The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rangsan_to, 2022-05-16 05:32:00

คู่มือการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2565

คู่มือการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2565

1

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

หมายเลข หมายเลขเอกสารระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
ดล.ศน.01 โรงเรียนศึกษานารี
ดล.ศน.02
ดล.ศน.03 เอกสาร
ดล.ศน.04 ข้อมลู นักเรยี นรายบุคคล
ดล.ศน.05 บนั ทกึ ประเมนิ SDQ 1) ฉบบั ครู 2) ฉบับนักเรียน 3) ฉบบั ผู้ปกครอง
ดล.ศน.06 สรุปผลการคดั กรอง SDQ
ดล.ศน.07 แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ EQ.
ดล.ศน.08 สรปุ ผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ EQ.
ดล.ศน.09 แบบบนั ทกึ คดั กรองรายบุคคล
ดล.ศน.10 สรุปผลการคดั กรองรายบุคคล
ดล.ศน.11 บันทกึ ลงเวลาโรงเรียน online
ดล.ศน.12 รายงานผลการบันทึกการลงเวลาโรงเรียน
ดล.ศน.13 แบบบนั ทึกการเยยี่ มบา้ นนักเรียน
ดล.ศน.14 รายงานผลการเยยี่ มบา้ นนักเรยี น
ดล.ศน.15 บันทึกการโฮมรมู
ดล.ศน.16 แบบบนั ทกึ การเช็คแถวนักเรียน/บันทกึ กิจกรรมหนา้ เสาธง ออนไลน์
ดล.ศน.17 สรปุ รายงานบันทึกการเขา้ รว่ มกิจกรรมหน้าเสาธง
ดล.ศน.18 แบบบนั ทกึ การให้คาปรกึ ษา
ดล.ศน.19 สรุปสถติ ิรายงานการให้คาปรึกษา
ดล.ศน.20 บนั ทกึ การส่งต่อภายใน
ดล.ศน.21 แบบรายงานแจง้ ผลการชว่ ยเหลอื นกั เรียน
ดล.ศน.22 บันทกึ การส่งต่อนักเรยี น (กรณจี านวนมาก)
ดล.ศน.23 บนั ทึกการสง่ ต่อภายนอก
ดล.ศน.24 รายงานบนั ทึกผลการสง่ ตอ่
ดล.ศน.25 แบบแจง้ ผลการชว่ ยเหลอื นักเรียน
ดล.ศน.26 การจัดกจิ กรรมพบผู้ปกครองชัน้ เรียน Classroom Meeting
แบบบนั ทึกการตดิ ต่อกบั ผู้ปกครองเพ่อื การดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
บนั ทกึ การสง่ ตอ่ นักเรียนเพื่อเลือ่ นระดับชน้ั
การเขียนรายงาน Case Study

2

เอกสารคมู่ ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

3

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

4

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

แผนภูมกิ ารบรหิ ารจัดการ
ระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นของโรงเรยี น

5

เอกสารค่มู ือการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

บทนา
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการหนึ่งใน การบริหารจัดการการศึกษาของโ รงเรียน
ที่จะดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีข้ันตอน วิธีการและเคร่ืองมือการทางานที่ชัดเจน มีครูที่ปรึกษา
เป็นบุคลากรหลักในการดาเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรและเครือข่ายที่เก่ียวข้องท้ังภายใน
และภายนอกโรงเรียน อาทิ คณะกรรมการโรงเรียนขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหาร ครูทุกคน ฯลฯ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) จึงได้มีการกาหนดนโยบายสาคัญให้โรงเรียนในสังกัด
ทุกแห่งจัดให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และดาเนินการอย่างจริงจัง ต่อเน่ือง เพ่ือให้เกิดความย่ังยืน
นักเรียนทุกคนจะต้องได้รับการดูแล ช่วยเหลือ พิทักษ์ ปกป้อง คุ้มครองอย่างรอบด้านด้วยกระบวนการ
ท่ีถูกตอ้ งเหมาะสมทนั การณ์ ได้รบั การพัฒนาในทกุ มิติ เพอื่ ใหเ้ ปน็ คนดี มคี วามสุข และปลอดภัยในสภาพสงั คม
ปัจจบุ นั

กระบวนการดาเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นความรับผิดชอบของครูท่ีปรึกษา
ตลอดกระบวนการ โดยมีการประสานงานหรือรับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ครูท่ีเกี่ยวข้องรวมทั้งผู้ปกครอง
ซ่ึงมวี ิธกี ารและเครอ่ื งมือตัวอยา่ งสรปุ ได้ ดงั น้ี

แนวปฏิบตั ขิ องโรงเรียนเรื่องกระบวนการพัฒนาการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน

1. เตรยี มการและวางแผนการดาเนินงาน

แต่งตัง้ คณะกรรมการ ดงั น้ี

1. คณะกรรมการอานวยการ (ทมี นา) ได้แก่

1.1 ผอู้ านวยการโรงเรยี น เป็น ประธานกรรมการ

1.2 คณะกรรมการสถานศึกษา เปน็ กรรมการ

1.3 เครอื ข่ายผูป้ กครอง เป็น กรรมการ

1.4 ผ้แู ทนผ้ปู กครอง/ชุมชน เปน็ กรรมการ

1.5 ผู้แทนทางศาสนา เป็น กรรมการ

1.6 ผู้แทนตารวจ เปน็ กรรมการ

1.7 ผแู้ ทนสภานกั เรียน เป็น กรรมการ

2. คณะกรรมการประสานงาน (ทมี ประสาน) ไดแ้ ก่

2.1 รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารงานบคุ คล เปน็ ประธานกรรมการ

2.2 รองผ้อู านวยการฝา่ ยตา่ ง ๆ เป็น กรรมการ

2.3 ผูช้ ่วยรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล เป็น กรรมการ

2.4 คณะกรรมการสถานศึกษา เปน็ กรรมการ

2.5 คณะกรรมการสมาคมฯ เปน็ กรรมการ

2.6 เครือขา่ ยผปู้ กครอง เปน็ กรรมการ

2.7 หัวหนา้ งานประกันคุณภาพการศึกษา เป็น กรรมการ

2.8 หวั หน้างานอนามัย เป็น กรรมการ

2.9 หวั หนา้ งานพัฒนาบุคลากร เปน็ กรรมการ

6

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน | โรงเรียนศึกษานารี

2.10 หัวหน้างานสารสนเทศ เปน็ กรรมการ

2.11 หัวหนา้ กล่มุ ส่งเสริมกิจการนักเรยี น เป็น กรรมการ

2.12 หัวหน้างานแผนงาน/งานเชดิ ชูเกยี รติ เป็น กรรมการ

2.13 หัวหนา้ งานวจิ ัยในชั้นเรยี น เป็น กรรมการ

2.14 หัวหนา้ งานยาเสพตดิ เอดส์และอบายมุข เป็น กรรมการ

2.15 หวั หน้างานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น เปน็ กรรมการและเลขานุการ

2.16 หวั หน้างานแนะแนว เปน็ กรรมการและ

ผูช้ ่วยเลขานกุ าร

3. คณะกรรมการดาเนนิ งาน (ทมี ทา) ไดแ้ ก่

3.1 รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารงานบคุ คล เป็น ประธานกรรมการ

3.2 หัวหน้างานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น เปน็ รองประธานกรรมการ

3.3 ผู้ชว่ ยรองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล เป็น กรรมการ

3.4 หวั หนา้ ระดับชัน้ เป็น กรรมการ

3.5 รองหวั หน้าระดับช้นั เป็น กรรมการ

3.6 ครูทป่ี รกึ ษา เปน็ กรรมการ

3.7 ครูแนะแนว เปน็ กรรมการและเลขานุการ

หมายเหตุ ปรบั เปลี่ยนคณะกรรมการได้ตามความเหมาะสมและบริบทของโรงเรียน

วเิ คราะห์สภาพความพร้อมพน้ื ฐานของโรงเรยี น และจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงาน โดย
1. ประชมุ คณะกรรมการประสาน (ทีมประสาน)
2. วิเคราะหส์ ภาพพนื้ ฐานของโรงเรียน โดยใชแ้ บบประเมิน เพื่อศกึ ษาจุดอ่อน จุดแขง็

ของบุคลากรในโรงเรยี น
3. วิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบประเมิน เพื่อจัดทาโครงการ จัดทาปฏิทนิ การปฏิบัตงิ าน

การทาเอกสารคู่มอื ตา่ ง ๆ
4. ระบหุ นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการดาเนินงานของคณะกรรมการประสาน
5. วางรูปแบบการกากบั ติดตาม ประเมินผล การสรปุ ผล และรายงานผลการดาเนินงาน

2. ปฏบิ ัติตามแผน
สร้างความตระหนักและความเขา้ ใจใหแ้ ก่บคุ ลากร โดยคณะกรรมการทมี ประสานต้องดาเนินการ

ดังน้ี
1. ประชาสมั พนั ธ์ใหผ้ เู้ กีย่ วข้องรบั ทราบอย่างตอ่ เน่ือง
2. ประชมุ ชแี้ จง
3. ฝกึ อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร

- ดาเนนิ การตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ซึ่งแบง่ ชนั้ ตอนดาเนนิ การออกเป็น

7

เอกสารคู่มือการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรียนศกึ ษานารี

กระบวนการดาเนินงาน วธิ กี าร เคร่อื งมอื

1. การรู้จกั นักเรยี นเป็นรายบุคคล 1) ระเบยี นสะสม
2) แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเดก็ (SDQ)
1.1 ดา้ นความสามารถ ศกึ ษาขอ้ มูลจาก หรือ
- การเรียน 1) ระเบยี นสะสม 3) อ่ืน ๆ เชน่
- ความสามารถอื่น ๆ 2) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก - แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์
(E.Q.)
1.2 ดา้ นสุขภาพ (SDQ) หรือ - แบบสัมภาษณน์ ักเรยี น
- ร่างกาย 3) อื่น ๆ เชน่ - แบบสมั ภาษณผ์ ปู้ กครองและการ
- จติ ใจ - แบบประเมินความฉลาด เย่ยี มบา้ นนักเรยี น
- แบบบนั ทึกการตรวจสุขภาพ
- พฤติกรรม ทางอารมณ์ (E.Q) ด้วยตนเอง
1.3 ด้านครอบครัว - การสมั ภาษณ์นักเรยี น
- การสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น
- เศรษฐกิจ

- การคุ้มครองนักเรยี น - การเย่ยี มบา้ นนกั เรยี น ฯลฯ
1.4 ด้านอืน่ ๆ

2. การคดั กรองนกั เรยี น

2.1 กลมุ่ ปกติ วเิ คราะหข์ ้อมลู จาก 1) เกณฑ์การคัดกรองนกั เรียน

2.2 กลมุ่ เสีย่ ง 1) ระเบยี นสะสม 2) แบบสรุปผลการคดั กรอง

2.3 กล่มุ มีปญั หา 2) แบบประเมนิ พฤติกรรมเดก็ และชว่ ยเหลอื นักเรียนเปน็ รายบคุ คล

(SDQ) ผา่ น Applicaation Dschool 3) แบบสรุปผลการคัดกรองนกั เรียน

หรอื เปน็ หอ้ งเรียน

3) แหลง่ ข้อมลู อื่น ๆ

3. การสง่ เสรมิ นกั เรยี น (สำหรับนักเรียนทกุ กลมุ่ )

จัดกจิ กรรมต่อไปนี้ 1) แนวทางการจัดกิจกรรมโฮมรมู

1) กจิ กรรมโฮมรูม (Homeroom) ของโรงเรยี น

บันทึกโฮมรูมออนไลน์ 2) แนวทางการจดั กจิ กรรมประชุม

2) ประชมุ ผ้ปู กครอง ช้ันเรยี น ผปู้ กครองช้ันเรยี นของโรงเรียน

(Classroom meeting) หรอื 3) แบบบนั ทกึ /สรุปประเมินผล

3) กจิ กรรมอื่น ๆ ทค่ี รูพจิ ารณา การดาเนินกิจกรรม

วา่ เหมาะสม ในการสง่ เสริมนักเรียน * โฮมรูม

ให้มคี ุณภาพมากขึน้ * ประชุมผู้ปกครองชนั้ เรียน

* อน่ื ๆ

8

เอกสารคู่มือการดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

กระบวนการดาเนินงาน วธิ ีการ เครอ่ื งมอื

4. การป้องกันและแก้ไขปญั หา (จำเปน็ อยำ่ งมำกสำหรบั นกั เรยี นกลุ่มเส่ียง/มปี ญั หำ)

1) ให้การปรึกษาเบอ้ื งตน้ 1) แนวทางการจัดกิจกรรมเพือ่ การ

2) ประสานงานกบั ครูและ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาของนักเรยี น

ผู้เกยี่ วข้องอืน่ ๆ เพื่อการจัดกิจกรรม 2) แบบบนั ทกึ สรุปผลการคัดกรองและ

สาหรับการป้องกันและการช่วยเหลอื ชว่ ยเหลือนักเรียนเป็นรายบคุ คล

แก้ไขปญั หาของนักเรียน 3) แบบบันทึกรายงานผลการดูแล

2.1) กจิ กรรมในห้องเรยี น ช่วยเหลอื นกั เรียน

2.2) กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร

2.3) กิจกรรมเพ่ือนที่ปรึกษา (YC)

