The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 20001 – 2001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2021-04-26 23:45:00

รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 20001 – 2001

รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 20001 – 2001

46

รปู 3.8 แสดงตัวอย่างการใชง้ านโปรแกรม Face book
รูป 3.9 แสดงตัวอย่างการใชง้ านโปรแกรม MSN

รูป 3.10 แสดงตวั อยา่ งการใชง้ านโปรแกรม Hi5

47

3.6.5 บริการคน้ หาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ไดแ้ ก่
1) Web directory คอื การค้นหาโดยการเลือก Directory ท่ีจัดเตรียมและแยก

หมวดหมู่ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว website ท่ีให้บริการ web directory เช่น
www.yahoo.com, www.sanook.com

2) Search Engine คอื การค้นหาข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Search โดยการเอาคาที่
เราตอ้ งการคน้ หาไปเทียบกบั เว็บไซต์ตา่ งๆ ว่ามเี วบ็ ไซต์ ทีใ่ ห้บริการ search engine เชน่
www.yahoo.com, www.sanook.com, www.google.com เปน็ ต้น

รปู 3.11 แสดงตวั อย่างการใช้งาน search engineเว็บไซต์ www.google.co.th
3.6.6 บรกิ ารห้องสนทนา (Chat Room) คอื การสนทนาออนไลน์อีกประเภทหนึ่ง ท่ีมี
การส่งข้อความสั้นๆ ถึงกัน การเข้าไปสนทนาจาเป็นต้องเข้าไปในเว็บไซต์ที่ให้บริการห้อง
สนทนาเชน่ www.sanook.com , www.pantip.com เปน็ ต้น

รปู 3.12 แสดงตวั อยา่ งการใชง้ าน ห้องสนทนา www.pantip.com

48

3.6.7 บรกิ ารกระดานข่าว หรือ เว็บบอรด์ (Web board) เปน็ ศนู ย์กลางในการแสดงความ
คดิ เห็น มกี ารตั้งกระทู้ ถาม-ตอบ ในหวั ขอ้ ทส่ี นใจ เวบ็ บอร์ดของไทยท่ีเปน็ ท่ีนยิ มและมีคนเข้าไป
แสดงความคดิ เห็นเชน่ เว็บบอรด์ ของพนั ธทุ์ ิพย์ (www.pantip.com)

รูป 3.13 แสดงตัวอยา่ งการใชง้ าน หอ้ งสนทนา www.pantip.com

3.7 คาศัพท์ท่ใี ชใ้ นอนิ เทอรเ์ น็ต

3.7.1 เวลิ ดไ์ วด์เวบ็ (WWW : World Wide Web)
เวิลด์ไวดเ์ วบ็ หรือ ทเี่ รียกกันส้ันๆ ว่า "เว็บ" คือ พน้ื ที่ที่เก็บข้อมูลข่าวสารท่ีเชือ่ มต่อ

กันทางอินเทอรเ์ นต็ โดยการกาหนด ยอู าร์แอล เวลิ ด์ไวด์เว็บมักใช้สับสนกับคาว่า อินเทอร์เนต็ แต่
เวิลด์ไวด์เวบ็ เป็นเพยี งแค่บริการหนงึ่ บนอนิ เทอร์เน็ต

เวลิ ด์ไวดเ์ ว็บ คอื คอมพิวเตอรส์ ่วนหนึ่งบนอินเทอรเ์ น็ตท่ีถูกเชื่อมต่อกนั ในแบบพิเศษท่ี
ทาใหค้ อมพิวเตอรส์ ามารถเข้าถึงข้อมูลเน้ือหาทเ่ี กบ็ ไว้ภายในของแตล่ ะเครื่อง ผา่ นทางบราวเซอร์ ซง่ึ
เปน็ ซอฟต์แวรป์ ระเภทหน่งึ ที่ถกู สรา้ งขึน้ เพ่ือใชอ้ า่ นข้อมูลต่าง ๆ ท่มี ีอยู่ใน เวิลดไ์ วด์เว็บ ปัจจุบัน
บราวเซอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันคือ Internet Explorer

3.7.2 HTTP (Hyper Text Transfer Protocol ) และ HTML(Hypertext Markup
Language)

HTTP คอื โปรโตคอลที่ใช้ส่ือสารระหว่าง เครื่องใช้งาน กับเครื่องให้บริการใน
เครอื ข่าย ทาใหท้ ัง้ สองเคร่ืองรู้ว่าจะจัดการส่งข้อมลู ไปอยา่ งไร

HTML คอื ภาษามาตรฐานท่ีใช้ในการสร้างเว็บเพ็จ โดยโปรแกรมบราวเซอร์จะ
แปลงรหัสให้แสดงออกมาเป็นภาพ อักษร หรือข้อมูลมัลติมิเดีย ท่ีอยู่บนเครื่องให้บริการ
ในเครือขา่ ย

49

3.7.3 FTP (File Transfer Protocol)
เปน็ คาส่งั ทใ่ี ช้ในการคัดลอกไฟลร์ ะหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์ คาสั่งนี้ใช้งานอยใู่ น

เครอื ข่ายของ TCP/IP ท่วั ไป และเมื่อมีการให้บรกิ ารของเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ การใหบ้ ริการ FTP
จงึ กลายมาเปน็ บริการหน่งึ ของอนิ เทอรเ์ นต็ โดยผใู้ หบ้ ริการจะจดั เตรียมเคร่ือง คอมพวิ เตอรท์ ี่จะ
ให้บริการ เรยี กวา่ FTP Server ซ่งึ บรรจไุ ฟลข์ ้อมูลตา่ งๆ ไว้ ผใู้ ช้ท่อี ยทู่ วั่ ทุกมุมโลก จะสามารถใช้
คาสง่ั FTP ผ่านอินเทอร์เน็ตเข้ามายงั เครอื่ งใหบ้ ริหารเพื่อทาการคัดลอกไฟลข์ ้อมูลไฟลท์ ่ีเก็บอยบู่ น
เครอ่ื งศูนยก์ ลางเอฟทพี ี แบ่งเป็นหลายประเภท ได้แก่ Freeware, Shareware และ Commercial
ware

