The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักเกณฑ์พื้นฐานในการฝึกซ้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mindmint_juraluck, 2022-03-30 13:14:11

หลักเกณฑ์พื้นฐานในการฝึกซ้อม

หลักเกณฑ์พื้นฐานในการฝึกซ้อม

หลักเกณฑ์พ้นื ฐาน
ในการฝึ กซ้อม

FUNDAMENTAL CRITERIA FOR TRAINING

1

คานา

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) น้ีมีเน้ือหาเก่ียวกับ หลักเกณฑ์
พ้ืนฐานในการฝกึ ซ้อม จะไดท้ ราบถึงขนั้ ตอนการฝกึ ซ้อมและหลักการฝึกซ้อม
เพื่อนาไปใช้ในการเรียนรู้ สาหรับบุคคลท่ีสนใจ ได้ศึกษา ท้ังภาครัฐ
ภาคเอกชน ประชาชน นักศึกษา นักเรียน ท่ีมีความสนใจในกีฬาฟุตบอล ให้
ได้รบั ความรู้ความเขา้ ใจทถี่ ูกตอ้ ง

สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณ อาจารย์ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ ที่ให้ความรู้ ในการ
จดั ทาหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ผู้จดั ทาหวงั ว่าจะเป็นประโยชนต์ ่อการ
เรยี นรู้

จุฬาลักษณ์ เย็นกลา่

2

3

สารบัญ 2
4
คานา 7
สารบญั 10
บทท่ี 1 ขน้ั ตอนในการฝกึ ซอ้ ม 11
วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝกึ ซอ้ ม 12
ประโยชนข์ องการฝกึ ซอ้ ม 16
การวเิ คราะหก์ ารเลน่ ของนกั กฬี า 22
วธิ ีการฝกึ ทว่ั ไป 23
วธิ ีการฝกึ ระดบั เบอื้ งตน้ 27
ขนั้ ตอนในการฝกึ ซอ้ มกฬี า 30
กระบวนการฝกึ ซอ้ ม 30
วธิ กี ารฝกึ สอน 31
การฝกึ ทกั ษะ 31
31
การฝึกเป็นรายบุคคล 32
การฝึกเป็นคู่ 32
การฝกึ สนามเลก็ 33
การฝึกโดยเกมที่มเี งอื่ นไข 33
การฝกึ เปน็ กลุม่ ยอ่ ย
การฝกึ เป็นทมี /กลุม่ 4
ตวั อยา่ งแบบฝกึ การเลน่ เป็นกลมุ่

การฝกึ หน้าท่ี 34
การฝกึ รปู แบบ 34
บทสรปุ 35
บทท่ี 2 หลกั การฝกึ ซอ้ ม 37
กฎของการใช้ความหนักมากกวา่ ปกติ 36
กฎของความเฉพาะเจาะจง 36
กฎของการยอ้ นกลับ 37
การยอ้ นกลบั ของผลการฝกึ ซอ้ ม 41
หลกั การฝกึ ซอ้ มเยาวชนในกลมุ่ อายตุ า่ งๆ 41
บทสรปุ 49
แบบทดสอบทา้ ยบทท่ี 1 51
แบบทดสอบทา้ ยบทท่ี 2 56
บรรณานกุ รม 57

5

บทท่ี 1
ข้ันตอนในการฝึ กซ้อม

6

บทท่ี 1 ขน้ั ตอนในการฝกึ ซอ้ ม

ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง กี ฬ า มี พ้ื น ฐ า น ม า จ า ก ก า ร ฝึ ก ซ้ อ ม ที่ มี
ประสทิ ธิภาพ ซึ่งทาให้นักกีฬาเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การวางแผนการ
ฝึกซ้อมและแข่งขันจึงเป็นเรื่องที่สาคัญเป็นอย่างมาก ลาดับขั้นตอนของการ
ฝึกสอน เหตุและผลของการฝึกสอนและวิธีปฏิบัติที่ใช้เปรียบเสมือนกุญแจที่
ไขไปสู่ความสาเร็จ ฉะน้ันการฝึกต้องค่อยเป็นค่อยไปที่ละข้ันที่ละตอน
โดยเฉพาะผู้เล่นใหม่ ๆ ท่ีต้องการการเร่ิมต้ นท่ีถูกต้อง ไม่เร่งรัด
เปรียบเสมือนการสร้างตึกสูง พ้ืนฐานโครงสร้างต้องแข็งแรงแน่นหนาไม่โยก
คลอน เพราะถา้ รากฐานไมด่ ี โอกาสท่ีจะสร้างให้สาเร็จคงเป็นไปได้ยาก หรือ
อาจจะพังลม้ ลงมาทงั้ อาคารเสียกอ่ นก็ได้

การฝึกซ้อมเพ่ือที่จะก่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ผู้ฝึกสอน
จาเป็นที่จะต้องเลือกใชว้ ธิ ีการที่ เหมาะสมสาหรบั การฝึกสอนเด็กในแต่ละวัย
ให้มีการเรียนรู้และเกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง การฝึกสอนควรเริ่มจาก
โครงสร้างพ้ืนฐานท่ีดี ม่ันคง เป็นสิ่งแรกสาหรับผู้เล่นหน้าใหม่ ซึ่งเป็นเรื่อง
ของตวั บคุ คล โดยแยกเป็น 3 ส่วน คือ

1. พื้นฐานเบ้อื งตน้ (Basic)
คือ การจัดระเบียบร่างกาย ท่าทาง บุคลิกภาพในการเล่นกับ ลูกบอลใน
ลักษณะต่าง ๆ ควรเร่ิมจากท่าง่าย ๆ ไปสู่ท่ายาก ๆ หรือจากส่ิงที่ซับซ้อน
น้อย ไปสู่สงิ่ ท่ี ซบั ซ้อนมาก เริม่ จากจงั หวะไปหาจงั หวะเร็ว
แบบฝกึ ข้นั เรม่ิ แรกจะถกู สรา้ งข้ึนเพ่อื ให้โอกาสผูเ้ ลน่ ไดเ้ รยี นร้สู ง่ิ ทเี่ ปน็ พ้ืนฐาน
ท่ีจะใชป้ ฏิบัติ ไดจ้ ริง ๆ ซ้ึงแบบฝึกข้นั พ้นื ฐานจะนามาใช้ฝึกผู้เล่น ผู้เล่นจะได้

7

เรียนรู้การเคล่ือนไหวพ้ืนฐานโดยการ อธิบายและสาธิตอย่างง่าย ๆ ต่อมาผู้
เลน่ จงึ ทาดว้ ยตนเอง
ยังมีวิธอี ่ืน ๆ อกี ท่ีจะช่วยปรบั ปรงุ กระบวนการเรียนรู้ ตวั อย่างเช่น การสาธิต
อย่างช้า ๆ จะ ช่วยทาให้ท่าทางของแบบฝึกได้ชัดเจนข้ึนสาหรับผู้เล่น และ
ช่วยหลีกเลย่ี งและปอู งกนั ขอ้ ผดิ พลาดท่ี อาจเกิดข้นึ โคช้ อาจจะชว่ ยไดห้ รอื ใช้
การฝึกทีผ่ ดิ จงั หวะทีละขั้นตอนมาผสมผสานกันอีกครั้ง

นอกจากน้นั โคช้ อาจจะใช้ประสบการณ์ของตนเองมาช่วยเหลือผู้
เลน่ ในการแก้ปัญหาทีท่ ี่ อาจเกิดข้ึนในระหว่างฝึกซ้อมหรือแข่งขัน ส่ิงเหล่าน้ี
จะช่วยพัฒนาความมั่นใจในตัวผู้เล่นอีกด้วย ในช่วงระยะเวลาการเตรียมตัว
สัน้ ๆ ก็จะทาให้ผู้เล่นมกี ารปรบั ตัวสร้างความสัมพันธ์ไดเ้ รว็ ข้นึ

2. เทคนิค (Techniques)
เจริญ กระบวนรัตน์ (2557 : 231) กล่าวไว้ว่า การฝึกซ้อมเทคนิค

กีฬา คอื การเคลอ่ื นไหว
ร่างกายด้วยโครงสร้างทักษะกลไกการเคลื่อนไหวเฉพาะในแต่ละทักษะของ
แต่ละชนิดกีฬา ทาให้กีฬา แต่ละชนิดมีเอกลักษณ์ท่ีเป็นลักษณะเฉพาะและ
ความโดดเดน่ ของการเคลอื่ นไหวแตกต่างกัน

ปรีชา เผอื กขัวญดี (2539: 3) กลา่ วไวว้ ่า เทคนิค คอื ความสามารถ
ในการทาบางสิ่ง บางอย่างโดยไม่ต้องมีคู่ต่อสู้ อาทิ การโหม่งลูกบอลให้
สะท้อนกับกาแพง หรือการผ่านลูกด้วยด้านใน ของเท้ากับพ้ืนผิว ซึ่งจะ
สะทอ้ นกลบั มา
ชาญวทิ ย์ ผลชีวนิ (2535: 85) กลา่ วไว้ว่า เทคนิค คือ ความสามารถพิเศษใน
การทาบาง สิ่งบางอย่างในการฝึก โดยอาศัยการฝึกพื้นฐาน (Basic) มา
ประสานกลมกลืนกนั อาทิเช่น การโหมง่ ลูก, การเลี้ยง, การส่งลูก ฯลฯ

8

คอื ความชานาญในวิธกี ารเลน่ สว่ นบุคคลทจ่ี ะควบคุม หรือจัดการกับลูกบอล
ได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม ทาได้อย่างท่ีคิด ไม่ว่าจะส่งหรือรับลูกบอล
การควบคุมลูกบอล การเลี้ยง การ พาลูกบอล หรือการยิงประตูอย่างมี
คณุ ภาพ ซงึ่ เปน็ ผลมาจากความชานาญจากการฝกึ ทักษะเบอ้ื งตน้

ฉะนั้นการท่ีจะเกิดความชานาญได้น้ันต้องทาการฝึกช้า ๆ บ่อย ๆ
เป็นร้อย ๆ ครั้ง เพื่อให้ระบบ ประสาทและกล้ามเน้ือได้บันทึกหรือจา
รายละเอียดของช่วงท่า และวิธีท่ีจะควบคุมหรือจัดการกับลูก บอลให้ได้
ตามที่ต้องการ และเม่ือถึงเวลากล้ามเน้ือและร่างกายก็จะสามารถปฏิบัติได้
อยา่ งเป็นอัตโนมตั ิ

3.ทักษะ (Skill)
คือ วิธีการใช้เทคนิคเปลี่ยนแปลงการเล่นและเล่นได้อย่างต่อเนื่อง

ถูกต้อง รวดเร็ว ซึ่งขับเคลื่อนโดยความคิดและสมรรถภาพทางกาย ดังน้ัน
องค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ ทักษะ คือ คู่ต่อสู้ สถานการณ์ การ
ตดั สนิ ใจ เปูาหมาย วธิ กี ารเล่นและการเลน่ อย่างต่อเนือ่ งคอื วิธีการใช้เทคนิค
เปลี่ยนแปลงการเลน่ และเล่นไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งรวดเร็ว

