The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารแนวทางฯวิทยาการคำนวณ_ม.2_AL

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wanpadets motanee, 2019-12-10 06:23:39

เอกสารแนวทางฯวิทยาการคำนวณ_ม.2_AL

เอกสารแนวทางฯวิทยาการคำนวณ_ม.2_AL

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2

ตวั อยา่ งการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ

เวลา 1 ช่ัวโมง

1. มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด

1.1 ตัวช้ีวดั
ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอริทมึ ที่ใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ญั หา หรือการทางานทพ่ี บในชีวติ จรงิ

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บอกวธิ ีการแก้ปญั หาการเข้าแถวตามลาดบั ความสูงของนักเรยี นใหเ้ รววท่ีสุดได้ (K)
2. บอกวิธกี ารแก้ปัญหาการจดั เรียงเสื้อผ้าใหห้ าง่ายท่ีสดุ ได้ (K)
3. เขยี นวิธกี ารแก้ปัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณได้ (P)
4. เลวงเหวนถึงความสาคญั ของการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคานวณ (A)

3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่
พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- แนวคิดเชิงคานวณ
- การแก้ปัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คานวณ
- ตัวอย่างปญั หา เชน่ การเข้าแถวตามลาดบั ความสูงให้

เรวว ที่สุด การจัดเรยี งเสื้อผ้าใหห้ างา่ ยท่ีสดุ

4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

แนวคิดเชิงคานวณเป็นกระบวนการที่มีลาดับขั้นตอนชัดเจน ถูกนามาใช้เพื่อปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน
อย่างเป็นระบบ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเข้าแถวตามลาดับความสูงของนักเรียน หรือปัญหาการจัดเรียงเส้ือผ้า

5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี ินยั
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. มงุ่ มั่นในการทางาน
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
7. ทกั ษะการแกป้ ัญหา
8. ทักษะการส่อื สาร
9. ทกั ษะการคดิ เชงิ คานวณ
10. ทักษะการสังเกต
11. ทักษะการทางานร่วมกนั

48

6. กิจกรรมการเรยี นรู้

 แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : ใชป้ ญั หาเป็นฐาน (problem-based learning)

ชวั่ โมงท่ี 1
ขัน้ นา

1. ครูใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงคานวณกับการแกป้ ญั หา เพื่อวัดความรูเ้ ดิมของ
นักเรียนก่อนเขา้ สูก่ ิจกรรม

2. ครูถามคาถามประจาหวั ข้อวา่ “นักเรยี นคดิ ว่ามนุษยน์ าแนวคดิ เชงิ คานวณมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างไร”
(แนวตอบ : สามารถนาแนวคิดเชิงคานวณมาประยกุ ต์ใชใ้ นด้านการแกป้ ัญหาในชวี ิตประจาวันดา้ นการเรยี นและ
ดา้ นการทางาน)

3. ครูถามคาถามประจาหัวข้อเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า “แนวคิดเชิงคานวณมีส่วนช่วยการเรียงลาดับข้อมูล
อยา่ งไร”
(แนวตอบ : แนวคดิ เชิงคานวณเปน็ การคิดอย่างมรี ะบบ และเปน็ กระบวนการทมี่ ลี าดับขนั้ ตอนที่ชดั เจน ทาให้การ
เรียงลาดบั ขอ้ มลู มคี วามแม่นยาและถกู ตอ้ ง)

ขั้นสอน

ขน้ั ที่ 1 กาหนดปญั หา
1. ครูถามคาถามท้าทายความคิดของนักเรียนวา่ “นักเรียนเขียนวิธีการแก้ปญั หาโดยใช้แนวคดิ เชงิ คานวณได้หรือไม่”
(แนวตอบ : คาตอบข้นึ อยกู่ บั ดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูส้ อน)

ข้นั ที่ 2 ทาความเขา้ ใจปัญหา
2. ครูและนกั เรยี นร่วมกันทบทวนความรู้เดมิ ทไ่ี ดเ้ รียนไปในชวั่ โมงทแ่ี ล้ว เร่ือง องค์ประกอบของแนวคดิ เชงิ คานวณ
จากหนังสอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.2
3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า “ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ จะต้องใช้องค์ประกอบท้ัง 4 ข้อของแนวคิดเชิงคานวณโดยเรียงลาดับ
ขั้นตอน ดังน้ี 1. แนวคิดการแยกย่อย 2. แนวคิดการหารูปแบบ 3. แนวคิดเชิงนามธรรม และ 4. แนวคิดการออกแบบ
ขั้นตอนวิธี”

ขน้ั ท่ี 3 ดาเนนิ การศกึ ษาคน้ คว้า
4. ครูให้นกั เรียนได้ศึกษาตัวอย่างปัญหาการเข้าแถวตามลาดับความสงู ของนกั เรยี นให้เรวว ที่สุดตามลาดบั การวเิ คราะห์
ท้ัง 4 ขอ้ จากหนงั สือเรียน
5. จากนน้ั ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปข้ันตอนการเข้าแถวตามลาดบั ความสูงจากขนั้ ตอนขา้ งต้น
6. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาความรเู้ สริมจากเนื้อหาเพ่ือขยายความร้ขู องผเู้ รยี น (Com Sci Focus) เร่ือง การเรียงลาดบั แบบ
เลอื ก
7. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับการเรียงลาดับแบบเลือกว่า “การเรียงลาดับแบบเลือกเป็นข้ันตอนการเรียงลาดับอย่างง่าย
โดยใช้วธิ ีการเปรยี บเทยี บ ซ่งึ จะพบเหวนโดยมากในวิชาคณติ ศาสตร์ เรื่อง การเรยี งลาดับจากมากไปหาน้อย หรือจากน้อย
ไปหามาก เปน็ ตน้ ”
8. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษาตวั อย่างปัญหาการจัดเรยี งเสอื้ ผ้าใหห้ างา่ ยท่สี ดุ โดยใช้แนวคดิ เชงิ คานวณตามลาดับการวิเคราะห์
ทัง้ 4 ข้อ
9. ครสู ุม่ นกั เรยี น 2-3 คน เพื่อสรุปการจดั เรียงเสอื้ ผา้ ใหห้ าง่ายท่สี ุดตามขน้ั ตอนการวเิ คราะหโ์ ดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ

49

ขั้นท่ี 4 สังเคราะหค์ วามรู้
10. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรู้เพ่ิมเติมในส่วนน้ัน หรือให้นักเรียนศึกษาความรู้เพ่ิมเติมจาก
อนิ เทอร์เนตว
11. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่สอดคล้องกับเน้ือหา โดยให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพ่ือพัฒนาความรู้และทักษะการเรียนรู้ (Com
Sci activity) จากนัน้ ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายการนาแนวคดิ เชิงคานวณมาใช้แกป้ ญั หาของสถานการณ์ท่ีโจทย์กาหนด

ขัน้ ท่ี 5 สรุปและประเมนิ คา่ ของคาตอบ
12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนสาระสาคัญประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง แนวคิดเชิง
คานวณกบั การแกป้ ญั หา

ขน้ั ท่ี 6 นาเสนอและประเมนิ ผลงาน
13. ครูประเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคาถาม สารวจพฤตกิ รรมการทางาน และสมุดประจาตัว

ขั้นสรุป

1. ครใู หน้ ักเรยี นตรวจสอบความรู้ ความเขา้ ใจดว้ ยตนเอง จากหนงั สือเรยี น โดยพจิ ารณาข้อความวา่ ถูกหรือผิด
หากนกั เรียนพิจารณาไมถ่ กู ต้องให้นกั เรยี นกลบั ไปทบทวนเนือ้ หาตามหวั ข้อทก่ี าหนดให้

2. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง แนวคิดเชิงคานวณกับการแก้ปัญหา เพ่ือวัดความรู้ท่ี
นกั เรยี นไดร้ บั หลงั จากผา่ นการเรยี นรู้

3. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 โดยให้บันทึกลงในสมุด และทาชิ้นงาน/ภาระงาน
(รวบยอด) เร่อื ง การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คานวณ เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ และนามาสง่ ในชว่ั โมงถดั ไป

7. การวดั และประเมนิ ผล วิธีวัด เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

รายการวัด - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2
7.1 การประเมนิ ระหว่างการจดั การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
- สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
กจิ กรรม รับผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้ และ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
1) พฤติกรรมการทางาน มุ่งม่ันในการทางาน อันพงึ ประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมนิ ตามสภาพจริง
รายบคุ คล หลังเรยี น
2) คณุ ลักษณะ - ตรวจช้นิ งาน/ภาระงาน - แบบประเมินช้ินงาน/ ระดบั คุณภาพ 2
(รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ผ่านเกณฑ์
อันพงึ ประสงค์

7.2 การประเมินหลังเรียน
- แบบทดสอบหลงั เรยี น
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคดิ
เชงิ คานวณกับการแก้ปัญหา
- การประเมนิ ช้นิ งาน/
ภาระงาน (รวบยอด)
เรือ่ ง การแก้ปัญหา
โดยใช้แนวคิดเชงิ
คานวณ

8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
หนังสอื เรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 แนวคิดเชงิ คานวณกบั การแก้ปัญหา

8.2 แหล่งการเรยี นรู้
อนิ เทอรเ์ นตว

50

ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เร่ือง การแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณ

คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนบอกวธิ กี ารแกป้ ญั หาจากสถานการณ์ทกี่ าหนดให้ โดยใช้แนวคดิ เชงิ คานวณ

สถานการณท์ ี่ 1 : คุณครฉู วีวรรณส่งั ให้นายแดงจดั แถวเพื่อนร่วมช้นั ตามลาดบั ความสูง ปรากฏวา่ นายแดง
จดั แถวได้ช้ามากทาใหเ้ สยี เวลาในการเรยี น นักเรยี นมีวธิ ีการแกป้ ญั หาใหน้ ายแดงอยา่ งไร

วธิ กี ารแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

51

สถานการณ์ท่ี 2 : ฟ้าใสต้องการหาชุดกระโปรงสชี มพูในตู้เสือ้ ผ้า แต่ปรากฏว่าฟา้ ใสหาไมเ่ จอ จงึ ต้องร้ือ
เสื้อผ้าออกมากองไว้ข้างนอกตู้เสอ้ื ผา้ ทัง้ หมด นักเรยี นมวี ิธกี ารจดั เรยี งเสอื้ ผ้าให้ฟ้าใส
อยา่ งไรเพื่อใหฟ้ ้าใสหาเสื้อผ้าได้งา่ ยที่สดุ

วธิ ีการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

52

ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เฉลย
เรื่อง การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ

คาชี้แจง : ให้นักเรยี นบอกวิธีการแกป้ ัญหาจากสถานการณท์ ่ีกาหนดให้ โดยใช้แนวคดิ เชงิ คานวณ

สถานการณท์ ี่ 1 : คณุ ครฉู ววี รรณส่ังให้นายแดงจดั แถวเพ่ือนรว่ มชนั้ ตามลาดับความสูง ปรากฏว่านายแดง
จัดแถวได้ช้ามากทาให้เสียเวลาในการเรยี น นักเรยี นมีวธิ กี ารแก้ปัญหาให้นายแดงอย่างไร

วิธกี ารแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณ

1. แนวคดิ การแยกย่อย (Decomposition)
ปัญหาที่ 1 กาหนดนักเรียนคนแรกเปน็ นักเรยี นตาแหน่งหลัก
ปญั หาท่ี 2 แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ดงั น้ี
กล่มุ ที่ 1 นกั เรยี นทีส่ ูงน้อยกว่าตาแหน่งหลักใหต้ ้งั แถวอยู่ทางซา้ ยของตาแหน่งหลัก
กลุ่มท่ี 2 นักเรยี นท่สี งู มากกว่าหรือเทา่ กบั ตาแหนง่ หลักใหต้ ั้งแถวอยทู่ างขวาของตาแหน่งหลัก
ปญั หาที่ 3 ท้งั 2 กลมุ่ ทาซ้าจนแบง่ กลุม่ ไมไ่ ดอ้ ีกและนักเรียนเข้าแถวเรยี งตามลาดับความสงู ได้ถูกต้อง

