3) ส่วนเครื่องมือการนาเสนอเนื้อหา มีหน้าท่ีนาเนื้อจากท่ีจัดเก็บมา
แสดงผลบนหนา้ เวบ็ ไซด์ CMS และมีคณุ สมบัติในการจัดการเน้ือหาของเว็บไซด์ในปริมาณมาก ๆ ได้อย่าง
ยืดหยนุ่ ตามความต้องการของผู้ดูแลเวบ็ ไซต์โดยในการใช้งาน CMS นั้นผู้ใช้งานแทบไม่ต้องมีความรู้ในด้าน
การเขียนโปรแกรม ก็สามารถสร้างเวบ็ ไซต์ได้ ชว่ ยประหยดั ทรพั ยากรในการพัฒนาและการบริหารเว็บไซด์
ในดา้ นระยะเวลา บุคลากร และค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการสร้างและระบบควบคุมดูแล และในตัวของ CMS เอง
จะมีโปรแกรมเสริมมาและสามารถแทรกเองได้มากมาย เช่น Webboard , ระบบจัดการป้ายโฆษณา ,
ระบบนับจานวนผู้ชมแม้แต่กระท่งั ตะกร้าสินค้า และอื่นๆอีกมากมาย ระบบการทางาน CMS จะประกอบ
ไปด้วย 3 ขั้นตอน คอื

1. ข้ันตอนการนาเนอ้ื หาเขา้ ระบบ (Ingestion หรือ Creation)
2. ขั้นตอนการตรวจสอบเน้อื หา (Staging หรอื Approval)
3. ขั้นตอนการนาเนอื้ หาไปเผยแพร่ (Delivery หรอื Publishing)
2.3.5 สถาปัตยกรรมของระบบ e–Learning
สื่อเสริมการเรียนการสอนระบบออนไลน์ถูกออกแบบให้มีลักษณะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้
ครูผูส้ อน ผู้เรียน และประชาชน สามารถสร้างองคค์ วามรู้บนเว็บได้ โดยการทางานจะเป็นลักษณะของเว็บ
เบส (Web-based) ที่ทางานอย่บู นระบบเครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ ซึ่งมีการทางาน 3 ส่วนท่ีสาคัญ คอื

1. ส่วนของเว็บไคลเอนต์ (Web Client) จะทาหน้าท่ีในการร้องขอข้อมูลไปยังเว็บ
เซริ ์ฟเวอร์และแสดงผลข้อมลู ที่ต้องการ

2. ส่วนของเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) จะทาหน้าท่ีในการประมวลผลคาร้องขอจาก
เว็บไคลเอนต์ และติดตอ่ กับฐานข้อมลู เพอ่ื สง่ ขอ้ มลู กลับไปยงั เวบ็ ไคลเอนต์

3. ส่วนของฐานข้อมูล (Database) จะทาหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการซ่ึงมี
ความสัมพนั ธ์ในการทางานดังแสดงในรายการภาพประกอบที่ 2.3

14

ภาพประกอบท่ี 2.3 แสดงการทางานของ Web base
โดยสรุป กระบวนการถ่ายทอดเน้ือหาของระบบ e-Learning จากบทเรียนโดยครูผู้สอน ใน
ปจั จบุ ันทาไดห้ ลายวธิ ี ข้ึนอย่กู ับความเหมาะสม รปู แบบ ความประหยัด สภาวะแวดล้อมของสถานท่ี ความ
สะดวกและผลสมั ฤทธท์ ี่ได้จากการใช้ส่อื เปน็ สิ่งสาคัญย่งิ โดยเฉพาะสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต่าง ๆ เช่น จดหมาย
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Mail) การตดิ ตอ่ ผา่ นเครือข่ายสังคม (Social Network) หรือการติดต่อผ่าน Facebook
สัญญาภาพผ่านระบบรบั ส่งโทรทศั น์ ภาพนิ่งจากกลอ้ งถ่ายรูป หรืออ่ืน ๆ สื่ออิเล็กทรอนิกส์เหล่าน้ีสามารถ
ตดิ ตอ่ ผา่ นช่องทางสอ่ื สารเพ่อื ถ่ายทอดองค์ความรูจ้ ากผู้ถ่ายทอดความร้ไู ปสสู่ ังคมของการเรียนรู้ ในทิศทาง
เดยี วกัน การเลือกใชร้ ะบบอเิ ลริ น์ น่ิงจะต้องคานงึ ถึงเรื่องเวลา วสั ดอุ ุปกรณ์ช่องทางสื่อสาร สถานที่ กับการ
เข้ามาเรียนร้ขู องผใู้ ช้งาน ครผู ู้สอนและผูเ้ รียน เพื่อใหส้ ามารถใช้เครื่องมือได้เต็มตามศักยภาพ ดังนั้นระบบ
สื่อเสริมการเรียนการสอนออนไลน์ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นช่อง
ทางเลือกของผู้เรียนท่ีช่วยเป็นสื่อเสริมการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เพ่ือส่ือสารแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้กบั ครูผสู้ อนที่เรยี กว่าระบบอเิ ลริ น์ นงิ่ (e-Learning) ผา่ นโปรแกรมมูเดลิ้ (Moodle)

2.4 ความสามารถในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง

2.4.1 ความหมายของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
นักการศกึ ษาได้ใหค้ วามหมายของการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ดังน้ี
ชัยฤทธิ์ โพธิ์สุวรรณ (2541) กล่าวว่า การเรียนรู้ด้วยตนเอง คือ กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะ

ด้วยความช่วยเหลือสนับสนุนจากภายนอกตัวผู้เรียนหรือไม่ก็ตาม ริเริ่มการเรียนรู้เลือกเป้าหมาย แสวงหาแหล่ง
ทรัพยากรของการเรียนรู้ เลือกวิธีการเรียนรู้จนถงึ การประเมินความกา้ วหนา้ ของการเรยี นรขู้ องตนเอง

15

ทศิ นา แขมมณี (2552) ได้นิยามว่า หมายถงึ การให้โอกาสผู้เรียนวางแผนการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ซ่งึ ครอบคลุมการวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรู้ของตนการต้ังเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
การเรยี นรู้ การเลือกวิธกี ารเรยี นรู้ การแสวงหาแหล่งความรู้การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้ง
การประเมินตนเอง โดยผู้สอนอยู่ในฐานะกัลยาณมิตร ทาหน้าที่กระตุ้นและให้คาปรึกษาผู้เรียนในการ
วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ ออกแบบแผนการเรียนรู้ และจดั เตรียมวัสดุอุปกรณ์ แหล่งข้อมูล
รวมทัง้ ร่วมเรียนรไู้ ปกบั ผ้เู รียน และติดตามประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนด้วย

โนลส์ (Knowles, 1975) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้ด้วยตนเอง สรุปได้ว่า การเรียนรู้ด้วย
ตนเองเปน็ กระบวนการทีผ่ เู้ รียนคิดริเรมิ่ การเรยี นเอง โดยวนิ จิ ฉยั ความต้องการในการเรียนรู้ของตนกาหนดเป้าหมาย
และส่ือการเรยี น ติดต่อกับบุคคลอื่น หาแหล่งความรู้เลือกใช้ยุทธวิธีการเรียนรู้เสริมแผนการเรียนรู้และประเมินผล
การเรียนของตน ซึ่งอาจจะไดร้ ับหรอื ไมไ่ ด้รับความช่วยเหลือจากผู้อนื่ ก็ตาม

สเคเจอร์ (Skager, 1978) ใหค้ วามหมาย การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ว่าเปน็ ประสบการณก์ ารเรียนรู้ส่วน
บุคคล ผูเ้ รียนมีเป้าหมายในการพัฒนาทักษะ ความสามารถในการวางแผน การบริหารการจัดการและการประเมินผล
กจิ กรรมการเรียนรู้ของตนเอง และในฐานะทเ่ี ปน็ สมาชิกของกลุ่มการเรยี นทร่ี ว่ มมอื กัน

บรคู๊ ฟิลด์ (Brookfield, 1984) สรุปการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองว่า เปน็ การแสวงหาความรโู้ ดยผู้เรียนเป็น
ผู้กาหนดเปา้ หมายการเรยี นที่ชดั เจน ควบคมุ กจิ กรรมการเรียนของตนในด้านเน้ือหาและวิธีการเรียนซ่ึงอาจขอความ
ช่วยเหลือในด้านต่างๆ เช่น การกาหนด และใช้หนังสือประกอบการเรียนหรือบทความต่างๆ จากบุคคลอื่น ๆ ท่ี
เกย่ี วข้อง รวมทง้ั เลอื กวธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง

โดยสรุปการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning : SDL) คือ กระบวนการเรียนรู้ท่ี
ผเู้ รยี นริเรม่ิ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความต้องการ และความถนัด มีเป้าหมาย รู้จักแสวงหา
แหล่งทรัพยากรของการเรียนรู้ เลือกวิธีการเรียนรู้ จนถึงการประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของ
ตนเอง โดยจะดาเนินการดว้ ยตนเองหรอื รว่ มมอื ชว่ ยเหลือกับผอู้ ่ืนหรือไม่ก็ได้

การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นคุณลักษณะที่สาคัญต่อการดาเนินชีวิตที่มีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีความ
จาเป็นอย่างยง่ิ สาหรับการศึกษาในปัจจุบันที่จะต้องมีส่งเสริมให้บุคคลมีคุณลักษณะของการช้ีนาตนเองใน
การเรยี นรู้ เพือ่ ให้บคุ คลมปี ระสบการณ์ และมีศักยภาพในการแสวงหาความรู้เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการศึกษา
ตลอดชวี ิตต่อไป

2.4.2 ประเภทของการเรียนรูด้ ้วยตนเอง
Gagne & Briggs (1984) ไดแ้ บ่งประเภทของการเรียนรู้ดว้ ยตนเองไว้ดังนี้
1. แผนการเรียนอิสระ เป็นการเรียนรู้ท่ีผู้สอนกบผู้เรียนตกลงกัน ในเรื่องของจุดมุ่งหมายของ

การเรยี นแลว้ ใหผ้ ้เู รียนศึกษาคน้ คว้าใหบ้ รรลุจุดม่งุ หมายเฉพาะทกี่ าหนดเอาไว้ แต่วิธีการศึกษานั้นเป็นเรื่อง
ของผู้เรยี น ผู้สอนอาจแนะนาและจัดเตรียมวัสดไุ ว้ให้

2. ศึกษาด้วยการควบคุมตนเอง เปน็ การเรียนรทู้ ผ่ี ู้เรียนตอ้ งศกึ ษาคน้ ควา้ จากสอื่ การเรียนรู้ต่างๆ
ด้วยตนเอง ผู้สอนช่วยแนะนาและจัดหาเอกสาร วสั ดุ ตลอดจนสงิ่ อานวยความสะดวกไว้ให้

3. โปรแกรมการเรียน ซึ่งผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นโปรแกรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้นกว้างๆ เพื่อเปิด
โอกาสให้ผู้เรยี นเลือกเรียนโดยมีวิชาหลัก วิชาเสริม และวชิ าเลอื ก

4. การเรียนตามความเร็วของตนเอง เป็นการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเรียนตามอัตราความเร็ว หรือ
ความสามารถของตนเอง มกี ารกาหนดจดุ มุง่ หมายไว้ ตลอดจนเกณฑต์ ่างๆ ไว้เหมือนกัน ต่างกันท่ีเวลาท่ีใช้
ในการเรยี น