ช่วงแ ร กของกา ร ฝึ กจึ งต้ องเ น้นทักษะ ส่วนบุ ค ค ล คื อ
ความสามารถที่จะส่ง รับ ควบคุมเล้ียง ยิงประตูให้ได้อย่างแน่นอน 100
เปอร์เซ็นต์ก่อน ในส่วนน้ีถือเป็นสาระสาคัญอย่างย่ิงถ้าผู้เล่นเร่ิมต้น ได้
ถูกต้อง ส่ิงที่ถูกต้องนั้นก็จะติดตัวไปตลอดและสามารถที่จะพัฒนาไปสู่
ระดับสงู ไดไ้ มย่ าก เมือ่ ผเู้ ล่น แตล่ ะคน “ด”ี ก็สามารถไปสกู่ ารฝกึ เป็นกลุ่มทีม
ไดไ้ ม่ยากเช่นกัน

9

วัตถุประสงคข์ องการฝกึ ซอ้ ม
เพ่ือให้ กา ร ฝึกซ้ อม เป็นไปด้ วย ค วา มเ รี ยบร้ อย ต าม โค ร งกา รแล ะ

แผนการฝกึ รวมทั้งนกั กีฬา ประสบความสาเรจ็ จากการฝึกกีฬานั้น ผู้ฝึกสอน
นักกีฬาและผู้ท่ีเกี่ยวข้องท้ังหลายจะต้อง ทราบและเข้าใจวัตถุประสงค์ของ
การฝกึ กฬี าใหถ้ ูกตอ้ งตรงกนั ซึง่ วตั ถปุ ระสงค์ที่สาคญั ของการฝกึ ซอ้ ม ได้แก่

1.เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่นักกีฬาในด้านร่างกาย
จติ ใจ อารมณแ์ ละสงั คม ท้ังในขณะฝกึ ซ้อมและการแขง่ ขัน

2.เพ่ือพัฒนาทักษะและระดับความสามารถของนักกีฬาให้สูงขน้ึ
3.เพ่ือเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักกีฬากับนักกีฬากับผู้
ฝึกสอนให้ความรักความสามัคคกี นั มากย่ิงขึน้
4.เพื่อให้ผู้ฝึกสอนรู้จักและเข้าใจธรรมชาติและบุคลิกภาพของ
นักกฬี าแต่ละคนมากย่งิ ข้ึน รวมถงึ ระดับความสามารถและความสมบูรณ์ของ
นักกีฬาแต่ละคน ซ่ึงจะทาให้สามารถวาแผนการฝึกซ้อมได้อย่างเหมาะสม
ยิง่ ขึน้
5.เพอ่ื ให้นกั กฬี าเกดิ การยอมรับความสามารถซึ่งกันและกัน และ
ระหวา่ งนักกีฬากบั ผฝู้ กึ สอน
6.เพอ่ื ให้ผู้ฝึกสอนสามารถตัดสินใจในการประเมินความสามารถ
และความพร้อมของนักกีฬา และสามารถคัดเลือกตัวนักกีฬาเพ่ือลงทาการ
แขง่ ขันได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

10

ประโยชน์ของการฝึกซ้อม
การฝึกกีฬาที่เป็นไปตามโครงการและแผนการฝึกที่ถูกต้องตาม

หลักการละวิธีการ จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่นักกีฬาผู้ฝึกสอนและผู้ท่ี
เก่ยี วขอ้ งดงั น้ี

1.ทาให้นักกีฬามีความสมบูรณ์เต็มที่ท้ังด้านสมรรถภาพร่างกาย
และจิตใจ ท้ังก่อนการแข่งขัน และขณะแข่งขัน รวมทั้งฟ้ืนสภาพได้เร็ว
ภายหลังการแข่งขันมีความพรอ้ มทจ่ี ะแข่งขนั ในครง้ั ตอ่ ๆ ไปได้

2.ท าใ ห้นัก กีฬ าไ ด้ พัฒ นาทั กษ ะแล ะร ะดับ คว ามส าม ารถ ขอ ง
ตนเองให้สูงขนึ้

3.ทาใหค้ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนกั กีฬากับนักกีฬาและนักกีฬากับผู้
ฝกึ สอนในทมี กีฬาดียิ่งขึ้น นักกีฬามีความเข้าใจและยอมรับความสามารถซ่ึง
กนั และกนั

4.ทาให้ผู้ฝึกสอนทราบความพร้อมและระดับความสามารถของ
นักกีฬา รวมทั้งธรรมชาติ และบุคลิกภาพของนักกฬี าแต่ละคน ทาใหส้ ามารถ
คดั เลือกตวั นักกฬี าลงทาการแข่งขันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

11

การวิเคราะหก์ ารเลน่ ของนกั กฬี า
ปัจจัยสาคัญในการจัดโปรแกรมการฝึกซ้อม คือ การวิเคราะห์ด้าน

เทคนิคของการเล่นท่ีผ่านมาแล้ว เพ่ือนามาใช้ในการตัดสินใจว่าจะฝึก ซ้อม
อะไรมาน้อยเพียงใด ให้เพียงพอสาหรับผู้เล่นในโปรแกรมการฝึก ความรู้
ความสามารถของทีมและผู้เล่นจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดโปรแกรมการฝึก
ได้อย่างมคี ณุ ภาพและเหมาะสม

ในการวิเคราะห์การเล่นของนักกีฬา ผู้ฝึกสอนต้องใช้ประสบการณ์
ทัง้ หมดทไี่ ด้สะสมตลอดการทางานทางดา้ นน้ีมา และการสังเกตส่วนตัวของผู้
ฝึกสอนเองสร้างรูปแบบของโปรแกรมการฝึกซ้อมประจาวันที่จะจัดให้ผู้เล่น
ฝกึ ซ้อมไดอ้ ย่างถกู ต้อง และมปี ระสิทธิภาพ

1. ตัวบคุ คล (THE HUMAN ASPECTS)
เซป เฮอร์เบอร์เกอร์ (SEPP HERBERGER) ผู้ฝึกสอนชาวเยอรมัน
ตะวันตก ผู้ซึ่งทาให้เยอรมันตะวันตกได้รับชัยชนะในฟุตบอลโลก ค.ศ.1954
ไดเ้ นน้ ถงึ ความสาคัญของผู้ฝกึ สอนตลอดมาจัดความสามารถในการสอนและ
การควบคมุ ทมี ไว้หลายอย่าง

1.1 ผู้ฝึกสอนที่มีความสามารถจะต้องไม่เพิกเฉยต่อหน้าท่ี
ทางดา้ นจิตวิทยาท่ีมตี อ่ ผ้เู ล่นของตน การใช้หลักการของการฝึกซอ้ มที่ถูกต้อง
หมายถึงว่า ผู้ฝึกสอนต้องเข้าใจถึงจิตใจและการปรับจิตใจของผู้เล่นโดยการ
สร้างบรรยากาศในการฝึกซ้อมระหว่างผู้ฝึกสอนกับผู้เล่นให้สามารถทางาน
รว่ มกนั ได้ และนาไปสู่ความสาเรจ็

12

การสร้างกฎเกณฑ์ในระหว่างการฝึกซ้อมอย่างเดียว ไม่ช่วย
ให้ความสมั พันธท์ ่ีละเอียดอ่อนระหวา่ ง ผู้เลน่ และผูฝ้ กึ สอนเปน็ ไปไดด้ ี ยิง่ ถ้าผู้
ฝึกสอนสามารถเข้าผู้เล่นได้เป็นรายบุคคล ความสาเร็จในเรื่องนี้ ยิ่งมีโอกาส
มากข้ึน อย่างไรก็ตามความพยายามในการสร้างความสัมพันธ์นี้จะต้องอยู่ใน
ขอบเขตของ ลักษณะการฝึกซ้อมด้วย ผู้ฝึกสอนควรพยายามเข้าใจสภาพ
จิตใจของผู้เล่นในความรบั ผดิ ชอบของตน ถ้าผู้ฝึกสอนประสบความสาเร็จใน
การเข้าถึงจิตใจผเู้ ล่น ก็เท่ากับเป็นก้าวแรกท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จ และเป็น
ปจั จัยทจี่ ะตัดสนิ ไดว้ ่าผฝู้ กึ สอนเปน็ ท่ียอมรับของผู้เลน่ หรอื ไม่

1.2 วิธีที่จะเขา้ ถงึ จิตใจของผเู้ ลน่ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งขนึ้ อยูก่ ับอายุ
ของผู้เล่นเนอ่ื งจากตอ้ งใชว้ ธิ ีการท่แี ตกตา่ งกันตามกลุ่มอายุที่แตกต่างกันด้วย
เช่น ผู้เลน่ ที่เปน็ เด็กจะไม่สนใจความสามารถของการเลน่ ของเขาเท่ากบั ผเู้ ล่น
ท่ีมีอายุมากกว่า และเด็กต้องการความเอาใจใส่ด้วยวิธีการหลายรูป
แบบอย่างสม่าเสมอ การเน้นให้เด็กเห็นวา่ สิ่งใดผดิ ในขณะฝึกซ้อมสิ่งใดถูกจะ
ชว่ ยใหเ้ ด็กเรียนร้เู ร็วขึ้น

1.3 ผู้ฝกึ สอนควรรู้ถึงภูมิหลังทางสังคมของผู้เล่น เช่น พื้นเพ
เดิม , ครอบครัว, ประวัติความเป็นอยู่ ฯลฯ ส่ิงเหล่าน้ีเป็นส่ิงสาคัญที่จะช่วย
ใหผ้ ฝู้ กึ สอนเข้าใจในตวั ผู้เล่นมากขึน้ และหาทางชว่ ยเหลือผู้เล่นในบางโอกาส

1.4 การเลือกแบบฝึกในการฝึกซ้อมก็เป็นปัจจัยที่สาคัญ
เน่ืองจากแบบฝึกต่างๆ จะช่วยทาให้ผู้เล่นยกระดับตัวเอง ในการเล่นขึ้นได้
การเลือกแบบฝึกต้องเหมาะสมกับความสามารถของผู้เล่นในขณะที่กาลังฝึก
อยู่ การเลือกแบบฝึกที่ง่ายไปจะทาให้น่าเบื่อ แต่ถ้ายากเกินไปหรือยุ่งยากก็
จะทาใหเ้ กดิ ความเครยี ดในการฝึก

13

ระบบการฝึกท่ีมขี ั้นตอนของการฝึกจะช่วยพัฒนาความม่ันใจ
ของผูเ้ ล่น พฒั นาความสามารถของผูเ้ ล่นใหส้ งู ขึ้น ผู้ฝึกสอนไม่ควรให้แบบฝึก
ท่ผี เู้ ล่นร้สู ึกว่าเป็นเรือ่ งเล่ือนลอย และไม่เกยี่ วข้องกบั การเล่นของเขา แต่ควร
ทาให้ผู้เล่นรู้สึกว่าผู้ฝึกสอนต้องการให้สิ่งท่ีเหมาะสมกับตัวเขา การยกระดับ
การเล่นให้ดีขึ้นมักเกิดจากผู้เล่น และผู้ฝึกสอนเข้าถึงจิตใจกัน และในเร่ืองน้ี
ถอื วา่ เปน็ เรื่องสาคญั มากเพราะจะทาให้ ผ้เู ลน่ รสู้ ึกกระตือรอื ร้น มีความต้ังใจ
จรงิ ที่จะฝกึ และแสดงให้เห็นถึงความมานะอดทน ผู้ฝึกสอนต้องทาให้ผู้เล่นมี
ความมนั่ ใจในโปรแกรมฝกึ ดว้ ย

จะเห็นไดว้ า่ ผู้เลน่ เป็นสว่ นสาคัญในการทาใหโ้ ปรแกรมการฝึก
ประสบความสาเร็จในการพิจารณา ของผู้เล่นน้ัน สิ่งหนึ่งที่สาคัญคือ
ปฏกิ ิรยิ าของผเู้ ล่นที่มีต่อสภาพแวดล้อม การจัดสภาพแวดล้อมท่ีดีจะช่วยให้
โปรแกรมการฝกึ เปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ

