The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 20001 – 2001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2021-04-26 23:45:00

รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 20001 – 2001

รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 20001 – 2001

ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง ร้จู ักกับโปรแกรม Microsoft Excel 2010

บทนา

โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมหน่ึง ท่ีจัดอยู่ในชุด Microsoft Office โปรแกรม Microsoft
Excel มีชื่อเสียงในด้าน การคานวณเก่ียวกับตัวเลข และการทาบัญชี การทางานของโปรแกรม Excel ใช้ตาราง
ตามแนวนอน (rows) และแนวตงั้ (columns) เป็นหลกั ซงึ่ เราเรยี กโปรแกรมในลกั ษณะนี้ว่าเปน็ Spread Sheet

บางคนใช้โปรแกรม MS Excel สาหรับการพิมพ์ตาราง การพิมพ์รายการส่ิงของต่าง ๆ ที่มีการรวมเงิน
หรือตวั เลข หรือมีการคานวณอย่างงา่ ย บางคนใช้โปรแกรมนี้ เพ่ือวิเคราะห์แบบสอบถาม หาค่าเฉลี่ย และค่าสถิติ
ต่าง ๆ เปน็ ตน้

โปรแกรม Excel มีความสามารถหลัก 3 ด้านด้วยกัน คือ การคานวณ การสร้างแผนภูมิ และด้าน
ฐานข้อมูล

Excel 2010 เป็นรุ่น 14 (Version 14) แตกต่างไปจากรุ่น Excel 2003 ในเรื่องรูปแบบ โดยเฉพาะ
ปรับเปล่ียนหน้าจอ จากการใช้เมนูชนิด Drop down เป็นการใช้ริบบ้ิน (Ribbon) คาส่ังต่าง ๆ จะจัดอยู่บนแถบ
ริบบ้ิน แทนการใช้เมนแู บบเกา่

หลกั การของโปรแกรม Excel

ไฟล์ของ Excel เปรียบเสมือนหนังสือ 1 เล่ม ที่ประกอบไปด้วยหน้า หลาย ๆ หน้า ไฟล์
ของ Excel เรียกว่าเป็นสมุดงาน (Workbook) และในแต่ละหน้า เรียกว่า เป็น แผ่นงาน (Worksheet) ในแต่ละ
แผ่นงาน จะแบ่งออกเปน็ ตาราง ซึง่ ประกอบไปด้วย ช่องตาราง จานวนมาก ซ่ึงเรียกว่า เซลล์ (Cell) เซลล์คือส่วน
ตัดกันของแถวและคอลัมน์ ใน แผ่นงานหน่ึง ๆ ของ Excel 2010 จะมีแถวทั้งหมด 1,048,576 แถว และ จะมี
คอลัมน์ท้ังหมด จานวน 16,384 คอลัมน์ โดยเรียงช่ือตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ ต้ังแต่ A จนถึง Z และ ต่อ
ด้วย AA จนถึงAZ, BA จนถึง BZ ไปจนถึง XFD และในสมุดงานหน่ึง ๆ จะมีแผ่นงานได้จานวนมาก ขึ้นอยู่กับ
หนว่ ยความจาทม่ี ีอย่ใู นเครื่องคอมพวิ เตอรเ์ ครื่องนั้น ๆ

ในแต่ละช่องตาราง หรือ Cell จะบรรจุข้อมูลต่าง ๆ เราพิมพ์ข้อมูลลงในช่องตาราง แต่ละช่อง เช่นพิมพ์
ขอ้ ความ พิมพ์ตวั เลข เปน็ ตน้ เมอ่ื เวลาจะอ้างองิ ถึงขอ้ มูล เรากอ็ ้างอิงถึง ช่องตาราง โดยการระบุ คอลัมน์และแถว
เชน่ B4 หมายถงึ ช่องตารางทีต่ รงกบั คอลมั น์ B และ แถวที่ 4 ดงั ภาพ

รู ป แ บ บ ข อ ง ช่ อ ง ต า ร า ง ( Cell) จ ะ เ ป็ น ตั ว ก า ห น ด รู ป แ บ บ ข อ ง ข้ อ มู ล ท่ี อ ยู่ ใ น Cell
นั้น ๆ เช่น ถา้ เราตอ้ งการเปลย่ี นขนาดตัวอักษร เปลี่ยนสีตัวอักษร เปลี่ยน font ตัวอักษรของข้อความ เราจะต้อง
คลิกเลือก Cell ที่ข้อความนั้นอยู่ จากน้ันจึงกาหนดลักษณะได้ ถ้าเป็นตัวเลข ก็ทานองเดียวกัน คือ เราจะ
คลกิ Cell นนั้ ๆ ก่อน แล้วจึงกาหนดคุณลักษณะ หรือ property เช่น ให้มีทศนิยมกี่ตาแหน่ง เป็นต้น หรือแม้แต่
การกาหนดสีพื้น เส้นกรอบ ต่าง ๆ เหล่าน้ี ก็ไปกาหนดท่ี คุณลักษณะของเซลล์ หรือ Cell property ตัวอย่าง
ข้างลา่ งนี้ เป็นการเปลี่ยนขนาดและ ชนดิ ตัวอกั ษร (font) ของข้อความ ใน เซลล์ B2

มีอะไรใหม่ใน Microsoft Excel 2010
1. สรา้ งแผนภมู ขิ อ้ มลู ไว้ในเซลล์เดียว

ด้วยเส้นแบบประกายไฟ ซ่ึงเป็นคุณลักษณะใหม่ใน Excel 2010 ทาให้สามารถสร้าง แผนภูมิเล็กๆ
ไว้ในเซลล์เพียงเซลล์เดียวได้ เพ่ือให้สามารถค้นพบรูปแบบในข้อมูลของเราได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึงเป็นวิธีที่ง่าย และ
รวดเร็วในการเนน้ แนวโนม้ ขอ้ มลู สาคัญๆ เช่น การเพ่ิมข้นึ หรอื ลดลงตามชว่ งเวลา

2. มุ่งเข้าหาจุดข้อมูลท่ีถูกต้องอยา่ งรวดเรว็
ใน Excel 2010 มีการปรับปรุงตัวกรองแบบใหม่ที่น่าสนใจ ด้วยคุณลักษณะตัวแบ่งส่วนข้อมูลช่วยให้

แสดงข้อมูลได้หลากหลาย ด้วยมุมมอง PivotTable และ PivotChart สามารถแบ่งส่วน และกรองข้อมูลแบบได
นามิกเพ่ือแสดงข้อมูลได้ตรงตามท่ีต้องการ ด้วยตัวกรองการค้นหาใหม่นี้ จะใช้เวลาน้อยลงในการกล่ันกรองชุด
ข้อมูลขนาดใหญ่ในตาราง และในมุมมอง PivotChart และ PivotTable และมีเวลาเพ่ิมข้ึนสาหรับการวิเคราะห์
ขอ้ มูล

3. เขา้ ถงึ กระดาษคานวณของคุณไดจ้ ากทกุ ท่ี
เราสามารถเข้าถึง Workbook หรือกระดาษทาการผ่านระบบออนไลน์ได้ โดยสามารถดู และแก้ไข ได้

จากทุกแห่งโดยใช้คอมพิวเตอร์เคร่ืองใดก็ได้หรือใช้โทรศัพท์ท่ีใช้ Windows ด้วย Excel 2010 โดยจะได้รับ
ประโยชน์จากการใชง้ านกระดาษคานวณทดี่ ีทสี่ ุดระหวา่ งหลากหลายอปุ กรณ์ และต่างสถานที่ เชน่

- Microsoft Excel Web App แก้ไขสมุดงานในเว็บเบราว์เซอร์ได้ เม่ือเราไม่อยู่ที่สานักงาน บ้าน
หรอื โรงเรยี น โดยไม่พลาดการทางาน

- Microsoft Excel Mobile 2010 สามารถดาเนนิ การได้ทันทีเม่ือจาเปน็ ด้วย Excel รุน่ สาหรับ
โทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ ซ่ึงทางานผ่านสมารท์ โฟนได้

4. เช่อื มต่อ แบง่ ปัน และทางานร่วมกนั
การสร้างเอกสารร่วมกันโดยใช้ Microsoft Excel Web App ทาใหส้ ามารถแก้ไขกระดาษทาการหรือ

ตารางคานวณเดียวกนั กับผอู้ ่ืนไปพร้อมๆ กันได้จากคนละตาแหนง่ ท่ีต้งั สามารถเหน็ ได้ว่าใครกาลังทางานบน
Workbook พรอ้ มกนั กับเรา ทั้งยงั มองเห็นการเปลย่ี นแปลงท่ผี ้อู ื่นกระทาไดใ้ นทันที และด้วยจานวนผ้แู ก้ไขใน
สมุดงานที่แสดงอย่บู นแถบสถานะ ทาใหเ้ ราทราบว่ามีใครอีกบา้ งท่ีกาลังแกไ้ ขสมุดงานพร้อมกันกบั เรา

5. เพ่ิมความซับซ้อนให้กับงานนาเสนอข้อมลู
การจัดรูปแบบตามเง่ือนไขใน Excel 2010 ให้เราสามารถควบคุมลักษณะ และไอคอนได้มากข้ึน มี

แถบข้อมลู ที่ปรับปรงุ ใหม่ และความสามารถในการเน้นรายการทต่ี อ้ งการด้วยการคลิกเพียงไม่ก่ีคร้ัง สามารถแสดง
แถบข้อมูลสาหรบั คา่ ลบเพ่อื แสดงภาพข้อมลู ได้อย่างถูกตอ้ งแม่นยาย่ิงขนึ้ ด้วย

6. ใช้ประโยชนจ์ าก PivotChart ทเ่ี ป็นแบบโต้ตอบและไดนามิกมากข้นึ
ด้วยความสามารถในการแสดงมุมมองข้อมูลที่หลากหลาย ทาให้รวบรวมรายละเอียดได้อย่างรวดเร็ว

โดยตรงใน PivotChart โดยไม่ข้ึนกับมุมมอง PivotTable เพื่อวิเคราะห์และจับภาพท่ีโดดเด่นท่ีสุดของตัวเลขท่ี
ตอ้ งการ

7. ทางานต่างๆ ไดร้ วดเร็ว และง่ายขนึ้
ใน Excel 2010 มีมุมมอง Microsoft Office Backstage เข้ามาแทนที่เมนูแฟ้มแบบเดิม เพื่อให้

สามารถบนั ทึก ใช้งานร่วมกนั พิมพ์ และแบง่ ปันกระดาษทาการได้ด้วยการคลิกเพียงไม่กี่คร้ัง และด้วย Ribbon ที่
พัฒนาขึ้น สามารถเข้าถึงคาสั่งได้เร็วย่ิงข้ึน โดยการกาหนดแท็บเองหรือสร้างแท็บของเราเอง เพื่อปรับแต่งการใช้
งานใหเ้ หมาะกบั ลกั ษณะการทางานของแตล่ ะคนได้

8. ใช้ประโยชน์จากความสามารถที่สูงข้ึนในการสร้างกระดาษคานวณท่ีมีขนาดใหญ่และซับซ้อนมาก
ยง่ิ ขนึ้

ด้วยคุณประโยชน์สาหรับผู้ใช้งานข้ันสูง และนักวิเคราะห์ ด้วย Excel 2010 รุ่น 64 บิต จะสามารถ
วิเคราะห์ขอ้ มูลจานวนมหาศาลไดง้ ่ายขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน วิเคราะห์ชุดข้อมูลที่ซับซ้อนและมีขนาดใหญ่กว่า
ขีดจากดั 2 กิกะไบตข์ อง Excel รุน่ กอ่ นหน้า

9. ประกาศและใช้งานรว่ มกันผ่าน Excel Services
การรวม SharePoint Server 2010 และ Excel Services ทาให้ผู้ใช้ด้านธุรกิจสามารถใช้งานการ

วิเคราะห์และผลลัพธ์ร่วมกันท่ัวทั้งองค์กรได้โดยการประกาศกระดาษคานวณลงในเว็บ สร้างแดชบอร์ดข่าวกรอง
ธุรกิจและใช้งานข้อมูลทางธุรกิจท่ีสาคัญร่วมกันกับผู้ร่วมงาน ลูกค้า และคู่ค้าทางธุรกิจได้กว้างขวางขึ้นภายใต้
สภาพแวดลอ้ มทม่ี ีการพัฒนาดา้ นความปลอดภัย

ใบความรู้ที่ 2
เรือ่ ง การสรา้ ง การเปิด และการบนั ทึกสมดุ งาน

การสรา้ งสมดุ งาน
ไฟล์ Excel ประกอบด้วยแผ่นงานหลาย ๆ แผ่นงาน ไฟล์ 1 ไฟล์ เราเรียกว่าเป็น สมุดงาน

หรือ Workbook ในสมดุ งาน จะประกอบไปดว้ ยแผ่นงาน แต่ละแผน่ งาน เรียกวา่ แผน่ งานหรอื Worksheet
การสรา้ งสมดุ งาน

โปรแกรม Excel มแี มแ่ บบไว้ใหเ้ ลือก เพื่อใหส้ ะดวกในการทางาน แม่แบบแตล่ ะอยา่ ง จะมีรูปแบบ และมี
ฟังก์ชันที่เตรียมไว้ให้พร้อมใช้งาน สามารถปรับเปล่ียนได้ แม่แบบบางแม่แบบต้องดาวน์โหลดมาจากเว็บไซต์
ของ Microsoft ดังนั้น เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีใช้จาเปน็ ต้องต่อเชอ่ื มเขา้ กบั อินเทอรเ์ น็ต จงึ จะใชแ้ ม่แบบดังกลา่ วได้

ในตวั อย่างน้ี จะเป็นการเปดิ ใช้งาน โดยไม่ใช้แม่แบบ ซงึ่ มีวธิ ีการดังนี้
1. เปดิ โปรแกรม Microsoft Excel 2010
2. ไปทแ่ี ฟม้ > สรา้ ง > สมุดงานเปล่า แล้วคลกิ สรา้ ง

3. จะเปดิ หน้าจอแรกของโปรแกรม เปน็ หนา้ จอว่างเปลา่ โปรแกรม Excel จะตง้ั ช่อื สมุดงานท่ีเปิดใช้งาน
คร้ังแรก วา่ สมุดงาน 1 ซ่ึงผูใ้ ชส้ ามารถเปล่ยี นชอื่ ไดภ้ ายหลัง

การเปดิ สมดุ งาน
การเปดิ สมดุ งาน ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์
ในกรณที ส่ี ร้างสมดุ งานใหมแ่ ล้ว และได้บนั ทกึ เป็นไฟลเ์ ก็บไว้ เมอ่ื ต้องการเปิดใช้งาน ให้ทาดังนี้

1. เปิดสมดุ งานใหม่
2. ไปท่ี แฟ้ม จะมตี ัวเลือก สามารถเลือกไดด้ งั นี้

2.1. คลิกที่ เปิด โปรแกรมจะไปท่ี ตาแหน่งเร่ิมต้นของแฟ้ม ซึ่งโดยปกติจะอยู่ในห้อง My
Document ของผใู้ ชป้ ัจจบุ ัน ตาแหน่งนี้สามารถเปล่ียนแปลงได้

2.2. คลกิ ที่ ล่าสุด โปรแกรมจะนาแฟ้มท่ีใช้งานล่าสุดมาแสดง ให้เลอื กแฟม้ ที่ตอ้ งการ

3. ในทงั้ สองกรณี โปรแกรม Excel จะเปดิ ไฟล์งานขน้ึ พรอ้ มใช้งาน

การเปดิ สมุดงานท่สี ร้างจาก Excel รนุ่ กอ่ น 2007
ไฟล์ Excel รุ่นก่อน 2007 เช่น Excel 2003/2000/97 เป็นต้น มีรูปแบบโครงสร้างภายในของไฟล์ต่าง

