The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องเจียระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายภรภัทร กัญจนศุข, 2022-05-12 22:19:44

เครื่องเจียระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด

เครื่องเจียระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 37

แบบทดสอบก่อนเรียน

บทที่ 2 เครือ่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั

คาชแี้ จง : จงเลือกคาตอบข้อทถี่ กู ตอ้ งท่สี ุดเพยี งคาตอบเดียว (34 คะแนน)

1. ข้อแตกตา่ งของเครอ่ื งเจียระไนลับคมตัดแบบตั้งโต๊ะและเครอื่ งเจยี ระไนลับคมตัดแบบตง้ั พ้ืนคอื อะไร
ก. เครื่องเจยี ระไนตั้งโต๊ะมีขาต้งั แต่เคร่ืองเจียระไนต้ังพื้นไม่มีขาตง้ั
ข. เคร่อื งเจียระไนต้งั โตะ๊ ไม่มขี าตงั้ แต่เคร่อื งเจยี ระไนตงั้ พนื้ มีขาตั้ง
ค. เครอ่ื งเจียระไนตง้ั โต๊ะไม่มีถังบรรจนุ ้าหล่อเย็น แต่เครื่องเจียระไนตงั้ พน้ื มีถงั บรรจุน้าหล่อเย็น
ง. เครื่องเจยี ระไนตัง้ โต๊ะมขี นาดเล็กกว่าเคร่อื งเจียระไนตั้งพื้น

2. ส่วนประกอบใดของเครอื่ งเจียระไนลับคมตัดทาหนา้ ที่ส่งกาลัง
ก. มอเตอร์
ข. ฐานเคร่อื ง
ค. ขาตั้ง
ง. แท่นรองรับงาน

3. ล้อหินเจยี ระไนชนดิ ละเอยี ดควรใช้งานในกรณใี ด
ก. เจียระไนลดขนาด
ข. เจยี ระไนตัดช้ินงาน
ค. เจยี ระไนช่วงเรม่ิ ต้น
ง. เจียระไนปรบั ผิวและขนาดขั้นสุดท้าย

4. ส่วนประกอบใดของเครื่องเจยี ระไนลับคมตัดทาหนา้ ทขี่ ัด ขูดและตัดเฉอื นเนือ้ ชิน้ งาน
ก. มอเตอร์
ข. ฝาครอบล้อหินเจียระไน
ค. ล้อหนิ เจียระไน
ง. อุปกรณแ์ ตง่ หนา้ ลอ้ หนิ เจียระไน

5. สว่ นประกอบใดของเครือ่ งเจียระไนลับคมตัดทาหนา้ ท่ีรองรับมอเตอร์
ก. ฐานเครอ่ื ง
ข. แท่นรองรบั งาน
ค. โต๊ะงาน
ง. ขาตงั้

6. ส่วนประกอบใดของเครอื่ งเจียระไนลบั คมตัดแบบตั้งพนื้ ใช้จับยึดเข้ากับพ้ืนของโรงฝึกงาน
ก. ฐานเครอ่ื ง
ข. ขาตั้ง
ค. แท่นรองรบั งาน
ง. โต๊ะงาน

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 38
7. จากรูประยะ A ควรมขี นาดเทา่ ใด

ก. 1-2 มลิ ลเิ มตร

ข. 2-3 มลิ ลเิ มตร

ค. 3-4 มลิ ลเิ มตร
ง. 4-5 มลิ ลิเมตร

8. ถา้ ระยะห่างของแทน่ รองรับงานกับล้อหินเจียระไนมีมากเกินไปจะมีผลตอ่ การปฏบิ ัตงิ านอยา่ งไร
ก. อาจทาใหเ้ กดิ การงดั ของชิน้ งานกับล้อหนิ เจียระไนได้
ข. การเจยี ระไนชนิ้ งานทาได้ง่ายมากย่ิงข้ึน
ค. อาจทาใหช้ ้ินงานหลุดลงไปในชอ่ งว่างได้
ง. ปอ้ งกนั อนั ตรายจากการสัมผัสกันของแท่นรองรบั งานกับลอ้ หนิ เจียระไนได้

9. การวดั ความยาวของคมตัดของมีดกลึงควรใช้เคร่ืองมือชนิดใด
ก. บรรทดั เหลก็
ข. เวอร์เนยี รค์ าลิเปอร์
ค. เกจวัดมมุ ดอกสว่าน
ง. ใบวดั มมุ

10. ใบวดั มุมสามารถวดั มุมได้ในช่วงใด

ก. 1-90
ข. 1-180
ค. 90-180
ง. 90-360
11. เกจวัดมุมดอกสวา่ น (Drill Point Gage) ท่ีนยิ มใช้กันโดยทวั่ ไปมมี ุมรวมเท่าใด
ก. 60
ข. 90
ค. 118
ง. 120
12. จากรูปคอื เครอื่ งมือที่ใชส้ าหรบั ทาอะไร

ก. แต่งหน้าล้อหนิ เจียระไน
ข. ลับคมตดั ดอกสวา่ น
ค. ลบั คมตดั มีดกลงึ

ง. ลับมีดไส

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 39

13. วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั ข้อใด ไมถ่ ูกตอ้ ง
ก. ตรวจสอบสภาพของเครอื่ งเจยี ระไนลับคมตัดก่อนใช้งาน
ข. เปิดสวติ ช์เครื่องใหล้ อ้ หินเจียระไนหมุนด้วยความเร็วรอบคงที่ก่อนลับคมตัด
ค. ไม่สวมใสอ่ ปุ กรณ์ป้องกันอนั ตราย
ง. ทาความสะอาดเคร่ืองเจียระไนลบั คมตัดหลงั เลกิ ใชง้ าน

14. การใช้เคร่อื งเจียระไนลับคมตัดในข้อใด ไมค่ านงึ ถึง ความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน
ก. ตรวจสอบความพรอ้ มของเครือ่ งเจยี ระไนกอ่ นทกุ คร้ัง
ข. ไม่ใชเ้ ครอื่ งเจยี ระไนลับคมตดั ท่ีมสี ภาพท่ีไม่สมบูรณ์
ค. ไม่ผกู เน็คไทในขณะใชเ้ คร่ืองเจียระไนลับคมตัด
ง. สวมถงุ มอื ในขณะใชเ้ คร่อื งเจยี ระไนลบั คมตัด

15. ขอ้ ใด ไม่ใช่ วิธีการบารุงรักษาเครื่องเจยี ระไนลับลับคมตัดที่ถูกตอ้ ง
ก. ตรวจสอบการทางานของมอเตอร์ขณะหมุนมีเสยี งดังผิดปกติขณะหมนุ หรือไม่
ข. ใชเ้ คร่อื งเจียระไนลบั คมตดั ในขณะเกิดกระแสไฟฟา้ ขดั ข้อง
ค. ตรวจสอบความพรอ้ มของเครอื่ งเจียระไนลับคมตัดก่อนใช้งาน
ง. ทาความสะอาดเครือ่ งเจยี ระไนหลังใช้งาน

16. จากรปู หมายเลข 1 คือมมุ อะไร

ก. มมุ คายเศษ ()
ข. มมุ ล่ิม (β)

ค. มุมหลบ (α)
ง. พืน้ ท่ีผิวหลบหรอื ผวิ ฟรี

17. หมายเลข 5 ทาหน้าที่อะไร

ก. คายเศษออกมาจากพนื้ ทท่ี าการปาดผิว
ข. ทาใหว้ สั ดุแยกหรอื ขาดออกจากกัน

ค. ลดการเสียดสรี ะหว่างผิวคมตัดกบั ผิวช้ินงาน
ง. ป้องกนั ไมใ่ หเ้ ครื่องมือตัดเสียดสกี ับผวิ ของชน้ิ งาน

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 40

18. หมายเลข 7 ทาหนา้ ทีอ่ ะไร
ก. ป้องกนั ไม่ให้เครื่องมอื ตัดเสยี ดสกี ับผิวของชิน้ งาน
ข. คายเศษออกมาจากพ้นื ท่ที าการปาดผิว
ค. แทรกเขา้ ไปในเน้อื ช้นิ งาน
ง. ทาใหเ้ ศษไหลออกจากผิวช้นิ งานท่ีทาการตัดเฉอื น

จากรปู จงตอบคาถามขอ้ 19-22

19. หมายเลข 1 คือมมุ อะไร
ก. มุมหลบหน้ามดี

ข. มมุ คมตดั หนา้ มีด

ค. มุมคายข้างมดี
ง. มมุ หลบข้างมีด

20. มุมที่ทาใหเ้ ศษกลงึ หลุดออกจากคมตัดได้สะดวกข้ึนคอื หมายเลขใด
ก. หมายเลข 2

ข. หมายเลข 3

ค. หมายเลข 4
ง. หมายเลข 5

21. มมุ ทีเ่ กิดจากการลบั ผวิ หน้ามีดให้เอยี งจากดา้ มมดี เข้าไปด้านในโดยจะทาการลับพร้อมกับมุมหลบข้างมีด
คอื มุมอะไร

ก. มุมคมตดั ข้างมีด

ข. มมุ คายขา้ งมดี
ค. มมุ หลบขา้ งมดี

ง. มุมคมตดั หนา้ มดี
22. มมุ คมตัดหนา้ มีด (End Cutting Angle) คอื หมายเลขใด

ก. หมายเลข 1

ข. หมายเลข 5
ค. หมายเลข 6

ง. หมายเลข 7

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 41

23. งานกลึงเหลก็ กลา้ คาร์บอน (Carbon Steel) ควรลบั มุมคมตัดขา้ งมีดเท่าใด

ก. 8-10
ข. 12-18
ค. 5-24
ง. 8-15
24. งานกลึงเหล็กกล้าคาร์บอน (Carbon Steel) ควรลบั มมุ หลบหนา้ มดี เท่าใด