2. สภาพแวดลอ้ ม
2.1 สภาพอากาศ
การแข่งขันฟุตบอลโลก ที่ประเทศสเปน ค.ศ. 1982 และการ

แข่งขันฟุตบอลเยาวชนโลก ค.ศ. 198 ที่เม็กซิโกนั้น ในรายงานทางเทคนิค
ของฟฟี าุ (FIFA) ไดก้ ล่าวถงึ สภาพอากาศหลายลักษณะ ท่ีมีผลต่อการแข่งขัน
และฝกึ ซ้อมมาก เช่น อุณหภมู ิ (ความร้อน หนาว) ความชื้นสัมพันธ์ หิมะ ฝน
และความสูงเหนือระดบั น้าทะเล ในระหว่างการฝกึ ซอ้ มและการแข่งขันผู้เล่น
ทกุ คนจะตอ้ งปรับวิธกี ารเลน่ หรือรปู แบบการเลน่ หรือรูปแบบการเลน่ ใหเ้ ข้า
กับสภาพแวดล้อมต่างๆ ถ้าอุณหภูมิสูงมากต้องระมัดระวัง หากจะเน้นการ

14

ฝึกเกี่ยวกับสมรรถภาพ (ConditionTraining) มากเกินไปควรจะเป็นเรื่อง
เทคนิค (Technique) กลยุทธ์ต่างๆ (Tactics) เช่น การควบคุมลูกบอล
(Ball Control) การครอบครองลกู บอล (Ball Possession) การรุก (Attack)
การรับ (Defence) ฯลฯ หรือถา้ อากาศหนาวและมีฝนตก ผฝู้ ึกสอนควรจะให้
ผู้เล่นฝึกซ้อมในท่ีโล่งแจ้งมากขึ้น และโปรแกรมการฝึกควรเพิ่มทางด้าน
สมรรถภาพใหม้ ากขึ้น

2.2 สภาพสนาม
การปรับตัวให้เข้ากับสภาพสนาม และพื้นสนามต้องอาศัย
ความร่วมมอื ของผ้เู ล่นทุกคนผู้ฝกึ สอน ต้องฝึกในสภาพสนามท่ีเป็น ฝุน ทราย
ขรุขระหรือ เฉอะแฉะเป็นโคลนจะต้องเลือกโปรแกรมการฝึกซ้อมให้
เหมาะสมกับสภาพสนาม ซ่ึงแน่นอนผู้เล่นจะเห็นด้วยหรือไม่น้ันข้ึนอยู่กับ
แบบฝึกที่ผู้ฝึกสอนจัดให้ เช่น สนามเฉอะแฉะเป็นโคลน ผู้ฝึกสอนควรจะ
หลีกเล่ียงการฝึกการควบคมุ ลูกบอล เป็นต้น
สาหรบั การฝกึ ซอ้ มที่หนกั หรอื เขม้ ข้นขนึ้ กว่าปกติ จาเป็นต้อง
มอี ปุ กรณ์เคร่ืองมอื ทีด่ แี ละทนั สมัย เชน่ ร้องเท้า ลูกบอล ลูกบอลที่ใช้สาหรับ
แขวน (Pendulums) และกาแพงสาหรับไว้ยิงประตู (Shooting Walls)
อุปกรณ์ทีท่ นั สมัยเหล่าน้จี ะเป็นแรงจูงในในการฝึกซอ้ มของผู้เล่นมากข้น
สิ่งหน่ึงท่ีนักกีฬาระดับเย่ียมต้องการ คือ “การมีชีวิตท่ี
เหมาะสมอย่างนักกีฬา” (a suitable- sporting life style) ผู้ฝึกสอนต้อง
ถือว่าเป็นเรื่องหน่ึงที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน โดยร่วมมือกับหลายฝุาย
ในการจัดสรรหาสิ่งต่างๆ ที่จาเป็นและเหมาะสมกับสภาพของนักกีฬา การ
กินอาหารท่ีดีท่ี อยู่อาศัย และปัจจัยอ่ืนเช่นเด่ียวกัน ปัจจัยทาง

15

สภาพแวดล้อมที่สาคัญอีกประการหน่ึง คือความม่ันใจในการช่วยเหลือ
ทางดา้ นกฬี าเวชศาสตร์ การไดร้ บั คาแนะนาทีถ่ กู ต้องในขณะไดร้ บั บาดเจบ็ ใน
การฝึกซ้อม หรือระหว่างการแข่งขัน ซ่ึงเป็นความสาคัญทางด้านจิตวิทยา
ประการหนึ่ง ถ้าผู้เล่นรู้ว่าได้รับบาดเจ็บจากการฝึกซ้อมหรือแข่งขันจะได้รับ
การรักษาพยาบาลอย่างดี และอย่างรวดเร็วจากแพทย์จะทาให้ ผู้เล่นเกิด
ความมน่ั ใจในตัวเองมากขนึ้ หลงั จากได้รบั บาดเจบ็

วิธกี ารฝกึ ทว่ั ไป
ในการบรรลุเปูาหมายทด่ี ที สี่ ดุ นั้น ผู้ฝึกสอนจาเป็นจะต้องหาวิธีท่ี

ดที ส่ี ดุ ในการใหผ้ ู้เล่นเรียนรู้ โดยผ่านการฝกึ 3 ระดับ บางทวี ิธที ด่ี ที ส่ี ุดจะต้อง
ได้รับความร่วมมือจากผู้เล่นและอาจใช้ทัศนูปกรณ์ช่วยได้ หลังจากการ
อธิบายอาจจะตามด้วยการสาธิตให้ดูทันที การเลือกคาท่ีใช้อธิบายมี
ความสาคัญ แบบฝึกทั้งหมดจะต้องมีการวางแผนอย่างมีระบบและเป็น
ข้ันตอน ผู้ฝึกสอนจะต้องระวังไม่ให้ผู้เล่นเกิดความผิดหวัง หรือความเบ่ือ
หน่ายในระหว่างการฝึกความรู้สึกเช่นน้ีเกิดขึ้นเมื่อแบบฝึกไม่ เหมาะสมกับ
ระดับความสามารถในการเล่นของผูเ้ ลน่ หรอื ของทีม

อย่างไรกต็ ามแม้จะใชว้ ิธที ด่ี ีที่สุดแลว้ การฝกึ กไ็ มอ่ าจประสบ
ผลสาเร็จได้ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้เล่น ความสนใจส่วนตัว เจตคติที่มี
ต่อระเบียบวินัยในการฝึก และความตั้งใจจริงของผู้เล่นมีส่วนสาคัญที่ทาให้
การฝึกประสบผลสาเร็จสิ่งเหล่าน้ีสามารถทาให้เกิดข้ึนได้โดยผู้ฝึกสอน ผู้
ฝึกสอนควรสร้างความสัมพันธ์ส่วนตัวกับผู้เล่นทุกคน และช่วยผู้เล่น
แก้ปัญหาถ้าทาได้ก็จะทาให้ผู้เล่นรู้สึกม่ันใจไว้วางใจในตัวผู้ฝึกสอนมากข้ึน
โดยท่ัวๆ ไปจะเปน็ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างทุกๆ คนในทมี ดว้ ย

16

เม่ือการฝึกซ้อมผ่านไปตามลาดับผู้เล่นแต่ละคนหรือทั้งทีม
ควรจะร้สู ึกวา่ มีความก้าวหน้าเกิดขึ้นเรอื่ ยๆ และทุกคนควรจะได้พัฒนาความ
ม่ันใจของตนเองในการนาเอาความสามารถความชานาญไปใช้ ใน
สถานการณ์การแข่งขันจริง ผลของความสาเร็จเหล่าน้ีจะช่วยส่งเสริมการ
พฒั นาการทางด้านจิตใจ การเสรมิ สรา้ งบคุ ลิกภาพของผูเ้ ล่นอกี ดว้ ย
ขน้ั ตอนในการฝกึ มี 3 ขั้นตอน มดี งั น้ี

1. ข้นั เรม่ิ แรกหรอื ขนั้ เบือ้ งต้น
ขน้ั เรม่ิ แรก (INTRODUCTORY EXERCISE)

แบบฝึกข้ันเร่ิมแรกจะถูกสร้างข้ึน เพ่ือให้โอกาสผู้เล่นได้
เรียนรู้ส่ิงท่ีเป็นพ้ืนฐานที่นาไปใช้ปฏิบัติได้จริงๆ อาจเรียกได้ว่าเป็น “ขั้น
เบื้องต้น” ซึ่งแบบฝึกขั้นพื้นฐาน ผู้เล่นควรเรียนรู้การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน
โดยการอธิบายและสาธิตง่ายๆ ต่อมาผู้เล่นจึงทาด้วยตนเอง ผู้ฝึกสอนควร
คาดหวังว่าผู้เล่นทุกคนจะฝึกแบบต่างๆ ด้วยขีดความสามารถสูงสุดของเขา
ในขนั้ นผี้ ู้เลน่ เพยี งแต่บรรลุเปูาหมายถึงระดับการฝึกท่ีเรียกว่า “ระดับการใช้
กาลังปานกลาง (PARADYNAMIC) เทา่ นน้ั ”

การฝึกในขั้นนี้ เช่น การส่งลูกระยะสั้น ๆ การฝึกเป็นคู่ใน
การเล้ียงสง่ การเคลื่อนที่ในการรับสง่ ลูกตาแหน่งในการรับส่งลูกของผู้เล่นถูก
แนะนาโดยผู้ฝกึ สอนถา้ หากผเู้ ลน่ กระทาผดิ การฝึกทส่ี าคัญในระดับนี้ คือ การ
สาธิตท่ีถูกต้อง และการอธิบายท่ีชัดเจนของผู้ฝึกสอนว่าจะมีการเคล่ือนไหว
อวยั วะส่วนใดบ้าง

17

ยงั มีวิธอี น่ื อีกทจ่ี ะปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ เช่น การสาธิต
อยา่ งชา้ ๆ จะช่วยใหท้ าของแบบฝึกชดั เจนขน้ึ สาหรับผู้เลน่ และชว่ ยหลีกเลย่ี ง
และปูองกันขอ้ ผิดพลาดที่อาจเกิดขนึ้ ได้ ผู้ฝึกสอนอาจจะใช้การฝึกปิดจังหวะ
ทีละขัน้ ตอนแล้วนาแตล่ ะขั้นตอนมาผสมผสานกันอกี คร้ัง

นอกเหนือจากวิธีการฝึกน้ีเป็นรูปธรรมเห็นได้ชัดแล้ว ผู้
ฝกึ สอนอาจจะใช้ประสบการณ์ของตนเอง ช่วยเหลือผู้ เล่นในการแก้ปัญหาที่
อาจเกิดขนึ้ ได้ในระหวา่ งการฝึกซ้อม ส่ิงนจ้ี ะชว่ ยพฒั นาความมนั่ ใจในตวั ผเู้ ลน่
เองอีกด้วย การฝึกซ้อมเทคนิคขั้นพื้นฐานในการเล่นฟุตบอลเป็นส่ิงสาคัญ
และจาเป็น ในระยะเวลาอันส้ันผู้เล่นก็จะมีความสามารถดีเลิศในการสร้าง
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผ้เู ลน่ ด้วยกัน

2. ขน้ั สงู (ADVANCE EXERCISE)
ในข้ันน้ีการสร้างความชานาญจะต้องเพ่ิมข้ึน การฝึกพิเศษ