2. แนวคิดการหารปู แบบ (Pattern Recognition)
กลมุ่ นักเรยี นทมี่ คี วามสูงน้อยกว่าตาแหนง่ หลัก ตาแหน่งหลัก กลมุ่ นกั เรียนทมี่ ีความสูงมากกวา่ หรือเทา่ กับตาแหน่งหลัก

3. แนวคดิ เชงิ นามธรรม (Abstraction)
การเรียงลาดับความสูงของนักเรียนซึ่งจะสนใจแค่ลาดับความสูงเท่าน้ัน และไม่สนใจสิ่งท่ีไม่จาเป็นต่อการจัดแถวของนักเรียน

เชน่ ช่อื นามสกุล เพศ อายุ น้าหนกั
4. แนวคดิ การออกแบบขนั้ ตอนวิธี (Algorithm Design)

ลาดับขัน้ ตอนในการแกป้ ัญหา มดี งั น้ี
1. กาหนดนักเรียนคนแรกทางซา้ ยสดุ เป็นตาแหนง่ หลกั
2. แบ่งกลุ่มนักเรียน โดยนักเรียนที่มีความสูงน้อยกว่าตาแหน่งหลักให้ตั้งแถวอยู่ทางซ้ายของตาแหน่งหลัก และนักเรียนที่มี
ความสงู มากกวา่ หรอื เทา่ กับตาแหน่งหลักให้ตั้งแถวอยทู่ างขวาของตาแหนง่ หลกั
3. ทาซ้าขนั้ ตอนที่ 1 และ 2 ไปเร่ือย ๆ จนกระท่งั ไมส่ ามารถแบง่ กลุ่มได้อีก และได้แถวทเี่ รียงลาดบั ความสูงจากน้อยไปหามาก

53

สถานการณท์ ่ี 2 : ฟา้ ใสต้องการหาชดุ กระโปรงสชี มพใู นตเู้ ส้ือผ้า แต่ปรากฏว่าฟ้าใสหาไมเ่ จอ จงึ ตอ้ งร้ือ
เสอื้ ผ้าออกมากองไว้ข้างนอกต้เู สื้อผา้ ท้งั หมด นักเรยี นมวี ธิ กี ารจดั เรยี งเสอ้ื ผา้ ให้ฟ้าใส
อย่างไรเพื่อใหฟ้ ้าใสหาเส้อื ผา้ ได้งา่ ยที่สดุ

วิธีการแก้ปัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คานวณ
1. แนวคดิ การแยกยอ่ ย (Decomposition)

ปัญหาที่ 1 ตั้งวัตถุประสงค์หลักในการค้นหาว่าจะค้นหาเสื้อผ้าจากอะไร เช่น ค้นหาจากสี หรือประเภท เพ่ือตั้งเป็นเกณฑ์ใน
การแบง่ กลมุ่ เสอ้ื ผา้

ปญั หาท่ี 2 แบง่ กลมุ่ เส้ือผ้าตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ได้ตงั้ ไว้
ปัญหาที่ 3 จัดเรียงเสื้อผา้ ตามท่ไี ด้แบ่งกล่มุ ไว้
2. แนวคดิ การหารปู แบบ (Pattern Recognition)
หาวตั ถปุ ระสงคใ์ นการค้นหา แบง่ กลุ่มเส้อื ผ้าตามวตั ถปุ ระสงค์ และจัดเรียงเสื้อผา้ ตามทแ่ี บ่งกล่มุ
3. แนวคดิ เชงิ นามธรรม (Abstraction)
การจดั เรียงเส้ือผ้าจะสนใจแค่การแบง่ กลมุ่ เสื้อผา้ ตามวัตถุประสงค์ สิ่งท่สี นใจ คือ ประเภทของเสื้อผ้าและสงิ่ ท่ีไม่สนใจ หรือ
ไม่จาเปน็ ต่อการจัดเรยี งเสือ้ ผ้า เชน่ ขนาด ย่หี อ้
4. แนวคิดการออกแบบขั้นตอนวิธี (Algorithm Design)
ลาดับขน้ั ตอนในการแกป้ ญั หา มีดงั น้ี
1. หาวัตถปุ ระสงค์ในการคน้ หาเสือ้ ผา้
2. แบ่งกลุ่มเสอ้ื ผา้ ตามวัตถปุ ระสงค์
3. จัดเรยี งเส้อื ผ้าตามท่ีแบ่งกลุ่มเส้อื ผ้า
4. จัดเขา้ ตูเ้ ส้ือผา้ ใหเ้ รยี บร้อย

54

9. ความเห็นของผ้บู รหิ ารสถานศึกษาหรือผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมาย ................................. )
................................
ข้อเสนอแนะ
...... .
ลงชอื่
(

ตาแหนง่

10. บนั ทึกผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

 ด้านสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน

 ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

 ดา้ นอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ัญหาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแกไ้ ข

55

คมู่ ือครู 01 02
06 03
รายวชิ าพ้นื ฐาน

(เทวทคิ ยโนาโกลายรี คาํ นวณ) ม.2ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ดั 05

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 04
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 หลกั ตสวัูตอรยป่ารงับปรุง’60

สรา้ งอนาคตเดก็ ไทย แจกฟรีÐàÞéâ · ®­­¢ ¬ %;T6=$ ¿² ¬ +U;I;M;T M;T ¬ L;S =$Mห;Tน ัง ส àอื êเ«ร ยี ¬ นETร'าTย ว ิช า<พT้ืน9ฐ า¬น ว@ทิ CV ย@า ศ±า สLเW ตฉ¥Àรพ์ÊาÖะÈค¦ รูผู้สอน

ดว้ ยนวตั กรรมการเรยี นรรู้ ะดบั โลก ( วทิ ยาการคำนเทวคโณนโลย)ี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
ค่มู อื ครู หนังสอื เรยี น รายวชิ าพื้นฐาน ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
˹ѧÊ×ÍàÃÂÕ ¹ à·¤â¹âÅÂÕ (ÇÔ·ÂÒ¡Òäíҹdz) Á.1 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.2 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ม.2

คมู่ อื ครู อจท.

ใช้ประกอบการสอนคู่กบั หนงั สือเรียน

ม.2เพม่ิ คำแนะนำการใช้

เพิ่ม คำอธบิ ายรายวิชา
เพ่มิ Pedagogy
เพมิ่ Teacher Guide Overview
เพิ่ม Chapter Overview
เพ่มิ Chapter Concept Overview

؞ƒ„Ð ⛊ٟ‰‘žÜ Ð «“ÝzØÝ เพิม่ ขอ้ สอบเน้นการคดิ
เพ่ิม กิจกรรม 21st Century Skills

บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั นร. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200 ISBN : 978 - 616 - 203 - 778 - 8
โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย)
www.aksorn.com Aksorn ACT 9 786162 037788 ª¹Ô¹·Ã à©ÅÔÁʪآ¹Ô¹·Ã›àŽ©Å¡ŸÔÁ‡Ê¡ Ø¢z Œ“Í¡•ÀÔªÒµÔ ¤0Ó0».Å- ÔÇ

52.-

>> ราคาเลม่ นกั เรยี นโปรดดจู ากใบสง่ั ซอ้ื ของ อจท. 2 0 ภ า>พ [O¬L Oป 9EZ $ ก-S `น 5< ม้ี ¬<W ขี6น1 า «ด «เ2ท M0า่ ;ก «¬Lบั L ZEห I9 S-;น 5 งั À ส¬WÁ อื 6«เ 1รย«ี««« น ฉ บ บั ¬จ ร งิ ข อ¬ ง น กั ««««เรยี Mน ; « *T ¬; … …¬ … … «« M« ;« LI ¬ ; ¬ «««««« «« ………………………… …………………………
คู่มือครู นร. เทคคโนู่มโือลคยรี (ู วบิทรย. วาิทกยาราศคาำสนตวรณ์ ม) .ม2.1ล.1 ¬ ¬ «« > + $«¬ ? T D «¬ ««« >¬ O « I $««¬ ««
>-«>+$« ?T D «
บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200
โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย) 3030.0- .-8 88 5885684694 91 3182010324 9 ผเู้ รยี บเรยี งคู่มอื ครู นกั วชิ าการ STEM
www.aksorn.com Aksorn ACT www.aksorn.com

ราคาน้ี เปน็ ของฉบบั คมู่ อื ครเู ทา่ นน้ั

เพิ่มคําแนะนําการใช้ ช่วยสร้างความเข้าใจ เพื่อใช้คู่มือครู Chapter Overview ช่วยสร้างความเข้าใจ และ
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเกดิ ประสิทธิภาพสงู สุด
คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบข่ายเน้ือหาสาระของ เห็นภาพรวมในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา ซ่งึ ครอบคลมุ มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วดั ตาม แต่ละหนว่ ย
ทหี่ ลกั สตู รกําหนด
Pedagogy ชว่ ยสรา้ งความเข้าใจในกระบวนการออกแบบ Chapter Concept Overview ชว่ ยใหเ้ ห็นภาพรวม
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ Concept และเนื้อหาสําคญั ของหน่วยการเรียนรู้
Teacher Guide Overview ช่วยให้เห็นภาพรวมของ
การจดั การเรยี นการสอนทง้ั หมดของรายวชิ า กอ่ นทจี่ ะลงมอื ขอ้ สอบเนน้ การคดิ /ขอ้ สอบแนว O-NET เพือ่ เตรียม
สอนจรงิ
ความพร้อมของผเู้ รียนส่กู ารสอบในระดับต่าง ๆ

กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมที่จะช่วย

พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษะทจี่ าํ เปน็ สาํ หรบั การเรยี นรแู้ ละการ
ดํารงชีวติ ในโลกแห่งศตวรรษที่ 21

56















Chapter Overview

แผนการจดั ส่อื ท่ีใช้ จด� ประสงค์ ว�ธส� อน ประเมิน ทักษะท่ีได้ คณุ ลกั ษณะ
การเร�ยนรู้ อนั พึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1
แนวคดิ - หนังสือเรยี น รายวิชา 1. บอกความหมายของ แบบสบื เสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ท กั ษะการใช้ 1. มวี ินัย
เชิงคา� นวณ พื้นฐาน เทคโนโลยี แนวคิดเชิงค�านวณได้ (K) หาความรู ้ ก่อนเรยี น เทคโนโลยี 2. ใฝเรียนรู้
(วิทยาการค�านวณ) 2. อ ธิบายองคป์ ระกอบของ (5Es - ต รวจใบงานท ่ี 1.1.1 สารสนเทศ 3. มงุ่ ม่ันใน
1 ม.2 แนวคดิ เชิงคา� นวณได ้ (K) Instructional เรื่อง แนวคดิ เชิง - ทกั ษะการแกป้ ัญหา การท�างาน
- แบบทดสอบกอ่ นเรียน 3. เขียนภาพการทา� งานของ Model) ค�านวณ - ทกั ษะการสือ่ สาร
ชว่ั โมง - แบบทดสอบหลงั เรียน องคป์ ระกอบแนวคดิ เชงิ - สงั เกตพฤติกรรมการ - ท กั ษะการคิดเชงิ
- ใบงาน คา� นวณได้ (P) ท�างานรายบุคคล ค�านวณ
- PowerPoint 4. สนใจใฝรใู้ นการศึกษา (A) - ป ระเมินคณุ ลกั ษณะ - ทักษะการสงั เกต
อนั พึงประสงค์