16

5. การเรียนร้ทู ี่ผู้เรยี นกาหนดข้ึนเอง เปน็ การเรียนร้ทู ีใ่ หอ้ สิ ระแกผ่ ูเ้ รียน ในการเลือกจุดมุ่งหมาย
ของการเรียนดว้ ยตนเอง ทดสอบเอง มีอิสระในการเลือกจดุ มงุ่ หมายใดก็ได้

การเรียนร้ดู ว้ ยตนเองมีความสาคัญและเป็นประโยชนต์ อ่ ผูเ้ รยี นเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากการศึกษา
ในยุคปัจจุบันมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และเรียนรู้อย่างต่อเนื่องเพราะความรู้
ต่างๆ ไม่เปน็ ความร้ทู เี่ กดิ ข้ึนในห้องเรียนหรือโรงเรียนเพียงอย่างเดียว ความรู้เกิดจากแหล่งต่างๆ รอบตัว
และวทิ ยาการใหมๆ่ เกิดข้นึ อยตู่ ลอดเวลา สว่ นประเภท ของการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นวิธีการเรียนท่ีผู้เรียน
ต้องการที่จะเรียนรู้ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและประเมินผลการเรียน มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี ผู้สอน
เปน็ เพยี งผคู้ อยชแี้ นะและจดั เตรียมวสั ดุหรืออปุ กรณ์ไวใ้ ห้ และเรียนรู้ตามความสามารถ

2.5 การเรียนรู้ของคนในศตวรรษท่ี 21

ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เป็นปัจจัยที่สาคัญที่ทาให้การเข้าถึง
แหลง่ เรียนร้ไู ดส้ ะดวก งา่ ย หลากหลายช่องทาง สามารถรับรไู้ ด้ด้วยการอา่ น ฟงั ดู มีการนาเสนอในรปู แบบ
อักษรภาพ เสียง ภาพเคลอ่ื นไหว รวมถึงการสร้างสถานการณ์เสมือนจริง (Virtual Situation) รวมทั้งการ
ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) และสร้างเครือข่ายให้สามารถติดต่อส่ือสารได้อย่างไร้ขอบเขตทาให้การเรียนรู้
และสมรรถนะของคนในยุคศตวรรษที่ 21 เปล่ียนไป การเรียนรู้ไม่ได้มีลักษณะเรียงเป็นแถวจากความรู้
(knowledge) ไปสู่ความเข้าใจ (comprehension) การประยุกต์ใช้ (application) การวิเคราะห์
(analysis) การสังเคราะห์ (synthesis) และการประเมิน (evaluation)ตามลาดับ แต่การเรียนรู้เป็น
กระบวนการเรียนรู้เนื้อหาไปสู่ความเข้าใจแท้จริงในระดับที่นาไปใช้ได้ในสถานการณ์จริง เรียนรู้เนื้อหา
พรอ้ มๆ กับการใช้ประโยชน์ในสถานการณ์จริง ผลการเรียนรู้คือจาได้ (remember) เข้าใจ(understand)
ประยุกต์ใช้ (apply) วิเคราะห์ (analyze) ประเมิน (evaluate) และสร้างสรรค์ (create) โดยที่ข้ันตอน
เหล่านี้เกิดพร้อมๆ กันได้หรืออะไรเกิดก่อนเกิดหลังได้ทั้งสิ้น รวมท้ังเรียงลาดับจากหลังไปหน้าก็ได้ โดย
สมรรถนะท่ีสาคัญของผู้เรียน มี 5 ด้านได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ

ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึง
ทกั ษะเพอ่ื การดารงชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี

สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑
ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของ
ศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมิน
ความกา้ วหนา้ ของการเรยี นรขู้ องตนเองได้

สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ประกอบดว้ ย ภาษาแม่ และภาษาสาคญั ของโลก ศิลปะ
คณติ ศาสตร์ การปกครองและหน้าท่พี ลเมือง เศรษฐศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ และประวัติศาสตร์

โดยวิชาแกนหลกั นีจ้ ะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจัดการ
เรียนรู้ในเน้ือหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยการส่งเสริม
ความเขา้ ใจในเน้อื หาวชิ าแกนหลัก และสอดแทรกทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทกุ วชิ าแกนหลัก ดังนี้

ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความรู้เกย่ี วกับโลก (Global Awareness)ความรู้เก่ียวกับการเงิน
เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and

17

Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองท่ีดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ
(Health Literacy) และความรู้ดา้ นส่งิ แวดล้อม (Environmental Literacy)

ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการ
ทางานที่มีความซับซ้อนมากข้ึนในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารและการรว่ มมือ

ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่าน
ทางสอื่ และเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรยี นจึงต้องมคี วามสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และปฏบิ ตั งิ านไดห้ ลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ประกอบด้วย ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้
เก่ยี วกับส่อื ความรดู้ า้ นเทคโนโลยี

ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ
นักเรียนจะตอ้ งพฒั นาทักษะชวี ติ ทส่ี าคญั ดังต่อไปน้ี ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และ
เป็นตวั ของตวั เอง

ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความ
รบั ผดิ ชอบเช่อื ถือได้ (Accountability) ภาวะผนู้ าและความรับผิดชอบ (Responsibility)

ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 ท่ีทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C3R คือ
Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้), และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical
Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา)
Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural
Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration,
Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา)
Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะด้านการส่อื สารสารสนเทศ และรู้เท่าทัน
สื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนร)ู้

แนวคดิ ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดย
ร่วมกนั สร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
โดยเน้นท่ีองค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะท่ีเกิดกับตัวผู้เรียน เพ่ือใช้ในการดารงชีวิตใน
สังคมแห่งความเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กร
ความรว่ มมือเพือ่ ทักษะแห่งการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (Partnership For 21st Century Skills) ทีม่ ีชื่อย่อ
วา่ เครือขา่ ย P21 ซึ่งได้พฒั นากรอบแนวคดิ เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ
เฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพ่ือความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการ
ทางานและการดาเนนิ ชีวิต

18

ภาพประกอบที่ 2.4 กรอบแนวคดิ เพือ่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
(21st Century Learning Framework)
แหลง่ ที่มา : http://www.qlf.or.th

กรอบแนวคดิ เชิงมโนทศั น์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซ่ึงเป็นท่ี
ยอมรับอย่างกว้างขวางเน่ืองด้วยเป็นกรอบแนวคดิ ทเี่ น้นผลลัพธ์ทีเ่ กดิ กับผเู้ รยี น (Student Outcomes) ทั้ง
ในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีจะช่วยผู้เรียนได้เตรียม
ความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมท้งั ระบบสนับสนุนการเรยี นรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตร
และการเยนการสอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมตอ่ การเรียนในศตวรรษที่ 21

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษท่ี
21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะไม่เป็นผู้สอน แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะ
ออกแบบการเรยี นรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเปน็ โคช้ (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้
แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งส่ิงท่ีเป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ
ชมุ ชนการเรียนรู้ครูเพ่ือศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของ
ครเู พ่อื แลกเปล่ยี นประสบการณ์การทาหน้าทข่ี องครแู ต่ละคนนน่ั เอง

ดงั นน้ั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หรือยุคดิจิตอล เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือสาคัญใน
การนามาประยุกต์ใช้ ทั้งด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน นักเรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้
ด้วยตนเอง ผ่าน "เทคโนโลยี" ที่ครูจัดหาให้กอ่ นเขา้ ชั้นเรียน และมาทากิจกรรม โดยมีครูคอยแนะนาในชั้น
เรียนแทน สุดท้ายแล้วผู้เรียนต้องนาความรู้ที่ได้รับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงอยู่ของชีวิตได้อย่าง
ถูกตอ้ ง ปลอดภัยและมปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป

2.6 ระบบห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom System)

มนตรี ดวงจิโน (2544) การจัดการเรียนการสอนจา ลองแบบที่เสมือนจริง เป็นนวัตกรรมทาง
การศกึ ษาท่ีสถาบนั การศกึ ษาต่างๆ ทว่ั โลกกาลงั ใหค้ วามสนใจ และจะขยายตัวมากขนึ้ ในศตวรรษท่ี 21 การ
เรียนการสอนในระบบน้อี าศัยสื่ออิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคมและเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นหลักที่เรียกว่า

19

Virtual Classroom หรือ Virtual Campus บ้าง จนกระทั่งเรียกว่า Virtual University ก็มี นับว่าเป็น
การพัฒนาการบริหารการศึกษาทางไกลรูปแบบใหม่ของสถาบันการศึกษาในโลกยุคไร้พรมแดน กล่าวคือ
ผู้เรียนจะเรียนท่ีไหนก็ได้ จะเป็นที่บ้าน หรือที่ทางาน โดยไม่ต้องไปนั่งเรียนในห้องเรียนจริงๆ ทาให้
ประหยดั เวลา คา่ เดนิ ทาง และค่าใชจ้ ่ายอน่ื ๆ ได้มาก

ปรัชญานันท์ นิลสุข (2548) กล่าวถงึ การเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ต ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
ในหอ้ งเรยี นเสมอื น (Virtual Classroom) ซ่งึ หมายถงึ การเรยี นการสอนทผี่ ่านระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้าไว้กับคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเครือข่าย (File Server) และเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้
ให้บริการเว็บ (WEB server) อาจเป็นการเช่ือมโยงระยะใกล้หรือ เช่ือมโยงระยะไกล ผ่านทางระบบการสื่อสารและ
อินเทอร์เน็ตด้วย กระบวนการสอนผู้สอนจะออกแบบระบบการสอนไว้ โดยกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ
ต่างๆ โดยนาเสนอผ่านเว็บไซตป์ ระจาวชิ าจัดสร้างเว็บเพจในแตล่ ะสว่ นให้สมบรู ณ์ ผู้เรียนจะเข้าสู่เว็บไซต์ประจาวิชา
และดาเนินการเรยี นไปตามระบบการเรียนทผ่ี ู้สอนออกแบบไวผ้ เู้ รยี นจะตอ้ งสง่ งาน ทาการบา้ นตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
ตามกาหนดเวลา ในระบบเครือข่าย มีการจาลองสภาพแวดล้อมต่างๆ ในลักษณะเป็นห้องเรียนเสมือนคล้ายกับ
ห้องเรยี นทผี่ ู้สอนสามารถตดิ ตามพฤตกิ รรมการเรยี นได้ การสร้างหอ้ งเรียนเสมือน จะตอ้ งสรา้ งเว็บไซต์ หมายถึง กลุ่ม
ของเวบ็ เพจ ทีเ่ ปน็ วิชาเดยี วกัน ไดร้ ับการออกแบบมาเพื่อนาเสนอเนื้อหาบทเรียน และกิจกรรมต่างๆ เว็บไซต์หนึ่งๆ
จะเสนอเว็บเพจ หมายถึงหน้าเอกสารในระบบสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งสร้างด้วยคาสั่งภาษา HTML
(Hypertext Markup Language) สามารถแสดงข้อมูลรูปแบบตัวอักษร ภาพ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง และ
ผู้เรยี นสามารถรว่ มกจิ กรรมกลมุ่ หรอื ตอบโตแ้ ลกเปลี่ยนความคิดเหน็ กบั ผู้สอนหรือกับเพื่อนรว่ มชั้นไดเ้ ต็มท่ี

