The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนกลยุทธ์ กรมกิจการผู้สูงอายุ พ.ศ. 2560 - 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by viriya_tal102, 2021-06-10 00:29:38

แผนกลยุทธ์ กรมกิจการผู้สูงอายุ พ.ศ. 2560 - 2564

แผนกลยุทธ์ กรมกิจการผู้สูงอายุ พ.ศ. 2560 - 2564

แผนกลยทุ ธ

กรมกิจการผูสงู อายุ

พ.ศ.

๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย

กองยุทธศาสตรและแผนงาน กรมกจิ การผูส งู อายุ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย

แผนกลยุทธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

กรมกิจการผสู ูงอายุ A

แผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
B กรมกิจการผสู งู อายุ

แผนกลยทุ ธกรมกิจการผูส งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

คํานาํ

กรมกิจการผูสูงอายุ (ผส.) ไดจัดต้ังขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม
(ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกาํ หนดใหเปนหนว ยงานหลกั ท่มี ีหนาทีร่ ับผิดชอบภารกจิ เก่ียวกบั ผสู งู อายุ
โดยตรง เพื่อใหผูสูงอายุไดรับการสงเสริมศักยภาพ คุมครอง และพิทักษสิทธิ ใหสามารถดํารงชีวิตได
อยา งมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดี และอยใู นสังคมอยา งมคี วามสุข

กรมกจิ การผสู ูงอายไุ ดจดั ทําแผนกลยุทธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ เพื่อให
สอดคลองกับสภาพแวดลอม สถานการณและบริบททางสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง โดยอยูบนพื้นฐาน
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ นโยบายดานสังคมของรัฐบาล
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ กรอบยทุ ธศาสตรช าติ ๒๐ ป กรอบการปฏริ ปู ประเทศ
ยทุ ธศาสตรกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ แผนผสู งู อายุ
แหง ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ฉบับปรบั ปรุงครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหส อดคลอ งกับ
พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ นอกจากนี้
แผนกลยุทธฉบับน้ี ยังใหความสําคัญกับกระบวนการมีสวนรวมของผูบริหารและเจาหนาท่ีในทุกระดับ
อยางแทจรงิ ตลอดจนผูเช่ียวชาญเฉพาะดา นผูสูงอายุ และนักวชิ าการทม่ี คี วามรูดานผสู ูงอายุ โดยแผน
กลยุทธฉ บับนป้ี ระกอบดว ย ๔ บท ไดแ ก (๑) บทที่ ๑ บทนาํ ท่นี ําเสนอหลกั การ เหตผุ ล วตั ถุประสงค
กรอบแนวคิดการวางแผนกลยทุ ธ และวธิ กี ารดาํ เนนิ งาน (๒) บทที่ ๒ การวเิ คราะหภ ารกจิ อาํ นาจหนา ท่ี
กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวของ รวมทั้งการวิเคราะหสภาพแวดลอมที่มีผลตอการกําหนดแผนกลยุทธ
การดาํ เนนิ งาน (๓) บทท่ี ๓ แผนกลยทุ ธข องกรมกจิ การผสู งู อายทุ จี่ ะดาํ เนนิ การในป พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
และ (๔) บทที่ ๔ การติดตามประเมินผล

กรมกจิ การผสู งู อายมุ งุ หวงั เปน อยา งยง่ิ ใหแ ผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
ฉบับน้ีไดใชเปนทิศทาง/ แนวทางใหกับผูบริหารและเจาหนาที่ในทุกระดับไดใชในการดําเนินงาน และ
เปน เครอื่ งมอื ใหก ับผบู ริหารในการกาํ กบั ติดตามการดาํ เนินงานเพือ่ รว มกันพัฒนาคุณภาพชีวิตผสู ูงอายุ
ตอ ไป

นายอนุสันต เทยี นทอง
อธิบดีกรมกจิ การผูสงู อายุ

พฤษภาคม ๒๕๕๙

กรมกิจการผูสงู อายุ Cก

แผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
D กรมกิจการผสู งู อายุ

แผนกลยุทธกรมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

สารบัญ

คาํ นํา หนา
สารบัญ ก
บทที่ ๑ บทนํา ข

๑. หลกั การและเหตุผล ๑
๒. วตั ถุประสงค ๖
๓. กรอบแนวคดิ การวางแผนกลยทุ ธ ๖
๔. วิธกี ารดาํ เนนิ งาน ๘
บทท่ี ๒ การวเิ คราะหภ ารกิจและสภาพแวดลอมขององคก ร ๙
๑. ภารกจิ ตามกฎหมาย ๙
๒. อํานาจหนาที่ ๙
๓. กฎหมายและนโยบายทเ่ี กย่ี วขอ ง
๔. สถานการณผ สู งู อายุ ๑๐
๔. การวเิ คราะหสภาพแวดลอ มทม่ี ีผลตอการกาํ หนดแผนกลยุทธก ารดําเนินงาน ๒๗

(SWOT Analysis) ๓๒
๕. TOWS Matrix ๓๔
บทท่ี ๓ ทศิ ทางกลยทุ ธกรมกจิ การผูสูงอายุ ๓๕
๑. วสิ ัยทศั น ๓๕
๒. พนั ธกิจ ๓๕
๓. ประเดน็ ยทุ ธศาสตร ๓๖
๔. เปาประสงค ๓๖
๕. ความเชื่อมโยงพันธกจิ เปาประสงค ประเดน็ ยทุ ธศาสตร ตวั ชี้วัดเปาประสงค
๓๖
และกลยทุ ธ ๔๐
๖. เปาหมายตามแผนกลยทุ ธ ป พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ๔๗
บทท่ี ๔ การติดตามและประเมนิ ผล ๔๗
๑. การติดตามผลการดําเนนิ งาน ๔๗
๒. การประเมินผล ๔๘
บรรณานุกรม ๔๙
ภาคผนวก ๕๐
คณะทํางานจัดทําแผนกลยทุ ธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
Eข
กรมกิจการผสู ูงอายุ

แผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
F กรมกิจการผสู งู อายุ

แผนกลยุทธก รมกจิ การผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

บทที่ ๑ บทนํา

๑. หลกั การและเหตผุ ล

สภาพแวดลอ มและบรบิ ทในการดาํ เนนิ งานและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู งู อายใุ นปจ จบุ นั มหี ลาย
ปจจัยท่ีจําเปนตองคํานึงถึง รวมถึงกระแสการเปล่ียนแปลงจากทั้งภายในและภายนอกประเทศลวน
สง ผลตอ ทศิ ทางการดาํ เนนิ งานดา นผสู งู อายขุ องประเทศไทยทท่ี าํ ใหต อ งมกี ารทบทวนและกาํ หนดแนวทาง
และเปาหมายท่ีชัดเจนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ
และอยูในสงั คมอยางมคี วามสุข

๑.๑ สถานการณดานประชากร
จากการดําเนินนโยบายดานประชากรและการวางแผนครอบครัวของประเทศไทย

ที่ประสบผลสําเร็จ ตลอดจนความกาวหนาในการพัฒนาประเทศท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม การแพทย
สาธารณสขุ และเทคโนโลยสี มยั ใหม มสี ว นสาํ คญั ในการชว ยใหค นไทยมคี วามรแู ละทกั ษะในการปอ งกนั
และดูแลสุขภาพมากขนึ้ ทําใหค นไทยมีสขุ ภาพดี มอี ายุยืนยาวขนึ้ จากความสาํ เรจ็ ดังกลา ว สงผลทําให
มีภาวะเจริญพันธุและอัตราการเกิดของประเทศไทยมีแนวโนมลดลง มีการเปลี่ยนแปลงดานโครงสราง
ประชากร คือ ประชากรที่อยูในวัยสูงอายุมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน ในขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงาน
มีแนวโนมลดลง โดยประเทศไทยไดเขาสูสังคมสูงอายุมาต้ังแตป ๒๕๔๘ อันเปนผลมาจากโครงสราง
ประชากรทไี่ มส มดลุ ประชากรทเี่ กดิ ในชว งป ๒๕๐๖ - ๒๕๒๖ หรอื รนุ เกดิ เกนิ ลา น ประชากรเหลา นกี้ าํ ลงั
เปลีย่ นผา นไปสวู ยั ผูสงู อายุ โดยสัดสวนประชากรผูสูงอายุของประเทศไทยสูงข้ึนอยา งตอ เนื่อง ในขณะท่ี
สัดสวนของประชากรวัยเด็กและวัยทํางานกลับมีทิศทางตรงกันขาม ซึ่งในอนาคตอันใกลประเทศไทย
จะกลายเปน สงั คมผสู งู อายโุ ดยสมบรู ณ ประกอบกบั ความเจรญิ กา วหนา ของเทคโนโลยที างการแพทยท ไ่ี ดร บั
การพัฒนาอยางตอเน่ืองสงผลใหผูสูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น และความสําเร็จในการวางแผนครอบครัว
ซึ่งคาดการณวาในป ๒๕๖๒ จะเปนคร้ังแรกท่ีประเทศไทยจะมีจํานวนผูสูงอายุมากกวาประชากร
ในวยั เดก็ โดยประชากรสงู อายจุ ะมสี ดั สว นประมาณ ๑ ใน ๕ ของประชากรทง้ั หมด และในอกี ไมเ กนิ ๔ ป
ขางหนาหรอื ในป ๒๕๖๔ ประเทศไทยจะกลายเปน “สงั คมสงู อายอุ ยา งสมบรู ณ” (complete aged
society) คอื มีประชากรที่เปน วัยสงู อายุถึงรอ ยละ ๒๐ ของจํานวนประชากรทง้ั ประเทศ และจะใชเวลา

กรมกิจการผสู งู อายุ ๑

แผนกลยทุ ธกรมกิจการผูส งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

อกี เพยี ง ๑๐ ป กจ็ ะกลายเปน “สังคมสูงวัยระดบั สดุ ยอด” (super aged society) ประมาณป ๒๕๗๔
คอื สงั คมทม่ี ปี ระชากรผสู งู อายุ ๖๐ ปข น้ึ ไปมากกวา รอ ยละ ๒๘ ของประชากรทง้ั หมด (มลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ยั
และพัฒนาผสู ูงอายุไทย, สถานการณผ ูสูงอายุไทย พ.ศ. ๒๕๕๖, ๒๕๕๗)

ทั้งน้ีปรากฏการณดังกลาวมิไดเกิดขึ้นกับประเทศไทยเพียงประเทศเดียว หากแตถือวาเปน
ปรากฏการณร ะดบั โลก (Global Phenomena) ทห่ี ลายประเทศทว่ั โลกไดร บั ผลกระทบจากการปรบั เปลย่ี น
โครงสรางประชากร และหากเทียบสัดสวนผูสูงอายุกับประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกันประเทศไทย
มีสัดสวนผูสูงอายุเม่ือเทียบกับจํานวนประชากรท้ังประเทศอยูในลําดับที่ ๒ จาก ๑๐ ประเทศสมาชิก
อาเซยี นในปจ จุบนั และในป ๒๕๘๓ ประเทศไทยจะมสี ดั สว นประชากรสงู อายสุ ูงทีส่ ุดในอาเซียน

จํานวนประชากรและสัดสว นผูสูงอายใุ นกลุม ประเทศอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๘ และ พ.ศ. ๒๕๘๓

ประเทศ จํานวนประชากร สดั สว นประชากรอายุ ๖๐ ปข น้ึ ไป
พ.ศ. ๒๕๕๘ (ลา นคน) พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๘๓

สาธารณรัฐสิงคโปร ๕.๖๒ ๑๗.๐ ๓๒.๐

ประเทศไทย ๖๗.๔๐ ๑๕.๘ ๓๓.๕

สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวียดนาม ๙๓.๓๙ ๑๐.๔ ๒๔.๑

สาธารณรฐั แหง สหภาพเมยี นมาร ๕๔.๑๖ ๙.๐ ๑๘.๒

มาเลเซีย ๓๐.๖๕ ๙.๑ ๑๗.๖

สาธารณรฐั อินโดนีเซีย ๒๕๕.๗๑ ๘.๖ ๑๘.๑

สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ๗.๐๒ ๖.๐ ๑๑.๑

ราชอาณาจักรกมั พูชา ๑๕.๖๘ ๘.๓ ๑๔.๗

บูรไนดารุสซาลาม ๐.๔๓ ๘.๖ ๒๕.๗

สาธารณรฐั ฟลิปปนส ๑๐๑.๘๐ ๖.๘ ๑๑.๓

ทีม่ า : United Nation, World Population Prospect ๒๐๑๒ Revision

๒ กรมกิจการผสู งู อายุ

แผนกลยทุ ธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

จากการคาดประมาณจํานวนประชากรขององคการสหประชาชาติ พบวาจํานวนประชากร
ทงั้ หมดในภมู ภิ าคอาเซยี น มีจํานวน ๖๓๑.๘๖ ลานคน ในป ๒๕๕๘ จาํ นวนประชากรของแตล ะประเทศ
มีความแตกตางกันมากประเทศที่มีสมาชิกประชากรสูงที่สุด ๓ อันดับแรกคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
มจี าํ นวนประชากรมากทสี่ ดุ คอื ประมาณกวา ๒๕๖ ลา นคน รองลงมา คอื สาธารณรฐั ฟล ปิ ปน สป ระมาณกวา
๑๐๒ ลานคน และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามคาดวาจํานวนประชากรจะอยูที่ ๙๓ ลานคน
ขณะทปี่ ระเทศสมาชกิ ทมี่ ีประชากรนอ ยทสี่ ดุ สามอันดับ คอื บูรไนดารุสซาลามมปี ระชากรนอยท่สี ุดคือ
ประมาณ ๔ แสนคน ถัดมาคอื สาธารณรฐั สิงคโปรป ระมาณ ๖ ลานคน และสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย
ประชาชนลาวมีประชากรราว ๗ ลานคน จากการศึกษาโครงการการขับเคลื่อนงานดานผูสูงอายุ
เพ่ือรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน พบวาผูสูงอายุในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๑๐ ประเทศ
มีแนวโนมเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่องท้ังดานจํานวนและสัดสวน สงผลใหในป ๒๕๕๘ ซึ่งเปนปของการเขาสู
ประชาคมอาเซียนอยางเปนทางการ จะมีประเทศสมาชิกถึง ๓ ประเทศที่มีสัดสวนผูสูงอายุมากกวา
รอ ยละ ๑๐ หรอื เขา สสู งั คมผสู งู อายแุ ลว ไดแ ก สาธารณรฐั สงิ คโปร ประเทศไทย และสาธารณรฐั สงั คมนยิ ม
เวียดนาม และคาดวา ประเทศสมาชกิ อาเซียนอีก ๕ ประเทศจะเขา สูสงั คมผสู ูงอายุภายในอีก ๑๐ ป คอื
ป ๒๕๖๘ และประชาคมอาเซียนจะเขา สสู ังคมผูสูงอายุทงั้ หมดภายในป ๒๕๘๓ และยังพบวาผูสงู อายุ
ในอาเซยี นมแี นวโนม ทจ่ี ะมอี ายยุ นื ยาวขนึ้ และมผี สู งู อายหุ ญงิ มากกวา ชาย ทงั้ น้ี พบวา แนวโนม ประชากร
รวมของประเทศไทยคาดวาจะลดลงอีกใน ๒๐ ปขางหนา แตกลับพบวาสัดสวนของประชากรสูงอายุ
มแี นวโนม เพม่ิ ขนึ้ อยา งตอ เนอ่ื ง จนมสี ดั สว นสงู ทส่ี ดุ ในประชาคมอาเซยี นในอกี ๒๕ ปข า งหนา (พ.ศ. ๒๕๘๓)
โดยมีสดั สวนสงู ถงึ รอยละ ๓๒

จากขอมูลรายงานผลเบื้องตนการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗
ของสาํ นกั งานสถติ แิ หง ชาติ ทไ่ี ดจ ากการจดั เกบ็ รวบรวมขอ มลู พรอ มกนั ทว่ั ประเทศในเดอื นมถิ นุ ายน - สงิ หาคม
พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยการสัมภาษณสมาชิกในครอบครัวสวนบุคคลในครัวเรือนตัวอยางทั้งส้ิน จํานวน
๘๓,๘๘๐ ครวั เรอื น พบขอมูลดานผูสงู อายทุ นี่ าสนใจ ดังนี้

๑. ผูสูงอายุที่อยูคนเดียวตามลําพังในครัวเรือนเพ่ิมสูงขึ้นจากรอยละ ๓.๖ ในป ๒๕๕๔
เปนรอ ยละ ๑๐.๔ ในป ๒๕๕๗

๒. รอ ยละ ๓๓.๔ ของผสู งู อายมุ สี ถานภาพสมรสเปน หมา ย หยา แยกกนั อยู และรอ ยละ ๓.๗
เปน โสด

๓. รอยละ ๒๓.๔ ของผูสงู อายวุ ัยตน รอยละ ๘.๙ ของผูส ูงอายุวัยกลาง และรอ ยละ ๒.๖
ของผูสูงอายวุ ยั ปลาย มคี วามตองการท่ีจะทํางาน

กรมกิจการผูส งู อายุ ๓

แผนกลยทุ ธกรมกิจการผูส งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔. ผูสูงอายุเขารวมทํากิจกรรมหมูบาน/ชมรม ในระหวาง ๑๒ เดือนกอนวันสัมภาษณ
เพมิ่ ขึน้ จากรอ ยละ ๖๘.๙ ในป ๒๕๕๔ เปนรอ ยละ ๖๙.๖ ในป ๒๕๕๗

๕. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มจี าํ นวนผสู งู อายมุ ากทส่ี ดุ ประมาณรอ ยละ ๓๑.๙ รองลงมาคอื
ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต (รอยละ ๒๕.๖ รอยละ ๒๑.๑ และรอยละ ๑๒.๐ ตามลําดับ)
โดยกรุงเทพมหานครนอ ยสดุ คิดเปน รอ ยละ ๙.๔

๖. สวนใหญผ สู งู อายขุ องไทยจะมีอายอุ ยูในชวงวัยตน (อายุ ๖๐ - ๖๙ ป) ถงึ รอยละ ๕๖.๕
ของผสู ูงอายทุ ัง้ หมด

๗. ผสู ูงอายสุ วนใหญ (รอ ยละ ๗๕.๘) จบการศกึ ษาในระดับประถมศึกษาและต่ํากวาระดบั
ประถมศึกษา มีเพยี งรอยละ ๑๒.๖ ท่ีจบสูงกวาระดับประถมศึกษา และรอ ยละ ๑๑.๖ เปน ผสู ูงอายุท่ีไม
สามารถอา นและเขยี นหนงั สือได