จะต้องถกู นามาใชเ้ พิ่มเติมต่อจากการเคลื่อนที่ของผู้เล่นขั้นพื้นฐาน ขั้นนี้การ
เคล่ือนที่เป็นปัจจัยท่ีสาคัญที่สุดประการหน่ึง การฝึกแต่ละคนหรือ
ความสามารถของแต่ละคนจะถูก นามาใช้รวมกัน การกาหนดแบบฝึกต้อง
ยกระดับความสามารถท่ีสูงขึน้ และอยา่ งท่ีกล่าวมาแล้ว คือ มักจะนามาในรูป
ของการเล่นเพือ่ สรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างผู้เล่นด้วยกัน การประสานงานใน
การเล่นมักจะมีความสาคัญมากข้ึน ความสามารถในการเล่นจะถูกขัดเกลา
ให้ดีขนึ้ เรื้อยๆ ผู้ฝกึ สอนไมเ่ พียงแตจ่ ะตอ้ งการใหผ้ เู้ ล่นทุ่มเทอย่างหนักในการ
ฝกึ มากขนึ้ เท่าน้ัน แต่ยังตอ้ งการให้ใช้ความสามารถในการฝึกแบบฝึกให้ดีข้ึน
อีกด้วย ผู้เล่นควรพัฒนาแบบฝึกต่างๆ ให้ดีข้ึนโดยใช้เวลาน้อยลง และควร
พัฒนาเอกลกั ษณ์การเล่นของแตล่ ะคนด้วย

18

หลักเกณฑ์ทั้งหมดท่ีกล่าวมาน้ีต้องการการฝึกซ้อมที่หนัก
มฉิ ะนั้นไม่เกดิ ความก้าวหนา้ ในการเล่นใหด้ ขี นึ้ นอกจากจะฝึกอย่างหนักแล้ว
ย่ิงตอ้ งใชเ้ วลาในการฝึกให้มากขน้ึ ด้วยถา้ ต้องการใหเ้ กิดผล

รูปแบบการฝึกซ้อมของผู้เล่นแต่ละคนจะถูกนามารวมกัน
เพ่ือใหเ้ กิดแบบฝกึ ท่ีดีสมบูรณ์แบบให้ได้ใกล้เคียงกับ สถานการณ์การแข่งขัน
จริง แต่ทว่ายังไม่มีคู่แข่งขันส่ิงเหลาน้ี ผู้เล่นได้ฝึกมาต้ังแต่การฝึกข้ันพ้ืนฐาน
ในตอนแรกแล้ว อย่างไรก็ตามถ้าต้องการให้การเล่นก้าวหน้าข้ึน ต้องใช้
วิธีการเหมาะสมพัฒนาแบบฝึกให้อยู่ในระดับสูงข้ึนต่อไป ผู้เล่นทุกคนมี
“ดารา” ที่เขาอยากเลียนแบบ การสาธิตรูปแบบ “ดารา” ท่ีผู้เล่นนิยม
ชมชอบจะช่วยให้ผู้เลน่ มีความเขา้ ใจไดด้ ีขึ้น

3. ขน้ั การแข่งขนั (COMPETITIVE EXERCISE)
ในขั้นตอนนี้มีการสร้างรูปแบบการฝึกที่สวยงาม ฝึกให้

เหมือนกบั การแขง่ ขนั จริงๆ มีการใช้เทคนิค และกลยุทธ์ (TACTICS) ในแบบ
ฝึกต่างๆ ด้วย แบบฝึกทุกแบบจะฝึกโดยสมมุติมีทีมคู่แข่งขันเหมือนการ
แข่งขันจริง ซ่ึงในการฝึกข้ันนี้ต้องมีการวางแผนอย่างมีระบบ และมีระเบียบ
วินัยในการฝึกจริงๆ ผู้เล่นจะต้องทาตามกฎเกณฑ์ทุกอย่างท่ีผู้ฝึกสอนวางไว้
จึงจะสามารถพัฒนามาตรฐานการเล่นของตนได้เรื่อยๆ และสามารถนามาใช้
ไดเ้ มื่อตอ้ งการจะใช้ในสถานการณ์แขง่ ขนั จรงิ การนา เอากลยุทธ์ หรือวธิ ีการ
ความสามารถส่วนตัวมาใช้ในการเล่นของผู้เล่นจะต้องเอาชนะอุปสรรค
ส่วนตัว (ความประหม่า) และอุปสรรคภายนอก เช่น ส่ิงแวดล้อม, อิทธิพล
จากผ้ดู ใู หไ้ ด้

19

ผู้เล่นจะใช้แบบฝึกในการฝึกอย่างม่ันคงตลอดเวลาและใช้
แบบฝึกโดยอัตโนมัติได้แล้ว ใน สถานการณ์เช่นน้ีแบบฝึกต่างๆ ถูกนามาใช้
อยา่ งประหยัดเวลาในการฝึก ผู้เลน่ ที่จะฝกึ ในขั้นนีจ้ ะตอ้ งเป็น “พวกที่มีกาลัง
อยู่ในตัวเองอยู่แล้ว” (DYNAMIC PROTOTYPE) ผู้เล่นพวกนี้ต้องการวิธีการ
ฝึกซ้อมท่ีแน่นอน และโดยเฉพาะแบบฝึกท่ีเขาจะพบกับคู่แข่งขันท่ีมี
ความสามารถสูง เพ่ือต้องการจะเอาชนะให้ได้ แต่อย่างไรก็ตามเขาจะต้อง
ประเมินตัวเอง และความสามารถของตนเองอย่างระมัดระวัง เพื่อหลีกเลี่ยง
ข้อผิดพลาดของตนเอง การวิเคราะห์และประเมินตนเองจะทาให้ผู้เล่นได้ดี
ขึ้น ทั้งทางด้านสมรรถภาพ ด้านเทคนิค และทางด้านแทกติกที่ผู้เล่นจะต้อง
นามาใช้ได้อย่างคล่องแคล่วในสถานการณ์การแข่งขันจริง และน่ีเป็นเหตุผล
ว่าทาไมจึงต้องใช้แบบฝกึ ในรปู ของการฝกึ แบบการแข่งขนั จริง

20

แบบฝกึ ในขนั้ แรก แบบฝกึ ขน้ั สงู แบบฝกึ ขน้ั แขง่ ขนั
จริง
การอธบิ าย การหยดุ การฝกึ
- เลอื กใชค้ าและ - เม่อื ฝึกผดิ หรอื การวเิ คราะห์
อธิบาย ตอ้ งการความเขา้ ใจ - เน้นเร่อื งแทกตกิ
การสาธติ - ปรับปรงุ - ใช้ประสบการณ์
- แสดงใหด้ อู ยา่ ง - แกไ้ ข ความสามารถของผู้
ถูกต้องโดยใช้ เลน่ แตล่ ะคนมา
กฎเกณฑ์ท่ีเปน็ แบบ - ยอมรบั การแก้ไข รวมกันเปน็ ทมี
ฉบบั - เต็มใจแก้ไข - ใหค้ วามเห็นเปน็
รายบคุ คลและเป็น
- ฟัง - ระยะไกลขึน้ ทมี
ผู้เลน่ - ดู เน่อื งจากมคี วามมั่นใจ - แกไ้ ขตนเอง
ในการเคล่อื นที่และ - วจิ ารณ์ตนเอง
พนื้ ทใ่ี นการ - สนามฝกึ ซ้อม การสง่ ลกู ระยะไกล - ปรับปรุงตนเอง
ฝกึ ซอ้ ม - ระยะใกล้ - ฝกึ ซอ้ มกบั คแู่ ข่งขนั
- ที่แคบ - ฝกึ เปน็ กลมุ่ การสร้างสถานการณ์
- การสง่ ลกู ระยะสัน้ - การสง่ ลกู บอลไป เหมือนการแข่งขนั
ขา้ งหน้า - ใชส้ นามเท่ากบั การ
จานวนผเู้ ลน่ - ฝกึ ความสามารถ - ข้างหลัง แขง่ ขนั จริง
เวลาการฝกึ ซอ้ ม เฉพาะตัว การเล้ียงลูก - ทแยงมุม - ผู้เลน่ ทุกคนมีสว่ น
การคอนโทรลลูกบอล - ขยายเวลาในการฝกึ ร่วมจากกลุ่มเลก็ จน
- ฝึกเปน็ คู่ ออกไปแบบหนักขน้ึ เต็มทีมและมีคแู่ ข่ง
- การมองลูก
- สั้นๆ มสี มาธิในการ - ใชเ้ วลาเหมอื นการ
ฝึก แขง่ ขนั จรงิ

การพัฒนาแบบฝึกในระดบั ข้นั ตา่ งๆ

21

วิธีการฝกึ ระดับเบอ้ื งตน้
1.สอนใหป้ ฏบิ ัติอยกู่ บั ทใ่ี หไ้ ด้ผล 100 เปอร์เซ็นต์
2.สอนให้ปฏิบตั เิ คลือ่ นทีใ่ หไ้ ดผ้ ลเกอื บ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์
3.สอนให้ปฏิบัติเคล่ือนที่ มีคู่ต่อสู้และสามารถผ่านไปได้ 100

เปอรเ์ ซ็นต์

ผ้ฝู กึ สอนตอ้ งเป็นผ้กู ากบั รูปแบบ รวมทั้งวัตถุประสงค์ของการฝกึ และตอ้ ง
ศกึ ษาสังเกตผู้เลน่ ในระหว่างทปี่ ฏบิ ตั คิ วบคู่กนั ไปดว้ ย ย่งิ ผู้ฝึกสอนร้แู ละเข้าใจ
ในตวั ผูเ้ ลน่ มากเทา่ ใด ก็สามารถช่วยผเู้ ล่นได้มากขึ้นเท่านั้น ส่ิงนี้สาคัญมากผู้
ฝกึ สอนบางคนเจตนาดี ต้งั ใจดี แต่ขาดบางสิง่ บางอยา่ งอาจทาให้ผู้เล่นพัฒนา
ช้าหรือไปไม่ถึงเปูาหมาย การฝึกผู้เล่นใหม่ต้ังแต่เด็กจะต้องมีความเข้าใจใน
การฝึก ฝึกให้ถูกวิธีต้ังแต่เริ่มต้น เด็กก็จะพัฒนาความสามารถไปพร้อมกับ
ความเจริญเติบโตและเป็นผู้เล่นที่มีความสามารถท่ีเก่งกาจในกีฬาฟุตบอลได้
การสร้างนักกีฬาต้อง ใช้ระยะเวลาเป็นเดือนๆ ปีๆ สาคัญอีกประการหน่ึงก็
คือ รูปแบบหรือแบบฝึก รวมถึงกระบวนการและเทคนิคการสอนของผู้
ฝกึ สอน ซงึ่ มีผลตอ่ พฒั นาการของนกั กีฬาเป็นอยา่ งมาก

22

ขั้นตอนในการฝึกซอ้ มกีฬา
ข้ันตอนในการฝึกซ้อมกีฬาจากผู้ที่ไม่เคยเล่นกีฬามาก่อนจนถึงขั้น

นักกีฬาท่มี คี วามสามารถ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ข้นั คอื
1.การฝึกสมรรถภาพทางกาย
2.การฝกึ ทกั ษะกีฬาขั้นพ้นื ฐาน
3.การฝกึ เพ่ือพฒั นาสมรรถภาพและขีดความสามารถให้ได้ระดับ