แผนฯ ที่ 2 - หนงั สอื เรยี น รายวชิ า 1. บ อกวิธกี ารแกป้ ญั หา แบบใชป้ ัญหา - ตรวจแบบฝกึ หัด - ทักษะการใช้ 1. มวี นิ ยั
ตัวอย่าง พน้ื ฐาน เทคโนโลย ี ก ารเขา้ แถวตามลา� ดบั เป็นฐาน ประจ�าหน่วย เทคโนโลยี 2. ใฝเ รยี นรู้
การแก้ปัญหา (วทิ ยาการคา� นวณ) ความสงู ของนกั เรียน (Problem- การเรียนรู้ สารสนเทศ 3. มุ่งม่นั ใน
โดยใชแ้ นวคดิ ม.2 ใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ ได้ (K) based - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการแก้ปญั หา การทา� งาน
เชงิ ค�านวณ - แบบทดสอบก่อนเรียน 2. บอกวิธีการแก้ปญั หา Learning) หลงั เรียน - ทักษะการสือ่ สาร
- แบบทดสอบหลังเรยี น การจัดเรียงเส้ือผ้าให้ - ตรวจช้ินงาน/ - ทกั ษะการคิดเชงิ
1 - ใบงาน หางา่ ยทส่ี ดุ ได ้ (K) ภาระงาน (รวบยอด) ค�านวณ
- PowerPoint 3. เ ขียนวิธกี ารแก้ปญั หาโดย เ รอ่ื ง การแกป้ ญั หา - ทกั ษะการสงั เกต
ชว่ั โมง ใชแ้ นวคิดเชิงคา� นวณได ้ โดยใช้แนวคดิ เชิง

(P) ค�านวณ
4. เ ลง็ เห็นถึงความสา� คญั - สงั เกตพฤตกิ รรม
ของการแกป้ ญั หาโดย การทา� งานรายบคุ คล
ใชแ้ นวคดิ เชิงคา� นวณ (A) - ป ระเมนิ คุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์

T2

64

Chapter Concept Overview

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1

แนวคิดเชงิ คา� นวณ

เปน็ แนวคดิ ในการแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ มลี า� ดบั ขน้ั ตอนชดั เจน ซง่ึ เปน็ กระบวนการทมี่ นษุ ยแ์ ละคอมพวิ เตอรส์ ามารถเขา้ ใจ
ร่วมกันได้ แบง่ ออกเปน็ 4 องค์ประกอบหลกั ดงั น้ี

1. แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) 2. แนวคิดการหารปู แบบ (Pattern Recognition)
เป็นการแตกปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อย ให้ปัญหาน้ัน เปน็ การกา� หนดแบบแผนหรอื รปู แบบทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ
มีขนาดเล็กลง เพื่อให้สามารถจัดการปัญหาในแต่ละส่วนได้ กนั จากปญั หาแตล่ ะส่วนยอ่ ยต่าง ๆ กลา่ วคือ ปัญหายอ่ ยแตล่ ะ
งา่ ยข้ึน ปญั หานน้ั สามารถใชร้ ปู แบบในการแกป้ ญั หาทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั ได้

??

แนวคดิ แนวคดิ
การแยกย่อย การหารปู แบบ

แนวคิด เชิงแนนาวมคธิดรรม
การออกแบบ
ขัน้ ตอนวิธี

4. แนวคิดการออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี (Algorithm Design) 3. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)
เปน็ การออกแบบลา� ดบั ขนั้ ตอนการแกป้ ญั หาดว้ ยการใช้ เป็นการหาแนวคิดเชิงนามธรรมหรือแนวคิดรวบยอดของ
แนวคดิ การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี เปน็ แนวคดิ ทส่ี ามารถนา� ไป ปัญหา ซง่ึ เปน็ การก�าหนดหลกั การท่ัวไป มงุ่ เน้นเฉพาะส่วนที่
ใช้ในการแกป้ ัญหาทม่ี ีลกั ษณะแบบเดยี วกันได้ ส�าคญั ของปญั หา โดยไมส่ นใจรายละเอียดทไ่ี ม่จ�าเปน็

T3

65

นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขนั้ นาํ 1 แนวคดิ เชงิ คาํ นวณหนวยการเรยี นรูที่
กบั การแกป ญ หา
กระตนุ ความสนใจ

1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวย
การเรียนรูท่ี 1 แนวคิดเชิงคํานวณกับการแก
ปญ หา เพอ่ื วดั ความรเู ดมิ ของนกั เรยี นกอ นเขา สู
กจิ กรรม

2. ครถู ามคาํ ถามประจาํ หวั ขอวา
• นักเรียนคิดวามนุษยนําแนวคิดเชิงคํานวณ
มาประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจําวนั ไดอ ยา งไร
(แนวตอบ สามารถนําแนวคิดเชิงคํานวณ
มาประยุกตใชในดานการแกปญหาใน
ชีวิตประจําวันดานการเรียน และดานการ
ทาํ งาน)

การเขียนโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ เร่ิมจากการนําหนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา
แนวคิดเชิงคํานวณมาชวยในกระบวนการคิดของมนุษย
เพื่อหาคําตอบในการแกป ญหา
ตวั ช้ีวดั
ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคดิ เชิงคำ� นวณในกำรแกป้ ัญหำหรือกำรท�ำงำนท่พี บในชวี ติ จริง

เกร็ดแนะครู

ในการจัดการเรียนการสอน เรื่อง แนวคิดเชิงคํานวณกับการแกปญหา
ครูอาจยกตัวอยางสถานการณปญหาในชีวิตประจําวันที่ใชกระบวนการแนวคิด
เชิงคํานวณในการแกปญหา และสรางสถานการณจําลองใหนักเรียนไดแกไข
ปญหาโดยใชกระบวนการแนวคิดเชิงคํานวณ เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจที่
ชัดเจนขึ้น ตัวอยางเชน การเลือกซ้ือจักรยานใหเหมาะสมกับการใชงาน
การเลือกวิธีเดนิ ทางไมใ หไ ปโรงเรียนสาย

T4

66

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

มนษุ ยน าํ แนวคดิ เชงิ 1 แนวคิดเชงิ คำ� นวณ ขน้ั สอน
คาํ นวณมาประยกุ ตใ ชใ น
ชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยา งไร ในทกุ ๆ วัน บุรษุ ไปรษณยี ์จะตอ้ งนำ� จดหมำยหรือ สาํ รวจคน หา
พัสดุส่งไปตำมที่อยู่ท่ีได้ระบุไว้เป็นจ�ำนวนมำก ดังน้ัน
บรุ ษุ ไปรษณยี จ์ ะตอ้ งทำ� กำรจดั หมวดหมจู่ ดหมำยหรอื พสั ดุ ครูใหนักเรียนศึกษาความหมายและองค-
โดยเรียงลำ� ดบั ตำมเลขที่บำ้ น หม ู่ หมู่บำ้ น เพ่ือใหส้ ะดวกต่อกำรหยบิ และรวดเรว็ ในกำร ประกอบของแนวคิดเชิงคํานวณจากหนังสือเรียน
ทำ� งำน บรุ ษุ ไปรษณยี จ์ งึ เปน็ หนงึ่ ในหลำยอำชพี ทอี่ ำศยั แนวคดิ เชงิ คำ� นวณในกำรทำ� งำน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ)
โดยแนวคิดเชิงค�ำนวณมีควำมส�ำคัญต่อกำรแก้ปัญหำในชีวิตประจ�ำวันของมนุษย์ได้ ม.2 หรอื ศึกษาเพ่ิมเตมิ จากอนิ เทอรเ นต็
อย่ำงมีประสทิ ธิภำพ
อธบิ ายความรู
MAIL BOX
1. ครสู ุมนักเรียน 3-4 คน ออกมาอธิบายความ-
แนวคิดเชิงค�ำนวณ หมายและองคประกอบทงั้ 4 ขอ ของแนวคิด
เชิงคาํ นวณตามที่ไดนักเรยี นไดไปศึกษา
มนี กั วชิ ำกำรไดก้ ลำ่ วถงึ นยิ ำมของคำ� วำ่ แนวคดิ เชงิ คำ� นวณไวม้ ำกมำย ดงั นน้ั ควำมหมำย
ของคำ� ว่ำ แนวคดิ เชิงค�ำนวณ ได้ถกู ถำ่ ยทอดออกมำหลำยรปู แบบ แต่ส่ิงทเ่ี หมอื นกัน คือ กำรน�ำ 2. จากนั้นครูอธิบายจากหนังสือเรียนเพ่ือให
แนวคิดเชิงค�ำนวณมำใช้ในกำรแก้ปญั หำเพื่อให้เกิดผลลัพธข์ องกำรแก้ปญั หำท่มี ปี ระสิทธภิ ำพ นกั เรยี นเขา ใจมากยง่ิ ขนึ้ วา “อาชพี ทตี่ อ งอาศยั
แนวคิดเชิงคํานวณ เชน อาชีพบุรุษไปรษณีย
แนวคิดเชิงค�านวณ (Computational Thinking) คอื แนวคดิ ในกำรแก้ปญั หำต่ำง ๆ อยำ่ ง เปน อาชพี ทจี่ ะตอ งนาํ จดหมายหรอื พสั ดจุ ดั สง
เป็นระบบ เป็นกระบวนกำรที่มีล�ำดับขั้นตอนชัดเจน โดยกระบวนกำรแก้ปัญหำดังกล่ำวน้ีเป็น ไปตามท่ีอยูที่ไดระบุไว แตเน่ืองจากจดหมาย
กระบวนกำรทที่ งั้ มนษุ ยแ์ ละคอมพวิ เตอรส์ ำมำรถเขำ้ ใจรว่ มกนั ได ้ ซงึ่ แนวคดิ เชงิ คำ� นวณเปน็ แนวคดิ หรือพัสดุท่ีตอ งจดั สงมจี ํานวนมาก ทาํ ใหบุรุษ
สำ� คญั สำ� หรบั กำรพฒั นำซอฟตแ์ วรค์ อมพวิ เตอร ์ แตส่ ำมำรถนำ� มำประยกุ ตใ์ ชใ้ นกำรแกป้ ญั หำตำ่ ง ๆ ไปรษณยี ต อ งทาํ การจดั หมวดหมตู ามบา นเลขท่ี
ในชีวิตไดเ้ ชน่ กัน เพ่ือใหสะดวกตอการหยิบและรวดเร็วในการ
แนวคิดเชิงค�ำนวณเป็นเคร่ืองมือในกำรแก้ปัญหำท่ีมีวิธีแก้ไขท่ีเป็นล�ำดับข้ันตอนมำกกว่ำ ทํางาน ดังน้ัน อาชีพบุรุษไปรษณีย จึงเปน
เปน็ กำรสรำ้ งผลลพั ธ ์ แนวคดิ ลกั ษณะนไี้ มเ่ พยี งนำ� ไปใชก้ บั คอมพวิ เตอรไ์ ดเ้ ทำ่ นนั้ แตส่ ำมำรถนำ� ไป หนึ่งในหลายอาชีพที่อาศัยแนวคิดเชิงคํานวณ
เปกรดิ ับขใน้ึช้ไนดเี้ ร้กยี ับกทวุกำ่ ส กถาำรนเขกยีำนรณโป์ รเแมก่ือรมม1ีก แรตะบถ่ ำ้วกนรกะำบรวทนี่เปกำ็นรลน�ำน้ั ดไับมขไ่ ้ันดเ้ตกอดิ นขเนึ้กจิดำขกึ้นแกนับวคคอดิ มเชพงิ ิวคเำ�ตนอวรณ์ สแ่ิงลทว้ ่ี ในการทํางาน”
กจ็ ะกลำยเปน็ โปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ที่ ำ� งำนชำ้ และทำ� ใหผ้ ใู้ ชง้ ำนผดิ หวงั เพรำะทำ� งำนไมต่ รงตำม
ทีต่ ้องกำร หลำยคนคดิ ระบบขึน้ มำซึง่ ใชเ้ วลำนำนในกำรตอบสนอง นั่นเป็นเพรำะวธิ ีกำรออกแบบ 3. ครูนําบัตรภาพ เร่ือง องคประกอบแนวคิด
ในบำงจดุ ไมม่ ีประสทิ ธิภำพ หรือไม่ได้สรำ้ งกำรเข้ำถงึ ข้อมลู ซ่งึ ร้วู ำ่ อยูจ่ ุดใดใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพ เชิงคํานวณ ใหนักเรียนดู เพื่อใหนักเรียนได
เห็นภาพการทํางานขององคประกอบแนวคิด
3 เชงิ คาํ นวณ พรอ มยกตัวอยางประกอบเพือ่ ให
นักเรียนเขา ใจมากย่ิงข้ึน

หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

ขอ สอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู

ทกั ษะท่ีสําคญั ในแนวคิดเชงิ คาํ นวณคอื ขอใด ครอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา แนวคดิ เชงิ คาํ นวณเปน กระบวนการทจ่ี ะตอ งทาํ ให
1. มีความคิดเชิงคํานวณอยา งเปนระบบ มนุษยและคอมพิวเตอรสามารถรับรูและเขาใจไดตรงกัน เพราะถาหากเขาใจ
2. รูจักใชเทคโนโลยีใหมอ ยา งมีประสิทธภิ าพ ไมตรงกนั แลว จะไมส ามารถนําความรูไปใชใ นการแกป ญหาได
3. สามารถประยกุ ตใ ชค วามรูแ ละทักษะในการทํางาน
4. มีความคดิ ริเริ่มสรา งสรรคแ ละมคี วามเปนตัวของตวั เอง นักเรียนควรรู

(วเิ คราะหค าํ ตอบ แนวคดิ เชงิ คาํ นวณ คอื แนวคดิ ในการแกป ญ หา 1 โปรแกรม คือ ชุดคําส่ังท่ีเปนระบบข้ันตอนเพ่ือสั่งการใหคอมพิวเตอร
ตางๆ อยางเปนระบบ เปนกระบวนการที่มีลําดับข้ันตอนชัดเจน ทํางาน ซ่ึงโปรแกรมที่จะใชสั่งการคอมพิวเตอรไดนั้นจะตองเขียนดวยภาษาที่
ดงั น้นั ทกั ษะที่สําคญั ในการคิดเชิงคํานวณ คอื การคิดเชงิ ตรรกะ คอมพิวเตอรเขาใจ และสามารถปฏิบัติตามได เรียกภาษาที่ใชส่ังคอมพิวเตอร
เปนการคดิ เชงิ คาํ นวณอยางเปน ระบบ ทําใหส ามารถแกไ ขปญ หา นว้ี า ภาษาคอมพิวเตอร โดยผลลพั ธจะไดตามความตอ งการ ซึ่งกฎเกณฑตางๆ
อยา งเปนลาํ ดับขน้ั ตอนได ดังนนั้ ตอบขอ 1.) ทค่ี วบคมุ การเขยี นโปรแกรม คอื ภาษาโปรแกรม (Programming Language)

T5

67

นาํ สอน สรปุ ประเมิน

ขนั้ สรปุ แนวคดิ เชงิ คำ� นวณ สำมำรถแบง่ ออกเปน็ 4 องค์ประกอบ ดังนี้

ขยายความเขา ใจ แนวคิดเชงิ คํานวณ

1. ครูซักถามนักเรียนเพ่ือตรวจสอบความเขาใจ 1 แนวคิดการ 2 แนวคดิ การ 3 แนวคิด 4 แนวคดิ การ
ดังน้ี แยกย่อย หารปู แบบ เชงิ นามธรรม ออกแบบขนั้ ตอนวิธี
• องคประกอบของแนวคดิ เชงิ คาํ นวณ (Decomposition) (Pattern Recognition) (Abstraction) (Algorithm Design)
แบงออกเปน กอ่ี งคประกอบ อะไรบาง
(แนวตอบ องคประกอบของแนวคิดเชิง กำรแตกปญั หำใหญ ่ กำรกำ� หนดแบบแผน กำรหำแนวคิดเชิง กำรออกแบบลำ� ดับ
คาํ นวณแบง ออกเปน 4 องคประกอบ ไดแ ก ออกเปน็ ปัญหำยอ่ ย ให้ หรือรูปแบบที่มีลักษณะ นำมธรรมหรือแนวคิด ขั้นตอนกำรแก้ปัญหำ
1. แนวคิดการแยกยอ ย ปญั หำนน้ั มขี นำดเลก็ ลง คลำ้ ยคลงึ กนั จำกปญั หำ รวบยอดของปญั หำ ซง่ึ ด้วยกำรใช้แนวคิดกำร
2. แนวคดิ การหารูปแบบ เพื่อให้สำมำรถจัดกำร แต่ละส่วนย่อยต่ำง ๆ เปน็ กำรกำ� หนดหลกั กำร ออกแบบขนั้ ตอนวธิ ี เปน็
3. แนวคิดเชงิ นามธรรม ปัญหำในแต่ละส่วนได้ กลำ่ วคอื ปญั หำยอ่ ยแตล่ ะ ทวั่ ไป มงุ่ เนน้ เฉพำะสว่ น แนวคิดที่สำมำรถน�ำ
4. แนวคิดการออกแบบขน้ั ตอนวิธี) งำ่ ยขึ้น ปัญหำน้ัน สำมำรถใช้ ทส่ี �ำคญั ของปญั หำ โดย ไปใช้ในกำรแก้ปัญหำ
รปู แบบในกำรแกป้ ญั หำ ไม่สนใจรำยละเอียดที่ ท่ีมีลักษณะแบบเดียว
2. ครมู อบหมายใหน ักเรยี นทําใบงาน เร่อื ง องค- ท่คี ลำ้ ยคลึงกันได้ ไม่จ�ำเปน็ กันได้
ประกอบของแนวคิดเชิงคํานวณ โดยให
นกั เรยี นเขยี นภาพการทาํ งานขององคป ระกอบ จำกองค์ประกอบของแนวคิดเชิงค�ำนวณ จะเห็นได้ว่ำ กำรใช้แนวคิดเชิงค�ำนวณเพ่ือแก้
แนวคิดเชิงคํานวณจากสถานการณที่กําหนด ปญั หำอยำ่ งเปน็ ระบบนน้ั ไมไ่ ดเ้ ปน็ กระบวนกำรทำงควำมคดิ สำ� หรบั นกั วทิ ยำศำสตรห์ รอื นกั พฒั นำ
ให ซอฟตแ์ วรค์ อมพิวเตอร์เท่ำนั้น แตส่ ำมำรถน�ำมำประยกุ ต์ใช้ในกำรแกป้ ัญหำต่ำง ๆ ในชีวติ ได้

3. ครูและนักเรียนสรุปรวมกันเกี่ยวกับแนวคิด ?? แนวคดิ แนวคิด
เชิงคํานวณ และการประยุกตใชแนวคิดเชิง การแยกยอ่ ย การหารูปแบบ
คํานวณเพอ่ื แกป ญหาตา งๆ ในชีวติ ประจาํ วัน
แนวคดิ เชิงแนนาวมคธดิ รรม
ขน้ั ประเมนิ กขารัน้ อตออกนแวบิธบี

ตรวจสอบผล

ครูประเมินผลโดยการสังเกตการตอบคําถาม
ความสนใจในการเรียน และตรวจสอบการทํา
ใบงาน

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา4

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอ สอบเนน การคดิ

ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง องคประกอบของ ใครใชแ นวคดิ การแยกยอ ย (Decomposition) ในการแกปญหา
แนวคิดเชิงคํานวณ ไดจากการทําใบงาน เร่ือง องคประกอบของแนวคิดเชิง 1. ตูนออกแบบเคร่อื งบนิ ไดต ามแบบท่ตี นเองตอ งการ
คํานวณ ท่ีนักเรียนไดทําในขั้นขยายความเขาใจ โดยศึกษาเกณฑการวัดและ 2. เตาศึกษาองคประกอบของเคร่ืองบิน เพ่ือจะไดออกแบบ
ประเมินผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ท่ีอยูในแผนการ ลักษณะเคร่ืองบนิ จําลอง
จดั การเรียนรู หนวยการเรยี นรูที่ 1 3. ตน สามารถอธบิ ายไดว าเคร่อื งบินแตละประเภทตอ ง
ประกอบไปดวย ปก ลาํ ตัว หาง และฐานลา ง
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 4. แตนอธิบายไดวาเครื่องบินแตละประเภทจะมีลักษณะท่ี
แตกตางกัน เชน เคร่ืองบินเจ็ทถูกขับเคลื่อนดวยเครื่อง-
คาชี้แจง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ยนตเจ็ท เครอ่ื งบินไฟฟาทํางานดวยมอเตอรไ ฟฟา
ตรงกบั ระดับคะแนน (วเิ คราะหคําตอบ แนวคิดการแยกยอ ย คือ การแตกปญหาใหญ

ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 ออกเปนปญหายอย ใหปญหานั้นมีขนาดเล็กลงเพื่อใหสามารถ
32  จดั การแตล ะสว นไดง า ยขนึ้ โดยการศกึ ษาองคป ระกอบของเครอ่ื ง
1 การแสดงความคดิ เหน็   บิน เปนการศึกษาแตละชิ้นสวนท่ีนํามาประกอบเปนเครื่องบิน
2 การยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น   ดังนน้ั ตอบขอ 2.)
3 การทางานตามหนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมาย  
4 ความมนี า้ ใจ  
5 การตรงต่อเวลา 

รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมนิ
............/.................../................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

T6 ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดมี าก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากวา่ 8 ปรับปรุง

68

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ

แนวคดิ เชงิ คาํ นวณ มสี ว น 2 ตวั อย่ำงกำรแกป ญหำโดยใช ขน้ั นาํ (PBL)
ชว ยการเรยี งลาํ ดบั ขอ มลู แนวคดิ เชิงค�ำนวณ
(Sorting) อยา งไร ครูถามคําถามประจําหัวขอเพื่อกระตุนความ
สนใจของนักเรียนวา
2.1 ตัวอย่ำงปญ หำกำรเขำแถวตำมล�ำดบั ควำมสงู ของนักเรียน
ใหเ รว็ ทส่ี ดุ • แนวคดิ เชงิ คาํ นวณมสี ว นชว ยการเรยี งลาํ ดบั
ขอ มลู อยา งไร
(แนวตอบ แนวคิดเชิงคํานวณเปนการคิด
อยางมีระบบและเปนกระบวนการที่มีลําดับ
ขน้ั ตอนทชี่ ดั เจน ทาํ ใหก ารเรยี งลาํ ดบั ขอ มลู
มคี วามแมน ยําและถูกตอง)