จาก Excel 2010 โปรแกรม Excel 2010 สามารถเปิดใช้ไฟล์รุ่นเก่าได้ แต่จะเปิดในลักษณะ โหมดความเข้ากันได้
หรอื Compatible Mode และยังคงนามสกุลเดิม คอื xls เอาไว้

ถ้าต้องการใช้คุณลักษณะใหม่ของ Excel 2010 ให้บันทึกข้อมูลเป็นไฟล์ของ Excel 2010 ซึ่งมีวิธีการ
ดงั น้ี

1. ไปท่ี แฟ้ม > บนั ทึกเป็น
2. จะเปิดหน้าจอการบันทึกเป็น ให้กาหนดตาแหน่งท่ีต้องการบันทึก และเปลี่ยนชนิดของแฟ้ม
เป็น Excel Workbook (xlsx) ดงั ภาพ

3. บันทกึ ไฟล์
4. ปิด และเปดิ ไฟลท์ ่ีได้เปลย่ี นแปลงชนิดแลว้ จะเห็นว่าเปน็ ไฟล์ของ Excel 2010 ดงั ภาพ

การเปิดไฟล์งาน Excel ท่ีดาวนโ์ หลดมาจากอินเทอรเ์ น็ต
ปัจจุบัน มีการนาไฟล์ Excel ขึ้นเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต โดยไม่บีบอัดใด ๆ ผุ้ใช้อินเทอร์เน็ต สามารถ

ดาวน์โหลดไฟล์ดังกล่าวจากอินเทอร์เน็ตและเปิดใช้งานได้ทันที ซ่ึงช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ แต่ในทาง
กลับกันอาจจะเกิดปัญหาข้ึนได้ โดยเฉพาะในกรณีท่ีไฟล์น้ันมีการใช้ Macro หรือโค้ด เพ่ือการกระทาบางอย่าง ที่
อาจจะกอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ ข้อมูล หรือ อื่น ๆ ได้

เพื่อป้องกันความเสียหายท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการดาวน์โหลดไฟล์จากอินเทอร์เน็ต Microsoft จึง
กาหนดให้ไฟล์ท่ีดาวน์โหลดมาจากอินเทอร์เน็ต เป็นไฟล์อ่านอย่างเดียว อยู่ในมุมมอง ท่ีได้รับการป้องกัน ไม่
สามารถเขา้ ไปแกไ้ ขได้

อย่างไรก็ตาม ถ้าม่ันใจว่าไฟล์ท่ีดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต เป็นไฟล์ท่ีมาจากแหล่งท่ีเชื่อถือได้ และไม่มี
โคด้ ซอ่ นมาเพ่ือทาอนั ตราย ผู้ใชส้ ามารถยกเลิก การอา่ นอย่างเดียว และใช้งานได้ ตามปกติ ซง่ึ โดยคลิกปุ่ม เปิดใช้
งานการแกไ้ ข ก็จะสามารถใช้งานได้ และแก้ไขได้ ตามปกติ

การบนั ทกึ ขอ้ มลู
การบันทกึ สมดุ งานใหม่
เมื่อเปดิ สมดุ งานครั้งแรก โปรแกรมจะต้ังชื่อให้เป็น สมุดงาน...และตามด้วยเลขลาดับ เม่ือต้องการบันทึก

โปรแกรม Excel จะใชห้ น้าจอ บนั ทกึ เปน็ เพ่อื ใหร้ ะบุตาแหนง่ ของสมดุ งาน และเปลย่ี นชอ่ื สมดุ งานตามต้องการ
วิธกี ารบนั ทึก มดี ังนี้
1. ไปท่ี แฟม้ > บันทกึ

2. โปรแกรมจะเปิดหน้าจอ บันทกึ เป็น ให้คลิกระบุตาแหนง่ ของสมดุ งานที่ต้องการบันทกึ ดงั ภาพ

3. เปลี่ยนชื่อสมุดงาน ช่ือของสุมดงานควรสอดคล้องกับข้อมูลในสมุดงาน ถ้าไม่ใส่นามสกุล (File
extension) โปรแกรม Excel 2010 จะเพมิ่ ใหเ้ อง เป็นนามสกลุ xlsx

4. กดปุ่ม บันทึก เป็นอันเสร็จส้ินการบันทึกสมุดงานใหม่ จะสังเกตท่ี Title bar ด้านบน จะมีช่ือสมุด
งานทบ่ี นั ทึกแลว้ แทนชอ่ื สมุดงาน เดิม

การบันทกึ ข้อมูลตามปกติ
การบันทึกข้อมูลตามปกติ เป็นการบันทึกข้อมูลหลังจากการบันทึกข้อมูลคร้ังแรก หรือ เป็นการบันทึก

ข้อมูลจากไฟล์งานทเ่ี ปิดใชง้ านจากไฟลเ์ กา่
การบันทึกสมุดงานท่ีเคยใช้งานแล้วหรือสมุดงานเก่าท่ีเปิดมาใช้งาน โปรแกรมจะบันทึกข้อมูลท่ี

เปล่ียนแปลง เปน็ ปัจจบุ ัน ณ ขณะใช้งานขณะนัน้ ๆ โดยไมเ่ ปดิ กล่องโต้ตอบ (Dialog box) ใด ๆ ทั้งสิน้
การบันทึกขอ้ มูลมวี ิธีการบันทกึ ได้ หลายวิธี ดงั นี้

1. ใช้แถบเมนดู ่วน ซึ่งตามปกติ จะอย่ดู า้ นบนสุด โดยคลกิ ที่รปู แผน่ ขอ้ มลู ดงั ภาพ

2. ใช้ Keyboard shortcut โดยกดป่มุ Ctrl + S
3. ไปท่ี แฟม้ > บันทึก ดงั ภาพ

การบันทึกขอ้ มูลเพื่อเปล่ียนชือ่ หรอื ตาแหน่งของไฟล์
เม่อื ตอ้ งการเปล่ยี นชอ่ื สมุดงาน หรือเปลย่ี นตาแหน่งของสมดุ งานในขณะทางาน ให้ทาดังน้ี
1. ไปที่ แฟ้ม > บันทกึ เปน็

2. จะเปิดหน้าจอ บันทกึ เป็น ใหร้ ะบตุ าแหน่งของสมุดงาน และชอ่ื สมุดงาน
3. คลกิ ป่มุ บันทกึ
การปดิ โปรแกรม
การปดิ โปรแกรม เป็นการปดิ สมุดงาน สามารถทาได้หลายวิธี ดงั นี้
1. คลิกปมุ่ Close ของโปรแกรม Excel เพ่ือปิดแผ่นงานท่กี าลงั ทางาน ดงั ภาพ

2. คลิกปมุ่ ปดิ หนา้ ต่าง ของสมดุ งานนน้ั ๆ ซ่ึงอยมู่ ุมขวาดา้ นบน ดังภาพ

3. ในกรณีทแี่ ผ่นงานนั้น ๆ มีการเปลีย่ นแปลงข้อมูล โปรแกรมจะถามว่า จะบันทึกหรือไม่ ให้คลิกปุ่มตาม
ต้องการ ถา้ คลกิ ปมุ่ ยกเลิกโปรแกรมจะยกเลกิ การปดิ โปรแกรม

4. ถ้าแผ่นงานนั้น ๆ มีข้อมูลเหมือนเดิม ไม่มีการเปล่ียนแปลข้อมูลตั้งแต่การบันทึกครั้งล่าสุด หรือ เปิด
โปรแกรมใหม่ และยังไม่มีการเปลีย่ นแปลงใดๆ โปรแกรมจะปดิ แผ่นงานนั้นทันที โดยไมแ่ สดงหน้าจอใดๆ

1

หนว่ ยที่ 1 ความรู้เก่ยี วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม

สาระสาคญั

คอมพวิ เตอร์เปน็ เครื่องอเิ ล็กทรอนิกส์ท่ีใช้ในการประมวลผล รับ-สง่ ข้อมลู โดยใช้อุปกรณ์
โทรคมนาคมโดยความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ มกี ารพัฒนาเคร่ืองมืออปุ กรณ์โทรคมนาคม
ทชี่ ว่ ยให้การสอ่ื สารผา่ นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เป็นไปได้อย่างทว่ั ถึงและมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ ใน
ปจั จุบนั

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เพือ่ ให้มคี วามหมายคอมพิวเตอร์
2. เพื่อใหท้ ราบความหมายของระบบโทรคมนาคม
3. สามารถบอกชนดิ ของอุปกรณ์โทรคมนาคม
4. เพอ่ื ให้ทราบองคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์
5. เพ่ือใหท้ ราบประเภทของคอมพวิ เตอร์
6. เพื่อทราบลกั ษณะของการประมวลผลคอมพวิ เตอร์แตล่ ะประเภท
7. เพื่อทราบลักษณะของเครื่องไมโครคอมพวิ เตอร์
8. เพื่อสามารถอธบิ ายลกั ษณะของเครื่องโนต๊ บุก๊ ปาลม์ และ แท็บเล็ต
9. เพือ่ ใหท้ ราบประเภทของสัญญาณในระบบโทรคมนาคม
10. เพ่ือทราบคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีในการใชค้ อมพวิ เตอร์ มีความสามคั คีในการทางานเปน็ ทีม

2

1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ (Computer) ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
ใหค้ วามหมายของคอมพิวเตอรไ์ วว้ ่า "เคร่ืองอิเล็กทรอนิกสแ์ บบอตั โนมัติ ทาหนา้ ท่เี หมือนสมองกล ใช้
สาหรับแกป้ ญั หาต่างๆ ท่งี ่ายและซบั ซ้อนโดยวธิ ีทางคณติ ศาสตร"์

คอมพวิ เตอร์ หรอื ในภาษาไทยว่า คณติ กรณ์ เป็นเครือ่ งจักรแบบ สง่ั การได้ทอี่ อกแบบมาเพ่อื
ดาเนินการกับลาดบั ตวั ดาเนินการทางตรรกศาสตร์หรือ คณิตศาสตร์ โดยอนกุ รมน้ีอาจเปล่ยี นแปลงได้
เมอ่ื พรอ้ ม สง่ ผลให้คอมพวิ เตอร์สามารถแกป้ ัญหาไดม้ ากมาย คอมพวิ เตอร์ถกู ประดิษฐ์ออกมาให้
ประกอบไปดว้ ยความจารปู แบบต่างๆ เพ่ือเก็บข้อมูล อย่างนอ้ ยหนึง่ ส่วนท่มี หี น้าทดี่ าเนนิ การคานวณ
เก่ียวกับตวั ดาเนนิ การทาง ตรรกศาสตร์ และตัวดาเนนิ การทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมทีใ่ ช้
เปล่ยี นแปลงลาดบั ของตวั ดาเนนิ การโดยยดึ สารสนเทศที่ถกู เก็บไว้เปน็ หลัก อุปกรณ์เหล่าน้จี ะยอมให้
นาเขา้ ข้อมูลจากแหลง่ ภายนอก และส่งผลจากการคานวณตัวดาเนินการออกไป

1.2 ประเภทของคอมพวิ เตอร์

คอมพิวเตอร์มอี ยหู่ ลายประเภทดว้ ยกนั มกี ารแบง่ ประเภทตามขนาดออกเปน็ 6 ประเภทคือ
1.2.1 ซุปเปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Super Computer)

เปน็ คอมพวิ เตอรข์ นาดใหญท่ ่ีสดุ และมขี ีดความสามารถสูงที่สดุ ภายในประกอบไปดว้ ย
หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Process Unit) นบั พนั ตัวทีส่ ามารถคานวณดว้ ยความเรว็ หลาย
ล้านคาสง่ั ต่อวินาที จดั เป็นคอมพิวเตอร์ทม่ี รี าคาแพงทสี่ ุด และเรว็ ทีส่ ดุ ตามความหมายของซุปเปอร์
คอมพวิ เตอร์

รปู 1.1 แสดงเคร่ืองซปุ เปอร์คอมพิวเตอร์

ประเภทของงาน เหมาะกับงานท่ีมีการประมวลผลขอ้ มลู ปรมิ าณมาก เช่น การวิเคราะห์
ข้อมลู วจิ ัยทางวิทยาศาสตร์ การคน้ ควา้ ด้านอากาศยานและอาวธุ ยุทโธปกรณ์ การสารวจสามะโน
ประชากร งานพยากรณ์อากาศ การออกแบบอากาศยาน การสรา้ งแบบจาลองระดบั โมเลกุลการวจิ ัย
นวิ เคลียร์ และการทาลายรหัสลบั

3

1.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
เครอ่ื งเมนเฟรมเปน็ เคร่ืองท่ีได้รบั ความนยิ มใช้ในองค์กรขนาดใหญท่ ่ัวๆไปจัดเป็นเคร่ืองที่มี

ประสิทธิภาพรองลงมาจากซูเปอรค์ อมพวิ เตอร์ เป็นคอมพวิ เตอร์ทมี่ สี มรรถนะสูงมาก แต่ยงั ต่ากว่า
ซเู ปอร์คอมพิวเตอร์ คือปกตสิ ามารถทางานได้รวดเร็ว หลายสบิ ลา้ นคาสง่ั ต่อวินาที สาหรับสาเหตุท่ีได้
ช่ือว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ กเ็ พราะครั้งแรกที่สรา้ งคอมพิวเตอรล์ ักษณะน้ีไดส้ ร้างไว้บนฐานรองรบั ท่ี
เรียกว่า คสั ซี่ (Chassis) โดยมีช่อื เรยี กฐานรองรบั นีว้ ่า เมนเฟรม

รปู 1.2 แสดงเคร่อื งเฟรมคอมพิวเตอร์

เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ ความเหมาะกบั การใชง้ าน ท้ังในด้านวศิ วกรรม วิทยาศาสตร์ และ
ธรุ กจิ โดยเฉพาะงานทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ข้อมลู จานวนมากๆ เช่น งานธนาคาร ซงึ่ ตอ้ งตรวจสอบบัญชลี ูกค้า
หลายคน งานของสานักงานทะเบยี นราษฎร์ ทเ่ี ก็บรายชอื่ ประชาชนประมาณ 60 ลา้ นคน พรอ้ ม
รายละเอียดต่างๆ งานจดั การบันทึกการสง่ เงนิ ของผู้ประกับตนหลายล้านคน ของสานักงาน
ประกนั สังคม กระทรวงแรงงาน คอมพิวเตอร์เมนเฟรม ที่มีชอ่ื เสยี งมาก คือ เคร่ืองของบริษทั IBM

ในปัจจบุ ัน ความนิยมใชเ้ คร่อื งเมนเฟรม ในหนว่ ยงานตา่ งๆ ไดล้ ดน้อยลงมาก เพราะราคา
เครอื่ งค่อนข้างแพง การใชง้ านค่อนข้างยาก และมผี ู้รู้ด้านนี้ค่อนข้างนอ้ ย สถานศกึ ษาท่ีมเี คร่ืองระดบั นี้
ไวใ้ ชส้ อน ก็มเี พยี งไม่ก่ีแหง่ เหตผุ ลสาคัญอกี ประการหน่งึ คือ คอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ กว่า ได้รับการ
พัฒนาให้มสี มรรถนะมากข้นึ จนสามารถทางานไดเ้ ท่ากบั เครอ่ื งเมนเฟรม แต่ราคาถูกกว่าอยา่ งไรก็
ตามเครื่องเมนเฟรม ยงั คงมีความจาเป็น ในงานทีต่ ้องใชข้ ้อมลู มากๆ พร้อมๆ กันอย่ตู ่อไปอกี ท้งั นี้
เพราะ เคร่ืองเมนเฟรมสามารถพ่วงต่อ และควบคุมอปุ กรณ์รอบข้าง (Peripheral) เชน่ เครื่องพมิ พ์
เครอื่ งขับเทปแม่เหลก็ เคร่อื งขบั จานแมเ่ หล็ก ฯลฯ ได้เปน็ จานวนมากในเวลาเดยี วกนั