นอกจากนี้การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา ยังทาให้เกิดคาใหม่ๆ ข้ึนมากมาย เช่น e-Learning
และ Online Learning ซ่ึงสถาบันการศึกษาต่างก็ให้ความสนใจและเกิดความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเรื่องเหล่าน้ีกันอย่าง
กว้างขวาง ซ่ึงจากการได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายน้ีเอง ทาให้เกิดระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอนแบบ
ออนไลน์ ซ่ึงในการพัฒนาซอฟต์แวร์น้ัน อาจจะใช้วิธีการจัดจ้างหรือพัฒนาข้ึนเอง หรือจัดซ้ือระบบสาเร็จรูปมาใช้ซึ่ง
จะต้องมีงบประมาณค่อนข้างสูงมารองรับ ทางเลือกใหม่ของซอฟต์แวร์ท่ีจะนามาใช้ก็คือ การหาซอฟต์แวร์ท่ีเป็น
Open Source เพ่ือนามาใช้งานในด้านของ LMS โดยในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ด้าน LMS เกิดขึ้นมากมายท้ังท่ีเป็น
ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ และ Open Source

2.6.1 ประเภทของ Virtual Classroom
บุญเก้ือ กัลยาวินัย (2542) ได้จาแนกการเรียนในห้องเรียนหรือมหาวิทยาลัยเสมือนจริง ใน

ปจั จบุ นั น้ีมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
1) จดั การเรียนการสอนในหอ้ งเรียนธรรมดา แตม่ กี ารถ่ายทอดสดภาพและเสียงเก่ยี วกับบทเรียน

โดยอาศยั ระบบโทรคมนาคมและเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเรยี กว่า Online ไปยังผู้เรียนที่อยู่นอกห้องเรียน
นักศกึ ษากส็ ามารถรบั ฟังตดิ ตามบทเรยี นและตวั ผสู้ อน จากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ของตัวเองและยังโต้ตอบกับ
อาจารย์ผู้สอนหรือเพ่ือนนักศึกษาในชั้นเรียนก็ได้ ห้องเรียนแบบนี้ยังอาศัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพท่ีเป็น
จริง ซ่งึ เรียกว่า Physical Education Environment

2) มกี ารจัดห้องเรียนจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์สร้างภาพเสมือนจริงที่เรียกว่าVirtual Reality
โดยใช้ส่ือที่เป็นตัวหนังสือ (Text-Based) หรือภาพกราฟิก (Graphical-Based) ส่งบทเรียนไปยังผู้เรียน
โดยผ่านระบบโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ ห้องเรียนลักษณะน้ีเรียกว่า Virtual Education
Environment ซึง่ เป็น Virtual Classroom ที่แท้จริง

20

การจัดการเรียนการสอนทางไกลทง้ั สองลักษณะน้ใี นบางมหาวทิ ยาลัยกใ็ ช้ร่วมกันคือ มีท้ังแบบท่ี
เป็นหอ้ งเรยี นจริงและห้องเรียนเสมือนจรงิ การเรียนการสอนกผ็ า่ นทางเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ท่ีเช่ือมโยงกัน
อยู่ท่ัวโลก เช่น Internet, World Wide Web (WWW) ซึ่งมีบทบาทสูงมาก ในแต่ละวันจะมีการส่งข้อมูล
สารสนเทศผ่านจดุ ตา่ งๆ (Site) ของ WWW ซึง่ มปี ระมาณ 300,000 จุด อยู่ทั่วโลก ข้อมูลข่าวสารมหาศาล
สามารถถ่ายทอดไปได้ในแทบทุกวินาทีเราจึงสามารถเข้าถึงห้องสมุดและห้องเรียนทางอากาศ (Virtual
Classroom and Library) ไดใ้ นทกุ เร่อื ง ในทกุ ทท่ี เี่ ราตอ้ งการ ดงั นน้ั วิชาความรู้ต่างๆ เพ่ือใช้ในการศึกษา
เล่าเรยี นทุกระดับและทกุ สาขาวิชาจะมอี ยูใ่ นเครือข่าย ซ่งึ เราจะสามารถเลอื กเรยี นไดต้ ามความพอใจ

2.7 งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง

2.7.1 งานวิจยั ท่ีเก่ยี วกบั การเรียนรดู้ ้วยตนเอง
นวลน้อย จิตธรรม (2550) ได้ศึกษาความสามารถทางการเขียนภาษาอังกฤษหลังจากที่ทา

กจิ กรรมมงุ่ ปฏบิ ตั ิงานและเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนและหลังที่ได้ทากิจกรรม
มุ่งปฏิบัติงาน กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาประดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่1 แผนกบัญชี
โรงเรียนเทคโนโลยีหมู่บ้านครู จังหวัดลาพูน ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาทักษะพัฒนาการส่ือสารภาษาอังกฤษ
จานวน 26 คน ผลการวจิ ยั พบว่า ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านการเขียนของนักศึกษาสูงข้ึน
หลังจากท่ที ากจิ กรรมมุง่ ปฏบิ ัติงาน

สุพรรณ ชื่นค้า (2550) ศึกษาเร่ือง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้านความรู้ เจตคติ และทักษะการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใช้รถหน่วยคอมพิวเตอร์
เคล่ือนท่ี (Computer Mobile Unit) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนด้านความรู้ ด้านเจตคติ และด้าน
ทกั ษะหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรยี น อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติ

จุฑาทิพย์ เคราะห์ดี (2550) ได้ทาการศึกษา การพัฒนาแบบประเมินทักษะในการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ศูนย์
เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาลุ่มน้าลพบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรีเขต 1 พบว่า แบบ
ประเมินทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีความ
สอดคลอ้ ง และไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิตทิ ่ีระดับ .05

อัญชลี อติแพทย์ (2553) ได้ศึกษารูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
เพ่ือการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ในพื้นที่ตาบลท่าคา อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)
สารวจสภาพปัญหาการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ทางการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ ในพื้นที่ตาบลท่าคา อาเภอ
อมั พวา จังหวัดสมุทรสงคราม (2) เพ่ือสารวจความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษ เพ่ือการส่ือสารทางการท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์ในพ้ืนที่ตาบลท่าคา อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (3) เพ่ือศึกษายุทธศาสตร์และนโยบายการ
ส่งเสริม การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารทางการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ตาบลท่าคา อาเภออัมพวา จังหวัด
สมุทรสงคราม (4) เพ่ือนาไปสร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารทาง การ
ท่องเที่ยวเชงิ อนุรกั ษ์ในพน้ื ที่ตาบลท่าคา อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยแบบผสม
(Mixed methods research) ท้ังการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดย (1) การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่ง
โครงสร้าง (In depth interview semi structure) (2) ใช้แบบสอบถาม ( Questionnaire) และ (3) ศึกษาวิจัย
เอกสาร (Documentary research) กลุ่มตัวอย่างท่ีเลือกสาหรับการวิจัยเชิงคุณภาพได้จากการใช้เทคนิคการสุ่ม
แบบเจาะจง (Purposive sampling) จากนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติที่เป็นเจ้าของภาษา และท่ีใช้ภาษาอังกฤษเป็น

21

ภาษาท่ีสอง และผู้ให้บริการ จานวน 60 คน โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบก่ึงโครงสร้าง (In-depth Interview
Semi-Structure) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเน้ือหา (Content Analysis) สาหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้เทคนิคการสุ่ม
แบบเจาะจง (Purposive sampling) จากผู้ให้บริการในชุมชน 8 กลุ่ม จานวน 252 คน โดยการสารวจด้วย
แบบสอบถาม (Questionnaires)

ผลการวิจัยพบว่าผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัญหาหลักเกิดจากตัวบุคคล คือ ผู้ให้บริการ
และนกั ทอ่ งเที่ยวชาวตา่ งชาติทัง้ ผทู้ ี่เปน็ เจ้าของภาษาและผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาที่สองต่างไม่สามารถ
เข้าใจซ่ึงกันและกันได้ถูกต้องตามสาระท่ีต้องการสื่อสาร ปัญหาท่ีเกิดมากที่สุดคือผู้ให้บริการไม่สามารถ
สอ่ื สารด้วยภาษาองั กฤษได้ ถงึ แม้วา่ จะมกี ารให้ความชว่ ยเหลือในดา้ นการฝึกอบรม แตผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารไม่ได้ นา
ความรู้ดังกล่าวมาใช้ สาเหตขุ องปัญหาของการใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารเกดิ จากผูใ้ ห้บริการส่วนมากมี
อายุสูง ไม่มีความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ ไม่สามารถจาได้ ขาดความต่อเนื่องในการใช้ ไม่ได้นาไปใช้
ในทันที หรือเกดิ จากความเหนือ่ ยจากการทางานจึงไมส่ นใจทจี่ ะฝึกฝนหรือเกดิ จากความอาย ความไม่ม่ันใจ
ในตนเองที่จะส่ือสารใช้ภาษาไทยในการโต้ตอบบ้างซึ่งเป็นปัญหาต่อนักท่องเที่ยวท่ีไม่เข้าใจภาษาไทย
ผลกระทบของปัญหาท่ีมีต่อการท่องเที่ยว คือ ไม่สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานท่ีท่องเที่ยว บริการ
ผลิตภัณฑ์ กับนักท่องเท่ียวได้ นักท่องเท่ียวเองก็ไม่ได้ข้อมูลท่ีต้องการ ผู้ให้บริการจึงขาดโอกาสในการ
ประชาสัมพันธ์สินค้าหรือบริการของตนเองได้อย่างละเอียด (2) ความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ
การส่ือสารทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ของผู้ให้บริการ คือ ต้องการการสนับสนุนจากหน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ ง ทงั้ ด้านงบประมาณและการจัดการ ในการให้ความรู้ที่เน้นทักษะการพูดและการฟัง โดยใช้ส่ือที่
เหมาะสมกับแต่ละกล่มุ อาชพี นอกจากนี้การจัดทาป้ายท่ีเป็นภาษาอังกฤษบอกสถานที่สาคัญๆ ก็เป็นส่วน
หน่ึงของการให้ความรู้ โดยมีข้อเสนอแนะในการนาแนวทางดังกล่าวไปใช้กับภาษาอื่น เช่น ภาษาจีน
ภาษาญีป่ นุ่ ภาษาเกาหลี เป็นตน้ (3) ชุมชนท่าคามยี ทุ ธศาสตรแ์ ละนโยบายการส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ
เพ่ือการสื่อสารทางการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ (4) รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือ
การสื่อสารทาง การทอ่ งเทยี่ วเชิงอนรุ ักษ์ ในพืน้ ทต่ี าบลทา่ คา อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม คือ การ
ใช้ส่ือสมดุ ภาพประกอบด้วยคาศัพทห์ รือคาอธิบายที่มีท้ังภาษาอังกฤษ และภาษาไทย แต่ละเล่มจัดทาเป็น
ชุดแยกตามกลุ่มอาชีพรวม 8 กลุ่ม นอกจากคาศัพท์แล้ว ควรจัดทาเอกสารภาษาอังกฤษฉบับย่อ เพื่อ
อธิบายสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ของชุมชน หรือประวัติย่อๆ ของสถานท่ีสาคัญๆ ในชุมชน โดยมีหน้าบันทึก
กรณีท่ีผู้ใช้พบคาศัพท์ใหม่ๆ เมื่อจัดทาแล้ว องค์กรภาครัฐหรือภาคเอกชนควรสนับสนุนงบประมาณและ
ผู้เช่ียวชาญให้การอบรมการใช้เพื่อผู้ให้บริการในพนื้ ทส่ี ามารถนาไปใช้ไดเ้ อง