ก. 8
ข. 12
ค. 16
ง. 27
25. ใชก้ ลึงเพือ่ ทาให้ผิวเรียบและทาให้ขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางของช้นิ งานเลก็ ลงคือ มีดกลงึ ชนิดใด
ก. มีดกลึงปาดหนา้
ข. มีดกลึงปอก
ค. มีดกลึงตกรอ่ ง
ง. มดี กลึงขึน้ รูปโค้ง
26. จากรปู คือ หลกั การขนึ้ รูปชนดิ ใด

ก. งานกลึงปาดหนา้
ข. งานกลึงตกร่อง

ค. งานกลึงข้นึ รปู โคง้
ง. งานกลงึ ปอก

27. ดอกสวา่ นร่องบดิ (Twist Drill) มีรอ่ งบิดกีร่ ่อง

ก. 1 รอ่ ง
ข. 2 รอ่ ง

ค. 3 ร่อง
ง. 4 ร่อง

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 42
จากรูปจงใช้ตอบคาถามขอ้ 28-32

28. หมายเลข 6 คอื อะไร

ก. มุมรวมปลายดอกสวา่ น (Point Angle)
ข. ร่องบดิ (Flutes)

ค. สันคม (Land)
ง. มุมบิด (Helix or Rake Angle)

29. หมายเลข 9 คืออะไร

ก. สันคม (Land)
ข. ขอบคม (Margin)

ค. มมุ บดิ (Helix or Rake Angle)
ง. ร่องบดิ (Flutes)

30. ขอบคมของดอกสว่าน คอื หมายเลขอะไร

ก. หมายเลข 5
ข. หมายเลข 6

ค. หมายเลข 7
ง. หมายเลข 8

31. สว่ นที่ใชส้ าหรบั คายเศษโลหะคอื หมายเลขอะไร

ก. หมายเลข 6
ข. หมายเลข 7

ค. หมายเลข 8
ง. หมายเลข 9

32. ลดการเสียดสรี ะหว่างผิวของดอกสวา่ นกับผิวดา้ นในรูเจาะคือ หมายเลขอะไร

ก. หมายเลข 5
ข. หมายเลข 6

ค. หมายเลข 7
ง. หมายเลข 9

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 43
33. จากรปู มมุ หลบดอกสว่านคือ หมายเลขอะไร

ก. หมายเลข 4
ข. หมายเลข 5

ค. หมายเลข 6
ง. หมายเลข 7

34. ส่วนที่อยู่ระหวา่ งกา้ นเรียวและลาตัวของดอกสวา่ นมปี ระโยชน์เพื่อทาให้ประกอบก้านเรียวของดอกสว่าน

เข้ากบั ปลอกเรียวหรือแกนเพลาของเครอื่ งเจาะไดแ้ นน่ เรียกว่าอะไร
ก. คอดอกสวา่ น (Neck)

ข. สันคม (Land)
ค. มุมบดิ (Helix or Rake Angle)

ง. กา้ น (Shank)

บทท่ี 2

เครือ่ งเจียระไนดว้ ยลบั คมตดั และงานลับคมตดั

สาระสาคญั

เครื่องเจยี ระไนลบั คมตดั (Hand off Grinding Machine) เป็นเคร่ืองมอื กลท่ีใช้ในการแปรรูปชิ้นงาน
เพ่อื ปรบั ขนาดและได้ผิวเรยี บโดยขณะปฏิบัติจะใช้มือในการจับยึดช้ินงาน เครื่องเจียระไนลับคมตัดนิยมใช้
ในงานลบั คมตัดเช่น คมตดั ของมีดกลงึ และคมตัดของดอกสวา่ น เป็นต้น ในบทเรียนนี้จะศึกษาเกี่ยวกับ ชนิด
ส่วนประกอบและหนา้ ที่การใช้งาน เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์ท่ีใช้กับเครื่องเจียระไนลับคมตัด วิธีการใช้งานของ
เครื่องเจียระไนลับคมตดั การลบั คมตัดมีดกลงึ และดอกสวา่ นเพอ่ื ให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติงาน
ลับคมตัดมดี กลงึ และดอกสว่านได้อย่างถกู ต้องปลอดภยั

เนอ้ื หา

1. ชนิดของเคร่อื งเจียระไนลับคมตัด
2. ส่วนประกอบและหนา้ ทีก่ ารใชง้ านของเครื่องเจยี ระไนลับคมตัด
3. เครอื่ งมือและอปุ กรณท์ ใี่ ชก้ บั เคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตัด
4. วิธีการใช้งานของเครอื่ งเจียระไนลับคมตัด
5. การลบั คมตัดมดี กลงึ และดอกสวา่ น

จดุ ประสงคก์ ารสอน

1. บอกชนดิ ของเครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั ได้
2. อธิบายหลักการทางานของเครอ่ื งเจยี ระไนลับคมตัดได้
3. บอกช่อื และหน้าที่การใชง้ านของส่วนประกอบเคร่ืองเจียระไนลบั คมตัดได้
4. บอกชอ่ื และหนา้ ที่ของเครอื่ งมือและอุปกรณท์ ีใ่ ชก้ บั เครือ่ งเจียระไนลับคมตัดได้
5. อธิบายวิธีการแตง่ หน้าล้อหินเจยี ระไนได้
6. อธิบายข้ันตอนการใช้งานของเคร่ืองเจียระไนลับคมตัดได้
7. บอกความปลอดภัยในการใช้เคร่อื งเจยี ระไนลับคมตัดได้
8. อธบิ ายวธิ กี ารบารุงรักษาเครือ่ งเจยี ระไนลับคมตัดได้
9. บอกช่อื มุม พน้ื ทผี่ ิวและหนา้ ท่ีของเครอื่ งมือตัดได้
10. บอกชื่อ หนา้ ที่ส่วนประกอบและมมุ ของมีดกลึงปาดหน้า มีดกลึงปอก มีดกลึงตกร่องและดอก

สว่านได้
11. อธิบายวิธีการลับคมตดั ของมีดกลึงปาดหนา้ มดี กลงึ ปอก มดี กลงึ ตกร่อง และดอกสวา่ นได้
12. เลือกใช้ขนาดของมุมมดี กลงึ และดอกสว่านร่องบิดไดเ้ หมาะสมกับวัสดชุ ้ินงาน
13. ลับคมตัดของมีดกลึงปาดหน้า มดี กลึงปอก มีดกลงึ ตกรอ่ ง และดอกสวา่ นได้

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 45

1. ชนิดของเครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั

เครอ่ื งเจยี ระไนลับคมตัดแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ เครื่องเจียระไนลับคมตัดแบบต้ังโต๊ะ (Bench
Hand off Grinding Machine) และเคร่อื งเจยี ระไนลับคมตัดแบบต้ังพ้ืน (Pedestal Hand off Grinding
Machine) โดยเคร่อื งเจยี ระไนแบบตัง้ พ้ืนจะมีขนาดเล็ก การใช้งานติดตั้งบนโต๊ะงานเพ่ือเพ่ิมความสูงและ
ความสะดวกในการใช้งาน สว่ นเครื่องเจยี ระไนลบั คมตัดแบบตั้งพนื้ จะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดตั้งโต๊ะ โดยมีขาต้ัง
สาหรบั ประกอบฐานของเครอ่ื งเจยี ระไนไว้ด้านบน และมีส่วนฐานของขาตั้งใช้จับยึดเข้ากับพื้นให้มีความม่ันคง
แข็งแรง ไมส่ ัน่ สะเทอื นขณะใช้งาน

รูปที่ 2.1 เคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตดั แบบตัง้ โตะ๊
(ที่มา : คงศกั ดิ์ ตณั ทราวฒั น์พันธ์, 2562)

รูปท่ี 2.2 เครื่องเจยี ระไนลับคมตดั แบบตัง้ พ้ืน
(ทม่ี า : https://www.mscdirect.com, เขา้ ถึงเม่ือ 12 มกราคม 2563)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 46

2. ส่วนประกอบและหนา้ ทก่ี ารใชง้ านของเครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั

เครือ่ งเจยี ระไนลับคมตดั แบบตั้งโต๊ะและแบบตง้ั พนื้ ส่วนใหญ่มีส่วนประกอบสาคัญ และหน้าท่ีการใช้
งานเหมอื นกนั ดังตอ่ ไปนี้

กระจกนิรภัย มอเตอร์ กระจกนิรภยั

ล้อหนิ เจียระไน ฝาครอบ
(ชนิดหยาบ) ล้อหินเจียระไน

แทน่ รองรับงาน ลอ้ หินเจยี ระไน
(ชนิดละเอยี ด)
สวติ ชเ์ ปิด-ปิด
ฐานเครอ่ื ง แทน่ รองรับงาน

รูปท่ี 2.3 ส่วนประกอบของเครอ่ื งเจียระไนลับคมตัดแบบต้ังโตะ๊
(ท่มี า : คงศักด์ิ ตัณทราวฒั น์พนั ธ์, 2562)

มอเตอร์ แผ่นยดึ กระจกนิรภยั

ล้อหนิ เจียระไน (ชนิดหยาบ) ฝาครอบล้อหินเจยี ระไน
แท่นรองรบั งาน
ล้อหินเจยี ระไน
สวติ ชเ์ ปิด-ปิด (ชนิดละเอยี ด)
ถังบรรจนุ ้าหล่อเยน็
ขาต้งั

รเู จาะสา้ หรับประกอบสกรู
ยึดแนน่ กับพืน้ โรงฝกึ งาน

ฐานเครือ่ ง

รูปที่ 2.4 ส่วนประกอบของเครือ่ งเจียระไนลับคมตดั แบบต้ังพ้ืน
(ท่มี า : https://www.mscdirect.com, เขา้ ถงึ เม่อื 12 มกราคม, 2563)

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 47

2.1 มอเตอร์

มอเตอร์ (Motor) ทาหน้าที่เป็นตน้ กาลังขับใหล้ อ้ หินเจยี ระไนหมุน มอเตอร์ส่วนใหญ่ใช้กระแสไฟฟ้า