๘. สัดสวนของผูสูงอายุท่ีอยูคนเดียวตามลําพังในครัวเรือนมีแนวโนมเพ่ิมสูงขึ้น โดยในป
๒๕๓๗ มีผูสูงอายุที่อยูคนเดียวรอยละ ๓.๖ และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ ๖.๓ รอยละ ๗.๗ รอยละ ๘.๖
ในป ๒๕๔๕ ๒๕๕๐ และ ๒๕๕๔ ตามลําดบั

นอกจากน้ี สังคมสงู วยั ยังมผี ูหญงิ มากกวาผูชาย คาดการณว าในป ๒๕๘๓ ประเทศไทยจะมี
อัตราสวนเพศอยูท่ี ๙๑.๖ คือมีผูช าย ๙๑.๖ คน ตอ ผูห ญิง ๑๐๐ คน โดยในกลมุ ของประชากรสงู อายุ
อตั ราสว นเพศจะอยทู ปี่ ระมาณ ๗๖.๒ คอื มผี ชู าย ๗๖.๒ ตอ ผหู ญงิ ๑๐๐ คน และ ๑ ใน ๓ ของผสู งู อายไุ ทย
(รอยละ ๓๔.๓) อยูใตเสนความยากจน (เปนผูมีรายไดต่ํากวา ๒,๕๗๒ บาทตอเดือน) (ไมรวมคน
ท่ีไมมีรายได) ซึ่งลดลงจากรอยละ ๔๖.๕ ในป ๒๕๔๕ และแหลงรายไดหลักท่ีผูสูงอายุไดรับจากบุตร
ยังลดลงอยา งเหน็ ไดช ัดจากรอ ยละ ๕๒.๓ ในป ๒๕๕๐ ลดลงเหลือ ๔๐.๑ และ ๓๖.๗ ในป ๒๕๕๔ และ
๒๕๕๗ ตามลาํ ดบั ในขณะทรี่ ายไดจ ากการทาํ งานมแี นวโนม สงู ขนึ้ (สถานการณผ สู งู อายไุ ทย พ.ศ. ๒๕๕๗,
มลู นธิ ิสถาบนั วจิ ัยและพฒั นาผูส ูงอายุไทย)

โดยสรปุ จะเหน็ ไดว า สถานการณท างประชากรของประเทศไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงไปอยา งมาก
สงผลใหรูปแบบการใชชีวิต/ วิถีชีวิตของผูสูงอายุและคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม การศึกษา
หาแนวทางการสง เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู งู อายทุ เ่ี หมาะสมตอ การใชช วี ติ ของผสู งู อายแุ ละสงั คม
ในปจ จบุ นั และอนาคตจงึ เปน สงิ่ จาํ เปน ทภี่ าครฐั และภาคประชาสงั คมควรตระหนกั ถงึ สถานการณด งั กลา ว
โดยอาศัยการมองภาพรวมและความเชอื่ มโยงในมติ ิตา งๆ ของการพฒั นางานดา นผูสูงอายุ ทงั้ ในมติ ิของ
สังคม สุขภาพ เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอม เพ่ือใหผูสูงอายุสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีความสุขและ
มศี กั ด์ิศรี

๔ กรมกิจการผูสงู อายุ

แผนกลยุทธกรมกจิ การผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๑.๒ ระบบราชการและกฎหมายท่เี กยี่ วขอ ง
การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ในปจ จบุ นั เนน การมสี ว นรว มจากทกุ ภาคสว น ความโปรง ใส สามารถ

ตรวจสอบได และยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศสคู วามย่งั ยืน
เนนคนเปนศูนยกลางในการพัฒนา สนับสนุนและสงเสริมแนวคิดการปฏิรูปประเทศการสราง
ความปรองดองสมานฉนั ท การพฒั นาสคู วามมน่ั คง มงั่ คงั่ และยง่ั ยนื โดยเปน การปฏริ ปู ระบบบรหิ ารและ
องคกรภาครัฐตามกรอบธรรมาภิบาล ประกอบกับเม่อื วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๘ พระราชบัญญตั ิปรบั ปรงุ
กระทรวง ทบวง กรม (ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดมีผลบังคับใช โดยไดจ ัดต้งั กรมกจิ การผูสงู อายขุ ึ้น
ในสงั กดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย ซงึ่ ไดโ อนภารกจิ และอาํ นาจหนา ทที่ เี่ กย่ี วขอ ง
กับงานดานผูสูงอายุ รวมถึงบุคลากรจากกรมตางๆ ในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษยใหมาอยูที่กรมกิจการผูสูงอายุ เพื่อเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานขององคกรภาครัฐ
ใหสามารถตอบสนองบริการที่ตรงกับความตองการของกลุมเปาหมายไดดียิ่งขึ้น ดวยการเพิ่มบทบาท
ของภาครัฐในภารกิจที่เกี่ยวบริหารงานเชิงยุทธศาสตรและการบริการใหอยูในสวนราชการเดียวกัน
และเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนและประชาชนใหเขามามีสวนรวมมากขึ้น โดยเรงกระจายอํานาจเสริม
สรา งความยดื หยนุ ความสามารถในการปรบั ตวั ใหท นั ตอ กระแสการเปลยี่ นแปลง การปรบั กระบวนทศั น
ในการออกแบบกลไกและกรอบทิศทางการทํางานเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงวิธีการทํางานใหมีการลด
ขน้ั ตอนและเนน ผลลพั ธข องงาน มกี ารมงุ เนน ใหเ กดิ ความรบั ผดิ ชอบและพรอ มทจ่ี ะรบั การตรวจสอบจาก
สาธารณะ เพอื่ ทาํ ใหก ารสง มอบบรกิ ารสาธารณะใหแ กป ระชาชนเกดิ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล เปน ธรรม
และทวั่ ถงึ อยา งแทจ รงิ

พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด ๓
การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ ตอภารกิจภาครัฐ ไดกําหนดใหสวนราชการตองจัดทํา
แผนกลยุทธ เพื่อกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย และกลยุทธเพื่อนําองคกรไปสูความสําเร็จ
ตามวตั ถปุ ระสงคท ตี่ งั้ ไว การวางแผนเชงิ กลยทุ ธจ งึ เปน แผนขององคก รทม่ี งุ ความเปน เลศิ ของการดาํ เนนิ การ
โดยมกี ารกาํ หนดวสิ ยั ทศั น เปา หมายระยะยาวทแ่ี นช ดั มกี ารวเิ คราะหค วามตอ งการทางยทุ ธศาสตรแ ละ
สภาพแวดลอม เพอ่ื ใหท นั กับการเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขึ้น รองรับระบบการทาํ งานทคี่ ลอ งตวั ประสิทธิภาพ
สูงและสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพื่อความอยูรอด (Survive) และความกาวหนา
(Growth) ขององคก ร การวางแผนกลยทุ ธม สี ว นอยา งมากตอ การสรา งความเปน ผนู าํ (Leadership) และ
ภาพลกั ษณ (Image) ท่แี สดงถงึ จุดเดน ของหนวยงาน

กรมกิจการผสู ูงอายุ ๕

แผนกลยุทธกรมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒. วัตถุประสงค

๒.๑ เพอ่ื เปน กรอบและแนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการของกรมกจิ การผสู งู อายใุ นการจดั ทาํ แผนงาน
โครงการ และกจิ กรรมการดําเนนิ งานป พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒.๒ เพื่อใชเปนทิศทาง/กรอบแนวทางในการติดตามประเมินผลการดําเนินงานของกรม
กจิ การผสู ูงอายุ

๒.๓ เพอ่ื เปน แนวทางในการสรา งความรู ความเขา ใจ ในการปฏบิ ตั งิ านเชงิ ยทุ ธศาสตรใ หแ ก
บคุ ลากรกรมกจิ การผสู ูงอายุ

๓. กรอบแนวคดิ การวางแผนกลยุทธ

การวางแผนกลยุทธของกรมกิจการผูสูงอายุไดใหความสําคัญกับกระบวนการมีสวนรวมของ
ผูบริหารและเจาหนาท่ีในทุกระดับท้ังในสวนกลางและสวนภูมิภาค และผูเช่ียวชาญเฉพาะดานผูสูงอายุ
ตลอดจนนักวิชาการผูมีความเชี่ยวชาญดานผูสูงอายุ และการศึกษาวิเคราะหสถานการณทางสังคมและ
สภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอกองคกร รวมถึงทั้งมิติภายในประเทศและภายนอกประเทศ
ตลอดจนผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) โดยการวิเคราะหถึงผลกระทบท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับองคกร
การนําผลการประเมินองคกรมาพิจารณารวมกันวาองคกรจะไดรับผลกระทบอยางไร การประเมิน
ศกั ยภาพในชว งปจ จบุ นั ขององคก ร เพอื่ จะไดก าํ หนดจดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตรแ ละทางเลอื กหรอื แนวกลยทุ ธ
การดําเนินงานใหสอดรับกับสภาพการณที่คาดหวังไว และมีความสอดคลองเหมาะสมกับศักยภาพของ
องคก รในปจ จบุ นั แผนกลยทุ ธจ งึ เปน ผลลพั ธข องการแสวงหาแนวทางในการใชค วามสามารถขององคก ร
กบั โอกาสและภยั คกุ คาม ทอี่ าจจะเกดิ จากการเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ มภายนอก เพอื่ ทอี่ งคก รจะ
ไดป ฏบิ ตั ิงานในหนาทไี่ ดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล

กรอบแนวคิดการจัดทําแผนกลยุทธของกรมกิจการผูสูงอายุไดอาศัยกระบวนการในการคิด
วิเคราะหเพื่อกําหนดจดุ ยืน (Positioning) ขององคกรในอนาคต ดว ยการระบุถึงวิสยั ทศั น เปาประสงค
หรือวตั ถุประสงค (Goals or objectives) ขององคก ร ตัวชีว้ ดั ผลงาน และแนวทางการดาํ เนนิ งานตาม
ยทุ ธศาสตร (Strategy) เพอื่ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคด งั กลา ว การวางแผนกลยทุ ธเ ปน การตดั สนิ ใจลว งหนา
เกยี่ วกับทศิ ทาง (Direction) การดาํ เนนิ งานหรือความคาดหวงั (Expectation/ Intention) ขององคกร
ในอนาคต

๖ กรมกจิ การผูสงู อายุ

แผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

กระบวนการจัดทาํ แผนกลยุทธตามกรอบการปฏิรปู ราชการโดยใชเ ครอื่ งมอื Balance Scorecard
๓.๑ วเิ คราะหค วามตอ งการทางยุทธศาสตร
๓.๑.๑ ศึกษาวิเคราะหน โยบาย (Policy Need)
๓.๑.๒ ศกึ ษาวิเคราะหผ ูที่มสี วนไดสวนเสีย (Stakeholder Need)
๓.๑.๓ ศกึ ษาวเิ คราะหส ภาพการณตามภารกจิ (Business Need)
๓.๒ กําหนดจดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตร
๓.๒.๑ ความตอ งการทางยุทธศาสตรท ตี่ องรบั ผดิ ชอบ
๓.๒.๒ พจิ ารณาขอบเขต
๓.๒.๓ ทบทวนความเปนไปได
๓.๒.๔ กรอบระยะเวลาท่ชี ดั เจน
๓.๓ ประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร
การวิเคราะหสภาพแวดลอมท่ีมีผลตอการกําหนดแผนกลยุทธการดําเนินงาน

(SWOT Analysis) ประกอบดวย การวิเคราะหจุดแข็ง (Strengths) จุดออน(Weaknesses) โอกาส
(Opportunities) และอุปสรรค (Threats)

๓.๔ กาํ หนดทิศทางยุทธศาสตร โดยการกําหนด
๓.๔.๑ วิสยั ทศั น (Vision)
๓.๔.๒ พันธกจิ (Mission)
๓.๔.๓ ประเด็นยทุ ธศาสตร (Strategic Issue)
๓.๔.๔ เปา ประสงค (Goal)

๓.๕ กําหนดระบบวัดผลและแปลงยุทธศาสตรส กู ารปฏิบตั ิ ดงั น้ี
๓.๕.๑ กําหนดตัวชี้วัด (Indicator)
๓.๕.๒ กาํ หนดเปา หมาย (Target)
๓.๕.๓ กําหนดกลยทุ ธ (Strategy)
๓.๕.๔ กําหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม (Initiative)

๓.๖ การดาํ เนนิ งานตามแผนกลยุทธ
๓.๖.๑ ปฏบิ ตั ติ ามแผน
๓.๖.๒ ตดิ ตามผล
๓.๖.๓ ประเมินผล
๓.๖.๔ รายงานผล

กรมกจิ การผูสงู อายุ ๗

แผนกลยทุ ธกรมกิจการผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔. วิธีการดาํ เนนิ งาน
๔.๑ แตง ตัง้ คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธกรมกิจการผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
๔.๒ จัดประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธกรมกิจการผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

เพ่ือรวมกันวิเคราะหส ภาพแวดลอ มท่มี ีผลตอ การกําหนดแผนกลยทุ ธก ารดาํ เนนิ งาน (SWOT Analysis)
๔.๓ จัดประชุมชี้แจงเพ่ือรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนกลยุทธกรมกิจการผูสูงอายุ

พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ เพื่อรวมแลกเปล่ียนขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอ (ราง) แผนกลยุทธของ
กรมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔.๔ ปรับ (ราง) แผนกลยทุ ธของกรมกจิ การผูส ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
๔.๕ นําเสนอ (ราง) แผนกลยุทธของกรมกิจการผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ท่ีผาน
การรับฟง ความคดิ เห็นตอทปี่ ระชุมคณะทํางานจดั ทําแผนกลยุทธกรมกิจการผสู งู อายฯุ
๔.๖ นําเสนอผูบริหารเพื่อขอความเห็นชอบแผนกลยุทธฯ และประกาศใชแผนกลยุทธ
กรมกจิ การผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
๔.๕ เผยแพรแ ผนกลยทุ ธของกรมกิจการผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๘ กรมกจิ การผสู งู อายุ

แผนกลยุทธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

บทท่ี ๒ การวิเคราะหภารกิจและสภาพแวดลอมขององคกร

๑. ภารกจิ ตามกฎหมาย

กรมกิจการผูสูงอายุ ไดจัดต้ังข้ึนเม่ือวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ตามพระราชบัญญัติปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ ซงึ่ ไดกาํ หนดใหก รมกิจการผูส งู อายุเปนหนวยงานหลกั
มีหนาที่รับผิดชอบภารกิจเกี่ยวกับผูสูงอายโุ ดยตรง เพื่อใหผูสูงอายุไดรับการสงเสริมศักยภาพ คุมครอง
และพิทักษสิทธิ สามารถดํารงชีวิตไดอยางม่ันคง มีคุณภาพชีวิตที่ดี กรมกิจการผูสูงอายุไดกําหนด
แนวทางและพฒั นามาตรการ กลไก โดยเนนดาํ เนินการในการสงเสรมิ การใชศกั ยภาพ การคุมครองและ
พิทักษสิทธิ และการจัดสวัสดิการสังคมแกผูสูงอายุภายใตพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และ
(ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ ทศิ ทางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
แผนผสู ูงอายแุ หง ชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ฉบบั ปรับปรุง ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ นโยบาย
รฐั บาลรวมทงั้ พนั ธกรณแี ละปฏญิ ญาตา งๆ ขอ เสนอการปฏริ ปู ประเทศของสภาปฏริ ปู แหง ชาตทิ เี่ กย่ี วขอ ง
ตลอดจนการปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารงานที่มุงผลสัมฤทธ์ิเปนหลักเพ่ือบรรลุวัตถุประสงคของ
องคกรตอ ไป

๒. อาํ นาจหนาท่ี

กรมกิจการผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย มีภารกิจเก่ียวกับ
การสง เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพ การจดั สวสั ดกิ ารและการคมุ ครองพทิ กั ษส ทิ ธผิ สู งู อายุ รวมทง้ั การพฒั นา
รูปแบบงานดานสวัสดิการสังคมใหครอบคลุมและตอบสนองตอสภาพการณทางสังคม กระแส
การเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลก พนั ธกรณี และขอ ตกลงระหวา งประเทศ เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และ
เสริมสรา งความมั่นคงในการดาํ รงชีวิตของผูส งู อายุ โดยใหมีอาํ นาจหนาที่ ดงั น้ี

๒.๑ เสนอนโยบายและแผนหลกั ยทุ ธศาสตร มาตรการ และแนวทางการสง เสรมิ และพฒั นา
ศักยภาพ การจดั สวสั ดกิ าร และการคุมครองพิทกั ษสทิ ธผิ ูสูงอายุ

กรมกจิ การผูส งู อายุ ๙

แผนกลยุทธกรมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒.๒ ศกึ ษา วเิ คราะห วจิ ยั และพฒั นามาตรการ กลไก มาตรฐาน และนวตั กรรมองคค วามรู
การดาํ เนินงานสง เสริมและพฒั นาศกั ยภาพ การจดั สวสั ดกิ าร และการคุมครองพทิ กั ษส ทิ ธิผสู งู อายุ และ
สง เสรมิ สนบั สนุนการดําเนนิ งานใหเปนไปตามมาตรฐานทีก่ ําหนด

๒.๓ สง เสรมิ สนบั สนนุ และประสานความรว มมอื กบั องคก รเครอื ขา ยทกุ ภาคสว นทเ่ี กยี่ วขอ ง
ในการดําเนนิ งานสงเสริมและพฒั นาศักยภาพ การจดั สวัสดกิ าร และการคมุ ครองพิทกั ษส ทิ ธผิ ูสงู อายุ

๒.๔ บริหารจัดการ และกํากับดูแลการดําเนินงานกองทุนผูสูงอายุ เพื่อการคุมครอง
การสงเสริม การสนบั สนนุ และการจัดสวสั ดกิ ารแกผูสูงอายุ

๒.๕ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพ การจัดสวัสดิการ
และการคมุ ครองพทิ ักษสทิ ธผิ สู ูงอายุ

๒.๖ พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศใหเ ออื้ ตอ การดาํ เนนิ งานดา นการสง เสรมิ และพฒั นา
ศกั ยภาพ การจดั สวัสดกิ าร และการคุมครองพทิ กั ษส ทิ ธิผูสูงอายุ

๒.๗ ปฏิบัติงานอื่นใดตามท่ีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาท่ีของกรมกิจการผูสูงอายุ
หรือตามที่รฐั มนตรี คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

๓. กฎหมายและนโยบายที่เกยี่ วของ

๓.๑ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง
๓.๑.๑ พระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่ีแกไขเพิ่มเติม ฉบับท่ี ๒

พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมเี หตผุ ลความจาํ เปน ในการตรากฎหมายกฎหมายฉบบั นเ้ี พอื่ ใหก ารดาํ เนนิ งานเกยี่ วกบั
การคมุ ครอง การสง เสรมิ และการสนบั สนนุ ตอ สทิ ธแิ ละประโยชนข องผสู งู อายเุ ปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และใหผสู ูงอายุมสี ทิ ธไิ ดรบั ความชวยเหลือจากรัฐ โดยสรปุ สาระสาํ คัญได ดงั นี้

๓.๑.๑.๑ นยิ ามผสู งู อายุ หมายถงึ บคุ คลซง่ึ มอี ายเุ กนิ หกสบิ ปบ รบิ รู ณข น้ึ ไป
และมีสญั ชาติไทย (มาตรา ๓)

๓.๑.๑.๒ ใหมีคณะกรรมการผสู ูงอายแุ หงชาติ (มาตรา ๔) เรยี กโดยยอ วา
“กผส.” เปน กลไกระดับชาติ ประกอบดวย (๑) นายกรฐั มนตรเี ปน ประธานคณะกรรมการ (๒) รัฐมนตรี
วาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เปนรองประธานกรรมการ คนท่ีหน่ึง
(๓) ประธานสมาคมสภาผสู งู อายแุ หง ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภส มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
เปน รองประธานกรรมการ คนทีส่ อง (๔) ปลดั กระทรวงการคลงั ปลดั กระทรวง

๑๐ กรมกิจการผสู ูงอายุ

แผนกลยุทธก รมกจิ การผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

การตางประเทศ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกรุงเทพมหานคร
ผอู าํ นวยการสาํ นกั งบประมาณ เลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ประธาน
สภาสงั คมสงเคราะหแ หง ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ และเลขาธกิ ารสภากาชาดไทย เปน กรรมการ
โดยตําแหนง (๕) กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจากผูแทนองคกรท่ีเกี่ยวของกับงาน
ในดานการคุมครอง การสงเสริมและการสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมผูสูงอายุจํานวน
ไมเกินหาคน (๖) กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจํานวนไมเกินหาคน โดยมีอธิบดี
กรมกิจการผสู งู อายุ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย เปนกรรมการและเลขานกุ าร
และผูอํานวยการกองยุทธศาสตรและแผนงาน กรมกิจการผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนษุ ย และผอู าํ นวยการสถาบนั เวชศาสตรผ สู งู อายุ กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ
เปนผชู ว ยเลขานกุ าร

ท้ังนี้ กรรมการผูทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูแทนองคกร
เอกชนท่ีเก่ียวของกับงานในดานการคุมครอง การสงเสริมและการสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และ
กิจกรรมของผสู ูงอายจุ ํานวนไมเ กนิ ๕ คน ตาม (๕) ใหแตงต้งั จากบุคคลซงึ่ องคกรเอกชนไดเลือกกันเอง
และการแตง ตง้ั กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ใิ หแ ตง ตง้ั จากบคุ คลซง่ึ ไมเ ปน ขา ราชการทม่ี ตี าํ แหนง หรอื เงนิ เดอื น
ประจํา พนกั งานหรอื ลูกจา งของหนว ยงานราชการ หนว ยงานของรฐั วิสาหกจิ ราชการสว นทอ งถิ่น หรือ
องคกรอื่นของรัฐ เวนแตเปนผูสอนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ โดยหลักเกณฑและวิธีการในการเลือก
และการพนจากตําแหนงของผูแทนองคกรเอกชน ใหเปนไปตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีกําหนด ท้ังนี้โดยให
กรรมการตาม (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ดําเนินการสรรหาและพจิ ารณาการคัดเลือกผูทรงคณุ วุฒิเสนอ
ใหค ณะรัฐมนตรีแตงตัง้ เปนกรรมการตาม (๖)

ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาท่ีดังตอไปน้ี (๑) กําหนดนโยบาย
และแผนหลักเกยี่ วกับการคมุ ครองการสงเสริม และการสนบั สนุนสถานภาพ บทบาท และกจิ กรรมของ
ผูสูงอายุโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ท้ังน้ี ตองสงเสริมและสนับสนุนใหสถาบันครอบครัวไดมี
สวนรวมในการดูแลผูสูงอายุ (๒) กําหนดแนวทางปฏิบัติตามนโยบายและแผนหลักตาม (๑) ตลอดจน
ประสานงานติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนหลักดังกลาว (๓) พิจารณาให
การสนับสนุนและชวยเหลือกิจกรรมของหนวยงานของรัฐและภาคเอกชน เกี่ยวกับการสงเคราะหและ
การพฒั นาผสู งู อายุ (๔) กาํ หนดระเบยี บเกย่ี วกบั การบรหิ ารกองทนุ การจดั หาผลประโยชนแ ละการจดั การ
กองทุนโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังตามมาตรา ๒๐ (๑) (๕) กําหนดระเบียบเก่ียวกับ

กรมกจิ การผูส งู อายุ ๑๑

แผนกลยุทธก รมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

การพิจารณาอนุมัติการจายเงินเพ่ือการคุมครอง การสงเสริม การสนับสนุน และการจัดสวัสดิการแก
ผสู งู อายตุ ามมาตรา ๒๐ (๒) (๖) กาํ หนดระเบยี บเกยี่ วกบั การจดั ทาํ รายงานสถานะการเงนิ และการบรหิ าร
กองทุนตามมาตรา ๒๐ (๓) (๗) กําหนดระเบยี บเกย่ี วกบั การรบั เงิน การจายเงนิ และการเก็บรักษาเงนิ
กองทุน โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังตามมาตรา ๒๑ (๘) กําหนดระเบียบอ่ืนที่เก่ียวของ
เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (๙) เสนอความเห็นและขอสังเกตตอคณะรัฐมนตรีใหมีหรือแกไข
กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การคมุ ครอง การสง เสรมิ และการสนบั สนนุ สถานภาพ บทบาท และกจิ กรรมของ
ผูส งู อายุ (๑๐) เสนอรายงานสถานการณเกยี่ วกับผสู งู อายขุ องประเทศตอ คณะรัฐมนตรอี ยางนอ ยปละ
หนง่ึ ครง้ั (๑๑) พจิ ารณาเรอื่ งอน่ื ใดเกยี่ วกบั ผสู งู อายตุ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หรอื กฎหมายอนื่ บญั ญตั ใิ หเ ปน
อํานาจหนาทข่ี องคณะกรรมการหรอื ตามทคี่ ณะรฐั มนตรมี อบหมาย

ทั้งนี้ ใหกรมกิจการผูสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย มีอํานาจหนาที่ดําเนินการตางๆ เก่ียวกับการคุมครอง การสงเสริมและ
การสนับสนุนท่ีเกี่ยวกับผูสูงอายุและรับผิดชอบในงานธุรการและงานวิชาการของคณะกรรมการและ
ใหมีอํานาจหนาที่ ดังน้ี (๑) จัดทําแนวทางปฏิบัติตามนโยบายและแผนหลักเกี่ยวกับการคุมครอง
การสงเสริมและการสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมของผูสูงอายุเสนอตอคณะกรรมการ
(๒) รวบรวมขอมูล ศึกษา วิจัย และพัฒนาเก่ียวกับงานคุมครองสงเสริม และสนับสนุนท่ีเกี่ยวของกับ
ผูสูงอายุ (๓) เปนศูนยกลางในการประสานงานเผยแพร และประชาสัมพันธงานหรือกิจกรรมเก่ียวกับ
ผูสูงอายุ (๔) สรางระบบการดูแลผูสูงอายุในชุมชน (๕) รวมมือและประสานงานกับราชการบริหาร
สวนกลาง ราชการบรหิ ารสว นภูมิภาค ราชการบริหารสวนทอ งถิ่น และรัฐวสิ าหกจิ ตลอดจนองคกรใน
การจดั ใหผ ูสูงอายุไดรับการคุมครอง การสงเสรมิ และการสนบั สนนุ ตามพระราชบญั ญัตนิ ้แี ละกฎหมาย
อน่ื ทเี่ กย่ี วขอ ง (๖) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามแผนหลกั ของหนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ งแลว รายงาน
ตอ คณะกรรมการ (๗) พจิ ารณาเสนอความเหน็ ตอ คณะกรรมการในการใหม หี รอื แกไ ขกฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั
การคุมครอง การสงเสรมิ และสนับสนนุ สถานภาพบทบาท และกจิ กรรมของผสู งู อายุ และ (๘) ปฏบิ ัติ
หนา ทีอ่ ื่นตามทค่ี ณะกรรมการมอบหมาย

๓.๑.๑.๓ สิทธิผูสูงอายุ (มาตรา ๑๑) ผูสูงอายุมีสิทธิไดรับการคุมครอง
การสง เสรมิ และการสนบั สนนุ ในดา นตา งๆ ดงั นี้ (๑) การบรกิ ารทางการแพทยแ ละการสาธารณสขุ ทจี่ ดั ไว
โดยใหความสะดวกและรวดเร็วแกผ ูสูงอายเุ ปน กรณพี ิเศษ (๒) การศึกษา การศาสนา และขอมูลขา วสาร
ทเี่ ปน ประโยชนต อ การดาํ เนนิ ชวี ติ (๓) การประกอบอาชพี หรอื ฝก อาชพี ทเี่ หมาะสม (๔) การพฒั นาตนเอง
และการมสี ว นรว มในกจิ กรรมทางสงั คม การรวมกลมุ ในลกั ษณะเครอื ขา ยหรอื ชมุ ชน และ (๕) การอาํ นวย

๑๒ กรมกจิ การผูสูงอายุ

แผนกลยทุ ธกรมกจิ การผูส ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

ความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแกผูสูงอายุในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการบริการ
สาธารณะอนื่ (๖) การชว ยเหลอื ดา นคา โดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม (๗) การยกเวน คา เขา ชม
สถานที่ของรัฐ (๘) การชวยเหลือผูสูงอายุซึ่งไดรับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหา
ประโยชนโ ดยมชิ อบดว ยกฎหมาย หรอื ถกู ทอดทง้ิ (๙) การใหค าํ แนะนาํ ปรกึ ษา ดาํ เนนิ การอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ ง
ในทางคดีหรือในทางการแกไขปญหาครอบครัว (๑๐) การจัดท่ีพักอาศัย อาหารและเครื่องนุงหมให
ตามความจําเปนอยางทั่วถึง (๑๑) การจายเงินเบี้ยยังชีพเปนรายเดือนอยางทั่วถึงและเปนธรรม (๑๒)
การสงเคราะหในการจดั การศพตามประเพณี (๑๓) การอน่ื ตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาํ หนด

๓.๑.๑.๔ กองทนุ ผสู งู อายุ (มาตรา ๑๓ - ๑๕ และ ๑๘ - ๒๒) ใหจ ดั ตงั้ กองทนุ
ขน้ึ กองทนุ หนงึ่ ในกรมกจิ การผสู งู อายุ เรยี กวา “กองทนุ ผสู งู อาย”ุ เพอื่ เปน ทนุ ใชจ า ยเกย่ี วกบั การคมุ ครอง
การสง เสรมิ และการสนบั สนนุ ผสู งู อายตุ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี โดยใหม คี ณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ คณะ
หน่งึ ประกอบดวย (๑) ปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย เปนประธานกรรมการ
(๒) อธิบดีกรมกิจการผูสูงอายุเปนรองประธานกรรมการ (๓) ผูแทนกระทรวงสาธารณสุข (๔) ผูแทน
สาํ นกั งบประมาณ (๕) ผแู ทนกรมบญั ชกี ลาง และ (๖) ผทู รงคณุ วฒุ ิ ซงึ่ คณะกรรมการแตง ตงั้ จาํ นวนหา คน
ในจํานวนน้ีตองเปนผูแทนองคกรของผูสูงอายุจํานวนหน่ึงคน ผูแทนองคกรเอกชนที่เก่ียวของกับงาน
ในดา นการคมุ ครอง การสง เสรมิ และการสนบั สนนุ สถานภาพ บทบาท และกจิ กรรมของผสู งู อายจุ าํ นวน
หนง่ึ คน และผมู คี วามรคู วามเชยี่ วชาญในการระดมทนุ จาํ นวนหนง่ึ คนเปน กรรมการ และ (๗) ใหผ อู าํ นวยการ
กองยุทธศาสตรและแผนงานเปนกรรมการและเลขานุการ ซ่ึงมีอํานาจหนาที่ดังนี้ (๑) บริหารกองทุน
รวมท้ังดําเนินการเก่ียวกับการจัดหาผลประโยชน และการจัดกองทุนใหเปนไปตามระเบียบ
ทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด (๒) พจิ ารณาอนมุ ตั กิ ารใชจ า ย เพอ่ื การคมุ ครอง การสง เสรมิ และการจดั สวสั ดกิ าร
แกผสู ูงอายุ ทัง้ นี้ ตามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการกําหนด และ (๓) รายงานสถานะการเงินและการบริหาร
กองทุนตอคณะกรรมการตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกาํ หนด

๓.๑.๑.๕ การลดหยอนภาษี
๑) ผบู รจิ าคเงนิ หรอื ทรพั ยส นิ ใหแ กก องทนุ มสี ทิ ธนิ าํ ไปลดหยอ น

ในการคาํ นวณภาษเี งนิ ได หรอื ไดร บั การยกเวน ภาษสี าํ หรบั ทรพั ยส นิ ทบี่ รจิ าคแลว แตก รณที งั้ นี้ ตามหลกั เกณฑ
วธิ กี าร และเง่อื นไขท่กี าํ หนดในประมวลรัษฎากร (มาตรา ๑๖)

๒) ผอู ปุ การะเลยี้ งดบู พุ การซี ง่ึ เปน ผสู งู อายทุ ไ่ี มม รี ายไดเ พยี งพอ
แกการยังชีพผูนั้นมีสิทธิไดรับการลดหยอนภาษี ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขที่กําหนดใน
ประมวลรัษฎากร (มาตรา ๑๗)

กรมกจิ การผสู ูงอายุ ๑๓

แผนกลยทุ ธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒ นโยบาย แผน และขอเสนอแนะทเี่ กี่ยวของ
๓.๒.๑ นโยบายรฐั บาล
คณะรัฐมนตรีโดยนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา) ไดแถลง

นโยบายตอ สภานิติบญั ญัตแิ หง ชาติ เม่ือวนั ศกุ รที่ ๑๒ กนั ยายน ๒๕๕๗ ไดก าํ หนดนโยบายการบริหาร
ราชการแผน ดิน ๑๑ ดาน ประกอบดว ย (๑) การปกปอ งและเชิดชสู ถาบนั พระมหากษัตรยิ  (๒) การรกั ษา
ความม่ันคงของรัฐและการตางประเทศ (๓) การลดความเหลื่อมล้ําของสังคมและการสรางโอกาสการ
เขาถึงบริการของรัฐ (๔) การศึกษาและการเรียนรู การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (๕)
การยกระดบั คณุ ภาพบรกิ ารดา นสาธารณสขุ และสขุ ภาพของประชาชน (๖) การเพม่ิ ศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ
ของประเทศ (๗) การสงเสริมบทบาทและการใชโอกาสในประชาคมอาเซยี น (๘) การพัฒนาและสงเสรมิ
การใชประโยชนจากวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม (๙) การรักษา
ความม่ันคงของฐานทรัพยากร และการสรางสมดุลระหวางการอนุรักษกับการใชประโยชนอยางย่ังยืน
(๑๐) การสงเสริมการบริหารราชการแผนดินท่ีมีธรรมาภิบาลและการปองกันปราบปรามการทุจริต
และประพฤตมิ ิชอบในภาครัฐ (๑๑) การปรับปรงุ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม

โดยนโยบายทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ผสู งู อายุ คอื นโยบายดา นท่ี ๓ การลดความเหลอ่ื ม
ลาํ้ ของสงั คมและการสรา งโอกาสการเขา ถึงบริการของรฐั ดังน้ี

๓.๑ ขอท่ี ๓ ในระยะตอ ไป จะพฒั นาระบบการคมุ ครองทางสงั คม ระบบ
การออมและระบบสวัสดิการชุมชนใหมีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมากย่ิงขึ้น รวมทั้งการดูแลใหมี
ระบบการกยู มื ทเ่ี ปน ธรรมและการสงเคราะหผ ยู ากไรต ามอตั ภาพ พฒั นาศกั ยภาพ คมุ ครองและพทิ กั ษส ทิ ธิ
จดั สวัสดิการชวยเหลือและพฒั นาคุณภาพชีวติ ของผูดอ ยโอกาส ผพู ิการ ผูสูงอายุ สตรี และเด็ก

๓.๒ ขอท่ี ๔ เตรยี มความพรอมเขาสสู งั คมผสู งู อายุ เพอ่ื สง เสริมคณุ ภาพ
ชวี ติ และการมงี านหรอื กจิ กรรมทเี่ หมาะสม เพอ่ื สรา งสรรคแ ละไมก อ ภาระตอ สงั คมในอนาคต โดยจดั เตรยี ม
ระบบการดูแลในบาน สถานพักฟน และโรงพยาบาล ท่ีเปนความรวมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน
ชมุ ชน และครอบครัว รวมทงั้ พัฒนาระบบการเงินการคลังสําหรบั การดูแลผูส งู อายุ

๑๔ กรมกิจการผูสงู อายุ

แผนกลยทุ ธก รมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๒ แผนผสู งู อายุแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ฉบับปรบั ปรุง
ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ ถือเปนแผนยุทธศาสตรหลักในการดําเนินงานดานผูสูงอายุในชวง
พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔ ซงึ่ คณะกรรมการผสู งู อายแุ หง ชาตไิ ดเ หน็ ชอบแผนผสู งู อายแุ หง ชาตฯิ และมอบหมาย
ใหก ระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยน าํ เสนอคณะรฐั มนตรแี ละใหห นว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง
ทป่ี รากฏในแผนฯ ดาํ เนนิ การตามมาตรการทก่ี าํ หนด ซงึ่ คณะรฐั มนตรไี ดม มี ตอิ นมุ ตั ิ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ เมษายน
๒๕๕๓ โดยแผนดังกลา วไดใหค วามสําคญั ตอ “วงจรชวี ิต” และความสําคญั ของทุกคนในสงั คมทมี่ ีความ
เก่ยี วพันกับผสู ูงอายุ สรุปสาระสําคัญไดดงั น้ี