4

1.2.3 มินคิ อมพวิ เตอร์ (Minicomputer)
เป็นคอมพวิ เตอร์ที่มสี มรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม คือทางานได้ชา้ กว่า และควบคมุ

อปุ กรณร์ อบข้างไดน้ ้อยกวา่ จุดเดน่ สาคญั ของเครอ่ื งมินคิ อมพวิ เตอร์ ก็คือ ราคายอ่ มเยากว่าเมนเฟรม
การใชง้ านก็ไมต่ ้องใชบ้ ุคลากรมากนกั นอกจากน้นั ยงั มผี ูท้ ่รี ู้วธิ ใี ช้มากกว่าดว้ ย เพราะเคร่ืองประเภทน้ี
มีใชต้ าม โรงแรม โรงพยาบาล รวมท้งั ในสถานศึกษาดับอดุ มศกึ ษาหลายแหง่

รูป 1.3 แสดงเครอื่ งมินคิ อมพวิ เตอร์

มินิคอมพวิ เตอร์ เหมาะกับงานหลายประเภท คอื ใช้ได้ท้ังในงานวิศวกรรม วิทยาศาสตร์
อุตสาหกรรม มีใชต้ ามหนว่ ยงานราชการระดบั กรมเครื่องมินคิ อมพวิ เตอร์ ที่ไดร้ บั ความนิยมใชก้ นั มี
บรษิ ทั Digital Equipment Corporation หรอื DEC เคร่ือง Unisys ของบริษัท Unisys เครื่อง NEC
ของบริษัท NEC เครอ่ื ง Nixdorf ของบรษิ ัท Siemens-Nixdorf

1.2.4 เวิรก์ สเตช่นั (Workstation)
เวิร์กสเตชน่ั ถกู ออก แบบมาให้เป็นคอมพวิ เตอร์แบบตัง้ โต๊ะทมี่ คี วามสามารถในการคานวน

ด้านวศิ วกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆทเ่ี นน้ การแสดงผลด้านกราฟฟิกตา่ ง ๆ เช่นการนามาชว่ ย
ออกแบบภาพกราฟฟิกในโรงงานอตุ สาหกรรมเพ่ือออกแบบชิน้ ส่วนใหม่ ๆ เป็นต้นซึ่งจากการท่ตี ้อง
ทางานกราฟฟิกท่ีมคี วามละเอียดสงู ทาใหเ้ วิรค์ สเตชนั่ ใชห้ นว่ ยประมวลผลทมี่ ีประสิทธภิ าพมากรวมทงั้
มหี น่วยเกบ็ ข้อมูลสารอง จานวนมากด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่มเรียกเคร่ืองระดับเวริ ์คสเตชั่นนว้ี า่ ซูเปอร์ไม
โคร (super micro) เพราะออกแบบมาให้ใช้งานแบบตัง้ โต๊ะแต่ชิปทใี่ ชท้ างานนั้นแตกตา่ งกนั มาก
เนื่องจาก เวริ ค์ สเตช่ันสว่ นมากใชช้ ิปประเภท RISC (reduce instruction set computer) ซง่ึ เปน็ ชิป
ท่ีลดจานวนคาสงั่ ทส่ี ามารถใช้สง่ั งานให้เหลอื เฉพาะทจี่ าเป็นเพอื่ ให้สามารถทางานได้ด้วยความเรว็ สูง

5

1.2.5 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
เป็นนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก และใช้ทางานคนเดยี ว นิยมเรียกอีกชือ่ หนงึ่ วา่ คอมพวิ เตอร์

ส่วนบคุ คล (Personal Computer) เป็นคอมพิวเตอรใ์ ชง้ านทพ่ี บได้อยา่ งแพร่หลาย จดั ว่าเป็นเคร่อื ง
คอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ทง้ั ระบบใช้งานครั้งละเคร่อื ง หรือใชง้ านในลกั ษณะเครือข่าย แบ่งไดห้ ลาย
ลักษณะตามขนาด เชน่ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคลแบบตั้งโตะ๊ (Personal Computer) หรือแบบ
พกพา (Portable Computer) ลักษณะของไมโครคอมพวิ เตอรส์ ามารถแบง่ ได้ เปน็ รปู แบบยอ่ ยดงั นี้

1) เคร่ืองคอมพิวเตอรท์ างานท่ัวไป ท่ีเรียกวา่ Desktop Models รวมถงึ tower

รูป 1.4 แสดง Desktop Models รวมถงึ Tower
Models

นอกจากนี้ ยงั มคี อมพวิ เตอร์แบบผู้ใชค้ นเดียวทไี่ ด้รับการออกแบบใหส้ ามารถพกพาตดิ ตัวได้
สะดวก เช่นคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุค (Notebook computer) คอมพิวเตอรป์ าล์มทอป (Palmtop
computer) และ PDA (Personal Digital Assistant) ซึง่ คอมพิวเตอร์เหลา่ น้ี จัดไดว้ า่ เป็นเครอื ง
ไมโครคอมพวิ เตอร์ชนิดหนึง่ ขนากเลก็ นา้ หนกั เบา และมีรปู ลกั ษณท์ ี่เหมาะกับการพกพา

2) คอมพวิ เตอรโ์ น๊ตบุ๊ก หรือ แล็ปทอ็ ป เปน็ พีซแี บบเคลือ่ นที่ได้ มีนา้ หนกั เบา มีหน้าจอ
บาง หรอื มักจะเรยี กวา่ คอมพิวเตอรโ์ นต๊ บ๊กุ เพราะมีขนาดเล็กสามารถทางานด้วยแบตเตอร่ี สามารถ
นาไปใช้งานได้ทุกที่ โดยจะมสี ่วนหน้าจอรวมกับสว่ นแป้นพิมพ์ สามารถกพับได้ และนา้ หนักเบา

รปู 1.5 แสดง Notebook computer

6

คอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บุ๊กแบ่งออกได้เปน็ 2 รูปแบบ คือ
(1) อลั ตร้าบ๊กุ (Ultra book) เปน็ โน๊ตบุ๊กทเี่ นน้ ความบางและน้าหนกั เบา มีจอภาพ

ขนาดใหญ่ต้ังแต่ 13-17 นว้ิ สาหรบั ความบางของตวั เคร่อื งจะบางน้อยกว่า 21 มม. มีแบตเตอร่ที ใ่ี ช้
งานได้ยาวนาน

(2) โน๊ตบุ๊ก (Net Book) มีหน้าจอขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก คือมีขนาด
ประมาณ 8.9-11.6 นิว้ มคี วามหนาประมาณ 1 น้ิว เหมาะสมกบั การใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ตมากกวา่ ใช้
งานท่วั ไป และไม่มีซดี ีรอม

3) แทบ็ เล็ตคอมพิวเตอร์ (Tablet Computer) เรยี กสน้ั ๆว่า แท็บเลต็ พซี ี เป็น
คอมพิวเตอร์ท่รี วมการทางานทกุ อย่างไว้ในจอสมั ผัสโดยใชป้ ากกาสไดลัส ปากกาดจิ ติ อล หรอื ปลาย
นว้ิ เป็นอปุ กรณ์อินพตุ พ้นื ฐาน แทนการใชค้ ยี บ์ อรด์ และเมาส์ แต่จะมอี ยูห่ รือไม่มีก็ได้ มีอุปกรณ์ไร้สาย
สาหรับการเชอ่ื มต่ออนิ เทอรเ์ นต็ และระบบเครือข่ายภายใน

แทบ็ เลต็ เป็นเทคโนโลยีเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ค่ี ุณสามารถพกตดิ ตวั ได้โดยวตั ถุประสงค์
ของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ชนิดนี้ใชเ้ พื่อทดแทนสมุดหรอื กระดาษ

รูป 1.6 แสดงเครือ่ งแท็ปเล็ต

แท็บเล็ต ในความหมายแทจ้ ริงแล้วกค็ อื แผ่นจารึกท่เี อาไวบ้ ันทึกข้อความต่างๆ โดยการเขียน
(อาจจะเป็นกระดาษ, ดนิ , ขีผ้ ื้ง, ไม,้ หินชนวน) และ มกี ารใช้กนั มานานแลว้ ในอดีต แตใ่ นปจั จุบนั มกี าร
พัฒนาคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้แนวคิดนีข้ ึน้ มาแทนทซี่ ึง่ มีหลาย บริษัทได้ให้คานิยามที่แตกตา่ งกันไป หลกั ๆแลว้
มี 2 ความหมายด้วยกันคือ "แท็บเลต็ พีซี - Tablet PC (Tablet Personal Computer)" และ "แทบ็ เลต็
คอมพวิ เตอร์ - Tablet Computer" หรือเรยี กสนั้ ๆว่า "แท็บเลต็ - Tablet" ใน ปัจจบุ ัน แทบ็ เล็ต ถกู
พัฒนาใหม้ ีความสามารถใกล้เคยี งเครื่องคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊ค มีขนาดเล็กสามารถถอื ดว้ ยมือเดียว และ
นา้ หนกั เบาโดยมี 3 รปู แบบคือ

(1) Convertible Tablet มีโครงสรา้ งเดียวกับคอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บกุ๊ แตต่ ัวจอภาพสามารถ
หมนุ แลว้ พบั ซ้อนบนคยี บ์ อร์ดหรือสามารถแยกส่วนได้

7

รปู 1.7 แสดงตัวอยา่ ง Convertible Tablet

(2) State Tablet จะเปน็ แท็บเล็ตที่มเี พยี งหน้าจอคลา้ ยกับกระดานชนวน จะมีคยี ์บอรด์ ใน
ตวั แต่บางยหี่ อ้ สามารถใชป้ ากกาเปน็ อุปกรณ์อินพุตแทนคีย์บอรด์

รปู 1.8 แสดงตัวอยา่ ง State Tablet

(3) อุปกรณ์พกพา (Personal Digital Assistant :PDA) เป็นอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์พกพา
ขนาดเลก็ สามารถเชอื่ มต่อกับระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตไดด้ ว้ ยระบบไร้สายสามารถในการเพิ่มเติม
แอพพลเิ คชั่นเพือ่ ใหใ้ ชง้ านด้านอนื่ ๆ ได้ เป็นอุปกรณเ์ คล่อื นทีส่ าหรบั ผูค้ นยุคใหม่และได้รบั ความนยิ มมาก
ข้ึน มีขนาดเล็กกกวา่ คอมพวิ เตอร์โน๊ตบุ๊ก ปจั จุบนั เลกิ ใชง้ าน และมีการพฒั นาเปน็ เครื่องโทรศพั ท์มอื ถอื ท่มี ี
จอกว้างขึ้น สามารถใส่ซิมเพ่ือโทรศพั ท์ได้ และใช้เปน็ แทบ็ เลต็ เรยี กว่า แฟบเลต็

รปู 1.9 แสดงตัวอย่าง Personal Digital Assistant :PDA

8

แฟบเล็ต (องั กฤษ: Phablet ,/ˈfæblɪt/) เป็นสง่ิ ทเ่ี รียกอปุ กรณ์ที่อยรู่ ะหว่าง "มือถือ"
(Phone) กบั "แทบ็ เล็ต" (Tablet)[1] ซงึ่ จะเปน็ สมารท์ โฟน ท่มี ขี นาดหนา้ จอระหว่าง 5.1–7 น้ิว (130–
180 มม.) โดยแฟบเล็ตถูกสรา้ งออกมาเพ่ือใหส้ ามารถมีฟงั ก์ชันสาหรบั ทางานระหว่างสมารท์ โฟนกับ
แท็บเลต็ โดยแฟบเลต็ จะมขี นาดใหญ่กวา่ สมาร์ทโฟนท่ัวไป แตจ่ ะเลก็ กว่าแท็บเล็ตที่มีขนาดหนา้ จอ
ใหญ่กวา่ ทาให้มีความสะดวกสบายในการพกพามากกว่าแท็บเลต็ แฟบเลต็ นน้ั จะเหมาะสมกบั การเขา้
อนิ เทอร์เน็ต และการใชส้ ่ือมัลตมิ ีเดยี ตา่ งๆ ซึ่งมีความเหมาะสมมากกวา่ สมาร์ทโฟนปกติ แฟบเล็ตน้ัน
เริ่มมีมากขน้ึ ในยุคปจั จบุ นั ยกตัวอย่างเช่น ในชดุ ของ กาแลคซี โนต้ โดย ซมั ซงุ ซึ่งซอฟต์แวร์ออกแบบ
มาสาหรับการใชป้ ากกาสไตลัส ในการเขียนหรอื วาด

แฟบเลต็ ที่ไดร้ ับความนยิ มมากทสี่ ดุ ต้งั แต่การเปดิ ตวั คือ กาแลคซโี น้ต โดยในเดือนมกราคม
พ.ศ. 2556 ไอเอชเอส ได้รายงานว่า แฟบเลต็ รุน่ นีถ้ ูกขายไปแลว้ 25.6 ลา้ นเคร่ืองในปี พ.ศ. 2555
และคาดว่าจะเติบโตเป็น 60.4 ลา้ นเครอื่ งในปี พ.ศ. 2556 และ 146 ล้านเครือ่ ง ในปี พ.ศ. 2559

รปู 1.9 แสดงตวั อยา่ ง เครื่องปาลม์

รปู 1.10 แสดงตวั อยา่ งแฟบเลต็

แฟบเลต็ นน้ั ในช่วงแรกถกู ออกแบบมาเพื่อตลาดเอเชียท่ผี ู้บรโิ ภคไมต่ อ้ งการสมาร์ทโฟนที่มี
ขนาดเลก็ เกินไปและแท็บเล็ตทมี่ ีขนาดใหญ่เกินไป เหมือนกับผู้บริโภคในทวปี อเมรกิ าเหนืออย่างไรก็
ตาม แฟบเลต็ ก็ได้ประสบความสาเร็จในทวปี อเมริกาเหนือด้วย ซึ่งระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด์ ตั้งแต่
รุ่น 4.0 เป็นต้นมา มีคณุ ลักษณะเหมาะกบั อปุ กรณ์ท่ีมขี นาดหน้าจอใหญ่ เช่นเดยี วกับหนา้ จอขนาดเล็ก
ส่วนผ้ใู ชท้ ่ีมอี ายมุ าก ก็ต้องการอุปกรณ์ทม่ี ีขนาดจอใหญ่ๆเช่นกัน เนือ่ งจากปญั หาด้านสายตา ขณะท่ี
ผูผ้ ลิตในปจั จบุ ันก็ผลติ แฟบเล็ตท่มี ีขนาดหน้าจอ 5.1 ถงึ 7 นิว้ มากข้ึน สว่ นทางด้านแอ็ปเปลิ (ในยคุ
ของ สตีฟ จ็อบส์) ปฏเิ สธที่จะผลติ อุปกรณ์ท่มี หี นา้ จอใหญก่ วา่ ไอโฟน ท่มี ขี นาดหน้าจอ 3.5 นิว้
(89 มม.) และเลก็ กว่า ไอแพด ที่มขี นาดหนา้ จอ 9.7 น้ิว (250 มม.) ในปี พ.ศ. 2555

9

1.2.6 ไมโครคอนโทลเลอร์ (Microcontrollers)
ไมโครคอนโทรลเลอร์ (องั กฤษ: microcontroller มักย่อว่า µC, uC หรือ MCU) คอื อุปกรณ์