แนวคดิ เชงิ คา� นวณในการแก้ปญ หาการเขา้ แถวตามล�าดับความสงู ของนกั เรียนให้เร็วทสี่ ุด ขนั้ สอน
1. แนวคิดการแยกย่อย (Decomposition) คือ กำรแตกปัญหำใหญ่ออกเป็นปัญหำย่อย
ในทนี่ ้ี ปญั หำใหญค่ อื กำรเขำ้ แถวตำมลำ� ดบั ควำมสงู ของนกั เรยี นทงั้ หมด หำกนำ� นกั เรยี นทกุ คนมำ กาํ หนดปญ หา
เขำ้ แถวตำมลำ� ดบั ควำมสงู ในครำวเดยี ว อำจทำ� ใหใ้ ชเ้ วลำนำนในกำรเรยี งลำ� ดบั แตห่ ำกแตกปญั หำ
ออกเป็นปญั หำยอ่ ย และแก้ปัญหำย่อยนั้น ๆ ทลี ะปัญหำ จะท�ำใหส้ ำมำรถแก้ปัญหำใหญ่ได้เร็วขึน้ ครถู ามคาํ ถามทา ทายความคดิ ของนกั เรยี นวา
ซ่ึงสำมำรถแบง่ ปญั หำกำรเขำ้ แถวให้เรยี งตำมควำมสงู ออกเป็นปัญหำย่อยได้ ดังน้ี • นกั เรยี นเขยี นวธิ กี ารแกป ญ หาโดยใชแ นวคดิ

ปญหาท่ี 1 ก�ำหนดนกั เรียนคนแรกเป็นนักเรยี นตำ� แหน่งหลัก เชงิ คาํ นวณไดห รอื ไม
ปญหาท่ี 2 แบง่ กล่มุ นกั เรยี นออกเป็น 2 กลมุ่ โดยมเี ง่ือนไข ดงั นี้ (แนวตอบ คําตอบขึน้ อยูกบั ดุลยพนิ ิจของครู
1) กลุ่มท่ี 1 นักเรียนท่ีมีควำมสูงน้อยกว่ำนักเรียนต�ำแหน่งหลัก ให้ตั้งแถวอยู่ ผสู อน)
ดำ้ นซำ้ ยของนักเรยี นท่เี ป็นต�ำแหน่งหลัก
2) กลุ่มที่ 2 นักเรียนที่มีควำมสูงมำกกว่ำนักเรียนต�ำแหน่งหลัก ให้ตั้งแถวอยู่ ขน้ั ทาํ ความเขา ใจปญ หา
ดำ้ นขวำของนักเรยี นต�ำแหน่งหลกั
ปญ หาที่ 3 ทงั้ 2 กลมุ่ ท�ำซ�้ำปญั หำท่ี 1 และปญั หำท ่ี 2 จนกระทัง่ ไม่สำมำรถ ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั ทบทวนความรเู ดมิ ทไ่ี ด
แบง่ กลุม่ ได้อกี และนักเรียนเข้ำแถวเรียงตำมล�ำดบั ควำมสูงจำกน้อยไปมำกไดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง เรียนไปในชั่วโมงท่ีแลว เร่ือง องคประกอบของ
แนวคิดเชิงคํานวณจากหนังสือเรียน รายวิชา
5 พน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ม.2

หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

เกร็ดแนะครู

ในการเรยี นเร่ือง องคป ระกอบของแนวคิดเชงิ คํานวณ ครอู าจจะยกตัวอยา งสถานการณท ่ีใชก ารแกปญหาโดยใชก ระบวนการแนวคดิ เชิงคํานวณ เชน
1. แนวคดิ แยกยอย (Decomposition) เชน ถา หากเราตองการเดินทางไปเท่ยี วจังหวดั เชียงราย จะมีการวางแผนเดินทางอยางไร ซึ่งเราอาจแยกยอย
วธิ ีเดินทางเปน 4 รปู แบบ คือ ขับรถไปเอง นั่งรถทวั ร นง่ั เครือ่ งบิน นั่งรถไฟ จากนนั้ ก็มาวิเคราะหถึงขอ ดแี ละขอ เสียของแตล ะวิธี
2. แนวคิดการหารูปแบบ (Pattern Recognition) เชน หากตองการสรางรถจักรยาน รถจักรยานยอมมีลักษณะบางอยางท่ีเหมือนกัน เชน
ลอรถ แฮนดจักรยาน โดยลกั ษณะที่มรี ว มกันน้ี เรยี กวา รปู แบบ ดังนน้ั เมอื่ สามารถอธิบายลักษณะของจักรยานคนั หนึง่ ได กจ็ ะสามารถอธบิ ายลักษณะของ
จกั รยานคันอนื่ ๆ ได ตามรปู แบบทเ่ี หมอื นกัน
3. แนวคดิ เชงิ นามธรรม (Abstraction) เชน แมว า สนุ ขั จะมลี กั ษณะทว่ั ไปทเี่ หมอื นกนั แตส นุ ขั กจ็ ะมลี กั ษณะเฉพาะทแี่ ตกตา งกนั เชน สขี น สตี า ความคดิ
ดานนามธรรมจะคัดกรองลักษณะท่ีไมไดมีรวมกับสุนัขตัวอื่นๆ ออกไป กระบวนการคัดกรองส่ิงท่ีไมเกี่ยวของออกไป และมุงท่ีรูปแบบซึ่งชวยใหสามารถ
แกป ญ หาได เรยี กวา แบบจาํ ลอง (model) เม่อื มคี วามคดิ ดา นนามธรรมจะทาํ ใหมโี มเดลความคิดที่ชดั เจนขึ้น
4. แนวคดิ การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี (Algorithm Design) เชน รถจกั รยานยนตเสีย ตองออกแบบขน้ั ตอนวธิ กี ารซอ มวาจะซอมอยางไร

T7

69

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน 2. แนวคดิ การหารปู แบบ (Pattern Recognition) คอื กำรเข้ำใจรูปแบบของปัญหำ โดยใน
กรณีน ี้ กำรเข้ำแถวตำมลำ� ดบั ควำมสงู ในแตล่ ะรอบ จะมกี ำรแบ่งกลุ่มทีเ่ หมอื นกัน ดงั นี้
ขน้ั ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน ควา
กล่มุ นกั เรียนที่มีควำมสงู นอ้ ยกวำ่ | นกั เรยี นที่เป็นต�ำแหนง่ หลัก | กลมุ่ นักเรียนทม่ี ีควำมสงู
1. ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา “ในการแกปญหาตางๆ เทำ่ กับหรอื มำกกวำ่
จะตองใชองคประกอบทั้ง 4 ขอของแนวคิด
เชงิ คํานวณ โดยเรยี งลําดับขน้ั ตอน ดังน้ี จะสังเกตเห็นว่ำ จะมีนักเรียนที่เป็นต�ำแหน่งหลักค่ันอยู่ระหว่ำงนักเรียนท้ัง 2 กลุ่ม
1. แนวคิดการแยกยอ ย เสมอ
2. แนวคิดการหารูปแบบ
3. แนวคิดเชงิ นามธรรม 3. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) คือ กำรคิดรวบยอดปัญหำ และไม่สนใจสิ่งท่ี
4. แนวคิดการออกแบบขั้นตอนวธิ ี”

ไม่จ�ำเปน็ โดยกำรเขำ้ แถวเรยี งตำมลำ� ดบั ควำมสงู นนั้ แนวคิดหลัก คือ กำรเรยี งล�ำดับนกั เรยี น
ตำมควำมสูงจำกน้อยไปมำก ซึ่งนักเรยี นทมี่ คี วำมสูงน้อยกว่ำจะต้องอยดู่ ้ำนซำ้ ยของนกั เรียนที่มี
ควำมสูงมำกกว่ำเสมอ และไม่สนใจสิ่งที่ไม่จ�ำเป็น เช่น ชื่อ-นำมสกุล เพศ อำยุ น้�ำหนักของ
นักเรยี น เปน็ ต้น
4. แนวคิดการออกแบบขน้ั ตอนวิธี (Algorithm1 Design) ล�ำดบั ข้ันตอนในกำรแกป้ ัญหำ
มีดงั น้ี
1) ก�ำหนดนกั เรยี นคนแรก (ซ้ำยสดุ ) ของกลุ่มนกั เรยี น เปน็ ตำ� แหนง่ หลัก โดยถอื ว่ำ
เป็นต�ำแหนง่ ทถ่ี กู ต้องแลว้

ตำ� แหนง่ หลกั

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา หมายเหตุ : นักเรียนทุกคนยนื หันหลัง

2) แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นออกเปน็ 2 กลุม่ ดงั น้ี
(1) กลมุ่ นกั เรยี นทมี่ คี วำมสงู นอ้ ยกวำ่ นกั เรยี นตำ� แหนง่ หลกั ใหไ้ ปตง้ั แถวอยดู่ ำ้ นซำ้ ย
ของนกั เรยี นตำ� แหน่งหลัก
(2) กลมุ่ นกั เรยี นทม่ี คี วำมสงู เทำ่ กบั หรอื มำกกวำ่ นกั เรยี นตำ� แหนง่ หลกั ใหไ้ ปตง้ั แถว
อยู่ดำ้ นขวำของนักเรยี นตำ� แหนง่ หลกั

6

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด

1 Algorithm คอื กระบวนการแกป ญ หาทอี่ ธบิ ายออกมาเปน ขนั้ ตอนทชี่ ดั เจน ขั้นตอนการสรางบานขั้นตอนใดตรงกับแนวคิดการหารูปแบบ
เมอ่ื นาํ เขา ขอ มลู อะไร แลว จะตอ งไดผ ลลพั ธเ ชน ไร กระบวนการนจ้ี ะตอ งประกอบ ในแนวคดิ เชิงคาํ นวณ
ดวยวิธีการเปนขั้นๆ และมีสวนท่ีตองทําแบบวนซ้ําอีก จนกระท่ังเสร็จส้ินการ
ทํางาน 1. สรางแปลนบา น
2. ศกึ ษาลกั ษณะของบาน
3. หารูปแบบบา นท่ีตองการ
4. ออกแบบขนั้ ตอนในการสรางบา น
(วเิ คราะหค าํ ตอบ แนวคดิ การหารปู แบบ คอื การกาํ หนดแบบแผน
หรอื รปู แบบทมี่ ลี กั ษณะคลา ยคลงึ กนั จากปญ หาของแตล ะสว นยอ ย
ตางๆ ข้ันตอนการสรางบานที่ตรงกับแนวคิดหารูปแบบ คือ หา
รปู แบบบา นที่ตอ งการ ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T8

70

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ
ตำ� แหนง่ หลัก
ขนั้ สอน

ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน ควา

2. ครใู หน กั เรยี นศกึ ษาตวั อยา งปญ หาการเขา แถว
ตามลาํ ดบั ความสงู ของนกั เรยี นใหเ รว็ ทสี่ ดุ ตาม
ลาํ ดับการวิเคราะหท งั้ 4 ขอ จากหนงั สอื เรียน

3) ทำ� ซำ�้ ไปเรอ่ื ย ๆ จนกระทง่ั ไมส่ ำมำรถแบง่ กลมุ่ ไดอ้ กี
(1) กำ� หนดนกั เรียนคนแรก (ซำ้ ยสุด) ของนักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ เป็นต�ำแหนง่ หลัก

ต�ำแหนง่ หลัก

ตำ� แหนง่ หลัก

(2) แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม โดยมีนักเรียนต�ำแหน่งหลักคั่นอยู่ กลุ่ม
นักเรียนท่ีมีควำมสูงน้อยกว่ำนักเรียนต�ำแหน่งหลัก ให้ตั้งแถวอยู่ด้ำนซ้ำยของนักเรียนต�ำแหน่ง
หลัก และกลุ่มนักเรียนที่มีควำมสูงเท่ำกับหรือมำกกว่ำนักเรียนต�ำแหน่งหลัก ให้ต้ังแถวอยู่
ด้ำนขวำของนักเรยี นตำ� แหนง่ หลกั