2.4) กิจกรรมซ่อมเสรมิ

2.5) กิจกรรมส่อื สารกบั ผู้ปกครอง

5. สง่ ตอ่ 1) บันทกึ การสง่ นักเรียนไปยงั ครูท่ี 1) แบบบนั ทกึ การสง่ ตอ่ ของโรงเรียน
5.1 ส่งต่อภายใน เก่ียวข้องในการช่วยเหลือนกั เรียน 2) แบบรายงานแจ้งผลการช่วยเหลอื
5.2 ส่งตอ่ ภายนอก ตอ่ ไป เช่น ครแู นะแนว ฝา่ ยปกครอง นักเรียน
ครปู ระจาวิชา ครูพยาบาล เปน็ ตน้
ซงึ่ เป็นการสง่ ต่อภายใน

2) บันทกึ การสง่ นักเรียนไปยงั
ผเู้ ช่ียวชาญภายนอกโดยครแู นะแนว
หรือฝ่ายปกครองเปน็ ผู้ดาเนินการ

หมายเหตุ ระดับช้ันต่างๆ สามารถพิจารณาเลอื กใช้วิธกี าร และเคร่ืองมืออ่นื ๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจากทีร่ ะบุ
เพ่ือการดาเนินงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขน้ึ ตามความเหมาะสมของสภาพโรงเรียน

องค์ประกอบของระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน

ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น เปน็ กระบวนการดาเนินงานทม่ี ีองค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ คือ
1. การรูจ้ กั นกั เรยี นเป็นรายบคุ คล
2. การคัดกรองนกั เรียน
3. การสง่ เสริมนกั เรียน
4. การป้องกันและแก้ไขปญั หา
5. การสง่ ต่อ
แต่ละองค์ประกอบของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นดังกล่าว มคี วามสาคัญ มีวธิ ีการและเครอื่ งมือ

ที่แตกต่างกนั ไป แต่มีความสัมพนั ธ์เกย่ี วเน่อื งกนั ซึง่ เอ้ือใหก้ ารดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นของโรงเรียนเป็นระบบ
ท่ีมีประสทิ ธิภาพ

9

เอกสารคูม่ อื การดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน | โรงเรียนศกึ ษานารี

บทบาทภาระหน้าท่ขี องครูท่ปี รึกษาในระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน

1. ดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท้ังการส่งเสริม ป้องกันปัญหาและการช่วยเหลือแก้ไขปัญหา 10
ในดา้ นความสามารถ ดา้ นสุขภาพ และดา้ นครอบครวั หรืออ่นื ๆ

2. ดาเนนิ การดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นตามแนวทางท่ีกาหนด คอื
2.1 การรู้จักนกั เรียนเป็นรายบคุ คล ไดแ้ ก่
- ดา้ นความสามารถ (การเรียน , ความสามารถอนื่ ๆ)
- ด้านสขุ ภาพ (รา่ งกาย ,จิตใจ , พฤตกิ รรม)
- ดา้ นครอบครวั (เศรษฐกจิ , การคุ้มครองนักเรยี น)
- ดา้ นอืน่ ๆ
โดยใชข้ อ้ มลู จาก
1) การสัมภาษณน์ ักเรียนเปน็ รายบุคคล/ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
2) ขอ้ มลู การมาเรยี น
3) การเยย่ี มบ้านนักเรยี น
4) ขอ้ มลู จากระเบยี นสะสม
5) ขอ้ มลู จากแบบประเมินตนเอง (SDQ)
6) แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
7) วิธีการอนื่ ๆ (สนทนา, สัมภาษณ์, การสังเกตพฤติกรรม, ขอ้ มูลจากผู้ท่ีเก่ียวข้อง)
2.2 การคัดกรองนกั เรยี นออกเปน็ 3 กลมุ่ คือ
กล่มุ ปกติ
กลมุ่ เสยี่ ง
กลุ่มมปี ญั หา

ซง่ึ คดั กรองนักเรียนไดจ้ าก
1) ระเบยี นสะสม
2) แบบประเมนิ ตนเอง (SDQ)
3) แบบรายงานการคดั กรองนักเรียนท้งั 7 ด้าน
4) วธิ ีการอ่ืน ๆ (สนทนา, สัมภาษณ์, การสังเกตพฤติกรรม, ขอ้ มูลจากผู้ทเ่ี ก่ยี วข้อง)

2.3 การส่งเสริมนักเรียน โดยใชก้ ิจกรรม ดังนี้
1) กจิ กรรมโฮมรูม
2) การจดั ประชุมผปู้ กครองในช้ันเรียน (Classroom meeting)

2.4 การป้องกันและช่วยเหลือนักเรียน โดยใชก้ ิจกรรม ดังน้ี
1) การให้การปรกึ ษาเบื้องตน้
2) การจดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร
3) การจัดกิจกรรมเพ่ือนชว่ ยเพอื่ น (จบั คู่ Buddy)
4) การจดั กจิ กรรมเพื่อนทป่ี รึกษา (YC)
5) การจัดกจิ กรรมซ่อมเสรมิ
6) การจดั กิจกรรมสื่อสารกบั ผู้ปกครอง เช่น การโทรศัพท์, การเชญิ มาพบ,

การเย่ียมบ้านเพ่ือพบปะผู้ปกครอง เปน็ ตน้

เอกสารคมู่ อื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

เอกสารรายงาน - แบบบนั ทกึ การใหค้ าปรึกษา
- แบบบนั ทกึ การจัดกจิ กรรม
- แบบบนั ทึก/รายงานผลการชว่ ยเหลอื

2.5 การส่งต่อนักเรยี น ใหบ้ คุ คลต่อไปน้ี (กรณีใหก้ ารช่วยเหลือเบอื้ งตน้ แลว้ ยงั ไมด่ ีขน้ึ )
1) ครแู นะแนว (ขอทนุ การศกึ ษา, ให้ความชว่ ยเหลือปญั หาที่ยากแกก่ ารช่วยเหลอื )
2) ครปู กครอง (ปัญหาระเบียบวินัย, ปญั หาดา้ นความประพฤติ เปน็ ต้น)
3) ครูพยาบาล (กรณีปญั หาด้านสขุ ภาพ) ฯลฯ
4) การสง่ ต่อนกั เรยี นภายนอก กรณีไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้

3. รว่ มประชมุ กลุ่มปรกึ ษาปัญหารายกรณี (กรณนี กั เรยี นในความดแู ลมีปัญหาท่ตี ้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ
จะประชมุ รว่ มกบั ผ้เู กยี่ วขอ้ งเพอ่ื ใหก้ ารช่วยเหลือนักเรียน)

4. บันทึกหลักฐานการปฏบิ ตั งิ านและประเมนิ ผลรายงานสง่ หวั หนา้ ระดับ
5. อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายหลักฐานท่ีต้องใช้ในระบบการดูแลช่วยเหลือนั กเรียนสาหรับ
ครูท่ปี รกึ ษา

11

เอกสารคู่มือการดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน | โรงเรียนศกึ ษานารี

12

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

แผนภมู ิงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นที่มาสาย

มาสายครง้ั ที่ 1
- สง่ เอกสารแจ้งการมาสายของนกั เรยี นใหค้ รทู ่ปี รึกษาทราบ เพ่ือให้ครูท่ปี รกึ ษาเตือนนักเรยี น

มาสายครง้ั ที่ 2
- ส่งเอกสารแจง้ การมาสายของนกั เรียนใหค้ รูทีป่ รึกษาทราบ เพื่อให้ครทู ่ีปรึกษาเตือนนกั เรียน

มาสายครง้ั ที่ 3 13
- ส่งเอกสารแจง้ การมาสายของนักเรียนให้ครูทป่ี รึกษาทราบ
- สง่ หนงั สือแจง้ การมาสายของนักเรียนใหผ้ ปู้ กครองทราบ

มาสายครั้งท่ี 4
- ส่งเอกสารแจง้ การมาสายของนกั เรียนใหค้ รูทปี่ รึกษาทราบ
- งานแก้ไขปัญหานักเรยี นมาโรงเรยี นสายสง่ หนังสอื เชญิ ครูทีป่ รึกษาและผู้ปกครอง

มาปรึกษาหารอื เพ่อื ร่วมกันกาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนาสง่ เสรมิ
พฤติกรรม

มาสายคร้ังที่ 5
- ส่งเอกสารแจ้งการมาสายของนักเรียนให้ครูท่ปี รึกษาทราบ
- งานแกไ้ ขปัญหานักเรียนมาโรงเรยี นสายส่งหนังสือเชญิ ครูที่ปรึกษา หัวหนา้ ระดบั และผู้ปกครอง

มาปรึกษาหารอื เพื่อร่วมกันกาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนาสง่ เสริมพฤตกิ รรม
- แจ้งการหักคะแนนความประพฤตินักเรยี นที่มาโรงเรยี นสายโดยเหตอุ นั ไมเ่ หมาะสม

มาสายครัง้ ท่ี 6 ขนึ้ ไป
- งานแก้ไขปัญหานกั เรยี นมาโรงเรียนสาย และงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
หมายเหตุ : นกั เรียนทีม่ าสายตั้งแต่ 4 คร้ังขนึ้ ไป จะได้รับการศกึ ษาของปัญหาการมาสายและดูแล
อย่างใกล้ชิดเป็นรายกรณีพิเศษจากงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง
ครูที่ปรึกษา และครูแนะแนว เพือ่ กาหนดมาตรการในการช่วยเหลือ แก้ไขพฤติกรรมให้ถูกต้อง

แก้ปัญหาตามที่กาหนดแนวทางในการแกป้ ญั หาและพัฒนาส่งเสริมพฤติกรรมอย่างเข้ม

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน | โรงเรียนศึกษานารี

การมาสายของนักเรียน ปีการศึกษา 2565

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ จานวนนกั เรยี น คน ประจาเดือน พฤษภาคม

ที่ ชือ่ – สกลุ สัปดาห์ที่ 1 สปั ดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สปั ดาห์ที่ 4

จ อ พ พฤ ศ จ อ พ พฤ ศ จ อ พ พฤ ศ จ อ พ พฤ ศ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

14

เอกสารคูม่ ือการดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

การสารวจการเข้าห้องเรียนของนักเรยี น

ขน้ั ตอนการสารวจการเขา้ ห้องเรียนของนักเรยี น

1. ครทู ี่ปรึกษาสารวจการเข้าห้องเรยี นของนักเรียนประจาวนั โดยจะตอ้ งรอรับข้อมูล

จากงานมาสาย และงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน ซง่ึ จะแจง้ ให้ทราบ เวลา 15.00 น.

ของทุกวัน

2. ครทู ่ีปรกึ ษาบนั ทึกการเขา้ หอ้ งเรยี นของนักเรียน ดังน้ี

ข หมายถงึ ขาดเรยี น ล หมายถงึ ลาป่วย/ลากจิ

ส1 หมายถึง มาสายในคาบท่ี 1 ก1 หมายถงึ ขอกลบั ก่อนในคาบท่ี 1

ส2 หมายถึง มาสายในคาบที่ 2 ก2 หมายถงึ ขอกลบั กอ่ นในคาบท่ี 2

ส3 หมายถึง มาสายในคาบที่ 3 ก3 หมายถึง ขอกลับก่อนในคาบที่ 3

ส4 หมายถึง มาสายในคาบที่ 4 ก4 หมายถึง ขอกลับก่อนในคาบที่ 4

ส5 หมายถงึ มาสายในคาบท่ี 5 ก5 หมายถึง ขอกลบั กอ่ นในคาบที่ 5

ส6 หมายถึง มาสายในคาบที่ 6 ก6 หมายถงึ ขอกลบั กอ่ นในคาบที่ 6

ส7 หมายถึง มาสายในคาบที่ 7 ก7 หมายถึง ขอกลบั กอ่ นในคาบท่ี 7

ส8 หมายถงึ มาสายในคาบท่ี 8 ก8 หมายถึง ขอกลบั ก่อนในคาบท่ี 8

ส9 หมายถึง มาสายในคาบที่ 9 ก9 หมายถงึ ขอกลบั กอ่ นในคาบที่ 9

ค หมายถึง นักเรียนไปเข้าคา่ ย/ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้

ขข หมายถงึ นักเรียนไปแขง่ ขันภายนอกโรงเรียน

กจ หมายถงึ นกั เรยี นไปรว่ มกจิ กรรมภายนอกโรงเรยี น

3. ครทู ป่ี รกึ ษานาแบบบันทกึ พฤตกิ รรมส่งงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น

ทุกวันศุกร์สุดทา้ ยของเดือน

15

เอกสารค่มู ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี

โรงเรียนศกึ ษานารี

การเขา้ ห้องเรียนของนักเรียน ปกี ารศึกษา 2565

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ จานวนนกั เรยี น คน ประจาเดือน พฤษภาคม

ท่ี ชื่อ – สกลุ สัปดาห์ที่ 1 สปั ดาห์ท่ี 2 สปั ดาห์ท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 4

จ อ พ พฤ ศ จ อ พ พฤ ศ จ อ พ พฤ ศ จ อ พ พฤ ศ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

16

เอกสารคู่มือการดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

การตรวจระเบียบวินยั การแตง่ กายของนกั เรยี น

ขน้ั ตอนการตรวจระเบียบวนิ ัย การแต่งกายของนักเรียน
1. ครูทป่ี รึกษาตรวจระเบียบวินัย การแตง่ กายของนักเรยี นทุกสปั ดาห์สดุ ทา้ ยของเดือน
2. บันทึกผลการตรวจระเบียบวินยั การแต่งกายของนักเรยี น ในแบบบนั ทึกพฤตกิ รรมนักเรียน
3. ครูที่ปรกึ ษานาแบบบันทึกพฤติกรรมสง่ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน
ทกุ วันศกุ รส์ ุดท้ายของเดือน

17

เอกสารคมู่ อื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น | โรงเรียนศกึ ษานารี

โรงเรยี นศกึ ษานารี
การตรวจระเบียบวินยั การแตง่ กายของนักเรียน ปีการศึกษา 2565
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ จานวนนักเรียน คน ประจาเดือน พฤษภาคม

รายการผดิ ระเบยี บ

ทรงผม เครอื่ งแต่งกาย

ท่ี ชือ่ สกลุ ถูกระเบียบ พฤตกิ รรม
ห ้นาสั้น
สไลด์
ซอย
ทาสี
กระโปรง
เส้ือ
รองเ ้ทา/ถุงเ ้ทา
ป้าย ื่ชอ
อ่ืน ๆ

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

() ()
หัวหน้าระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่
()
ครูทีป่ รกึ ษา ม. ................./............