วาสนา ทวีกุลทรัพย์ (2558) ได้การพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่องประชาคมอาเซียน
สาหรับนักเรยี นประถมศึกษา มวี ัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัยคอื (1) เพื่อพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง
ประชาคมอาเซียน สาหรับนักเรียนประถมศึกษา และ (2) เพื่อทดลองใช้ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่องประชาคม
อาเซียน สาหรบั นกั เรยี นประถมศึกษา การดาเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ระยะแรก พัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ระยะท่ีสอง ทดลองใช้รูปแบบศูนย์การเรียนรู้ ผลการวิจัย พบว่า (1) รูปแบบของศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง
เรอื่ งประชาคมอาเซียน มี (1.1) องค์ประกอบของศูนย์การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองประกอบด้วย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
จุดมุ่งหมาย บทบาทและหน้าท่ี เป้าหมายโครงสร้างการบริหาร บุคลากรในศูนย์ชุดความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
วธิ ีการและขั้นตอนการเรยี นในศนู ยก์ ารจัดสภาพแวดล้อมในศูนย์การประเมินและตดิ ตามการเรยี นในศนู ยส์ ถานท่ีของ
ศนู ย์ และงบประมาณ และ (1.2) ข้ันตอนของการดาเนินการศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองมี 7 ขั้น คือขั้นที่ 1 กาหนด
อดุ มการณ์ของศูนย์ ขั้นที่ 2 กาหนดการบริหารและการจัดการของศูนย์ขั้นท่ี 3 กาหนดวิธีการและขั้นตอนการเรียน

22

ของศูนย์ ข้ันท่ี 4 ผลิตชุดความรู้ ขั้นท่ี 5 กาหนดแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมในศูนย์ ขั้นท่ี 6 ดาเนินการ
เรียนในศูนย์ และข้ันที่ 7 ประเมินและติดตามการเรียนของนักเรียนในศูนย์ โดยภาพรวมผู้ทรงคุณวุฒิได้
ประเมนิ คณุ ภาพโดยตรวจสอบและรับรองศนู ย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง เร่ือง ประชาคมอาเซียนมีคุณภาพอยู่
ในระดับดีและ (2) การทดลองใช้ศนู ย์การเรยี นรู้ด้วยตนเอง เรื่องประชาคมอาเซียน พบว่า (2.1) นักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 4 ปี ท่ี 5 และปี ท่ี 6 มีความรู้ใน เรื่อง ประชาคมอาเซียนหลังจากมาเรียนที่ศูนย์การ
เรียนรู้สูงกว่าก่อนมาเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ (2.2) นักเรียนมีความพึงพอใจโดย
ภาพรวมเกีย่ วกับศูนย์การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอยู่ในระดับมากท่สี ดุ

จากผลการศกึ ษาวิจยั ของผูว้ จิ ัยดงั กล่าว พบวา่ การเรยี นรู้ด้วยตนเองเป็นวิธีการหนึ่งท่ีสามารถ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะผู้เรียนเรียนด้วยความรู้สึกอยากรู้ อยากเรียน
เหน็ คณุ คา่ ความสาคญั ของส่งิ ท่ีจะเรยี น

2.7.2 งานวิจัยท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการพฒั นาบทเรยี นออนไลน์
วาสนา ทองดี (2553) ได้ทาการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ืองระบบใน

รา่ งกาย สาหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นสวนแตงวิทยา จังหวดั สุพรรณบุรี ผลการวิจัยพบว่า 1)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องระบบในร่างกาย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.26/78.66 ซ่ึงมีค่าผ่านเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 3) ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอนอย่ใู นระดบั ดีโดยมีคา่ เฉล่ียในภาพรวม 4.43

ชตุ ิรตั น์ ประสงคม์ ณี (2553) ได้ทาการวิจยั เรือ่ ง การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน วิชา
วทิ ยาศาสตร์ 8 เร่อื งโมเมนตมั ของนักศึกษาท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีแสดงการเคลื่อนท่ี
ของวัตถเุ ปน็ แบบภาพนิง่ และแบบภาพเคลื่อนไหวหยุดเปน็ ระยะ ผลการวิจัยพบวา่ 1)ประสทิ ธิภาพบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ืองโมเมนตัมท่ีแสดงการเคลื่อนท่ีของวัตถุเป็นแบบภาพน่ิงมีประสิทธิภาพ
80.33/81.17 และแบบภาพเคล่ือนไหวหยุดเป็นระยะมีประสิทธิภาพ80.00/83.50 2) นักเรียนท่ีเรียนด้วย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรยี นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทรี่ ะดบั .01

พชิ ติ ตรวี ิทยรัตน์ และวรรณา ตรวี ิทยรตั น์ (2555) ไดส้ รา้ งนวตั กรรมการจัดการเรียนการสอน
ระบบอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ เพื่อลดปัญหาจากการพึ่งพาของผู้สอน ผู้ออกแบบส่ือการสอนและ
ผู้บริหาร ซึ่งปัญหาที่เกิดจากระบบอีเลิร์นนิงในอดีต คือ ผู้สอนไม่เข้าใจในระบบการทางานของอีเลิร์นนิง
ขาดความรู้และทกั ษะด้านเทคโนโลยี ขาดแคลนอปุ กรณ์ทางคอมพวิ เตอร์หรือผสู้ อนมภี าระงานมาก เป็นต้น
และปญั หาเร่ืองของบคุ ลากรผดู้ ูแลระบบ ผู้บริหารท่ีไม่ทราบถึงองค์ประกอบของการจัดการเรียนการสอน
หรือการไม่สนับสนุนงบประมาณการขาดที่ปรึกษา นักศึกษาไม่สนใจศึกษาเพ่ิมเติม เป็นต้น ซึ่งเป็น
องค์ประกอบของความล้มเหลวของระบบอีเลิร์นนิง ดังนั้นจากจากปัญหาต่างๆ งานวิจัยน้ีทาการ เพิ่ม
ศักยภาพของผู้สอนการติดต่อประสานงาน การตรวจสอบระบบเครือข่าย การออกแบบสื่อการสอน การ
ออกแบบบททดสอบ การสร้างสอื่ การเรยี น การจดั เตรยี มผชู้ ว่ ย เพือ่ ลดปัญหาการพ่ึงพาบุคลากร ด้านต่างๆ
และเพื่อใหร้ ะบบอเี ลิร์นนิงเป็นประโยชน์ เปน็ ทางเลอื กใหม่สาหรบั การเรียนการสอนมากขนึ้

ธัญญลักษณ์ วจนะวิศิษฐ (2557) ได้พัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์. วารสารเกื้อการุณย์ ปีท่ี 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2557 มีวัตถุประสงค์
เพ่อื (1) พฒั นาบทเรียนอเี ลิร์นนิงรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบ

23

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิง (3) ศึกษาความพึง
พอใจของนักศึกษาท่ีศึกษาด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิง เคร่ืองมือการวิจัยประกอบด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิง
รูปแบบเวป็ ไซต์ แบบทดสอบระหวา่ งเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิและแบบสอบถามความพึงพอใจ นา
บทเรียนไปทดลองเรียนในสภาพแวดล้อมแบบอีเลิร์นนิงกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี
คณะพยาบาลศาสตรเ์ ก้ือการุณย์ มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธริ าช ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน
100 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เข้าเรียนด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิงและทา
แบบทดสอบระหวา่ งเรยี น เมือ่ จบบทเรยี นใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบหลังเรียน และตอบแบบสอบถามความ
พึงพอใจ จากน้ันนาข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน หาค่า
ประสิทธิภาพบทเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างด้วย Paired t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) บทเรียนอีเลิร์
นนิง มปี ระสทิ ธภิ าพ 85.90/80.80 ตามเกณฑ์มาตรฐานทตี่ ้ังไวค้ อื 80/80 (2) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนด้วย
คะแนนการทดสอบเฉลี่ยก่อนเรียนและคะแนนเฉล่ียหลังเรียน พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนสอบเฉล่ียหลังเรียน
แตกตา่ งจากคะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ความพึงพอใจของนักศึกษาที่

ใช้บทเรยี นที่สรา้ งขึน้ มีความพงึ พอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( ̅= 3.77 SD.=0.82)
2.7.3 งานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้องกบั ระบบการเรยี นการสอนออนไลน์
เกรียงศักดิ์ เจรญิ วงศศักดิ์ (2552) การเรียนรูผานส่ืออิเล็กทรอนิกสหรืออีเลิรนนิ่ง หมายถึง การเรียน

รูบนฐานเทคโนโลยีซึ่งครอบคลุมวิธีการเรียนรูหลากหลายรูปแบบ อาทิ การเรียนรู้บนคอมพิวเตอร (computer-
based learning) การเรียนรูบนเว็บ (web-based learning) หองเรียนเสมือนจริง (virtual classrooms) ความรวม
มือดิจิทัล (digital collaboration) เป็นต้น ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกสทุกประเภท อาทิ อินเทอร
เน็ต (internet) อินทราเน็ต (intranet) เอ็กซทราเน็ต (extranet) การถ่ายทอดผ่านดาวเทียม (satellite broadcast)
แถบบันทึกเสียงและวิดีทัศน์ (audio/video tape) โทรทัศน์ที่สามารถโตตอบกันได (interactive TV) และซีดีรอม
(CDROM) การเรยี นรูผานสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกสเปนวธิ ีการเรยี นรูท่มี ีความสาคัญมากขึน้ เปน็ ลาดับ

การเรียนรูผ่านสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ สทาใหผูเรยี นสามารถพฒั นาทางความคิดมากกวาการฟง การ
บรรยายในห องเรียนเน่ืองจากเป นการส่ือสารแบบสองทางและมีรูปแบบของการเรียนรู ท่ีหลากหลาย
การ ศึก ษาทาง ไก ลผ านสื่อ อิเล็ก ทร อนิก ส จะ กระ ตุ นและ เอื้อ ให เกิดการ วิพ าก ษ อ ย าง มีเหตุผลมาก กว่ า
การศึกษาในห้องเรียนแบบเดิม เพราะมีการปฏิสัมพันธทางความคิดระหวางผูเรียนดวยกันเอง นอกจากน้ี
การศึกษาช้ินหนึ่งพบวานักศึกษาทางไกลระบบออนไลนไดมีการติดตอกับผู้เรียนคนอ่ืนๆ ในช้ันเรียน
มากกว่าเรียนรู้ด้วยความสนุก มากกว่าให้เวลาในการทางานในช้ันเรียนมากกวามีความเขาใจส่ือการสอน
และการปฏิบัตมิ ากกวา่ ผเู้ รยี นทไ่ี ดรับการสอนในชั้นเรียนแบบเดิมโดยเฉล่ียรอยละ 20 อีเลิรนนิงทาใหเกิด
ชมุ ชนแหงการเรยี นรูผูเรยี นจะมีการปฏิสัมพันธกับขอมูลและความรูจานวนมาก ซึ่งอาจจะทาใหเกิดการต
อยอดความรูหรอื ทาใหเกดิ ความคิดใหมๆ และการสรางนวัตกรรมอันเปนปจจัยในการแขงขันท่ีสาคัญมาก
ทส่ี ดุ ในการแขงขันเศรษฐกิจยคุ ใหม

ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี (2556) ได้ศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนารูปแบบการเรียนการ
สอนผ่านสื่อออนไลน์ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อส่งเสริมให้
นักเรยี นสร้างองคค์ วามรแู้ ละกระบวนการแกป้ ญั หาเชิงสร้างสรรค์ สาหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5
ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร รูปแบบการวิจัยในการศึกษาคร้ังน้ี คือใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพัฒนา
(Developmental research) แบบ Type II ซ่งึ ประกอบด้วย 3 ระยะ ดังนี้ 1) การพัฒนารปู แบบการเรียน
การสอน 2) การตรวจสอบความตรงของรูปแบบการเรียนการสอน และ 3) การใช้รูปแบบการเรียนการสอน

24

กลุ่มเป้ าหมายทีÉตรวจสอบความตรงของรูปแบบการเรียนการสอน คือ ผู้เช่ียวชาญจานวน 12 ท่าน
นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 120 คน และครูจานวน 8 คน จากโรงเรียนพระยามนธาตุราชศรี
พิจิตร์ สานักงานเขตบางบอน โรงเรียนวัดแจงร้อน สานักงานเขตราษฎร์บูรณะ โรงเรียนวัดสุทธาราม
สานักงานเขตคลองสาน โรงเรียนวัดเศวตฉัตร สานักงานเขตคลองสาน และกลุ่มเป้าหมายระยะที่ 3 เพ่ือ
ทดลองใชร้ ูปแบบการเรียนการสอน คอื นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5 จานวน 136 คนและครูจานวน 8
คน จากโรงเรียนวัดยายร่ม สานักงานเขตจอมทอง โรงเรียนวัดบางปะกอก สานักงานเขตราษฎร์บูรณะ
โรงเรยี นนาหลวง สานกั งานเขต ทุ่งครุ โรงเรียนวัดสีสุก สานักงานเขตจอมทอง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การ
วิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ กระบวนการแกป้ ญั หาเชงิ สรา้ งสรรคผ์ ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ความพึงพอใจของ
นักเรียน และครูท่ีมีต่อรูปแบบการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน และ t-test Dependent

ผลการวจิ ยั สรุปไดด้ งั น้ี 1.ผลการพฒั นารปู แบบการเรียนการสอนผา่ นสอื่ ออนไลน์ เพื่อส่งเสริม
ให้นักเรียนสรา้ งองคค์ วามรู้และกระบวนการแกป้ ญั หาเชิงสรา้ งสรรค์พบวา่ มอี งค์ประกอบที่สาคัญ ดังน้ี คือ
1) สถานการณป์ ญั หา 2) กิจกรรมการเรยี นรู้ 3) แหล่งเรียนรู้ 4) สนทนากับผู้รู้ 5) เครื่องมือช่วยแก้ปัญหา
6) แนะแนวทางการแก้ปัญหา และ 7) ครูผู้สอน ผลการหาความตรงของรูปแบบการเรียนการสอนผ่านส่ือ
ออนไลน์พบวา่ รูปแบบการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ มีความตรงภายใน และความตรงภายนอกและ
การใช้รูปแบบการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์ พบว่าเงื่อนไขท่ีส่งเสริมให้การใช้โมเดลประสบผลสาเร็จ
ไดแ้ ก่ คณุ ลกั ษณะของนกั เรยี น คุณลักษณะของผ้สู อน การจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนคอมพิวเตอร์
โครงสร้างพื้นฐานทางด้านสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนในการใช้รูปแบบการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์
การกาหนดจานวนนกั เรียนในการทางานกลมุ่ ระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้ การกาหนดเวลาที่เหมาะสม
ในการสนทนากบั ผเู้ ชยี่ วชาญภายนอก และสถานการณ์ปัญหาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ผ่านส่ือออนไลน์ 2.
ผลการศกึ ษากระบวนการแก้ปัญหาเชิงสรา้ งสรรค์ พบวา่ นักเรยี นเกิดกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์
ครบทัง้ 4 ขั้นตอนประกอบดว้ ย 1) การทาความเข้าใจปัญหาและระบรุ ายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับปัญหา
2) การรวบรวมความคดิ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ปัญหา 3) การกาหนดประเดน็ ท่ีจาเป็นต่อการเรยี นรูแ้ ละแหล่งเรียนรู้
4) การดาเนินกจิ กรรมการแก้ปญั หาและประเมินผลของการแก้ปัญหา 3. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการ
เรียนรขู้ องนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ พบว่า ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน
ของนกั เรียนท่เี รยี นผ่านรูปแบบการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ในการวิจัยในระยะท่ี 2 และการวิจัยใน
ระยะท่ี 3 มผี ลการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01แสดงให้เห็นว่า
รูปแบบการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์ ทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เพ่ิมข้ึน 4. ผลการศึกษาความ
คดิ เหน็ ของนกั เรียนที่เรยี นดว้ ยรปู แบบการเรียนการสอนผา่ นสื่อออนไลน์ พบว่า ความพงึ พอใจของนักเรียน
ทมี่ ีตอ่ รปู แบบการเรียนการสอนผา่ นสือ่ ออนไลน์ในระยะท่ี 2 มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอน

ผ่านส่ือออนไลน์ ท่ีพัฒนาขึ้นโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.44, S.D.= 0.42)และความพึงพอใจของ

นักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ในระยะที่ 3 อยู่ในระดับมาก ( ̅= 4.41, S.D.=
0.44) 5. ผลการศึกษาความพึงพอใจของครู ท่ีมีต่อรูปแบบการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์ที่พัฒนาข้ึน
พบว่า ความพึงพอใจของครูท่ีมตี อ่ รูปแบบการเรียนการสอนผา่ นส่ือออนไลน์ที่พัฒนาข้ึนในระยะท่ี 2 อยู่ใน

ระดับมาก ( ̅ = 4.40, S.D.= 0.34) และความพึงพอใจของครูที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนผ่านส่ือ

ออนไลน์ทีพ่ ัฒนาขนึ้ ในระยะท่ี 3 อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ( ̅ = 4.70, S.D.= 0.14)

25

สรปุ ได้ว่า รูปแบบการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้
และกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ในโรงเรียนสังกัด
กรุงเทพมหานคร ท่ีพัฒนาข้ึนสามารถส่งเสริมให้นักเรียนเกิดกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ และ
สามารถนาไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้ผ่านสอ่ื ออนไลน์ได้

อภิญญา ปัญญาสิทธิ์ (2555) ได้วิเคราะห์ปัญหาการใช้ระบบการเรียนการสอนออนไลน์
มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษาถึงปญั หาและอุปสรรค พฤติกรรมการใช้งาน รวมถึงปัญหา การ
ออกแบบระบบการเรียนการสอนออนไลนของอาจารยและนักศึกษามหาวิทยาลัยแมโจในการศึกษาครั้งนี้
ประกอบดวย แบบสอบถามและสัมภาษณการเขาใชงานระบบการเรียนการสอนออนไลนของอาจารยและ
นักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยแมโจโดยเปนการสัมภาษณจากอาจารยที่เคยเขาใชระบบ จานวน 12 ทาน
และสมั ภาษณแบบสนทนากลุมกับนักศึกษาจานวน 10 คน ที่เคยใช้ระบบการเรียนการสอนออนไลนของ
มหาวิทยาลัย สวนทสี่ องใชแบบสอบถามจากอาจารย 25 ทาน และนกั ศกึ ษา 177 คน นาขอมูลมาวิเคราะห
เชงิ ปรมิ าณโดยใชคาความถี่รอยละคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานสรุปผลศึกษาไดดังนี้ ผลการศึกษา
พบวาอาจารย สวนใหญ สนใจและให ความสาคัญกับเทคโนโลยีส่ือการเรียนการสอนออนไลน ในป จจุบัน
เปนอยางมาก แตเนือ่ งจากเทคโนโลยปี จจุบนั คอนขางพัฒนาไปอยางรวดเร็วคณาจารยบางทานขาดทักษะ
ในการเขาถึง ทางดานนักศึกษาพบวา ระบบการเรียนการสอนออนไลนเปนทางเลือกท่ีนาสนใจในยุค
ปจจุบัน แตสวนนอยที่จะไดเขาไปใชงานในระบบเนื่องจากการเรยี นการสอนเปนการลงพื้นท่ีปฏิบัติงานจริง
มากกวาเรียนในหองเรยี น นอกจากนที้ กั ษะการใชงานระบบคอมพวิ เตอรคอนขางนอย พรอมถึงแสดงความ
คิดเห็นในส วนของการออกแบบว าการออกแบบระบบการเรียนการสอนออนไลน ควรมีข้ันตอนในการ
เขาเรียนทง่ี ายไมซับซอน

2.7.4 งานวจิ ยั ต่างประเทศ
แมท็ ทิวและวารากวั ร์ (Matthew & Varagoor, 2001) ไดท้ าการวิจัย เรอื่ งการตอบสนองของ

ผู้เรียนต่อบทเรียนออนไลน์ (Student Response to Online Course Materials) กับนักศึกษาระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษา ซง่ึ จากการรวบรวมและวเิ คราะหถ์ งึ ผลกระทบต่าง ๆ กับการประสบความสาเร็จในการเรียน
และสงั่ งานผ่านอินเทอร์เน็ตพบว่า ผู้เรียนส่วนมากมีประสบการณ์และความรู้สึกที่ดีในการใช้อินเทอร์เน็ต
และเรยี นผ่านบทเรียนออนไลน์

โฮลเดรน (Holdren, 2002) ได้ทาการศึกษาวจิ ัยเรอ่ื งของผลการสอนโดยใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ท่ี
มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและเจตคตขิ องนักเรยี นที่เรยี นวชิ าพีชคณิต โดยกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนจานวน
146 คน ซ่ึงผู้วิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกสอนโดยใช้ส่ือคอมพิวเตอร์และอีกกลุ่มสอนแบบ
บรรยาย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติของนักเรียนทั้งสองกลุ่มไม่
แตกตา่ งกัน

ซาลินาส (Salinas, Fidel Michael.Jr, 2002) ได้ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของนกั เรยี นภาคเรยี นฤดรู อ้ น วิทยาลัยฟชี แมน โดยใช้บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเปรียบเทียบกับวิธีการ
สอนด้วยบทเรียนปกติ ผลการศึกษาปรากฏว่านักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสงู กว่านักเรยี นที่เรียนดว้ ยบทเรียนปกติ

จากการศกึ ษางานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งทงั้ ในและต่างประเทศพบวา่ การเรยี นรูผ้ า่ นสือ่ อิเล็กทรอนิกส์
หรือ e-Learning จะช่วยทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีสอนแบบปกติ
นอกจากนี้ e-Learning ยังทาให้เกิดความสะดวกต่อผู้เรียนทุกสถานที่ ทุกเวลา นอกจากน้ันยังสามารถ

26

ตอบสนองต่อศักยภาพและความสามารถของผู้เรียนได้ดี ดังน้ันผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาบทเรียน
e-Learning วิชาฟิสิกส์ เรื่องโมเมนตัมและการชน สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เพื่อให้ผู้เรียนมี
ความสะดวกทางการเรียนและคาดหวงั วา่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนจะสูงข้ึน นอกจากน้ีนักเรียน
ยงั เกดิ ความพึงพอใจตอ่ บทเรียน และเพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียน e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง
ความนา่ จะเป็น สาหรบั ใช้เป็นส่ือการเรียนการสอนรายบคุ คลในระดบั มธั ยมศึกษาท่ีมปี ระสิทธิผลต่อไป

บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจยั

การวิจัยคร้งั น้ีผวู้ ิจัยมุง่ ศึกษาการพฒั นาบทเรยี นออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม Moodle เพ่อื เป็นส่อื เสริม
การเรียนการสอนระบบออนไลน์ โดยมวี ธิ กี ารดาเนนิ การ ดังนี้

3.1 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวิจัย
3.2 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย
3.3 วธิ ีการดาเนินการวิจัยและสถานทที่ าการทดลอง/เก็บข้อมลู
3.4 แบบแผนการทดลอง
3.5 การเก็บรวบรวมข้อมลู
3.6 สถิติทใ่ี ช้ในการวิจัย

3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั

3.1.1) ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจยั ครั้งน้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนโรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม จังหวัดกระบี่
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 (ตรัง,กระบ่ี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5จานวน 5
ห้องเรียน ประกอบด้วย นกั เรียนแผนการเรยี นวทิ ย์-คณิต แผนการเรียนศลิ ป์-ภาษา และแผนการเรียนศิลป์
ทั่วไป ประกอบด้วย นักเรียนแผนการเรียนวทิ ย์-คณติ จานวน 41 คน และนกั เรยี นแผนการเรียนศิลป์ทั่วไป
จานวน 65 คน

3.1.2) กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกาหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการเลือกแบบจาเพาะเจาะจง (Purposive
Sampling) ได้แก่ นกั เรยี นโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ลงทะเบียนเรียนในภาค
เรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2559 รายวิชาการเขยี นเว็บไซตด์ ว้ ย Text Editor จานวน 10 คน และภาคเรียนที่ 1
ปีการศกึ ษา 2560 รายวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จานวน 14 คน โดยเป็นกลุ่มทผ่ี วู้ จิ ยั เป็นผสู้ อน

3.2 เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั

เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั ประกอบดว้ ย
3.2.1) บทเรียนออนไลน์รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
และรายวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 มีข้นั ตอนการสร้างดงั น้ี

1) ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้องกบั การสร้างบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บไซต์
2) ศึกษาเน้ือหาของรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ กาหนดรูปแบบและกจิ กรรมการเรยี นการสอนของบทเรียนออนไลน์ในแต่ละเน้ือหา
(Story board)
3) ดาเนนิ การสร้างบทเรียนออนไลน์ ประกอบดว้ ย

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 รายวิชาการเขยี นเวบ็ ไซตด์ ว้ ย Text Editor
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และใช้ระบบ
บรหิ ารจัดการบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle
4) ทดลองใชก้ ับนกั เรยี นในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2559 โดยให้นักเรียนสมัครเข้าร่วมทดลองใช้ระบบและเรียนแบบออนไลน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา

28

2558 มีจานวน 10 คน และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2559 มีจานวน 10 คน เพื่อพิจารณาในเร่ืองความ
ยากง่ายในการใช้ ความสะดวกในการเข้าถึงบทเรียน ความเหมาะสมของกิจกรรม โดยนักเรียนได้ให้
ขอ้ เสนอแนะวา่

ก. สมัครสมาชิกเว็บไซต์แล้ว แต่ไม่ได้อีเมล์ยืนยันการเป็นสมาชิกของเว็บไซต์ (ผู้สอนได้
ชว่ ยเหลือนกั เรยี น โดยลบช่ือสมาชิกทีล่ งทะเบยี นไว้ แลว้ ช่วยดแู ลใหน้ กั เรยี นลงทะเบียนใหม)่

ข. ในบางเวลาที่ต้องการเรียน แต่ไม่สามารถเข้าเว็บไซต์ (เครื่อง Server ท่ีใช้บริการมี
ปญั หา แก้ไขโดยการแจ้งกบั ผใู้ ห้บรกิ ารชว่ ยแกไ้ ขปัญหา)

ค. การบ้านที่ให้ส่งผ่านเว็บไซต์ ต้องพิมพ์เป็นไฟล์ ซึ่งมีการบ้านเร่ืองโครงสร้าง HTML
ท่ีต้องพิมพ์สัญลักษณ์พิเศษ ซ่ึงลาบากในการพิมพ์ (ผู้สอนให้แต่ไฟล์ดาวน์โหลดไปทา และให้เขียนเป็น
กระดาษส่งตามเวลาท่ีกาหนดส่ง อีกวิธีแก้ปัญหาโดยให้ส่งเป็นลักษณะแนบไฟลเ์ อกสาร)

ง. แบบทดสอบบนเว็บทาไดค้ ร้ังเดียว บางบททาแล้วได้คะแนนน้อย อยากแก้ตัวโดยอ่าน
ทาความเขา้ ใจใหม่ แลว้ ทาแบบทดสอบใหม่ก็ไม่สามารถทาได้ (แก้ไขโดยใหน้ ักเรียนสามารถแก้ตัวได้ โดยให้
ทาแบบทดสอบไดไ้ มจ่ ากัด เพื่อใหไ้ ด้คะแนนที่ดที ่สี ดุ )

จ. นักเรียนบางคนส่งการบ้านล่าช้ากว่าเวลาที่กาหนด ล่วงเลยมานานหลายวันอาจารย์
กย็ งั ไมต่ รวจให้ (ผูส้ อนพยายามตรวจการบ้านผู้เรียน และคอยแจ้งให้นักเรียนท่ียังไม่ส่งการบ้านทราบเป็น
รายบุคคล ถ้านักเรียนคนใดส่งการบ้านล่าช้า และทาส่งเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนส่งอีเมล์ หรือ
ทกั เฟสบุ๊คส่วนของกลอ่ งขอ้ ความแจ้งผูส้ อนให้ทราบ)

ฉ. อาจารย์ควรนัดนักเรียนมาพบและสรุปบทเรียนด้วย เพื่อให้ม่ันใจว่าเนื้อหาความรู้ที่
ศึกษาดว้ ยตนเองน้ันถกู ตอ้ ง (ผ้สู อนได้พบปะในเวลาเรียน และสรุปเน้อื หาบทเรียนร่วมกนั )

5) ทดลองใช้กับนักเรียน 2 กลุ่มเรียน ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 จานวน 10 คน
และภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2559 จานวน 10 คน เพ่ือหาประสทิ ธิภาพของบทเรียนออนไลน์

6) นาบทเรียนออนไลนไ์ ปใชก้ บั กลุ่มเป้าหมายในการวจิ ัยต่อไป
3.2.2) แบบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เป็นแบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก มขี ัน้ ตอนการสร้างดังน้ี

1) วิเคราะห์เนื้อหาและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text
Editor และรายวชิ าการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2) สร้างข้อสอบเลอื กตอบตามเน้ือหาและวัตถุประสงค์การเรยี นรู้แต่ละรายวชิ าจานวน 75 ขอ้
3) นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีได้ปรับปรุงแล้ว จานวนทั้งหมด 75 ข้อ ไปทดลอง
ใช้กับนักเรยี น 1 ห้องเรียน ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2558 รายวชิ าการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor
จานวน 10 คน เพ่ือหาความเชื่อม่ัน (Reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha-Coefficient)
ของครอนบาค (Cronbach) โดยมคี ่าท้งั ฉบบั เท่ากับ 0.91 คานวณค่าคุณภาพรายข้อในด้านความยากง่าย
ไดค้ ่าอย่รู ะหวา่ ง 0.20 ถงึ 1.00 และคา่ อานาจจาแนก ไดค้ า่ อยรู่ ะหว่าง 0.00 ถึง 0.80 และภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศกึ ษา 2559 รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จานวน 10 คน คานวณคา่ คุณภาพรายข้อในด้าน
ความยากง่าย ไดค้ ่าอยรู่ ะหว่าง 0.30 ถึง 1.00 และค่าอานาจจาแนก ได้คา่ อยู่ระหวา่ ง 0.00 ถึง 0.60 ผู้วิจัย
ไดค้ ัดเลือกข้อคาถามท่ีมคี า่ ความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.20 - 0.80 และค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.20 -
1.00 และปรับปรงุ ตวั ลวงของข้อคาถามบางข้อทไี่ ม่สามารถลวงได้ให้ลวงไดด้ ียิ่งขนึ้ ไดจ้ านวนข้อคาถามที่ใช้
ในการวจิ ยั 60 ขอ้

4) นาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ไปใช้กบั กลุ่มเป้าหมายในการวจิ ัยต่อไป

29

3.2.3) แบบวัดความสามารถในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง เป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ
1) ศกึ ษาเอกสาร งานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง

2) สร้างแบบวัดความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองตามทฤษฎีของกูกลิเอลมิโน
(Guglielimino) จานวน 8 องคป์ ระกอบ โดยผู้วจิ ัยได้นิยามองค์ประกอบท้ัง 8 องค์ประกอบด้วยนิยามเชิง
ปฏิบัติการ และสร้างข้อคาถามตามนิยามที่กาหนด โดยมีลักษณะเป็นมาตรวัดประมาณค่า (Rating
Scales) จานวน 5 สเกล จานวน 70 ขอ้

3) นาแบบวัดไปให้ผู้เช่ียวชาญด้านการวัดผลและประเมินผลการศึกษาจานวน 3 ท่าน
ตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชิงเนอ้ื หา (Content Validity) โดยพิจารณาขอ้ คาถามแต่ละข้อกับนิยามในแต่ละ
องค์ประกอบท่ไี ดก้ าหนดไว้ และพิจารณาให้คะแนน ดงั นี้

ให้ +1 ถ้าแนใ่ จว่าขอ้ คาถามวัดได้ตรงตามนิยาม
ให้ 0 ถา้ ไมแ่ นใ่ จว่าขอ้ คาถามวัดได้ตรงตามนิยาม
ให้ -1 ถา้ แน่ใจวา่ ขอ้ คาถามวดั ไดไ้ มต่ รงตามนิยาม
4) นาผลคะแนนของผเู้ ชยี่ วชาญมาหาคา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (IOC) ได้ค่า IOC ต้ังแต่ -0.67
ถงึ 1.00 โดยคัดเลอื กขอ้ คาถามท่ีมีค่า IOC มากกวา่ 0.50 ขน้ึ ไป ไดจ้ านวน 40 ขอ้
5) ผู้วจิ ยั ไดป้ รบั ปรุงข้อคาถาม โดยปรบั ภาษาใหเ้ ขา้ ใจและกระทัดรัดมากยิ่งขึ้นตามความคิด
เหน็ ของผเู้ ชยี่ วชาญ
6) นาแบบวดั ความสามารถในการเรยี นรู้ด้วยตนเอง ไปทดลองใช้กับนักเรียนในภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2558 จานวน 10 คน และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 10 คน เพื่อหาความ
เชื่อม่ัน (Reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha-Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach)
โดยมคี ่าทง้ั ฉบบั เทา่ กับ 0.89 คานวณค่าอานาจจาแนก ด้วยการคานวณหา ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนน
รายข้อกับคะแนนรวมทั้งฉบับท่ีหักข้อน้ันออก ได้ค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.21 ถึง 0.56 ผู้วิจัยได้
คดั เลอื กขอ้ คาถามท่ีมีคา่ ความสัมพันธ์มากกวา่ 0.20 ได้ จานวน 40 ขอ้
7) นาแบบวดั ความสามารถในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองไปใชก้ บั กลุ่มเปา้ หมายในการวิจัยต่อไป
3.2.4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เป็นแบบมาตรวัด
ประมาณคา่ 5 ระดับ จานวน 28 ข้อ มีขน้ั ตอนการสร้างดังน้ี
1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยเก่ียวข้องกับความพึงพอใจและความคิดเห็นต่อสื่อการสอน
นวตั กรรมการเรยี นการสอน บทเรยี นอเิ ล็คทรอนกิ และการเรียนการสอนผา่ นเวบ็ ไซต์
2) นยิ ามความพึงพอใจต่อการเรยี นการสอนด้วยบทเรยี นออนไลน์
3) สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เป็นแบบ
มาตรวัดประมาณค่า 5 ระดบั จานวน 28 ขอ้
4) นาไปให้ผู้เช่ียวชาญด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา จานวน 3 ท่านตรวจสอบความ
เหมาะสมของข้อคาถามกับนิยามและความชัดเจนของภาษาที่ใช้ และผู้วิจัยได้ปรับปรุงตามความคิดเห็น
ของผูเ้ ชีย่ วชาญ
5) นาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ไปทดลองใช้
กับนักเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จานวน 10 คน และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2559
จานวน 10 คน เพื่อหาความเช่ือมั่น (Reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha-Coefficient)

