www.hipra.com โทรศัพท์: +66 (0) 2090 9612-4 แฟกซ์: +66 (0) 2090 9615 www.hipra.com โทรศัพท์: +66 (0) 2090 9612-4 แฟกซ์: +66 (0) 2090 9615 LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ส า ร ะ ส ำา ห รั บ ว ง ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ https://livestockemag.com/ สัตว์เศรษฐกิจ ปี 39 ฉบับที่ 900 มกราคม 2566 https://livestockemag.com/ เสถียรภาพไก่ไข่ ปี 66... เริ่มด้วย “วินัยของผู้เลี้ยง” ราคาวัตถุดิบ ปี 66 ยังพุ่ง... ผู้เลี้ยงครวญแบกรับต้นทุนสูง โจทย์ใหญ่... ที่ผู้เลี้ยงหมูไทยต้องเผชิญ ในปี 66 ปศุสัตว์ไทย ปี 66 รุ่ง... คาดยอดส่งออกถึง 3 แสนล้าน เสถียรภาพไก่ไข่ ปี 66... เริ่มด้วย “วินัยของผู้เลี้ยง” ราคาวัตถุดิบ ปี 66 ยังพุ่ง... ผู้เลี้ยงครวญแบกรับต้นทุนสูง โจทย์ใหญ่... ที่ผู้เลี้ยงหมูไทยต้องเผชิญ ในปี 66 ปศุสัตว์ไทย ปี 66 รุ่ง... คาดยอดส่งออกถึง 3 แสนล้าน
6 สัตวเศรษฐกิจ ขาวสารและสาระสําหรับวงการเลี้ยงสัตว âä ASF ·ÕèÃкҴã¹Êءà ໚¹»˜ÞËÒãËÞ‹ÃдѺâÅ¡ ¾Íæ ¡Ñºâ¤ÇÔ´-19 ·ÕèÃкҴã¹Á¹ØÉ ᵋ·ÕèዡNjҡç¤×Í ASF à¡Ô´¢Öé¹ÁÒáÅŒÇ¡Ç‹Ò 100 »‚ã¹á·º·Ø¡ÀÙÁÔÀÒ¤¢Í§âÅ¡ ¡ÅѺÂѧäÁ‹ÁÕÂÒÃÑ¡ÉÒËÃ×ÍÇѤ«Õ¹»‡Í§¡Ñ¹ ·íÒãËŒ·Ñé§à¡ÉµÃ¡ÃáÅмٌ»ÃСͺ ¡ÒÃã¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁËÁÙ·ÑèÇâÅ¡ µ‹Ò§¢ÂÒ´áÅÐËÇÒ´¡ÅÑÇâä¹Õé¡Ñ¹ÁÒ¡ ·Ò§·Õè´Õ·ÕèÊØ´¤×Í “¡Òû‡Í§¡Ñ¹” ·Ø¡ÇÔ¶Õ·Ò§äÁ‹ãËŒà¡Ô´âä áµ‹ÊØ´·ŒÒÂËÒ¡à¡Ô´áŌǡç¨íÒ໚¹µŒÍ§¨íÒ¡Ñ´¾×é¹·ÕèÃкҴãËŒ¹ŒÍ·ÕèÊØ´ ·íÒÅÒ¾ÒËзÕèÍÒ¨á¾Ã‹àª×éÍãˌ䴌ÁÒ¡·ÕèÊØ´ àÃÕÂ¡ä´ŒÇ‹Ò ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃâä ASF ãˌ䴌¹Ñé¹à»š¹ “§Ò¹ËÔ¹” ÍÕ¡§Ò¹Ë¹Ö觢ͧ “¡ÃÁ»ÈØÊѵǔ ·Õà´ÕÂÇ Å‹ÒÊØ´ ͸Ժ´Õ¡ÃÁ»ÈØÊÑµÇ “¹.