3.7.4 โฮมเพจ (Home Page)
โฮมเพจ หมายถึง เวบ็ เพจ หรอื เอกสารหนา้ แรกของเวบ็ ไซตห์ นง่ึ ๆ ซงึ่ เวบ็ เพจหนา้

อ่ืน ๆ ทงั้ หมดในเว็บไซต์น้ันจะถูกเช่ือมโยงด้วยการเชื่อมโยง(link) จากหน้าโฮมเพจ ซึ่งเวบ็ เพจ
อาจจะถูกเชอื่ มโยงโดยตรงจากหน้าโฮมเพจ หรอื โดยทางอ้อมขึ้นอยกู่ ับลาดบั การวางระบบผังขอ้ มูล
ของเว็บไซตน์ ั้นๆ ถา้ เปรียบเทียบกับหนงั สือ โฮมเพจกเ็ ปรยี บเหมือนปกหนงั สือ

3.7.5 เวบ็ ไซต์ (Web site)
เวบ็ ไซต์ หมายถึง หนา้ เวบ็ เพจแต่ละหน้า ที่เช่ือมโยงผ่านทางไฮเปอรล์ งิ ก์ ส่วนใหญ่

จดั ทาขนึ้ เพือ่ นาเสนอข้อมลู ผ่านคอมพวิ เตอร์ โดยถูกจัดเก็บไวใ้ นเวิลด์ไวดเ์ ว็บ ซง่ึ หน้าแรกเวบ็ ไซต์
เรยี กว่า โฮมเพจ เว็บไซตโ์ ดยทว่ั ไปจะให้บริการต่อผใู้ ชฟ้ รี แตใ่ นขณะเดยี วกันบางเว็บไซต์จาเปน็ ต้อง
มีการสมัครสมาชกิ และต้องเสียคา่ บริการในการเขา้ ใชง้ าน

3.7.6 เว็บเซอร์วิส (Web service)
เว็บเซอร์วสิ คือ ระบบซอฟต์แวร์ทีอ่ อกแบบมา เพือ่ สนับสนนุ การแลกเปล่ียนข้อมลู

กัน ระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ผา่ นระบบเครือขา่ ย โดยที่ภาษาทใี่ ช้ในการติดต่อส่ือสารระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ คือ เอกซ์เอ็มแอล ,เว็บเซอร์วิสมอี นิ เทอรเ์ ฟส ทใ่ี ชอ้ ธบิ ายรปู แบบข้อมูลทีเ่ ครือ่ ง
คอมพิวเตอรป์ ระมวลผลได้ เชน่ WSDL ระบบคอมพวิ เตอรใ์ ชง้ านสอื่ สารโต้ตอบกับเว็บเซอร์วสิ ตาม
รูปแบบทไี่ ด้กาหนดไวแ้ ล้ว โดยการสง่ สาสน์ตามอินเตอรเ์ ฟสของเวบ็ เซอรว์ ิสนนั้ สาสน์เหล่านี้ปกติ
แล้วถูกส่งโดยอาศัย HTTP และใช้ XML ร่วมกับมาตรฐานเกี่ยวกับเว็บอ่ืนๆ

3.7.7 เวบ็ เซิร์ฟเวอร์ (Web Server)
เวบ็ เซิรฟ์ เวอร์ คือ โปรแกรมทีท่ าหนา้ ที่จดั สง่ หนา้ เว็บไปยังเครอ่ื งตา่ ง ๆ ที่ส่งข้อความ

เขา้ มาซึ่งอาจเป็นข้อมูลที่อ่านอยา่ งเดียวหรืออาจเป็นแบบโต้ตอบ เชน่ เอกสารทีท่ าเปน็ แบบ ฟอร์มให้
กรอกข้อมูลเมื่อกรอกเสร็จข้อมูลจะถูกส่งไปเก็บในฐานข้อมูล อาจเป็นคอมพิวเตอร์ท่ีรัน
โปรแกรม Web Server และมีหน้าท่ใี หบ้ รกิ าร Web page ต่าง ๆ

50

3.7.8 เวบ็ บราวเ์ ซอร์ (Web Browser)
เว็บบราวเ์ ซอร์ คือ โปรแกรมทเ่ี ชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่

เป็นเซิร์ฟเวอร์ของเครือข่าย ท่ีมีเอกสาร HTML หรือส่ือรูปภาพ ข้อความ เสียง โดยโปรแกรม
เวบ็ บราวเซอร์ จะดึงข้อมูลมาแสดงในเคร่ืองของผ้ใู ช้ พร้อมกบั มีการเช่อื มโยงหน้าเอกสารจากหนา้
หน่งึ ไปยงั เว็บอ่ืน ๆ ในเครือข่าย โดยโปรแกรมทีไ่ ดร้ บั ความนิยมในปจั จุบนั เช่น โปรแกรม Internet
Explorer (IE) , Netscape Navigator

3.7.9 ฟรแี วร์ (Freeware )
ฟรีแวร์ หมายถงึ โปรแกรมท่ีมผี ู้พฒั นาขึน้ เพื่อแจกจา่ ยใหผ้ ู้อ่นื ถ่ายโอนไฟล์ไปใชโ้ ดยไม่

ต้องเสียค่าตอบแทน ผทู้ ่ถี า่ ยโอนไฟล์ไปสามารถพัฒนาและมอบใหผ้ ใู้ ช้อืน่ ใช้งานต่อได้ แตต่ ้องไม่
นาไปขายโดยท่ีไม่ไดแ้ จง้ ให้ผ้พู ฒั นาทราบ

3.7.10 แชรแ์ วร์ (Shareware)
แชร์แวร์ หมายถงึ โปรแกรมทม่ี ผี ู้พฒั นาข้นึ เพื่อต้ังใจจะขาย โดยอนญุ าตให้ผ้ทู ่สี นใจ

ถา่ ยโอนไฟล์โปรแกรมไปทดลองใช้งานกอ่ นโดยทยี่ ังไมต่ ้องจา่ ยเงนิ เมือ่ ใช้แลว้ ชอบและตอ้ งการซอื้ ก็
ค่อยจา่ ยเงินภายหลังซึ่งมกั จะมีราคาไมส่ งู