220 โวลต์ หรอื 380 โวลต์ ตามขนาดและความต้องการใชง้ าน

2.2 ล้อหนิ เจียระไน

ลอ้ หนิ เจยี ระไน (Grinding Wheel) ทาหนา้ ท่ขี ูด ขดั และตดั เฉือนเน้อื ช้นิ งานออกให้เรียบและได้ขนาด

ตามท่ตี ้องการ โดยประกอบเขา้ กบั แกนเพลาของมอเตอรส์ ่งกาลงั ทั้ง 2 ด้าน ล้อหินเจียระไนมีอยู่ 2 ชนิดคือ
ลอ้ หนิ เจยี ระไนชนดิ หยาบและล้อหินเจียระไนชนดิ ละเอียด โดยล้อหนิ เจียระไนชนดิ หยาบใช้สาหรับการ เจียระไน

ปรบั แตง่ ขน้ึ รปู หรอื ลดขนาด สว่ นลอ้ หินเจียระไนชนดิ ละเอยี ดใช้สาหรับการปรับผิวเ รียบข้ันตอนสุดท้ายเพื่อให้

ไดข้ นาดหรอื มมุ ตามที่ตอ้ งการ

2.3 กระจกนริ ภยั

กระจกนิรภัย (Safety Glass) ทาหน้าท่ีป้องกันเศษของล้อหินเจียระไนและเศษโลหะช้ินงานไม่ให้

กระเด็นเขา้ ตา โดยขณะใชเ้ คร่ืองเจียระไนจะมองช้ินงานผา่ นกระจกนิรภัย

2.4 แท่นรองรบั งาน

แทน่ รองรับงาน (Work Rest) ทาหนา้ ทร่ี องรับชิ้นงานใหม้ น่ั คงและไม่หลุดกระเด็นขณะใช้งาน ซึ่งก่อน

ใชเ้ คร่ืองเจยี ระไนลับคมตัดจะต้องปรบั แท่นรองรบั งานกบั ลอ้ หนิ เจยี ระไนให้มรี ะยะห่างกนั ไม่เกิน 2-3 มิลลิเมตร
เพราะหากมีระยะห่างมากเกินไปก็อาจทาให้ช้ินงานหลดุ ลงไปในชอ่ งว่างน้ัน ทาให้เกิดการงัดของล้อหินเจียระไน

กับชนิ้ งานและอาจเปน็ สาเหตุให้ลอ้ หินเจียระไนแตกได้

2.5 สวิตชเ์ ปดิ -ปดิ

สวติ ชเ์ ปดิ -ปดิ (On-off Switch) ทาหนา้ ท่ีควบคมุ การทางานของเครือ่ งเจียระไนลบั คมตดั

2.6 ฝาครอบลอ้ หนิ เจยี ระไน

ฝาครอบล้อหนิ เจียระไน (Wheel Guard) ทาหน้าท่ีประกบล้อหินเจียระไนให้แน่นและป้องกันอันตราย

ในขณะลอ้ หินเจยี ระไนหมุน

2.7 ขาตง้ั

ขาต้ัง (Pedestal Stand) ทาหน้าที่รองรับมอเตอร์ ล้อหินเจียระไนและส่วนอ่ืนๆ ขาต้ังส่วนใหญ่

ทาจากเหล็กหลอ่ หรือเหล็กกลา้ ที่มีความมั่นคงแข็งแรง และตอ้ งไมส่ ัน่ สะเทือนขณะที่ลอ้ หนิ เจียระไนกาลังหมุน

2.8 ถังบรรจนุ ้าหลอ่ เยน็

ถงั บรรจุนา้ หลอ่ เย็น (Water Pot) ใช้บรรจุนา้ หล่อเย็นสาหรับจ่มุ ช้ินงานเพื่อระบายความร้อนในขณะ

เจยี ระไน

2.9 ฐานเครอื่ ง

ฐานเครื่อง (Base) เป็นส่วนประกอบท่ีอยู่ด้านล่างสุดซึ่งทาหน้าที่รองรับน้าหนักท้ังหมดของเครื่อง

เจียระไนลบั คมตัด โดยที่มมุ ทงั้ 4 ด้านของฐานเคร่ืองจะมีรูเจาะไวเ้ พ่ือใช้สาหรับประกอบสกรูยึดแน่นเข้ากับพ้ืน

ของโรงฝกึ งาน

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 48

3. เครอ่ื งมอื และอปุ กรณท์ ใ่ี ชก้ บั เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั

3.1 ใบวดั มมุ (Angle Protractor)

เป็นเครื่องมอื ที่ใช้สาหรับวัดมุมและความยาวของคมตดั มีดกลึงหรอื ดอกสว่าน สามารถวัดมุมได้ตั้งแต่

1-180 โดยมสี ่วนประกอบท่ีสาคญั ดงั รูปที่ 2.5

ขดี สเกลบอกมุม ใบวัดมุม

ขีดสเกลบอก กา้ นใบวดั มุม
มุมท่ีวดั ได้

สกรูล็อค ขีดสเกลวดั ความยาว

ขดี สเกลวัดความยาว

รปู ที่ 2.5 ส่วนประกอบของใบวดั มมุ
(ท่ีมา : คงศักด์ิ ตณั ทราวฒั นพ์ ันธ์, 2562)

3.2 เกจวดั มมุ ดอกสวา่ น (Drill Point Gage)

เปน็ เครอ่ื งมอื วดั ทใี่ ช้สาหรบั วัดมมุ รวมปลายดอกสว่านและใชว้ ดั ความยาวคมตดั ดอกสว่าน เกจวัดมุม
ดอกสว่านที่นยิ มใช้กนั โดยทัว่ ไปคอื เกจวัดมุม 118 ซ่ึงเปน็ ดอกสว่านท่ีใชใ้ นการเจาะโลหะทว่ั ไปดังรปู ท่ี 2.6

รูปที่ 2.6 เกจวัดมุมดอกสว่านมุม 118
(ทมี่ า : คงศักดิ์ ตณั ทราวฒั น์พันธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 49

เกจวัดมมุ ดอกสว่าน ขีดสเกลวดั ความยาว
ดอกสว่าน

รปู ที่ 2.7 การใช้เกจวัดมุมดอกสว่านมุม 118
(ทีม่ า : คงศกั ด์ิ ตณั ทราวัฒน์พนั ธ์, 2562)

3.3 ล้อแตง่ หนา้ ล้อหนิ เจยี ระไน (Wheel Dresser)

ล้อแต่งหนา้ ลอ้ หนิ เจียระไนเป็นอปุ กรณ์ที่ใช้สาหรับปรับแต่งหน้าล้อหินเจียระไนใหม่ หรือหน้าล้อหิน
เจยี ระไนทผ่ี า่ นการใช้งานมาแลว้ ใหเ้ รยี บและเกิดคมตดั ใหม่ ทงั้ น้เี นอื่ งจากลอ้ หินเจียระไนท่ีใช้ลับช้ินงานไปแล้ว
ในชว่ งเวลาหนง่ึ จะทาให้คมตดั เกดิ การสกึ หรอหรอื แตกหกั รอยบ่ิน ผิวด้านหน้าของล้อหินเจียระไนไม่เรียบและ
มีเศษวสั ดุช้นิ งานอดุ ตันในช่องวา่ งของร่องหินเจียระไน เปน็ ต้น ดังน้ันกอ่ นใชง้ านในครั้งต่อไปจึงต้องแต่งหน้าล้อ
หินเจยี ระไนก่อน

รูปท่ี 2.8 ลอ้ แต่งหน้าลอ้ หินเจียระไน
(ทีม่ า : คงศกั ด์ิ ตัณทราวัฒน์พนั ธ์, 2562)

3.4 แว่นนริ ภยั (Safety Glasses)

แว่นนริ ภยั เปน็ อุปกรณท์ ่ใี ช้ป้องกันไม่ให้เศษโลหะช้ินงาน เศษล้อหินเจียระไนและฝุ่นละอองต่างๆ
กระเด็นเข้าดวงตาขณะปฏิบัตงิ าน

รปู ท่ี 2.9 แว่นนิรภยั ปอ้ งกันดวงตาขณะใช้เคร่อื งเจียระไนลบั คมตัด
(ที่มา : คงศกั ดิ์ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 50

4. วิธกี ารใชง้ านของเครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั

4.1 การแตง่ หนา้ ลอ้ หนิ เจียระไน

1. เปิดสวติ ช์เครอ่ื งใหล้ อ้ หินเจียระไนหมุนจนกระทั่งความเรว็ รอบคงท่ี
2. ใชม้ อื ทั้งสองข้างจบั ดา้ มล้อแต่งหน้าล้อหนิ เจียระไนให้แน่นและม่นั คง
3. วางลอ้ แตง่ หน้าลอ้ หินเจียระไนลงบนแท่นรองรับงานโดยให้ล้อแต่งหน้าล้อหินเจียระไน
สัมผัสกบั ผิวหนา้ ลอ้ หินเจยี ระไนที่กาลังหมุน

ก. ภาพดา้ นข้าง

ก. ภาพด้านบน
รูปที่ 2.10 การแต่งหน้าล้อหินเจยี ระไน
(ทม่ี า : คงศักด์ิ ตณั ทราวัฒน์พนั ธ์, 2562)
4. ออกแรงดันล้อแตง่ หน้าหินเจียระไนเข้าหาลอ้ หินเจียระไนเพอ่ื ให้เกิดการตัดเฉือน
5. ในขณะที่ลอ้ แต่งหน้าหนิ เจยี ระไนกาลังตดั เฉือนให้เลื่อนล้อแต่งหินเจียระไนให้ไป-มาบน
แท่นรองรับงานเพ่อื เกิดการตดั เฉอื นเต็มผิวหน้าของลอ้ หนิ เจียระไน