18

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรียนศกึ ษานารี

ศ.น.ป.7

..................................

แบบบันทึกนกั เรยี นผดิ ระเบียบ

วนั ท่ี เดอื น พ.ศ.
ชนั้ ม. เลขท่ี
เรยี น หวั หน้าระดบั ม. และครูทปี่ รึกษา ม. /

ดว้ ย ด.ญ./น.ส.
ซ่ึงเปน็ นกั เรยี นในปกครองของทา่ นผิดระเบยี บ ดังน้ี

 ทรงผม เพราะ 
 เล็บ เพราะ 
 การแต่งกาย เพราะ 
 เครอื่ งประดบั เพราะ 
 ไมใ่ ห้ความร่วมมือในการตรวจระเบียบ 

 อ่นื ๆ เพราะ

จึงแจ้งมาเพื่อทราบ ปรับปรุงแก้ไข และติดตามให้นักเรียนได้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบของ
โรงเรียน และให้หัวหน้าระดับบันทึกการผิดระเบียบของนักเรียนไว้ เพ่ือเป็นหลักฐานในการติดตามความ
ประพฤติ และรวบรวมสถิตติ อ่ ไป

ลงชื่อ ลงช่ือ
นักเรียน ครเู วร/ครูวนิ ยั

ลงช่ือ
(นายอภิเชน เหล่าเจรญิ )

งานควบคุม ดแู ลวินัย และความประพฤตินักเรยี น

19

เอกสารคมู่ ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ชอ่ื – สกุล ชั้น
 การดาเนนิ การแก้ไขปัญหาของครูที่ปรกึ ษา 

ลงชือ่ ลงช่ือ )
( )(
ครูท่ปี รึกษานักเรยี น
// ครูท่ีปรึกษานกั เรยี น
//
 บนั ทกึ ของหวั หน้าระดับ 

ลงชื่อ )
(
หัวหน้าระดบั ช้ัน ม.

(นาส่งและเก็บที่ห้องกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล)

20

เอกสารค่มู อื การดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน | โรงเรียนศึกษานารี

21

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.01

ขอ้ มูลนักเรียนรายบคุ คล รปู ถ่าย

โรงเรียนศึกษานารี

สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1

***********************

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนกรอกขอ้ มูลสว่ นตัว และ กา ✓ ในชอ่ ง  ใหค้ รบถว้ น สมบรู ณ์ ( ขอ้ มลู เหล่านีจ้ ะเก็บไว้เปน็ ความลับ )

1. ประวัติสว่ นตัวนักเรยี น

ช่ือ..........................…...................นามสกุล........................…........ ชั้น ……/….…ช่ือเล่น.........................เลขประจาตัว................

โทรศัพท์..........……............เกิดวันที่...................เดือน............….................พ.ศ.......……..........สถานท่ีเกิดบ้านเลขท่ี......................

หมทู่ ี่........หมู่บ้าน.........……...............ตาบล......................................อาเภอ......................……........จงั หวดั ..........……………..................

อาศยั อยกู่ บั .............….... ระยะทางจากบา้ นถึงโรงเรยี น ประมาณ……………กิโลเมตร ความสามารถ(พเิ ศษ)............................……….

เดินทางมาโรงเรยี นโดย  เดิน  รถจกั รยาน รถจักรยานยนต์  รถรบั สง่  อืน่ ๆ ( ระบุ)…………...…………..…...........…

ชอ่ื ครูท่ีปรกึ ษา1....................................….....……….….......……….........2.................................…....………..............................................

ชื่อบิดา...........................................................................................อายุ.........……..........ปี อาชีพ..............…...………….…......................

ช่ือมารดา................................................…....................................อายุ...........……........ปี อาชพี ................……..................……….......

ทอี่ ยบู่ ิดา/มารดา.............................................................................................................……….......โทรศพั ท์..............................….......

เปน็ บุตรคนที่.......…...........ในจานวนพนี่ ้องรว่ มสายโลหิต..….……........คน เปน็ ชาย....…................คน หญิง...................…......คน

ประกอบอาชีพแล้ว......................คน อยู่ในความอปุ การะของครอบครวั ...........................คน

สถานภาพบดิ า มารดา  อยู่ด้วยกนั  แยกกนั อยู่  หย่ารา้ งกัน  อืน่ ๆ ระบุ......................................................

รายไดข้ องครอบครวั  ตัง้ แต่ 27,000 บาทตอ่ ปีข้ึนไป  20,000 - 26,999 บาทตอ่ ปี  น้อยกวา่ 20,000 บาทต่อปี

ผอู้ อกคา่ ใชจ้ ่ายในการเรียนใหค้ อื .................................………....................……...เก่ยี วขอ้ งเปน็ ........................……….........................

งานอดเิ รกของขา้ พเจา้ ..................................................…………........................................................................................................

หน้าที่รับผิดชอบภายในบ้านทีท่ านอกเหนือการเรียนคือ

1………………………………..………....………...................................……..…..2.................................................……..........................……..

2. ด้านเกี่ยวกับสขุ ภาพ

นา้ หนกั ...................กิโลกรัม สว่ นสงู .................ซม. โรคประจาตวั .......………………...........................................

โรคทีเ่ คยเป็น ...............................................เม่อื ปี พ.ศ. ..........................การรักษา.........................………………..................

ประวตั ิอบุ ัติเหต.ุ ....................…...……….............เม่ือ พ.ศ. ....................สถานทเ่ี ขา้ รบั การรกั ษา..........………....................….

3. ด้านเกยี่ วกบั เศรษฐกจิ

ขา้ พเจ้ามีเงินใช้ จา่ ยในการมาโรงเรยี นประมาณวันละ ......................……….......บาท

ขา้ พเจา้ มงี านพเิ ศษทาคอื …………………..............………………………..………รายไดเ้ ฉลยี่ วนั ละ…..….........……..บาท

ขา้ พเจา้ คิดวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยของขา้ พเจา้  มากเกนิ ไป  พอดี  ไมพ่ อใช้บางครัง้  นอ้ ยเกนิ ไป

4. ดา้ นเกี่ยวกบั สง่ิ แวดลอ้ มในโรงเรยี น และทางบ้าน

บรรยากาศในโรงเรียน  อบอุ่นมาก  อบอุ่นพอควร  หา่ งเหนิ กัน
 สามัคคีกนั  ต่างคนต่างอยู่  แยกกันหลายหมู่

บรรยากาศ  อบอุ่นมาก  อบอนุ่ พอควร  ห่างเหินกัน

ของบ้านข้าพเจ้า  สามัคคีกัน  ต่างคนตา่ งอยู่  ไมล่ งรอยกันทั้งบา้ น  เงยี บเหงานา่ เบอื่

สิง่ ทขี่ า้ พเจา้ อยากให้ครอบครวั ของขา้ พเจ้าปรบั ปรงุ คือ

1............................................................……….......................2…………………………..……………....................…….………….

22

เอกสารค่มู อื การดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรียนศกึ ษานารี

5. ดา้ นเกย่ี วกบั การเรยี น

ปัจจุบันขา้ พเจา้  เรยี นไมเ่ ข้าใจ  เบ่อื เรยี นบางวชิ า  เรยี นไมท่ ันเพอ่ื น

 อยากเลิกเรยี น  ต้องการใหเ้ พือ่ นชว่ ย  ตอ้ งการครูทเ่ี ขา้ ใจและเป็นท่ปี รกึ ษาได้

สาเหตขุ องปัญหาทางการเรยี น เพราะ.........................................………....................................................……….........…….

ผลการเรยี นเฉลยี่

ม. 1 ปีการศึกษา…………………….. ม. 2 ปกี ารศกึ ษา…………………….. ม. 3 ปีการศกึ ษา……………………..

ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2

เกรดเฉลย่ี ………….. เกรดเฉลีย่ ………….. เกรดเฉล่ีย………….. เกรดเฉล่ยี ………….. เกรดเฉลยี่ ………….. เกรดเฉลีย่ …………..

ม. 4 ปกี ารศึกษา…………………….. ม. 5 ปีการศกึ ษา…………………….. ม. 6 ปกี ารศึกษา……………………..

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2

เกรดเฉลยี่ ………….. เกรดเฉลี่ย………….. เกรดเฉล่ีย………….. เกรดเฉล่ีย………….. เกรดเฉลีย่ ………….. เกรดเฉลยี่ …………..

6. ดา้ นเกี่ยวกบั มนุษยสมั พันธ์ และบคุ ลกิ ภาพ

ขา้ พเจา้ มีเพื่อนสนทิ คอื ……………...........…………...................………………………ชั้น….................………………….

เมอ่ื อยู่ในกลุ่มเพ่ือนข้าพเจา้ มกั เปน็  ผ้นู า  ผูต้ าม  ผู้นาบางโอกาสผู้ตามบางโอกาส

ขา้ พเจา้ เข้ากับเพอื่ นได้  ง่าย  คอ่ นข้างงา่ ย  ยาก

เมอ่ื ผู้ใหญใ่ ชง้ านข้าพเจ้ามกั จะ  ทาด้วยความกระตอื รอื ร้น  ทาเพราะเลีย่ งไมไ่ ด้  พยายามหลกี เล่ียง

เมื่อมกี จิ กรรมกลุ่ม ขา้ พเจา้ มกั จะ  ทางานมากกวา่ เพอื่ น  ทางานเท่ากับเพื่อน  ทางานนอ้ ยกวา่ เพอ่ื น

7. ดา้ นเก่ยี วกับสขุ ภาพจติ และคา่ นยิ ม

ขา้ พเจา้ ร้สู ึกวา่ โลกน้ี  น่าอยู่  ไม่นา่ อยู่ ข้าพเจา้ รู้สกึ วา่ ตวั เอง  มีคา่  ไม่มีคา่

ขา้ พเจา้ คดิ วา่ คนทีด่ คี วรมีลกั ษณะ………………………………………………………………........…………………………..

ขา้ พเจา้ คดิ วา่ สังคมที่ดีควรมีลกั ษณะ……………………………………………………………………………………………..

8. เปา้ หมายของชวี ติ ในอนาคต

ขา้ พเจ้าอยากประกอบอาชีพ..........................................เพราะ...............................................……………………………...

9. ปญั หาทขี่ ้าพเจา้ กาลังประสบอยูใ่ นขณะนี้

9.1  เร่อื งครอบครวั 9.6  เรื่องการวางตวั ในสังคม

9.2  เรื่องการเรียน 9.7  เรอื่ งการใช้เวลาวา่ ง

9.3  เรือ่ งสุขภาพ 9.8  เรื่องการเลอื กอาชีพ

9.4  เรอ่ื งเศรษฐกจิ 9.9  เรือ่ งการเลอื กศกึ ษาตอ่

9.5  เรอ่ื งการคบเพือ่ น 9.10  เรื่องการปรบั ตัวเข้ากับคร-ู อาจารยใ์ นโรงเรียน

ถา้ ต้องการความชว่ ยเหลอื / ปรกึ ษา ขา้ พเจา้ ตอ้ งการความช่วยเหลอื / ปรึกษา จาก
 บดิ า  มารดา  ครแู นะแนว  ครูทป่ี รกึ ษา  เพ่อื น  อืน่ ๆ (โปรดระบุ)...........................

ลงชอ่ื ……………………………………..ผกู้ รอกขอ้ มูล
(…………………………………….)