3.7.11 ไฮเปอรเ์ ท็กซ์ (Hypertext)
ไฮเปอรเ์ ท็กซ์ คอื แนวคดิ ในการเช่อื มโยงเอกสารที่มเี นือ้ หาเก่ียวข้องเข้าดว้ ยกันโดย

ผ้อู ่านสามารถเลือกจุดที่กาหนดไว้เพื่อเปิดไปยังเอกสารท่ตี ้องการ
3.7.12 ไฮเปอร์มิเดยี (Hypermedia)
ไฮเปอรม์ ิเดยี คือ การผสมผสานการนาเสนอขอ้ ความ ภาพ เสยี ง ภาพเคล่ือนไหว ท่ี

เน้นการนาเสนอเป็นลาดับ เชน่ WWW เปน็ รปู แบบของ Hypermedia
3.7.13 ยอู ารแ์ อล (URL : Uniform Resource Locators )
ยอู าร์แอล คือ มาตรฐานการตั้งช่อื หรอื ระบุตาแหน่งของเอกสารหรือข้อมลู ท่เี ข้าถงึ ได้

ในอินเทอร์เน็ต รูปแบบมาตรฐานของ URL คือ scheme://host:port/path
ตัวอย่างเช่น http://www.boga.co.th/mail ยอู าร์แอล ประกอบดว้ ยสว่ นต่าง ๆ 4 ส่วนดังตอ่ ไปน้ี

1) ชนิดแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (scheme) เช่น Web , FTP ,
Gopher, newsgroup เป็นต้น

2) ช่ือโดเมนของแม่ข่าย ท่ีให้บริการข้อมูล เช่น www.infonews.co.th
3) พอร์ต (port) หมายเลขพอร์ต
4) เส้นทางข้อมูล คือ ช่ือไดเรกทอรี่ข้อมูลท่ีต่อจากโฮมเพจของเว็บเพ็จน้นั

51

3.8 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต

3.8.1 ดา้ นการศกึ ษา
1) สามารถใช้เป็นแหลง่ คน้ คว้าหาข้อมูล ไม่วา่ จะเปน็ ข้อมลู ทางวิชาการ ข้อมลู ดา้ นการ

บันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่นๆ ทีน่ า่ สนใจ
2) ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต จะทาหน้าท่เี สมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
3) นกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั สามารถใช้อนิ เทอรเ์ น็ต ติดต่อกบั มหาวทิ ยาลัยอ่ืน ๆ เพ่ือ

ค้นหาข้อมลู ทก่ี าลงั ศกึ ษาอยไู่ ด้ ทัง้ ท่ีข้อมูลท่เี ปน็ ขอ้ ความ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหวต่างๆ เป็นตน้

รปู 3.14 แสดงเว็บเพจของมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
3.8.2 ด้านธุรกิจและการพาณิชย์

1) คน้ หาข้อมูลตา่ ง ๆ เพอ่ื ชว่ ยในการตัดสนิ ใจทางธรุ กิจ
2) สามารถซ้ือขายสินค้า ผ่านระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็
3) ผใู้ ช้ท่ีเปน็ บรษิ ัท หรอื องค์กรตา่ ง ๆ กส็ ามารถเปิดใหบ้ ริการ ผ่านระบบเครือข่าย
อินเทอร์เนต็ ได้ เช่น การจองตวั๋ การบินของสายการบิน เป็นต้น

52

รปู 3.15 แสดงการเปดิ ใหบ้ ริการของสายการบนิ Air Asia ผ่านเครอื ข่าย
รปู 3.16 แสดงหนา้ เว็บเพ็จที่ให้บรกิ ารขายสินคา้ ในระบบอินเทอรเ์ นต็

53

3.8.3 ดา้ นการบนั เทงิ
1) การพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การคน้ หาวารสารตา่ ง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็

ที่เรยี กว่า Magazine online
2) สามารถฟังวิทยุผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตได้
3) สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตรต์ วั อยา่ งทง้ั ภาพยนตรใ์ หม่ และเก่ามาดูได้

รปู 3.17 แสดงหนา้ เว็บเพจ็ ท่ีให้บรกิ ารเพ่ือความบนั เทิงด้านเสียงเพลง

รปู 3.18 แสดงหนา้ เวบ็ เพ็จที่ใหบ้ ริการด้านข่าวสาร และกีฬาเพ่ือความบนั เทิง

37

หนว่ ยที่ 4 การสบื คน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ

สาระสาคัญ

จากการที่ข้อมูลสารสนเทศมีความหลากหลายและมีการขยายวงกว้างมากข้ึนการทจ่ี ะต้อง
สบื คน้ ขอ้ มลู จงึ จะต้องมีความถกู ต้องและรวดเรว็ วธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มลู มหี ลายวิธี ขึ้นอยู่กับลกั ษณะของ
ขอ้ มลู ที่ทาการสบื คน้ ปจั จุบนั มแี หล่งการเรียนรใู้ นการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมากมาย ฉะนนั้ การท่ี
ได้เรียนรู้วธิ กี ารสบื คน้ ข้อมูลและแหลง่ ในการเรียนรู้ที่จะใช้ในการสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศจึงเปน็ สิ่ง
สาคัญและจะทาให้ทาการสืบคน้ รวดเรว็ และมีความถกู ต้อง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. สืบค้นขอ้ มลู สารสนเทศได้
2. ใชเ้ คร่อื งมือในการสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศได้
3. แยกสว่ นประกอบของเคร่อื งมือในการสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศได้
4. สืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศจากอินเทอร์เนต็ ได้
5. อธิบายความหมายของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศได้
6. ให้คาจากดั ความสาคัญองการจัดเกบ็ คน้ คนื สารสนเทศได้