4.2 ขัน้ ตอนการใชเ้ ครอื่ งเจียระไนลบั คมตดั

การใช้เคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตัดลบั ช้ินงาน คมตัดของมีดกลงึ และดอกสว่านมขี ้นั ตอนดงั น้ี
1. ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องเจียระไนลับคมตัด
2. สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกนั อันตราย เชน่ แว่นตานิรภยั เป็นต้น
3. เปดิ สวิตชเ์ ครอื่ งใหล้ อ้ หินเจยี ระไนหมุน
4. แต่งหนา้ หนิ เจยี ระไนใหเ้ รียบโดยใช้ลอ้ แตง่ หน้าล้อหินเจียระไน

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 51

รปู ท่ี 2.11 แสดงการแตง่ หนา้ ล้อหินเจยี ระไนลบั คมตดั
(ท่มี า : คงศักด์ิ ตณั ทราวฒั นพ์ นั ธ์, 2562)

5. ปดิ สวติ ชเ์ ครือ่ งให้ลอ้ หนิ เจยี ระไนหยุดนิ่ง จากนั้นปรับแท่นรองรับงานให้ห่างจากล้อหิน
เจียระไนประมาณ 2-3 มิลลเิ มตรแลว้ ขันลอ็ คให้แนน่

รปู ท่ี 2.12 การปรบั ระยะห่างของล้อหนิ หนิ เจยี ระไนกบั แทน่ รองรบั งาน
(ท่ีมา : คงศกั ดิ์ ตณั ทราวฒั น์พันธ์, 2562)

6. เปดิ สวติ ชเ์ ครือ่ งให้ลอ้ หนิ เจยี ระไนหมุนจนกระท่ังความเร็วรอบคงท่ี
7. ปฏิบตั งิ านลบั ชิน้ งาน คมตัดมีดกลึง และดอกสว่านตามขั้นตอน ขณะลับคมตัดให้จุ่ม
ปลายคมตัดลงในน้าหลอ่ เย็นบอ่ ยๆ เพื่อช่วยระบายความร้อนและปอ้ งกนั ไม่ให้คมตัดไหม้
8. ตรวจสอบมมุ ของคมตดั ด้วยเครอ่ื งมอื วัดเชน่ ใบวัดมมุ เป็นต้น
9. ปฏบิ ัตงิ านลับคมตัดต่อไปจนกระท่งั แลว้ เสร็จ
10. ปิดสวติ ช์เครื่องเจยี ระไนลับคมตัด
11. ทาความสะอาดเคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตดั เครือ่ งมอื และอุปกรณท์ ่ีใช้ในการปฏิบัตงิ าน
12. ทาความสะอาดพนื้ ที่บริเวณรอบๆ เครอ่ื งเจยี ระไน

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 52

4.3 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอื่ งเจยี ระไนลับคมตดั

1. ก่อนใช้เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั ควรทาการตรวจสอบความพรอ้ มของเคร่ืองเจียระไนก่อน

ทกุ คร้ังเช่น ระบบไฟฟา้ ทตี่ ่อเขา้ เครือ่ งฯ ล้อหินเจยี ระไนไม่มีรอยรา้ ว กระจกนิภยั มีความสมบูรณ์ มีน้าหล่อเย็น
บรรจุในถงั นา้ หลอ่ เยน็ และการจบั ยดึ เครอื่ งเจียระไนบนโต๊ะหรอื บนพื้นโรงงานมคี วามม่ันคง แข็งแรง เป็นตน้

2. ไม่ใชเ้ คร่อื งเจียระไนลบั คมตัดทม่ี ีสว่ นประกอบชารุด บกพร่องหรอื มสี ภาพท่ีไม่สมบรู ณ์

3. แต่งกายใหร้ ดั กมุ ไม่ผูกเนค็ ไท และห้ามสวมถงุ มอื ในขณะใช้เคร่ืองเจียระไนลับคมตัดโดย
เด็ดขาด เพราะลอ้ หนิ เจียระไนอาจดึงถุงมือขณะหมนุ ทาให้เกิดอนั ตรายถึงขั้นสญู เสียอวัยวะได้

4. ห้ามใช้เคร่ืองเจียระไนลับคมตัดในขณะที่สภาพร่างกายไม่พร้อมที่จะปฏิบัติงานเช่น
ร่างกายอ่อนเพลียหรือป่วย เป็นต้น

5. สวมแวน่ นิรภยั ทุกครงั้ ทีป่ ฏบิ ัตงิ านเพื่อปอ้ งกันเศษโลหะ เศษลอ้ หนิ เจยี ระไนและฝุ่นละออง

ตา่ งๆ กระเดน็ เข้าดวงตา
6. กอ่ นใชเ้ คร่อื งเจียระไนฯ ทุกคร้ังให้ปรับระยะห่างของแท่นรองรับงานกับล้อหินเจียระไน

ประมาณ 2-3 มิลลิเมตรเพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้ชน้ิ งานหลุดเข้าไปในช่องว่าง ซ่ึงอาจทาให้ล้อหินเจียระไนแตกและ
แท่นรองรบั งานเกิดชารดุ เสียหายได้

7. ก่อนเปิดสวติ ช์ควบคุมเครอ่ื งเจยี ระไนลับคมตดั ใหย้ ืนตรงกลางระหว่างล้อหินเจียระไนทั้ง

2ด้าน เพราะเมื่อเปดิ สวิตช์ควบคุมแล้วอาจมีเศษวัสดุท่ีเกิดจากการเจียระไนติดค้างอยู่ในฝาครอบล้อหิน
เจียระไนกระเด็นถกู ผูป้ ฏบิ ตั ิงานได้

8. จบั ชน้ิ งานลับคมตัดใหแ้ นน่ และมั่นคงแข็งแรง ไม่หลุดง่ายได้ในขณะท่ีกาลังสัมผัสกับหน้า
ของ ลอ้ หินเจียระไนทก่ี าลงั หมุนด้วยความเร็วรอบสงู

9. ห้ามใช้เศษผา้ หอ่ หุม้ เครือ่ งมอื ตัดขณะปฏบิ ตั งิ านเจียระไน เพราะเศษผ้าอาจถูกดึงเข้าไป
ตดิ กบั ลอ้ หินเจยี ระไนทกี่ าลังหมนุ และอาจทาใหน้ ิ้วมือของผปู้ ฏิบตั ิงานถกู ดงึ เข้าไปหาล้อหินเจียระไนได้

10. หา้ มใชด้ า้ นขา้ งของลอ้ หินเจียระไนลับช้ินงาน เพราะอาจทาใหล้ อ้ หินเจียระไนแตกได้

11. ขณะเครื่องเจียระไนฯ ทางาน อยา่ ก้มหน้าเข้าใกล้ล้อหินเจยี ระไนมากเกนิ ไปเพราะอาจทา
ให้เศษโลหะ เศษล้อหนิ เจียระไนและฝุ่นละอองต่างๆ กระเดน็ เขา้ ดวงตาได้

4.4 การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั

1. ตรวจสอบสภาพความพร้อมของเคร่ืองเจียระไนลับคมตัดทุกๆ ส่วนประกอบได้แก่
มอเตอร์แทน่ รองรบั งาน สวิตช์เปิด-ปิด ฝาครอบลอ้ หนิ เจยี ระไน ฯลฯ หากพบขอ้ บกพร่องของส่วนประกอบใดๆ

จะต้องแจง้ ใหค้ รูผู้สอนทราบเพอ่ื ทาการซอ่ มบารุงกอ่ นใช้งาน
2. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของล้อหินเจียระไนเช่น ล้อหินเจียระไนไม่มีรอยร้าวหรือรอย

แตกหกั หากพบจดุ บกพรอ่ งควรแจ้งครผู ู้สอนทราบเพ่อื ทาการเปล่ียนกอ่ นใชง้ าน

3. ทาความสะอาดเคร่อื งเจียระไนทุกครั้งหลังเลิกใช้งาน
4. หา้ มเครือ่ งเจยี ระไนลบั คมตัดขณะทเี่ กิดกระแสไฟฟา้ ขดั ขอ้ ง เพราะอาจทาให้มอเตอร์ชารุด

เสยี หายได้

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 53

5. การลบั คมตดั มดี กลงึ และคมตดั ดอกสวา่ น

เคร่อื งมือตดั (Cutting Tools) ใช้ในการตดั เฉอื นชิน้ งานเพอื่ แปรรูปให้ได้ขนาดและรูปร่างที่ต้องการ
เคร่อื งมือตัดทุกประเภทจะมคี มซ่งึ ทาหน้าท่ีตัดเฉือนช้ินงานตามกระบวนการแปรรูปแบบต่างๆ เช่น งานกลึง
งานไสและงานเจาะ เป็นตน้ ขณะทค่ี มตัดทาการตัดเฉือนเนื้อช้ินงานจะเกิดการเสียดสีกันระหว่างคมตัดกับ
เนื้อชนิ้ งานทาใหเ้ กดิ ความร้อน มีอณุ หภมู ิสงู และทาให้คมตัดเกิดการสึกหรอ ไหม้และไม่สามารถตัดเฉือน
เนือ้ ชนิ้ งานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ แตส่ าหรับเครอ่ื งมือตดั บางประเภทจะนาไปลับคมตัดใหม่ เพื่อนากลับมาใช้
งานอีกครงั้ เช่น มดี กลึง และดอกสวา่ น เป็นต้น

5.1 มมุ และพนื้ ทผ่ี วิ ของคมเครอื่ งมอื ตดั

พน้ื ฐานของคมเครือ่ งมอื ตดั ประกอบดว้ ยมุมและพืน้ ท่ีผิวต่างๆ ดังรูปที่ 2.13

ลิ่มตดั ทิศทางตดั เฉอื น
พนื้ ท่ีผวิ คายเศษ พ้ืนทผี่ วิ ที่ถูกตดั เฉอื น

ชิน้ งาน พืน้ ท่ผี ิวหลบหรอื ผวิ ฟรี

รปู ที่ 2.13 ลกั ษณะของมมุ และพ้ืนทผ่ี ิวของคมตัด
(ทีม่ า: บรรเลง ศรนิล; 2555 หนา้ 102)