๓.๒.๒.๑ วิสยั ทศั น : “ผูส งู วัยเปน หลักชยั ของสงั คม”
๓.๒.๒.๒ ปรัชญา ผูสูงอายุไมใชบุคคลดอยโอกาสหรือเปนภาระตอสังคม
แตสามารถมีสวนรวม เปนพลังพัฒนาสังคม จึงควรไดรับการสงเสริมและเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน
และรฐั ใหด าํ รงชวี ติ อยอู ยา งมคี ณุ คา มศี กั ดศิ์ รี และคงไวซ ง่ึ ภาวะสขุ ภาพและความเปน อยทู ดี่ ใี หน านทส่ี ดุ
๓.๒.๒.๓ ประเด็นสาํ คญั

๑) ผูสูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตท่ีดี คือ (๑) มีสุขภาพท่ีดีท้ังกาย
และจิต (๒) ครอบครัวมีสขุ สงั คมเอ้อื อาทร อยใู นสง่ิ แวดลอมท่ีเหมาะสม ปลอดภยั (๓) มหี ลกั ประกัน
ทม่ี ่ันคง ไดร บั สวัสดิการและการบริการทเี่ หมาะสม (๔) อยูอ ยางมีคุณคา มศี กั ดศ์ิ รี พึง่ ตนเองได เปน ทีย่ ึด
เหนย่ี วทางจติ ใจและมสี ว นรว มในครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม และ (๕) มโี อกาสเขา ถงึ ขอ มลู และขา วสาร
อยางตอเน่อื ง

๒) ครอบครวั และชมุ ชนเปน สถาบนั หลกั ทมี่ คี วามเขม แขง็ สามารถ
ใหก ารเกอื้ หนุนแกผูสูงอายไุ ดอ ยางมีคุณภาพ

๓) ระบบสวสั ดกิ ารและบรกิ ารจะตอ งสามารถรองรบั ผสู งู อายใุ ห
สามารถดํารงอยูกบั ครอบครวั และชมุ ชนไดอยางมคี ุณภาพและมีมาตรฐาน

๔) ทุกภาคสวนจะตองมีสวนรวมในระบบสวัสดิการและบริการ
ใหแกผูสูงอายุโดยมีการกาํ กับดแู ลเพ่ือการคุมครองผสู ูงอายุในฐานะผบู รโิ ภค

๕) ตอ งมกี ารดาํ เนนิ การทเี่ หมาะสมเพอ่ื ชว ยใหผ สู งู อายทุ ที่ กุ ขย าก
และตอ งการการเกื้อกูลใหดาํ รงชวี ิตอยใู นชุมชนไดอ ยา งดีและตอเน่ือง

กรมกิจการผูสูงอายุ ๑๕

แผนกลยทุ ธกรมกจิ การผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๒.๔ ยทุ ธศาสตร ประกอบดวย ๕ ประเด็นยทุ ธศาสตร ดงั น้ี
๑) ยทุ ธศาสตรท ่ี ๑ ยทุ ธศาสตรด า นการเตรยี มความพรอ มของ

ประชากรเพือ่ วยั สูงอายุท่ีมคี ุณภาพ ประกอบดว ย ๓ มาตรการ ไดแก (๑) มาตรการหลกั ประกัน
ดานรายไดเ พื่อวัยสงู อายุ (๒) มาตรการการใหก ารศึกษาและการเรยี นรตู ลอดชีวติ และ (๓) มาตรการ
การปลุกจิตสาํ นึกใหค นในสงั คมตระหนักถงึ คุณคาและศักดศ์ิ รขี องผูสงู อายุ

๒) ยุทธศาสตรท่ี ๒ ยุทธศาสตรดานการสงเสริมและพัฒนา
ผูส งู อายุ ประกอบดวย ๖ มาตรการ ไดแ ก (๑) มาตรการสง เสริมสขุ ภาพปอ งกนั การเจบ็ ปว ย และดแู ล
ตนเองเบ้ืองตน (๒) มาตรการสงเสริมการรวมกลุมและสรางความเขมแข็งขององคกรผูสูงอายุ (๓)
มาตรการสงเสริมดานการทํางานและการหารายไดของผูสูงอายุ (๔) มาตรการสนับสนุนผูสูงอายุที่มี
ศักยภาพ (๕) มาตรการสงเสริมสนับสนุนส่ือทุกประเภทใหมีรายการเพื่อผูสูงอายุและสนับสนุนใหผูสูง
อายุไดรบั ความรูแ ละสามารถเขาถึงขาวสารและส่ือ และ (๖) มาตรการสงเสริมและสนับสนนุ ใหผ สู ูงอายุ
มที ีอ่ ยูอ าศยั และสภาพแวดลอมทเ่ี หมาะสม

๓) ยุทธศาสตรท่ี ๓ ยทุ ธศาสตรด า นระบบคมุ ครองทางสงั คม
สําหรับผสู ูงอายุ ประกอบดวย ๔ มาตรการ ไดแ ก (๑) มาตรการคมุ ครองดา นรายได (๒) มาตรการหลกั
ประกนั ดา นสขุ ภาพ (๓) มาตรการดา นครอบครวั ผดู แู ล และการคมุ ครอง และ (๔) มาตรการระบบบรกิ าร
และเครือขายการเก้อื หนุน

๔) ยทุ ธศาสตรท ี่ ๔ ยทุ ธศาสตรด า นการบรหิ ารจดั การเพอ่ื การ
พฒั นางานดา นผสู งู อายอุ ยา งบรู ณาการระดบั ชาติ และการพฒั นาบคุ ลากรดา นผสู งู อายุ ประกอบดว ย
๒ มาตรการ ไดแ ก (๑) มาตรการ การบรหิ ารจดั การเพอ่ื การพฒั นางานดา นผสู งู อายอุ ยา งบรู ณาการระดบั
ชาติ และ (๒) มาตรการสงเสริมและสนบั สนุนการพฒั นาบคุ ลากรดานผสู งู อายุ

๕) ยุทธศาสตรที่ ๕ ยุทธศาสตรด า นการประมวล พัฒนา และ
เผยแพรอ งคค วามรดู า นผสู งู อายแุ ละการตดิ ตามประเมนิ ผลการดาํ เนนิ การตามแผนผสู งู อายแุ หง ชาติ
ประกอบดวย ๓ มาตรการ ไดแ ก (๑) มาตรการสนับสนุนและสง เสรมิ การวิจยั และพัฒนาองคความรู
ดานผูสูงอายุสําหรับการกําหนดนโยบาย และการพัฒนาการบริการหรือการดําเนินการท่ีเปนประโยชน
แกผ สู งู อายุ (๒) มาตรการดาํ เนนิ การใหม กี ารตดิ ตามประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานตามแผนผสู งู อายแุ หง ชาติ
ทมี่ มี าตรฐานอยา งตอ เนอื่ ง และ (๓) มาตรการพฒั นาระบบขอ มลู ทางดา นผสู งู อายใุ หถ กู ตอ งและทนั สมยั
โดยมีระบบฐานขอมลู ทส่ี าํ คญั ดานผสู งู อายุท่งี ายตอการเขาถึงและสืบคน

๑๖ กรมกจิ การผูสงู อายุ

แผนกลยุทธกรมกิจการผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๓ ทิศทางแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐
- ๒๕๖๔) สรุปสาระสําคัญได ดงั นี้

๓.๒.๓.๑ กรอบวสิ ยั ทศั น นอ มนาํ และประยกุ ตใ ชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง ยึดคนเปนศนู ยกลางของการพัฒนาอยา งมสี วนรวม การพฒั นาทีย่ ึดหลกั สมดลุ ยัง่ ยืน การให
ความสําคัญกับการกําหนดทิศทางการพัฒนาที่มุงสูการเปล่ียนผานประเทศไทยจากประเทศท่ีมีรายได
ปานกลางไปสูประเทศท่ีมีรายไดสูง มีการกระจายรายไดและการพัฒนาอยางเทาเทียม มีระบบนิเวศน
ท่ีดี สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข และนําไปสูการบรรลุวิสัยทัศนระยะยาว “มั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน”
ของประเทศ

๓.๒.๓.๒ การกําหนดตําแหนงทางยุทธศาสตรของประเทศ (Country
Strategic Positioning) ใหสอดคลองกับจุดเนนของประเทศและบริบทในอนาคต ประเทศไทย
จะเปนประเทศท่ีมีรายไดสูงที่มีการกระจายรายไดอยางเปนธรรม เปนศูนยกลางดานการขนสงและ
โลจสิ ตกิ สข องภมู ภิ าคสคู วามเปน ชาตกิ ารคา และบรกิ าร (Trading and Service Nation) เปน แหลง ผลติ
สินคาเกษตรกรรมยง่ั ยนื แหลง อุตสาหกรรมสรา งสรรคและมีนวัตกรรมสูงเปนมิตรตอ ส่งิ แวดลอ ม

๓.๒.๓.๓ แนวทางการพัฒนา ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) แบงเปนแนวทางการพัฒนาออกเปน ๗ ดานดังนี้ (๑)
การพฒั นาเศรษฐกจิ ในภาพรวม (๒) การพฒั นาเศรษฐกจิ รายสาขา (๓) การพฒั นาการเกษตรสคู วามเปน เลศิ
ดานอาหาร (๔) การพัฒนาศักยภาพคนใหสนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี
(๕) การสรางความเสมอภาคเพ่ือรองรับสังคมสูงวัยอยางมีคุณภาพ (๖) การพัฒนาพื้นที่ ภาค และ
การเช่อื มโยงภมู ภิ าค และ (๗) การพฒั นาดานการขนสงและโลจสิ ตกิ สเช่ือมโยงในประเทศและภมู ิภาค

แนวทางที่เกี่ยวของกับงานดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ
คอื แนวทางท่ี ๔ การพัฒนาศักยภาพคนใหสนับสนุนการเจรญิ เตบิ โตของประเทศและมีคุณภาพชวี ิตท่ีดี
และแนวทางท่ี ๕ การสรา งความเสมอภาคเพื่อรองรับสงั คมสงู วัยอยางมีคณุ ภาพ โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้

กรมกจิ การผูสูงอายุ ๑๗

แผนกลยุทธก รมกจิ การผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๑) แนวทางที่ ๔ การพฒั นาศกั ยภาพคนใหส นบั สนนุ การเจรญิ
เตบิ โตของประเทศและมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ี

๑.๑) ขอ ๑ การพฒั นาศกั ยภาพคนในทกุ ชว งวยั ใหส นบั สนนุ
การเจริญเติบโตของประเทศ โดยชวงการตั้งครรภ/ แรกเกิด/ ปฐมวัย มีการสงเสริมอนามัยแมและ
เด็กและพัฒนาการท่ีสมวัยทั้งในดานรางกายสติปญญา อารมณ และสังคม วัยเรียน/ วัยรุน/นักศึกษา
ใหมีความรูสอดรับกับทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ท้ังทักษะการเรียนรูในเชิงคิดสังเคราะห สรางสรรค
ตอยอดไปสูการสรางนวัตกรรมความรู ทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี
วยั แรงงาน ใหม กี ารพฒั นาสมรรถนะและทกั ษะแรงงานใหส อดคลอ งกบั วทิ ยาการและเทคโนโลยสี มยั ใหม
มีทักษะทางดานภาษา ความคิดสรางสรรค วัยผูสูงอายุ ใหมีการทํางานที่เหมาะสมตามศักยภาพและ
ประสบการณ มีรายไดเ พียงพอในการดํารงชวี ิต มกี ารสรางเสริมและฟน ฟสู ขุ ภาพเพอ่ื ปองกนั หรือชะลอ
ความทพุ พลภาพและโรคเร้อื รังตางๆ

๑.๒) ขอ ๓ การสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค โดย
มุงเนนการปองกันและควบคุมปจจัยกําหนดสุขภาพทางสังคม (Social Determinant of Health)
การพัฒนารูปแบบการกีฬาเพ่ือสุขภาพและการพัฒนาดานโภชนาการท่ีเหมาะสมกับแตละชวงวัย
การเผยแพรความรูดานสุขภาพเพื่อนําไปสูการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ การสงเสริมความรู
ดานการคุมครองผูบริโภค การสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทยที่เหมาะสม
สาํ หรบั ผสู งู อายุ รวมทงั้ สง เสรมิ การใหค วามสาํ คญั กบั มติ สิ ขุ ภาพในทกุ นโยบายสาธารณะ (Health in All
Policies) เพอ่ื ใหก ารขบั เคลอ่ื นนโยบายของทกุ ภาคสว นตระหนกั ถงึ ผลกระทบของนโยบายสาธารณะทม่ี ี
ตอสุขภาพของประชาชน

๒) แนวทางท่ี ๕ การสรา งความเสมอภาคเพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วยั
อยางมคี ณุ ภาพ

๒.๑) ขอ ๑ การสรางโอกาสในการเขาถึงทรัพยากรและ
บริการทางสังคมอยางเสมอภาคโดยเฉพาะกลุมผูท่ีมีรายไดนอยและกลุมผูดอยโอกาส โดย
(๑) สนับสนุนใหเกษตรกรรายยอยที่ไรท่ีดินทํากินและยากจนมีที่ดินเปนของตัวเองหรือมีสิทธิทํากิน
ในท่ีดิน (๒) การจัดรูปแบบสวัสดิการพ้ืนฐานท่ีจําเปนและเหมาะสมตามกลุมเปาหมาย (Customized
Welfare) ท่ีคํานึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกตางกัน โดยมีแนวทางการรับภาระคาใชจาย
รวมกัน (๓) พัฒนาระบบบริการสาธารณะใหมีคุณภาพและมีชองทางการเขาถึงอยางหลากหลาย
โดยเฉพาะระบบริการสาธารณะสุข การศึกษาข้ันพื้นฐาน และสวัสดิการสังคม และ (๔) สนับสนุน
การจัดการท่ีอยูอาศัยของผูมีรายไดนอยและการเขาถึงระบบสาธารณูปโภค โดยเฉพาะการพัฒนา
โครงการทอ่ี ยอู าศัยเพ่อื แกปญ หาชมุ ชนแออัดในเมือง

๑๘ กรมกิจการผสู งู อายุ

แผนกลยุทธกรมกิจการผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒.๒) ขอ ๒ การสรางความมั่นคงดานรายไดและโอกาส
ในการประกอบอาชีพ โดยสนับสนุนในประชาชนมีโอกาสเขาถึงการเรียนรู ไดรับการฝกทักษะอาชีพ
และการสนบั สนุนสินเช่ือหรอื ทุนเพือ่ การประกอบอาชพี อิสระและการสรางผปู ระกอบการรายใหม

๒.๓) ขอ ๓ การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การในระบบสขุ ภาพ
โดยพฒั นาระบบขอ มลู สารสนเทศในการบรหิ ารทรพั ยากรดา นสาธารณสขุ เพอ่ื ลดความเหลอื่ มลาํ้ ระหวา ง
ระบบหลกั ประกันสขุ ภาพภาครฐั ๓ กองทุน สง เสริมการอภบิ าลระบบสขุ ภาพในรปู แบบเครอื ขา ยพน้ื ที่
สาธารณสุขที่มีการใชทรัพยากรรวมกัน การสนับสนุนความรวมมือกันระหวางภาครัฐและภาคเอกชน
ในการพฒั นาระบบบรกิ าร การนาํ รายไดจ ากการเปน ศนู ยก ลางสขุ ภาพนานาชาตกิ ลบั มาใชม าใชย กระดบั
คุณภาพบริการสาธารณสุขภายในประเทศ ตลอดจนการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และ
การพฒั นาระบบเฝา ระวงั ปอ งกัน และควบคุมโรคเฉพาะในเขตพืน้ ทชี่ ายแดน

๒.๔) ขอ ๔ การเขาถึงระบบกระบวนการยุติธรรมอยาง
เสมอภาค โดยการใหความรูเบื้องตนเก่ียวกับสิทธิและหนาท่ีตามกฎหมายแกประชาชน การพัฒนา
ศกั ยภาพชมุ ชนใหม สี ว นรว มในกระบวนการยตุ ธิ รรมเพอื่ เสรมิ สรา งความเขม แขง็ ของระบบยตุ ธิ รรมชมุ ชน
การเพมิ่ ศกั ยภาพของกองทนุ ยตุ ธิ รรมในการชว ยเหลอื กลมุ คนยากจนและกลมุ ผดู อ ยโอกาสใหไ ดร บั ความ
เปนธรรมและสามารถเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดอยางเทาเทียมกัน รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนให
หนวยงานในกระบวนการยตุ ิธรรมมีการบรู ณาการการทํางานอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

๒.๕) ขอ ๕ การสรางสภาพแวดลอ มและนวัตกรรมที่เออ้ื
ตอผูสูงอายุ โดยการปรับปรุงสภาพแวดลอมและความจําเปนทางกายภาพใหเหมาะสมกับผูสูงอายุ
การพฒั นาระบบการดแู ลผสู งู อายใุ นรปู แบบทห่ี ลากหลายทงั้ ในดา นการจดั บรกิ ารสขุ ภาพและสวสั ดกิ าร
สังคมอยางบูรณาการ และการพัฒนาชุมชนท่ีมีศักยภาพและความพรอมใหเปนตนแบบของการดูแล
ผสู งู อายเุ พอื่ ขยายผลไปสชู มุ ชนอน่ื ตลอดจนการพฒั นานวตั กรรมในการใชช วี ติ ประจาํ วนั สาํ หรบั ผสู งู อายุ
โดยใหม กี ารผสมผสานกับภมู ปิ ญ ญาทองถน่ิ

๒.๖) ขอ ๖ การเสริมสรางบทบาทของสถาบันทางสงั คม
และทนุ ทางวฒั นธรรม โดยการฟนฟูบทบาทสถาบนั ศาสนาในการสง เสรมิ ศลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม
ตามหลกั คาํ สอนทถ่ี กู ตอ งของทกุ ศาสนา การธาํ รงรกั ษามรดกทางวฒั นธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี
ที่ดีงาม เพ่ือเปนฐานรากที่เขมแข็งในสังคมทามกลางวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย การบริหารจัดการทุน
ทางวัฒนธรรมที่กอใหเกิดคุณคา สามารถนํามาสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการพัฒนา
ผลิตภัณฑชมุ ชน การทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมท่ีสอดคลองกบั วถิ ีชวี ติ และวฒั นธรรมในทอ งถน่ิ

กรมกิจการผูสงู อายุ ๑๙

แผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒.๗) ขอ ๗ การสรางความเขมแข็งของชุมชนและการ
พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การเสริมสรางกระบวนการวิจัยในชุมชนท่ีใชพื้นท่ีชุมชนที่เปนโจทยในการวิจัย
เพ่ือนําไปสูการแกปญหาในชุมชนและตอยอดไปสูเชิงพาณิชย การสงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการสรา งการจดั การความรใู นชมุ ชน รวมทงั้ การพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชนโดยสง เสรมิ การประกอบอาชพี
ของผูประกอบการระดับชุมชน การสนับสนุนศูนยการฝกอาชีพชุมชน การสรางความรวมมือกับ
ภาคเอกชนและสถาบันการศึกษาในการรวมกันพัฒนาความรูในเชิงทฤษฎีและสามารถนําไปประยุกต
ใชใ นทางปฏบิ ัติ เพ่อื สรางศักยภาพใหก บั ชุมชนในการประกอบธรุ กิจ

๓.๒.๔ แผนปฏิบัติการประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (เฉพาะในสวนท่ี
เกย่ี วขอ งกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย) โดยมวี สิ ัยทัศน ดงั นี้

๓.๒.๔.๑ มนษุ ยจะตองไดรบั ความเสมอภาคทางดา นโอกาสอยางท่วั ถึง
๓.๒.๔.๒ มนษุ ยจ ะตอ งไดร บั การพฒั นาจนเตม็ ศกั ยภาพ โดยเนน ความสาํ คญั
ในเรอ่ื งสวสั ดกิ ารและศกั ดศ์ิ รขี องความเปน มนษุ ย เพอ่ื ทจ่ี ะไดม สี ว นรว มในเวทกี ารแขง ขนั ระดบั โลกอยา ง
มีคณุ ภาพ
๓.๒.๔.๓ มกี ารยกระดบั บรรทดั ฐานดา นสงั คมและความยตุ ธิ รรมโดยดาํ เนนิ การ
ในเรอื่ ง ความยากจนและความเสมอภาค การดูแลเปนพิเศษตอ กลมุ ดอยโอกาส ไดแ ก เดก็ เยาวชน สตรี
ผสู งู อายุ ผพู ิการ ซงึ่ มคี วามเส่ยี งตอ การทจี่ ะถูกละเมดิ ถูกทอดทงิ้ และเลอื กปฏบิ ัติ
๓.๒.๔.๔ ประชาสังคมตองมีสวนรวมและมีสิทธิใหขอเสนอแนะในเร่ือง
การกาํ หนดนโยบาย
๓.๒.๔.๕ ประชาชนตองมีความเขมแข็งท้ังทางจิตใจและรางกาย และอยู
รว มกันอยา งสมานฉันทภ ายใตส ภาพแวดลอมทป่ี ลอดภยั

๓.๒.๕ ยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการของ ASCC (เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวกับ
การพัฒนาสังคม)

๓.๒.๕.๑ ยทุ ธศาสตร ASCC
๑) มีระบบการดําเนินงานคุมครองทางสังคมที่เขมแข็งเก่ียวกับ

ปญหาความยากจน การไดรับผลประโยชนในดานสุขภาพ และไดรับความเทาเทียมกันจากผลพวงของ
การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ

๒๐ กรมกจิ การผสู งู อายุ

แผนกลยทุ ธก รมกิจการผูส งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒) สงเสริมการจัดการดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
อยางยง่ั ยืนเพอ่ื ตอบสนองความตองการของประชาชนทั้งในปจจุบนั และอนาคต

๓) สง เสริม Social Governance ท่ีสามารถจดั การผลกระทบ
ที่ไดรับจากการบูรณาการทางเศรษฐกิจ การอนุรักษและสงเสริมมรดกทางวัฒนธรรมและเอกลักษณ
ทางวฒั นธรรมของอาเซียน

๓.๒.๕.๒ องคประกอบของแผนปฏิบัติการ ASCC (เฉพาะในสวนที่เกี่ยว
กับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย)

๑) การสรา งประชาคมแหง สงั คมเออื้ อาทรเพอื่ ใหม ดี าํ เนนิ การ
ในเรื่อง ความยากจน ความเสมอภาคและการพฒั นาคน ดังน้ี

๑.๑) เรง รดั การดาํ เนนิ งานเพอื่ ลดความยากจนตามเปา หมาย
การพฒั นาแหง สหสั วรรษ (Millennium Development Goals : MDGs)

๑.๒) สง เสรมิ ใหม กี ารเขา ถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาอยา งทวั่ ถงึ
และเทาเทียมกัน ซ่ึงถือเปนปจจัยสําคัญในการสงเสริมการมีงานทํา การเปนประชากรท่ีดีของประเทศ
และการมอี าํ นาจของประชาชนและการเรยี นรตู ลอดชีวิต

๑.๓) สงเสริมการจัดสวัสดิการสําหรับเด็กดวยการปกปอง
สทิ ธเิ ด็ก ประกนั การมีชีวิตรอดของเด็กและใหเดก็ ไดรบั การพฒั นาอยา งเตม็ ศักยภาพ คมุ ครองมิใหเ ดก็
ถกู ละเมิด ถกู ทอดท้งิ หรอื กระทาํ ความรุนแรง

๑.๔) พัฒนาเยาวชนใหมีอนาคตที่ดีดวยการพัฒนาทักษะ
การเปนผูนาํ ทกั ษะในการประกอบการและความสามารถดานอาชพี

๑.๕) สงเสริมการมีสวนรวมของสตรีอยางเทาเทียมกันใน
กระบวนการพัฒนาดวยขจดั การเลอื กปฏบิ ัตติ อสตรีในทกุ รูปแบบ

๑.๖) ผูสูงอายุจะตองไดรับการดูแลเอาใจใสอยางเพียงพอ
ดวยการสง เสรมิ ระบบชุมชนสนับสนนุ ครอบครัวใหเ ปนผดู แู ลผสู งู อายุเปนลําดบั แรก

๑.๗) ขยายและสนับสนุนความพยายามของหนวยงานท่ี
เก่ียวขอ งในการดาํ เนินงานปองกนั และขจัดการคา มนษุ ย โดยเฉพาะการคา สตรแี ละเดก็

๑.๘) เสรมิ สรา งความเขม แขง็ ของระบบสวสั ดกิ ารสงั คมดว ย
การพฒั นาศักยภาพของประเทศในการแกป ญ หาสังคมท่ีเกิดข้นึ ดว ย

กรมกจิ การผสู ูงอายุ ๒๑

แผนกลยุทธกรมกจิ การผูส งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒) การจดั การกบั ผลกระทบทางสงั คมทเี่ กดิ ขน้ึ จากการรวมตวั
ทางเศรษฐกจิ คอื การเสริมสรางความเขม แข็งของระบบคมุ ครองทางสงั คมในระดบั ประเทศ และศกึ ษา
มาตรการท่ีเหมาะสมในระดับภมู ิภาค

๓.๒.๖ ขอ เสนอของสภาปฏริ ปู แหงชาติ
สภาปฏริ ปู แหง ชาตโิ ดยคณะกรรมาธกิ ารปฏริ ปู สงั คม ชมุ ชน เดก็ เยาวชน สตรี

ผูสูงอายุ ผูพิการ และผูดอยโอกาส ไดจัดทําแนวทางสําคัญในการปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
ใน ๔ ดา น ไดแ ก (๑) ดานเศรษฐกจิ (๒) ดา นการปรับสภาพแวดลอ ม สิ่งอํานวยความสะดวกและบริการ
สาธารณะท่เี ออ้ื ตอการใชช วี ิตของผูสงู อายุ (๓) ดานสุขภาพ และ (๔) ดา นสังคม

๓.๒.๖.๑ ดานเศรษฐกิจ มุงเนนการปฏิรูปใน ๒ ประเด็นหลักเพื่อใหเกิด
ความย่ังยนื ดา นเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม

๑) สรา งหลกั ประกนั ทางรายไดส าํ หรบั ผสู งู อายแุ ละประชากรรนุ ใหม
รัฐบาลตองสรางกลไกการออมท้ังแบบสมัครใจและการออมภาคบังคับที่มีการรวมจาย ในภาพใหญ
ของประเทศ รัฐตองสรางกลไกการเชือ่ มตอและบริหารจดั การกองทุนตา ง ๆ แบบบรู ณาการเพอ่ื การวาง
ระบบบํานาญพื้นฐานใหกับประชากรในทุกกลุม เพิ่มศักยภาพใหกับระบบเศรษฐกิจไทย ภายใตบริบท
สังคมสูงวัย ทุกภาคสวนตองรวมกันพิจารณา ขยายเวลาอายุเกษียณและการสงเสริมสนับสนุนใหมี
การจา งงานที่ตอเนอื่ ง ทง้ั ภาคราชการและเอกชน

๒) เพมิ่ ศกั ยภาพใหก บั ระบบเศรษฐกจิ ไทยภายใตบ รบิ ทสงั คมสงู วยั
ที่อยูในชวงขาดแคลนแรงงาน เชน การเตรียมความพรอมแรงงานรุนใหม การพัฒนาคุณภาพแรงงาน
และการสรางกลไกในการดึงดูดคนทางานท่ีมีคุณภาพ ทั้งคนไทยในตางแดนและคนตางประเทศเขามา
ทาํ งานในประเทศไทย รว มถงึ สง เสรมิ ใหก ระจายธรุ กจิ อตุ สาหกรรมใหอ ยใู กลช มุ ชนทสี่ ามารถใหผ ทู าํ งาน
สามารถอยูใกลครอบครัว ดูแลบุตรและบิดามารดาผูสูงอายุไดการปฏิรูประบบ เพ่ือรองรับสังคมสูงวัย
ดานการปรับสภาพแวดลอม ส่ิงอํานวยความสะดวก และบริการสาธารณะที่เอื้อตอการใชชีวิตของ
ผสู งู อายุ

๒๒ กรมกิจการผูสูงอายุ

แผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๖.๒ ดา นการปรบั สภาพแวดลอ ม สง่ิ อาํ นวยความสะดวกและบรกิ าร
สาธารณะ ควรสงเสริมใหเ กดิ การปฏิรปู ใน ๒ ประเด็น ไดแ ก

๑) สนบั สนนุ ใหท กุ ภาคสว นมสี ว นรว มในการสรา งชมุ ชนทน่ี า อยู
สาํ หรบั สังคมสูงวัย (สาํ หรับคนทกุ วยั ) โดยการปรับสภาพแวดลอ มทางกายภาพ ไดแ กท ีอ่ ยูอ าศัย อาคาร
ระบบขนสงมวลชน และสภาพแวดลอมทางสังคม ดวยการประกาศนโยบายและปรับแกกฎหมาย
ที่เก่ยี วของ เพอ่ื ใหอ าคารสถานท่รี าชการ และเอกชนตา ง ๆ ดําเนินการจัดใหมีส่ิงอานวยความสะดวกที่
เหมาะสม การเชอ่ื มตอ ระบบขนสง มวลชนและบรกิ ารสาธารณะรว มถงึ การสง เสรมิ อตุ สาหกรรมและธรุ กจิ
เพือ่ รับสงั คมสูงวัย

๒) สงเสริมบานปลอดภัยสาหรับประชากรวัยเกษียณ เชน
การออกมาตรการกาํ หนดท่อี ยูอ าศัยเพื่อสังคม (Social Housing) รอยละ ๑๐ ของจํานวนหนว ยทพี่ ัก
อาศยั ท้ังอาคารชดุ และบานจดั สรร เพือ่ สนบั สนุนใหผสู ูงอายุ คนพกิ าร หรอื กลมุ คนที่จาํ เปนใหอ ยอู าศัย
รว มกันในชุมชน โดยไมแบง แยกชุมชนนา อยสู าหรบั สงั คมผูสงู วัย

๓.๒.๖.๓ ดา นสขุ ภาพ การปฏริ ปู ระบบดา นสขุ ภาพมปี ระเดน็ สาํ คญั ในดา น
การสรางเสรมิ สขุ ภาพแบบยงั่ ยนื ไดแ ก

๑) การสงเสริมชุมชนเขมแข็งอยางมีสวนรวม (Inclusive
community) ในการพัฒนาระบบดูแลสุขภาพ โดยเนนสรางความเขมแข็งของชุมชน และสุขภาพ
สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สงเสริมการทํางาน โดยองคกรปกครองทองถิ่นและชุมชนในการรวม
สนับสนุนใหผูสูงวัยมีศักยภาพ สามารถจัดการดูแลสุขภาพสรางเสริมสุขภาพตนเอง เชน เรงรัดพัฒนา
กาํ ลงั คนดา นสุขภาพในการดแู ลผูสูงอายุ ใหเ พียงพอตอความตอ งการในชุมชน

๒) การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ ในทุกระดับใหมีคุณภาพ
และมาตรฐานเพอ่ื รองรบั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพท่มี คี ุณภาพและตอเนอื่ ง ไดแ ก การสนับสนุนการสงเสรมิ
สุขภาพและปองกันกอนการเจ็บปวยและเมื่อเกิดการเจ็บปวยที่รุนแรงถึงขั้นตองรักษาตัวในโรงพยาบาล
หลังจากการดูแลรักษาอยางเขมขนไมวาจะอยูใน ICU หรือหอผูปวยทั่วไป จนพนภาวะเจ็บปวยแลว
แตย งั คงมคี วามตอ งการดแู ลรกั ษาพยาบาลทล่ี ดระดบั ความเขม ขน ลงมา แตเ นอ่ื งจากภาวะแออดั ของเตยี ง
ผูปวยในโรงพยาบาล การรักษาและฟนฟูสภาพหลังจากเจ็บปวยนอนโรงพยาบาลดังกลาว จึงจําเปนท่ี
โรงพยาบาลจะตองสง กลับไปดูแลตอ ท่ีบานในสภาพทีค่ รอบครวั ไมพ รอม จึงมีความจําเปน ที่ตอ งมีระบบ
บรกิ ารสาธารณสขุ ระยะกลาง (Intermediate care) ซงึ่ เปนระบบบริการที่ลดระดบั ลงมาเปนการดแู ล
ที่ปดชองวางระหวางรอยตอของการรักษาในสถานบริการสุขภาพกับบานเปนระบบบริการท่ีลดระดับ

กรมกิจการผสู งู อายุ ๒๓

แผนกลยทุ ธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

ความเขมขนการดูแลลง จากการดูแลใน ICU และหอผูปวยในโรงพยาบาลตามลําดับชวยลดการกลับ
เขานอนโรงพยาบาลซ้ํา ลดภาวะทุพพลภาพหรือพิการ การดูแลระยะยาว (Long term care) และ
การบรกิ ารสขุ ภาพแบบประคบั ประคองในระยะสดุ ทา ย (End of life/Palliative care) โดยมงุ เนน การใช
ชุมชนทองถิ่นเปนฐานสําหรับการทํางานโดยใชการดูแลโดยครอบครัว (home health care) และ
การดูแลโดยชมุ ชน (community care)

๓) การสรา งและจดั ระบบดแู ลสขุ ภาพชุมชนเมอื ง โดยจดั ระบบ
ผูดูแลท่ีไดรับการวาจางทั้งการดูแลที่บานและในหนวยบริการ ทั้งภาครัฐและเอกชน ท่ีมีการกําหนด
มาตรฐานและกลไกท่มี ีกฎหมายรองรบั ในการกาํ กับมาตรฐาน

๓.๒.๖.๔ ดานสังคม การปฏิรูปดานสังคมสามารถดําเนินการไดใน
๕ ประเดน็ ยอ ย ไดแก

๑) การเตรยี มความพรอ มเพื่อวัยสูงอายทุ ่ีมคี ณุ ภาพ เพ่ือพัฒนา
ประชากรไทยใหส ามารถพง่ึ ตนเองใหไ ดน านทสี่ ดุ ใหส ามารถรองรบั กบั แนวโนม ทางประชากร และรปู แบบ
ของครอบครัวที่เปล่ียนแปลงไดท ันการณ

๒) การสงเสริมการวางแผนชีวิตครอบครัวแนวใหมเพ่ือเพิ่ม
ศักยภาพครอบครัวในการส่ังสมทุนมนุษยและเปนสถาบันหลักในการสรางความมั่นคงของมนุษยตลอด
ชว งชวี ิต

๓) การเพม่ิ ศกั ยภาพและบทบาทของชมุ ชนเพอ่ื คนทกุ วยั เพอ่ื ให
ชุมชนมีบทบาทในการสงเสริมและเก้ือกูลสมาชิกในชุมชนท่ีมีหลากหลายวัยใหสามารถใชชีวิตในชุมชน
ไดอยางม่ันคงและยั่งยืน

๔) การเรง รดั การทางานเชงิ รกุ ของภาครฐั และเอกชนเพอ่ื รองรบั
สงั คมสงู วัย เพอ่ื ใหเ กดิ การบูรณาการและการทางานเชงิ รุกเพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วยั

๕) เพิ่มคุณคาผูสูงอายุ เพ่ือสรางคุณคาประชากรในทุกชวงวัย
การส่ังสมคุณคาประชากรจะชวยพัฒนาทัศนคติที่ดี และความเคารพซ่ึงกันและกันอยางตอเน่ืองตั้งแต
วยั เดก็

๒๔ กรมกิจการผูสูงอายุ

แผนกลยทุ ธกรมกิจการผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๗ ราง ยุทธศาสตรกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๗.๑ วิสัยทัศน : เปนองคกรหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาคนและ
สังคมเพอ่ื ความอยูด มี ีสขุ อยา งยั่งยืน

๓.๒.๗.๒ คา นยิ มองคก าร : อทุ ศิ ตน อาสางาน เออื้ อาทร อาํ นวยประโยชนส ขุ
๓.๒.๗.๓ พันธกจิ

๑) พัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพเต็มตามศักยภาพและมี
ภูมิคมุ กนั ตอ การเปลีย่ นแปลง

๒) สรา งเครอื ขา ยจากทกุ ภาคสว นในการมสี ว นรว มพฒั นาสงั คม
๓) พัฒนาองคความรู ขีดความสามารถ และระบบการบริหาร
จัดการดานการพฒั นาสังคม
๔) จัดระบบสวัสดิการที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย
เพื่อใหป ระชาชนมหี ลักประกันและมีความมน่ั คงในชีวิต
๓.๒.๗.๔ ประเด็นยทุ ธศาสตร
๑) สรา งภมู คิ มุ กนั และสง เสรมิ โอกาสทางสงั คมบนฐานแหง ความ
พอเพยี ง
๒) เสริมประสิทธิภาพทางสังคมในลักษณะการพัฒนาศักยภาพ
และการสรางเครือขาย
๓) ผนกึ กาํ ลงั ทางสงั คมจากทกุ ภาคสว น และเสรมิ สรา งธรรมาภบิ าล
๔) จัดระบบสวัสดิการทเี่ หมาะสมกับบรบิ ทของประเทศไทย

๓.๒.๘ นโยบายกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยประจําป
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ (๘ เรงดว น ๕ ปฏิรูปและพฒั นา ๑๑ พันธกจิ )

เจตนารมณของรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนษุ ย คอื “ลดความเหลอื่ มลาํ้ สรา งความเปน ธรรม พฒั นาสงั คมรว มกนั อยา งยง่ั ยนื ” โดยนโยบาย
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยในป ๒๕๕๙ มีดวยกัน ๓ ดา น ไดแ ก (๑) นโยบาย
เรง ดวน ๘ ขอ (๒) นโยบายปฏริ ูปและพฒั นา ๕ ขอ และ (๓) นโยบายพนั ธกิจ ๑๑ ขอ โดยนโยบาย
ในสวนที่เก่ยี วขอ งกบั ผสู ูงอายุมดี งั นี้

กรมกิจการผสู งู อายุ ๒๕

แผนกลยุทธก รมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๘.๑ นโยบายเรงดวน
๑) ขอ ๒ การพฒั นาทอ่ี ยอู าศยั สาํ หรบั ผมู รี ายไดน อ ย คนพกิ าร

และผูสูงอายุ ปรับปรุงสภาพแวดลอมท่ีอยูอาศัยสําหรับคนพิการ จํานวน ๑,๘๘๕ หลัง และผูสูงอายุ
จาํ นวน ๑,๔๐๐ หลงั ใหส ามารถรองรบั และอาํ นวยความสะดวกตอ คนพกิ ารและผสู งู อายไุ ดอ ยา งเหมาะสม

๒) ขอ ๓การเตรยี มความพรอ มสงั คมสสู งั คมสงู วยั อยา งมคี ณุ ภาพ
๒.๑) เสรมิ สรา งและขยายระบบการดแู ลผสู งู อายทุ างสงั คม

รวมทงั้ การเฝา ระวงั และเตอื นภยั ทางสงั คมสาํ หรบั ผสู งู อายุ ผา นการมสี ว นรว มของประชาชน ชมุ ชนและ
ทอ งถน่ิ เพอื่ ใหส มาชกิ ในครอบครวั อาสาสมคั รดแู ลผสู งู อายทุ บ่ี า น (อผส.) และคนในชมุ ชนทอ งถนิ่ สามารถ
ใหก ารดแู ลชว ยเหลือผูสงู อายุในชมุ ชนของตนเองได

๒.๒) ยกระดบั การบรหิ ารจดั การศนู ยพ ฒั นาการจดั สวสั ดกิ าร
สงั คมผูสงู อายุ จาํ นวน ๑๒ แหง เพือ่ นาํ ไปสกู ารเปนหนว ยงานตน แบบ และพัฒนาการเชื่อมโยงบรกิ าร
ทางสังคมสูชุมชนอยางเปนระบบ โดยกําหนดหลักสูตรการฝกอบรม รวบรวมองคความรู บทเรียน
เอกสารวิจัย และจัดทําคูมือในการปฏิบัติตอผูสูงอายุ เชน การดูแลผูสูงอายุ การรักษาพยาบาล
จัดทพ่ี ัก ฝกอาชพี กีฬาและนนั ทนาการ เปนตน

๒.๓) สงเสริมดานอาชีพและการมีงานทําในผูสูงอายุ โดย
สนับสนุนเงนิ ทนุ ประกอบอาชพี ผสู ูงอายุ จาํ นวน ๒,๖๐๐ คน

๒.๔) สงเสริมและขยายโอกาสผูสูงอายุท่ีมีศักยภาพใหมี
สว นรว มในการพฒั นาสงั คม โดยปรบั ปรงุ และจดั ทาํ เปน ทะเบยี นภมู ปิ ญ ญาผสู งู อายุ จาํ นวน ๑๕,๐๐๐ คน
และสงเสริมใหผูสูงอายุจํานวน ๓,๐๐๐ คน มีสวนรวมในการถายทอดภูมิปญญาผูสูงอายุใหกับชุมชน
และสังคม

๒.๕) ประสานความรว มมอื กบั สว นราชการทเ่ี กย่ี วขอ งในการ
เตรียมความพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุผานกลไกคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ เชน การขยาย
อายเุ กษยี ณทงั้ ภาครฐั และเอกชน การสง เสรมิ ดา นอาชพี และการมงี านทาํ และการจา ยเบย้ี ยงั ชพี ผสู งู อายุ
เปน ตน

๒๖ กรมกจิ การผสู ูงอายุ

แผนกลยทุ ธก รมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓.๒.๘.๒ นโยบายปฏริ ูปและพัฒนา
ขอ ๒ การพัฒนาบุคลากร
- ยกระดับขีดความสามารถของหนวยงานในพื้นท่ีใหเปนศูนย

การเรียนรู โดยจัดทําโครงการนํารองในการพัฒนาหนวยและฝกอบรม จํานวน ๓ แหง ประกอบดวย
ศูนยการเรียนรูและฝกอบรมดานผูสูงอายุ จังหวัดชลบุรี นิคมสรางตนเองลําตะคอง อําเภอปากชอง
จงั หวดั นครราชสีมา และ ศูนยพฒั นาและสงเคราะหชาวเขา หนวยพืน้ ทเ่ี ชียงดาว จังหวัดเชยี งใหม

๓.๒.๘.๓ นโยบายพนั ธกิจ
ขอ ๖ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู งู อายุ
๑) รณรงคแ ละสรา งการรบั รใู หป ระชาชนไดเ หน็ ความสาํ คญั ของ

ผูสูงอายุและการเตรียมการเขาสูวัยสูงอายุอยางมีคุณภาพ ประกอบดวย การออม ความกตัญู และ
มที ัศนคตทิ ดี่ ีตอ ผูสงู อายุ

๒) สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาความเขมแข็งการดําเนินงาน
ของศนู ยพ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และสง เสรมิ อาชพี ผสู งู อายุ จาํ นวน ๘๗๘ แหง รวมทงั้ ชมรมและองคก รผสู งู อายุ

๓) พัฒนาระบบการคุมครองทางสังคมสําหรับผูสูงอายุ โดยให
ผสู ูงอายุ ครอบครวั ชุมชนมสี ว นรว มเพ่ือใหเกิดการคมุ ครองพืน้ ฐานตรงกับความตองการและตามความ
จําเปน ทีส่ อดคลองกบั บรบิ ทของพ้นื ที่

๔) สง เสรมิ ใหม ีการศกึ ษาหรอื วิจยั เกย่ี วกับผูส ูงอายทุ มี่ ีศกั ยภาพ
และผูส ูงอายทุ ่ีมีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดี

๔. สถานการณผ ูส ูงอายุ

ประเทศไทยไดเขาสูสังคมผูสูงอายุต้ังแตป ๒๕๔๘ เปนตนมา และจะเปนสังคมผูสูงอายุ
อยางสมบรู ณค อื มีประชากรสูงอายถุ งึ รอ ยละ ๒๐ ในป ๒๕๖๔ และในป ๒๕๗๘ จะเปนสังคมผสู ูงอายุ
ระดับสุดยอดคือมีประชากรสูงอายุถึงรอยละ ๓๐ ของประชากรทั้งหมด และจากขอมูลสํานักงานสถิติ
แหงชาติ ในป ๒๕๕๗ พบวา ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุมากกวา ๑๐ ลานคน คิดเปนอัตราสวน
ประมาณรอยละ ๑๔.๙ ของประชากรท้ังประเทศ โดยอีก ๓ ปขางหนา ในป ๒๕๖๒ คาดวาจะเปน
ครงั้ แรกของประเทศไทยทมี่ ปี ระชากรวยั ผสู งู อายมุ ากกวา วยั เดก็ ทง้ั นี้ ไดม งี านการศกึ ษา/ วจิ ยั สถานการณ
ทางดา นประชากรทนี่ า สนใจ ดงั น้ี

กรมกจิ การผูสงู อายุ ๒๗

แผนกลยุทธกรมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔.๑ รายงานผลเบ้ืองตน การสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗
ของสาํ นักงานสถติ ิแหง ชาติ มีขอมูลสถานการณผสู งู อายุท่ีสาํ คัญ ดังน้ี

๔.๑.๑ สัดสวนประชากรภาพรวม
จากรายงานผลเบ้ืองตนฯ แสดงใหเห็นสถานการณที่ทาทายหลายประการ

ไดแก แนวโนมการเพ่ิมขึ้นของจํานวนผูสูงอายุอยางตอเนื่อง ซ่ึงในป ๒๕๕๗ มีผูสูงอายุคิดเปนรอยละ
๑๔.๙ (๑๐,๐๑๔,๖๙๙ คน) โดยเปน ผสู งู อายชุ าย รอ ยละ ๔๕.๑ ผสู งู อายหุ ญงิ รอ ยละ ๕๔.๙ นอกจากนี้
มากกวาครึ่งหรือรอยละ ๕๖.๕ เปนผูสูงอายุวัยตน (อายุ ๖๐ - ๖๙ ป) รอยละ ๒๙.๙ เปนผูสูงอายุ
วยั กลาง (อายุ ๗๐ - ๗๙ ป) และรอ ยละ ๑๓.๖ เปนผสู ูงอายวุ ยั ปลาย (อายุ ๘๐ ปข ้นึ ไป)

๔.๑.๒ การอยูอาศัยของผูสูงอายุ พบวา ผูสูงอายุที่คนเดียวตามลําพังในครัวเรือน
เพ่ิมสงู ขึ้นจากรอยละ ๓.๖ ในป ๒๕๓๗ เปน รอยละ ๑๐.๔ ในป ๒๕๕๗

๔.๑.๓ สถานภาพสมรส พบวาผูสูงอายุรอยละ ๓๓.๔ เปนหมาย หยา แยกกันอยู
รอยละ ๓.๗ เปน โสด

๔.๑.๔ การศกึ ษา ผสู งู อายสุ ว นใหญ รอ ยละ ๗๕.๘ จบการศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา
และตาํ่ กวาประถมศึกษา มีเพียงรอยละ ๑๒.๖ ท่จี บสงู กวาประถมศึกษา ท้ังน้ี ประมาณรอ ยละ ๘๒.๖
ของผสู งู อายเุ ปน ผทู อ่ี า นออกเขยี นได และรอ ยละ ๑๗.๔ เปน ผทู ไี่ มส ามารถอา นและเขยี นหนงั สอื ไดห รอื
อาจกลา วไดวา เปน ผทู ไ่ี มร หู นงั สอื

๔.๑.๕ ภาวะการมีงานทํา ปจจุบันพบวาแนวโนมท่ีผูสูงอายุจะเขามามีสวนรวมใน
กําลังแรงงานเพิม่ มากขึ้น จากป ๒๕๓๗ มรี อยละ ๓๑.๙ เปน รอ ยละ ๓๒.๒ ๓๕.๗ และ ๓๘.๓ ในป
๒๕๔๕ ๒๕๕๐ และ ๒๕๕๔ ตามลําดบั สาํ หรับป ๒๕๕๗ พบวา ผสู ูงอายทุ ่อี ยูในกําลังแรงงานเพ่มิ ข้นึ เปน
รอยละ ๓๙.๕ ทั้งนี้ ในกลุมผูสูงอายุ พบวา ผูสูงอายุวัยตน (๖๐ - ๖๙ ป) มีความตองการทํางาน
รอ ยละ ๒๓.๔ กลา วคือมากกวาผูสูงอายวุ ยั อน่ื

๔.๑.๖ แหลงรายไดหลักในการดํารงชีวิตของผูสูงอายุ โดยสวนใหญมาจากบุตร
คดิ เปน รอ ยละ ๓๕.๗ รองลงมาจากการทาํ งานของผสู งู อายเุ อง รอ ยละ ๓๔.๓ จากเบย้ี ยงั ชพี ทางราชการ
คดิ เปนรอ ยละ ๑๕.๓ และจากดอกเบย้ี เงินออมท่ผี สู งู อายุไดเก็บออม/เงินออม/การขายทรพั ยสนิ ที่มีอยู
รอยละ ๓.๘

๔.๑.๗ การออม จากการสํารวจพบวาผูสูงอายุสวนใหญมีการออม รอยละ ๗๓.๘
โดยผชู ายมีการออมสงู กวา หญงิ ในขณะทีผ่ ูสงู อายทุ ีไ่ มมีการออมมีเพยี งรอ ยละ ๒๖.๒

๒๘ กรมกจิ การผูส งู อายุ

แผนกลยุทธก รมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔.๑.๘ การเขา รว มกจิ กรรมของผสู งู อายุ พบวา ผสู งู อายทุ ง้ั ชายและหญงิ เกนิ รอ ยละ ๖๐
ไดเ ขา รว มกิจกรรมหมบู าน/ชมรม สาํ หรับผูสงู อายวุ ยั ตน (๖๐ - ๖๙ ป) มีการเขา รวมกจิ กรรมมากทสี่ ดุ
คดิ เปน รอ ยละ ๗๒.๓ และผสู งู อายทุ อ่ี ยนู อกเขตเทศบาลไดเ ขา รว มกจิ กรรมสงู กวา ผสู งู อายใุ นเขตเทศบาล

๔.๒ รายงานสถานการณผูสงู อายไุ ทย พ.ศ. ๒๕๕๗
รายงานสถานการณผ ูสูงอายไุ ทย พ.ศ. ๒๕๕๗ ไดนําเสนอขอมลู รายงานสถานการณ

ดานประชากรและผูสงู อายุทนี่ าสนใจ ดังน้ี
๔.๒.๑ โครงสรางอายุของประชากรมีการเปลย่ี นแปลงอยางรวดเร็ว กลา วคอื ในป

๒๕๕๗ ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมดประมาณ ๖๘ ลา นคน โดยเปน ประชากรสัญชาติ ไทยและไมใ ช
สัญชาตไิ ทยแตม ชี ่ืออยูในทะเบยี นราษฎร ๖๕ ลานคน และประชากรทไ่ี มใช สญั ชาติไทยและไมม ชี ือ่ อยู
ในทะเบยี นราษฎร ซงึ่ สว นใหญเ ปน แรงงานยา ยถนิ่ จากประเทศ เพอ่ื นบา นอกี ประมาณ ๓ ลา นคน ในชว งเวลา
๑๐ ปท่ีผานมานี้ จํานวนรวมของประชากรไทยคอนขางจะคงตัวแลว คือเพ่ิมข้ึนดวยอัตราที่ต่ํามาก
ป ๒๕๕๗ อัตราเพิม่ ประชากรอยูท่ีประมาณรอ ยละ ๐.๕ ตอ ป และมี แนวโนม วาจะลดต่ําไปอกี จนถึงข้นั
ทีป่ ระเทศไทยจะมอี ตั ราเพิ่มประชากรติดลบในอีกราว ๑๐ ปขางหนา

๔.๒.๒ การสูงวัยของประชากรเปนประเด็นทาทายตอการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ ในป ๒๕๕๗ ประเทศไทยมีคนวัยแรงงาน (อายุ ๑๕-๕๙ ป) ๔.๓ คนตอผูสูงอายุ
(๖๐ ปข ้นึ ไป) หนง่ึ คน ในอนาคต อกี ๒๐ ปข างหนา ประเทศไทยจะมีคนในวัยแรงงานเพียง ๒ คนตอ
ผสู งู อายุหนง่ึ คนเทาน้ัน

๔.๒.๓ ผูสูงอายุอยูในครอบครัวที่เล็กลงและอยูตามลําพังคนเดียวเพ่ิมมากขึ้น
ผูสูงอายุที่อยูตามลําพังมีสัดสวนสูงขึ้น ในป ๒๕๔๕ มีผูสูงอายุที่อยูตามลําพังคนเดียวรอยละ ๖ และ
อยตู ามลาํ พังกบั คูสมรสรอยละ ๑๖ ในป ๒๕๕๗ สดั สว นของผสู งู อายทุ อี่ ยูต ามลําพงั คนเดียวไดเพมิ่ ขึน้
เปนเกือบรอยละ ๙ และอยูตามลําพังกับคูสมรสเพ่ิมขึ้นเปนรอยละ ๑๙ ผูสูงอายุที่อยูตามลําพังกลุมน้ี
นา จะเปนเปาหมายของการจัดระบบการดแู ลและเฝาระวงั

๔.๒.๔ ผูสูงอายุอยูในครัวเรือนที่ยากจนเปนจํานวนมาก ในป ๒๕๕๗ ผูสูงอายุ
ท่ีอาศัยอยูในครัวเรือนท่ีมีรายไดตํ่ากวาเสนความยากจนมากถึง รอยละ ๓๔ แหลงรายไดหลักของ
ผูส ูงอายทุ ีเ่ คยไดจากบตุ รลดลงจากรอ ยละ ๕๒ ในป ๒๕๕๐ เหลอื รอ ยละ ๓๗ ในป ๒๕๕๗ ในขณะท่ี
รายไดจ ากการทํางานของผูสูงอายเุ พ่มิ ข้นึ จากรอ ยละ ๒๙ ในป ๒๕๕๐ เปน รอ ยละ ๓๔ ในป ๒๕๕๗

กรมกจิ การผูสูงอายุ ๒๙

แผนกลยุทธกรมกิจการผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

ในป ๒๕๕๗ ผูสูงอายุที่มีรายไดหลักจากการทํางานเปนผูสูงอายุวัยตน คือ
รอ ยละ ๕๙ ของผสู งู อายุวัย ๖๐ - ๖๔ ป และรอยละ ๔๖ ของผสู งู อายวุ ยั ๖๕ - ๖๙ ป มรี ายไดห ลักจาก
การทาํ งาน

๔.๒.๕ สงั คมสงู วยั มผี หู ญงิ มากกวา ผชู าย ยงิ่ มปี ระชากรหญงิ มากกวา ประชากรชาย
ในป ๒๕๘๓ ประมาณวาประเทศไทยจะมีอัตราสวน เพศอยูที่ ๙๑.๖ คือมีผูชาย ๙๑.๖ คนตอผูหญิง
๑๐๐ คน โดยในกลมุ ประชากรสูงอายุ (๖๐ ปข นึ้ ไป) ในป ๒๕๘๓ อัตราสวนเพศจะอยูทป่ี ระมาณ ๗๖.๒
คอื มีผูส ูงอายชุ าย ๗๖.๒ คน ตอผูหญงิ ๑๐๐ คน ในป ๒๕๘๓

๔.๒.๖ หนงึ่ ในสามของผสู งู อายไุ ทยอยใู ตเ สน ความยากจน เสน ความยากจนสะทอ น
ความตองการอาหารและสิ่งจําเปนพื้นฐาน ขั้นต่ําท่ีเพียงพอตอการดํารงชีพของแตละบุคคลเปนตัวเงิน
ซง่ึ เปน ตน ทนุ หรอื คา ใชจ า ยของปจ เจกบคุ คลในการไดม าซง่ึ อาหารและ สงิ่ จาํ เปน ทไ่ี มใ ชอ าหารในขน้ั พนื้ ฐาน
ที่ทําใหสามารถดํารงชีพอยูได ดังน้ันเสนความยากจนจึงสะทอนมาตรฐานการครองชีพข้ันต่ํา
ของสังคม ขอมูลการสํารวจประชากรสูงอายุป ๒๕๕๗ พบวา มีผูสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปข้ึนไป) มากถึง
หนงึ่ ในสาม (รอ ยละ ๓๔.๓) ของผสู งู อายทุ ง้ั หมดมรี ายไดต า่ํ กวา เสน ความยากจน (ไมร วมคนทไี่ มม รี ายได)
(เสนความยากจนอยูท่ี ๒,๕๗๒ บาทตอเดือน) ซึ่งลดลงจากรอยละ ๔๖.๕ จากการสํารวจประชากร
สูงอายใุ นป ๒๕๔๕