ควบคมุ ขนาดเลก็ ซงึ่ บรรจคุ วามสามารถท่คี ลา้ ยคลงึ กบั ระบบคอมพวิ เตอร์ ในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้
รวมเอาซีพียู, หนว่ ยความจา และพอร์ต ซง่ึ เปน็ ส่วนประกอบหลกั สาคญั ของระบบคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ไว้
ด้วยกนั โดยทาการบรรจุเขา้ ไว้ในตวั ถงั เดยี วกัน

ไมโครคอนโทรลเลอร์ เป็นคอมพิวเตอร์แบบฝงั ตวั (Embedded Computers) ออกแบบมา
เปน็ พิเศษ มขี นาดเลก็ ปอ้ นโปรแกรมเพ่อื ใหท้ างานด้านใดดา้ นหนงึ่ โดยเฉพาะสามารถสงั เกตได้จาก
อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ท่วั ไปในปัจจุบนั มกั มเี ป็นส่วนประกอบแทบท้ังสิน้ เช่น
สมารท์ ทวี ี เครือ่ งไมโครเวฟ เครือ่ งซักผา้ และต้เู ยน็ เป็นตน้

รปู 1.11 แสดงตัวอย่างสมารท์ ทวี ี

1.3 อปุ กรณโ์ ทรคมนาคม (Telecommunications)

โทรคมนาคม (องั กฤษ: Telecommunication) หมายถงึ การสื่อสารระยะไกล โดยใชเ้ ทคโนโลยี
ตา่ งๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ผ่านทางสญั ญาณไฟฟ้า หรือคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ เน่อื งจากเทคโนโลยที ่ี
แตกต่างกันจานวนมากทเี่ ก่ยี วข้องกบั คานี้ จึงมักใช้ในรปู พหูพจน์ เช่น Telecommunications

เทคโนโลยีการสอ่ื สารโทรคมนาคมในช่วงตน้ ประกอบด้วยสัญญาณภาพ เชน่ ไฟสญั ญาณ,
สญั ญาณควนั , โทรเลข, สัญญาณธงและ เคร่ืองส่งสัญญาณดว้ ยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์
ตวั อยา่ งอ่นื ๆ ของการส่ือสารโทรคมนาคมก่อนช่วงที่ทนั สมัยไดแ่ ก่ ขอ้ ความเสียง เชน่ กลอง, แตร และ
นกหวดี เทคโนโลยีการส่อื สารโทรคมนาคมด้วยไฟฟา้ และแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ได้แก่โทรเลข, โทรศพั ท์และ
โทรพิมพ์, เครอื ข่าย, วทิ ยุ, เคร่ืองส่งไมโครเวฟ, ใยแกว้ นาแสง, ดาวเทยี มส่ือสารและอินเทอร์เน็ตโดย
อาศยั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าในการสง่ สญั ญาณไปในอวกาศ เช่น การส่งคล่ืนวทิ ยุ โทรทศั น์ และการสง่

10

คลืน่ ไมโครเวฟ และการส่งสัญญาณดวงเดยี ว โดยจุดทีส่ ่งข่าวสารกบั จุดรับอยู่ห่างกัน และข่าวสารทส่ี ง่
จะเฉพาะเจาะจงผู้รบั คนใดคนหนงึ่ หรอื การส่งแบบผรู้ บั ท่ัวไปก็ได้

โทรคมนาคมเปน็ การใชส้ ื่ออุปกรณร์ บั ไฟฟา้ ต่าง ๆ เช่น วทิ ยุ โทรทัศน์ โทรศพั ท์ โทรสาร และ
โทรพิมพ์ เพ่ือการส่อื สารในระยะไกล โดยอุปกรณเ์ หลา่ น้จี ะแปลงข้อมลู รูปแบบต่าง ๆ เช่น เสยี ง
และภาพไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า สัญญาณเหลา่ น้ีจะถกู ส่งไปโดยสอ่ื เช่น สายโทรศัพท์ หรือคล่ืนวทิ ยุ
เมือ่ สญั ญาณไปถงึ จุดปลายทาง อปุ กรณ์ด้านผ้รู บั จะรับและแปลงกลบั สญั ญาณไฟฟ้าเหลานีใ้ ห้เป็น
ขอ้ มลู ทสี่ ามารถเขา้ ใจได้ เชน่ เปน็ เสียงทางโทรศัพท์ หรอื ภาพบนจอโทรทัศน์ หรอื ขอ้ ความและภาพ
บนจอคอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมจะช่วยใหบ้ คุ คลสามารถติดตอ่ สารกนั ไดไ้ มว่ ่าจะอยูท่ ี่ใดๆ ในโลก
ในรูปแบบของข่าวสาร ความรู้ และความบันเทิง

1.4 องคป์ ระกอบของระบบโทรคมนาคม

โทรคมนาคม (Telecommunications) หมายถงึ การส่อื สารข้อมูลระยะทางไกลในรปู แบบ
สัญญาณอีเล็กทรอนกิ ส์ ซงึ่ ในอดตี ระบบโทรคมนาคมใหบ้ ริการในรูปแบบของสญั ญาณเสียงผา่ น
สายโทรศพั ท์ท่ีเรยี กกนั ว่าสัญญาณในระบบ อนาลอก (Analog Signal) แต่ในปจั จุบันสัญญาณ
โทรคมนาคมกาลังกลายเป็นการถา่ ยทอดสญั ญาณในรปู แบบดจิ ติ อล (Digital Signal)

ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Systems) คอื ระบบท่ปี ระกอบดว้ ยฮารด์ แวรแ์ ละ
ซอฟท์แวร์จานวนหนงึ่ ทสี่ ามารถทางานรว่ มกนั และถูกจดั ไวส้ าหรับการสือ่ สารข้อมลู จากสถานทแ่ี ห่ง
หนึง่ ไปยังสถานท่อี ีกแห่งหน่ึงซ่งึ สามารถถ่ายทอดข้อความ ภาพกราฟฟิก เสียงสนทนา และวิดที ัศน์
ได้ มรี ายละเอยี ดของโครงสร้างสว่ นประกอบดังนี้

1.4.1 เครอ่ื งคอมพวิ เตอรห์ รือเคร่อื งมอื เปลย่ี นปริมาณใดให้เป็นไฟฟ้า (Transducer) เช่น
โทรศัพท์ หรือไมโครโฟน เปน็ ต้น

รปู 1.11 แสดงตวั อย่างเคร่ืองโทรศพั ท์รุน่ ตา่ ง ๆ

11

รปู 1.13 แสดงไมโครโฟนรุ่นต่าง ๆ

1.4.2 เครอ่ื งเทอร์มนิ อลสาหรับการรับข้อมลู หรือแสดงผลข้อมูล เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือ
โทรศพั ท์

รูป 1.14 แสดงการสง่ และรบั สญั ญาณโทรศพั ท์

1.4.3 อปุ กรณ์ประมวลผลการสอื่ สาร (Transmitter) ทาหนา้ ทแี่ ปรรปู สัญญาณไฟฟ้าให้
เหมาะสมกับช่องสัญญาณ เช่น โมเด็ม (MODEM) มัลติเพล็กเซอร์ (multiplexer) แอมพลิไฟเออร์
(Amplifier) และดาวเทียม (Satellite) ดาเนินการได้ทัง้ รบั และสง่ ข้อมลู

รปู 1.15 แสดงการประมวลผลของอุปกรณ์สง่ และรับสญั ญาณ

12

รูป 1.16 แสดงการประมวลผลการส่งสญั ญาณดาวเทียมของสองสถานี

1.4.4 ช่องทางส่อื สาร (Transmission Channel) หมายถงึ การเช่ือมต่อรปู แบบใดๆ เชน่
สายโทรศพั ท์ ใยแก้วนาแสง สายโคแอกเซยี ล หรือแม้แตก่ ารส่ือสารแบบไรส้ าย

รูป 1.17 แสดงการสอื่ สารของระบบสัญญาณเสยี ง และสญั ญาณภาพของระบบทีวแี บบอนาลอ็ ก

1.4.5 ซอฟท์แวร์การส่อื สารซึ่งทาหนา้ ทคี่ วบคุมกจิ กรรมการรบั สง่ ข้อมลู และอานวยความสะดวก
ในการส่อื สาร

รูป 1.18 แสดงตวั อยา่ งโปรแกรมสาหรับการสือ่ สารทไี่ ดร้ ับความนยิ ม

13

1.5 หนา้ ที่ของระบบโทรคมนาคม

ระบบโทรคมนาคม ทาหน้าท่ีในการส่งและรบั ขอ้ มลู ระหว่างจดุ สองจุด ไดแ้ ก่ ผสู้ ง่ ขา่ วสาร
(Sender) และ ผูร้ บั ขา่ วสาร (Receiver) ดาเนนิ การจัดการลาเลยี งขอ้ มลู ผา่ นเสน้ ทางทม่ี ีประสิทธภิ าพ
ท่สี ุด จัดการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่จี ะสง่ และรับเขา้ มา สามารถปรบั เปลย่ี นรูปแบบขอ้ มลู
ใหท้ ง้ั สองฝ่ายสามารถเข้าใจได้ตรงกัน ซึ่งท่ีกล่าวมานสี้ ว่ นใหญใ่ ช้คอมพิวเตอร์เป็นตวั จดั การ ในระบบ
โทรคมนาคมสว่ นใหญ่ใชอ้ ปุ กรณก์ ารรบั สง่ ข้อมูลข่าวสารตา่ งชนิด ต่างย่หี อ้ กัน แต่สามารถแลกเปล่ียน
ขอ้ มูลระหวา่ งกันได้เพราะใช้ชุดคาส่งั มาตรฐานชดุ เดยี วกัน กฎเกณฑ์มาตรฐานในการส่อื สารนเี้ รา
เรียกวา่ “โปรโตคอล (Protocol)” อุปกรณแ์ ต่ละชนิดในเครอื ขา่ ยเดียวกนั ต้องใช้โปรโตคอลอย่าง
เดยี วกัน จงึ จะสามารถส่อื สารถึงกนั และกนั ได้ หน้าท่ีพนื้ ฐานของโปรโตคอล คือ การทาความรู้จกั กับ
อปุ กรณ์ตัวอ่ืนท่ีอยใู่ นเส้นทางการถ่ายทอดข้อมลู การตกลงเงอ่ื นไขในการรบั สง่ ข้อมลู การตรวจสอบ
ความถกู ต้องของข้อมลู แก้ไขปัญหาข้อมลู ทีเ่ กิดการผิดพลาดขณะส่ง โปรโตคอลที่รู้จกั กันมาก ได้แก่
โปรโตคอลในระบบเครอื ข่ายอินเตอรเ์ นต เช่น Internet Protocol , TCP/IP

1.6 ประเภทของสญั ญาณในระบบโทรคมนาคม

1.6.1 ประเภทของข้อมลู สาหรับการส่อื สารในระบบโทรคมนาคม สามารถแยกได้เปน็ 4 ประเภท
คือ

1) ประเภทเสียง เช่น เสียงพูด เสยี งดนตรี
2) ประเภทตวั อักษร เช่นอักษร ตัวเลข สญั ลกั ษณ์
3) ประเภทภาพ ท้งั ภาพนงิ่ และภาพเคล่ือนไหว
4) ประเภทรวม เป็นการส่อื สารท้งั ตวั อักขระ ภาพและเสยี ง
1.6.2 ประเภทของข้อมลู จาแนกตามสัญญาณทส่ี ่งออกโดยจะมกี ารสง่ สญั ญานข้อมลู ทง้ั 4 ปรพ
เภทดา้ นบน และนามาแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าท่ีเรยี กว่าสัญญาณข้อมลู (Data Signal) ทาให้สามารถ
สง่ ผ่านสอื่ ไปได้ในระยะไกลด้วยความเรว็ สูง ข้อมลู จะถกู แปลงเปน็ สัญญาณข้อมูลได้ 2 ประเภทคือ
1) สัญญาณอนาลอ็ ก (Analog Signal) หมายถึง สญั ญาณข้อมลู แบบตอ่ เนื่อง มีขนาดของ
ข้อมลู ไม่คงท่ี มลี ักษณะเปน็ เส้นโคง้ ตอ่ เนื่องกันไป โดยสญั ญาณอนาล็อกจะถูกรบกวนให้มีการแปล
ความหมายผิดพลาดได้ง่าย เชน่ สัญญาณในสายโทรศพั ท์ เปน็ ต้น

14

รปู 1.19 แสดงตัวอยา่ งสญั ญาณอนาลอ็ ก

รปู 1.20 แสดงตัวอยา่ งการส่งสัญญาณทวี แี บบอนาลอ็ ก

2) สญั ญาณดิจิทัล (Digital Signal) หมายถงึ สญั ญาณท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ข้อมูลแบบไม่
ตอ่ เน่อื ง มีขนาดแนน่ อนซึ่งจะมกี ารกระโดดไปมาระหวา่ งสองคา่ คือ สญั ญาณสงู ทีส่ ุด และระดับ
สญั ญาณทรี่ ะดบั ตา่ ทส่ี ุด สัญญาณนเ้ี ปน็ สัญญาณทค่ี อมพิวเตอร์ใช้ในการทางานและตดิ ต่อสอ่ื สารกัน
เชน่ ระบบการส่ือสารวิทยดุ ิจิตอล และทวี ดี ิจติ อล

15

รูป 1.21 แสดงตวั อยา่ งการส่งสญั ญาณทีวีแบบดจิ ิตอล
รูป 1.22 แสดงตัวอย่างการสง่ สัญญาณทวี แี บบดจิ ิตอล

20

หน่วยท่ี 2 ความรเู้ ก่ียวกบั ข้อมูลสารสนเทศ และระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

สาระสาคญั

ระบบการคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เคร่ืองอเิ ล็กทรอนิกสท์ ใี่ ช้ในการประมวลผล ข้อมลู ท่ีใช้ในระบบจึง
เปน็ ข้อมูลแบบดจิ ติ อล การทราบประเภทข้อมูลจะชว่ ยให้ผูใ้ ชง้ านสามารถนาข้อมลู เข้าสู่ระบบเพ่ือ
การประมวลผลไดร้ วดเร็ว และถกู ต้อง โดยมีเคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ในการประมวลผล ซ่งึ เรียนกวา่
ระบบสารสนเทศ ที่เกย่ี วข้องกันท้ัง ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ วิธีการดาเนนิ การ ข้อมลู ผปู้ ฏิบตั ิงาน และ
อ่นื ๆ รวมทัง้ มีการใชร้ ะบบการสือ่ สารเขา้ มาชว่ ยในการสง่ สญั ญาณข้อมลู เพื่อความสะดวกรวดเรว็
ระบบการส่ือสารคอมพวิ เตอร์มีทั้งระบบสายสัญญาณ และระบบไร้สาย ชว่ ยใหผ้ ูใ้ ชง้ านเข้าถงึ ข้อมูล
ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภา

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บอกความหมายของข้อมลู ในระบบคอมพวิ เตอร์
2. บอกความหมายของระบบสารสนเทศ
3. สามารถบอกองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
4. สามารถบอกความแตกต่างของข้อมลู ข้อมูลดบิ และสารสนเทศได้
5. บอกประเภทระบบสารสนเทศไดถ้ ูกต้อง
6. อธิบายความหมายของระบบสารสนเทศแตล่ ะประเภทได้
7. บอกความหมายของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
8. บอกประเภทของการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
9. บอกชนิดของรูปแบบการเชอื่ มโยง หรือ โทโปโลยเี ครือขา่ ยได้
10. อธบิ ายลักษณะของโทโปโลยีของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ได้