วันที่…….……..เดือน……..…………………พ.ศ……..………

23

เอกสารคมู่ อื การดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.02

24

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.02/1

แบบประเมินพฤติกรรมเดก็ (SDQ) (ฉบับครเู ป็นผู้ประเมนิ นกั เรยี น)

ชือ่ (ด.ช.,ด.ญ.,นาย,นางสาว).............................................................................. ชัน้ ....../....เลขท่ี....วนั / เดือน / ปเี กดิ ....................
**************************************************

คาช้แี จง ใหท้ าเคร่อื งหมาย ในช่องทา้ ยแตล่ ะข้อใหค้ รบทุกขอ้ กรณุ าตอบใหต้ รงกบั ลักษณะของเด็กในชว่ ง 6 เดอื นทีผ่ ่านมา

ความคดิ เห็น สาหรับครทู ี่ปรกึ ษา
รวมคะแนน
ข้อ พฤตกิ รรมประเมนิ ไม่จรงิ ค่อนขา้ ง จริง ดา้ นที่
จรงิ
1 ห่วงใยความรู้สึกคนอื่น 12345
2 อยไู่ มน่ ง่ิ นั่งนง่ิ ๆ ไม่ได้
3 มักจะบน่ วา่ ปวดศรี ษะ ปวดท้อง จัดอย่ใู นกลุม่ ……………………………...
4 เตม็ ใจแบง่ ปันสง่ิ ของให้เพอ่ื น (ขนม, ของเล่น, ดินสอ เป็นต้น)
5 มักจะอาละวาด หรือโมโหร้าย
6 ค่อนขา้ งแยกตวั ชอบเล่นคนเดียว
7 เช่ือฟัง มักจะทาตามท่ผี ใู้ หญต่ อ้ งการ
8 กงั วลใจหลายเรอ่ื ง ดูกังวลเสมอ
9 เป็นท่ีพึง่ ไดเ้ วลาทคี่ นอ่ืนเสยี ใจ อารมณ์ไมด่ ี หรอื ไม่สบายใจ
10 อยไู่ มส่ ขุ วนุ่ วายอยา่ งมาก
11 มีเพื่อนสนิท
12 มกั จะมเี ร่อื งทะเลาะววิ าทกบั เด็กอนื่ หรอื รงั แกเด็กอน่ื
13 ดูไมม่ คี วามสขุ ท้อแท้
14 เปน็ ท่ชี ่ืนชอบของเพ่ือน
15 วอกแวกงา่ ย สมาธิส้ัน
16 เครยี ดไมย่ อมห่างเวลาอยใู่ นสถานการณท์ ไ่ี มค่ นุ้ และขาดความ

ม่นั ใจในตนเอง
17 ใจดกี บั เดก็ ทเ่ี ล็กกว่า
18 ชอบโกหก หรอื ขโี้ กง
19 ถูกเด็กคนอ่ืนลอ้ เลียนหรือรังแก
20 ชอบอาสาช่วยเหลือผู้อ่ืน (พ่อ, แม่, ครู, เด็กคนอ่นื )
21 คดิ กอ่ นทา
22 ขโมยของทีบ่ ้าน ที่โรงเรียนหรือทีอ่ ่ืน
23 เขา้ กบั ผ้ใู หญไ่ ดด้ ีกวา่ เดก็ วัยเดียวกนั
24 ขก้ี ลัว รสู้ กึ หวาดกลวั ไดง้ า่ ย
25 ทางานไดจ้ นเสรจ็ มคี วามตั้งอกตั้งใจในการทางาน

รวมคะแนนแต่ละดา้ น
การแปลผล

รวมคะแนนการแปลผล ดา้ นท่ี 1-4 ได้…………………..คะแนน

คะแนนดา้ นท่ี 5 ได้……………..…..คะแนน มีจดุ แข็ง ( 4 - 10 ) ไมม่ จี ดุ แข็ง (0 -3)

25

เอกสารคมู่ อื การดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน | โรงเรยี นศึกษานารี

(ด้านหลัง)

ฉบบั ครูประเมิน

โดยรวมคุณคิดวา่ เดก็ มีปญั หาในดา้ นใดด้านหนงึ่ ตอ่ ไปนห้ี รือไม่

1. ดา้ นอารมณ์ ด้านสมาธิ ด้านพฤติกรรม หรอื ความสามารถเข้ากบั ผูอ้ ่นื

ไม่ ใช่ มีปญั หาเล็กนอ้ ย

ใช่ มปี ญั หาชัดเจน ใช่ มปี ัญหาอย่างมาก

ถ้าตอบวา่ “ไม่” ไมต่ อ้ งตอบขอ้ ตอ่ ไป

ถา้ คณุ ตอบว่า “ใช่” กรุณาตอบข้อตอ่ ไปนี้

2. ปญั หานีเ้ กิดขน้ึ มานานเท่าไหรแ่ ลว้

นอ้ ยกว่า 1 เดอื น 1 – 5 เดือน

6 – 12 เดอื น มากกวา่ 1 ปี

*3. ปัญหานีท้ าให้เดก็ รสู้ กึ ไมส่ บายใจหรือไม่ ไม่เลย เลก็ น้อย ค่อนขา้ งมาก มาก คะแนน

*4. ปัญหานี้รบกวนชวี ติ ประจาวันของเดก็ ในด้านต่าง ๆ ต่อไปนหี้ รอื ไม่

รายการ ไมเ่ ลย เล็กนอ้ ย ค่อนขา้ งมาก มาก คะแนน

การคบเพือ่ น

การเรยี นในหอ้ งเรยี น

5. ปญั หาของเดก็ ทาใหค้ ุณหรอื ช้ันเรยี นเกดิ ความยงุ่ ยากหรือไม่ เล็กนอ้ ย
ไม่เลย มาก
คอ่ นข้างมาก

ลงช่อื …………………………………………..
ครูผสู้ อน / ครูทป่ี รกึ ษา / อน่ื ๆ (โปรดระบุ) ……………………………………………….

วนั ที่ ……… เดอื น …………………………….. พ.ศ. …………….

คะแนนรวมแบบประเมินด้านหลัง แปลผล ……………………………….

26

เอกสารคมู่ อื การดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน | โรงเรียนศึกษานารี

ดล.ศน.02/2

แบบประเมนิ พฤติกรรมเด็ก (SDQ) (ฉบบั นักเรยี นประเมินตนเอง)

ชือ่ (ด.ช.,ด.ญ.,นาย,นางสาว).............................................................................. ชน้ั ....../....เลขที่....วนั / เดือน / ปีเกดิ ....................
**************************************************

คาช้ีแจง ให้ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งท้ายแตล่ ะขอ้ ใหค้ รบทุกขอ้ กรุณาตอบให้ตรงกบั ลักษณะของเด็กในชว่ ง 6 เดอื นท่ผี ่านมา

ความคดิ เหน็ สาหรบั ครทู ีป่ รึกษา
รวมคะแนน
ข้อ พฤติกรรมประเมิน คอ่ นข้าง
จริง ด้านท่ี
ไม่จรงิ จริง
12345

1 ฉันพยายามทาตัวดีกบั คนอื่น ฉันใส่ใจความรสู้ กึ ของคนอื่น

2 ฉนั อยไู่ มน่ ง่ิ ฉันนง่ั น่ิง ๆ ไมไ่ ด้

3 ฉนั ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง หรือไมส่ บายบ่อย ๆ

4 ฉนั เต็มใจแบง่ ปนั ส่งิ ของให้เพ่ือน (ขนม, ของเล่น, ดินสอ เป็นต้น)

5 ฉนั โกรธแรง และมักอารมณเ์ สีย

6 ฉันชอบอยกู่ ับตัวเอง ฉันชอบเล่นคนเดยี วหรอื อยูต่ ามลาพัง

7 ฉันมักทาตามท่ีคนอืน่ บอก

8 ฉนั ขีก้ งั วล

9 ใคร ๆ กพ็ ง่ึ ฉันได้ ถ้าเขาเสยี ใจ อารมณไ์ มด่ ี หรือไม่สบายใจ

10 ฉันอยู่ไมส่ ขุ วุ่นวาย

11 ฉนั มเี พอ่ื นสนทิ

12 ฉนั มเี ร่ืองทะเลาะววิ าทบอ่ ย ฉันทาให้คนอืน่ ทาอยา่ งท่ฉี นั ต้องการได้

13 ฉันไมม่ ีความสุข ทอ้ แท้ ร้องไหบ้ อ่ ย ๆ

14 เพ่อื น ๆ สว่ นมากชอบฉัน

15 ฉันวอกแวกง่าย ฉนั รสู้ กึ ว่าไมม่ สี มาธิ

16 ฉันกังวลเวลาอยใู่ นสถานการณ์ท่ไี ม่คุ้น และเสยี ความม่นั ใจในตนเองงา่ ย

17 ฉนั ใจดกี บั เดก็ ทเี่ ลก็ กว่า

18 มคี นวา่ ฉันโกหก หรือขี้โกงบอ่ ย ๆ

19 เดก็ ๆ คนอืน่ ล้อเลยี น หรอื รงั แกฉนั

20 ฉนั มักจะอาสาช่วยเหลือผอู้ ่นื (พอ่ แม่, ครู, เพ่อื น, เดก็ คนอ่ืน ๆ เป็นต้น)

21 ฉนั คิดกอ่ นทา

22 ฉันเอาของคนอื่นในบ้าน ทโี่ รงเรยี นหรอื ทอ่ี ่ืน

23 ฉันเขา้ กบั ผู้ใหญไ่ ดด้ กี ว่ากบั เดก็ ในวัยเดยี วกัน

24 ฉนั ข้ีกลวั รูส้ กึ หวาดกลัวได้ง่าย

25 ฉนั ทางานไดจ้ นเสรจ็ ความตงั้ ใจในการทางานของฉันดี

รวมคะแนนแต่ละดา้ น

การแปลผล

รวมคะแนนการแปลผล ด้านที่ 1-4 ได้…………………..คะแนน จดั อย่ใู นกล่มุ ……………………………...

คะแนนด้านท่ี 5 ได้……………..…..คะแนน มจี ดุ แขง็ (4 - 10) ไม่มจี ดุ แข็ง (0 - 3)

27

เอกสารคมู่ ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น | โรงเรียนศึกษานารี

(ดา้ นหลงั )

ฉบับนกั เรยี น

โดยรวมเธอคิดวา่ ตวั เองมีปัญหาในดา้ นใดด้านหนง่ึ ตอ่ ไปน้ีหรือไม่
1. ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสมาธิ ด้านพฤติกรรม หรอื ความสามารถเขา้ กับผ้อู ื่น

ไม่ ใช่ มปี ัญหาเลก็ น้อย

ใช่ มปี ญั หาชัดเจน ใช่ มปี ญั หาอยา่ งมาก
ถา้ ตอบวา่ “ไม่” ไมต่ ้องตอบขอ้ ตอ่ ไป
ถา้ คณุ ตอบวา่ “ใช่” กรณุ าตอบขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1 – 5 เดอื น
2. ปัญหานี้เกดิ ขนึ้ มานานเท่าไหรแ่ ลว้ มากกว่า 1 ปี
เล็กนอ้ ย
นอ้ ยกว่า 1 เดอื น
6 – 12 เดอื น
*3. ปญั หานีท้ าให้เธอรสู้ กึ ไมส่ บายใจหรอื ไม่
ไม่เลย

ค่อนขา้ งมาก มาก คอ่ นข้างมาก มาก
*4. ปญั หานี้รบกวนชีวติ ประจาวนั ของเธอในดา้ นต่าง ๆ ตอ่ ไปนี้หรือไม่ เลก็ น้อย

ไมเ่ ลย

ความเป็นอยู่ท่บี ้าน
การคบเพ่ือน
การเรยี นในหอ้ งเรียน

กจิ กรรมยามว่าง
5. ปัญหาน้ที าให้คนรอบข้างเกิดความยงุ่ ยากหรือไม่ ( ครอบครัว เพอ่ื น ครู เปน็ ตน้ )

ไมเ่ ลย เล็กนอ้ ย

ค่อนขา้ งมาก มาก

ลงชื่อ…………………………………………..

คะแนนรวมแบบประเมนิ ด้านหลัง แปลผล ……………………………….