38

ในโลกของยุคข้อมูลขา่ วสาร หรอื ยคุ เทคโนโลยีสารสนเทศ มขี อ้ มูลมากมายมหาศาล การทีจ่ ะ
คน้ หาขอ้ มลู จานวนมาก ซึ่งไม่อาจจะเขา้ ไปคน้ หาข้อมูลได้ง่าย ๆ จาเปน็ จะตอ้ งอาศยั การค้นหาข้อมลู
ด้วยวธิ ีการต่าง ๆ เข้ามาใชเ้ พื่อความสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะมีเวบ็ ไซต์ท่ีให้บริการคน้ หาขอ้ มูลมีมากมาย
ถา้ ค้นหาไมถ่ ูกวิธหี รอื ไม่รหู้ ลักการในการคน้ หา อาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลท่ี
ตอ้ งการไม่พบ ฉะน้นั การสืบค้นขอ้ มูลสารสนเทศจึงหมายถึง การคน้ หาข้อมลู ท่ตี ้องการเพื่อใหไ้ ด้มา
ซ่งึ ขอ้ มลู ไมว่ ่าจะเปน็ การสบื ค้นข้อมูลในรูปแบบใด ซ่งึ ส่วนใหญจ่ ะสืบค้นทางห้องสมุดหรือศนู ยบรกิ าร
และท่มี ีการสืบค้นข้อมูลในรปู แบบใด ซงึ่ ส่วนใหญ่จะสบื คน้ ทางหอ้ งสมดุ หรือศนู ย์วิทยบริการ และท่ีมี
การสบื ค้นข้อมูลในโลกอินเทอรเ์ นต็ ซึง่ เปน็ แหล่งสืบค้นข้อมูลใหญท่ ่ีสดุ

4.1 ความหมายการสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศ

การสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการในการสบื ค้นหาสารสนเทศทต่ี ้องการ โดยใช้
เครอื่ งมอื คน้ รปู แบบตา่ ง ๆ การสืบค้นสารสนเทศแบง่ ออกเปน็ 2 วธิ ีคอื

4.1.1 การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบมือ (Manual System) เชน่ บัตรรายการ บตั รทใ่ี ชใ้ น
ระบบการยืมหนังสอื ห้องสมุด เปน็ ตน้

4.1.2 การสบื คน้ สารสนเทศด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ (Computer System) เปน็ การสบื คน้ ท่ี
สามารถกระทาไดโ้ ดยผา่ นอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่ ฐานข้อมลู หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ วารสาร
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และการสบื คน้ สารสนเทศบนอินเทอร์เนต็ เป็นต้น

4.2 เคร่ืองมือการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

4.2.1 เคร่ืองมือ เดมิ การค้นหาขอ้ มลู หนังสือมักจะสบื คน้ ในหอ้ งสมดุ แต่ปัจจบุ ันการสืบค้นข้อมลู
ระบบสารสนเทศ คือ โปรแกรมท่ชี ่วยคน้ หาในระบบอินเทอรเ์ นต็ เชน่ โปรแกรม Search Engine
อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการคน้ หาประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์

4.2.2 การสบื ค้น คอื การค้นหาข้อมูลเกย่ี วกับเนื้อหา เช่น คน้ หาหนงั สอื ในห้องสมุดว่ามีหนงั สือ
ทเี่ ราต้องการเพือ่ ประกอบการรายงาน หรอื การคน้ หาเนอื้ หาทเี่ ก่ยี วข้องกับเร่ืองท่ีตอ้ งการนามา
ประกอบการทารายงานในระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต

4.2.3 ข้อมูล คือ ส่งิ ที่สนใจแทนด้วยข้อความ รูปภาพ หรือ สญั ลักษณ์ เม่ือต้องการสบื ค้นควรมี
ข้อมลู ความต้องการในการสบื ค้น และนามาจัดทาเป็นข้อมูลระบบสารสนเทศ

4.2.4 สารสนเทศ คอื ข้อสรปุ จากการนาขอ้ มูลมาประมวลผลเพ่อื นามาใช้ตามความตอ้ งการของ
แตล่ ะคน อาจมีการบันทึกไวใ้ นหลายรปู แบบ เชน่ รปู ภาพ เสยี ง ขอ้ ความในหนงั สือ ภาพในหนงั สอื
หรือภาพเคลื่อนไหวในสื่อบันทึก ไฟลใ์ นคอมพิวเตอร์ ในเว็บไซต์ เปน็ ตน้

รปู 4.1 แสดงส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ

39

4.3 สว่ นประกอบของเคร่อื งมือในการสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศ

สว่ นประกอบของเครื่องมือในการสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ ประกอบด้วยตอ่ ไปน้ี

รปู 4.2 แสดงส่วนประกอบของเคร่ืองมอื สบื ค้นระบบสารสนเทศ

4.3.1 หนา้ จอ (Input Device) คือ อปุ กรณ์ส่งออกข้อมลู หรอื หน่วยแสดงผลประเภทหน่ึงของ
คอมพวิ เตอรโ์ ดยข้อมลู ทจ่ี อภาพแสดงผลน้นั มักจะประกอบดว้ ยข้อมูลท้ังทีเ่ ปน็ ตัวหนงั สือ และ
ภาพกราฟกิ

รูป 4.3 แสดงส่วนประกอบเคร่ืองมือของระบบสารสนเทศ (จอภาพ แป้นพมิ พ์)

4.3.2 แป้มพิมพ์ (Input Device) คืออุปกรณ์นาเขา้ ข้อมูล เป็นอุปกรณ์หลกั ทใ่ี ช้ในการนาข้อมูลลงใน
เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็นสีเ่ หลี่ยมผืนผ้า หรอื ใกลเ้ คยี ง มีแป้นอักษร สญั ลักษ์ และ
ตัวเลข รวมประมาณร้อยกวา่ แป้น

4.3.3 เมาส์ (Input Device) คอื อปุ กรณ์นาเข้าข้อมลู ที่ใช้ควบคมุ การใช้งานในคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ ออกแบบ
เพ่อื ใหง้ พอดีกับการใชง้ านโดยส่วนของเมาสจ์ ะมีป่มุ สาหรับคลิกเพื่อรับคาสัง่ เพ่ือสงั่ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทางาน

รูป 4.4 แสดงส่วนประกอบเครอื่ งมือของระบบสารสนเทศ (เมาส)์

40

4.3.4 เคส คือ กล่องสาหรบั บรรจุอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการประมวลผล และหนว่ ยความจาของ
คอมพวิ เตอร์เอาไวข้ ้างใน เพ่อื ประโยชนใ์ นการยืดอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีความมัน่ คง กะทดั รัด
เคล่ือนยา้ ยได้งา่ ย และเพื่อความปลอดภยั ทงั้ จากไฟดูด ป้องกันการสญู หายของอปุ กรณ์ และเพ่ือ
ใหม้ รี ะเบียบสวยงาม

รูป 4.5 แสดงส่วนประกอบเครอื่ งมือของระบบสารสนเทศ (เคส)

4.3.5 ซอฟต์แวร์ คอื โปรแกรมเพ่ือควบคุมใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีเปน็ ฮารด์ แวร์ปฏิบัติตาม เช่น
โปรแกรมสบื ค้นสารสนเทศห้องสมุดก็จะใชใ้ นการสบื ค้นข้อมลู ของหนังสือในห้องสมุด ระบบการ
สืบคน้ ในระบบออนไลน์กจ็ ะรวบรวมสารสนเทศไวใ้ นระบบออนไลน์ เพื่อใหค้ นสบื คน้ ในระบบ
อนิ เทอรเ์ นต็

รปู 4.6 แสดงไอคอนสว่ นซอฟต์แวรใ์ นการสืบค้น

4.4 ประเภทของการสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศ

การสบื ค้นขอ้ มลู ทีม่ ีประสทิ ธิภาพ แบ่งเปน็ 2 ประเภทคือ
1. การสบื คน้ ขอ้ มลู ในรปู แบบ Index Directory
2. การสบื ค้นข้อมูลในรูปแบบ Search Directory

41

4.4.1 การสบื คน้ ข้อมลู ในรปู แบบ Index Directory
วิธีการสืบค้นข้อมูลแบบ Index Directory ข้อมลู จะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย

มากกวา่ การค้นหาขอ้ มูลด้วย วธิ ขี อง Search Engine เพราะจะสามารถคัดแยกขอ้ มลู ออกมาเป็น
หมวดหมู่ และจดั แบ่งแยก Site ตา่ งๆ ออก เป็นประเภท สาหรับวธิ ีใชง้ านสามารถที่จะ Clickเลอื ก
ข้อมลู ท่ีตอ้ งการจะดไู ดเ้ ลยใน Web Browser

ตัวอย่าง เวบ็ ไซต์ให้บริการแบบ Index Directory คือ เว็บไซต์ www.sanook.com
จะมีประเภทสารบัญให้เลือกดังนี้

รูป 4.7 การแสดง Index Directory

4.4.2 การสบื คน้ ข้อมลู ในรปู แบบ Search Engine
Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็น

หมวดหมู่ ผู้ใชง้ านเพียงแตท่ ราบหัวข้อท่ีต้องการค้นหาแลว้ ปอ้ น คาหรอื ข้อความของหวั ข้อนั้นๆ ลงไป
ในชอ่ งท่ีกาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ขอ้ มูลอยา่ งย่อ ๆ และรายชอื่ เวบ็ ไซต์ทีเ่ กี่ยวข้องจะปรากฏให้
เราเขา้ ไปศึกษาเพิ่มเติมไดท้ นั ที

Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตาม
ประเภทของ Search Engine ท่ีแต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังน้ันการท่ีจะเข้าไป
หาข้อโดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยเราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ท่ีจะเข้าไปใช้บริการ ใช้
วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine

รูป 4.8 การแสดง Search Engine

42

4.5 คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต

การทางานอินเทอร์เน็ตอย่างสรา้ งสรรคแ์ ละเกิดประโยชน์ จะทาให้สังคมอินเทอร์เน็ตอย่าง
สรา้ งสรรคแ์ ละเกิดประโยชน์จะทาให้สังคมอนิ เทอรเ์ นต็ น่าใช้และเปน็ ประโยชน์ กิจกรรมบางอยา่ ง
ที่ไม่ควรปฏบิ ตั ิจะต้องหลกี เล่ียง ในการส่งกระจายขา่ วลือไปเป็นจานวนมาบนเครือข่าย การส่ง
จดหมายอเิ ล็กทรอนิกสแ์ บบลูกโซ่ เป็นตน้ ดงั น้นั นกั ศึกษาควรปฏบิ ตั ติ ามกฎ กติกา มารยาท หรอื
จรรยาบรรณของการรวบรวมเว็บไซด์ ตา่ งๆ เอาไว้ เราเพยี งแตท่ ราบหวั ข้อท่ตี ้องการแล้วเขา้ ใช้
อนิ เทอรเ์ น็ตในดา้ นการใชบ้ ริการพดู คยุ กันแบบออนไลน์ (Chat) และด้านการใช้กระดานขา่ วหรอื
เวบ็ บอร์ด และมารยาทในการใช้จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส(์ E-mail)

4.5.1 การใชบ้ รกิ ารพูดคุยกนั แบบออนไลน์ (Chat) ในการสนทนาจะต้องมมี ารยาทสาคัญดังน้ี
1) ควรเรยี กสนทนาจากผูท้ ่ีเรารู้จัก หรอื มเี รื่องสาคญั ทจ่ี ะติดต่อด้วย
2) ควรใช้วาจาสภุ าพและให้เกียรติซ่งึ กันและกนั
3) กอ่ นเรียกสนทนา ควรตรวจสอบสถานะการใช้งานของคสู่ นทนาทีต่ ้องการเรยี ก

เพราะการเรยี กแตล่ ะครงั้ จะมีขอ้ ความไปปรากฎบนจอภาพ ของฝา่ ยท่ีถกู เรียกซ่งึ จะทาให้สร้างปัญหา
ในการทางานได้