30

ของครอนบาค (Cronbach) โดยมีค่าทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 ซ่ึงผ่านการทดลองใช้การจัดการเรียนการสอน
ดว้ ยบทเรียนออนไลน์มาแล้ว

3.3 วิธีการดาเนนิ การวิจยั และสถานที่ทาการทดลอง/เก็บข้อมูล

การดาเนินการวิจัยในคร้ังน้ี ได้ดาเนินการศึกษาค้นคว้าเป็นขั้นตอนดังนี้ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบแผนการทดลอง การดาเนินการวิจัย และการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูล การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยมขี ัน้ ตอนดงั นี้

1. การสงั เกต พฤตกิ รรม ทัศนคติ ความสนใจ และการให้ความร่วมมือของนักเรียนสาหรับเข้าร่วม
การเรียนการสอนออนไลน์ ตลอดการดาเนนิ การโครงการ

2. พัฒนาพฒั นาบทเรยี นออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม Moodle

3. นักเรียนทดลองเรียนผา่ นออนไลน์
4. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก คานวณค่าคุณภาพรายข้อใน

ด้านความยากงา่ ย
5. นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ไปใช้กับกล่มุ เป้าหมายในการวิจัย
6. แบบวัดความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างแบบวัดความสามารถในการเรียนรู้ด้วย

ตนเองตามทฤษฎีของกูกลิเอลมิโน (Guglielimino) จานวน 8 องค์ประกอบ โดยผู้วิจัยได้นิยาม
องค์ประกอบท้ัง 8 องค์ประกอบด้วย นิยามเชิงปฏิบัติการ และสร้างข้อคาถามตามนิยามที่กาหนด โดยมี

ลักษณะเปน็ มาตรวดั ประมาณค่า (Rating Scales) จานวน 5 สเกล
7. นาแบบวดั ความสามารถในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองไปใชก้ ับกลมุ่ เป้าหมายในการวิจยั
8. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เป็นแบบมาตรวัด

ประมาณคา่ 5 ระดบั
9. นาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ไ ปใช้กับ

กลมุ่ เป้าหมายในการวจิ ยั
10. ดาเนินการถ่ายทอดความรทู้ ่ีเก่ยี วขอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle

การเรียนรูด้ ว้ ยโปรแกรม Moodle ส่วนของผู้สอนทง้ั น้ีเพอ่ื ให้ครูทุกกลุ่มสาระ สามารถเข้าใช้งานและสร้าง

บทเรียนออนไลนเ์ หมอื นห้องเรียนเสมือนจริง โดยผู้วิจัยจัดเตรียมด้านส่ือและเนื้อหา และประสานงานกับ
กลมุ่ สาระทุกกลุ่มสาระในโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ในการจัดเตรียมสถานทแี่ ละอุปกรณ์

11. สนทนากลุ่ม เพื่อระดมสมองประเมินผลโครงการ เพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรค เพื่อหาแนว
ทางแก้ไข และส่งเสรมิ ให้มีการสรา้ งบทเรียนออนไลนม์ าใชอ้ ยา่ งจริงจงั

3.4 แบบแผนการทดลอง

การวิจัยครง้ั นีเ้ ป็นการวจิ ยั กึง่ ทดลอง โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest Posttest
Design โดยมกี ารทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น ซึ่งมีแบบแผนการวจิ ยั ดงั นี้

กลุม่ เป้าหมาย ทดสอบกอ่ น บทเรยี นออนไลน์ ทดสอบหลัง
E T1 X T2

31

เมือ่ E แทน กลมุ่ เป้าหมายในการวจิ ัย
T1 แทน การทดสอบกอ่ นเรยี น ประกอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและแบบวัด

ความสามารถในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง
X แทน การจัดการเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลน์
T2 แทน การทดสอบหลังเรียน ประกอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัด

ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนด้วย
บทเรยี นออนไลน์

3.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

1. ปฐมนิเทศนักเรียนท่ีลงทะเบียนรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor ในภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศึกษา 2559 และรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 ให้เข้าใจ
ถึงวัตถุประสงค์ของรายวิชา เนื้อหา เกณฑ์การวัดและประเมินผล และขั้นตอนการเข้าเรียนด้วยบทเรียน
ออนไลน์

2. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น และแบบวดั ความสามารถในการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
3. ดาเนินการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor และรายวิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเรยี นผา่ นเวบ็ ไซต์ ทากิจกรรมต่าง ๆ โดยเน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
และทาแบบฝึกหัดท้ายบท และการบ้านที่มอบหมายผ่านเว็บไซต์ และส่งงานผ่านเว็บไซต์ โดยผู้สอนจะ
ตรวจการบ้านและใหค้ าชมเชยเม่อื นกั เรียนทาถกู และให้ข้อเสนอแนะเพอื่ การปรับปรงุ แกไ้ ขเม่ือพบท่ผี ดิ
4. พบนักเรยี นในช้ันเรยี นทกุ คาบเรียนเพือ่ สรุปบทเรยี นร่วมกันในช้ันเรยี นทุกครั้ง
5. หลังเรียนจบครบทุกเนื้อหาแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบวัด
ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และแบบทดสอบความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนด้วย
บทเรียนออนไลน์

3.6 สถิติท่ีใช้ในการวจิ ยั

1. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ โดยการนาคะแนนท่ีได้จากการทาแบบทดสอบท้ายบท
และคะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี นมาหาประสทิ ธภิ าพของบทเรยี น โดยใช้

สูตร (เสาวนีย์ สิขาบัณฑติ . 2528)

E1 = ∑

=∑
เมอ่ื E1 = ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ ท่ีจัดไว้ในบทเรียนคิดเป็นร้อยละจากการทาแบบฝึกหัด
ระหวา่ งเรียน

32

E2 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ ท่ีจัดไว้ในบทเรียนคิดเป็นร้อยละจากการทา
แบบทดสอบหลังเรียน

Σ x = คะแนนรวมจากการทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
Σ y = คะแนนรวมจากการทาแบบฝึกหดั หลังเรียน

N = จานวนผ้เู รียน
A = คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทา้ ยบท
B = คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดหลังเรยี น
และนาคะแนนในการทาแบบประเมินบทเรยี นมาหาคา่ เฉลย่ี โดยใชส้ ตู ร

̅=∑

เมอ่ื X = ค่าเฉล่ียของคะแนน
ΣX = ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
n = จานวนข้อมูลทงั้ หมด

2. คานวณค่าสถิติพ้ืนฐาน เช่น ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น ความสามารถในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และความพงึ พอใจตอ่ บทเรียนออนไลน์

3. สถิตทิ ่ใี ช้ตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่อื งมือวจิ ยั ไดแ้ ก่
3.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตรวจสอบความยากง่ายและอานาจจาแนกของข้อ

คาถามด้วยสตู รอยา่ งง่าย และคา่ ความเช่อื ม่นั (Reliability) ดว้ ยสูตร KR-20
3.2 แบบวัดความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบอานาจจาแนกของข้อคาถามด้วย

ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวมท่ีหักข้อน้ันออก (Corrected Item Total
Correlation) ด้วยสูตรสหสมั พนั ธเ์ พียร์สัน และหาค่าความเชื่อม่ันดว้ ยสูตรสมั ประสิทธแ์ิ อลฟา

3.3 แบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลนค์ านวณหาความ
เช่ือม่ันดว้ ยสูตรสัมประสทิ ธิแ์ อลฟา

ลกั ษณะแบบสอบถามเป็นชนิดมาตราส่วน ประมาณคา่ 5 ระดบั ของ ลิเคอร์ท (Likert Scale)
ซง่ึ กาหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังน้ี

5 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั มากที่สุด
4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก
3 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดับปานกลาง
2 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดบั นอ้ ย
1 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั น้อยท่สี ุด

33

จากน้ันกาหนดเกณฑใ์ นการแปลค่าของคะแนนดงั นี้
คะแนนเฉลย่ี 4.50 - 5.00 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับมากที่สุด
คะแนนเฉลีย่ 3.50 - 4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดับมาก
คะแนนเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับปานกลาง
คะแนนเฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดบั นอ้ ย
คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดับนอ้ ยท่สี ุด

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

การวิจยั คร้ังนไี้ ดน้ าเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยแบ่งออกเปน็ 4 ตอนดังน้ี
ตอนท่ี 1 ผลการหาประสิทธภิ าพของบทเรียนออนไลน์
ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นก่อนและหลังใชบ้ ทเรยี นออนไลน์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2559 รายวชิ าการเขยี นเวบ็ ไซต์ดว้ ย Text Editor
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตอนท่ี 3 ผลการเปรียบเทยี บความสามารถในการเรียนรดู้ ้วยตนเองก่อนและหลังใช้บทเรยี นออนไลน์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 รายวชิ าการเขียนเว็บไซตด์ ้วย Text Editor
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2560 รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตอนที่ 4 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจตอ่ การเรียนการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2559 รายวชิ าการเขียนเว็บไซตด์ ว้ ย Text Editor
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 รายวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ตอนท่ี 1 ผลการหาประสทิ ธภิ าพของบทเรียนออนไลน์

ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ โดยให้นักเรียนสมัครเข้าร่วมทดลองใช้ระบบ
และเรียนแบบออนไลน์ ได้นาไปใช้กับนักเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 ในรายวิชาการเขียน
เว็บไซต์ด้วย Text Editor จานวน 10 คน ได้คะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียนในแต่ละบท และคะแนน
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนหลังจากเสร็จส้ินการเรียนการสอน นามาคานวณหาค่าประสิทธิภาพของบทเรียน
ออนไลน์ ได้ค่าคะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียนคิดเป็นร้อยละ 87.17 และคะแนนของแบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 89.00 ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์รายวิชาการ
เขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor คิดเป็น 87.17/89.00 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 รายวิชาการ
เขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ จานวน 10 คน ไดค้ ะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียนในแต่ละบท และคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอน นามาคานวณหาค่าประสิทธิภาพของบทเรียน
ออนไลน์ ได้ค่าคะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียนคิดเป็นร้อยละ 86.33 และคะแนนของแบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 88.00 ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์รายวิชาราย
วิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คิดเป็น 86.33/88.00