28

เอกสารค่มู อื การดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรียนศึกษานารี

ดล.ศน.02/3

แบบประเมินพฤติกรรมเดก็ (SDQ) (ฉบับผูป้ กครองเป็นผปู้ ระเมินนกั เรียน)

ช่อื (ด.ช.,ด.ญ.,นาย,นางสาว).............................................................................. ช้นั ....../....เลขท่ี....วนั / เดอื น / ปีเกดิ ....................
**************************************************

คาชี้แจง ใหท้ าเคร่อื งหมาย ในช่องทา้ ยแตล่ ะขอ้ ใหค้ รบทกุ ข้อ กรุณาตอบใหต้ รงกบั ลกั ษณะของเด็กในชว่ ง 6 เดอื นท่ีผา่ นมา

ความคิดเหน็ สาหรบั ครทู ี่ปรึกษา
รวมคะแนน
ขอ้ พฤติกรรมประเมิน
ไม่ ค่อนข้าง จรงิ 1 ด้านท่ี 5
1 หว่ งใยความรสู้ ึกคนอื่น จรงิ จริง 234
2 อยไู่ ม่นิง่ นงั่ น่ิง ๆ ไม่ได้
3 มักจะบน่ วา่ ปวดศรี ษะ ปวดท้อง จัดอยู่ในกลุม่ ……………………………...
4 เตม็ ใจแบง่ ปันส่งิ ของใหเ้ พอ่ื น (ขนม, ของเลน่ , ดินสอ เปน็ ตน้ )
5 มกั จะอาละวาด หรอื โมโหร้าย มจี ดุ แขง็ ( 4-10 ) ไมม่ ีจดุ แขง็ (0-3)
6 คอ่ นข้างแยกตวั ชอบเลน่ คนเดียว
7 เชือ่ ฟัง มกั จะทาตามทผ่ี ู้ใหญต่ ้องการ
8 กังวลใจหลายเรอื่ ง ดูกังวลเสมอ
9 เปน็ ท่พี ึง่ ไดเ้ วลาทีค่ นอ่ืนเสยี ใจ อารมณ์ไมด่ ี หรอื ไม่สบายใจ
10 อยู่ไมส่ ุข ว่นุ วายอย่างมาก
11 มีเพ่ือนสนิท
12 มักจะมเี รอ่ื งทะเลาะววิ าทกับเด็กอน่ื หรอื รังแกเดก็ อน่ื
13 ดไู มม่ คี วามสุข ทอ้ แท้
14 เป็นทชี่ ่ืนชอบของเพอื่ น
15 วอกแวกงา่ ย สมาธสิ น้ั
16 เครียดไมย่ อมห่างเวลาอย่ใู นสถานการณ์ทไี่ มค่ ุ้น และขาดความม่นั ใจ

ในตนเอง
17 ใจดีกับเดก็ ทีเ่ ล็กกวา่
18 ชอบโกหก หรอื ขี้โกง
19 ถูกเด็กคนอื่นล้อเลยี นหรอื รังแก
20 ชอบอาสาชว่ ยเหลือผ้อู ่ืน (พ่อ, แม่, ครู, เดก็ คนอ่นื )
21 คดิ กอ่ นทา
22 ขโมยของที่บา้ น ทีโ่ รงเรียนหรอื ท่ีอน่ื
23 เขา้ กับผูใ้ หญไ่ ดด้ ีกว่าเดก็ วัยเดยี วกนั
24 ขก้ี ลวั รูส้ กึ หวาดกลัวไดง้ ่าย
25 ทางานไดจ้ นเสร็จ มคี วามตั้งอกต้งั ใจในการทางาน

รวมคะแนนแตล่ ะดา้ น
การแปลผล

รวมคะแนนการแปลผล ดา้ นท่ี 1-4 ได้…………………..คะแนน

คะแนนดา้ นท่ี 5 ได้……………..…..คะแนน

29

เอกสารคมู่ ือการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน | โรงเรียนศึกษานารี

(ด้านหลัง)

ฉบบั ผู้ปกครองประเมนิ

โดยรวมคุณคดิ วา่ เดก็ มปี ญั หาในดา้ นใดด้านหนง่ึ ต่อไปนห้ี รอื ไม่

1. ดา้ นอารมณ์ ด้านสมาธิ ด้านพฤติกรรม หรอื ความสามารถเข้ากับผูอ้ นื่

ไม่ ใช่ มปี ญั หาเลก็ น้อย

ใช่ มปี ญั หาชดั เจน ใช่ มปี ญั หาอย่างมาก

ถา้ ตอบว่า “ไม่” ไมต่ ้องตอบขอ้ ต่อไป

ถ้าคุณตอบว่า “ใช่” กรุณาตอบข้อต่อไปน้ี

2. ปัญหานเ้ี กดิ ข้นึ มานานเทา่ ไหรแ่ ลว้

น้อยกว่า 1 เดือน 1 – 5 เดือน

6 – 12 เดือน มากกวา่ 1 ปี

*3. ปัญหานท้ี าใหเ้ ด็กรสู้ กึ ไม่สบายใจหรือไม่ ไมเ่ ลย เลก็ นอ้ ย ค่อนขา้ งมาก มาก คะแนน

*4. ปญั หานีร้ บกวนชวี ติ ประจาวนั ของเด็กในด้านต่าง ๆ ตอ่ ไปนห้ี รือไม่

รายการ ไม่เลย เลก็ นอ้ ย คอ่ นขา้ งมาก มาก คะแนน

ความเปน็ อยทู่ ีบ่ า้ น

การคบเพอ่ื น

การเรยี นในห้องเรียน

กจิ กรรมยามวา่ ง

5. ปญั หานี้ทาให้คุณหรือครอบครวั เกิดความยุ่งยากหรอื ไม่ เล็กนอ้ ย
ไมเ่ ลย มาก
คอ่ นข้างมาก

ลงช่อื …………………………………………..
พ่อ / แม่ / อนื่ ๆ (โปรดระบุ) ……………………………………………….

วนั ท่ี ……… เดอื น …………………………….. พ.ศ. …………….

คะแนนรวมแบบประเมนิ ดา้ นหลงั แปลผล ……………………………….

30

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

คู่มือแนะนาการใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ( SDQ )
(สาหรับครู)

คาช้ีแจง
แบบประเมินตนเอง (SDQ) นี้ เป็นแบบประเมินของสานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต

กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาจาก The Strengths and Difficulties Questionaire (SDQ) เป็นเครื่องมือ
ที่ผ่านการวิจัยแล้ววา่ มีประสิทธิภาพในการคัดกรองปัญหาเด็กได้ดี สามารถช่วยเหลือครูในการคัดกรองปญั หา
และให้การช่วยเหลือเบอ้ื งต้นแกเ่ ด็กในโรงเรยี น

แบบประเมินแต่ละชุดมี 2 หน้า หน้าแรกเป็นลักษณะพฤติกรรม จานวน 25 ข้อ ซึ่งมีลักษณะ
ของพฤตกิ รรมทง้ั ด้านบวกและดา้ นลบ โดยสามารถจัดเปน็ กลมุ่ พฤติกรรมได้ 5 ดา้ น ได้แก่

1. พฤติกรรมด้านอารมณ์ (5 ข้อ)
2. พฤติกรรมอยู่ไม่นิง่ / สมาธิส้ัน (5 ข้อ)
3. พฤติกรรมเกเร / ความประพฤติ (5 ข้อ)
4. พฤติกรรมดา้ นความสมั พนั ธ์กบั เพ่ือน (5 ข้อ)
5. พฤติกรรมดา้ นสัมพนั ธภาพทางสังคม (5 ขอ้ )
คะแนนรวมของกลุ่มท่ี 1 - 4 เป็นคะแนนที่แสดงถึงปัญหาพฤติกรรมของเด็กในด้านน้ัน ๆ
(Total Difficulties score) ส่วนคะแนนในด้านที่ 5 เป็นคะแนนท่ีแสดงถึงจุดแข็งของเด็ก (Strength score)
ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการพิจารณานาจุดแข็งมาใช้เพ่ือให้การช่วยเหลือแก้ปัญหาในด้านอื่น ๆ แก่เด็กต่อไป
ในขณะเดียวกันคะแนนด้านสัมพันธภาพทางสังคมก็เป็นตวั บ่งชใี้ หค้ รูได้ทราบถึงความยากง่ายในการแกป้ ญั หา
ถ้าเด็กมีจุดแข็ง (คะแนนด้านสัมพันธภาพทางสังคมสูง) การให้ความช่วยเหลือปัญหาพฤติกรรมจะง่ายกว่า
เดก็ ท่ไี มม่ จี ุดแขง็ (คะแนนด้านสมั พันธภาพทางสังคมต่า) เป็นต้น
หน้าท่ี 2 ในด้านหลังของแบบประเมิน เป็นการประเมินผลกระทบของพฤติกรรมว่ามีความเร้ือรัง
ส่งผลกระทบต่อบุคคลรอบข้างต่อตัวเด็กเอง มีผลต่อสัมพันธภาพทางสังคมและชีวิตประจาวันของเด็ก
มากนอ้ ยอยา่ งไร ซง่ึ ในส่วนนใี้ ช้คาลงสรุปว่า “เป็นระดับความรุนแรงของปญั หา”

ข้อแนะนาในการใช้
1. แบบประเมนิ ตนเอง (SDQ) มี 3 ชุด คือ
1) แบบประเมนิ ท่ีนักเรียนประเมนิ ตนเอง 1 ชดุ
2) แบบประเมินท่คี รูประเมินนกั เรยี น 1 ชุด
3) แบบประเมินที่ผ้ปู กครองประเมนิ นกั เรียน 1 ชดุ
แบบประเมินท้ัง 3 ชุดน้ี มีลักษณะข้อคาถามคล้ายคลึงกับข้อคาถามในแบบประเมินท่ีนักเรียน

ประเมินตนเอง ตลอดจนการตรวจใหค้ ะแนน ยกเวน้ เกณฑ์การแปลผลต่างกันเล็กน้อย
2. ครูที่ประเมินนักเรียน ตลอดจนผู้ปกครองท่ีจะประเมิน ควรรู้จักนักเรียนและมีความใกล้ชิด

กบั นกั เรียนมาระยะเวลาหนึ่ง และควรประเมนิ ท้ัง 25 ขอ้ ในครงั้ เดยี ว
3. ระยะเวลาที่นักเรียนประเมินตนเอง ครูประเมินนักเรียน หรือผู้ปกครองเป็นผู้ประเมินนักเรียน

ควรเปน็ ระยะเวลาท่ใี กลก้ ัน
4. ครั้งแรกอาจให้นักเรียนประเมินตนเองก่อนแล้วครู/ผู้ปกครอง สามารถใช้แบบประเมินตนเอง

ฉบบั ของครู / ผปู้ กครอง ทาการประเมนิ นักเรยี นซ้า เพือ่ ดูผลที่ได้วา่ สอดคลอ้ งกันหรอื ไม่

31

เอกสารค่มู ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน | โรงเรียนศึกษานารี

5. อาจใช้การสัมภาษณ์ หรือเครื่องมืออ่ืนช่วยในการพิจารณาเพิ่มเติม กรณีท่ีเห็นว่าผลท่ีได้ขัดแย้ง
กับความเป็นจริง อย่าลืมว่า ไม่มีเคร่ืองมือชนิดใดสมบูรณ์แบบ ข้ึนอยู่กับสภาพความพร้อมของผู้ตอบ
แบบประเมินเป็นสาคัญแบบประเมินตนเองชุดน้ีเป็นเพียงเครื่องมือเพ่ือช่วยเหลือในการคัดกรองปัญหา
นกั เรยี นเท่าน้ัน ไมใ่ ช่เปน็ ตวั ชน้ี าครใู นการตดั สินปญั หานกั เรยี น

6. การประเมินพฤติกรรมนักเรียน เป็นการประเมินในช่วง 6 เดือนท่ีผ่านมา ยกเว้นการใช้
เพื่อตดิ ตามลักษณะพฤตกิ รรมของนกั เรียน

32

เอกสารคูม่ ือการดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

การให้คะแนนและการแปลผล

(ฉบับนกั เรียนประเมินตนเอง)