4.5.2 การใชบ้ ริการกระดานข่าวหรือเว็บบอร์ดบน เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตมีบริการกระดานขา่ ว
หรือเวบ็ บอร์ดใหผ้ ูใ้ ช้แลกเปล่ยี น ความคดิ เห็น หรอื ข้อมูลข่าวสารถงึ กนั ดังน้ันในการใช้ บรกิ ารควร
เคารพกฎ กตกิ า มารยาทดังน้ี

1) ในการเขียนพาดพงิ ถึงผ้อู นื่ ใหร้ ะมดั ระวังการระเมดิ หรือสรา้ งความเสยี หายแก่ผู้อื่น
2) ไม่ควรนาข้อความทีผ่ ู้อน่ื เขียน ไปกระจายต่อโดยไมไ่ ด้รับอนุญาตจากเข้าของเรื่อง
3) ไม่ควรใชข้ อ้ ความขบขนั คาเฉพาะ คากากวม และคาหยาบคายในการเขียนข่าว
4) ในการเขียนคาถามลงในกลุม่ ขา่ วจะต้องเขียนให้ตรงกับกลมุ่ และเม่ือจะตอบต้องตอบ
ให้ตรงประเด็น
4.5.3 จรยิ ธรรมในการใช้ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์
1) ไม่โฆษณาหรือเสนอขายสินค้า
2) รตู้ ัวว่ากาลงั กล่าวอะไร
3) ถา้ ไม่เห็นด้วยกับหลกั พ้ืนฐานของรายชื่อกล่มุ ทต่ี นเปน็ สมาชิก ก็ควรออกจากกลุม่ ไม่
ควรโตแ้ ย้ง
4) คิดก่อนเขยี น
5) อยา่ ใช้อารมณ์
6) พยายามอ่านคาถามที่ถามบ่อยๆ (FAQ) กอ่ นเสมอ
7) ไมส่ ่งข่าวสารท่ีกลา่ วร้าย หลอกลวง หยาบคาย ข่มขู่
8) ไม่สง่ ต่อจดหมายลูกโซ่ หรอื เมลข์ ยะ
9) ให้ความระมดั ระวังกบั คาเสยี ดสี และอารมณ์ขนั
10) อา่ นข้อความในอเี มล์ ให้ละเอียดก่อนส่ง ความประณีตและตัวสะกด การนั ต์ เป็น
สิง่ ทค่ี วรคานึงถึง
11) ดรู ายชือ่ ผู้รับให้ดวี า่ เขาคือคนที่เราตั้งใจจะส่งไปถงึ

43

4.6 วิธีการเข้าถึงและสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

การเข้าถึง การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ สนองความต้องการของผู้
สืบค้นหรือผู้เรียน แหล่งข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ท่ี
สาคัญ และใหญ่ที่สุดมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลาแทบทุกวินาที ดังนั้นวิธีการสืบค้นข้อมูล
สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตควรดาเนินการดังน้ี

4.6.1 กาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น
ผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ควรตั้งวัตถุการสืบค้นท่ีชัดเจน

ทาให้สามารถกาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่จะสืบค้นให้แคบลง กาหนด
ประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ตเรียกว่า Search
Engine ให้เหมาะสมกาหนดช่วงเวลาที่ข้อมูลสารสนเทศถูกสร้างขึ้น เช่น ช่วงปีที่ตีพิมพ์ของ
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งน้ีเพื่อให้ผลการสืบค้นมีปริมาณไม่มากเกินไป มีความตรงตาม
วัตถุประสงค์ และมีความน่าเช่ือถือมากท่ีสุด อีกทั้งยังสามารถสืบค้นได้ผลในเวลาอันรวดเร็ว

4.6.2 ประเภทของข้อมูลสารสนเทศท่ีสามารถสืบค้นได้
ข้อมูลสารสนเทศท่ีอยู่บนอินเทอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็น

มัลติมิเดีย คือมีท้ังข้อความ ภาพถ่าย ภาพเขียน ภาพไดอะแกรม เสียง ภาพยนต์
ภาพเคล่ือนไหวแอนิเมช่ัน เทคโนโลยีการสืบค้นที่มีอยู่ในปัจจุบันช่วยให้การสืบค้นข้อมูลท่ี
รวดเร็ว มีประสิทธิภาพที่สุด และแพร่หลายที่สุด คือประเภทข้อความ ส่วนภาพและเสียง
มักจะมีข้อจากัดเร่ืองความเร็ว

4.6.3 การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้
ก่อนจะสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์

ต่อไปนี้ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตซ่ึงอาจเป็นโมเด็มถ้าใช้ระบบ
โทรศัพท์และระบบการเช่ือมต่อระบบอินเทอร์เน็ตในระบบอ่ืน โดยผู้ใช้งานต้องสมัครสมาชิก
ขององค์การหรือบริษัทพื้นฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ และความรู้เกี่ยวกับการใช้งาน
โปรแกรม Search engine

4.6.4 บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตที่สามารถใช้ช่วยในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมีมากมาย

หลายบริการ เช่น บริการค้นหาข้อมูล Gopher บริการค้นหาโปรแกรมใช้งาน Archie
นอกน้ันอาจมีบริการ E-Mail ,Chat หรือบริการผ่าน New Group และในปัจจุบันการสืบค้น
ข้อมูลสารสนเทศนิยมใช้โปรแกรม Search Engineซ่ึงช่วยสืบค้นข้อมูลและนามาแสดงผลใน
Web Browser มักจะมีบริการ Download ได้ทันที

4.6.5 เครื่องมือหรือโปรแกรมในการสืบค้น
เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้น มีอยู่มากมายและมีให้บริการอยู่ตาม

เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดยเฉพาะ การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับประเภทของ
ข้อมูลสารสนเทศท่ีต้องการสืบค้น Search Engine ต่าง ๆ จะให้ข้อมูลและความลึกในแง่มุม
หรือศาสตร์ต่าง ๆ ไม่เท่ากัน ตัวอย่าง Search Engine ท่ีนิยมใช้มีทั้งเว็บไซต์ท่ีเป็นของ
ต่างประเทศ และของไทย ได้แก่