21

2.1 ความหมายของขอ้ มลู

ข้อมูล (Data) หมายถึง สิ่งที่ใช้เรียกหรือแทนสิ่งที่เกิดข้ึนกับคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่
หรือเหตุการณ์ โดยอยู่ในรูปแบบท่ีเหมาะสมต่อการส่ิอสาร การแปรความหมาย และการ
ประมวลผล หรืออาจหมายถึง ข่าวสาร ข้อความ ตัวเลข ข้อเท็จจริงที่ยังไม่ประเมินผล
สามารถนาไปใช้ได้ตามความต้องการของผู้ใช้

ข้อมูล คือ ค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ท่ีอยู่ในความควบคุมของกลุ่ม
ของส่งิ ตา่ งๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ จะแสดงแทนด้วยโครงสรา้ งอย่างหนง่ึ ซึ่งมักจะเปน็
โครงสรา้ งตาราง (แทนดว้ ยแถวและหลัก) โครงสรา้ งต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อท่ีมีความสัมพันธ์แบบพ่อ
ลูก) หรอื โครงสรา้ งกราฟ (กลุ่มของจุดต่อทเ่ี ชือ่ มระหว่างกนั ) ข้อมลู โดยปกตเิ ปน็ ผลจากการวัดและ
สามารถทาใหเ้ ห็นได้โดยใช้กราฟหรือรปู ภาพ ขอ้ มูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอนั หนึ่ง อาจมองไดว้ า่
เป็นระดบั ต่าท่สี ดุ ของภาวะนามธรรมทส่ี บื ทอดเปน็ สารสนเทศและความรู้ โดยข้อมูลอาจมีการแยก
ประเภทเปน็

ข้อมลู ดบิ หรือข้อมลู ทยี่ งั ไม่ประมวลผล เปน็ ศัพท์อีกคาหน่ึงทเี่ กี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวม
จานวนและอกั ขระต่าง ๆ ซึ่งมกั จะเกิดขึน้ ตามปกตใิ นการประมวลผลขอ้ มลู เปน็ ระยะ

ข้อมูลท่ีประมวลผลแลว้ จากระยะหนึ่งอาจถือวา่ เปน็ ข้อมลู ดบิ ของระยะถัดไปก็ได้ ขอ้ มูล
สนามหมายถึงขอ้ มลู ดบิ ที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกาเนดิ ท่ีไม่อยใู่ นการควบคมุ

ข้อมลู เชงิ ทดลอง หมายถงึ ข้อมูลทส่ี รา้ งขึ้นภายในสภาพแวดลอ้ มของการค้นคว้าทาง
วิทยาศาสตร์โดยการสงั เกตและการบนั ทึก

2.2 ชนิดของข้อมลู

ข้อมูล (Data) เปน็ รายละเอียดของสงิ่ ต่าง ๆ ซง่ึ ถูกสรา้ งและจดั เก็บดว้ ยคอมพิวเตอร์ มี
รูปแบบแนน่ อน เช่น ข้อมลู เก่ียวกับบคุ คล ข้อมลู เกีย่ วกบั สินค้า เป็นตน้ ข้อมลู สามารถนับจานวนได้
และสง่ ผา่ นระบบสื่อสารไดเ้ ร็วขอ้ มลู ทีใ้ ช้ในงานคอมพวิ เตอร์ จะมีหลายรูปแบบดงั น้ี

2.2.1 ข้อมลู ตวั เลข (Number) ประกอบดว้ ยตัวเลขเท่านน้ั เช่น 1 , 12 , 345 เป็นต้น มักจะ
นามาใชใ้ นการคานวณ

2.2.2 ข้อมลู แบบอกั ขระ (Text) ประกอบด้วยตวั อักษร ตัวเลข และตวั อักขระพิเศษ สว่ นตัว
เลขท่ีใชเ้ ปน็ ตัวเลขท่ีไมส่ ามารถคานวณได้ หรอื เคร่ืองหมายอยใู่ นรูปของเอกสาร หรอื ตวั อกั ขระ

22

2.2.3 ข้อมูลภาพ (Image) เปน็ ขา่ วสารทอี่ ยใู่ นรปู ของภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ ไดแ้ ก่ รปู ภาพนิ่ง
ภาพเคล่อื นไหว ภาพวีดโี อ ซ่งึ ข้อมลู ชนิดนจี้ ะต้องอาศยั สอื่ สาหรับเก็บ และใชห้ น่วยความจาเป็น
จานวนมาก

2.2.4 ขอ้ มลู เสียง (Sound) และ (Voice) เปน็ สญั ญาณท่รี ับรไู้ ดท้ างโสต หรอื หู เชน่ เสยี งเพลง
เสยี งดนตรี เสยี งบรรยาย เป็นตน้

2.2.5 ขอ้ มูลภาพเคลือ่ นไหว หรอื แอนเิ มชัน ( animation) หมายถงึ ภาพเคลือ่ นไหวโดยการ
ฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต่อเนอ่ื งกนั ด้วยความเร็วสงู การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกสใ์ นการคานวณสร้าง
ภาพจะเรยี กการสร้างภาพเคล่อื นไหวดว้ ยคอมพวิ เตอรห์ รือคอมพวิ เตอร์แอนิเมชนั หากใช้เทคนคิ การ
ถ่ายภาพหรอื วาดรปู หรือหรอื รูปถา่ ยแตล่ ะขณะท่ีคอ่ ยๆ ขยับ จะเรยี กว่า ภาพเคล่ือนไหวแบบการ
เคลื่อนทีห่ ยุด หรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลกั การแลว้ ไม่ว่าจะสรา้ งภาพ หรือเฟรมด้วยวิธี
ใดกต็ าม เม่ือนาภาพดังกลา่ วมาฉายต่อกนั ดว้ ยความเร็ว ตัง้ แต่ 16 เฟรมต่อวนิ าทีขึ้นไป เราจะเหน็
เหมอื นว่า ภาพดังกลา่ วเคลื่อนไหวไดต้ ่อเน่ืองกัน ทั้งน้ีเนื่องจากการเหน็ ภาพติดตา

2.3 ความหมายของสารสนเทศ (Information)

สารสนเทศ (information) เปน็ ผลลพั ธ์ของการประมวลผล การจดั ดาเนนิ การและการเข้า
ประเภทข้อมลู โดยการรวมความรู้เข้าไปตอ่ ผู้รับสารสนเทศนน้ั สารสนเทศมคี วามหมายหรอื แนวคดิ ท่ี
กว้าง และหลากหลาย ตง้ั แต่การใช้คาวา่ สารสนเทศในชวี ิตประจาวนั จนถึงความหมายเชงิ เทคนคิ
ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกลเ้ คียงกบั ความหมายของการส่ือสาร เง่อื นไข การ
ควบคุมข้อมลู รูปแบบ คาส่ังปฏบิ ัติการ ความรู้ ความหมาย สื่อความคิด การรบั รู้

สารสนเทศ หมายถึง การนาข้อมลู มาผา่ นกระบวนการประมวลผลตามความต้องการในการ
ใช้งาน อาจเป็นการใช้การนับ การเฉลย่ี หรอื การดาเนนิ การข้ันสงู อน่ื ๆ เพื่อให้ได้ผลตามท่ีต้องการใน
การใช้งาน เพื่อนาผลไปใช้ประโยชนใ์ นการตัดสนิ ใจ โดยจะมีสว่ นที่เข้ามาเกย่ี วขอ้ ง คือข้อมลู ดิบ เช่น
คะแนนการสอบทฤษฏี การสอบปฏบิ ตั ิ การมาเรยี น และการสอบปลายภาค เพอ่ื นามาประมวลผล
ใหไ้ ด้สารสนเทศ คือผลของเกรดในรายวชิ าน้ัน

2.4 ระบบสารสนเทศ (Information System)

ระบบสารสนเทศ (Information System หรอื IS) เป็นระบบพื้นฐานของการทางานตา่ งๆ ใน
รปู แบบของการเก็บ (input) การประมวลผล (processing) เผยแพร่ (output) และมีสว่ นจัดเกบ็
ข้อมลู (storage)

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศคือ ระบบคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, ระบบ
เครอื ข่าย มนษุ ยผ์ ู้พัฒนาระบบ และผชู้ รั ะบบ , กระบวนการการดาเนนิ งาน

23

ระบบสารสนเทศนนั้ จะประกอบด้วย ขอ้ มูล (Data) หมายถึง ค่าของความจรงิ ท่ีปรากฏข้ึน
โดยคา่ ความจรงิ ท่ีไดจ้ ะนามาจัดการ เพื่อใหไ้ ด้สารสนเทศตามตอ้ งการ สารสนเทศ (Information)
คือ กลมุ่ ของข้อมลู ท่ีถูกตามกฎเกณฑต์ ามหลกั ความสัมพันธ์ เพือ่ ให้ข้อมลู เหล่านัน้ มปี ระโยชนแ์ ละ
ความหมายมากขึ้น และ การจดั การ (Management) คือ การบริหารอย่างเปน็ ระบบ เป็นการ
กาหนดเปา้ หมายและทิศทางการจัดการขององค์กรนนั้ งมีการวางแผน กาหนดการ และจดั การ
ทรัพยากรภายในองค์กร เพ่ือให้บรรลุถึงวตั ถปุ ระสงคข์ ององค์กรนั้นๆ

ระบบสารสนเทศและ MIS (IS) - หรอื การประยุกต์ใช้ภูมิทัศน์ คอื การรวมกันของเทคโนโลยี
สารสนเทศ (information technology) และกจิ กรรมของผ้คู นว่าดว้ ยการดาเนนิ การให้ความ
ช่วยเหลือใดๆ การทาการจดั การและการตัดสนิ ใจ ในความหมายท่ีกวา้ งมาก, ระบบสารสนเทศเป็น
คาทีใ่ ช้บ่อยในการอา้ งถงึ ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างผ้คู น กระบวนการข้อมูลและเทคโนโลยี ในแง่นี้คาที่ใชใ้ น
การอ้างอิงไมเ่ พยี งแตจ่ ะใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) ทอ่ี งคก์ รจะใช้เท่านน้ั , แตย่ ัง
รวมถงึ วธิ ที คี่ นมีปฏสิ มั พนั ธ์กับเทคโนโลยีนใี้ นการสนบั สนุนกระบวนการทางธรุ กิจ

ดังน้ันสารสนเทศ จะต้องเก่ียวขอ้ งกับ ขอ้ มูล(Data) , การประมวลผล (Process) , ผลลพั ธ์
(Output) และสารสนเทศตอ้ งมีความเปน็ ปจั จบุ นั ต้องมีส่วนป้อนกลบั (feedback) แสดงได้ดังรูป

Input Process Output

Feedback

รูป 2.2 แสดงการประมวลผลสารสนเทศ

สรปุ ความหมายของระบบสารสนเทศ กค็ ือ ระบบของการจดั เกบ็ ประมวลผลข้อมลู โดย
อาศัยบุคคล และเทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินการ เพ่ือให้ไดส้ ารสนเทศท่เี หมาะสมกบั งาน แต่
ละอยา่ ง หรือระบบสารสนเทศเปน็ การนาขอ้ มลู มาจัดกระทาให้เป็นหมวดหมู่ มรี ะเบียบแบบแผน
เพื่อสะดวกต่อการค้นหา หรือเรียกใช้

24

2.5 ประเภทของระบบสารสนเทศ

ปจั จุบนั ประการทางานของแตล่ ะองค์กรจะมีความเกีย่ วกบั ระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยี
สารสนเทศมากขน้ึ และเน่ืองจากองคก์ รมีการแบ่งระดับการทางานและระดับการตัดสินใจระบบ
สารสนเทศในองคก์ รจึงตอ้ งมีการแบ่งออกเปน็ ประเภทดงั นี้

2.5.1 ระบบการประมวลผลทางธุรกจิ (Transaction Processing System : TPS)
เป็นระบบการประมวลผลทางธรุ กจิ มักเปน็ การประมวลผลแบบรายวนั เช่น การรับ

จา่ ยบิล ระบบควบคุมสนิ คา้ คงคลัง ระบบการรบั – จ่ายสินค้า เป็นต้น ระบบน้ีเปน็ ระบบสารสนเทศ
ลาดบั แรกที่ได้รับการพฒั นาใหใ้ ช้กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ลักษณะเดน่ ของ TPS คอื การทาใหเ้ ครื่อง
คอมพวิ เตอร์ทางานง่าย ไมย่ ุ่งยากซบั ซ้อน สิ่งท่อี งค์กรจะได้รบั เม่ือใช้ระบบน้ี คือ

(1) ลดจานวนพนักงาน
(2) องค์กรจะมีการบริการทส่ี ะดวกเรว็
(3) ลกู ค้ามจี านวนเพิม่ มากขึ้น
*** ในระบบ TPS เกือบท้ังหมดใชก้ ารประมวลผลแบบออนไลน์ (ON - LINE)
2.5.2 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจดั การ (Management Information System : MIS)
เป็นระบบที่เก่ยี วข้องกับผู้บริหารทต่ี ้องการการประมวลผลของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีให้
ผบู้ รหิ ารตดั สนิ ใจ วางแผน ควบคุมการปฏบิ ัติงานองคก์ ารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง สามารถในการคานวณและ
เปรยี บเทยี บข้อมูล ซึง่ มีความหมายต่อการจัดการและบริหารงานสามารถสรา้ งสารสนเทศที่ถูกต้อง
และทันสมยั โดยท่วั ไป MIS มักรวมระบบ TPS เข้าไว้ดว้ ย
2.5.3 ระบบชว่ ยตัดสินใจ (Decision Support System : DSS)
ระบบช่วยตดั สนิ ใจ หมายถงึ ระบบหนา้ ทท่ี าหน้าทจี่ ดั เตรียมสารเทศ เพ่ือช่วยในการ
ตดั สินใจ หากเป็นการใช้โดยผูบ้ รหิ ารระดับสงู เรียกระบบน้ีว่า “ระบบสนับสนนุ การตดั สินใจเพอ่ื
ผบู้ รหิ ารระดับสูง” (Executive Support System : ESS) บางคร้ังสารสนเทศที่ TPS และ MIS ไม่
สามารถช่วยให้ผู้บริหารตดั สินใจไดจ้ าเปน็ ต้องพฒั นาระบบช่วยตัดสินใจ DSS ขน้ึ เพอ่ื ช่วยในการ
ตดั สินใจภายไต้ผลสรปุ และการเปรียบเทียบข้อมลู จากแหลง่ อื่น ทั้งภายในและองคก์ ร โดยเฉพาะ
อย่างยง่ิ เพอ่ื ช่วยในการตัดสนิ ใจท่ีไม่ได้คาดไว้ล่วงหนา้ เช่น การตัดสนิ ใจเก่ียวกับการรวมบรษิ ัทและ
การหาบรษิ ัทรว่ ม การขยายโรงงานงานผลติ ภณั ฑใ์ หม่ เป็นต้น
2.5.4 ระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจแบบกลมุ่ (Group Decision Support System: GDSS)
เปน็ ระบบย่อยหนึ่งของระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ โดยทร่ี ะบบสนับสนนุ การ
ตดั สนิ ใจจะชว่ ยผู้บรหิ ารในเรือ่ งการตัดสินใจในเหตุการณ์ หรอื กจิ กรรมทางธุรกจิ ทีไ่ ม่มีโครงสร้าง
แนน่ อน หรือกี่งโครงสร้าง ระบบสนบั สนุนการตดั สินใจอาจใช้คนคนเดียว หรือกลุ่ม นอกจากนั้นยงั มี
ระบบสนบั สนนุ ผบู้ ริหารเพอื่ ช่วยผู้บริหารตดั สนิ ใจในเชิงกลยทุ ธ