ตำ� แหนง่ หลกั

ต�ำแหน่งหลกั

หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
7
T9
ขอสอบเนน การคิด

ขอ ใดคอื แนวคิดการออกแบบข้นั ตอนวธิ ี (Algorithm Design)
1. เกดิ การคิดรวบยอดของปญ หา
2. มีขนั้ ตอนในการแกปญ หาชัดเจน
3. สามารถแยกองคป ระกอบของกิจกรรมไดช ัดเจน
4. กาํ หนดแบบแผนหรือรูปแบบการแกปญ หาทค่ี ลายคลงึ กันได
(วิเคราะหคาํ ตอบ แนวคิดการแยกยอย (Decomposition) คอื การแตกปญ หาใหญอ อกเปน ปญ หายอย ใหป ญ หา

นั้นมีขนาดเล็กลง เพอ่ื ใหส ามารถจัดการปญ หาแตล ะสวนไดงายข้ึน
แนวคิดการหารูปแบบ (Pattern Recognition) คอื การกําหนดแบบแผนหรอื รูปแบบท่ีมลี กั ษณะคลา ยคลงึ กนั

จากปญ หาแตล ะสวนยอ ยตางๆ ปญหายอยแตละปญหาน้นั สามารถใชร ปู แบบในการแกปญหาทคี่ ลา ยคลงึ กันได
แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) คอื การหาแนวคิดเชิงนามธรรมหรอื แนวคิดรวบยอดของปญหา
แนวคิดการออกแบบขั้นตอนวธิ ี (Algorithm Design) คือ ลําดบั ขนั้ ตอนในการแกปญหาหรอื การทาํ งานที่ชดั เจน

การคิดคน อธบิ ายข้นั ตอนวธิ ใี นการแกปญ หาตา งๆ
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

71

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน (3) ทำ� เหมอื นข้อ (1) และ (2) ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม

ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน ควา

3. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ ขน้ั ตอนการเขา แถว
ตามลาํ ดบั ความสูงจากขั้นตอนขา งตน

ตำ� แหนง่ หลกั

ต�ำแหน่งหลกั ตำ� แหนง่ หลัก

ตำ� แหน่งหลกั

(4) ท�ำเหมอื นข้อ (1) และ (2) ของนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่

ต�ำแหน่งหลัก

ต�ำแหนง่ หลัก ตำ� แหนง่ หลัก

ตำ� แหน่งหลกั

(5) เมื่อท�ำจนไม่สำมำรถจัดกลุ่มได้อีก จะได้แถวเรียงล�ำดับควำมสูงจำกน้อยไป
หำมำก

8หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา

เกร็ดแนะครู กจิ กรรม สรางเสริม

ครูอาจจะสรุปเรื่อง องคป ระกอบของแนวคิดเชิงคาํ นวณ ใหน ักเรยี นฟง อีก ใหนักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับองคประกอบของแนวคิด
ครงั้ หนงึ่ เพอ่ื ใหน กั เรยี นเกดิ ความเขา ใจทถ่ี กู ตอ งชดั เจน แลว สมุ นกั เรยี นออกมา เชงิ คาํ นวณ จากแหลง การเรยี นรตู า ง ๆ เชน หอ งสมดุ อนิ เทอรเ นต็
ตอบคาํ ถามหนา ชัน้ เรียน เพอ่ื ตรวจสอบความเขา ใจของนักเรยี น แลว สรุปสาระสาํ คัญลงในสมดุ สง ครผู ูสอนในชวั่ โมงถดั ไป

กจิ กรรม ทา ทาย

ใหนักเรียนใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาที่เกิดจาก
กจิ วตั รประจาํ วนั ของนกั เรยี น 1 กจิ วตั ร แลว สรปุ ออกมาในรปู แบบ
ผังมโนทศั นส ง ครูผูสอน

T10

72

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

จำกขั้นตอนขำ้ งตน้ สรุปได้ ดงั นี ้ เริม่ ตน้ ให้นกั เรียนเขำ้ แถวโดยไมส่ นใจควำมสูง โดย ขน้ั สอน
ก�ำหนดนักเรยี นคนแรกใหเ้ ป็นต�ำแหนง่ หลัก แบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ โดยกลมุ่ ท ี่ 1 คือ กลมุ่ ทม่ี คี วำม
สงู นอ้ ยกวำ่ ตำ� แหนง่ หลกั ใหเ้ ขำ้ แถวอยดู่ ำ้ นซำ้ ยของตำ� แหนง่ หลกั และกลมุ่ ท ี่ 2 คอื กลมุ่ ทมี่ คี วำมสงู ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน ควา
เทำ่ กบั หรอื มำกกวำ่ ตำ� แหนง่ หลกั ใหเ้ ขำ้ แถวอยดู่ ำ้ นขวำของตำ� แหนง่ หลกั เมอื่ แบง่ กลมุ่ เรยี บรอ้ ย
แลว้ ใหท้ ำ� ซำ้� กำรแบง่ กลมุ่ ในลกั ษณะเชน่ เดยี วกนั นไี้ ปเรอื่ ย ๆ จนกวำ่ จะไมส่ ำมำรถแบง่ กลมุ่ ไดอ้ กี 4. ครใู หน กั เรยี นศกึ ษาความรเู สรมิ จากเนอื้ หาเพอื่
และนกั เรยี นเขำ้ แถวเรยี งตำมลำ� ดบั ควำมสงู จำกนอ้ ยไปมำกไดอ้ ยำ่ งถกู ตอ้ ง โดยจำ� นวนรอบในกำร ขยายความรูของผูเรียน (Com Sci Focus)
ทำ� ซำ้� ขน้ึ อยู่กับจ�ำนวนนกั เรยี นที่เข้ำแถว เรอ่ื ง การเรยี งลาํ ดบั แบบเลือก

Com Sci 5. ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมเกย่ี วกับการเรยี งลําดบั แบบ
เลอื กวา “การเรยี งลาํ ดบั แบบเลอื กเปน ขนั้ ตอน
การเรยี งลาํ ดบั อยางงา ย โดยใชวิธกี ารเปรยี บ-
เทยี บ ซงึ่ จะพบเหน็ โดยมากในวชิ าคณติ ศาสตร
เรื่อง การเรียงลําดับจากมากไปหานอย หรือ
จากนอ ยไปหามาก”

Focus ¡ÒÃàÃÕ§ÅӴѺẺàÅ×Í¡

กำรเรยี งล�ำดบั แบบเลือก (Selection Sort) เป็นกำรเปรยี บเทยี บขอ้ มูลท่อี ยู่ซ้ำยสุดในแถว
กับข้อมลู ทำงด้ำนขวำท่เี ล็กทส่ี ดุ ในแถว โดยมีข้ันตอน ดังนี้
1. หำข้อมูลทเี่ ลก็ ที่สดุ ทำงด้ำนขวำของขอ้ มูลตัวแรก
2. สลับตำ� แหน่งของขอ้ มลู ถ้ำหำเจอ
3. เลอ่ื นไปทำงขวำ 1 ตำ� แหน่ง
4. ทำ� ซ�ำ้ ตำมขอ้ 1.-3. จนกวำ่ จะหมดขอ้ มลู ในแถว

23 78 45 8 56 32 สลบั ข้อมลู 23 กับ 8

8 78 45 23 56 32 สลบั ข้อมูล 78 กบั 23

8 23 45 78 56 32 สลับข้อมลู 45 กบั 32
Sorted array
8 23 32 78 56 45 สลับขอ้ มลู 78 กับ 45

Sorted array
8 23 32 45 56 78 ไม่มีการสลับข้อมูล

Sorted array
8 23 32 45 56 78

หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา9

ขอ สอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู

ขอใดใชแนวคิดการออกแบบขั้นตอนในการแกปญ หา ครอู าจจะอธิบายเร่อื ง การเรียงลําดบั เพม่ิ เติม เพอ่ื เสริมความรใู หน ักเรยี น
1. จัดหมวดหมสู ตั วทค่ี ลา ยคลึงกัน เพื่อใหงา ยตอการศึกษา ดงั น้ี
2. ศกึ ษาสถานทที่ อ งเทย่ี วในจงั หวดั ทต่ี อ งการเดนิ ทางไปเทย่ี ว
3. แยกจักรยานออกเปนสว นๆ แลวสงั เกตและทดสอบ การเรียงลําดับเปนการจัดการขอมูลท่ีกระทํากันมากในงานประยุกตตางๆ
การทาํ งานของแตล ะองคประกอบ เชน การทําขอมูลนักศึกษามาจัดเรียงลําดับรหัสนักศึกษา เพ่ือนําไปใชใน
4. เม่ือตองการส่ังคอมพิวเตอรใหทํางานบางอยาง ตองเขียน การพมิ พใ บเซน็ ชอื่ เขา หอ งสอบ การเรยี งขอ มลู พนกั งานตามรหสั พนกั งานเพอื่ ให
โปรแกรมคาํ สัง่ เพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานไปตามขนั้ ตอน งา ยตอ ระบบการทาํ งาน สามารถแบง การเรยี งลาํ ดับขอมูลได ดังนี้

(วิเคราะหคําตอบ แนวคิดการออกแบบข้ันตอนการแกปญหา 1. การจดั เรียงลาํ ดบั แบบแทรกใส (Insertion Sort)
คอื การพัฒนาแนวทางแกป ญ หาอยางเปน ขัน้ เปนตอน หรอื สรา ง 2. การเรยี งลาํ ดับแบบเลือก (Selection Sort)
หลักเกณฑขึ้นมาเพื่อดําเนินตามทีละขั้นตอน ดังนั้น การสั่ง 3. การจดั เรียงลาํ ดบั แบบฟองอากาศ (Bubble Sort)
คอมพวิ เตอรใ หท าํ งานตอ งเขยี นโปรแกรมคาํ สงั่ เพอ่ื ใหค อมพวิ เตอร 4. การจดั เรียงลาํ ดบั โดยใชฮปี (Heap Sort)
ทํางานไปตามขน้ั ตอน จงึ เปนการใชแ นวคิดการออกแบบขน้ั ตอน 5. การจัดเรยี งลาํ ดบั โดยการรวมขอ มูลเขาดวยกนั (Merge Sort)
ในการแกปญ หา ดังน้ัน ตอบขอ 4.)
T11

73

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขนั้ สอน 2.2 ตัวอยำ่ งปญ หำกำรจดั เรยี งเสือ้ ผำ ใหห ำง่ำยที่สุด

ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน ควา

6. ครใู หน กั เรยี นศกึ ษาตวั อยา งปญ หาการจดั เรยี ง
เสอื้ ผา ใหห างา ยทส่ี ดุ โดยใชแ นวคดิ เชงิ คาํ นวณ
ตามลาํ ดบั การวเิ คราะหท ้ัง 4 ขอ จากหนังสอื
เรยี น

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา ในกรณนี จ้ี ะยกตวั อยำ่ งกำรจดั เรยี งดว้ ยกำรแบง่ กลมุ่ ประเภทของเสอ้ื ผำ้ เปน็ 2 ประเภทหลกั
ซึ่งแตล่ ะประเภทหลักจะแบง่ เปน็ ประเภทยอ่ ย

แนวคิดเชิงคา� นวณในการแก้ปญหาการจดั เรียงเสือ้ ผา้ ใหห้ าง่ายท่ีสดุ
1. แนวคดิ การแยกยอ่ ย (Decomposition) คอื กำรแตกปญั หำใหญอ่ อกเปน็ ปญั หำยอ่ ย ในทนี่ ี้
ปญั หำใหญ ่ คอื กำรจดั เรยี งเสอ้ื ผำ้ ใหห้ ำงำ่ ยทส่ี ดุ โดยสำมำรถแบง่ ปญั หำออกเปน็ ปญั หำยอ่ ยได ้ ดงั น้ี