44

http://www.yahoo.com
http://www.infoseek.com
http://www.google.com
http://www.ultraseek.com
http://www.lycos.com
http://www.elnet.com
สาหรับของไทย มี http://www.sanook.com , http://www.siamguru.com

4.7 เทคนิคการสืบค้นข้อมูล

เพ่ือให้ประหยัดเวลาในการสืบค้น ได้ข้อมูลปริมาณไม่มากเกินไป และได้ผลการสืบค้น
ท่ีตรงตามประสงค์ของผู้สืบค้น สามารถใช้เทคนิคเหล่าน้ี คือ

1) การเลือก Search Engine ท่ีเหมาะสม
2) เลือกเว็บไซต์ท่ีอยู่ในช่วงเลาท่ีเหมาะสม
3) การเลือกใช้คาสาคัญ (Keyword) หรือหัวเรื่อง(Subject) ที่ตรงกับเรื่องท่ีต้องการ
4) กาหนดขอบเขตของคาค้น โดยใช้ตัวเช่ือมบูลีน(Boolean Operator) เช่น OR ,
NOT , NEAR , BEFORE เป็นต้น
4.7.1 Boolean Operator

1) AND
2) OR
3) NOT
4) NEAR
5) BEFORE
6) AFTER
4.7.2 การค้นวลี เป็นการใช้เคร่ืองหมายอัญประกาศ(“”) เม่ือต้องการกาหนดให้ค้น
เฉพาะหน้าเอกสารที่มีการเรียงลาดับตามที่กาหนดเท่านั้น เช่น “Computer Notebook”
4.7.3 การตัดคา เป็นการใช้เคร่ืองหมาย asterisk (*) ตามท้ายคา 3 คาขึ้นไป เพ่ือ
ค้นหาคาท่ีข้ึนต้นด้วยอักษรท่ีกาหนด เช่น Rearch*
4.7.4 คาพ้องความหมาย (Synonym) เป็นการใช้คาเหมือนที่มีความหมายเดียวกัน
หรือใกล้เคียงกันเพื่อให้ค้นเรื่องท่ีคลอบคลุม เช่น Ocean Sea Marine
4.7.5 เขตข้อมูลเพ่ือการค้น (Field Searching) เป็นการกาหนดเขตข้อมูลเพ่ือการ
ค้นหา เช่น ชนิดของข้อมูล หรือท่ีอยู่ของข้อมูล เป็นต้น เช่น text := “green
tea”url:NASA
4.7.6 ตวั เลก็ หรือตวั พิมพ์ใหญ่ถอื วา่ ตา่ งกนั (Case sensitive) เปน็ การใชอ้ ักษรใหญ่กบั ตัว
เลก็ ในความหมายทีต่ ่างกัน เชน่ การใชต้ ัวอกั ษรใหญ่ข้ึนต้นเพ่อื แสดงชอื่ เฉพาะ

45

4.7.7 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) เป็นการสืบค้นจากคาถามที่เป็น
ภาษาธรรมชาติ เชน่ การใช้คาถามภาษาอังกฤษง่าย ๆ ที่ต้องการให้ Search Engine หาคาตอบให้
เช่น What is Research?

4.8 ความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ

การจัดเกบ็ และการคน้ คืนสารสนเทศ (Information Storage and - ISR) มกี ารกาหนด
ความหมายไว้หลากหลาย โดยแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ การจัดเก็บสารสนเทศ
(Information Storage) และการค้นคนื สารสนเทศ (Information Retrieval)

การจดั เก็บสารสนเทศเป็นคาทเ่ี กิดขน้ึ ควบค่กู ับสถาบันบรกิ ารสารสนเทศในอดีตมีความหมาย
ครอบคลุมการจดั ทาโครงสร้างและควบคุมบรรณานุกรม เป็นการจดั ระบบโดยวเิ คราะห์ทรัพยากร
สารสนเทศ จดั หมวดหม่แู ละทาบตั รรายการ บรรณานกุ รม ดรรชนี สาระโดยสังเขป ควบคุม
บรรณานุกรม เดิมการค้นคืนสารสนเทศในอดีตเปน็ งานบริการชว่ ยผู้ใช้คน้ หาทร้ันหาและพยากร
สารสนเทศ หรอื บอกใหผ้ ู้ใชร้ ู้แหล่งจัดเก็บสารสนเทศ งานค้นคืนสารสนเทศจึงเปน็ งานค้นหา และ
ช่วยผใู้ ชค้ ้น แนะนาและสอนผใู้ ช้ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ใหผ้ ใู้ ชไ้ ดท้ รพั ยากรสารในเทศตาม
ตอ้ งการ