สงู สุด

1. การฝึกสมรรถภาพทางกาย
การฝึกสมรรถภาพทางกาย เป็นปัจจัยหน่ึงท่ีมีความสาคัญต่อการฝึก

กีฬา เป็นการสร้างความสมบูรณ์ทางด้านร่างกายให้กับนักกีฬา เพื่อให้
นักกฬี ามีความพร้อมทางด้านร่างกายที่จะทาการ ฝึกซ้อมหรือแข่งขัน การท่ี
นักกีฬาแสดงความสามารถได้เท่ากับระดับความสามารถท่ีตนเองมีอยู่นั้น
ต้องอาศัยสมรรถภาพทางกายโดยเฉพาะกีฬาประเภทที่ไม่ต้องการเทคนิค
ทักษะมากผลการแข่งขันจะขึ้นอยู่กับ สมรรถภาพทางกายเป็นส่วนใหญ่
สาหรับกีฬาท่ีใช้เทคนิคทักษะมากการมีสมรรถภาพ ทางกายดีจะช่วยให้
นักกฬี าสามารถปฏิบัตติ ามเทคนคิ ทักษะทไ่ี ด้รับการฝึกมาได้อยา่ งถกู ต้องและ
มีประสิทธิภาพ โดยท่ัว ไปสมรรถภาพทางกายแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
คือ

23

1. สมรรถภาพทางกายทั่วไป (General Physical Fitness) ได้แก่
สมรรถภาพทางด้านตา่ งๆ ทนี่ กั กฬี าจะต้องมีซึ่งคณะกรรมการนานาชาติเพื่อ
จัดมาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (Intemational
Committization for the Standardization of Physical Fitness Test =
ICSPFT ) ได้ จาแนกองคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายไว้ 7 ประเภทคือ

1.1 ความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื (Muscle Strength)
1.2 ความอดทนของกล้ามเน้ือ(Muscle Endurance)
1.3 ความเรว็ (Speed)
1.4 พลังหรอื กาลงั ของกล้ามเนอ้ื (Muscle Power)
1.5 ความแคลว่ คลอ่ งวอ่ งไว(Agility)
1.6 ความอ่อนตัว (Flexibility)
1.7 ความอดทนทว่ั ไป (General Endurance)
องค์ประกอบต่างๆ เหล่าน้ีเกิดจากสมรรถภาพการทางานท่ีสัมพันธ์
กันของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบกล้ามเน้ือระบบหายใจ ระบบ
ไหลเวียนโลหิต ระบบประสาท เป็นต้น หากระบบใดระบบหน่วงทางาน
ขดั ขอ้ งจะเปน็ เหตุให้สมรรถภาพทางกายทั่วไปลดลง

24

2. สมรรถภาพทางกายพิเศษ (Special Physical Fitness)
ได้แก่ สมรรถภาพทางกายที่ นกั กฬี าจะต้องมีเฉพาะสาหรับกีฬาชนิด

นน้ั ๆ ซงึ่ ในกีฬาแต่ละชนิดน้ันจะมสี มรรถภาพทางกายที่จาเป็นแตกต่างกันไป
เช่น นักมวยจะต้องมีสมรรถภาพทางกายพิเศษแตกต่างจากนักว่ายน้า นัก
ฟุตบอลหรือนักกรีฑา เป็นต้น ในการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายพิเศษ
จะต้องมกี ารฝึก

นอกเหนือไปจากการฝึกสมรรถภาพทางกายทั่วไป เป็นการฝึกแบบ
เฉพาะเจาะจง ที่ต้องเน้นการทางานและการเสริมสร้างประสิทธิภาพของ
อวยั วะบางแหง่ เพื่อให้เหมาะสมกับกีฬาชนิดน้ัน ๆ

3. การฝกึ เพื่อพฒั นาสมรรถภาพและขีดความสามารถให้ได้ระดับสูงสดุ
การฝึกเพื่อพัฒนาสมรรถภาพและขีดความสามารถให้ได้ระดับสูงสุด

เป็นเพื่อนการฝึกแบบผสมผสาน คือ การฝึกอย่างหนักท้ังด้านร่างกายและ
จิตใจ เป็นการฝึกสมรรถภาพทางกายอย่าง เฉพาะเจาะจงตามชนิดหรือ
ประเภทของนักกีฬานั้นๆ เพ่ือให้นักกีฬามีระดับความสามารถและ
สมรรถภาพทางกายสูงสุด ในขั้นน้ีจะมีการฝึกทักษะอย่างหนักตามแบบ
แผนการเล่นเพื่อแข่งขัน โดยเน้น ท่าทางการเคลื่อนไหวให้เหมือนกับ สภาพ
จริงในการแข่งขัน เป็นการฝึกอย่างเฉพาะเจาะจง และต้องไม่ฝึกกีฬาชนิด
อื่นๆ จนทักษะท่ีได้รับจากการฝึกน้ันทาได้เป็นอัตโนมัติ (Automatic Skill
Level) ซึ่งผลของการฝึกซ้อมเพื่อให้นักกีฬามีความสามารถและสมรรถภาพ
ทางกายสงู สุดขึ้นอยู่กบั ปัจจัยตอ่ ไปน้ี

25

1. คุณภาพของการฝึก การฝึกจะต้องมีโปรแกรมการฝึกและแบบฝึก
ท่ีมีคุณภาพ เพื่อพัฒนา และเสริมสร้างเทคนิคทักษะพื้นฐาน เทคนิคทักษะ
ข้ันสูง ตลอดจนสมรรถภาพทางกายพิเศษที่ใช้ใน การเล่นและแบบแผนของ
การเล่น

2. ปริมาณของการฝึกการฝึกจะต้องทาตามโปรแกรมและแบบฝึกท่ี
กาหนดไว้ในปริมาณท่ีเหมาะสม ไม่ฝึกหนักจนเหน็ดเหนื่อยอ่อนล้าหมดแรง
หรือเบาเกินไป จนทาให้นักกีฬาไม่พัฒนาขีดความสามารถของตนเองให้
สูงข้ึนได้และต้องฝึกอย่างสม่าเสมอ ซ้าๆ ซากๆ เพื่อให้เกิดความ ชานาญจน
สามารถทาไดเ้ ป็นอัตโนมตั ิ

3. ขีดจากัดทางสีรวิทยาของแต่ละบุคคล ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย 2
ประการ คือ

3.1 ปัจจัยภายในของผู้รับการฝึก ได้แก่อายุ เพศ สภาพร่างกาย
จิตใจและ พรสวรรค์ เป็นต้น

3.2 ปัจจัยภายนอกของผู้รับการฝึกได้แก่สภาพแวดล้อมโดยทั่วไป
ได้แก่อุปกรณ์ และสถานท่ี เครื่องแต่งกาย ภูมิอากาศการใช้ยากระตุ้น บุหร่ี
แอลกอฮอล์การซอ้ มเกิน การพักผ่อน การนันทนาการและการอบอุ่นร่างกาย
เป็นต้น

26

กระบวนการฝกึ ซ้อม
1.เตรียมการฝึก (Preparation) เป็นส่ิงแรกที่ผู้ฝึกสอนจะต้องทา

อยา่ หลกี เล่ยี งไมไ่ ด้ ไดแ้ ก่
1.1.เปาู หมายหรอื วตั ถุประสงคข์ องการฝึก
1.2.สถานที่สาหรบั การฝึก
1.3.จานวนและระดบั ความสามารถของผเู้ ข้ารับการฝึก
1.4.แบบแผน รูปแบบและวธิ ีการฝึก
1.5.อุปกรณแ์ ละส่ิงอานวยความสะดวก
1.6.ระยะเวลาของการฝึก

2.จัดการฝึก (Organization) ผู้ฝึกสอนต้องเป็นผู้จัดการเตรียม
สถานที่หรือสนามฝึก จัดวางอปุ กรณ์ รวมถึงสง่ิ อานวยความสะดวกต่างๆ

3.แนะนาและเร่ิมการฝึก (Commence/Start) ก่อนการฝึกควร
แนะนาถึงวัตถุประสงค์ และ วิธีการที่ผู้เล่นต้องปฏิบัติต้องมีความชัดเจน
เขา้ ใจงา่ ย การเริม่ เปน็ ส่งิ สาคัญผูฝ้ กึ สอนเองจะตอ้ งมีความเขา้ ใจในสิ่งท่ีจะให้
ผ้เู ลน่ ปฏบิ ัติ วา่ ควรจะเร่ิมต้นอย่างไร เพราะมผี ลต่อความสนใจของผู้เล่นท่จี ะ
ปฏิบัตติ าม

4.สังเกตการปฏิบัติ (Observe) ในระหว่างท่ีผู้เล่นกาลังปฏิบัติ ผู้
ฝกึ สอนตอ้ งเฝาู ดูเพือ่ ทีจ่ ะไดเ้ หน็ ถึงข้อบกพร่องในวัตถปุ ระสงค์ทีต่ อ้ งการ

5.หยุดการปฏิบัติ (Stop) เม่อื ผเู้ ล่นแสดงให้เห็นถงึ ขอ้ บกพร่องในการ
ปฏิบัติ หรือความไม่เข้าใจในสิ่งที่ต้องทาผู้ฝึกสอนต้องหยุดการปฏิบัติของผู้
เล่น ซง่ึ เก่ียวขอ้ งกบั เม่ือไรทคี่ วรใหห้ ยดุ และหยดุ อย่างไร โดยต้องให้โอกาสผู้
เล่นแกไ้ ขตนเองก่อน ถา้ ยังไม่ดขี ้ึนจึงใหห้ ยดุ และการหยุดควรที่จะคงสภาพ
สถานการณ์ทบ่ี กพร่องไว้ ซง่ึ จะทาให้ชีเ้ ห็นข้อบกพรอ่ งไดง้ ่ายและชัดเจน

27

6.เข้าไปแกไ้ ข (Intervene) สิง่ แรกท่ีต้องทาเมื่อเข้าไปแก้ไข คือ ต้อง
ช้ีให้ผู้เล่น (ท้ังหมด) เห็นถึงข้อบกพร่องเสียก่อน แล้วจึงจะชี้นาสิ่งท่ีถูกต้อง
พดู ส้ันๆ ให้เข้าใจงา่ ยๆ ชัดเจนและตรงประเดน็

7.สอนใหเ้ กดิ ผล (Teach Effect) การท่ีจะใหเ้ กดิ ผลน้ัน การพูดอย่าง
เดียวโดยไม่เห็นภาพคงเข้าใจได้ยาก “พูดสิบครั้งไม่เท่าเห็นภาพครั้งเดียว”
และที่สาคัญหากผู้เล่นได้ทดลองทาในส่วนที่ถูกต้องด้วย จะยิ่งเข้าใจได้อย่าง
รวดเร็วและชดั เจนยง่ิ ข้ึน

8.สรุปหลังการฝกึ (Conclusion) เมื่อการฝึกเสรจ็ สิน้ ลง จาเปน็ อย่าง
ยิ่งท่ผี ฝู้ ึกสอนจะต้อง สรุปถงึ สิ่งทท่ี าผลทจี่ ะเกิด ให้รางวัลความตั้งใจด้วยการ
ชมเชยและไม่ลืมท่ีจะช้ีให้เห็นถึง ความสาคัญของความรับผิดชอบ ความมี
วินัย เพราะสิ่งเหล่านี้ส่งผลถึงการดารงชีวิตในสังคม นอกเหนือจากการเล่น
กฬี าผู้ฝึกสอนต้องเขา้ ใจถึงระยะของการพฒั นาของผู้เล่นแต่ละคนแตล่ ะ กลุ่ม
ซ่ึงเปน็ กุญแจสาคัญในการไขไปสู่ความสาเรจ็ ของผู้เล่นและทมี