1. ด้านหน้า

การให้คะแนนแยกตามรายด้าน

1. ดา้ นอารมณ์

ขอ้ ข้อคาถาม ไม่จริง ค่อนข้างจริง จริง

3. มกั จะบน่ ว่า ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง 0 12

8. กงั วลใจหลายเรือ่ ง ดูกงั วลเสมอ 0 12

13. ดูไมม่ ีความสขุ ท้อแท้ 0 12

16. เครียด ไมย่ อมห่างเวลาอย่ใู นสถานการณ์ทไ่ี ม่คนุ้ 0 12

และขาดความม่นั ใจในตนเอง

24. ข้ีกลวั รู้สึกหวาดกลัวได้ง่าย 0 12

0-5 5-10

รวมคะแนน........................จัดอยู่ในกลมุ่ ปกติ เส่ยี ง/มปี ญั หา

2. ด้านความประพฤติ/เกเร

ข้อ ข้อคาถาม ไม่จรงิ ค่อนขา้ งจรงิ จริง

5. มักจะอาละวาด หรือโมโหร้าย 0 12

7. เชือ่ ฟงั มักจะทาตามที่ผ้ใู หญ่ตอ้ งการ 2 10

12. มักจะมีเรอื่ งทะเลาะววิ าทกบั เดก็ อืน่ หรอื รังแกเด็กอน่ื 0 1 2

18. ชอบโกหก หรือขี้โกง 0 12

22. ขโมยของของท่บี า้ น ท่ีโรงเรียนหรือทอี่ ่ืน 0 12

0-4 5-10

รวมคะแนน........................จัดอยใู่ นกลมุ่ ปกติ เส่ียง/มีปัญหา

3. ด้านพฤติกรรมอยไู่ ม่น่งิ /สมาธิสัน้

ข้อ ข้อคาถาม ไมจ่ รงิ คอ่ นขา้ งจริง จรงิ

2. อยูไ่ ม่น่ิง นงั่ น่ิง ๆ ไมไ่ ด้ 0 12

10. อยไู่ มส่ ุข วนุ่ วายอยา่ งมาก 0 12

15. วอกแวกง่าย สมาธสิ น้ั 0 12

21. คิดก่อนทา 2 10

25. ทางานได้จนเสร็จ มีความตัง้ ใจในการทางาน 2 10

0-5 6-10

รวมคะแนน........................จัดอยู่ในกล่มุ ปกติ เสี่ยง/มปี ญั หา

33

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรยี นศึกษานารี

4. ดา้ นความสัมพนั ธก์ บั เพือ่ น

ข้อ ขอ้ คาถาม ไม่จริง คอ่ นข้างจรงิ จรงิ

6. ค่อนข้างแยกตัว ชอบเลน่ คนเดียว 0 12

11. มีเพื่อนสนทิ 2 10

14. เป็นท่ชี น่ื ชอบของเพื่อน 2 10

19. ถกู เด็กคนอนื่ ลอ้ เลยี น หรอื รังแก 0 12

23. เขา้ กบั ผใู้ หญ่ไดด้ ีกวา่ เดก็ วยั เดียวกัน 0 12

0-3 4-10

รวมคะแนน........................จดั อยใู่ นกลมุ่ ปกติ เสีย่ ง/มปี ัญหา

5. ดา้ นสมั พันธภาพทางสังคม

ข้อ ขอ้ คาถาม ไม่จรงิ คอ่ นขา้ งจรงิ จรงิ

1. ห่วงใยความรสู้ ึกคนอื่น 0 12

4. เตม็ ใจแบ่งปนั สิง่ ของให้เพ่ือน(ขนม, ของเลน่ , ดินสอ เป็นตน้ ) 0 12

9. เปน็ ท่ีพง่ึ ได้เวลาทค่ี นอน่ื เสียใจ อารมณ์ไมด่ ี หรอื ไมส่ บายใจ 0 12

17. ใจดกี บั เด็กท่ีเลก็ กวา่ 0 12

20. ชอบอาสาช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ (พ่อแม,่ คร,ู เดก็ คนอนื่ ) 0 12

4-10 0-3

รวมคะแนน........................จัดอยใู่ นกลมุ่ ปกติ เส่ยี ง/มีปญั หา

สรปุ การให้คะแนนและการแปลผลในภาพรวม (นักเรยี นประเมินตนเอง)

รายการประเมิน ปกติ เสีย่ ง/มีปัญหา

คะแนนรวมพฤตกิ รรมทเี่ ป็นปญั หา 0-16 17-40

(จากคะแนนรวมพฤติกรรม 4 ดา้ น)

คะแนนรวมพฤตกิ รรมแตล่ ะดา้ น

1. คะแนนพฤติกรรมด้านอารมณ์ 0-5 6-10

2. คะแนนพฤติกรรมเกเร/ความประพฤติ 0-4 5-10

3. คะแนนพฤติกรรมอยไู่ ม่นิง่ /สมาธิส้ัน 0-5 6-10

4. คะแนนพฤติกรรมด้านความสัมพนั ธก์ บั เพอื่ น 0-3 4-10

5. คะแนนพฤติกรรมดา้ นสัมพันธภาพทางสงั คม 4-10 ตา่ กวา่ 3ไม่มีจุดแขง็

(คะแนนจดุ แข็ง) เป็นจดุ แขง็

34

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

2. ด้านหลัง

ประเมินว่ามีความเร้ือรัง ส่งผลกระทบต่อบุคคลรอบตัวเด็ก มีผลต่อสัมพันธภาพทางสังคม

และชวี ติ ประจาวันของเดก็

ในการประเมินว่าตัวเองมีปัญหาด้านอารมณ์ ด้านสมาธิ ด้านพฤติกรรม หรือความสามารถเข้ากับ

ผู้อื่นได้

ถ้าตอบว่า “ไม่” ไม่ต้องคิดคะแนนขอ้ ต่อไป

ถ้าตอบว่า “ใช่” ให้พิจารณาแบบประเมนิ ในหวั ข้อต่อไปนี้

- ปญั หานี้ทาให้รสู้ ึกไมส่ บายใจหรือไม่

- ปัญหานร้ี บกวนชีวติ ประจาวนั ในดา้ นตา่ ง ๆ หรอื ไม่

ใน 2 หวั ขอ้ นี้ ถ้าตอบวา่ “ไมเ่ ลย” หรือ “เลก็ นอ้ ย” ให้ 0 คะแนน

“ค่อนข้างมาก” ให้ 1 คะแนน “มาก” ให้ 2 คะแนน ดงั น้ี

ขอ้ ความ ไมเ่ คย เลก็ นอ้ ย ค่อนข้างมาก มาก

ปญั หานท้ี าให้รูส้ กึ ไม่สบายใจ 00 12

ปญั หานร้ี บกวนชีวิตประจาวนั ในดา้ นต่าง ๆ 00 12

ความเปน็ อยู่ทบ่ี ้าน 00 12

การคบเพื่อน 00 12

การเรียนในห้องเรียน 00 12

กจิ กรรมยามว่าง 00 12

สรุปการแปลผลด้านหลงั คะแนน = ปกติ
คะแนนรวม 0 คะแนนข้นึ ไป = เสี่ยง/มีปัญหา
คะแนนรวม 1

35

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น | โรงเรียนศกึ ษานารี

การแปลผลแบบประเมนิ พฤตกิ รรมเดก็ ฉบับครู / ผ้ปู กครองประเมนิ นกั เรียน
คะแนนจากแบบประเมนิ ดา้ นหนา้ (25 ขอ้ )

แบบประเมินพฤตกิ รรมเด็ก ฉบบั ครปู ระเมนิ นักเรียน ปกติ เส่ียง/มีปัญหา

รายการประเมิน 0-15 16-40
0-3 4-10
คะแนนรวม 0-3 4-10
- คะแนนพฤตกิ รรมดา้ นอารมณ์ 0-5 6-10
- คะแนนพฤตกิ รรมเกเร 0-5 6-10
- คะแนนพฤตกิ รรมอยู่ไม่นิง่ 4-10 0-3
- คะแนนพฤตกิ รรมด้านความสัมพันธ์กบั เพื่อน (มีจุดแข็ง) (ไม่มจี ดุ แขง็ )
- คะแนนพฤติกรรมดา้ นสมั พันธภาพทางสังคม

แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก ฉบับผปู้ กครองประเมินนักเรียน ปกติ เสยี่ ง/มีปญั หา

รายการประเมิน 0-15 16-40
0-3 4-10
คะแนนรวม 0-3 4-10
- คะแนนพฤตกิ รรมด้านอารมณ์ 0-5 6-10
- คะแนนพฤตกิ รรมเกเร 0-5 6-10
- คะแนนพฤตกิ รรมอยู่ไมน่ ่งิ 5-10 0-4
- คะแนนพฤตกิ รรมดา้ นความสมั พันธ์กับเพอื่ น (มจี ุดแข็ง) (ไม่มีจุดแขง็ )
- คะแนนพฤตกิ รรมด้านสัมพันธภาพทางสงั คม

36

เอกสารคู่มอื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.04

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ E.Q.

ชือ่ ………………………………………………………………….…..………….ชั้น………/………เลขที่….…….……

ความฉลาดทางอารมณ์ คือ ความสามารถทางอารมณ์ในการดาเนินชีวิตอย่างสร้างสรรค์และมีความสุขการรู้จักความฉลาดทางอารมณ์

ของตนเองเพ่ือพัฒนาและการใช้ศักยภาพตนเองในการดาเนินชีวิตครอบครัว การทางานและการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข

และประสบความสาเร็จ กรมสุขภาพจติ ได้ตระหนกั ถึงความสาคญั ของความฉลาดทางอารมณจ์ งึ ไดส้ รา้ งแบบประเมินเพอ่ื ใช้ประเมนิ ตนเอง

คาแนะนา

แบบประเมินน้ีเป็นประโยคที่มีขอ้ ความเกย่ี วกับอารมณ์และความรู้สกึ ทแ่ี สดงออกในลักษณะต่าง ๆ แม้ว่าประโยคอาจไม่ตรง กับท่ีท่านเป็นอยู่

ก็ตามให้ท่านเลือกคาตอบที่ตรงกับท่านมากที่สุด ไม่มีคาตอบท่ีถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดี โปรดตอบตามความเป็นจริงและตอบทุกข้อ เพื่อท่านจะได้

รู้จักตนเองและวางแผนพฒั นาตนตอ่ ไป มีคาตอบ 4 คาตอบ สาหรับขอ้ ความแต่ละประโยคคอื ไม่จริง จริงบางคร้ัง ค่อนขา้ งจรงิ จรงิ มาก
โปรดใสเ่ คร่ืองหมำย  ในชอ่ งท่ีทำ่ นเหน็ วำ่ ตรงกบั ตัวท่ำนมำกทสี่ ุด

รายการประเมิน ไม่จรงิ จริง ค่อนข้าง จรงิ คะแนน
บางครัง้ จรงิ มาก

1 เวลาโกรธหรอื ไมส่ บายใจ ฉนั รับรู้ได้วา่ เกิดอะไรขนึ้ กบั ฉัน

2. ฉนั บอกไมไ่ ดว้ า่ อะไรทาใหฉ้ นั รสู้ กึ โกรธ

3. เมือ่ ถูกขดั ใจฉันรสู้ ึกหงดุ หงดิ จนควบคุมอารมณไ์ ม่ได้

4. ฉนั สามารถคอยเพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายทพี่ อใจ

5. ฉนั มีปฏิกริ ิยาโตต้ อบปญั หาเพียงเล็กนอ้ ย

6. ฉนั ถกู บังคบั ให้ทาในส่งิ ทไ่ี มช่ อบ ฉันจะอธิบายเหตผุ ลจนผอู้ นื่ ยอมรับได้

รวม

7. ฉันสังเกตได้ เมื่อคนใกลช้ ดิ มอี ารมณเ์ ปลยี่ นแปลง

8. ฉันไมส่ นใจกบั ความทุกข์ของผูอ้ ่นื ทฉ่ี ันไม่รจู้ ัก

9. ฉันไม่ยอมรับในส่ิงทผี่ ู้อน่ื ทาต่างจากทฉี่ นั คิด

10. ฉนั ยอมรับได้วา่ ผ้อู ่นื กม็ เี หตผุ ลทีจ่ ะไมพ่ อใจในการกระทาของฉัน

11. ฉนั รู้สึกวา่ ผอู้ ื่นเรียกร้องความสนใจมากเกินไป

12. แม้จะมภี าระทตี่ ้องทา ฉันยนิ ดีรับฟังความทกุ ขข์ องผู้อื่นทตี่ ้องการความชว่ ยเหลอื

รวม

13. เปน็ เรื่องธรรมดาที่จะเอาเปรยี บผอู้ ่ืนเมือ่ มโี อกาส

14. ฉันเห็นคุณคา่ ในน้าใจทผ่ี ูอ้ ่ืนมีตอ่ ฉนั

15. เมอ่ื ทาผดิ ฉันสามารถกลา่ วคาวา่ “ขอโทษ” ผอู้ น่ื ได้

16. ฉนั ยอมรับข้อผดิ พลาดของผอู้ น่ื ไดย้ าก

17. ถึงแม้จะตอ้ งเสยี ประโยชน์ส่วนตวั ไปบ้าง ฉันกย็ ินดีทีจ่ ะทาเพอ่ื ส่วนรวม

18. ฉนั ร้สู ึกลาบากใจในการทาสิ่งใดสงิ่ หนึง่ เพอ่ื ผอู้ ื่น

รวม

19. ฉันไมร่ ู้ว่าฉนั เก่งเรื่องอะไร

20. แมจ้ ะเปน็ งานยาก ฉนั กม็ น่ั ใจว่าสามารถทาได้

21. เมอ่ื ทาส่ิงใดไมส่ าเร็จ ฉันรู้สกึ หมดกาลงั ใจ

22. ฉันรู้สึกมีคณุ คา่ เมอ่ื ไดท้ าสิง่ ต่าง ๆ อยา่ งเต็มความสามารถ

23. เมอ่ื ต้องเผชิญกับอุปสรรคและความผิดหวัง ฉันจะไมย่ อมแพ้

24. เมือ่ เรม่ิ ทาสิ่งหน่ึงสิ่งใด ฉนั มักทาตอ่ ไปไมส่ าเร็จ

รวม

25. ฉันพยายามหาสาเหตุท่แี ทจ้ ริงของปัญหาโดยไม่คดิ เอาเองตามใจชอบ

26. บอ่ ยคร้ังท่ฉี นั ไมร่ ูว้ า่ อะไรทาให้ฉนั ไม่มคี วามสุข

27. ฉนั รู้สึกว่าการตัดสินใจแกป้ ัญหาเป็นเร่อื งยากสาหรบั ฉนั

28. เมอื่ ตอ้ งการทาอะไรหลายอยา่ งในเวลาเดยี วกัน ฉันตัดสนิ ใจได้ว่าจะทาอะไรกอ่ นหลงั