ทง้ั น้ี บตุ รยงั คงเปน แหลง รายไดท ส่ี าํ คญั ของผสู งู อายใุ นปจ จบุ นั จากการสาํ รวจ
ประชากรสงู อายใุ นประเทศไทย ป ๒๕๕๗ พบวา แหลง รายไดห ลกั ของผสู งู อายมุ าจากบตุ ร (รวมบตุ รเลยี้ ง
และบุตรบุญธรรม) (รอยละ ๓๖.๗) แหลงรายไดหลักรองลงมาคือ ไดจากการทํางาน (รอ ยละ ๓๓.๙)
ผสู งู อายุประมาณรอยละ ๑๔.๘ มเี บีย้ ยงั ชพี เปนรายไดหลกั มีผูสูงอายุเพยี งรอยละ ๔.๙ ทม่ี เี งินบําเหนจ็
หรือบํานาญเปนแหลงรายไดหลัก รอยละ ๔.๓ ตอบวามีรายไดจากคูสมรส และไมถึงรอยละ ๔
ของผสู งู อายุมรี ายไดห ลกั จากเงินออม/ ดอกเบยี้ เงินออม/ ทรัพยสนิ อ่นื ๆ อยางไรกต็ ามแหลง รายไดหลกั
ของผูส งู อายจุ ากบุตรมแี นวโนมลดลง ขอมลู จากการสาํ รวจ ประชากรสงู อายุในประเทศไทย ป ๒๕๕๐,
๒๕๕๔ และ ๒๕๕๗ แสดงใหเห็นวาแหลงรายไดหลักท่ีไดรับจากบุตรไดลดลงจากรอยละ ๕๒.๓
ในป ๒๕๕๐ มาเปน รอ ยละ ๔๐.๑ ในป ๒๕๕๔ และลดลงเหลอื รอยละ ๓๖.๗ ในป ๒๕๕๗

๓๐ กรมกิจการผสู งู อายุ

แผนกลยุทธก รมกจิ การผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔.๒.๗ ผสู งู อายุวัยตนมากกวา ครึ่งยงั ทํางานอยู แมวาจะเปนผูสูงอายุ คือมีอายุเกิน
๖๐ ปไปแลว แตผูสูงอายุสวนหน่ึงก็ยังทํางานอยู ขอมูลจากการสํารวจภาวะการทํางานระหวาง
ป ๒๕๔๓ - ๒๕๕๗ แสดงใหเห็นวาผูสูงอายุวัยตน (อายุ ๖๐ - ๖๙ ป) มีแนวโนมจะทํางานมากข้ึน
สัดสวนของผูสงู อายุ ๖๐ - ๖๔ ปทย่ี ังทาํ งานอยู เพ่ิมขน้ึ จากรอ ยละ ๕๑.๔ ในป ๒๕๔๓ เปนรอยละ ๖๐.๘
ในป ๒๕๕๓ ในป ๒๕๕๗ พบวา สดั สว น ผสู งู อายใุ นชว งอายเุ ดยี วกนั นท้ี ย่ี งั ทาํ งานลดลงเลก็ นอ ยเปน รอ ยละ
๕๙.๒ ผูสูงอายุ ๖๕ - ๖๙ ป ท่ียังทํางานอยูเพิ่มจากรอยละ ๓๕.๓ ในป ๒๕๔๓ เปนรอยละ ๔๕.๖
ในป ๒๕๕๗ อยางไรกต็ าม ผูสงู อายุที่มอี ายุ ๗๐ - ๗๔ ปท ี่ยงั ทํางาน เพม่ิ ข้นึ จากรอ ยละ ๒๐ ในป ๒๕๔๓
เปนรอ ยละ ๒๙.๑ ในป ๒๕๔๘ จากนั้นรอ ยละของผสู งู อายุ ๗๐ - ๗๔ ปทย่ี งั ทาํ งานอยมู แี นวโนม ลดลง
เล็กนอ ย จนเหลือเพียงรอ ยละ ๒๕.๔ ในป ๒๕๕๗ และสัดสวนผูสูงอายุ ๗๕ ปข ึน้ ไป ที่ยังทํางานจะอยู
ท่ีประมาณ รอยละ ๑๑ - ๑๒ ตั้งแตป ๒๕๔๘ เปน ตนมา

๔.๒.๘ บรกิ ารดานสขุ ภาพจะตองเพม่ิ ขนึ้ ในสังคมสงู วัย
การสํารวจสุขภาวะผูสูงอายุไทย ป ๒๕๕๖ ภายใตแผนงานสงเสริมสุขภาพ

ผสู งู อายแุ ละผพู กิ ารไดส าํ รวจสถานการณป ญ หาสขุ ภาพของผสู งู อายใุ นประเทศไทย ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ
งานการดูแลสุขภาพผูสูงอายุจํานวน ๑๓,๖๔๒ คนจาก ๒๘ จังหวัด ซึ่งเปนตัวแทนครอบคลุม
๑๒ เครอื ขา ยบรกิ ารสขุ ภาพ/ ศนู ยอ นามยั เขต จากการสาํ รวจดงั กลา วพบวา ผสู งู อายปุ ระมาณ รอ ยละ ๑.๕
อยูในสภาวะ “ติดเตยี ง” ผูส งู อายเุ กอื บหนึ่งในหา (รอยละ ๑๙) อยูในสภาวะ “ติดบา น” และผูสูงอายุ
สวนมาก (รอยละ ๗๙.๕) เปนผูสูงอายุท่ีอยูในสภาวะ “ติดสังคม”

ท้ังน้ี จากขอมูลการสํารวจสุขภาวะผูสูงอายุไทยป ๒๕๕๖ พบวาปญหา
ดานสุขภาพของผูสูงอายุ ท่ีสูงเปน อันดับแรก คือการเคล่ือนไหวรา งกาย (รอ ยละ ๕๗.๘) รองลงมาไดแ ก
ปญหาดาน การไดยินหรือสื่อความหมาย (รอยละ ๒๓.๘) การมองเห็น (รอยละ ๑๙.๒) การเรียนรู
(รอยละ ๓.๗) ดานจิตใจหรือพฤติกรรม (รอยละ ๒.๖) และสติปญญา (รอยละ ๒.๒) ผูสูงอายุจะมี
ความผิดปกติดา นการเคลื่อนไหวรางกาย การมองเห็นและการไดย นิ เพิ่มมากข้นึ เมือ่ อายุสูงขน้ึ

กรมกิจการผูสูงอายุ ๓๑

แผนกลยุทธก รมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๕. การวิเคราะหสภาพแวดลอมท่มี ผี ลตอการกําหนดแผนกลยุทธการดําเนินงาน

SWOT Analysis

Strengths (S) - จุดแข็ง Weakness (W) – จดุ ออ น

๑. มีคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติและ ๑. ยังไมมีระบบการบริหารจัดการขอมูล

สมัชชาผูสูงอายุระดับชาติเปนกลไกระดับชาติใน รวมถึงฐานขอ มูลดานผสู งู อายุของหนว ยงาน

การขบั เคลอ่ื นและผลกั ดนั นโยบายและการดาํ เนนิ งาน ๒. งานศึกษา/งานวิจัยของหนวยงาน

ดานผสู งู อายุ เพ่ือประโยชนตอการพัฒนางานดานผูสูงอายุ

๒. มีกองทุนผูสูงอายุที่ใหการสงเสริม มีไมครอบคลุมในทุกมติ ิ

สนบั สนุนผสู ูงอายุและชมรมผสู ูงอายุ ๓. กรมในฐานะสวนราชการใหมยังตอง

๓. มนี โยบายทช่ี ดั เจนและใหค วามสาํ คญั กบั พัฒนาการบริหารจัดการหรือระบบสนับสนุน

การผลกั ดัน/ ขับเคลือ่ นงานผูสูงอายุ การดาํ เนินงาน

๔. มีบุคลากรท่ีมีประสบการณและความ ๔. การขับเคลื่อนเพื่อผลักดันแผนผูสูงอายุ

เชยี่ วชาญในงานบรกิ ารผูสูงอายุ แหงชาตไิ ปสกู ารปฏบิ ัติยงั ไมมีความตอเนื่อง

๕. มรี ะบบการคมุ ครองดูแลผูส งู อายุ ๕. การดําเนินงานของกรมในปจจุบันขาด

๖. มกี รมกจิ การผสู งู อายเุ ปน หนว ยงานระดบั การบรหิ ารจัดการเชอื่ มตอ งานภายในองคกร

กรมรบั ผิดชอบงานดานผูสงู อายุโดยเฉพาะ ๖. ยังไมมีระบบการถายทอดองคความรู

๗. กรมกจิ การผสู งู อายมุ ศี นู ยก ารเรยี นรแู ละ ทักษะ และประสบการณใ หกบั บคุ ลากรใหม

ฝก อบรมดา นผสู งู อายใุ หก บั บคุ ลากร กลมุ เปา หมาย ๗. ขาดการพัฒนานวัตกรรมการทํางาน

และภาคเี ครอื ขาย ภายในองคกรเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตผูสงู อายุ

๘. กรมกิจการผูสูงอายุมีแนวทางในการ ๘. การประชาสมั พนั ธง านผสู งู อายยุ งั ดาํ เนนิ

ปฏิบัติงานและมีภารกิจที่ชัดเจนตามท่ีระบุไว การไดไ มท่วั ถงึ

ในกฏหมาย/แผน/ประกาศตา งๆ ที่ ๙. กองทนุ ยงั มกี ารดาํ เนนิ งานไมค รอบคลุม

ตามวัตถปุ ระสงคและระเบียบของกองทุน

๑๐. ทรพั ยากรในการบรหิ ารยงั ไมส อดคลอ ง

กับปริมาณงาน

๓๒ กรมกจิ การผสู ูงอายุ

แผนกลยุทธกรมกิจการผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

Opportunities (O) – โอกาส Threats (T) – อปุ สรรค

๑. สาธารณะเกิดความตระหนัก (Public ๑. ประชาชนสว นใหญข าดการเตรยี มความ

Awareness) ในการเปนสังคมผูสูงอายุสืบ พรอมในการเขาสูว ัยผูส ูงอายุ

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร ๒. ชุมชนและทองถิ่นสวนใหญยังไมไดให

ของประเทศสงผลใหงานดา นสูงอายมุ มี ากข้ึน ความสําคัญกับการดําเนินงานดานผูสูงอายุใน

๒. รัฐบาลมีนโยบายและมาตรการดาน เชงิ รกุ

ผูสูงอายุที่ชัดเจน ๓. หนวยงานท่ีเกี่ยวของมองวาการพัฒนา

๓. มีกฎหมาย/ พนั ธกรณีระหวา งประเทศ/ งานผูสูงอายุไมใชภารกิจหลัก การขับเคล่ือนงาน

แผนยุทธศาสตรระดับชาติดานผูสูงอายุรองรับ จึงไมม ีประสิทธภิ าพเทาทคี่ วร

การดําเนินงานดานผสู ูงอายุ ๔. หนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งขาดการบรู ณาการ

๔. การเขาสูประชาคมอาเซียนเพ่ิมโอกาส ความรู ความชํานาญ ทรพั ยากร การปฏิบตั ิ และ

ในการแสวงหาภาคเี ครอื ขา ยเพอื่ รว มกนั ดาํ เนนิ งาน ในเชิงพื้นที่

ดา นผสู ูงอายุ ๕. ทศั นคติในทางลบตอผูสูงอายุ

๕. ความกาวหนาของระบบเทคโนโลยี ๖. แนวโนมที่เพ่ิมข้ึนของภัยพิบัติทาง

สารสนเทศเปนท้ังทางเลือกและโอกาสในการ ธรรมชาติและโรคอุบตั ใิ หม รวมท้งั โรคทไี่ มตดิ ตอ

ขบั เคลื่อนงานดา นผสู ูงอายุ (NCD) สง ผลกระทบตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของผสู งู อายุ

๖. หนว ยงานและภาคเี ครอื ขา ยทเี่ พมิ่ ขน้ึ ใน และแผนการดาํ เนินงานดานผสู งู อายุ

การรวมดําเนนิ งานดา นผสู งู อายุ ๗. การเขา สปู ระชาคมอาเซยี นสง ผลกระทบ

๗. มีศูนยพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริม ตอกลุมเปาหมาย โดยอาจมีการเคล่ือนยาย

อาชพี ผสู งู อายเุ ปน กลไกในระดบั พน้ื ทที่ ว่ั ประเทศ ประชากรสงู อายุจากกลุม ประเทศอาเซียน ทําให

๘. มฐี านขอ มลู งานศกึ ษา และงานวจิ ยั ดา น รฐั เกดิ ภาระในการคมุ ครองและดแู ลตามหลกั สทิ ธิ

ผูสูงอายุจํานวนมากที่เปนปจจุบันสามารถใชเปน มนษุ ยชน

ขอ มลู ประกอบการผลักดนั เชิงนโยบาย

๙. มกี ฎหมายและแนวทางในการปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี

(Best practice) เพ่ือยกระดบั ประสิทธภิ าพการ

บรหิ ารจดั การองคกร

๑๐. มีกฎหมาย/ แผน/ ประกาศตางๆ

ท่ีเก่ียวของกับผูสูงอายุเปนแนวทางในการปฏิบัติ

งานและมภี ารกจิ ทชี่ ดั เจนตามทร่ี ะบไุ วใ นกฎหมาย

กรมกิจการผูสงู อายุ ๓๓

แผนกลยทุ ธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

TOWS Matrix
Substantial internal

๑. ใชกลไกคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติผลักดันใหเกิดแนวทางที่ ๑. ผลักดันนโยบายดานผูสูงอายุผานคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ
ชัดเจนในการรณรงคเตรยี มความพรอ มรองรับสงั คมผูส ูงอายุ (S๑,T๑) ใหมีแนวทาง หนวยงานหลัก หนวยงานรอง กรอบระยะเวลาและการ
๒. ใชระบบการคุมครองดูแลผูสูงอายุรับมือกับแนวโนมที่เพิ่มข้ึนของ ติดตามท่ชี ัดเจน โดยผลกั ดันใหเ ปนวาระแหงชาติ (S๑, O๒)
ภัยพิบัติทางธรรมชาติและโรคอุบัติใหม รวมทั้งโรคที่ไมติดตอ (NCD) ๒. ใชกองทุนเสริมสรางประสิทธิภาพกลไกการดําเนินงานของชมรม
ที่สงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของผูสูงอายุและแผนการดําเนินงาน องคกรผูสูงอายทุ มี่ ีจํานวนมากขึน้ ใหมีคุณภาพ (S๒,O๖)
ดานผสู ูงอายุ (S๕,T๖) ๓. ใชประโยชนจากความเชี่ยวชาญของบุคลากรและเทคโนโลยี
๓. ใหก องทุนผูสงู อายุสนบั สนุนงานเชงิ พัฒนาในระดับพนื้ ท่ี (S๒,T๒) สารสนเทศเพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการใหบรกิ ารกลุมเปาหมาย (S๔,O๕)
๔. เสริมสรา งความรูและพัฒนาบคุ ลากรใหสามารถดาํ เนินงานภายใต ๔. จากการทรี่ ฐั บาลเลง็ เหน็ ความสาํ คญั ของผสู งู อายุ จงึ ควรผลกั ดนั ให
บริบทการเปนประชาคมอาเซียน (S๔,T๗) มีการเพิ่มศูนยการเรียนรูและฝกอบรมดานผูสูงอายุเพ่ือขยายผลองค
๕. ผลักดันใหเกิดการบูรณาการงานดานผูสูงอายุโดยใชกลไกคณะ ความรใู นดานการพัฒนางานผสู ูงอายุในระดบั พนื้ ท่ี (S๗,O๒)
กรรมการผสู งู อายุแหงชาติ (S๑,T๓)
กลยทุ ธเชิงรกุ
กลยทุ ธเชงิ ปอ งกัน

S-T S-O
Supports a defensive strategy Supports an aggressive strategy

W-T W-O
Supports a turnaround-oriented strategy Supports a diversifying strategy

๑. สงเสริม สนับสนุนการรณรงคใหสังคมตระหนักถึงความสําคัญใน ๑. จัดใหมีระบบการบริหารจัดการขอมูล ฐานขอมูลดานผูสูงอายุ
การเตรียมความพรอ มกอนเขาสวู ยั สงู อายุ (W๘,T๑) โดยใชระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (W๑,O๕)
๒. เสริมสรางเจตคติท่ีดีตอผูสูงอายุใหสังคมเห็นคุณคาของผูสูงอายุ ๒. ใหมีระบบการจัดการฐานขอมูลผูสูงอายุท่ีสามารถเชื่อมโยง
(W๘,T๕) กับฐานขอมลู ภายนอก (W๑,O๘)
๓. เสรมิ สรางพลังเครอื ขายเพ่ือผนกึ กําลังและผลกั ดันใหง าน ๓. เสริมสรางระบบสนับสนุนการดําเนินงานขององคกรเพื่ออํานวย
ดา นการพฒั นาผสู งู อายเุ กดิ การขบั เคลอ่ื นและมคี วามตอ เนอ่ื ง (W๔,T๒) ความสะดวกใหก บั ผูป ฏิบัตงิ าน (W๓,O๙)
๔. สรา งระบบการจดั การความรดู า นงานบรกิ ารผสู งู อายกุ บั อาเซยี นให ๔. ใชป ระโยชนจ ากการศกึ ษา วจิ ยั ดา นผสู งู อายใุ นผลกั ดนั เชงิ นโยบาย
กบั บคุ ลากรเพ่อื ลดผลกระทบจากการเปน ประชาคมอาเซียน (W๖,T๗) และตอยอดการพฒั นางานผสู ูงอายใุ หค รอบคลมุ ทุกมติ ิ (W๒,O๘)
๕. ผลักดันใหมีระบบเฝาระวังและเตือนภัยทางสังคมสําหรับผูสูงอายุ ๕. ผลกั ดนั ใหมีการจดั ทรัพยากรทางการบรหิ ารใหเ หมะสม
(W๑,T๖) โดยใชโอกาสจากการท่ีรัฐบาลใหความสําคัญกับงานดานผูสูงอายุ
(W๑๑,O๒)
กลยุทธเชงิ รบั ๖. ผลักดันใหกองทุนผูสูงอายุปรับบทบาท ภารกิจใหสอดคลองกับ
ความคาดหวังของประชาชน สถานการณและปริมาณงานที่มีมากขึ้น
(W๙,O๑)