28

เตรยี มการฝกึ

Preparation

จดั การฝกึ

Organization

แนะนาและเริม่ การฝกึ

Commence/start

สอนให้เกิดผล สังเกตการปฏิบัติ

Effect Teach Observe

เข้าไปแก้ไข หยุดการปฏิบตั ิ

Intervene Stop

สรุปหลังการฝึก 29

Conclusion

แผนผงั กระบวนการฝกึ ซ้อม

วิธีการฝกึ สอน
การเลือกวิธีฝึกสอนขึ้นอยู่กับความสามารถ วัย และระยะเวลาของ

การพฒั นาของผู้เลน่ พ้นื ท่ี จานวน และเปูาหมายของการฝึก เช่น หากเป็นผู้
เล่นใหม่ควรเริ่มจากการฝึกเทคนิคและทักษะ ก่อน แต่ผู้เล่นทุกคนมีระดับ
การเรียนรู้และการพัฒนาท่ีต่างกัน ดังนั้น วิธีการและรูปแบบอาจแตกต่าง
กนั ไป ขึน้ อยูก่ ับความสามารถของผู้เลน่ และเปูาหมายของการฝกึ เป็นสาคัญ

ในการพัฒนาแบบฝึกนั้นเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะต้องค่อยๆ เพ่ิมจานวนผู้
เลน่ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั แบบฝึกนน้ั ขึน้ ไปเรอ่ื ยๆ

การฝกึ ทกั ษะ
การฝึกเฉพาะบุคคล หรือการฝึกเป็นคู่ เป็นกลุ่ม โดยให้ผู้เล่นใช้

เทคนคิ ทถ่ี ูกต้องภายใต้ สถานการณท์ ี่มกี ารกดดัน ซง่ึ ผเู้ ล่นตอ้ งมีการตัดสินใจ
และมีการเปล่ยี นแปลงวธิ ีการเลน่ และ ต้องเล่นได้อย่างต่อเนื่องรวดเร็ว โดย
อาจใชค้ รู่ ว่ มฝึกกดดนั กไ็ ด้

052-ทกั ษะการเลน่ กฬี าฟตุ บอล
ทมี่ า : https://youtu.be/Mht2u4f_1pk

30

การฝึกเปน็ รายบุคคล
การฝึกเป็นรายบุคคลเหมาะสมกับแบบฝึก

หลายๆ แบบเพ่ือพัฒนาความสามารถของผู้เล่น
และเป็นการแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เล่นด้วยการฝึก
แบบนี้ ส่วนใหญ่จะประสบปญั หาจากอุปกรณใ์ นการ
ฝกึ ไม่เพยี งพอ เช่น ลูกบอลสาหรับผ้เู ล่นทุกคน

การฝึกเปน็ คู่
การฝึกเป็นคู่จะมี 2 ฝุาย คือ ฝุายรุกและฝุายรับ

ระหว่างการฝึกผู้เล่น จะใช้คู่ของตนเป็นผู้เล่นในทีม
เดียวกนั หรอื ค่แู ข่งขันก็ได้ข้ึนอยู่กับจุดมุ่งหมายในการฝึก
ผู้เล่นจะฝกึ ใช้เทคนคิ ตา่ งๆ กบั ค่ขู องตนเองได้และนาการ
ฝึกเหล่านี้ ไปใช้กับการแข่งขัน เช่น การยิงลูกโทษ 2
จงั หวะ การเตะมุม การทาลูกช่ิง (WALL PASS) รูปแบบ
การฝึกคู่นี้ใกล้เคียงกับการฝึกแบบการแข่งขันจริง เป็น
การวดั ความสามารถและไหวพริบของผู้เล่นแต่ละคนดว้ ย

การฝกึ สนามเลก็
หมายถึง การเล่นซ่ึงแบ่งเป็นสองทีม จะมีผู้เล่นทีมละเท่ากันก็ได้

ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และความเหมาะสมของวัย ความสามารถและความ
ต้องการของผฝู้ กึ สอน

31

การฝกึ โดยเกมทีม่ ีเง่อื นไข
หมายถึง การเล่นที่แบ่งผู้เล่นเป็นสองทีม จะมีผู้เล่นเท่ากัน หรือไม่

เท่ากันก็ได้ มุ่งเน้นเพื่อการพัฒนาทักษะ โดยการสร้างเง่ือนไขการเล่นหรือ
การใชก้ ฎบางอย่าง เชน่ การเลน่ โดยสัมผัสลกู บอลได้สองครัง้

การฝึกเป็นกลุ่มยอ่ ย
ทีมผู้เล่นประกอบด้วยกลุ่มย่อยๆ ซึ่งไม่

กาหนดแน่นอนตายตัว แต่จะเปลี่ยนไปตาม
สถานการณ์การแข่งขัน และตามหน้าท่ี ถ้าแบ่ง
โดยทั่วๆ ไป แล้วจะมี กองหลัง กองกลาง และ
กองหน้ามักจะคิดกันเสมอว่าเป็นการดี ถ้ากลุ่ม
ต่างๆ อยู่ในรูปของสามเหล่ียมในระหว่างการ
แข่งขัน กฎการรวมกลุ่ม แบบนี้จะถูกนามาใช้
เกี่ยวข้องในขั้นตอนต่อไป การฝึกเป็นกลุ่มย่อย
จะฝึกได้ท้ังทางด้านสมรรถภาพ ด้านเทคนิค
และดา้ นกลยุทธ์ขึ้นอยกู่ ับวา่ สถานการณ์จะเป็นไปในรูปใด

32

การฝกึ เป็นทมี /กลมุ่
หมายถึง การฝึกที่มีการแบ่งทีม รวมทั้ง

ผู้รักษาประตู มีเปูาหมายการฝึกเหมือนกัน มีการ
จัดเป็นกลุ่มเพื่อให้รู้หน้าท่ีและการประสานสัมพันธ์
ระหว่างกัน ฟุตบอล เป็นกีฬาท่ีเล่นเป็นทีม จึงเป็น
การสมเหตุสมผลที่ต้องฝึกเป็นทีม รูปแบบการฝึกจะ
เนน้ ในกฎเกณฑ์น้ีจะถกู ทางานข้ึนมาเป็นทีม และส่ิงนี้
เอง จึงเป็นปัจจัยในการตัดสินใจการแข่งขันว่าแพ้
หรือชนะจะต้องมีการแบ่งหน้าท่ีกันในการทางานใน
ขณะทเี่ ป็นฝุายรบั หรอื ในขณะท่เี ป็นฝุายรุก

ตัวอยา่ งแบบฝึกการเลน่ เป็นกล่มุ
1.สนามแบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน แดนรบั แดนกลาง แดนรุก
2.ผเู้ ล่นในแดนรับมี 3 คน แดนกลาง 3 คน แดนรุก 4 คน
3. ผู้เลน่ ในแดนรบั มี 3 คน แดนกลาง 3 คน แดนรุก 4 คน
4.ทง้ั สองทีมพยายามรกุ ทาประตูของฝุายตรงข้าม ฝุายใดทาประตูได้

มากกว่าเป็นฝุายชน

33

การฝึกหนา้ ท่ี
หมายถึง การฝึกผู้เล่นให้ได้รู้ถึงบทบาทหน้าที่ในแต่ละสถานการณ์

และพื้นทโี่ ดย มีคตู่ ่อสซู้ ง่ึ เกย่ี วข้องกับสถานการณแ์ ละพนื้ ที่น้นั ๆ

หน้าทข่ี องตาแหนง่ ต่างๆในกีฬาฟุตบอล
ที่มา : https://youtu.be/1an4XJxQ06A

การฝกึ รูปแบบ
หมายถึง การฝึกเพื่อการรุก หรือเพื่อการปูองกัน โดยพิจารณาจาก

ความสาคัญของพื้นท่ีท้ังเกมรุกและการปูองกัน เช่น การรุกกลับเมื่อตัดแย่ง
ลูกบอลได้

34

บทสรปุ
การฝึกกีฬามีความสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิง จะหลีกเลี่ยงหรือ

ละเลยไม่ได้และไม่มีวิธีการ อื่นใดมาทดแทนได้ การฝึกเป็นหนทางเดียว
เท่าน้ัน ท่ีจะทา ให้นักกีฬาเป็นผู้ที่มีความสามารถสูงสุด ท้ังนี้เพราะการฝึก
กีฬามิได้หมายถึงการฝึกเฉพาะเทคนิคทักษะและกลยุทธ์เท่าน้ัน แต่การฝึก
จะต้อง เสริมสร้างร่างกายนักกีฬาให้มีสมรรถภาพทางกายท่ีเหมาะสมกับ
ชนิดกีฬานั้น ๆ รวมถึงให้มีความ พร้อมทางด้านจิตใจ มีระเบียบวินัย ขยัน
และเอาใจใส่ในการฝึกซ้อม รู้จักดูแลรักษาสุขภาพ รู้จักเลือกระประทาน
อาหารท่ีมคี ุณประโยชน์และเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและมีการ
พักผอ่ นอยา่ งเพียงพออีกด้วย

ข้ันตอนในการฝึกกีฬาที่สาคัญได้แก่การฝึกสมรรถภาพทางกายการ
ฝึกทักษะกีฬาพื้นฐาน และการฝึกเพ่ือพัฒนาสมรรถภาพและขีด
ความสามารถใหไ้ ด้ระดับสงู สุด การฝึกสมรรถภาพทางกายเป็นการฝึกเพ่ือให้
ร่างกายมีความพร้อมที่จะทาการฝึกได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพราะการมี
สมรรถภาพทางกายจะช่วยใหน้ กั กีฬาสามารถปฏิบัติตามเทคนิคทักษะ ต่างๆ
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องรวดเร็ว ซึ่งการฝึกดังกล่าวจะได้ผลมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ
คุณภาพของ โปรแกรมการฝึกที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ความถ่ีบ่อยและ
ความเข้มของการฝกึ รวมถงึ การ ได้รับอาหารและการพักผอ่ นอยา่ งเพียงพอ

35

36

บทท่ี 2
หลักการฝึ กซ้อม

37

บทที่ 2 หลกั การฝกึ ซอ้ ม
เปน็ ท่ที ราบและเข้าใจกัน โดยท่ัวไปในบรรดาผู้ฝกึ สอนกีฬาทั้งหลาย
แล้ววา่ ความสามารถของนักกฬี าทงั้ ในขณะฝกึ ซอ้ มและการแข่งขันน้ันมี
องค์ประกอบทส่ี าคญั 3 ประการคอื ทักษะกีฬา ซง่ึ หมายรวมถงึ เทคนิคและ
กลยุทธ์ด้านกฬี า (Sport Techniques, Skills and Strategies Fitness)
สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) และสมรรถภาพทางจิตใจ (Mental
Fitness)