5.1.1 พื้นทผี่ วิ ของคมเครอ่ื งมอื ตดั ประกอบดว้ ย
5.1.1.1 พืน้ ท่ีผวิ คายเศษ คอื พ้นื ที่ผวิ ของเครอ่ื งมอื ตัดดา้ นที่ปาดผิวช้ินงานแล้วทาให้เกิดเศษ
หรือทาให้เศษไหลออกจากผิวนนั้
5.1.1.2 พื้นทีผ่ วิ หลบหรอื ผิวฟรี คอื พ้ืนทีผ่ วิ ท่ีดา้ นข้างของคมเคร่ืองมือตัดซึ่งเอียงหลบแนว
คมตัดเครื่องมือตัดนั้นๆ เพื่อปอ้ งกันไม่ใหเ้ ครอ่ื งมือตดั เสียดสีกับผวิ ของชิ้นงานที่ปาดผิวผ่านไปแล้ว
5.1.2 มมุ ของคมตัด เคร่ืองมอื ตดั ท่ใี ชใ้ นการตัดเฉือนเน้ือช้ินงานเกือบทุกชนดิ มพี ้ืนฐานการ
ออกแบบมาจากมมุ ลม่ิ ซงึ่ ประกอบดว้ ยมุมตา่ งๆ ดงั ต่อไปน้ี
5.1.2.1 มุมล่ิม (β) คอื มุมระหว่างพน้ื ท่ีผิวคายเศษและพื้นท่ีผิวหลบของคมเครื่องมือตัด
ขนาดของมมุ ลมิ่ น้ีจะข้นึ อยกู่ ับวสั ดทุ น่ี ามาแปรรูปเช่น ถ้ามุมลิ่มเล็กเหมาะสาหรับวัสดุอ่อน และคมตัดของ
เครื่องมอื ตดั มีมมุ ล่ิมโตเหมาะสาหรับวสั ดุแข็ง เป็นตน้ มมุ ลิ่มที่ปาดผิวชนิ้ งานแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะดังน้ี

1) มมุ ล่ิมตัดแยกและมมุ ล่ิมปาดผวิ โดยมมุ ล่ิมตดั แยกคอื มมุ ที่คมของเครื่องมือตัด
แทรกเขา้ ไปในเนื้อชิน้ งานในแนวตั้งฉากหรอื เอียงทามมุ กบั ผวิ ช้ินงานแล้วทาให้วสั ดแุ ยกหรอื ขาดออกจากกนั

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 54

2) มมุ ลม่ิ ปาดผวิ คอื มุมท่คี มของเคร่อื งมอื ตดั ปาดผิวขนานหรือเอียงทามุมไปกับ
เนอ้ื ชนิ้ งาน

5.1.2.2 มุมหลบ (α) คอื มมุ ระหวา่ งพืน้ ทีผ่ ิวหลบของคมเครื่องมือตัดและพ้ืนผิวที่ทาการตัด
เฉือน

5.1.2.3 มุมคายเศษ () คือมมุ ระหวา่ งพืน้ ทที่ ปี่ าดผิววัสดกุ ับแนวตั้งฉากกับพ้ืนท่ีทาการปาด
ผวิ หรือมมุ ท่เี อียงออกจากแนวด่งิ เพื่อใหส้ ามารถคายเศษออกมาจากพ้ืนท่ีทาการปาดผิวได้

5.2 สว่ นประกอบและมมุ ของมดี กลึง

มีดกลึงเป็นเครอื่ งมือตดั ทีใ่ ชก้ บั เครอื่ งกลงึ แบ่งออกได้เป็นหลายชนิดตามลักษณะของการแปรรูปเช่น
มดี กลงึ ปอก มดี กลงึ ปาดหนา้ มีดกลงึ ตกรอ่ ง มดี คว้าน และมีดกลงึ เกลียว ฯลฯ ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงเฉพาะ
มดี กลงึ ปอกขวา มดี กลงึ ปาดหน้า และมดี กลึงตกร่องซึ่งเปน็ มีดกลึงที่ทาจากเหล็กกล้ารอบสูง (H.S.S) โดยมี
สว่ นประกอบด้วยต่างๆ และมมุ ที่สาคัญดังรูปท่ี 2.14

รูปที่ 2.14 ส่วนประกอบและมมุ ของมดี กลงึ
(ที่มา : คงศักด์ิ ตัณทราวฒั น์พนั ธ์, 2562)

5.2.1 มมุ หลบหน้ามีด (Relief Angle) คอื มุมท่ลี ับให้ปลายของมีดเอยี งเขา้ มาหาดา้ มมีด
ทาใหเ้ กดิ คมที่ปลายและเพื่อไม่ให้ผวิ ดา้ นหน้าของมดี กลงึ เสียดสีกับผิวของชิ้นงาน

5.2.2 มมุ คมตดั ขา้ งมดี (Side Cutting Angle) คอื มุมที่เกิดจากการลับผวิ หน้ามดี ให้เอียง
จากด้ามมีดเขา้ ไปดา้ นใน มุมคมตดั ขา้ งมดี นี้จะทาการลับพรอ้ มกับมมุ หลบข้างมีด

5.2.3 มมุ คมตดั หน้ามดี (End Cutting Angle) คือมมุ ทีเ่ กิดจากการลับปลายมีดให้เอยี ง
เข้าไปดา้ นใน มุมนจ้ี ะทาการลบั พรอ้ มกับมมุ หลบหนา้ มีดโดยวัดกับเสน้ ตัง้ ฉากขอบของด้ามมดี กลึง

5.2.4 มมุ คายขา้ งมดี (Side Rack Angle) คือมุมที่เกิดจากการลับใหด้ า้ นบนของมีดกลึง
เอียงลาดจากคมตัดลงไปด้านข้างทอี่ ยู่ตรงกันขา้ ม ทาให้เศษโลหะหลดุ ออกจากคมตัดได้สะดวกข้ึนเมื่อมีดกลึง
เคล่อื นท่ีไปตามความยาวของชนิ้ งาน เช่น การกลึงปอกและการกลึงเรียว เป็นต้น

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 55

5.2.5 มมุ คายด้านบน (Back Rack Angle) คือมุมท่ีเกิดจากการลับให้ด้านบนของมีดเอยี ง

ลาดลงจากปลายมดี ไปยังดา้ มมีด เพ่อื ทาใหเ้ ศษช้นิ งานหลดุ ออกจากคมตัดได้สะดวก

5.2.6 มมุ หลบขา้ งมดี (Side Relief Angle) คือมมุ ท่ลี บั ให้ดา้ นขา้ งของหนา้ มีดกลึงเอยี งเขา้
ไปดา้ นในด้ามมดี เพ่ือไม่ให้ผิวดา้ นขา้ งของมดี กลงึ เสียดสีกบั ผวิ ของชิ้นงาน

5.3 ขนาดของมมุ มดี กลงึ

มมุ ของเครือ่ งมือตัดจะมีความสาคัญตอ่ การตดั เฉอื นช้นิ งานกลา่ วคือ หากมุมคมตดั เล็กจะทาให้คมตัด
มีความแข็งแรงนอ้ ยและหักง่ายได้งา่ ย หากมุมคายโตก็จะทาให้ใช้แรงในการตดั เฉือนน้อยและเหมาะกับช้ินงาน

อ่อน สาหรบั การตดั เฉือนวัสดุช้ินงานทแี่ ข็งและเปราะจะต้องใหม้ มุ คายเล็กเพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ ห้คมตัดหกั เปน็ ตน้
สาหรับมมุ หลบควรเลือกให้มีขนาดเหมาะสมกับคมของเคร่ืองมือตัดเพื่อไม่ให้มีการเสียดสีกับ

ผวิ ชนิ้ งาน สว่ นมุมคายเศษจะมีผลต่อการเกดิ เศษ อายุการใชง้ านและแรงตดั ของเครื่องมือตัด ในตารางท่ี 2.1

แสดงขนาดของมุมมีดกลงึ ทีใ่ ช้กับวสั ดชุ นิดต่างๆ

ตารางท่ี 2.1 ขนาดของมุมมดี กลงึ ที่ใช้กับวัสดชุ นิดต่างๆ

วสั ดชุ ้ินงาน มมุ คมตดั มมุ คมตัด มมุ หลบ มุมคายบน มมุ คาย
ข้างมีด หน้ามีด หน้ามดี ข้างมดี

เหลก็ กล้าคารบ์ อน 8

(Carbon Steel) 8-10 8 8 8-15 12-18
8
อะลมู ิเนยี ม 8

(Aluminum) 10 8 8 35 16
10 5 12
เหลก็ หล่อ (Cast Iron) 10 8
8 0 5-24
ทองเหลอื ง (Brass) 10 8

โลหะผสมทองแดง

และดบี ุก (Bronze) 10 8 0 5-24
16 20
ทองแดง (Copper) 12 10

เหลก็ กลา้ เครื่องมือ

(Tool Steel) 10 8 8 12

(ทม่ี า : อานาจ ทองแสน, 2559, หนา้ 156)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 56

5.4 มีดกลงึ ปาดหนา้ และการลบั มดี กลงึ ปาดหนา้

มีดกลงึ ปาดหนา้ ใช้กลงึ ปาดผิวดา้ นหนา้ ให้เรียบและลดความยาวของชิ้นงานดงั รูปท่ี 2.15

(ก) หลักการกลงึ ปาดหนา้
หวั จบั

ชน้ิ งาน

มดี กลงึ ปาดหน้า

(ข) งานกลงึ ปาดหนา้
รูปท่ี 2.15 ลักษณะของการกลงึ ปาดหน้า
(ทีม่ า : คงศักด์ิ ตณั ทราวฒั น์พันธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 57