ปญหาท่ี 1 หำวัตถุประสงค์หลักในกำรค้นหำว่ำ จะค้นหำจำกคุณสมบัติอะไร
ของเส้อี ผ้ำ เชน่ ประเภท สี เปน็ ต้น เพ่อื นำ� ไปใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในกำรแบง่ กลมุ่ เสือ้ ผ้ำ

ปญ หาท่ี 2 แบ่งกลมุ่ เส้ือผำ้ ที่ได้จำกปญั หำท ี่ 1
ปญหาท่ี 3 จัดเรียงเสอื้ ผำ้ ในแตล่ ะกลุม่ ที่ได้จำกปญั หำท่ี 2

10

เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ

ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับการนําแนวคิดเชิงคํานวณไปใชในการเขียน ขอ ความใดอธบิ ายหลักการของแนวคดิ เชิงนามธรรมไดถูกตอง
โปรแกรม ดงั น้ี 1. การหาความสัมพันธท ่ีเกี่ยวของและเช่ือมโยงกนั
2. ลําดบั ขั้นตอนในการแกปญหาหรือการทาํ งานทช่ี ัดเจน
• การนําแนวคิดเชิงแยกยอย (Decomposition) ไปใชในการเขียน 3. กระบวนการคัดแยกคณุ ลกั ษณะทสี่ าํ คัญออกจาก
โปรแกรม เชน การเขียนโปรแกรมแยกเปนสวนๆ แยกเปนแพ็กเกจ แยกเปน รายละเอียด เพอื่ ใหไ ดอ งคป ระกอบที่จําเปนเพยี งพอ
โมดลู หรือทําระบบเปนเซอรว สิ ยอยๆ หรอื มองเปนเลเยอร 4. การพจิ ารณาเพอื่ แบงปญหาหรืองานออกเปนสวนยอ ย
ทาํ ใหสามารถจัดการกับปญหาหรอื งานไดง ายข้นึ
• การนําแนวคิดการหารูปแบบ (Pattern Recognition) ไปใชในการ (วเิ คราะหค าํ ตอบ แนวคดิ เชงิ นามธรรมเปน แนวคดิ ในการมงุ ความ
เขยี นโปรแกรม เชน เม่ือโปรแกรมมีการทํางานท่ีหลากหลายแบบ แตมรี ปู แบบ
ทแี่ นน อนและซํา้ ๆ กนั จะสามารถยบุ โคด มาอยใู นฟง กช นั เดยี วกนั ได หรอื เขยี น คิดไปท่ีขอ มูลสาํ คัญ และคดั กรองสวนท่ไี มเ กีย่ วของออกไป เพอื่
เปนโปรแกรมวนลปู ใหอ ยใู นลูปเดียวกันได จดจอเฉพาะในสงิ่ ท่ตี อ งการจะทาํ ดงั นั้น ตอบขอ 3.)

T12

74

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

2. แนวคดิ การหารูปแบบ (Pattern Recognition) คือ เข้ำใจรปู แบบของปัญหำ ในกรณีน ้ี ขนั้ สอน
กำรจดั เรียงเสอ้ื ผ้ำใหห้ ำง่ำยทสี่ ุด จะมีรูปแบบ ดงั น้ี
1) หำวัตถปุ ระสงค์หลักในกำรคน้ หำเสอื้ ผ้ำ ดาํ เนนิ การศกึ ษาคน ควา
2) แบ่งกลุ่มเสื้อผ้ำตำมวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั
3) จัดเรยี งเสอ้ื ผำ้ ตำมกลมุ่ 7. ครูสุมนักเรียน 2-3 คน เพ่ือสรุปการจัดเรียง
เสอ้ื ผา ใหห างา ยทส่ี ดุ ตามขนั้ ตอนการวเิ คราะห
3. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) คือ กำรคิดรวบยอดปัญหำ และไม่สนใจส่ิงที่ โดยใชแนวคดิ เชงิ คาํ นวณ
ไมจ่ ำ� เป็น โดยในกำรจัดเรยี งเส้อื ผำ้ ใหห้ ำงำ่ ยทสี่ ุด แนวคดิ หลกั คือ จะตอ้ งหำวัตถุประสงคห์ ลกั
ให้ได้ก่อนเสมอ จำกน้ันจึงจะท�ำกำรแบ่งกลุ่มตำมวัตถุประสงค์หลัก โดยไม่สนใจส่ิงที่ไม่จ�ำเป็น
ซ่งึ ในตวั อยำ่ งน้ี สิง่ ที่ไม่จ�ำเปน็ คือ ยห่ี อ้ และขนำด

4. แนวคดิ การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี (Algorithm Design) ลำ� ดับข้นั ตอนในกำรแก้ไขปญั หำ
มีดงั นี้
1) หำวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ในกำรคน้ หำเสอ้ื ผำ้ โดยตวั อยำ่ งนจ้ี ะคน้ หำจำกประเภทเสอ้ื ผำ้
และสี ตำมลำ� ดับ
2) แบ่งกลมุ่ เสอื้ ผ้ำ โดยแบ่งกลุ่มเสอื้ ผ้ำเป็นกล่มุ เสือ้ และกลุ่มกำงเกงหรือกระโปรง

กลมุ่ เสือ้

กลมุ่ กำงเกงหรือกระโปรง

11หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู

ขอใดคือประโยชนของแนวคิดเชิงนามธรรม ครูอาจอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการนําแนวคิดเชิงคํานวณไปใชในการเขียน
1. ลดข้นั ตอนในการทาํ งานท่มี ีความซ้าํ ซอ นได โปรแกรม ดงั นี้
2. เขาใจปญ หาและมองเหน็ ปญ หาไดช ดั เจนขน้ึ
3. ออกแบบช้นิ งานไดต รงกับสภาพจริงทุกประการ • การนําแนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) ไปใชใ นการเขียนโปรแกรม
4. มองเห็นรายละเอยี ดของสงิ่ ทสี่ นใจไดชัดเจนทกุ สว น เชน โจทยการเขียนโปรแกรมท่ีดูยุงยาก สามารถทําใหงายขึ้นดวยการกําหนด
ลกั ษณะสําคญั ออกมาวาดเปน Object ใช Class diagram ลากเสน แสดงความ
(วเิ คราะหค าํ ตอบ แนวคดิ เชงิ นามธรรม คอื การมุงความคดิ ไป สมั พนั ธก ัน จากนนั้ ก็เรมิ่ เขียนโปรแกรมเปนแบบเชิงวัตถุ
ท่ีปญหาสําคัญ ซ่ึงจะมุงเนนเฉพาะสวนที่สําคัญของปญหา และ
คดั กรองรายละเอยี ดทไี่ มเ กย่ี วขอ งออกไป ซงึ่ จะทาํ ใหเ ขา ใจปญ หา • การนาํ แนวคดิ การออกแบบขนั้ ตอนวธิ ี (Algorithm Design) ไปใชใ นการ
และมองเห็นปญ หาไดช ดั เจนขึ้น ดงั นั้น ตอบขอ 2.) เขยี นโปรแกรม เชน การใชว ธิ ี Dijkstra ในการหาเสน ทางทใี่ กลท ส่ี ดุ ในกราฟจะมี
ขั้นตอนอยา งไรบา ง การคน หาขอมูลแบบ binary search ตองมีขนั้ ตอนอยางไร
บาง

T13

75

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน 3) แบ่งกลุ่มเสื้อเป็นเส้ือยืดกลุ่มหนึ่งกับเสื้อเช้ิตอีกกลุ่มหน่ึง และแบ่งกลุ่มกำงเกง
หรอื กระโปรงเปน็ กำงเกงกลุม่ หนง่ึ กบั กระโปรงอกี กลมุ่ หนง่ึ
สงั เคราะหค วามรู

1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามขอสงสัย
และครูใหความรูเพ่ิมเติมในสวนนั้น หรือให
นกั เรยี นศกึ ษาความรเู พม่ิ เตมิ จากอนิ เทอรเ นต็

2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมท่ีสอดคลองกับ
เน้ือหา โดยใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพ่ือพัฒนา
ความรแู ละทกั ษะการเรยี นรู (Com Sci activity)
โดยใหนักเรียนอธิบายการนําแนวคิดเชิง
คํานวณมาใชแกปญหาของสถานการณท่ี
โจทยกาํ หนด

4) แบง่ กลมุ่ เสอื้ ยดื ตำมส ี แบง่ กลมุ่ เสอื้ เชติ้ ตำมส ี แบง่ กลมุ่ กำงเกงตำมส ี และแบง่ กลมุ่
กระโปรงตำมส ี

12หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา

เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ
หลักการใดในแนวคิดเชิงคํานวณสามารถนํามาใชในการเขียน
ครอู าจเนน ยาํ้ ใหน กั เรยี นเกดิ ความเขา ใจเกย่ี วกบั แนวคดิ เชงิ คาํ นวณอกี ครงั้ โปรแกรมได
ดังน้ี
(วิเคราะหคําตอบ ในการเขียนโปรแกรมสามารถนําหลักการใน
• แนวคดิ เชงิ คํานวณไมไ ดจ าํ กัดอยเู พียงการคดิ ใหเ หมือนคอมพวิ เตอร แนวคิดเชิงคํานวณมาประยุกตใชไดทุกหลักการ โดยหลักการ
• แนวคดิ เชงิ คาํ นวณไมไ ดจ าํ กดั อยเู พยี งการคดิ ในศาสตรข องนกั วทิ ยาศาสตร ในแนวคิดเชงิ คํานวณมีอยู 4 หลักการ คือ แนวคดิ การแยกยอย
คอมพวิ เตอร แตเ ปน กระบวนการคดิ แกป ญ หาของมนษุ ย เพอื่ สง่ั ใหค อมพวิ เตอร แนวคิดการหารูปแบบ แนวคิดเชิงนามธรรม และแนวคิดการ
ทํางาน และชวยแกปญหาตามที่มนษุ ยต องการไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ ออกแบบอัลกอรทิ มึ หรอื แนวคิดการออกแบบข้ันตอนวธิ )ี
• แนวคดิ เชงิ คาํ นวณชว ยทาํ ใหป ญ หาทซี่ บั ซอ นเขา ใจไดง า ยขนึ้ เปน ทกั ษะ
ทีเ่ ปนประโยชนต อทุกๆ สาขาวชิ า และทุกเรื่องในชีวิตประจาํ วนั

T14

76

นาํ สอน สรุป ประเมนิ

ขน้ั สรปุ

สรปุ และประเมนิ คา ของคาํ ตอบ

1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหาเพ่ือให
ผูเรียนไดทบทวนสาระสําคัญประจําหนวย
การเรียนรูท่ี 1 เร่ือง แนวคิดเชิงคํานวณกับ
การแกป ญหา

2. ครูใหนักเรียนตรวจสอบความรู ความเขาใจ
ดวยตนเองจากหนังสือเรียน โดยพิจารณา
ขอความวาถูกหรือผิด หากนักเรียนพิจารณา
ไมถูกตองใหนักเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหา
ตามหวั ขอ ท่กี ําหนดให

Com Sci

activity

แนวคดิ เชงิ ค�ำนวณ

ใหน้ กั เรียนอธิบำยกำรนำ� แนวคิดเชิงคำ� นวณมำใชแ้ กป้ ญั หำของสถำนกำรณ์ตอ่ ไปน้ี
1. แ พทยว์ เิ ครำะหส์ ำเหตกุ ำรปว ยเปน็ โรคฉห่ี นขู องผปู้ ว ยในหมบู่ ำ้ นแหง่ หนง่ึ โดยใชว้ ธิ กี ำรสมั ภำษณผ์ เู้ กย่ี วขอ้ ง