ทกั ษะกีฬา

สมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางจติ ใจ

รปู แสดงองคป์ ระกอบของความสามารถของนักกฬี า

38

ทกั ษะเป็นองคป์ ระกอบสาคัญ ในการแสดงความสามารถของนักกีฬา
นักกีฬาทีม่ ีระดับทกั ษะดจี ะแสดงความสามารถออกมาไดด้ ี แต่การทนี่ ักกฬี า
จะแสดงความสามารถทางทกั ษะได้ เท่ากบั ระดับความสามารถท่ตี นเองมอี ยู่
นน้ั ตอ้ งอาศัย สมรรถภาพทางกาย อาทิ ความแข็งแรง ความ อดทนพลัง
หรือกาลงั ความเรว็ และความคล่องแคล่ววอ่ งไวเปน็ ต้น และสมรรถภาพทาง
จิตอาทิ การรจู้ ักควบคมุ ความตืน่ เต้นและความวิตกกงั วล การสรา้ งสมาธิ
การสร้างแรงจงู ใจ และการเสริมแรงกระตุ้นตา่ งๆ เปน็ ต้น ซ่ึงองคป์ ระกอบทั้ง
3 ประการนี้เกดิ ขึ้นจากการเรยี นและการฝึก

การฝกึ (Training) และการเสรมิ สร้าง (Conditioning) สมรรถภาพ
ของนักกีฬาจึงมี ความสาคัญ และจาเป็นอยา่ งยิ่ง จะหลีกเลย่ี งหรอื ละเลย
ไม่ได้และไมม่ ีวิธีการอ่นื ใดทีจ่ ะมาทดแทน ไดม้ ีเพยี งวิธีการเดยี วเทา่ น้ันทจ่ี ะ
ทาใหน้ ักกฬี าเป็นผู้ทม่ี คี วามสามารถถึงขดี สูงสุดคือมีความพร้อม ในทุกๆด้าน
ขององคป์ ระกอบทั้ง 3 ดงั กล่าวไว้ดว้ ย “การฝึก” เท่าน้ัน

ความหมายของการฝกึ กีฬาจึงมไิ ดม้ ีความหมายเพียงเฉพาะฝึกทักษะ
เทคนิคและกลยทุ ธ์ เทา่ น้ัน แตจ่ ะต้องฝกึ และเสรมิ สรา้ งร่างกายนักกฬี าใหม้ ี
ความแขง็ แรงอดทนมพี ลัง หรอื กาลังมีความเรว็ และความคลอ่ งแคลว่ ว่องไว
นอกจากนนั้ ผู้ฝึกสอนยัง จะต้องสร้างนักกีฬาใหม้ คี วามพร้อม ด้านจติ ใจ
ความมีระเบียบวนิ ัย ความขยัน และเอาใจใส่ในการฝึกซอ้ ม รูจ้ ัก ดแู ลรกั ษา
สุขภาพ รจู้ ักเลอื กรบั ประทานอาหารที่มคี ณุ ประโยชน์และเพียงพอตอ่ ความ
ตอ้ งการของร่างกาย รวมถงึ การพกั ผอ่ นอกี ด้วย

39

ดว้ ยเหตดุ ังกลา่ ว ผฝู้ กึ สอนทกุ คนจึงจาเปน็ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ
ในเรอ่ื งหลักการฝกึ กีฬา และสามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการฝกึ กีฬาไดเ้ ปน็
อย่างดเี พื่อใหน้ ักกีฬามีความสมบรู ณแ์ ละมรี ะดบั ความสามารถสงู สดุ

หลักของการฝึกซ้อมที่มีระบบการฝึกซ้อมทุกรูปแบบจะเป็น ผลโดย
กฎทางด้าน สรีรวทิ ยา 3 ประการ คือ กฎของการใช้ความหนักมากกว่าปกติ
(Law of Overload) กฎของความ เฉพาะเจาะจง (Law of Specificity)
และกฎของการยอ้ นกลบั (Law of Reversibility)

1.กฎของการใช้ความหนักมากกวา่ ปกติ (Law of Overload)
กฎของการใช้ความหนักมากกว่าปกติ (Law of Overload) เป็น
องค์ประกอบท่ีสาคัญในการปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย เน่ืองจากการ
ปรับตัว (Adaptation) หรือ ผลของการฝึกซ้อม (Training Effect) จะ
เกิดข้ึนกต็ ่อเมื่อรา่ งกายมีการทางานท่ีระดับเหนือกว่าระดับพฤติกรรมปกติท่ี
ปฏิบัติอยู่ในชีวิตประจาวันซ่ึงความหนักมากกว่าปกติจะเพิ่มความเครียดต่อ
ระบบการทางานของร่างกายในจานวนมากกว่าสภาพปกติหรือสภาพท่ีเคย
ชิน เช่น การออกกาลังกายจะทาให้อัตราการเต้นของชีพจรสูงข้ึนกว่าชีพจร
ขณะพกั

2.กฎของความเฉพาะเจาะจง (Law of Specificity)
กฎของความเฉพาะเจาะจง (Law of Specificity) เป็นกฎเกี่ยวกับ
การประกอบกิจกรรมจะมีผลเฉพาะตามชนิดของการกระตุ้นหรือชนิดของ
กิจกรรม ซ่ึงเป็นการประยุกต์ข้ึนตามชนิดของการ พัฒนาท่ีเกิดข้ึนภายใน

40

กล้ามเนื้อ การฝึกซ้อมความแข็งแรงจะมีผลทางด้านการเพ่ิมขึ้นของ ความ
แข็งแรงกล้ามเน้ือ และขณะทกี่ ารออกกาลังกายเพ่ือฝึกซ้อมความอดทนจะมี
ผลที่เฉพาะในการปรับปรุงความอดทนของกล้ามเนื้อ ความหนักของงานที่
แตกต่างกัน จะมีผลต่อร่างกายแตกต่างกัน การเพ่ิมความแข็งแรงจะต้องทา
การฝกึ ซ้อมด้วยความหนกั ทีม่ ากกว่าปกติ มีแรงต้านท่ีต่ากว่าระดับที่ร่างกาย
สามารถทาได้ (ตา่ กว่าระดบั ทกี่ ลา้ มเน้ือสามารถปฏิบัติได้ในภาวะปกติ)

3.กฎของการยอ้ นกลับ (Law of Reversibility)
กฎของการย้อนกลับ (Law of Reversibility) ระดับสมรรถภาพจะ
ลดต่าลงถ้าได้รับความหนักมากกว่าปกติไม่ต่อเน่ือง ความจริงผลของการ
ฝึกซ้อมจะมกี ารย้อนกลบั ภายในตัวเองถ้าการฝึกซ้อมไม่เป็นส่ิงท่ีท้าทายหรือ
หนักขน้ึ ระดับสมรรถภาพก็จะคงท่ี (Plateau) และถ้าหยุดการฝึกซ้อมระดับ
สมรรถภาพก็จะลดต่าลงเป็นลาดับข้ันจนกระท่ังเคล่ือนท่ีต่าลงถึงระดับท่ี
จาเป็น สาหรบั การประกอบกิจกรรมในชวี ติ ประจาวนั

1 หลักการพ้ืนฐานในการฝึกซ้อมกฬี า Principle of Training
ทมี่ า : https://youtu.be/o3qjG2T5Nao

41

การยอ้ นกลับของผลการฝึกซอ้ ม (Reversibility of Training Effect)
ผลของการฝึกซ้อม จะมีผลอยูช่ วั่ ระยะเวลาหนงึ่ และจะลดลงหลังจาก

2-3 วัน ของการหยุดซ้อม ซึ่งจะเป็นการลด ท้ังขบวนการ เมตบอดลิก
(Metabolic) และความสามารถในการทางานของร่างกายถึงแม้ ช่วงเวลา
การพัก

หลกั การฝึกซอ้ มเยาวชนในกลุ่มอายุตา่ ง ๆ
กลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มเปูาหมายหลักในการพัฒนาพ้ืนฐาน

ทักษะและความสามารถ ในการเล่นกีฬาฟุตบอล เมื่อเติบโตข้ึนสิ่งที่เด็กได้
เรียนรู้และฝึกฝนอย่างถูกต้องต่อเน่ืองก็จะส่งผล ให้ เป็นผู้เล่นที่มี
ความสามารถสูงข้ึนไปตามลาดับ สิ่งท่ีมีส่วนสาคัญในการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนคือสิ่งที่ ถูกต้องเหมาะสมที่ผู้ฝึกสอนจะจัดการและกาหนดข้ึนเป็น
แผนการฝึกสอน องค์กรท่ีเก่ียวข้องโดยตรงในการพัฒนาผู้เล่น (FIFA) ได้มี
การศกึ ษาค้นควา้ และได้กาหนดหลักเกณฑ์ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ ฝึกสอน
ไดเ้ รยี นรู้ในส่ิงท่ีถูกต้องและนาไปใช้เพ่อื ปรับปรุง และเพิ่มขดี ความสามารถให้
ผู้เล่นในระดับ เยาวชนกลุ่มอายุต่างๆ โครงสร้างหลักสูตรการฝึกซ้อมผู้เล่น
เยาวชนในกลุ่มอายุต่างๆ นี้ ได้เรียบเรียงเนื้อหาสาระ จาก“เคอร์โซ ฟี ฟุา
ฟุตโบล สาล่า” (CURSO FIFA FUTBOL-SALA) โดยได้จัดแบ่งกลุ่มผู้เล่นไว้
ดงั น้ี

1.กลมุ่ อายรุ ะหวา่ ง 6-10 ปี
2.กลุม่ อายรุ ะหว่าง 10-12 ปี
3.กล่มุ อายรุ ะหว่าง 12-16 ปี
4.กลมุ่ อายรุ ะหว่าง 16-18 ปี

42

ในแตล่ ะกล่มุ อายุจะมีพัฒนาการทางสรีรวิทยา หรือร่างกายที่ต่างกัน
ไป การเรียนรู้และ พัฒนาการจึงไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้น ในแต่ละรุ่นอายุได้มี
การกาหนดแนวทางไว้เป็นองค์ประกอบ ดังน้ี

1.กลมุ่ อายรุ ะหว่าง 6-10 ปี
1. ลักษณะสาคัญทางกาย อยู่ในช่วงที่กาลังเจริญเติบโต โครงสร้าง

ร่างกายยังบอบบางเป็นวัยท่ีต้องเอาใจใส่เป็นวัยท่ี ชอบเล่นสนุกสนาน ได้วิ่ง
เล่นตามธรรมชาติ ดังนั้น ต้องพัฒนาในเร่ืองของการทางานประสานสัมพันธ์
ระหวา่ งระบบประสาทกับระบบกล้ามเนื้อให้สมดุลกัน สร้างความคุ้นเคยกับ
ลูกบอลและสนาม ไม่เข้มงวดเรื่องกฎส่วนใหญ่จะใช้เวลาที่โรงเรียน
พฒั นาการจะมพี ้นื ฐานจากครู และเพ่อื นวัยเดียวกนั

2. สมรรถภาพทางกาย
2.1 กาลัง เน่ืองจากอายุน้อย โครงสร้างยังบอบบาง ยังไม่มี

กล้ามเน้ือและยังไม่แข็งแรง จะไม่แยกส่วนของการฝึก แต่ใช้เทคนิคทักษะ
เบ้อื งต้นเปน็ เครอื่ งมอื ฝึก เพ่ือให้ได้มาซ่งึ กาลังและความ แขง็ แรง

2.2 ความเร็ว ไม่มีการแยกฝึกความเรว็ เพราะระบบประสาทยงั ไม่
สมบูรณ์ตอ้ งใชล้ ูกบอล เป็นอปุ กรณ์ที่จะทาให้เกิดปฏิกิริยาโต้ตอบและไม่เน้น
การพัฒนากลา้ มเน้อื

2.3 ความอดทน ได้มาจากการเล่นที่เป็นไปโดยไม่รู้ตัว เป็น
ลักษณะงานแบบใชป้ ระโยชน์ จากออกซิเจน (Aerobic) คอื ทาอย่างต่อเนื่องแต่
ไมห่ นกั