5.4.1 ส่วนประกอบและมมุ ของมีดกลึงปาดหน้า ประกอบดว้ ยมมุ ของคมตดั ท่สี าคัญได้แก่
มุมหลบหนา้ มดี มุมคมตดั ข้างมดี มมุ รวมปลายมีด มมุ คาย มุมหลบขา้ งมดี และมุมต้งั มดี ดังรูปท่ี 2.16

รูปที่ 2.16 ส่วนประกอบและมมุ ของมีดกลึงปาดหนา้
(ทม่ี า : คงศักดิ์ ตัณทราวฒั น์พันธ์, 2562)

5.4.2 ขัน้ ตอนการลบั มดี กลงึ ปาดหน้าขวา มีดังน้ี

รูปที่ 2.17 มมุ ของมีดกลงึ ปาดหนา้
(ท่ีมา : คงศักดิ์ ตัณทราวฒั น์พันธ์, 2562)

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 58
1. ลบั มุมต้งั มดี 78 มมุ คมตดั ขา้ งมีด 12 และมุมหลบขา้ งมดี 8 พร้อมกัน

รูปท่ี 2.18 การลับมมุ ต้ังมดี มมุ คมตดั ขา้ งมดี และมมุ หลบขา้ งมดี
(ทมี่ า : คงศกั ดิ์ ตณั ทราวฒั น์พันธ์, 2562)

2. ลับมุมรวมปลายมดี 55 และมุมหลบหน้ามดี 27 พร้อมกัน และได้ความยาวของคม
ตัดประมาณ 15 มิลลเิ มตร

รปู ที่ 2.19 การลบั มมุ รวมปลายมดี และมมุ หลบหน้ามีด
(ที่มา : คงศักด์ิ ตัณทราวฒั น์พันธ์, 2562)

3. ลบั มุมคาย 12

รูปท่ี 2.20 การลบั มมุ คาย
(ทีม่ า : คงศักดิ์ ตณั ทราวัฒน์พนั ธ์, 2562)

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 59

5.5 มีดกลงึ ปอกและการลบั มดี กลงึ ปอก

มีดกลึงปอกใชก้ ลึงปอกผวิ ชิน้ งานเพ่อื ลดขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางใหเ้ ลก็ ลงดงั รูปท่ี 2.21

(ก) หลักการกลึงปอก
หวั จับ

ช้ินงาน

มดี กลงึ ปอก

(ข) งานกลงึ ปอก
รูปท่ี 2.21 ลักษณะของการกลงึ ปอก
(ทม่ี า : คงศักด์ิ ตณั ทราวฒั น์พนั ธ์, 2562)

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 60

5.5.1 ส่วนประกอบและมมุ ของมดี กลึงปอก มีดกลึงปอกประกอบดว้ ยมุมของคมตดั ที่สาคัญ
ได้แก่ มุมหลบหนา้ มีด มมุ คายบน มุมคายข้าง มุมหลบข้างมีด มุมคมตัดข้างมีด มุมรวมปลายมีดและมุม
ตัง้ มดี ดังรูปที่ 2.22

รปู ท่ี 2.22 ส่วนประกอบและมุมของมีดกลงึ ปอกขวา
(ทมี่ า : คงศกั ด์ิ ตัณทราวฒั นพ์ นั ธ์, 2562)

5.5.2 ข้นั ตอนการลบั มดี กลงึ ปอก มดี งั นี้

รปู ท่ี 2.23 มุมของมดี กลึงปอก
(ทมี่ า : คงศกั ด์ิ ตณั ทราวัฒนพ์ ันธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 61

1. ลบั มมุ ตง้ั มีด 60 มมุ คมตดั ขา้ งมีด 30 และมมุ หลบขา้ งมีด 8 พร้อมกัน และได้ความ
ยาวของคมตัดประมาณ 15 มิลลเิ มตร

รปู ที่ 2.24 การลับมุมต้ังมดี มมุ คมตัดข้างมีดและมุมหลบขา้ งมดี
(ท่มี า : คงศักด์ิ ตณั ทราวัฒนพ์ ันธ์, 2562)

2. ลบั มุมรวมปลายมดี 90 และมุมหลบหน้ามดี 8 พรอ้ มกนั และไดค้ วามยาวของคมตัด
ประมาณ 15 มิลลิเมตร

รปู ที่ 2.25 การลับมุมรวมปลายมีดและมุมหลบหน้ามดี
(ท่ีมา : คงศกั ด์ิ ตัณทราวฒั น์พันธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 62
3. ลับมุมคาย 12

รปู ท่ี 2.26 การลับมมุ คาย
(ทีม่ า : คงศกั ด์ิ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

5.6 มีดกลงึ ตกรอ่ งและการลบั มดี กลึงตกรอ่ ง

มีดกลงึ ตกรอ่ งใช้กลงึ รอ่ งบนหรอื บา่ ของช้นิ งานเพอ่ื ลดขนาดเฉพาะตาแหน่งดังรูปท่ี 2.27

(ก) หลักการกลงึ ตกร่อง

(ข) งานกลงึ ตกร่อง
รปู ที่ 2.27 ลักษณะของการกลงึ ตกร่อง
(ทีม่ า : คงศักด์ิ ตัณทราวัฒน์พนั ธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 63

5.6.1 สว่ นประกอบและมมุ ของมดี กลึงตกร่อง มดี กลงึ ตกรอ่ งประกอบด้วยมมุ ของคมตดั
ที่สาคัญไดแ้ ก่ มุมคาย มมุ หลบหนา้ มดี มุมหลบ ข้างมีด และมมุ เรียวมีด ส่วนความกว้างของคมตัดจะขึ้นอยู่
กับขนาดความกวา้ งของรอ่ งหรือบ่าที่ต้องการกลึงดังรูปท่ี 2.28

รปู ที่ 2.28 สว่ นประกอบและมมุ ของมีดกลึงตกร่อง
(ท่มี า : คงศักด์ิ ตัณทราวฒั นพ์ นั ธ์, 2562)

5.6.2 ขั้นตอนการลบั มดี กลงึ ตกรอ่ ง มดี งั น้ี

รปู ท่ี 2.29 มมุ ของมดี กลงึ ตกร่อง
(ทมี่ า : คงศกั ด์ิ ตณั ทราวฒั น์พันธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 64
1. ลับมมุ ต้ังมีด 90 และมมุ หลบหน้ามดี 8 พรอ้ มกัน

รูปท่ี 2.30 การลบั มุมต้งั มีดและมุมหลบหน้ามีด
(ที่มา : คงศักด์ิ ตณั ทราวฒั นพ์ นั ธ์, 2562)

2. ลบั มุมเรยี วมดี 1 มุมหลบข้างมดี 2 ด้านท่ี 1 พร้อมกัน และได้ความยาวของคมตัด
ประมาณ 14 มิลลเิ มตร

รูปท่ี 2.31 การลบั มมุ เรยี วมีดและมุมหลบขา้ งมีดดา้ นท่ี 1
(ทมี่ า : คงศกั ดิ์ ตณั ทราวัฒน์พนั ธ์, 2562)

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 65

3. ลับมมุ เรียวมีด 1 มุมหลบข้าง 2 ของด้านท่ี 2 พร้อมกันโดยให้ได้ความยาวของคมตัด
ประมาณ 14 มิลลิเมตร และความกว้างของปลายคมตัด 6 มลิ ลเิ มตร

รูปท่ี 2.32 การลับมุมตั้งมดี และมุมหลบหน้ามดี ด้านที่ 2
(ที่มา : คงศกั ดิ์ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

4. ลับมมุ คาย 8

รูปท่ี 2.33 การลับมุมคาย
(ทมี่ า : คงศักดิ์ ตณั ทราวฒั นพ์ นั ธ์, 2562)

5.7 ดอกสวา่ นและการลบั คมตดั ดอกสวา่ น

ดอกสวา่ น (Drill) เปน็ เครอ่ื งมอื ตดั ทใ่ี ช้ในการเจาะรูช้ินงานรปู ทรงกระบอก ดอกสว่านที่นิยมใช้ในการ
เจาะโลหะทว่ั ไปและมใี ช้งานอย่างแพรห่ ลายคือ ดอกสว่านร่องบิด (Twist Drill) โดยที่ลาตัวจะทาร่องเกลียว
บิด 2 รอ่ งวนรอบแนวแกนและมีคมตัด 2 คม ดอกสวา่ นร่องบดิ แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ดอกสว่านก้านตรง
และดอกสว่านก้านเรียว

5.7.1 สว่ นประกอบของดอกสวา่ นรอ่ งบดิ มสี ว่ นประกอบต่างๆ สาคญั ดงั รูปที่ 2.34-2.36

(ก) ส่วนประกอบของดอกสว่านก้านตรง
รปู ท่ี 2.34 ส่วนประกอบสาคัญของดอกสว่านร่องบิดชนิดกา้ นตรง

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 66

(ข) ส่วนประกอบของดอกสวา่ นก้านตรง
รปู ท่ี 2.34 (ต่อ) ส่วนประกอบสาคัญของดอกสวา่ นร่องบดิ ชนดิ ก้านตรง

(ทม่ี า : คงศักดิ์ ตัณทราวฒั น์พนั ธ์, 2562)

(ก) ส่วนประกอบของดอกสว่านกา้ นเรียว

(ข) ส่วนประกอบของดอกสวา่ นกา้ นเรยี ว
รูปที่ 2.35 สว่ นประกอบสาคัญของดอกสวา่ นรอ่ งบดิ ชนิดก้านเรยี ว

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 67

(ค) ส่วนประกอบของดอกสว่านกา้ นเรียว

รูปท่ี 2.35 (ต่อ) สว่ นประกอบสาคัญของดอกสวา่ นร่องบิดชนดิ ก้านเรียว
(ท่ีมา : คงศกั ด์ิ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