ตอนท่ี 2 ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นก่อนและหลงั ใช้บทเรียนออนไลน์

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 รายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor
ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยกับนักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2559 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor จานวน 10 คน
ไดค้ ่าสถิตพิ น้ื ฐานดงั ตาราง 4.1

35

ตาราง 4.1 คะแนนตา่ สดุ คะแนนสงู สดุ คะแนนเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกอ่ นและหลังเรียนด้วยบทเรยี นออนไลน์ รายวิชาการเขียนเวบ็ ไซต์ดว้ ย Text Editor

ทดสอบ คะแนน คะแนน ̅ S.D. t df Sig
ตา่ สดุ สูงสุด
กอ่ นเรยี น 74.10 3.60 14.45 9 0.00
หลงั เรียน 68 80 84.70 4.08
78 91

จากตาราง 4.1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าเฉล่ียเท่ากับ

84.70 คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 4.08 และกลุ่มก่อนเรยี นดว้ ยบทเรียนออนไลน์มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 74.10
คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 3.60 ค่าสถติ ิ t เทา่ กบั 14.45 เมอื่ พจิ ารณาระดับนัยสาคัญของตัวอย่างมี
คา่ เท่ากับ 0.00 ซ่งึ น้อยกว่าระดบั นัยสาคัญทางสถิติที่กาหนดไว้ คือ 0.05 จึงสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการ

เรียนของกลมุ่ หลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์สูงกว่ากลุ่มก่อนเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั 0.05

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยกับนักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา

2560 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จานวน 14 คน ได้
คา่ สถิตพิ ้ืนฐานดงั ตาราง 4.2

ตาราง 4.2 คะแนนตา่ สุด คะแนนสงู สุด คะแนนเฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของ
คะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลงั เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์
รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

ทดสอบ คะแนน คะแนน คะแนน ส่วนเบีย่ งเบน t df Sig
ตา่ สดุ สงู สดุ เฉลีย่ มาตรฐาน

ก่อนเรียน 52 68 60.64 5.24 14.78 13 0.00
หลงั เรยี น 62 81 74.86 5.97

จากตาราง 4.2 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าเฉล่ียเท่ากับ
74.86 ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.97 และกลุม่ ก่อนเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 60.64
ค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.24 คา่ สถติ ิ t เทา่ กับ 14.78 เมือ่ พจิ ารณาระดับนัยสาคัญของตัวอย่างมี

คา่ เท่ากบั 0.00 ซง่ึ น้อยกวา่ ระดบั นัยสาคัญทางสถิติท่ีกาหนดไว้ คือ 0.05 จึงสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของกลมุ่ หลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์สูงกว่ากลุ่มก่อนเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์อย่างมีนัยสาคัญ

ทางสถิติท่รี ะดับ 0.05

36

จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนทั้ง 2 ภาคเรียน จะเห็นได้ว่า คะแนนเฉลี่ย
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์สูงกว่าก่อนเรียน ซ่ึงภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2560 รายวชิ าการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ผลสัมฤทธ์ิสูงกวา่ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2559 รายวิชา
การเขียนเว็บไซตด์ ้วย Text Editor ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะการสร้างบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle
ใช้ ง าน ง่ ายในลั ก ษณะ ขอ ง ข้อ ความที่เขียน ในส่ ว นร ายวิ ชาเกี่ ยว กั บก ารเขียน โ ปร แกร ม มาก กว่ าการ ใช้
สญั ลกั ษณ์ในการเขียนในรายวิชาการเขียนเวบ็ ไซต์ด้วย Text Editor

ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการเรยี นรู้ด้วยตนเองก่อนและหลงั ใช้บทเรยี นออนไลน์

ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2559 รายวชิ าการเขยี นเว็บไซต์ดว้ ย Text Editor
ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยกับนักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2559 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor จานวน 10 คน
ไดค้ ่าสถติ พิ ื้นฐานดังตาราง 4.3

ตาราง 4.3 ค่าตา่ สดุ ค่าสูงสุด ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความสามารถในการ
เรยี นรู้ด้วยตนเองก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรยี นออนไลน์
รายวชิ าการเขยี นเวบ็ ไซต์ดว้ ย Text Editor

ทดสอบ คา่ ตา่ สดุ ค่าสูงสุด ค่าเฉลย่ี สว่ นเบีย่ งเบน t df Sig
มาตรฐาน

กอ่ นเรยี น 2 3 2.88 0.52 6.90 39 0.00
หลงั เรียน 2 4 3.43 0.55

จากตาราง 4.3 พบว่า ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าเฉลี่ย

เท่ากับ 3.43 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.55 และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มก่อนเรียนด้วย
บทเรียนออนไลน์มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.88 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 ค่าสถิติ t เท่ากับ 6.90 เมื่อ

พิจารณาระดับนัยสาคัญของตัวอย่างมีค่าเท่ากับ 0.00 ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยสาคัญทางสถิติที่กาหนดไว้ คือ 0.05
จึงสรุปได้ว่า ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์สูงกว่ากลุ่มก่อนเรียน
ด้วยบทเรยี นออนไลน์อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 รายวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยกับนักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2560 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ท่ลี งทะเบียนเรียนรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จานวน 14 คน ได้
ค่าสถติ ิพืน้ ฐานดังตาราง 4.4

37

ตาราง 4.4 ค่าต่าสดุ ค่าสงู สดุ คา่ เฉลย่ี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของความสามารถในการ
เรยี นร้ดู ้วยตนเองกอ่ นและหลงั เรียนดว้ ยบทเรียนออนไลน์
รายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ทดสอบ ค่าตา่ สุด ค่าสูงสดุ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบ่ยี งเบน t df Sig
มาตรฐาน

ก่อนเรียน 3 4 3.50 0.51 6.90 39 0.00
หลงั เรยี น 3 5 4.05 0.45

จากตาราง 4.3 พบว่า ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.05 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.45 และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองของ

กลุ่มก่อนเรียนด้วยบทเรยี นออนไลน์มีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 3.50 ค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.51 ค่าสถิติ
t เท่ากับ 6.90 เม่ือพิจารณาระดับนัยสาคัญของตัวอย่างมีค่าเท่ากับ 0.00 ซ่ึงน้อยกว่าระดับนัยสาคัญทาง
สถิติท่ีกาหนดไว้ คือ 0.05 จึงสรุปได้ว่า ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มหลังเรียนด้วย

บทเรียนออนไลน์สงู กวา่ กล่มุ ก่อนเรยี นดว้ ยบทเรียนออนไลนอ์ ยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั 0.05

จากความสามารถในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองท้งั 2 ภาคเรยี น จะเห็นได้ว่า ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์มีค่าใกล้เคียง
กนั แสดงให้เหน็ วา่ ไม่ว่าจะก่อนเรยี นหรอื หลังเรยี นนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองไม่แตกต่างกัน

ตอนที่ 4 ผลการศึกษาความพงึ พอใจต่อการเรียนการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2559 รายวชิ าการเขยี นเวบ็ ไซต์ด้วย Text Editor
ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยกับนักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2559 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการเขียนเว็บไซต์ด้วย Text Editor จานวน 10 คน
ได้ค่าสถิตพิ นื้ ฐานดังตาราง 4.5

ตาราง 4.5 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอน
ดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ รายวชิ าการเขยี นเวบ็ ไซตด์ ้วย Text Editor

ลาดบั ประเด็นประเมนิ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบี่ยงเบน ระดบั
มาตรฐาน ความพึงพอใจ
1 เน้อื หาและการลาดับเน้ือหา 3.88
1.1 วัตถุประสงคร์ ายวชิ ามีความชดั เจน 4.00 0.52 มาก
1.2 ปริมาณของเน้ือหาในแต่ละบทเรียน 3.70 0.48 มาก
1.3 ลาดับเนื้อหาเรยี งลาดบั จากง่ายไปยาก 3.90 0.67 มาก
1.4 ความชดั เจนในการนาเสนอเนือ้ หา 3.90 0.48 มาก
0.32 มาก

38

ตาราง 4.5 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพงึ พอใจตอ่ การเรียนการสอน
ด้วยบทเรยี นออนไลน์ รายวชิ าการเขยี นเวบ็ ไซต์ดว้ ย Text Editor (ต่อ)

ลาดับ ประเด็นประเมนิ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ยี งเบน ระดบั
มาตรฐาน ความพงึ พอใจ
1.5 ความนา่ สนใจในการดาเนนิ เรื่อง 3.90
0.74 มาก
2 แบบทดสอบ 4.03 0.51 มาก
.32 มาก
2.1 ความชัดเจนของคาสั่งแบบสอบถาม 4.10 .63 มาก
.32 มาก
2.2 ความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับเนื้อหา 4.20 .57 มาก
.63 มาก
2.3 จานวนขอ้ ของแบบทดสอบ 3.90 .57 มาก
0.46 มาก
2.4 ชนิดของแบบทดสอบท่ีเลอื กใช้ 4.10 .57 มาก
.42 มาก
2.5 ความเหมาะสมของคาถาม 3.80 .42 มาก
.42 มาก
2.6 วธิ กี ารสรปุ คะแนนรวม 4.10 0.54 มาก
.57 มาก
3 ตวั อกั ษร และสี 3.92 .48 มาก
.63 มาก
3.1 รปู แบบของตวั อกั ษรท่ใี ช้ในการนาเสนอ 3.90 .48 มาก

3.2 ขนาดของตวั อกั ษรที่ใช้ 3.80 0.39 มาก
.32 มากทีส่ ดุ
3.3 สีของตัวอกั ษรโดยภาพรวม 4.20 .52
มาก
3.4 สีของพน้ื หลงั บทเรยี นโดยภาพรวม 3.80 .00
.42 มาก
4 การจดั การบทเรยี น 3.93 .57 มาก
.53 มาก
4.1 การควบคุมบทเรียน เช่น การใชเ้ มาส์ 3.90 .32 มากที่สุด
.42 มาก
4.2 การออกแบบหน้าจอ โดยภาพรวม 3.70 .42 มาก
0.49 มาก
4.3 วิธกี ารโตต้ อบบทเรยี น โดยภาพรวม 3.80 มาก

4.4 ความเหมาะสมในการจัดการของบทเรยี น 4.30

เพอ่ื จดั เกบ็ ไฟลข์ ้อมูลของผเู้ รียนแตล่ ะคน

5 การเรยี นการสอน 4.04

5.1 ครูได้ชีแ้ จ้งวธิ กี ารเข้าใชบ้ ทเรียนออนไลน์ 4.10

5.2 การใหค้ าปรึกษาและตอบขอ้ คาถาม 3.60

นกั เรียนของครู

5.3 การติดต่อส่อื สารดว้ ยกระดานสนทนา 4.00

5.4การติดตอ่ สือ่ สารดว้ ยห้องสนทนา(Chatroom) 3.80

5.5 การตดิ ตอ่ ส่ือสารดว้ ยอีเมล์ (E-mail) 3.90

5.6 การสง่ การบ้านแบบออนไลน์ 4.50

5.7 การให้ผลสะทอ้ นกลบั ช้ินงานของนกั เรียน 4.10

5.8 การพบปะและสอบวัดความรู้ในชั้นเรียน 4.20

5.9ใหน้ กั เรียนได้ศกึ ษาค้นควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง 4.20

รวม 3.96


Click to View FlipBook Version