2.4 ความอ่อนตัว เป็นความสามารถพิเศษที่เด็กมีอยู่ในตัวต้อง
รกั ษาไว้

43

3. การฝกึ เทคนคิ
3.1 ใชเ้ กมเป็นเคร่ืองมือ
3.2 ทาให้คนุ้ เคยกบั ลกู บอลและสนาม
3.3 ให้แนวคิดการเล่นท่ีต้องสัมพันธ์กันระหว่างพื้นท่ีว่างและ

จงั หวะในการเล่น
4. ยุทธวิธีการเล่น ทาให้รู้ถึงข้อแตกต่างระหว่างเกมรุกและการ

ปูองกนั
5. จิตวทิ ยา
5.1 มีความเปน็ ตวั ของตัวเอง
5.2 ไมส่ ามารถเรยี นรู้เองได้ (การเลน่ ) มากนัก
5.3 จะไมค่ ่อยเขา้ ใจ แตจ่ ะใช้วิธเี ลยี นแบบ
6. คาแนะนาเกย่ี วกับการฝกึ
6.1 ต้องมีลกู บอลมากพอ
6.2 ไม่ให้เสยี เวลาจากการรอคอย
6.3 เปลยี่ นแปลงเกมใหห้ ลากหลาย
6.4 ไม่ตอ้ งพูดหรอื สอนเรื่องทฤษฎี

2.กลุม่ อายรุ ะหวา่ ง 10-12 ปี
1. ลักษณะสาคญั ทางกาย
1.1 อยู่ในชว่ งเจริญเติบโต มสี ว่ นกว้างของลาตวั มากกว่าส่วนสงู
1.2 เตบิ โตมากข้นึ ต้องทาให้เกดิ ความสมดลุ การประสานสัมพันธ์
1.3 ระหว่างระบบประสาทกบั ระบบกลา้ มเน้ือ
2. สมรรถภาพ

44

2.1 กาลัง ปรับปรุงการทางานของกล้ามเน้ือให้ดีข้ึน ไม่ใช้การฝึก
พเิ ศษโดยเฉพาะ ใชก้ ารฝกึ พนื้ ฐานเพื่อให้เกดิ ความชานาญ

2.2 ความเร็ว ปรับปรุงการทางานร่วมกันระหว่างระบบประสาท
กับระบบ กล้ามเนื้อให้ดีขึ้นปรับปรุงเรื่องความเร็ว ปฏิกิริยาตอบสนองและ
การปฏบิ ัติ

2.3 ความอดทน การปฏิบัติแบบต่อเน่ืองโดยใช้ประโยชน์จาก
ออกซิเจน (Aerobic) เพิม่ งานถงึ ระดับ 70 เปอร์เซน็ ต์

2.4 ความอ่อนตวั ทาต่อเน่อื ง (ไม่ต้องกังวล)
3. การฝกึ เทคนิค

3.1 เปน็ ช่วงอายทุ ่เี หมาะตอ่ การเรยี นรู้และฝกึ
3.2 ดดั แปลงเกมฝึกและการแข่งขันให้เหมาะสมกับอายุ 3.3 โดยใช้
พนื้ ทกี่ ฎ ลกู บอล ผสมผสานกนั
3.4 เนน้ เทคนคิ บุคคลเปน็ พิเศษ
4. เกย่ี วกบั ยทุ ธวิธีการเลน่
4.1 ลอกเลยี นแบบ วเิ คราะห์ และให้แนวคดิ
4.2 พัฒนาความสามารถในการตัดสนิ ใจ
4.3 ยุทธวิธีการเล่นเฉพาะบุคคลไปสู่กลุ่ม (1 x 1, 2 x 1, 2 x 2) 4.4
เริ่มคดิ และเลน่ การรุกโต้กลบั
5. จิตวทิ ยา
5.1 ทาให้ผู้เลน่ มคี วามสนใจและมคี วามมุ่งมั่น
5.2 พยายามเลกิ การเลียนแบบและเรม่ิ เลน่ ตามกฎ
6. คาแนะนาเก่ยี วกบั การฝกึ
6.1 สนกุ สนานดว้ ยวิธหี ลากหลายกอ่ นการฝึก

45

6.2 เรยี นร้ตู ามหลกั การทัว่ ไป
6.3 ใช้แบบฝึกให้เหมาะสม
6.4 ตอ้ งให้ความรแู้ ละห้ามคิดว่าผู้เลน่ รแู้ ลว้
3.กลุ่มอายรุ ะหว่าง 12-16 ปี
1. ลักษณะสาคัญทางกาย
1.1 เร่ิมโตเข้าสวู่ ัยรนุ่
1.2 อายกุ บั โครงสรา้ งยงั ไมส่ มบูรณ์
1.3 โครงสรา้ งยังบอบบาง
1.4 ไมส่ มดลุ กบั รูปรา่ ง
2. สมรรถภาพทางกาย
2.1 กาลงั เพม่ิ งานและปรับสว่ นของกลา้ มเน้อื
2.2 ความเร็ว ยกฝึกระหว่างปฏิกริ ิยากบั เกมการฝกึ ซอ้ ม
2.3 ความอดทน ฝึกร่วมกันระหว่าง ใช้และไม่ใช้ประโยชน์จาก
ออกซิเจน (Aerobic- Anaerobic) เพิม่ อัตราความเข้มใหส้ งู
2.4 ความอ่อนตัว เป็นสงิ่ สาคญั เพราะช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพผเู้ ลน่
3. การฝกึ เทคนิค
3.1 พฒั นาเกี่ยวกบั ท่าทางและเทคนิค
3.2 ฝกึ ให้มไี หวพรบิ เรียนร้เู ก่ียวกบั การเคล่ือนไหวเคล่อื นที่
3.3 ดัดแปลงจากเกมการเล่น การแข่งขัน เพื่อไปส่กู ารแขง่ ขัน
4. ยุทธวธิ กี ารเล่น
4.1 ทาใหเ้ ราเข้าใจเรอ่ื งระบบการเลน่
4.2 ปรับปรงุ การเลน่ รกุ และโต้กลบั
4.3 การเคลือ่ นท่ลี กั ษณะเฉพาะ (ทแยง ขนาน หมุนตาแหนง่ )

46

5. จิตวิทยา
5.1 ต้องทาใหค้ ดิ แบบผู้ใหญ่

6. ขอ้ แนะนาเกยี่ วกบั การฝกึ
6.1 พิจารณาการฝกึ ซ้อมจากพ้นื ฐานอายุ
6.2 ให้ความสาคัญท่าทางเกี่ยวกับเทคนคิ การเล่น

4.กลมุ่ อายุระหว่าง 16-18 ปี
1. ลักษณะสาคัญทางกาย
1.1 เติบโตเข้าส่วู ัยรนุ่ ขนาดร่างกายใหญข่ ้นึ
1.2 โครงสร้างทางกายเร่มิ สมบูรณม์ ากข้นึ
1.3 มีความสามารถมากขึ้นจะได้รับคัดเลือกเข้าสู่ทีมเพ่ือสู่ระบบ

การแขง่ ขนั
2. สมรรถภาพทางกาย
2.1 กาลัง ฝกึ ตามปกติ แต่ต้องระวังเร่ืองกระดูกสันหลัง การฝึกที่

เก่ียวกบั พลงั ระเบดิ และ ความอดทน
2.2 ความอดทน ฝึกท้ังกิจกรรมท่ีใช้และไม่ใช้ประโยชน์จาก

ออกซิเจน (AerobicAnaerobic)
3. การฝกึ เทคนคิ
3.1 ประยกุ ตเ์ ทคนิคจากเกมการเลน่ จริงมาใช้
3.2 ตอ้ งชัดเจน แมน่ ยา และรวดเร็ว

4. ยทุ ธวิธีการเล่น
4.1 ความสามารถในการมองและพรอ้ มทจี่ ะเลอื กเลน่

47

4.2 ตัดสนิ ใจเล่นจากการมองเหน็
4.3 การใช้ยทุ ธวิธีการเลน่ ในสถานการณ์ตา่ งๆ
4.4 ระบบการเลน่
5. จติ วิทยา
5.1 จะซบั ซ้อนขนึ้ (ทาใหก้ ระจา่ งปราศจากข้อสงสยั )
5.2 ทาให้มคี วามเชือ่ ม่นั และเคารพตนเอง
6. คาแนะนาเก่ยี วกบั การฝกึ ซอ้ ม
6.1 ให้มีส่วนร่วมในการฝกึ ใหม้ าก
6.2 อย่าใหม้ ีหรือตอ้ งจดั การกับ “พวกท่ีชอบยนื ดู” ในเวลาฝึก
6.3 ฝกึ ใหแ้ ต่ละคนมคี วามชานาญสูงสุด
6.4 ฝึกซอ้ มอย่างสนุกสนานและใหเ้ ปน็ หนึ่งเดยี วกัน

สาหรับท่ีผู้ฝึกสอนจะใช้จัดเตรียมแผนการฝึกของแต่ละกลุ่มไว้ การเร่ิมต้นที่
ถกู ต้องอย่างเป็นลาดับขั้นตอนและเหมาะสมกับเกณฑ์วุฒิภาวะของผู้เล่นถึง
จะเปน็ ขั้นตอนที่ชา้ แตก่ ็สามารถทาให้ผู้เลน่ รุน่ เยาวท์ ้ังหลายมพี นื้ ฐานทม่ี น่ั คง
และเกิดพฒั นาการเปน็ ไป ตามลาดับท่ีถกู ตอ้ ง เมอื่ เติบโตขึ้นสง่ิ ทีเ่ พาะบม่ กจ็ ะ
แสดงผลทดี่ สี ุดยอดออกมาใหเ้ หน็ แตส่ ง่ิ สาคัญต้อง มีความถกู ตอ้ งเปน็ ข้ันเปน็
ตอนหลักการ อย่าใจร้อนเร่งรัดผู้เล่นด้วยวิธีการท่ีผิด เพราะจะได้ผลแค่ช่วง
ระยะสัน้ ๆ เทา่ น้ัน

48

บทสรุป
การแข่งขันกีฬาฟุตบอลในปัจจุบันมีการแข่งขันท้ังในสนามและนอก

สนามแข่งขันสูงมาก ทีมใดได้นาแนวคิดทางบริหารจัดการมาผสานกับ
คุณสมบัติทักษะของการกีฬา มาใช้ในการเตรียมตัวก่อน การแข่งขัน ขณะ
แขง่ ขัน และหลังการแข่งขันไดม้ ากกวา่ มีการวเิ คราะหป์ ัญหาของทมี ให้เข้าใจ
และ การมีกลยุทธ์ของการฝึกซ้อมและแข่งขันที่เฉียบขาดแบบคิดนอกกรอบ
นนั้ เปน็ เร่อื งสาคญั ทจ่ี ะทาให้ทมี ขนาดเลก็ สามารถเอาชนะทมี ที่มีขนาด ใหญ่
ได้ และมองหาความได้เปรียบ ความเสียเปรียบของทีม ตัวเอง และพยายาม
เล่นในเกมทเ่ี ราไดเ้ ปรียบ อยา่ ไปเลน่ ในเกมทีเ่ ราเสียเปรียบ เพ่ือท่ีจะให้บรรลุ
วัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง โดยต้องคานึงถึงความ
เหมาะสม ความคุ้มค่าและ ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ และผลที่
จะได้รับจะทาให้เหน็ ผลอย่างเป็นรปู ธรรม

49


Click to View FlipBook Version