รูปที่ 2.36 ส่วนประกอบและมมุ คมตดั ของดอกสว่านรอ่ งบดิ
(ท่ีมา : คงศักด์ิ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

1. แนวแกน (Axis) คือเส้นแสดงแนวแกนของดอกสวา่ น
2. กั่น (Tang) คือส่วนปลายสดุ ของกา้ นเรียว ซ่ึงจะมเี ฉพาะดอกสว่านร่องบิดชนิดก้านเรียว
เท่าน้ัน ใช้สาหรับถอดดอกสวา่ นออกจากแกนเพลา (Spindle) ของเคร่ืองเจาะหรอื ปลอกเรียว เป็นตน้

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 68

3. กา้ น (Shank) คอื สว่ นทใี่ ชจ้ ับยึดดอกสวา่ น ถา้ เปน็ ดอกสว่านชนิดก้านตรงจะจับยึดเข้ากับ

หัวจบั ดอกสว่าน และหากเป็นดอกสว่านชนิดกา้ นเรียวจะใชส้ วมเข้ากบั ปลอกเรยี วหรอื แกนเพลาของเคร่ืองเจาะ

โดยตรง
4. คอดอกสวา่ น (Neck) คือส่วนทีอ่ ยรู่ ะหว่างก้านเรียวและลาตัวของดอกสว่านมีขนาดเล็ก

กว่าความโตของดอกสวา่ น ประโยชน์ของคอดอกสว่านคือ ทาให้ประกอบกา้ นเรียวของดอกสว่านเข้ากับปลอก
เรยี วหรอื แกนเพลาของเครื่องเจาะได้แนน่ หรอื สุดก้านเรียว

5. สันคม (Land) คือผวิ สว่ นทอี่ ยู่ติดกับขอบคม แต่อยู่ต่ากว่าขอบคมเล็กน้อยมีประโยชน์

เพอ่ื ลดการเสยี ดสรี ะหว่างผิวดอกสว่านกับผิวดา้ นในรเู จาะ
6. ร่องบิด (Flutes) คือส่วนทใ่ี ช้สาหรับคายเศษโลหะ

7. ขอบคม (Margin) คอื สันนูนทย่ี นื่ ออกมาจากผวิ ของดอกสว่านเล็กน้อย มีประโยชน์เพื่อ
ลดการเสยี ดสรี ะหว่างผวิ ของดอกสว่านกับผิวดา้ นในรูเจาะ

8. มุมบิด (Helix or Rake Angle) คือมุมของรอ่ งบิดดอกสว่านท่ีทามุมกับแนวแกนของ

ดอกสว่าน
9. มมุ ฟรีหรือมมุ หลบ (Lip Relief Angle) คือมุมที่เกิดจากการลับผิวฟรีหลังคมตัดเพื่อ

ปอ้ งกันไมใ่ หผ้ วิ คมตดั เสียดสีกบั ผวิ ด้านในรูเจาะ
10. ความโตของดอกสวา่ น (Diameter) คอื ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของดอกสว่าน

11. มุมรวมปลายดอกสว่านหรอื มุมจกิ (Point Angle) คือมุมที่วัดระหว่างคมตัดของดอก
สวา่ นหรอื มุมระหวา่ งคมตัดกบั แนวแกนของดอกสวา่ นทั้ง 2 ดา้ นรวมกนั

สาหรับขนาดของมมุ รวมปลายดอกสวา่ นหรือมุมจิกและมุมหลบนี้จะข้ึนอยู่กับชนิดของวัสดุช้ินงาน

ที่นามาเจาะ ดังน้ันในการลบั คมตัดของดอกสว่านจะต้องให้ได้ขนาดของมุมต่างๆ ที่เหมาะสมดงั ตารางที่ 2.2

ตารางท่ี 2.2 ขนาดมุมรวมปลายและมมุ หลบของดอกสวา่ นสาหรบั เจาะวัสดุชนิดต่างๆ

ชนดิ ของวสั ดุช้ินงาน มมุ รวมปลายดอกสว่าน มุมฟรหี รือมมุ หลบ

เหล็กกล้าคาร์บอน 118 8-12

อะลูมิเนียม 140 12-15

แมกนเี ซยี ม 100 12-15

ทองเหลอื ง 130 10-12

ทองแดง 125 12-15

(ทม่ี า : อนันต์ วงศก์ ระจ่าง, 2541, หน้า 43)

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 69
5.7.2 การลับคมตดั ดอกสวา่ นรอ่ งบดิ

รูปที่ 2.37 สว่ นประกอบและมุมคมตดั ของดอกสว่าน
(ท่มี า : คงศักดิ์ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

1. ขดี เส้นเอยี งทามมุ 59 บนแทน่ รองรับงานเพอื่ ใช้เปน็ เสน้ อ้างอิงในการวางดอกสวา่ น

รูปท่ี 2.38 การขดี เส้นเอียงทามุม 59 บนแทน่ รองรบั งาน
(ท่มี า : คงศกั ด์ิ ตัณทราวฒั น์พนั ธ์, 2562)

2. จับดอกสวา่ นลบั คมตดั ขา้ งท่ถี นดั และใช้มอื อีกขา้ งประคองท่ีก่ึงกลางลาตัวของดอกสว่าน
ใกลก้ ับสว่ นปลาย

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 70

3. วางดอกสวา่ นลงบนแทน่ รองรับงานโดยใหแ้ นวแกนดอกสวา่ นขนานกับเส้นเอียงมมุ 59

รปู ท่ี 2.39 การวางตาแหนง่ ของดอกสวา่ นบนแทน่ รองรบั งาน
(ท่มี า : คงศักด์ิ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

4. กดกา้ นดอกลงด้านล่างโดยให้แนวแกนดอกสว่านให้เอียงทามุมประมาณ 15-20 กับ
แนวระดับหรือแท่นรองรับงาน

รูปที่ 2.40 การจบั ดอกสว่านขณะลับคมตัด
(ท่มี า : คงศักด์ิ ตณั ทราวัฒนพ์ ันธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 71

5. เริ่มตน้ ลับคมตัดดา้ นท่ี 1 เอียงทามมุ 59 และมมุ หลบ 10 พรอ้ มกับโดยใช้มือข้างซ้าย
หรอื ขา้ งทีไ่ มถ่ นัดเป็นจดุ หมุนและมอื ขา้ งขวาหรอื ข้างทีถ่ นดั ค่อยๆ หมุนดอกสวา่ นเข้าหาล้อหินเจียระไนพร้อมกับ

กดกา้ นดอกสว่านให้ต่าลงเพือ่ ให้คมตัดดอกสว่านสัมผัสกบั หนา้ ลอ้ หินเจยี ระไนพร้อมกัน

รูปที่ 2.41 การลับคมตัดดอกสว่านดา้ นที่ 1
(ท่ีมา : คงศักดิ์ ตณั ทราวฒั น์พันธ์, 2562)

6. ตรวจสอบมุมรวมของปลายดอกสว่านและความยาวของคมตัดด้วยเกจวัดมุมดอกสว่าน

หรือใบวัดมุม

รปู ท่ี 2.42 การตรวจสอบมุมรวมของปลายดอกสว่านและความยาวของคมตัดดา้ นที่ 1
(ที่มา : คงศกั ดิ์ ตัณทราวัฒน์พนั ธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 72

7. ลบั คมตัดดา้ นท่ี 2 เอียงทามุม 59 มุมหลบ 10 มมุ ลิ่ม 135 และมุมรวมปลายดอก
สวา่ น 118 พร้อมกันตามวธิ ีการเช่นเดียวกับการลับคมตดั ดา้ นที่ 1 โดยต้องใหค้ วามยาวและความสูงของคม
ตดั ทั้ง 2 ด้านเท่ากนั

8. ตรวจสอบมมุ รวมของปลายดอกสวา่ นและความยาวของคมตัดด้วยเกจวัดมุมดอกสว่าน
หรือใบวัดมุม

รปู ท่ี 2.43 การตรวจสอบมมุ รวมของปลายดอกสวา่ นและความยาวของคมตดั ดา้ นท่ี 2
(ทีม่ า : คงศักด์ิ ตณั ทราวฒั นพ์ นั ธ์, 2562)

ข้อควรระวงั ในการลบั คมตดั ดอกสวา่ น
1. ขณะลบั คมตัดดอกสวา่ นให้รกั ษาแนวแกนดอกสว่านทามมุ 59 กบั หน้าลอ้ หนิ เจียระไนเสมอ

รปู ท่ี 2.44 การวางตาแหน่งของดอกสวา่ นขณะลบั คมตัด
(ที่มา : คงศักดิ์ ตัณทราวัฒนพ์ ันธ์, 2562)

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 73

2. ขณะลับคมตดั ให้ตรวจสอบมุมรวมของปลายดอกสว่าน ความยาวของคมตัดและความสูงคมตัด
ทั้ง 2 ด้านให้ถูกตอ้ งตามท่ีกาหนดด้วยเกจวัดมุมดอกสวา่ นหรอื ใบวัดมมุ บอ่ ยๆ เพอ่ื ป้องกันความผดิ พลาด

รปู ที่ 2.45 แสดงมมุ รวมของปลายดอกสว่าน ความยาวของความตัดและความสงู คมตัด
(ที่มา : คงศกั ดิ์ ตณั ทราวัฒน์พันธ์, 2562)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 74

แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรียน

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตัดและงานลับคมจดั

คาชี้แจง : จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ (90 คะแนน)

1. เครอ่ื งเจียระไนลบั คมตัดมหี ลกั การทางานอย่างไร (3 คะแนน)
............................................................................................................................. .............................

............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
2. เครอ่ื งเจียระไนลบั คมตัดแบง่ ออกเปน็ กี่ชนิด อะไรบา้ ง (2 คะแนน)

............................................................................................................................. .............................
.................................................................................................................................................................
3. จงบอกชอื่ และหน้าท่ีการทางานของเครือ่ งเจียระไนตามหมายเลขตอ่ ไปน้ี (14 คะแนน)

12

33

7 4

6
5

หมายเลข ชือ่ หน้าทกี่ ารใชง้ าน

1. ................................................. ................................................................................................