25

2.5.5 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ( Geographic Information System: GIS)
เปน็ กระบวนการทางานเก่ยี วกับข้อมลู ในเชิงพื้นทด่ี ว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ ทีใ่ ช้กาหนด

ขอ้ มูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพนั ธก์ บั ตาแหน่งในเชงิ พื้นที่ เชน่ ทอ่ี ยู่ บา้ นเลขที่ สมั พนั ธ์กบั
ตาแหนง่ ในแฟนที่ เส้นรุ้ง เสน้ แวง

2.5.6 ระบบสารสนเทศเพ่ือผู้บรหิ ารระดับสงู (Executive Information System : EIS)
เป็นระบบสารสนเทศท่ีสรา้ งข้ึนเพอ่ื สนับสนนุ การตดั สินใจของผบู้ รหิ ารระดับสูง

โดยเฉพาะ โดยเฉพาะช่วยให้ผบู้ ริหารระดับสูงทไี่ ม่คนุ้ เคยกับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์สามารถใชร้ ะบบ
สารเทศได้งา่ ยขน้ึ โดยใชเ้ มาส์เลือ่ นหรือจอภาพแบบสัมผัส เพอื่ เชื่อมโยงขา่ วสารระหว่างกัน

2.5.7 ปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI )
เป็นระบบทที่ าให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชานาญการในสาขาใดสาขาหน่งึ คล้าย

กบั มนุษย์ ระบบนี้จะได้รบั ความรู้จากมนุษย์ผูเ้ ช่ียวชาญในสาขาใดๆ เก็บไวใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์
เพ่ือใหค้ อมพวิ เตอรส์ ามารถวิเคราะห์เหตผุ ล เพื่อตัดสินใจ ซ่ึงเปน็ ความสามารถเฉพาะท่ีทาใหร้ ะบบ
คอมพวิ เตอรส์ ามารถตดั สนิ ใจไดเ้ อง เช่น การวนิ ิจฉยั ความผิดพลาดของรถจักรดเี ซลไฟฟ้าโดยใช้
คอมพิวเตอร์ ช่วยใหผ้ ูบ้ ริหารแกไ้ ขปัญหาหรอื ทาการตัดสนิ ใจไดดด้ ีขึ้น และระบบนจี้ ะช่วยในเรอ่ื ง
การจัดการความรู้มากกว่าสารสนเทศ

2.5.8 ระบบสานกั งานอัตโนมัติ (Office Automation System : OAS)
เป็นระบบสารสนเทศทใี่ ชบ้ คุ ลากรน้อยที่สดุ โดยอาศัยเครื่องมือแบบอตั โนมัติและ

ระบบส่อื สารเช่ือมโยงข่าวสารระหวา่ งเครอื่ งมือเหล่านน้ั เขา้ ด้วยกัน OAS มจี ุดมุง่ หมายให้เป็นระบบ
ที่ ไม่ใช้กระดาษสง่ ขา่ วสารถึงกันดว้ ยขอ้ มูลทางอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange)
แทนซึ่งมีรปู แบบการใชง้ าน 2 ลกั ษณะ คอื

1) รูปแบบของระบบงานพมิ พ์และการประมวลผลทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้แก่ การสื่อสาร
ดว้ ยข้อความ รปู ภาพ E-mail FAX หรอื เสียงเปน็ ตน้

2) รปู แบบการประชมุ ทางไกลดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การประชุมทางไกลแบบมี
แต่เสียง การประชมุ ทางไกลแบบมีทั้งภาพและเสยี ง เปน็ ต้น

26

2.6 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

รูป 2.2 แสดงสว่ นประกอบของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์ ประกอบด้วยส่วนประกอบหลกั 6 ส่วน คอื
2.6.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware) หมายถงึ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณต์ ่อพว่ ง เชน่ แป้นพมิ พ์
เมาส์ หนว่ ยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพมิ พ์ และอุปกรณ์อืน่ ๆ ฮาร์ดแวรจ์ ะทางานตาม
โปรแกรมหรอื ซอฟต์แวรท์ ี่เขยี นขนึ้
2.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software) บางครง้ั เรยี กว่าโปรแกรม หรอื ชดุ คาสั่งวตั ถปุ ระสงค์หลกั ของ
ซอฟต์แวร์ท่สี ัง่ ให้ฮาร์ดแวรท์ างาน คือการประมวลผลขอ้ มลู (Data) ใหเ้ ปน็ สารสนเทศ(Information)
2.6.3 ขอ้ มลู หรอื ข้อสนเทศ (Dataหรือ Information)ในการประมวลผลข้อมูล คอมพวิ เตอร์
จะประมวลผลตามขอ้ มูล หรือข้อสนเทศที่ปอ้ นเขา้ สู่หน่วยรบั ข้อมูล ข้อมลู หมายถึง ข้อเทจ็ จรงิ ทไี่ ด้
จากการรวบรวม ซึ่งอาจจะเป็นตวั เลข ข้อความ รูปภาพ หรอื เสียง เพ่ือให้ระบบคอมพิวเตอรท์ าการ
ประมวลใหไ้ ดส้ ารสนเทศ สารสนเทศ หมายถงึ สิ่งทไ่ี ด้จากการประมวลผลแลว้ ซ่งึ ในในบางครงั้
สารสนเทศอาจจะเป็นข้อมูลเพอ่ื การประมวลผลใหไ้ ด้ข้อสนเทศอีกอย่างหน่ึงก็ได้ เชน่ คะแนนสอบ
ของนักศึกษาเปน็ ข้อมูล เม่ือผ่านการตัดเกรด จะไดเ้ กรดเป็นสารสนเทศ และเม่ือนาเกรดนกั ศึกษาไป
คานวณหาคา่ เฉล่ีย เกรดของนักศกึ ษาจะเปน็ ข้อมูล และสารสนเทศที่ได้คือเกรดเฉลยี่ (GPA)
2.6.4 บคุ คลากร (Personal) หรือ ผู้ใช้ (User) โดยการทางานดว้ ยคอมพิวเตอร์ต้องมีคนผู้มี
ความร้คู วามสามารถ ความเข้าในในระบบสารสนเทศ และควบคุม ส่งั การ ทาใหร้ ะบบงานสารสนเทศ
ทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2.6.5 กระบวนการทางาน (Procedure) เป็นข้นั ตอนการทางานเพ่ือใหไ้ ดผ้ ลลัพธห์ รือ
สารสนเทศเป็นระเบยี บวิธกี ารในการปฏิบตั ิงานของระบบเพ่ือให้ไดร้ ะบบสารสนเทศให้ตรงกบั ความ
ตอ้ งการของหนว่ ยงาน เช่น กาหนดการป้อนข้อมูลทกุ วัน ข้อมลู มีการรายงานผลรายวนั รายสัปดาห์
และรายเดือน หากระบบใดมีปัญหากจ็ ะทาให้ระบบทงั้ ระบบเกดิ ปัญหาได้

27

2.6.6 เครือข่ายและการสื่อสารข้อมลู (Network and Communication) คือการเช่อื มโยง
ระบบคอมพิวเตอร์เขา้ กับระบบการสื่อสารข้อมลู โดยใช้เครื่องมือการสื่อสารโทรคมนาคมเพือ่ ให้มีการ
ติดตอ่ สอ่ื สารระหว่างกนั โดยการเช่ือมโยงอาจใช้สายเคเบิลชนิดตา่ ง ๆ รวมทั้งการเชือ่ มโยงในระบบ
ไร้สาย หรือระบบดาวเทยี ม ระบบการส่ือสารที่ใหญ่ที่สดุ ในปจั จุบนั คือระบบอนิ เทอร์เนต็

2.7 ความหมายของระบบเครือข่าย

ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ เปน็ ระบบเชื่อมโยงระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอรต์ ้ังแต่ 2 เครื่องข้ึนไป
เพื่อการส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกันได้ อีกความหมาย ของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ คือ ระบบการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ จานวนหลายๆ เคร่ือง เชื่อมโยง
เข้ากับคอมพวิ เตอร์ ขนาดใหญท่ เี่ รียกวา่ โฮสต์ โดยผ่านสายเคเบิลชนิดต่างๆ โฮสต์คอมพิวเตอร์
เป็นศูนย์กลางในการจัดเก็บ และประเมินผลเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีการแลกเปล่ียนข้อมูล
ระหว่างไคลเอนท์กับโฮสต์ และเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ สามารถเช่ือมต่อระหว่างกนั และ
ทาให้เกดิ เปน็ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง กลุ่มของเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่เช่ือมโยง
เข้าด้วยกันอย่างเปน็ ระบบ มีระเบยี บแบบแผนเพ่ือใหค้ อมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์เหล่าน้ันสามารถ
ติดต่อสื่อสารข้อมูลกันได้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์อาจเร่มิ ต้นจาก 2 เคร่อื ง ไปถึงหลายร้อย หลาย
พันเคร่ือง เช่ือมต่อเขา้ ด้วยกนั เพอ่ื แลกเปลี่ยนข่าวสาร เพ่ือใชฮ้ ารด์ แวร์ และซอฟต์แวรร์ ว่ มกนั

รปู 2.3 แสดงการเชื่อมตอ่ แบบจุด ตอ่ จดุ ระหวา่ งเครอ่ื ง 2 เครื่อง

รูป 2.4 แสดงการเชอ่ื มตอ่ คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล กับปลายทางผ่านระบบโทรศัพท์

28

2.8 ประเภทของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

วธิ กี ารกาหนดประเภทของระบบเครือข่าย คือ การพิจารณาระยะทางในการสื่อสารระหว่างผู้
ส่งและผู้รบั ขอ้ มลู ซ่งึ จะแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) , เครือขา่ ย
ระดับเมือง (MAN) และ เครือข่ายระดับประเทศ หรือ ระยะไกล (WAN) ซึ่งแต่ละประเภทก็จะ
แบ่งออกเป็นหลายแบบ บางครั้งประเภทของระบบเครือข่ายก็เป็นแบบผสม เช่น ระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีเห็นทุกวันนี้จะเป็นการเชื่อมต่อระบบเครือขา่ ยระยะไกลเข้ากับระบบ
เครือข่ายทอ้ งถิ่นกันเปน็ จานวนมาก

2.8.1 ระบบเครอื ขา่ ยท้องถนิ่ (LAN : local area network)
เป็นระบบเครือข่ายที่ตั้งอยู่ภายในบริเวณใกล้ๆ หรือ บริเวณที่มีขนาดเล็ก

เช่น ห้องทางานในอาคาร หรือ อาจครอบคลุมพ้ืนท่ีท้ังบริเวณสถานศึกษา ซึ่งเป็นพื้นที่
ขององค์กรเพียงองค์กรเดียว จึงอาจเรียกว่าเครือข่ายองค์กร ข้อมูลทใี่ ชเ้ ป็นเฉพาะกลุม่ ทใี่ ช้งาน
ในองค์กร ท่นี าระบบเครือข่ายท้องถ่ินมาใช้

รูป 2.5 แสดงระบบเครือข่ายท้องถนิ่
2.8.2 ระบบเครือข่ายระดบั เมือง (MAN : metropolitan area network )

ระบบเครือข่ายระดับเมือง ถูกออกแบบมาให้มีการเช่ือมโยงเครือข่ายท้องถิ่นสอง
เครือข่ายเข้าด้วยกัน หรือ ระหว่างระบบเครือข่ายระยะไกล กับระบบเครือข่ายท้องถ่ิน

รปู 2.6 แสดงการเช่อื มตอ่ เครอื ขา่ ยเมอื งในระบบเครือข่ายแบบบสั

29

2.8.3 ระบบเครือขา่ ยระยะไกล (WAN : Wide Area Network)
ระบบเครือข่ายระยะไกล ประกอบด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ และ

เทอร์มินอลหลายเคร่ืองติดต้ังใช้งานอยู่ตามสถานที่ที่ห่างไกลกัน เช่น ห้างโลตัสมีสานักงานใหญ่
ตั้งอยู่ท่ีกรุงเทพฯ แต่มีสาขาเปิดอยู่หลายจังหวัดทั่วประเทศไทย ต้องใช้ระบบเครือข่ายระยะไกล
ในการเช่ือมต่อระบบคอมพิวเตอร์ของทุกสาขา เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ท่ีสานักงานใหญ่
ระบบเครือข่ายประเภทนี้มักจะลดค่าใช้จ่ายในการเดินสายส่ือสารด้วยการใช้สายโทรศัพท์

รูป 2.7 แสดงระบบการเช่อื มโยงเครอื ข่ายระยะไกลผ่านสายโทรศพั ท์

2.9 รูปแบบการเช่อื มตอ่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย หรือ โทโปโลยีของระบบเครือข่าย คือ ลักษณะทางกายภาพ
ภายนอกของเครือข่าย หมายถึง ลักษณะของการเช่ือมโยงสายส่ือสารเข้ากับอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ภายในเครือข่ายด้วยกันรูปแบบของเครือข่ายท้องถิ่น แต่ละแบบมี
ความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกัน จึงมีความจาเป็นท่ีเราจะต้องทาการศึกษาลักษณะและ
คุณสมบัติข้อดีและข้อเสียของโทโปโลยีแต่ละแบบ เพ่ือนาไปใช้ในการออกแบบพิจารณา
เครือข่าย ใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งานรูปแบบของโทโปโลยขี องเครือข่ายหลักๆ มดี งั ตอ่ ไปน้ี

2.9.1 รูปแบบเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology)
รปู แบบเครือข่ายแบบวงแหวน จะเชือ่ มต่อกนั ดว้ ยสายสัญญาณจากโหนดหนง่ึ ไปยังอีก

โหนดหนง่ึ ต่อกันไปเรอ่ื ย ๆ จนกระทั่งโหนดแรก และโหนดสดุ ทา้ ยกจ็ ะมกี ารเชื่อมโยงกนั ทาใหเ้ ปน็
ลกั ษณะแบบลูป วงกลม วงแหวน โดยวงแหวนออกแบบมาเพ่อื ให้เครื่องผใู้ ช้แตล่ ะเคร่อื งเชอ่ื มต่อกับ
เคร่ืองผใู้ ช้ท่ีอยขู่ า้ ง รวมเป็นรูปวงแหวน โดยจะสง่ ขอ้ มูลไปในทศิ ทางเดยี วกันเสมอ และ เครื่องผู้ใช้

30

แต่ละเคร่ือง ที่รับข้อมูลเข้ามาจะเก็บข้อมูล และอ่านข้อมูล ถ้าไม่ใช่ข้อมูลของตนเองจะสง่ ขอ้ มลู
เดิมกลับไปในเครือขา่ ย และส่งต่อไปยังเครื่องในลาดบั ต่อไป เคร่ืองที่เป็นผู้รับข้อมลู จะทาการส่งขอ้ มลู
ตอบรับออกมาแทนท่ขี ้อมลู เดมิ

รูป 2.8 แสดงรปู แบบการเชือ่ มต่อแบบวงแหวน

2.9.2 รปู แบบเครือขา่ ยแบบบัส (Bus Topology)
รูปแบบเครือข่ายแบบบัส ใช้สายส่ือสารเส้นหนึ่งเป็นแกน หรือสายส่ือสารหลัก

เพือ่ ให้อปุ กรณ์ทุกชนดิ เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ทีป่ ลายสายทัง้ สองขา้ งจะมีอปุ กรณ์ท่ีติดต้ังไว้เรยี กว่า
หมวก หรือ หัวปิดสาย (Terminator) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสัญญาณสะท้อนกลับ (Echo) ซึ่งจะ
ย้อนกลับไปทาให้สัญญาณข้อมูลจริงเสียหาย ข้อแตกต่างท่ีสาคัญจากระบบเครือข่ายวงแหวน
คอื ท่ีปลายสายของระบบบัสไม่ได้เชื่อมต่อเข้าดว้ ยกนั ข้อมูลท่สี ง่ ออกมาจากอุปกรณ์ตัวใดก็ตาม
จะถูกสง่ ออกไปตลอดทวั่ สายท้ังเสน้