37

เอกสารคมู่ ือการดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

รายการประเมนิ ไมจ่ ริง จริง คอ่ นข้าง จริง คะแนน
บางครงั้ จรงิ มาก

29. ฉันลาบากใจเมอื่ ต้องอยกู่ บั คนแปลกหนา้ หรอื คนทไ่ี มค่ ้นุ เคย

30. ฉันทนไม่ได้เมอื่ ต้องอยู่ในสงั คมที่มกี ฏระเบียบขัดกบั ความเคยชินของฉนั

รวม

31. ฉนั ทาความรู้จักผอู้ น่ื ไดง้ ่าย

32. ฉันมีเพ่อื นสนทิ หลายคนทีค่ บกันมานาน

33. ฉนั ไมก่ ลา้ บอกความตอ้ งการของฉนั ใหผ้ ูอ้ น่ื รู้

34. ฉันทาในสงิ่ ท่ีตอ้ งการโดยไม่ทาใหผ้ อู้ น่ื เดือดร้อน

35. เป็นการยากสาหรบั ฉนั ทจ่ี ะโต้แย้งกบั ผูอ้ นื่ แม้จะมเี หตผุ ลเพียงพอ

36. เมื่อไมเ่ ห็นด้วยกับผู้อ่นื ฉนั สามารถอธิบายเหตผุ ลที่เขายอมรบั ได้

รวม

37. ฉนั รสู้ กึ ด้อยกวา่ ผูอ้ ่ืน

38. ฉนั ทาหน้าทีไ่ ด้ดี ไมว่ ่าจะอยูใ่ นบทบาทใด

39. ฉันสามารถทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมายไดด้ ีทีส่ ุด

40. ฉันไมม่ ่ันใจในการทางานท่ยี ากลาบาก

รวม

41. แมว้ า่ สถานการณจ์ ะเลวร้าย ฉนั กม็ คี วามหวงั ว่าจะดีขน้ึ

42. ทุกปัญหามกั มที างออกเสมอ

43. เมอื่ มเี ร่ืองทท่ี าใหเ้ ครยี ด ฉนั มกั ปรบั เปลี่ยนใหเ้ ป็นเรื่องผ่อนคลายหรอื สนุกสนานได้

44. ฉนั สนุกสนานทกุ ครั้งกับกจิ กรรมในวันสดุ สัปดาหแ์ ละวนั พักผอ่ น

45. ฉันรู้สึกไมพ่ อใจที่ผ้อู ่ืนไดร้ บั ส่ิงดี ๆ มากกวา่ ฉัน

46. ฉันพอใจกับสง่ิ ท่ีฉันเป็นอยู่

รวม

47. ฉนั ไม่รวู้ ่าจะหาอะไรทาเมอื่ รสู้ ึกเบอ่ื หน่าย

48. เมอื่ วา่ งเวน้ จากภาระหนา้ ที่ ฉนั จะทาในสิง่ ทีฉ่ ันชอบ

49. เม่ือรูส้ ึกไมส่ บายใจ ฉนั มีวธิ ผี ่อนคลายอารมณไ์ ด้

50. ฉนั สามารถผอ่ นคลายตนเองได้ แม้จะเหนด็ เหนอื่ ยจากภาระหน้าท่ี

51. ฉันไม่สามารถทาใจใหเ้ ป็นสขุ ไดจ้ นกว่าจะได้ทุกสิง่ ท่ีตอ้ งการ

52. ฉันมักทุกขร์ อ้ นกับเรือ่ งเล็ก ๆ น้อย ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เสมอ

รวม

ดา้ น ดา้ นย่อย การรวมคะแนน ผลรวมคะแนน / การแปลผล
รวม แปลผล รวม แปลผล รวม แปลผล

1.1 ควบคมุ อารมณ์ รวมขอ้ 1 ถึงข้อ 6

ดี 1.2 เหน็ ใจผอู้ ืน่ รวมข้อ 7 ถึงข้อ 12

1.3 รับผิดชอบ รวมข้อ 13 ถงึ ข้อ 18

2.1 มีแรงจูงใจ รวมข้อ 19 ถึงข้อ 24

เกง่ 2.2 ตัดสินใจและแก้ปัญหา รวมขอ้ 25 ถงึ ข้อ 30

2.3 สัมพนั ธภาพกบั ผูอ้ ืน่ รวมข้อ 31 ถึงข้อ 36

3.1 ภมู ิใจตนเอง รวมขอ้ 37 ถงึ ข้อ 40

สขุ 3.2 พงึ พอใจในชวี ิต รวมข้อ 41 ถงึ ขอ้ 46

3.3 สุขสงบทางใจ รวมข้อ 47 ถงึ ขอ้ 52

38

เอกสารคมู่ ือการดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรียนศึกษานารี

การให้คะแนน แบง่ เป็น 2 กลุ่มในการใหค้ ะแนนดงั นี้

กลมุ่ ที่ 1 ได้แก่ข้อ กล่มุ ที่ 2 ได้แก่ ข้อ

1 4 6 7 10 12 14 15 17 20 22 23 25 28 2 3 5 8 9 11 13 16 18 19 21 24

31 32 34 36 38 39 41 42 43 44 46 48 49 50 26 27 29 30 33 35 37 40 45 47 51 52

แตล่ ะขอ้ ให้คะแนนดงั ต่อไปนี้ แตล่ ะข้อใหค้ ะแนนดงั ต่อไปน้ี

ตอบไม่จริง ให้ 1 คะแนน ตอบไม่จริง ให้ 4 คะแนน

ตอบจรงิ บางครงั้ ให้ 2 คะแนน ตอบจริงบางครง้ั ให้ 3 คะแนน

ตอบคอ่ นขา้ งจริง ให้ 3 คะแนน ตอบค่อนข้างจริง ให้ 2 คะแนน

ตอบจรงิ มาก ให้ 4 คะแนน ตอบจรงิ มาก ให้ 1 คะแนน

กล่มุ ตัวอยา่ งอายุ 12 - 17 ปี

องค์ประกอบ EQ ต่ากวา่ ปกติ เกณฑป์ กติ สงู กว่าปกติ

คะแนน EQ รวม  140 140 – 170 170

1. องค์ประกอบ ดี  48 48 - 58 58

1.1 ควบคมุ อารมณ์  13 13 - 17 17

1.2 เหน็ ใจผูอ้ ่ืน  16 16 - 20 20

1.3 รบั ผดิ ชอบ  16 16 - 22 22

2. องคป์ ระกอบเก่ง  45 45 - 57 57

2.1 มแี รงจูงใจ  14 14 - 20 20

2.2 ตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หา  13 13 - 19 19

2.3 สัมพันธภาพกับผอู้ ืน่  14 14 - 20 20

3. องคป์ ระกอบสขุ  40 40 - 55 55

3.1 ภมู ิใจในตนเอง  9 9 - 13 13

3.2 พึงพอใจในชีวติ  16 16 - 22 22

3.3 สขุ สงบทางใจ  15 15 - 21 21

กราฟความฉลาดทางอารมณ์

0 5 10 15 20 25

ช่วงคะแนนปกติ แตล่ ะด้าน

1.1 ควบคมุ อารมณ์ ช่วงคะแนนปกติ = (13-17)

1.2 เห็นใจผู้อน่ื ชว่ งคะแนนปกติ = (16-20)

1.3 รับผดิ ชอบ ช่วงคะแนนปกติ = (16-22)

2.1 มีแรงจูงใจ ชว่ งคะแนนปกติ = (14-20)

2.2 ตดั สนิ ใจและแก้ปญั หา ช่วงคะแนนปกติ = (13-19)

2.3 สมั พันธภาพกับผอู้ น่ื ช่วงคะแนนปกติ = (14-20)

3.1 ภูมใิ จในตนเอง ช่วงคะแนนปกติ = ( 9-13)

3.2 พึงพอใจในชวี ติ ช่วงคะแนนปกติ = (16-22)

3.3 สขุ สงบทางใจ ชว่ งคะแนนปกติ = (15-21)

หมายเหตุ หมายถงึ คะแนนชว่ งปกติ

39

เอกสารคมู่ ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน | โรงเรียนศึกษานารี

การรวมคะแนน

ด้านดี หมายถงึ ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความตอ้ งการของตนเอง รจู้ ักเห็นใจผูอ้ ่นื

และมีความรับผดิ ชอบต่อสว่ นรวม

ดา้ นเก่ง หมายถงึ ความสามารถในการรจู้ กั ตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแก้ปญั หาและแสดงออก

ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ รวมทงั้ มีสัมพนั ธภาพที่ดีกบั ผอู้ นื่

ดา้ นสขุ หมายถึง ความสามารถในการดาเนนิ ชวี ติ อย่างเป็นสุข

ผลรวมคะแนน / การแปลผล

ดา้ น ดา้ นยอ่ ย การรวมคะแนน รวม แปล รวม แปล รวม แปล
ผล ผล ผล

1.1 ควบคุมอารมณ์ รวมข้อ 1 ถึงข้อ 6

ดี 1.2 เห็นใจผู้อืน่ รวมขอ้ 7 ถึงข้อ 12

1.3 รบั ผิดชอบ รวมขอ้ 13 ถงึ ข้อ 18

2.1 มีแรงจูงใจ รวมขอ้ 19 ถงึ ข้อ 24

เก่ง 2.2 ตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหา รวมข้อ 25 ถงึ ขอ้ 30

2.3 สัมพนั ธภาพกับผู้อื่น รวมข้อ 31 ถึงข้อ 36

3.1 ภมู ิใจตนเอง รวมข้อ 37 ถึงข้อ 40

สุข 3.2 พงึ พอใจในชีวิต รวมข้อ 41 ถึงข้อ 46

3.3 สุขสงบทางใจ รวมขอ้ 47 ถึงข้อ 52

หลังจากรวมคะแนนแต่ละด้านเสร็จแลว้ นาคะแนนท่ีไดไ้ ปทาเครอื่ งหมาย  ลงบนเสน้ ประ

ในกราฟความฉลาดทางอารมณ์แลว้ ลากเส้นให้ต่อกัน และพจิ ารณาดวู า่ มีคะแนนดา้ นใดทสี่ งู หรือต่ากวา่

ช่วงคะแนนปกติ

ผลท่ีได้เป็นเพียงการประเมินโดยสังเขป คะแนนที่ได้ต่ากว่าช่วงคะแนนปกติ ไม่ได้หมายความว่า

ท่านหรอื เดก็ มคี วามผดิ ปกติในดา้ นน้ัน เพราะด้านต่าง ๆ เหลา่ นี้เปน็ สงิ่ ท่มี กี ารพัฒนาและมกี ารเปลยี่ นแปลง

ตลอดเวลา ดังนั้นคะแนนท่ีได้ต่าจึงเป็นเพียง ข้อเตือนใจให้ท่านหาแนวทางในการพัฒนาความฉลาด

ทางอารมณใ์ นดา้ นนนั้ ๆ ให้มากยงิ่ ขน้ึ

สาหรับรายละเอียดและแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์มีอยู่ในหนังสืออีคิว : ความฉลาด

ทางอารมณ์ หรือคู่มือความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต รวมทั้งท่านสามารถเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา

ความฉลาดทางอารมณ์ทท่ี างกรมสุขภาพจติ หรือหน่วยงานอืน่ ที่เกี่ยวข้องจัดขึน้

40

เอกสารคมู่ ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรียนศกึ ษานารี

ดล.ศน.04

41

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี

เกณฑก์ ารคดั กรองนักเรียน

การคัดกรองนักเรียนเพ่ือจัดเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหานั้น ครูที่ปรึกษาสามารถวิเคราะห์

ข้อมูลจากระเบียนสะสม SDQ และอื่น ๆ ท่ีจัดทาเพ่ิมเติม และโรงเรียนจาเป็นต้องประชุมครูเพ่ือพิจารณา

เกณฑ์การคัดกรองนักเรียน เพ่ือให้ครูท่ีปรึกษามีหลักในการคัดกรอง นักเรียนตรงกันทั้งโรงเรียน ดังมีตัวอย่าง

ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ มูลนักเรียน กลมุ่ เสี่ยง มีปญั หา

1. ดา้ นความสามารถ

1.1 ด้านการเรียน - ผลการเรียนเฉลีย่ 1.50 – 2.00 - ผลการเรยี นเฉลีย่ ตา่ กวา่ 1.50

- มาโรงเรียนสาย 5 – 10 ครัง้ - มาโรงเรียนสายมากกว่า 10 คร้ัง

- ไมเ่ ขา้ เรยี นในวิชาตา่ งๆ 3 -5 คร้ัง ต่อ 1 ภาคเรียน

ตอ่ 1 รายวิชา ต่อ 1 ภาคเรียน - ไม่เข้าเรียนในวชิ าต่าง ๆ มากกวา่ 5 คร้งั

- ได้ผลการเรยี น 0, ร, มส, มผ. ตอ่ 1 รายวชิ า ต่อ 1 ภาคเรียน

1 -3 รายวชิ า ต่อ 1 ภาคเรยี น - อา่ นหนังสอื ไม่คล่อง

- อา่ นหนงั สือไม่คล่อง - เขียนหนังสอื ไมถ่ กู ต้อง สะกดคาผดิ

- เขียนหนงั สือไม่ถูก แมแ้ ต่คางา่ ยๆ

2. ดา้ นสุขภาพ – น้าหนกั ผิดปกตแิ ละไมส่ มั พันธ์ – มีความพิการทางด้านรา่ งกาย
2.1 ดา้ นร่างกาย กับส่วนสงู หรอื อายุ - ปว่ ยเปน็ โรครา้ ย/เร้ือรัง/ความเจ็บป่วย
ทีมีผลกระทบต่อการเรยี น
- รา่ งกายไม่แขง็ แรง - มีความบกพร่องทางการมองเหน็
- สายตาสั้น/เอยี ง (ไมใ่ ช้แวน่ ตา/ - มีความบกพร่องทางการไดย้ ินอย่างมาก
คอนแทคเลนส์)
- มคี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน

2.2 ด้านจิตใจ - หากครูทป่ี รึกษาใช้แบบประเมนิ พฤติกรรมเด็ก (SDQ) ให้พิจารณาตามเกณฑ์
และพฤตกิ รรม ของ SDQ
- หากครทู ่ีปรกึ ษาใช้เคร่ืองมืออนื่ ๆ เชน่ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
3. ด้านเศรษฐกิจ ก็ใหใ้ ชเ้ กณฑ์ของเคร่ืองมอื น้ัน ๆ รวมทั้งการพจิ ารณาควบคู่กับขอ้ มูลอื่น ๆ
ทม่ี เี พม่ิ เติม

– พอ่ หรือแม่ตกงาน – พ่อและแมต่ กงาน

- รายได้ 5,000–10,000 บาท/เดือน - รายได้ครอบครัวต่ากวา่ 5,000 บาท/เดือน

- มภี าระหน้ี - ไมม่ อี าหารกลางวนั รบั ประทาน

- ใชจ้ า่ ยแบบฟุม่ เฟอื ย - มีภาระหน้ีสินจานวนมาก

- ไม่มเี งนิ ซื้ออุปกรณ์การเรยี น

42

เอกสารคมู่ อื การดาเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น | โรงเรยี นศึกษานารี

ข้อมูลนักเรยี น กล่มุ เสยี่ ง มีปัญหา

4. ดา้ นการคมุ้ ครองนักเรียน - ไม่มีผูด้ ูแล
- มีความขดั แย้ง และมีการใช้ความรุนแรง
– พ่อแม่แยกทางกันหรือ ในครอบครัว
- มบี ุคคลในครอบครัวเจบ็ ปว่ ยด้วยโรค
แต่งงานใหม่ - เล่นการพนนั
- มีการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ
- มีความรสู้ กึ ไมด่ ตี อ่ พ่อหรือแม่ - มกี ารมวั่ สมุ ทางเพศ
- มีเพศสมั พนั ธ์
รุนแรง/เรื้อรงั - มกี ารทะเลาะวิวาทอย่างรุนแรง
- มีการลักทรัพย์ มากกว่า 1 ครง้ั
- มีการเล่นการพนนั ในครอบครวั
- นกั เรยี นมกี ารใชเ้ ครื่องด่ืมท่ีมแี อลกอฮอล์
- มพี ฤติกรรมสอ่ ไปในทางชสู้ าว หรอื มีการสูบบุหรบี่ อ่ ยครั้ง
- นกั เรยี นมกี ารใช้สารเสพติดที่ผดิ กฎหมาย
- มีการม่ัวสุมทางเพศ
- มคี วามถีส่ งู หรอื มสี ภาพที่เหน็ วา่ ผิดระเบียบ
- มีการทะเลาะวิวาท อยา่ งเดน่ ชัด

- มกี ารลกั ทรัพย์ 1 คร้งั

5. ดา้ นสารเสพติด

- นกั เรยี นมกี ารใชเ้ คร่ืองดื่ม
ท่มี แี อลกอฮอล์ หรอื มีการสูบบุหร่ี
เป็นบางคร้งั
- มกี ารใชส้ ารเสพตดิ ทีผ่ ิดกฎหมาย
ในครอบครวั
- สมาชิกในครอบครวั จาหน่าย
สารเสพติดทผ่ี ดิ กฎหมาย

6. ด้านระเบยี บวนิ ัยของโรงเรียน
6.1 เครื่องแต่งกาย
6.2 ทรงผม
6.3 อ่นื ๆ

– ผดิ ระเบยี บเป็นบางคร้ังหรอื มี
สภาพทผี่ ิดระเบยี บอย่างไมเ่ ดน่ ชัด

7. ความสามารถพิเศษ

43

เอกสารคู่มือการดาเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.06

แบบคัดกรองนักเรยี นเป็นรายบคุ คล ปกี ารศึกษา…………………………..

ช่ือ-นามสกุล………………………………………………………………………………..ชั้น ม……………....เลขท…่ี ……………

ครทู ี่ปรกึ ษา…………………………………………………………………………………………………………………………………

1. ด้านการเรยี น

 ปกติ

 เส่ียง ( ) ผลการเรียนเฉลี่ย 1.50 – 2.00

( ) มาโรงเรยี นสาย 5 – 10 ครัง้

( ) ไมเ่ ข้าเรียนในวิชาต่าง ๆ 3 -5 ครั้ง ตอ่ 1 รายวชิ า ต่อ 1 ภาคเรียน

( ) ไดผ้ ลการเรยี น 0, ร, มส, มผ 1 -3 รายวิชา ตอ่ 1 ภาคเรียน

( ) อา่ นหนังสือไม่คลอ่ ง

( ) เขยี นหนังสือไม่ถูก

( ) อืน่ ๆ คือ………………………………………………………………………………..

 มปี ัญหา ( ) ผลการเรยี นเฉล่ียต่ากว่า 1.50

( ) มาโรงเรยี นสายมากกวา่ 10 ครงั้ ต่อ 1 ภาคเรยี น

( ) ไมเ่ ข้าเรยี นในวชิ าต่างๆ มากกว่า 5 ครั้ง ต่อ 1 รายวิชา ต่อ 1 ภาคเรยี น

( ) ได้ผลการเรยี น 0, ร, มส, มผ มากกว่า 3 รายวิชา ต่อ 1 ภาคเรยี น

( ) อ่านหนงั สือไม่คล่อง

( ) เขยี นหนังสือไม่ถูกต้อง สะกดคาผดิ แม้แต่คาง่ายๆ

( ) อื่นๆ คือ………………………………………………………………………………..

2. ดา้ นสุขภาพ

 ปกติ

 เสย่ี ง ( ) นา้ หนักผดิ ปกติและไม่สมั พันธ์กบั ส่วนสูงหรอื อายุ

( ) ร่างกายไมแ่ ข็งแรง

( ) สายตาสน้ั /เอียง (ไมใ่ ช้แว่นตา/คอนแทคเลนส)์

( ) มคี วามบกพร่องทางการได้ยนิ

( ) อ่นื ๆ คือ………………………………………………………………………………..

 มีปญั หา ( ) มคี วามพกิ ารทางดา้ นร่างกาย

( ) ป่วยเปน็ โรคร้าย/เรื้อรงั

( ) ความเจ็บป่วยทมี ผี ลกระทบตอ่ การเรียน

( ) มคี วามบกพร่องทางการมองเห็น

( ) มคี วามบกพร่องทางการได้ยินอย่างมาก

( ) อนื่ ๆ คือ………………………………………………………………………………..

3. ดา้ นสขุ ภาพจิตและพฤตกิ รรม (พิจารณาจากแบบประเมิน SDQ ทง้ั 3 ฉบับ)

3.1 ด้านอารมณ์  ปกติ  เส่ยี ง  มีปัญหา

3.2 ดา้ นความประพฤติ  ปกติ  เส่ียง  มีปญั หา

3.3 ดา้ นความประพฤติไม่อยู่น่ิง  ปกติ  เสยี่ ง  มีปญั หา

44

เอกสารค่มู อื การดาเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน | โรงเรียนศกึ ษานารี

3.4 ด้านบคุ ลกิ ภาพและ  ปกติ  เส่ยี ง  มีปญั หา
ความสมั พนั ธก์ ับเพ่ือน
ผลรวมท้ัง 4 ดา้ น  ปกติ  เส่ียง  มปี ญั หา
3.5 ดา้ นสัมพันธภาพทางสังคม  มจี ุดแข็ง
4. ดา้ นเศรษฐกจิ  ไมม่ คี วามเสี่ยง
 ปกติ
 เสย่ี ง ( ) พอ่ หรือแม่ตกงาน
( ) รายได้ 5,000 – 10,000 บาท/เดอื น
 มีปญั หา ( ) มีภาระหน้ี
( ) ใชจ้ า่ ยแบบฟุ่มเฟือย
5. ดา้ นการคุม้ ครองนกั เรียน ( ) อน่ื ๆ คือ………………………………………………………………………………..
 ปกติ
 เสีย่ ง ( ) พอ่ และแมต่ กงาน
( ) รายได้ครอบครัวต่ากว่า 5,000 บาท/เดือน
 มปี ญั หา ( ) ไม่มีอาหารกลางวนั รบั ประทาน
( ) มภี าระหน้ีสนิ จานวนมาก
( ) ไมม่ ีเงนิ ซ้ืออุปกรณ์การเรียน
( ) อื่นๆ คือ………………………………………………………………………………..

( ) พอ่ แมแ่ ยกทางกันหรอื แต่งงานใหม่
( ) มคี วามร้สู กึ ไม่ดีตอ่ พ่อหรือแมร่ ุนแรง/เรื้อรัง
( ) มกี ารเล่นการพนันในครอบครวั
( ) มพี ฤติกรรมส่อไปในทางชู้สาว
( ) มกี ารม่ัวสมุ ทางเพศ
( ) มีการทะเลาะวิวาท
( ) มกี ารลกั ทรัพย์ 1 ครง้ั
( ) อื่นๆ คือ………………………………………………………………………………..

( ) ไม่มผี ้ดู ูแล
( ) มีความขัดแยง้ และมกี ารใชค้ วามรนุ แรงในครอบครัว
( ) มีบคุ คลในครอบครวั เจบ็ ป่วยด้วยโรค
( ) เล่นการพนนั
( ) มกี ารถูกลว่ งละเมิดทางเพศ
( ) มีการมั่วสมุ ทางเพศ/มีเพศสมั พนั ธ์
( ) มีการทะเลาะวิวาทอยา่ งรุนแรง
( ) มีการลกั ทรพั ย์ มากกว่า 1 ครง้ั
( ) อื่นๆ คือ………………………………………………………………………………..

45

เอกสารคูม่ ือการดาเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน | โรงเรยี นศึกษานารี

6. ดา้ นสารเสพติด

 ปกติ

 เส่ยี ง ( ) นกั เรียนมีการใชเ้ คร่ืองด่ืมทีม่ แี อลกอฮอล์ หรือมีการสูบบหุ รี่เปน็ บางครัง้

( ) มกี ารใช้สารเสพตดิ ทีผ่ ิดกฎหมายในครอบครวั

( ) สมาชกิ ในครอบครัวจาหน่ายสารเสพติดท่ผี ิดกฎหมาย

 มปี ัญหา ( ) นักเรียนมีการใชเ้ คร่ืองด่ืมทมี่ แี อลกอฮอล์ หรอื มีการสูบบุหรี่บอ่ ยคร้งั

( ) นกั เรียนมีการใชส้ ารเสพติดทผี่ ิดกฎหมาย คือ .............................................

7. ด้านระเบยี บวินัยของโรงเรยี น

7.1 เครือ่ งแต่งกาย  ปกติ  เส่ียง  มปี ญั หา

7.2 ทรงผม  ปกติ  เสย่ี ง  มีปัญหา

7.3 อน่ื คอื ………………..  ปกติ  เส่ยี ง  มีปญั หา

หมายเหตุ เสย่ี ง หมายถงึ ผิดระเบียบเป็นบางครั้งหรือมีสภาพท่ผี ิดระเบยี บอยา่ งไม่เด่นชัด

มปี ญั หา หมายถึง มีความถ่สี ูง หรอื มีสภาพที่เห็นวา่ ผดิ ระเบียบอยา่ งเด่นชัด

8. ดา้ นความสามารถพิเศษ

 ไม่มี

 มีไมช่ ดั เจน คือ…………………………………………………………………………………………………………….....................

 มรี ะดบั 1 คือ………………………………………………………………………………………………………

มรี ะดับ 2 คือ……………………………………………………………………………………………………………

หมายเหตุ ความสามารถระดบั 1 หมายถงึ เขา้ ร่วมประกวดหรือแขง่ ขันภายในโรงเรียน

โดยได้รับเกยี รตบิ ตั ร/รางวลั

ความสามารถระดบั 2 หมายถงึ ไดร้ ับคัดเลอื กเป็นตัวแทนโรงเรยี น จังหวดั เขต

หรอื ประเทศ เขา้ ร่วมประกวดหรอื แข่งขนั

46

เอกสารค่มู ือการดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.06

47

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.08

48

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.10

49

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี

ดล.ศน.10

50

เอกสารคู่มอื การดาเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน | โรงเรยี นศกึ ษานารี


Click to View FlipBook Version