................................................................................................

2. ................................................. ................................................................................................

3. ................................................. ................................................................................................

................................................................................................

4. ................................................. ................................................................................................

5. ................................................. ................................................................................................

6. ................................................. ................................................................................................

7. ................................................. ................................................................................................

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 75

4. ลอ้ หินเจยี ระไนของเครือ่ งเจียระไนลบั ลับคมตดั มกี ี่ชนิด และใช้งานแตกต่างกันอย่างไร (2 คะแนน)
............................................................................................................................. .............................

.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
5. จงบอกช่ือส่วนประกอบของใบวดั มุม (Angle Protractor) ตามหมายเลขตอ่ ไปน้ี (3 คะแนน)

หมายเลข ชือ่

1. ....................................................................
2. ....................................................................

3. ....................................................................

4. ....................................................................
5. ....................................................................

6. ....................................................................

6. เพราะเหตุใดจึงต้องทาการแต่งหน้าล้อหินเจยี ระไนกอ่ นใชง้ าน (2 คะแนน)

............................................................................................................................. .............................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................

7. จงอธิบายวธิ ีการแตง่ หนา้ ลอ้ หินเจียระไนมาพอเขา้ ใจ (4 คะแนน)

............................................................................................................................. .............................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................

............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 76

8. จงบอกขั้นตอนการใชเ้ คร่อื งเจยี ระไนลบั คมตัดมาพอเข้าใจ (4 คะแนน)

............................................................................................................................. .............................

.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

............................................................................................................................. ....................................

.................................................................................................................................................................
9. จงบอกความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งเจียระไนลบั คมตัดมาอยา่ งน้อย 5 ข้อ (5 คะแนน)

............................................................................................................................. .............................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................

.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

............................................................................................................................. ....................................
10. จงบอกวิธีการบารุงรกั ษาเครื่องเจียระไนลับคมตัดมาอย่างนอ้ ย 3 ขอ้ (3 คะแนน)

............................................................................................................................. .............................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................

............................................................................................................................. ....................................
11. จงบอกชอ่ื มุม พื้นทีผ่ วิ และหน้าท่ีของคมเคร่ืองมอื ตัดตามหมายเลขต่อไปน้ี (7 คะแนน)

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 77

หมายเลข ช่ือ หน้าที่
1. ........................................ ....................................................................................................
2. ........................................
3. ........................................ -
4. ........................................ ....................................................................................................
5. ........................................
6. ........................................ -
7. ........................................ ....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................

12. จงบอกชือ่ สว่ นประกอบและมุมของมีดกลึงตามหมายเลขตอ่ ไปนี้ (4 คะแนน)

หมายเลข ชอื่

1. ....................................................................

2. ....................................................................
3. ....................................................................

4. ....................................................................
5. ....................................................................

6. ....................................................................
7. ....................................................................

8. ....................................................................

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 78
13. จากรปู จงอธิบายขัน้ ตอนการลับมีดกลงึ ปาดหน้าให้ได้มุมตามทก่ี าหนด (5 คะแนน)

1........................................................................................................................................................

2........................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

บทที่ 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 79

3........................................................................................................................................................

14. จากรูปจงอธิบายข้ันตอนการลบั มดี กลึงปอกใหไ้ ดม้ มุ ตามที่กาหนด (5 คะแนน)

1........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 80

2........................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

3........................................................................................................................................................

บทท่ี 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 81

15. จากรปู จงบอกช่อื และความหมายของส่วนประกอบดอกสวา่ นตามหมายเลขต่อไปน้ี (10 คะแนน)

หมายเลข ชอื่

1. ....................................................................
2. ....................................................................

3. ....................................................................
4. ....................................................................

5. ....................................................................

6. ....................................................................
7. ....................................................................

8. ....................................................................
9. ....................................................................

10. ....................................................................

11. ....................................................................
12. ....................................................................

13. ....................................................................
14. ....................................................................

15. ....................................................................

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 82
16. จากรปู จงบอกชื่อส่วนประกอบของคมตัดดอกสว่านรอ่ งบดิ ตามหมายเลขตอ่ ไปน้ี (7 คะแนน)

หมายเลข ช่ือ

1. ....................................................................
2. ....................................................................

3. ....................................................................

4. ....................................................................
5. ....................................................................

6. ....................................................................
7. ....................................................................

8. ....................................................................

9. ....................................................................
10. ....................................................................

11. ....................................................................
12. ....................................................................

13. ....................................................................
14. ....................................................................

บทที่ 2 เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 83

17. จงบอกขัน้ ตอนการลับคมตัดดอกสวา่ นร่องบิดมุมรวมปลายดอกสว่าน 118 มาพอใหเ้ ข้าใจ (10 คะแนน)

............................................................................................................................. .............................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................

.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................

............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................
.............................................................................................................................................. ...................

............................................................................................................... ..................................................

............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................

.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................

.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 84

ใบงานที่ 2 รหสั วิชา 20100-1007
บทท่ี 2
ชื่อวชิ า : งานเครือ่ งมอื กลเบ้อื งตน้ (Basic Machine Tools) 1 ชัว่ โมง 30 นาที
ช่อื บท : เครื่องเจียระไนลับคมตัดและงานลบั คมตดั
ช่อื งาน : งานลบั มดี กลึงปาดหน้า
จุดประสงค์ของใบงาน : ลบั มีดกลึงปาดหน้าได้
คาสง่ั : จงลบั มีดกลงึ ปาดหนา้ ให้ได้มมุ และขนาดตามทก่ี าหนด

1. มมุ คมตดั ข้างมดี 12 2. มุมหลบข้างมดี 8
3. มมุ รวมปลายมีด 55 4. มมุ หลบหน้ามีด 27
5. มุมคาย 12 6. มุมตงั้ มดี 78

เคร่อื งมอื กล
1. เครอ่ื งเจียระไนลบั คมตดั

เครือ่ งมอื วดั และตรวจสอบ
1. ใบวัดมุม

เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์
1. ลอ้ แตง่ หนา้ ลอ้ หนิ เจียระไน
2. แว่นนริ ภยั
3. แปรงทาความสะอาด

วัสดชุ ้นิ งาน
1. มีดกลึงเหลก็ กล้ารอบสงู (H.S.S.) ขนาด 3/8 × 3/8 × 8 นวิ้ จานวน 1 แท่ง

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตัด 85

ใบงานที่ 2

ชอ่ื วชิ า : งานเคร่อื งมือกลเบื้องตน้ (Basic Machine Tools) รหัสวชิ า 20100-1007

ชื่อบท : เครื่องเจียระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด บทท่ี 2

ช่อื งาน : งานลับมีดกลึงปาดหนา้ 1 ชว่ั โมง 30 นาที

ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน

1. ศึกษามุมของคมตดั และลาดับขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้เขา้ ใจก่อนลงมอื ปฏบิ ัตงิ าน

2. เตรยี มเครื่องมอื อปุ กรณ์และวสั ดุชน้ิ งานท่ีจะใช้ในการปฏิบัติงานได้แก่ ล้อแต่งหน้าล้อหินเจียระไน

แว่นนริ ภัย ใบวัดมุม แปรงทาความสะอาดและมีดกลึงใหพ้ รอ้ ม เปน็ ต้น

รูปท่ี 1. เครื่องมือ อุปกรณแ์ ละมดี กลึงในการปฏบิ ตั งิ าน

3. ตรวจสอบความพร้อมของเครอื่ งเจยี ระไนลบั มือก่อนใช้งานเช่น ล้อหินเจียระไนไม่มีรอยร้าว กระจก
นริ ภยั ไมแ่ ตกรา้ ว แท่นรองรบั งาน สายไฟต่อเขา้ เครือ่ งและสวติ ชเ์ ปิด-ปดิ อยู่ในสภาพสมบูรณ์ เป็นต้น

กระจกนิรภยั กระจกนริ ภัย

ลอ้ หินเจยี ระไน

ล้อหินเจียระไน แท่นรองรบั งาน
สวติ ช์เปดิ -ปิด

รูปท่ี 2. ตรวจสอบความพร้อมของเครอื่ งเจียระไนมอื ก่อนปฏบิ ตั งิ าน

บทท่ี 2 เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั คมตดั 86

ใบงานท่ี 2

ชอ่ื วชิ า : งานเครือ่ งมือกลเบือ้ งต้น (Basic Machine Tools) รหัสวิชา 20100-1007

ชื่อบท : เคร่อื งเจยี ระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด บทที่ 2

ชื่องาน : งานลับมีดกลึงปาดหนา้ 1 ชั่วโมง 30 นาที

4. สวมแวน่ นริ ภยั เพื่อปอ้ งกนั เศษโลหะกระเด็นเข้าตา
5. เปดิ สวติ ช์เครอ่ื งให้ล้อหินเจยี ระไนหมนุ จนกระทง่ั ไดค้ วามเร็วรอบคงท่ี แลว้ แต่งหน้าหินเจียระไนให้เรียบ

ท้งั 2 ด้านดว้ ยลอ้ แต่งหน้าล้อหินเจยี ระไน

รปู ท่ี 3. การแตง่ หน้าลอ้ หินเจยี ระไน

6. ปดิ สวิตช์ใหล้ ้อหินเจยี ระไนหยุดนง่ิ แลว้ ปรับแท่นรองรับงานกับล้อหินเจียระไนทั้ง 2 ด้านให้มีระยะห่าง
กันประมาณ 2-3 มิลลิเมตร เม่ือปรับระยะหา่ งได้แลว้ ขันยึดแท่นรองรับงานให้แน่น

รปู ที่ 4. การปรับระยะหา่ งของลอ้ หินเจยี ระไนกับแท่นรองรบั งาน


Click to View FlipBook Version