รูป 2.9 แสดงการเชื่อมต่อรปู แบบบสั

31

รปู แบบเครือข่ายแบบบัสได้รับความนยิ มมากเนื่องจาก ราคาถกู ใช้สายสอื่ สารน้อย
และงา่ ยต่อการติดตัง้ มากท่สี ุด เครือ่ งเซิร์ฟเวอรส์ ามารถเชอื่ มต่อเข้าทจี่ ดุ ใดในบัสกไ็ ด้ เครอ่ื งอ่ืนและ
อปุ กรณจ์ ะเชื่อมตอ่ เขา้ ด้วยกนั ในลกั ษณะเดียวกบั ระบบวงแหวน ยกเวน้ ที่ปลายสายจะติดต้ังหมวกปิดสาย
แทนที่จะเช่ือมต่อกันเป็นวงกลม

ข้อดีของเครอื ขา่ ยแบบบสั
1) ถา้ เครื่องผใู้ ช้เครือ่ งหนึ่งหยดุ ทางาน อปุ กรณ์เชอ่ื มต่อยังทางานไดร้ ะบบ

ก็สามารถทางานไดต้ อ่ ไป
2) ไดร้ ับความนยิ มสูง เนอื่ งจาก เป็นระบบเครือข่ายทมี่ ีราคาถกู
3) ประหยดั สายสอ่ื สาร เป็นเครอื ขา่ ยทใ่ี ชส้ ายส่อื สารน้อย

ขอ้ เสียของเครือข่ายแบบบัส
1) การไหลของขอ้ มูลที่เป็น 2 ทศิ ทาง ถ้าเกิดความเสยี หายจะหาได้ยาก
2) โหนดท่ถี ดั ต่อไปจากจุดท่เี กดิ ความเสียหายจนถึงปลาย จะหยดุ ทางาน
3) ถ้าสายสื่อสารชารุดหรือขาดทาให้ระบบเครือข่ายท้ังระบบหยดุ ทางาน

2.9.3 รปู แบบเครอื ข่ายแบบดาว (Star Topology)
รูปแบบเครือข่ายแบบดาว ประกอบด้วยอปุ กรณส์ ือ่ สารศูนยก์ ลาง เรยี กว่า ฮบั

(Hub) อุปกรณ์ทงั้ หมดจะเช่ือมต่อตรงมายงั ศูนย์กลาง ข้อมูลแต่ละเคร่ืองจะต้องส่งมาท่ีฮับเพ่ือส่ง
ต่อไปยังเคร่ืองผู้รับได้ทันที โดยไม่ต้องใช้การส่งผ่านเคร่ืองอ่ืน ๆ ในเครือข่าย

รปู 2.10 แสดงระบบเครอื ขา่ ยแบบดาว

ข้อดีการเชอ่ื มต่อรปู แบบดาว
1) ตดิ ตงั้ งา่ ย

32

2) การเชอ่ื มเครือ่ งคอมพวิ เตอรใ์ หม่ ทาได้งา่ ย และไมก่ ระทบกบั ระบบ
3) สง่ ขอ้ มูลไดป้ ริมาณมาก และตลอดเวลา
4) ถา้ เคร่ืองในเครอื ขา่ ยเสยี สามารถตรวจหาไดง้ ่าย
5) เป็นรูปแบบท่ีมีประสิทธภิ าพสูง
ขอ้ เสียการเชื่อมต่อรปู แบบดาว
1) เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีทาหน้าทเ่ี ปน็ ศูนย์กลางมรี าคาแพง
2) ถา้ ศนู ย์กลาง เกิด ความเสียหายจะทาให้ทง้ั ระบบทาหยดุ ทางาน
3) ใช้สายสอ่ื สารมากกว่าแบบอ่นื

37

หนว่ ยที่ 3 ความรเู้ กีย่ วกบั ระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็

สาระสาคัญ

ระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต็ เป็นการเช่อื มโยงระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทว่ั โลกเข้าด้วยกนั
โดยใชเ้ คร่ืองมือโทรคมนาคมที่มีความทันสมยั เพื่อเพ่ิมประสทิ ธฺภาพของการสอื่ สารให้กับมนุษย์ทั่ว
โลกและมีการพฒั นาเคร่อื งมือสาหรับการส่ือสารหลากหลายประเภทเพื่อใหเ้ ขา้ ถงึ ระบบเครือข่าย
อนิ เทอรเ์ นต็ มกี ารพฒั นาโปรแกรม แอพพลิเคช่ันให้ใชง้ านหลากหลายจนทุกหน่วยงาน ทุกองค์กร
เห็นความสาคัญจนระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตและเคร่ืองม่อื สาหรบั การส่ือสารเปน็ ส่วนหนง่ึ ใน
ชวี ิตประจาวนั ของทุกคน

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. บอกความหมายระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต็
2. บอกประวัตคิ วามเป็นมาของระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
3. บอกวิธีการเชอ่ื มโยงเข้าสูร่ ะบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็
4. บอกความหมายของโดเมน
5. บอกความหมายและความจาเป็นของหมายเลขไอพีเอสเดรส
6. อธบิ ายหลกั การโดเมนเนมแต่ละระดับได้
7. บอกความหมายของโปรโตคอลได้
8. บอกประเภทของบริการทีม่ ีในอินเทอร์เนต็ ได้
9. สามารถยกตัวอยา่ งประโยชน์การใช้งานอินเทอรเ์ น็ตเพื่อการศกึ ษาได
10. ปฏบิ ัตกิ ารเลือกและใชง้ านโปรแกรมในอนิ เทอร็เนต็ ได้

38

3.1 ความหมายของอนิ เทอร์เนต็ (Internet)

อินเทอร์เนต็ (Internet) มาจากคาว่า Interconnection Network หมายถงึ เครือขา่ ย
คอมพิวเตอร์สาธารณะท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ไม่มีใครเป็นเจ้าของประกอบด้วยการเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอรจ์ านวนมาก ผ่านทางผู้ให้บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็ เรียกกวา่ ไอเอสพี (ISP: Internet
Service Provider) ซ่ึงให้ผู้ใช้ตอ้ งเปน็ สมาชิกจึงจะเช่ือมต่อ และใช้บรกิ าร ๆ

3.2 ประวัติความเปน็ มาของอนิ เทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ต กาเนิดมาจากการใช้งานเครอื ข่ายสือ่ สารของกระทรวงกลาโหม ประเทศ
สหรัฐอเมรกิ า ตอ่ มามีการพัฒนาการใช้งานส่หู น่วยงาน และสถาบันการศึกษา เรยี กว่า อารพ์ าเน็ต
(ARPANET) มีการเชื่อมโยงเครือข่ายของสถาบันการศึกษา 4 แหง่ ไดแ้ ก่ 1) มหาวิทยาลัยแคลฟิ อร์เนยี ท่ี
ลอสแองเจลิส 2) มหาวิทยาลัยยูทาห์ 3) มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ท่ีซานตาบาร์บารา 4)
สถาบัน วจิ ัยแหง่ มหาวทิ ยาลัยสแตนฟอร์ด

เครือข่ายอาร์พาเน็ต มีจุดมุ่งหมายหลักให้คอมพิวเตอร์จากหน่วยหน่ึงสามารถเชื่อมต่อ
กับกันโดย ข้อมูลท่ีส่งระหว่างกันสามารถท่ีจะมีเส้นทางออกไปยังปลายทางได้มากกว่าหนึ่งเส้นทาง
เชน่ ในกรณถี ูกโจมตจี ากฝ่ายขา้ ศกึ ตรงกันข้าม ต่อมามหี น่วยงานท้งั จานวนมากเหน็ ถึงประโยชนก์ าร
เชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยอารพ์ าเน็ต จึงนาเครอื ขา่ ยของตนเองมาเช่อื มตอ่ เขา้ กับระบบเครือข่ายอาร์พาเน็ต
มกี ารขยายขนาดมากข้นึ เรื่อย ๆ จนกระท่ังในปี ค.ศ.1984 เครือขา่ ย ถูกขนานนามวา่ "อนิ เทอร์เนต็
(Internet) " และใช้ช่อื นม้ี าจนถงึ ปัจจุบัน

เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายสาธารณะที่เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนสามารถที่จะเข้าสู่ระบบ
เครือข่ายได้อย่างกว้างขวาง ซึง่ เครื่องคอมพวิ เตอรต์ า่ ง ๆ ที่เช่อื มต่อเขา้ สู่อินเทอร์เนต็ จะต้องใช้
มาตรฐานของรูปแบบการสือ่ สาร หรือโปรโตคอลทเ่ี ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั

3.3 การเช่ือมตอ่ เขา้ สู่ระบบอนิ เทอร์เน็ต

รปู แบบการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต วิธีการเช่ือมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตมีอยู่หลายวิธี โดย
สามารถแบ่งได้ได้ดงั น้ี

3.3.1 เชื่อมต่อผ่านโมเด็ม เป็นการเชื่อมต่อโดยใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ต่อพ่วงโมเด็ม
ผ่านสายโทรศัพท์ มีหลายแบบให้เลอื กใช้ดงั ตอ่ ไปน้ี

1) การเชื่อมตอ่ โดยสายโทรศัพท์ กับ โมเด็มธรรมดา โดยความเร็วโมเด็มมักอยู่ท่ี
56.6 Kbps เป็นการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตจากท่ีบ้าน ซ่ึงยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้า
สู่เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต ผ้ใู ช้ต้องสมคั รเป็นสมาชกิ กับผใู้ ห้บรกิ ารอินเทอร์เน็ต จะไดเ้ บอรโ์ ทรศัพท์ของ
ผู้ใหบ้ ริการอนิ เทอรเ์ นต็ รหสั ผใู้ ช้ (User name) และรหสั ผ่าน (Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ระบบ

39

อินเทอร์เนต็ ไดโ้ ดยใชโ้ มเด็ม ท่เี ชื่อมต่อกับคอมพิวเตอรข์ องผู้ใชห้ มนุ ไปยงั หมายเลขโทรศพั ท์ของผู้
ให้บรกิ ารอินเทอรเ์ น็ต จงึ สามารถใช้ งานอินเทอรเ์ นต็ ได้

2) การเชือ่ มต่ออนิ เทอร์เน็ตความเรว็ สูง ที่เรยี กว่า ADSL หรือ บรอดท์แบนด์ โดยต้อง
มีโมเด็มชนิด ADSL ต่อเช่ือมกับคอมพิวเตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์ เช่นเดียวกัน แต่จะได้
ความเร็วสูงกว่า โมเดม็ ธรรมดา แตต่ อ้ งอุปกรณ์พิเศษทช่ี มุ สายด้วยจงึ จะได้ความเรว็ ท่ีสูง

รูป 3.1 การเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ แบบใชโ้ มเด็ม
3.3.2 การเช่อื มต่อเครือขา่ ยเข้าสูร่ ะบบเครือข่ายองคก์ ร เปน็ การเช่อื มต่อคอมพิวเตอรเ์ ขา้ สู่
เครือข่ายท่ีมีให้บริการขององค์กร โดยองค์กรจัดทาเครือข่ายขึ้น จะต้องมีเคร่ืองให้บริการ ทา
หน้าที่เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต และเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีการ์ดเครือข่ายอยู่ภายใน
และเช่ือมต่อด้วยสายสัญญาณ สามารถเช่ือมต่อระบบอินเทอรเ์ นต็ ไดต้ ลอด 24 ชม. ซงึ่ มีค่าใช้จา่ ย
สูงกวา่ แบบแรก ค่าใช้จ่ายขน้ึ อยู่กับความเร็วอินเทอร์เนต็ ท่ีเลือกใช้

รปู 3.2 วิธีการเชอื่ มต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กร
3.3.3 การเชื่อมต่อแบบอน่ื ๆ ปจั จบุ ันการเชื่อมต่อกบั อินเทอร์เน็ตมีหลายรูปแบบมีการพัฒนา
อุปกรณ์เพ่ือเชอ่ื มโยงเข้าสู่อินเทอร์เนต็ อยา่ งมากมาย สามารถจาแนกได้ ดังนี้

40

1) อินเทอรเ์ นต็ แบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ หรือการเชื่อมต่อ
อนิ เทอร์เนต็ ไร้สายทม่ี ใี หบ้ ริการของบริษัทมือถือ โดยการเปดิ ขอใชบ้ ริการจากสัญญาณทส่ี ามารถ
ไดร้ บั จากการปลอ่ ยสัญญาณคลืน่ ของพนื้ ท่ีใหบ้ รกิ าร และต้องมหี มายเลขผ้ใู ชแ้ ละรหัสเพอ่ื เข้าใช้งาน
โดยผใู้ ช้มีโมเด็มเพื่อเชอ่ื มโยงใช้งาน

2) การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) โดยอาศัย
WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้ภาษา
WML (Wireless Markup Language) โทรศัพทม์ ือถือปจั จบุ นั หลายๆยีห่ อ้ จะสนับสนนุ การใช้
WAP ซงึ่ มคี วามเรว็ ในการรบั ส่งข้อมลู ท่ี 9.6 kbps

3) GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาข้ึนเพ่ือให้
โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ใน
รปู แบบของมัลติมีเดยี ซ่ึงประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดโิ อ ความเร็วในการรบั สง่
ข้อมลู ด้วยโทรศัพท์ท่ีสนับสนนุ GPRS

4) โทรศพั ทร์ ะบบ CDMA (Code Division Multiple Access) รองรับการส่ือสาร
ไร้สายความเรว็ สงู ไดเ้ ป็นอย่างดี ทาการรับสง่ ข้อมูลได้สงู สุด 153 Kbps ระบบ CDMA สนบั สนนุ
การสง่ ข้อมูลระบบมัลติมเี ดีย

5) เทคโนโลยีบลูทูธ (Bluetooth Technology) ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับการ
ส่ือสารแบบไร้สาย โดยใช้หลักการการส่งคลื่นวิทยุ ท่ีอยู่ในย่านความถ่ีระหว่าง 2.4 - 2.4 GHz ใน
ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ต่างๆ ท่ีใช้เทคโนโลยีบลูทูธ เพ่ือใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลาย ๆ ชนิด เช่น
โทรศัพทเ์ คลือ่ นท,่ี คอมพวิ เตอร์โนต้ บุ๊ค และ พ็อกเก็ตพีซี

6) การเชื่อมต่ออนิ เทอร์เนต็ แบบซมิ การ์ด ท่ีเป็นซิมเล่นอินเทอรเ์ น็ต สามารถใชง้ านกับ
โทรศพั ท์ และคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊กได้ ปัจจบุ นั มีทง้ั การใชท้ งั้ ระบบ Wi-Fi และระบบ 3G ซ่ึงมกี าร
แข่งขนั กันสูงทาให้มรี าคาถกู ลง อีกท้ังมีความเรว็ มากขน้ึ

3.4 ไอพแี อดเดรส (IP Address)

3.4.1 ความรเู้ กีย่ วกับไอพแี อดเดรส และ โดเมนเนม
ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ เปน็ การส่งข้อมูลผา่ นเครือข่ายจากเคร่ืองหน่ึงไปอีกเคร่ือง