กลยุทธเ ชิงแกไข

Critical internal

๓๔ กรมกจิ การผูสูงอายุ

แผนกลยุทธก รมกจิ การผูสงู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

บทท่ี ๓ ทิศทางกลยุทธกรมกิจการผูสูงอายุ

๑. วสิ ัยทัศน

เปนองคกรหลักในการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุและสังคมใหอยูดีมีสุข
อยา งยง่ั ยืน

๒. พันธกิจ

๒.๑ พฒั นาแผนงาน มาตรการ กลไก นวตั กรรม และบรู ณาการงานดา นผสู งู อายเุ พอื่ สง เสรมิ
สนับสนุน คมุ ครอง และพิทักษส ทิ ธผิ ูสงู อายใุ หม คี วามอยูดีมสี ุข

๒.๒ การเตรยี มความพรอ มสงั คมเพื่อความอยดู ีมสี ขุ เม่ือเขาสวู ัยผสู งู อายุ
๒.๓ คุมครอง สงเสริม สนับสนุนและพิทักษสิทธิผูสูงอายุใหเขาถึงระบบสวัสดิการสังคม
อยางทว่ั ถึงและเปนธรรม
๒.๔ สงเสริม สนับสนุนภาคีเครือขายงานดานผูสูงอายุ เพื่อรวมขับเคล่ือนและพัฒนางาน
ดา นผูสงู อายุ
๒.๕ พัฒนาองคกรและทรัพยากรทางการบริหารงาน และองคความรูดานผูสูงอายุเพ่ือยก
ระดบั ประสิทธภิ าพการดําเนนิ งานขององคกร

๓. ประเด็นยทุ ธศาสตร

๓.๑ ยทุ ธศาสตรท ่ี ๑ การพฒั นาระบบและกลไกการขบั เคลอ่ื นงานดา นผสู งู อายอุ ยา งมบี รู ณาการ
และมีประสทิ ธภิ าพ

๓.๒ ยุทธศาสตรท่ี ๒ การผลักดนั ทุกภาคสว นมีสว นรว มเตรยี มความพรอมสังคมสงู วัยอยา ง
มีคุณภาพ

๓.๓ ยทุ ธศาสตรที่ ๓ การคมุ ครอง สงเสริม และสนบั สนนุ ผูสูงอายุและพฒั นาภาคีเครอื ขาย
ใหเขม แข็งเพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวิตผูสงู อายุ

๓.๔ ยุทธศาสตรท่ี ๔ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานดานผูสูงอายุเพ่ือสงเสริม
และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผูส งู อายุ

กรมกจิ การผูสงู อายุ ๓๕

แผนกลยุทธก รมกิจการผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔. เปาประสงค

๔.๑ มีระบบและกลไกการขับเคล่ือนงานดานผูสูงอายุอยางเปนรูปธรรมและมีบูรณาการ
ในทกุ ระดบั

๔.๒ ประชาชนและทุกภาคสวนตระหนักและใหความสําคัญในการเตรียมความพรอม
เพ่ือเปนสังคมสูงวัยอยา งมีคุณภาพ

๔.๓ ผูสูงอายุไดรับการคุมครอง สงเสริมและสนับสนุน และภาคีเครือขายมีสวนรวม
ในการพฒั นางานดานผสู ูงอายุ

๔.๔ องคก รมีการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล

๕. ความเชือ่ มโยง พันธกิจ เปา ประสงค ประเดน็ ยทุ ธศาสตร ตวั ช้ีวัดเปาประสงค และกลยทุ ธ

๑. พนั ธกิจที่ ๑ และ ๔
พนั ธกจิ ๑ : พฒั นาแผนงาน มาตรการ กลไก นวตั กรรม และบรู ณาการงานดา นผสู งู อายุ

เพอ่ื สง เสรมิ สนับสนุน คุมครอง และพิทักษสิทธผิ สู งู อายุใหม ีความอยูดมี สี ุข
พันธกิจ ๔ : สง เสริม สนบั สนนุ ภาคีเครอื ขายงานดานผสู ูงอายุ เพ่อื รว มขับเคลือ่ นและ

พฒั นางานดานผูสงู อายุ
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑
การพัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานดานผูสูงอายุอยางมีบูรณาการและ

มปี ระสิทธิภาพ
เปา ประสงค
มีระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานดานผูสูงอายุอยางเปนรูปธรรมและมีบูรณาการ

ในทกุ ระดับ
ตัวช้ีวดั เปาประสงค
จาํ นวนแนวทาง/ มาตรการ/ แผนงานในการดาํ เนนิ งานและการบรู ณาการเพอ่ื ขบั เคลอ่ื น

งานดา นผสู งู อายุ

๓๖ กรมกิจการผูสูงอายุ

แผนกลยุทธกรมกจิ การผูส ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

กลยทุ ธ
๑) กาํ หนดใหเรื่องผูสูงอายเุ ปน วาระแหงชาติ
๒) ถายทอดนโยบายดานผูสูงอายุระดับชาติสูหนวยงานและผูปฏิบัติทั้งภายในและ
ภายนอกทกุ ระดบั
๓) สงเสริมกระบวนการสรางความเขาใจสถานการณและแนวทางการดําเนินงาน
ดานผูสงู อายรุ วมกันภายในองคก ร
๔) บรู ณาการแผนงานและงบประมาณในการขบั เคลือ่ นงานดา นผูสงู อายุ
๕) ปรับบทบาทของศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุในการดําเนินงาน
ดา นผสู ูงอายุในระดบั ภูมภิ าค
๖) จัดทาํ แผนผสู ูงอายแุ หง ชาติ ฉบับท่ี ๓

๒. พันธกจิ ๒ : การเตรยี มความพรอ มสงั คมเพอื่ ความอยดู ีมีสขุ เมื่อเขาสวู ยั ผูสงู อายุ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ ๒
การผลักดันทกุ ภาคสวนมีสว นรวมเตรยี มความพรอ มสงั คมสงู วัยอยา งมคี ุณภาพ
เปาประสงค
ประชาชนและทุกภาคสวนตระหนักและใหความสําคัญในการเตรียมความพรอม

เพอ่ื เปนสังคมสงู วัยอยา งมคี ุณภาพ
ตวั ชี้วัดเปาประสงค
- จํานวนแนวทาง/ มาตรการ/ กลไกที่สงเสริมการมีสวนรวมในการขับเคลื่อน

การเตรยี มความพรอมเพ่อื รองรับสังคมสงู วยั
- รอยละของภาคีเครือขายที่รวมดําเนินการขับเคลื่อนเตรียมความพรอมเปนสังคม

สงู วยั อยา งมคี ณุ ภาพ
กลยทุ ธ
๑) เสริมสรางองคความรูและสรางความตระหนักในการเตรียมความพรอมเพ่ือเขาสู

วัยสูงอายุ
๒) สงเสริมและผลักดนั ใหท ุกภาคสวนมกี ารเตรียมความพรอ มเขา สูวัยสูงอายุ
๓) สรา งมาตรการ กลไกในการขบั เคลอื่ นใหท กุ ภาคสว นดาํ เนนิ การเตรยี มความพรอ ม

เขา สูว ยั สงู อายุ

กรมกิจการผูสูงอายุ ๓๗

แผนกลยุทธกรมกิจการผสู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๓. พนั ธกจิ ๓ และ ๔
พนั ธกจิ ๓ : คมุ ครอง สง เสรมิ สนบั สนนุ และพทิ กั ษส ทิ ธผิ สู งู อายใุ หเ ขา ถงึ ระบบสวสั ดกิ าร

สังคมอยางทว่ั ถึงและเปน ธรรม
พนั ธกิจ ๔ : สงเสริม สนบั สนนุ ภาคเี ครอื ขา ยงานดานผสู งู อายุ เพ่ือรว มขับเคลื่อนและ

พฒั นางานดานผูสูงอายุ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ ๓
การคมุ ครอง สง เสรมิ และสนบั สนนุ ผสู งู อายแุ ละพฒั นาภาคเี ครอื ขา ยใหเ ขม แขง็ เพอ่ื ยก

ระดบั คุณภาพชีวติ ผูส ูงอายุ
เปาประสงค
ผูสูงอายุไดรับการคุมครอง สงเสริมและสนับสนุน และภาคีเครือขายมีสวนรวม

ในการพัฒนางานดานผูสูงอายุ
ตัวชีว้ ดั เปาประสงค
- รอยละของภาคีเครือขา ยมีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผสู งู อายุ
- รอ ยละผูส งู อายทุ ี่เขาถงึ ระบบบริการทางสงั คม
กลยุทธ
๑) สงเสริม สนับสนุนและพัฒนาความเขมแข็งในการใหบริการทางสังคมแกผูสูงอายุ

และเครอื ขา ยผา นศนู ยพ ฒั นาการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมผสู งู อายแุ ละศนู ยก ารเรยี นรแู ละฝก อบรมดา นผสู งู อายุ
เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสงู อายุ ชมุ ชน และเครอื ขายใหม ีความครอบคลมุ ทกุ มติ ิ

๒) สงเสริมการมงี านทาํ ในผูสูงอายุ และการเขาถงึ หลกั ประกันทางรายได
๓) สงเสริม สนับสนุนระบบการดูและผูสูงอายุระยะยาว และผลักดันใหมีระบบ
เฝาระวงั และเตือนภยั ทางสงั คมสําหรบั ผูสงู อายุ
๔) เสรมิ สรา งพลงั ภาคเี ครอื ขา ยเพอ่ื ผลกั ดนั ใหง านดา นการพฒั นาผสู งู อายเุ กดิ การขบั เคลอื่ น
และมีความตอ เนอ่ื ง

๓๘ กรมกจิ การผูสงู อายุ

แผนกลยทุ ธก รมกิจการผูสูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๔. พนั ธกจิ ๕ : พฒั นาองคก รและทรพั ยากรทางการบรหิ ารงาน และองคค วามรดู า นผสู งู อายุ
เพอื่ ยกระดับประสิทธภิ าพการดาํ เนินงานขององคก ร

ประเดน็ ยุทธศาสตรท่ี ๔
พฒั นาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การงานดา นผสู งู อายเุ พอื่ สง เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพ
ชีวติ ผูสงู อายุ
เปา ประสงค
องคกรมกี ารบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ตวั ชีว้ ดั เปาประสงค
- จํานวนระบบสนับสนุนการบริหารจัดการขององคกร (อาทิ คณะกรรมการ
เพื่อปรับปรุงโครงสรางหนวยงาน/ ระบบติดตามประเมินผลยุทธศาสตรของกรม/ งบประมาณ/
อัตรากําลัง/ ฯลฯ)
- มรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและระบบฐานขอ มลู ดา นผูส ูงอายุ
- รอ ยละของบุคลากรท่ีไดรับการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน
กลยทุ ธ
๑) กําหนดบทบาทและอํานาจหนาท่ีของกลไกและความเชื่อมโยงการขับเคล่ือนงาน
ดา นผูสงู อายุ
๒) เสรมิ สรา งประสิทธิภาพระบบสนบั สนนุ การดําเนินงานขององคกร
๓) พัฒนาระบบฐานขอมูลท่ีสําคญั ของผูสูงอายุ และเชื่อมโยงกับฐานขอมูลหนวยงาน
ท่เี ก่ียวขอ งได
๔) การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรเพ่อื ความเปนมอื อาชีพในงานดานผสู ูงอายุ
๕) จดั ใหม ีระบบการตดิ ตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งานตามแผนกลยุทธข องกรม
๖) กําหนดแผนอัตรากําลังใหสอดคลองกับภารกิจขององคกรและมีการดําเนินการ
ติดตามอยา งตอเน่ือง

กรมกิจการผูสูงอายุ ๓๙

เปาหมายตามแผนกลยุทธ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
กรมกิจการผูสงู อายุ
แผนกลยุทธกรมกจิ การผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
๔๐ กรมกจิ การผูสงู อายุ
วสิ ยั ทัศน : เปนองคก รหลกั ในการขับเคลอ่ื นการพัฒนาคุณภาพชวี ิตผสู งู อายุและสงั คมใหอ ยูดีมีสขุ อยางยัง่ ยนื

เปาประสงค ตัวช้วี ัดเปาประสงค ๖๐ คา เปาหมาย ป ๖๔ กลยทุ ธ หนว ยงานรับ
๖๑ ๖๒ ๖๓ ผิดชอบ
๑ มีระบบและกลไกการขับ
เคล่ือนงานดานผูสงู อายุ จาํ นวนแนวทาง/ ๑ เรอ่ื ง ๒ เรือ่ ง ๓ เรอื่ ง ๔ เรื่อง ๕ เร่อื ง ๑) กาํ หนดใหเ รือ่ ง กผส. กยผ.
อยา งเปนรูปธรรมและมี
บูรณาการในทุกระดับ มาตรการ/ แผนงานใน ผสู งู อายุเปนวาระ สคส. และ

การดําเนนิ งานและการ แหงชาติ ทกุ ภาคสวน

บรู ณาการเพอ่ื ขบั เคลอื่ น ๒) ถา ยทอดนโยบาย

งานดา นผูสงู อายุ ดานผสู ูงอายรุ ะดับ

ชาติสูหนวยงานและ

ผปู ฏิบตั ิทง้ั ภายใน

และภายนอกทกุ ระดบั

๓) สง เสริม

กระบวนการสรา ง

ความเขา ใจสถานการณ

และแนวทางการ

ดาํ เนนิ งานดา นผสู งู อายุ

รว มกนั ภายในองคก ร

กรมกิจการผสู ูงอายุ เปา ประสงค ตัวชว้ี ดั เปา ประสงค ๖๐ คาเปาหมาย ป ๖๔ กลยทุ ธ หนวยงานรบั
๖๑ ๖๒ ๖๓ ผดิ ชอบ
๑ มรี ะบบและกลไกการขับ จาํ นวนแนวทาง/
เคลื่อนงานดานผูสูงอายุ มาตรการ/ แผนงานใน ๔) บูรณาการแผน
อยางเปน รปู ธรรมและมี การดาํ เนนิ งานและ
บูรณาการในทกุ ระดับ การบูรณาการเพอื่ งานและงบประมาณ
(ตอ) ขบั เคลอื่ นงาน
ดานผสู ูงอายุ (ตอ) ในการขับเคล่อื นงาน

ดา นผูสงู อายุ

๕) ปรับบทบาทของ

ศนู ยพัฒนาการจดั

สวัสดิการสงั คม

ผูสงู อายใุ นการ

ดําเนินงานดาน แผนกลยุทธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

ผสู ูงอายใุ นระดับ

ภูมภิ าค

๖) จัดทาํ แผน

ผสู ูงอายุแหงชาติ

ฉบับท่ี ๓

๔๑

แผนกลยุทธกรมกจิ การผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔เปา ประสงคตวั ชว้ี ดั เปา ประสงค ๖๐คาเปาหมาย ป๖๔กลยุทธ หนว ยงานรับ
๔๒ กรมกจิ การผูสงู อายุ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ผิดชอบ

๒ ประชาชนและทุกภาค - จาํ นวนแนวทาง/ ๑ เรื่อง ๒ เร่อื ง ๓ เร่ือง ๔ เรือ่ ง ๕ เร่อื ง ๑) เสริมสรางองค สศส. และ

สวนตระหนกั และให มาตรการ/ กลไกท่สี ง ความรูแ ละสราง ทกุ กอง

ความสาํ คัญในการเตรียม เสรมิ การมสี ว นรว มใน ความตระหนักใน

ความพรอ มเพอื่ เปนสังคม การขบั เคลอื่ นการเตรยี ม การเตรยี มความพรอ ม

สูงวัยอยา งมีคุณภาพ ความพรอมเพ่ือรองรบั เพ่ือเขาสูว ัยสูงอายุ

สังคมสงู วัย ๒) สง เสรมิ และผลัก

- รอยละของภาคีเครือ รอยละ รอ ยละ รอยละ รอ ยละ รอยละ ดันใหทุกภาคสว นมี

ขายทีร่ วมดําเนินการ ๗๐ ๗๕ ๘๐ ๘๕ ๙๐ การเตรยี มความ

ขับเคลื่อนเตรียมความ พรอมเขา สวู ัยสงู อายุ

พรอ มเปนสังคมสูงวยั ๓) สรา งมาตรการ

อยา งมีคุณภาพ กลไกในการขับ

เคลื่อนใหท กุ ภาค

สว นดาํ เนนิ การเตรยี ม

ความพรอ มเขาสู

วยั สูงอายุ

กรมกิจการผสู ูงอายุ เปาประสงค ตัวชีว้ ัดเปาประสงค ๖๐ คาเปา หมาย ป ๖๔ กลยทุ ธ หนว ยงานรบั
๖๑ ๖๒ ๖๓ ผิดชอบ
๓ ผสู งู อายไุ ดร บั การ
คุมครอง สงเสริมและ - รอยละของภาคี รอ ยละ รอยละ รอ ยละ รอยละ รอยละ ๑) สง เสรมิ สนบั สนนุ สคส. สศส.
สนับสนนุ และภาคี
เครือขา ยมีสว นรว มใน เครอื ขา ยมีสวนรว มใน ๗๐ ๗๕ ๘๐ ๘๕ ๙๐ และพฒั นาความเขม กบท. และ
การพัฒนางานดา น
ผูสูงอายุ การพฒั นาคุณภาพ แขง็ ในการใหบ รกิ าร ทกุ กอง

ชีวติ ผสู ูงอายุ ทางสงั คมแกผ สู งู อายุ

และเครอื ขา ยผาน

- รอยละผสู ูงอายุท่เี ขา รอยละ รอยละ รอ ยละ รอยละ รอยละ ศนู ยพัฒนาการจัด

ถึงระบบบรกิ ารทาง ๗๐ ๗๕ ๘๐ ๘๕ ๙๐ สวสั ดกิ ารสงั คมผสู งู อายุ

สังคม และศนู ยการเรียนรู

และฝกอบรมดา น แผนกลยุทธก รมกิจการผสู ูงอายุ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

ผสู งู อายุ เพื่อพฒั นา

คณุ ภาพชวี ติ ผสู งู อายุ

ชุมชน และเครือขาย

ใหมคี วามครอบคลุม

ทกุ มิติ

๒) สง เสริมการมงี าน

ทําในผูส ูงอายุ และ

การเขาถงึ หลัก

ประกนั ทางรายได

๔๓


Click to View FlipBook Version