ความหมายของการจัดเกบ็ และการคน้ คืนสารสนเทศเทศในทางทฤษฏีและปฏบิ ตั ดิ งั นี้
การจัดเกบ็ สารสนเทศ หมายถงึ การจดั โครงสรา้ งและควบคุมทางบรรณานกุ รมโดยใช้
คอมพวิ เตอร์ ดว้ ยวิธกี ารทารายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลกั ษณะเก็บข้อมูลเข้าแฟ้ม จดั เตรียม
แฟม้ รวมไปถงึ การจัดทาส่ือจัดเก็บข้อมลู เขา้ แฟ้มข้อมลู จัดเตรียมแฟ้ม รวมไปถึงการจัดทาสอ่ื จัดเก็บ
ข้อมลู ลักษณะตา่ ง ๆ และฐานขอ้ มลู เพอ่ื การค้นหาและคน้ คนื สารสนเทศ
การจัดเก็บซ่ึงรวมทงั้ การจดั หา ได้รบั สารสนเทศหรือสามารถระบทุ รัพยากรสารสนเทศที่อยู่ใน
แหล่งจดั เก็บโดยใชป้ า้ ยระบุข้อมลู หรอื ช่อื เขตข้อมูล หรือ แทก็ (tag) คาแทนสาระเพื่อการค้นคนื
ทรัพยากรสารสนเทศ เพ่ือจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศและการทาปา้ ยระบุข้อมูลในวิธีการท่ีจะใช้
ประโยชนเ์ พอ่ื การคน้ คนื สารสนเทศ ทง้ั เพอื่ สามารถระบุได้ว่ามที รพั ยากรอะไรจัดเก็บไวใ้ นแหล่งใด
ของสถาบัน ทรัพยากรใดเกบ็ ไวใ้ นแหลง่ เดียวกนั หรือต่างแหลง่
การค้นคืนสารสนเทศ เปน็ ทงั้ การดึงหรือการค้นเอกสารย้อนหลังที่จัดเกบ็ ไวต้ ามหวั ขอ้ ที่
ตอ้ งการ การค้นตามหัวขอ้ ท่สี นใจและความต้องการของผใู้ ชจ้ ากทรัพยากรสารสนเทศที่เข้ามาใหม่ทุก
คร้งั หรอื ารค้นใหผ้ ้ใู ช้เพื่อบรกิ ารสารสนเทศทนั สมัย การค้นเอกสารผู้คน้ ทาการค้นจากเคร่อื ง
คอมพิวเตอรโ์ ดยตรงหรือเครื่องท่ีเช่อื มโยงระบบคอมพิวเตอรท์ ี่ใชโ้ ปรแกรมจัดเก็ฐและค้นคนื
สารสนเทศ รวมทง้ั เชอ่ื มโยงเขา้ สอู่ นิ เทอร็เนต็
การเขา้ ถงึ (Access) เปน็ วธิ กี ารที่ผู้ใชส้ ามารถ คน้ หา คน้ คืน และได้รบั สารสนเทศทตี่ ้องการ
สารสนเทศทเี่ ขา้ ถงึ เปน็ ทรัพยากรสารสนเทศทสี่ ถาบันบรกิ ารสารสนเทศและแหล่งต่าง ๆ จดั ไว้บรกิ าร
การคน้ หา (Searching) เป็นการป้อนคาส่งั โดยผูค้ ้นเตรียมประโยคคาค้นไว้แลว้ และปฏิสสั มั
พนั ธ์กับระบบค้นคนื และพิจารณาผลท่ีไดร้ ับ ซ่ึงเปน็ ขน้ั ตอนในกระบวนการค้นหา (Searching)

46

การสารวจเลอื กดู (Browsing) เปน็ จการปฏิสมั พนั ธ์ในลักษณะตรวจสอบ ดเู อกสาร และทา
การเลือกเพ่ือหารายการสารสนเทศที่สนใจ หรือเปน็ การดสู ารสนเทศท่ัวไป หรือภาพรวมของรายการ
ตามหวั ขอ้ ท่ีเป็นจุดมุง่ หมาย

สรุปการจัดเกบ็ และการค้นคืนสารสนเทศ เปน็ กระบวนการท้ังการคัดเลอื ก ควบคุม
โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเกบ็ สารสนเทศเพื่อการเขา้ ถึงและกระบวนการสาคัญใด ๆ ใน
การแสวงหาทรพั ยากรสารสนเทศ ซ่ึงครอบคลุมการคน้ หา การดึงสารสนเทศทเี่ ขา้ เร่ืองใดเรือ่ งหนงึ่
โดยเฉพาะจากแหลง่ ใด ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกทงั้ น้ีการจดั เก็บ การค้นคืนสารสนเทศเปน็ ระบบที่
จัดทาทงั้ ด้วยแรงงานคนและคอมพิวเตอร์

4.9 ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ

4.9.1 การจัดเก็บและการค้นคนื สารสนเทศท่ีมีความสาคัญตอ่ สภาบันบริการสารสนเทศ
ในดา้ นตา่ ง ๆ ดังน้ี

1) เปน็ ตัวกลางเช่อื มโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรสารสนเทศ
กับผู้ต้องการใช้สารสนเทศ

2) ก่อให้เกิดการส่งเสรมิ ในการถ่ายโอน และไหลสารสนเทศเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพระหว่างผู้ต้องการใช้สารสนเทศ กับแหล่งทรัพยากรสารสนเทศและมีบทบาท
สาคัญในการตอบสนองความต้องการใช้สารสนเทศ

3) เป็นการกล่ันกรองสารสนเทศในช่องทางสารสนเทศ ที่เป็นทางการซ่ึงช่วย
คัดเลือกตรวจสอบทรัพยากรสารสนเทศเพ่ือช่วยให้ผู้ใช้ได้รับ และใช้สารสนเทศท่ีมีคุณภาพ

4) เป็นงานหลักที่เช่ือมโยงระบบบริการต่าง ๆ และระบบงานของสถาบันบริการ
สารสนเทศ เช่น ระบบยืม คืน สารสนเทศ ระบบจัดสาเนาเอกสารเพ่ือส่งเสริม
ให้เกิดการใช้สารในเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
5) ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศท่ีถูกต้องโดยการค้นคืนตรงตามความต้องการ
และทันต่อเวลา เพื่อใช้ประโยชน์ต่างๆ ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถาบันบริการสาร
สนเท ศ
4.9.2 ความสาคญั ของการการจัดเก็บและการคน้ คนื สารสนเทศต่อผูใ้ ช้
1) เปดิ โอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทั้งภายใน และภายนอกสถาบนั และแหล่งทรัพยากรท่ัวโลก
ได้อย่างเสรี
2) จดั ให้มีเครื่องมืออานวยความสะดวกในการเข้าถึงขอ้ มูลทีเ่ หมาะสม
3) มีการพัฒนารปู แบบการดาเนินงานจดั เก็บ และการคน้ คืนสารสนเทศด้วยความ
รวดเรว็ และสะดวกกับการใช้งานมากขึ้น
4) ชว่ ยใหผ้ ้รู ับไดร้ บั สารสนเทศท่ีถูกต้อง ตรงกับความตอ้ งการเพอื่ นาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั
5) สนับสนนุ ผูใ้ ชใ้ หส้ ามารถประเมนิ แยกแยะ ทาความเขา้ ใจเชื่อมโยงความคิดของ
สารสนเทศเพื่อการเลือกสรร ศกึ ษา ติดตามสารสนเทศได้ด้วยตัวเอง


Click to View FlipBook Version