เปรยี บเหมือนการสง่ จดหมายในชวี ิตประจาวัน เมอื่ จะสง่ ไปหาใคร กต็ ้องมีการเขียนทชี่ อื่ และท่ีอยู่
ปลายทาง จงึ จะสามารถส่งไปยังปลายทางได้ เมอื่ ต้องการสื่อสารเครื่องอืน่ ในเครือข่าย ต้องทราบที่
อยู่ของเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ คร่ืองนนั้ ในระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ จะต้องใช้กฎระเบยี บการสือ่ สาร
หรอื โปรโตคอล ซ่ึงทกุ เครอื่ ง จะต้องมีหมายเลขประจาเคร่ืองที่ไมซ่ า้ กบั เคร่ืองอืน่ ซ่งึ มีช่ือเรียกว่า
ไอพแี อดเดรส

41

ไอพีแอดเดรส มีลกั ษณะเปน็ ตัวเลข 4 ชุดท่มี จี ดุ ( . ) ค่ัน เช่น 193.167.15.1 เปน็ ต้น
ตวั เลขแต่ละชุดจะมีคา่ ได้ตงั้ แต่ 0 – 255 เครื่องคอมพิวเตอร์ ทีม่ หี มายเลขไอพีแอดเดรสเป็นของ
ตวั เอง และใชเ้ ปน็ ทเ่ี ก็บเวบ็ เพจ เราเรียกวา่ เซริ ์ฟเวอร์ หรือโฮสต์ สว่ นองค์กร หรือผูค้ วบคุมดแู ล
และจัดสรรหมายเลขไอพแี อดเดรส เราเรียกว่า อินเทอร์นกิ

3.4.2 หมายเลขไอพีแอดเดรส
สว่ นที่เกยี่ วข้องกับผใู้ ช้ในการเรยี กเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ต ซ่ึงทาง

เทคนคิ เรียกวา่ ท่ีอยู่ หมายเลขไอพีแอดเดรส เป็นตวั เลขประจาเคร่ืองเครื่องคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ชอ่ื มต่อ
ในระบบอินเทอร์เน็ต คล้าย ๆ กับเครื่องโทรศัพท์ที่มีเบอร์เฉพาะตัว ซึ่งมีเพียงเบอร์เดียวในโลก
เช่น เครื่อง UDVC ซ่ึงเป็น ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี มี IP Address เป็น 202.28.156.98
ตัวเลขที่เป็นพีเอดเดรส เป็นตัวเลขขนาด 32 บิต แบ่งออกเปน็ 4 ชดุ ๆ ละ 8 บิต ดังนนั้ ตัวเลข 1 ชดุ
ทีเ่ ราเหน็ คน่ั ด้วยจุดนั้น จงึ แทนได้ด้วยตวั เลขจาก 0 ถึง 255 ตัวเลข 4 ชดุ น้ีจะถูกแบ่งออกเป็น 2 สว่ น
คอื หมายเลขอนิ เทอรเ์ น็ต และ สว่ นของ หมายเลขเครื่องโฮสต์ แบ่งเปน็ 4 คลาส ดังน้ี

1) คลาส A เป็นเน็ตเวิร์กขนาดใหญ่ มีหมายเลขในเครือข่าย ต้ังแต่ 1.0.0.0 ถึง
127.0.0.0 ใน คลาส นี้ จะมีส่วนของ หมายเลขเครื่อง ถงึ 24 บิตซง่ึ อนญุ าตให้มจี านวนเครื่องได้
1.6 ลา้ นเครือ่ งใน 1 เนต็ เวริ ์ก ซ่ึงจะมีเนต็ เวริ ก์ ขนาดใหญแ่ บบนี้ได้เพียง 127 เน็ตเวิรก์ เท่านัน้

2) คลาส B เป็นเน็ตเวิร์กขนาดกลาง มีหมายเลขเครื่อง ต้ังแต่ 128.0.0.0
ถึง 191.255.0.0 นั่นคอื ใน คลาส นี้มีสว่ นของ หมายเลขเครอื่ ง 16 บิต ทาให้มจี านวนของเนต็ เวิร์ก
ได้ถึง 16320 เน็ตเวิรก์ และ 65024 โฮสต์

3) คลาส C เป็นเน็ตเวิร์กขนาดเล็ก มี หมายเลขเครื่อง ต้ังแต่ 192.0.0.0 ถึง
223.255.255.0 นั่นคอื ใน คลาส นี้มีสว่ นของ หมายเลขเคร่ือง 24 บิต และ สว่ นของ หมายเลขโฮสต์
8 บิต ทาให้มีจานวนของเน็ตเวิร์กได้ถึง 2 ล้านเน็ตเวิร์ก และมีจานวน โฮสต์ ในแต่ละเน็ตเวิร์ก
เทา่ กบั 254 hosts

4) คลาส D เป็นส่วนทเี่ ก็บรกั ษาไว้สาหรับใชใ้ นอนาคต มี หมายเลขไอพีแอดเดรส
ตง้ั แต่ 224.0.0.0 ถึง 254.0.0.0

3.4.3 Domain Name System (DNS)
โดเมนเนม เปน็ ระบบท่นี าตัวอักษร ทจี่ าได้ง่ายเขา้ มาแทนหมายเลขไอพีแอดเดรส ที่

เป็นตัวเลขซง่ึ ยากแกก่ ารจดจา ซงึ่ แตล่ ะโดเมนจะมีช่ือไม่ซ้ากนั และมักจะถูกต้ังใหค้ ลา้ ยกบั ชือ่ ของ
บริษทั หนว่ ยงาน หรอื องค์กรของผู้เป็นเจา้ ของ เพ่อื ความสะดวกในการจดจา รวมทงั้ สะดวกในการ
อ้างถึง เครอื่ งบนอนิ เทอร์เน็ต เรียกว่า DNS ตัวอย่างเช่น www.nectec.or.th แต่ในการใชง้ าน
จริงน้ันเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เราใช้อยู่ เม่ือรับคาส่ังแล้วจะส่งคาขอ เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีทาหน้าที่
บริการบอกเลขหมาย ไอพีแอดเดรส คลา้ ยสมดุ โทรศัพท์ ซึ่งเรียกกนั ว่าเป็น DNS Server เม่อื ไดร้ ับ

42

การร้องขอ ก็จะตอบเลขหมายกลับมาให้ เช่น สาหรับ www.nectec.or.th นั้นจะตอบ
กลับมาเป็น 164.115.115.9 จากนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์จึงจะเร่ิมติดต่อกับคอมพิวเตอร์
เป้าหมาย ถ้าทราบหมายเลขไอพีแอดเดรส สามารถใช้ได้ตรง ๆ ไม่จาเป็นต้องพ่ึงสมุดโทรศัพท์
ของ Name Server เหตุน้ีจึงทาการเก็บช่ือและไอพีแอดเดรสไว้ในสมุดโทรศัพท์ประจา
เคร่ือง เช่น บนระบบ ปฏบิ ัติการยูนิกซ์มีไฟล์ /etc/hosts เอาไว้เก็บชื่อ DNS ที่ใช้บ่อย ๆ
ตัวอย่าง การแบ่งโดเมนเนมแสดงได้ดังตารางด้านล่าง

ตาราง 3.1 แสดงการกาหนดโดเมน และความหมายของโดเมน

โดเมนเนม ความหมาย

Com กลุ่มองค์การค้า (Commercial)
Edu กล่มุ การศึกษา (Education)
Gov กลุ่มองค์กรรัฐบาล (Governmental)
Mil กลมุ่ องค์กรทหาร (Military)
Net กลมุ่ องค์การบรหิ าร (Network Service)
Org กลุ่มองค์กรอน่ื ๆ (Organizations)

ตาราง 3.2 แสดงการกาหนดโดเมน และความหมายของโดเมนท่เี ป็นชื่อย่อประเทศ

โดเมนท่เี ปน็ ชอื่ ย่อของประเทศ ความหมาย

au ออสเตรเลยี (Australia)
fr ฝรง่ั เศส (France)
th ไทย (Thailand)
jp ญี่ปุ่น (Japan)
uk อังกฤษ (United Kingdom)

3.5 โปรโตคอลของอนิ เทอร์เนต็ ( Internet Protocol )

โปรโตคอล คือ ตัวกลาง หรือภาษากลาง ท่ีใช้เป็นมาตรฐานสาหรับการส่ือสาร ในระบบ
เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เพือ่ ใชต้ ิดต่อสือ่ สารเชื่อมโยงกัน ระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ ซง่ึ แตล่ ะเคร่ืองมี
ความแตกต่างกัน ทั้งรุ่นและขนาดของคอมพิวเตอร์ ถ้าขาดโปรโตคอลก็จะไม่สามารถท่ีจะติดต่อ
สอ่ื สารให้เขา้ ใจกันได้ โปรโตคอลทาหน้าท่ีเปรียบเหมือนเป็นล่ามที่ใช้แปลภาษา ของระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

43

โปรโตคอลที่ใช้งานในอินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP หลักการทางาน จะแบ่งข้อมูลท่ีจะ
ส่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ เรียกว่า แพ็กเก็ต (Packet) แล้วส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต โดยจะกระจายแพ็กเก็ตออกไปหลายเส้นทาง โดยจะไปรวมกันท่ีปลายทาง และ
ถูกนามาประกอบรวมกนั เปน็ ขอ้ มลู ท่สี มบูรณ์อีกคร้ัง โปรโตคอล TCP/IP (TCP :Transmission
Control Protocol และ (IP : Internet Protocol )

ตวั อย่าง การสง่ อเี มลไ์ ปหาเพ่ือน อีเมล์จะถูกตดั ออกเป็นแพก็ เก็ตขนาดเล็กหลาย ๆ อนั ซง่ึ
แต่ละอันจะมหี มายเลขปลายทางถึงผ้รู บั เดยี วกนั แพ็กเกต็ จะว่งิ ไปรวมกบั แพ็กเก็ต ของคนอน่ื ๆ
แพก็ เกต็ จะวิง่ ผ่านชมุ ทาง โดยจะอ่านหมายเลขปลาย แล้วจะบอกทิศทางที่แพ็กเก็ต จะว่ิงไป เม่ือ
ไปถึงเกตเวย์ใหม่ ก็จะกาหนดเส้นทางให้วิ่งไปที่อยู่ถัดไป จนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง เช่น
ติดต่อกับเคร่ืองในอเมริกา อาจจะต้องผ่านเกตเวย์ถึง 10 แห่ง เมื่อวิ่งมาถึงปลายทางแล้ว
เครื่องปลายทางกจ็ ะเอาแพ็กเกต็ เหล่าน้ันมาเกบ็ สะสมจนกว่าจะครบ จึงจะต่อกลับคืนให้เป็น อเี มล์
เพื่อให้สามารถอ่านข้อความได้

รูป 3.4 TCP/IP การแบ่งข้อมูลเปน็ แพ็กเกต็ ส่งไปบนสาย และไปรวมทป่ี ลายทาง
การทขี่ ้อมูลมีลักษณะเป็นแพ็กเก็ตทาให้ สายสื่อสารสามารถท่ีจะขนส่งข้อมูลโดย ไม่
ต้องจองสายไว้ สายส่งจึงสามารถใช้ร่วมกันกับข้อมูลที่ส่งจากเครื่องอ่ืนได้ ต่างจากสายส่งใน
ระบบโทรศพั ทท์ ขี่ ณะใชง้ าน จะไม่มใี ครสามารถใชส้ ายส่งร่วมได้

3.6 บริการในอนิ เทอร์เน็ต

3.6.1 เวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ (WWW) หรือ เครือข่ายใยแมงมุม เปน็ ลกั ษณะของการเชื่อมโยงข้อมูล
จากทหี่ น่งึ ไปยงั อีกทีห่ น่ึงเรื่อยๆ เวลิ ดไ์ วด์เว็บ เปน็ บริการทีไ่ ด้รบั ความนยิ มมากท่ีสดุ ในการเรียกดู
เวบ็ ไซต์ตอ้ งอาศัยโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (web browser) ในการดขู ้อมูล เว็บบราวเซอร์ทไ่ี ด้รับ
ความนยิ มใช้ในปัจจุบัน เชน่ โปรแกรม Internet Explorer , Netscape Navigator

44

รปู 3.5 แสดงโปรแกรมท่ีเปน็ เวบ็ บราวเซอร์ Internet Explorer
3.6.2 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อเี มล์ (Electronic Mail) การติดต่อส่ือสารโดยใช้อีเมล์
สามารถทาได้โดยสะดวก และประหยัดเวลา หลกั การทางานของอีเมล์ก็คลา้ ยกับการสง่ จดหมาย
ธรรมดา นัน้ คอื จะต้องมที ี่อยู่ที่ระบุชัดเจน กค็ ือ อีเมลแ์ อดเดรส (E-mail address)

1) องค์ประกอบของ อเี มล์ ประกอบดว้ ย
(1) ช่อื ผู้ใช้
(2) ชอื่ โดเมน

ชื่อผใู้ ช้ ชอื่ โดเมน

[email protected]

รปู 3.6 แสดงหมายเลขอเี มล์ท่รี ะบุชอ่ื ผใู้ ช้ และช่ือโดเมน
2) การใช้งานอีเมล์ สามารถแบ่งไดด้ ังนี้ คือ

(1) Corporate e-mail คือ อีเมล์ ท่ีหนว่ ยงานต่างๆ สร้างข้ึนใหก้ บั พนกั งาน หรือ
บุคลากรในองค์กรนนั้ เชน่ [email protected] คอื e-mail ของนักศกึ ษาของนักศึกษาวิทยาลัย
อาชีวศึกษาอุดรธานี เปน็ ตน้

(2) Free e-mail คือ เว็บเพ็จที่ให้บริการในระบบอินเทอร์เน็ต โดยผู้ใช้
สามารถสมัครใช้งานได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายซ่ึงได้รับความนิยมหลายตัว เช่น gmail.com,
hotmail.com เปน็ ต้น

45

3.6.3 เอฟทีพี (FTP: File Transfer Protocol) บรกิ ารโอนย้ายไฟล์ เปน็ บริการท่ีช่วยในการ
โอนยา้ ยไฟล์จากเครื่องใชง้ านไปสู่เครือ่ งให้บรกิ าร เรยี กว่า อัพโหลด (Up Load) และการโอนย้าย
ไฟล์จากใหบ้ ริการมายังเครื่องใช้งาน เรียกว่า ดาวน์โหลด (Download) แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ

1) เอฟทีพี เคร่อื งให้บรกิ าร (ftp server) เป็นโปรแกรมที่ติดตงั้ ไวท้ เ่ี ครื่องให้บริการทา
หน้าท่ีใหบ้ ริการหากมีการรอ้ งขอจากเครื่องใชง้ านในเครอื ข่าย

2) เอฟทีพี เคร่ืองใช้งาน (ftp client) เป็นโปรแกรมเอฟทีพี ท่ีถูกติดต้ังในเครื่องผู้ใช้
งานท่ัวไป ทาหนา้ ท่ีเชื่อมต่อไปยังเครอ่ื งใหบ้ รกิ าร และทาการเคลื่อนย้ายไฟล์จากเครื่องใชง้ านไปยงั
เครื่องใหบ้ ริการ

ตวั อยา่ งโปรแกรม เอฟทพี ีที่มีใหบ้ รกิ ารฟรี เช่น Filezilla , Wftp และ ESftp

รปู 3.7 แสดงตัวอย่างในการใช้งานโปรแกรมเอฟทพี ี
3.6.4 บรกิ ารสนทนาบนอนิ เทอรเ์ นต็ (Message) คอื การส่งข้อความถงึ กันโดยทนั ทีทนั ใด
สามารถส่งสัญลักษณ์ต่างๆ อาทิ รูปภาพ ไฟล์ข้อมูลได้ด้วย เช่น โปรแกรม MSN Messenger,
face book , Hi5 เป็นต้น


Click to View FlipBook Version