เพอ่ื หำควำมเก่ียวขอ้ งระหว่ำงสภำพแวดล้อมและกำรแพร่ระบำด
2. ส มชำยต้องกำรจะเดินทำงไปยงั เมอื งแซนแฟรนซิสโก ประเทศสหรฐั อเมรกิ ำ โดยตอ้ งกำรเขำ้ ไปเย่ียมชม

สำ� นกั งำนใหญแ่ อปเปล สำ� นักงำนใหญก่ ูเกิล สะพำนโกลเดนเกต และมหำวทิ ยำลัยสแตนฟอร์ด ภำยใน
ระยะเวลำ 2 วนั

ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 2. ทกั ษะกำรคดิ และกำรแก้ปญั หำ 3. ทกั ษะกำรสอื่ สำร หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา
1. ทกั ษะกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ

13

กิจกรรม 21st Century Skills เกร็ดแนะครู

ครใู หน กั เรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 5 คน แลว รว มกนั กาํ หนดปญ หา การยกตัวอยางสถานการณเพ่ือใหนักเรียนนําแนวคิดเชิงคํานวณมาใชใน
และสถานการณ จากนนั้ ใหแตล ะกลุมใชแ นวคิดเชิงคํานวณในการ การแกป ญ หา ครคู วรเรมิ่ ยกตวั อยา งจากสถานการณใ กลต วั ของนกั เรยี นกอ น เชน
แกปญหาสถานการณนั้น แลวสงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้น กิจกรรมที่ทาํ อยูเปน ประจาํ ปญหาท่เี กิดขึ้นภายในชุมชน หรอื บรเิ วณใกลเคียง
เรยี น จากนนั้ ใหเ พอ่ื นกลมุ อนื่ รว มกนั เสนอวา แนวทางการแกป ญ หา ทอ่ี ยอู าศยั สถานทตี่ า งๆ ทอี่ ยภู ายในชมุ ชน หรอื สถานทที่ ม่ี ชี อ่ื เสยี งในประเทศไทย
ทเ่ี พ่ือนนาํ เสนอนัน้ เหมาะสมหรอื ไม ถายังไมเ หมาะสม ใหร วมกัน ท่ีนักเรียนรูจัก เพื่อใหนักเรียนเห็นภาพของปญหาไดชัดเจน และสามารถนํา
เสนอแนวทางการแกป ญ หาจนไดแ นวทางการแกป ญ หาทเี่ หมาะสม แนวคิดเชิงคํานวณมาใชในการแกปญหาไดอยางถูกตองเหมาะสม จากนั้น
ทส่ี ดุ จึงยกตัวอยางในเร่ืองที่ไกลตัวนักเรียนออกไป เพื่อเปนการขยายความรูและ
ความเขาใจของนักเรียน

T15

77

นาํ สอน สรุป ประเมนิ

ขน้ั สรปุ Summary

สรปุ และประเมนิ คา ของคาํ ตอบ แนวคดิ เชิงค�ำนวณ
กบั กำรแกปญหำ
3. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนหนวย
การเรียนรูที่ 1 เร่ือง แนวคิดเชิงคํานวณกับ แนวคดิ เชงิ คำ� นวณ
การแกปญหา เพ่ือวัดความรูที่นักเรียนไดรับ คอื แนวคดิ ในกำรแกป้ ญั หำตำ่ งๆ อยำ่ งเปน็ ระบบ เปน็ กระบวนกำรทมี่ ลี ำ� ดบั ขน้ั ตอนชดั เจน
หลงั จากผานการเรียนรู
โดยกระบวนกำรแก้ปัญหำดงั กลำ่ วน้ี เปน็ กระบวนกำรท่ที ้ังมนุษย์และคอมพิวเตอร์สำมำรถเขำ้ ใจ
4. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัดประจํา รว่ มกันได้ แบ่งออกเปน็ 4 องคป์ ระกอบหลกั ดงั น้ี
หนวยการเรียนรูท่ี 1 โดยใหบันทึกลงในสมุด
และทาํ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง การ แนวคดิ เชิงคํานวณ
แกปญหาโดยใชแนวคดิ เชิงคาํ นวณ เพ่อื ตรวจ
สอบความเขาใจ และนาํ มาสง ในชว่ั โมงถดั ไป 1 แนวคดิ การ 2 แนวคิดการ 3 แนวคิด 4 แนวคดิ การ

ขนั้ ประเมนิ

นาํ เสนอและประเมนิ ผลงาน

ครูประเมินผลโดยการสังเกตการตอบคําถาม
สาํ รวจพฤติกรรมการทาํ งาน และสมุดประจาํ ตวั

แยกย่อย หารปู แบบ เชงิ นามธรรม ออกแบบขน้ั ตอนวิธี
(Decomposition) (Pattern Recognition) (Abstraction) (Algorithm Design)

กำรแตกปัญหำใหญ ่ กำรก�ำหนดแบบแผน กำรหำแนวคิดเชิง กำรออกแบบล�ำดับ
ออกเปน็ ปญั หำย่อย ให้ หรือรูปแบบท่ีมีลักษณะ นำมธรรมหรือแนวคิด ข้ันตอนกำรแก้ปัญหำ
ปญั หำนน้ั มขี นำดเลก็ ลง คลำ้ ยคลงึ กนั จำกปญั หำ รวบยอดของปญั หำ ซง่ึ ด้วยกำรใช้แนวคิดกำร
เพื่อให้สำมำรถจัดกำร แต่ละส่วนย่อยต่ำง ๆ เปน็ กำรกำ� หนดหลกั กำร ออกแบบขนั้ ตอนวธิ ี เปน็
ปัญหำในแต่ละส่วนได้ กลำ่ วคอื ปญั หำยอ่ ยแตล่ ะ ทวั่ ไป มงุ่ เนน้ เฉพำะสว่ น แนวคิดที่สำมำรถน�ำ
ง่ำยขึน้ ปัญหำนั้น สำมำรถใช้ ทสี่ �ำคญั ของปญั หำ โดย ไปใช้ในกำรแก้ปัญหำ
รปู แบบในกำรแกป้ ญั หำ ไม่สนใจรำยละเอียดที่ ที่มีลักษณะแบบเดียว
ที่คลำ้ ยคลงึ กนั ได้ ไมจ่ �ำเป็น กนั ได้

หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา14

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด

ครสู ามารถวดั และประเมนิ ความเขา ใจในเนอ้ื หา เรอื่ ง การแกป ญ หาโดยใช สถานการณใดไมไดนาํ แนวคิดเชิงคํานวณไปประยกุ ตใช
แนวคิดเชิงคาํ นวณ ไดจากชน้ิ งาน เรอื่ ง การแกป ญ หาโดยใชแ นวคิดเชิงคาํ นวณ 1. คน หาสินคาในซูเปอรมารเก็ต
ทนี่ กั เรยี นไดส รา งขน้ึ ในขน้ั ขยายความเขา ใจ โดยศกึ ษาเกณฑก ารวดั และประเมนิ 2. วางแผนเปดรานเครอื่ งเขยี นในยา นโรงเรยี น
ผลจากแบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทอ่ี ยใู นแผนการจดั การเรยี นรู 3. คํานวณสถิตกิ ารทาํ คะแนนของผูเลนบาสเกตบอล
หนวยการเรยี นรูท่ี 1 4. เปดรานขายหนังสอื ติดกับอกี รานหนึ่ง เพราะเห็นวา ขาย
ไดดี
แบบประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) (วเิ คราะหค ําตอบ แนวคดิ เชงิ คาํ นวณเปน แนวคดิ ในการแกป ญ หา

ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอรทิ ึมทใ่ี ชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหา หรอื การทางานทพ่ี บในชวี ิตจริง ตา งๆ อยา งเปน ระบบ มกี ระบวนการเปน ลาํ ดบั ขนั้ ตอนอยา งชดั เจน
ดังน้ัน การเปดรานขายหนังสือตามผูอ่ืน ไมไดนําแนวคิดเชิง
รายการ เกณฑ์การประเมนิ (ระดับคุณภาพ) ระดับ คํานวณมาประยุกตใช ดงั นั้น ตอบขอ 4.)
ประเมนิ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) คณุ ภาพ
1. องค์ประกอบ บอกความหมายของ บอกความหมายของ บอกความหมายของ ไม่สามารถบอก
แนวคิดเชิง องคป์ ระกอบแนวคิด องค์ประกอบแนวคิด องค์ประกอบแนวคดิ ความหมายของ ดมี าก
คานวณ เชงิ คานวณไดด้ มี าก เชงิ คานวณไดด้ ี เชิงคานวณไดค้ ่อนขา้ ง องคป์ ระกอบแนวคิด ดี
2. การแกป้ ัญหา ดี เชงิ คานวณได้ พอใช้
การเข้าแถว สามารถบอกขัน้ ตอน สามารถบอกขน้ั ตอน สามารถบอกขนั้ ตอน ไมส่ ามารถบอกขน้ั ตอน ปรับปรงุ
ตามลาดับ การแกป้ ัญหาการเข้า การแก้ปัญหาการเข้า การแกป้ ัญหาการ การแก้ปญั หาการ
3. การแกป้ ัญหา แถวตามลาดบั ได้ แถวตามลาดบั ได้ดี เขา้ แถวตามลาดับได้ เข้าแถวตามลาดบั ได้
การจัดเรยี ง ดมี าก ค่อนข้างดี ไม่สามารถบอกขัน้ ตอน
เสื้อผ้า สามารถบอกข้นั ตอน สามารถบอกขั้นตอน สามารถบอกข้ันตอน การแก้ปญั หาการ
4. ความสมบรู ณ์ การแกป้ ัญหาการ การแก้ปญั หาการ การแกป้ ญั หาการ จดั เรยี งเสอ้ื ผ้าได้
ของผลงาน จัดเรยี งเส้ือผ้าได้ จัดเรยี งเส้อื ผ้าไดด้ ี จัดเรยี งเส้อื ผ้าได้ ผลงานมคี วาม
5. สง่ งานตรง ดมี าก คอ่ นขา้ งดี ครบถ้วน สมบรู ณ์น้อย
เวลา ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานมคี วาม ส่งภาระงานชา้ กว่า
ครบถว้ น สมบรู ณ์ ครบถว้ น สมบรู ณ์ ครบถ้วน สมบรู ณด์ ี กาหนดเกิน 3 วนั
ดมี าก ค่อนข้างดี เปน็ บางส่วน ข้นึ ไป

สง่ ภาระงานภายใน สง่ ภาระงานช้ากว่า ส่งภาระงานช้ากวา่
เวลาทก่ี าหนด กาหนด 1 วนั กาหนด 2 วัน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

T16 ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
16-20 ดมี าก

10-15 ดี

7-9 พอใช้

1-6 ปรับปรุง

78

แบบฝกหัด 01 02
06 03
รายวิชาพื้นฐาน

04

เทคโนโลยี 05
(วทิ ยาการคาํ นวณ) ม.2ตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วดั
หลักตสัวูตอรยป่ารงับปรงุ ’60
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

แบบฝกึ หัด รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หัด รายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์

ยาการคำนเทวคโณนโลย)ี ( เทคโนโลยี )

ม.1 วทิ ยาการคำนวณ

นอ้ื หาในหนว่ ยการเรยี นรู้ ม. 2
กหดั กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ
หนว่ ยการเรยี นรู้ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
21
ารคดิ เชงิ คำนวณเพอ่ื แกป้ ญั หา กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 )
นระบบ
งความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
มยั สอดคลอ้ งตอ่ การดำรงชวี ติ
ทีมวชิ าการ อจท.
บฝ.เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.1
แบบฝกหดั เลมจรงิ อาจมขี นาดตางไปจากตวั อยางทีเ่ สนอในเลม นี้
00
79
www.aksorn.com 45.-8 8 5 8 6 4 9 1 3 7 4 8 7
































Click to View FlipBook Version