ʾ.ÊÁªÇ¹ Ãѵ¹Áѧ¤ÅÒ¹¹·” »ÃСÒÈ໇ÒËÁÒ Zero ASF ãˌ਌Ò˹ŒÒ·Õè¡ÃÁ»ÈØÊÑµÇ ·Ø¡¤¹ãªŒà»š¹á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑµÔ˹ŒÒ·Õè «Öè§à»š¹àÃ×èͧ¹‹ÒÂÔ¹´ÕÍ‹ҧÂÔè§ áÁŒ¨ÐÃٌNjÒÂҡᵋà¢×èÍNjҷءÀҤʋǹã¹áǴǧËÁÙ‹ÍÁãËŒ ¡ÒÃʹѺʹعÍ‹ҧàµçÁ·Õè à¾×èÍ¡ÃдѺ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ㹡ÒÃàÅÕé§ËÁÙãËŒÃÍ´ áÅÐà¾×èͤÇÒÁÁÑè¹ã¨ã¹¡ÒÃŧËÁÙࢌÒàÅÕé§ãËÁ‹¢Í§ à¡ÉµÃä·Â «Ö觨зíÒãËŒ¡ÒÃà¾ÔèÁ¼Å¼ÅÔµËÁ٢Ѻà¤Å×è͹ä»ä´Œ¨¹à¢ŒÒÊÙ‹¨Ø´ÊÁ´ØÅ·ÕèàËÁÒÐÊÁ »ÃÐà·Èä·Â»ÃСÒȾºâä ASF àÁ×è͵Œ¹»‚ 2565 «Öè§¡ç·íÒãËŒà¡Ô´¼Å¡Ãзºà»š¹Ç§¡ÇŒÒ§ÁÒ¨¹¶Ö§»˜¨¨ØºÑ¹ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ »ÃÔÁÒ³áÁ‹¾Ñ¹¸ØáÅÐÊØ¡Ã¢Ø¹·ÕèËÒÂ仨ҡÃкº¹ÑºÅŒÒ¹µÑÇ à¡ÉµÃ¡Ã¼ÙŒàÅÕé§ËÁÙ·ÕèµÑ´ÊÔ¹ã¨àÅÔ¡ÍÒªÕ¾ä»ÃÒÇ 50% Ê‹§¼Åµ‹Íà¹×èͧãËŒ »ÃÔÁÒ³à¹×éÍËÁÙäÁ‹à¾Õ§¾Íµ‹Í¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒúÃÔâÀ¤ áÅÐÃдѺÃÒ¤Ò¢ÂѺ¢Öé¹µÒÁ¡Å䡵ÅÒ´ ËÃ×ÍËÅÑ¡ÍØ»Ê§¤ÍØ»·Ò¹¨¹¡ÃзÑè§ à»š¹ª‹Í§Ç‹Ò§ãËŒà¡Ô´ “¢ºÇ¹¡ÒÃËÁÙà¶×è͹” ÅÑ¡Åͺ¹íÒËÁÙ·ÕèäÁ‹¼‹Ò¹¡ÒõÃǨâäࢌÒÁÒÂѧÃÒªÍҳҨѡÃä·ÂáÅШíÒ˹‹ÒÂã¹ÃÒ¤ÒµèíҡNjҵŒ¹·Ø¹¡ÒüÅÔµËÁÙä·Â «éíÒàµÔÁ áÅзíÒÃŒÒÂà¡ÉµÃ¡Ã¤¹àÅÕé§ËÁ٢ͧä·Â·ÕèÂѧàËÅ×ÍÍÂÙ‹ÍÕ¡¤ÃÖè§Ë¹Öè§ ãËŒµŒÍ§µÑ´ÊÔ¹ã¨ÍÕ¡¤ÃÑé§Ç‹Ò¨Ð仵‹ÍËÃ×ÍàÅÔ¡ÍÒªÕ¾´Õ «Öè§ËÒ¡ »ÃÐà·Èä·ÂäÁ‹àËÅ×Íà¡ÉµÃ¡ÃàÅÕé§ËÁÙÍÕ¡µ‹Íä» Â‹ÍÁ¡Ãзº¤ÇÒÁÁÑ蹤§·Ò§ÍÒËÒâͧ»ÃÐà·ÈÍ‹ҧËÅÕ¡àÅÕè§äÁ‹ä´Œ ¢ºÇ¹¡ÒùÕéàͧ·Õè໚¹ “¤ÇÒÁàÊÕè§” ¢Í§¡ÒùíÒࢌÒâä ASF ࢌÒÁÒ ÃÇÁ¶Ö§à»š¹¤ÇÒÁàÊÕè§·Õè¨Ð·íÒãËŒâä ASF ·Õèà¤Â¾º ã¹»ÃÐà·Èä·ÂµŒÍ§¡ÅÒ¾ѹ¸Ø «Öè§Âҡ㹡ÒäǺ¤ØÁÁÒ¡¢Öé¹ä»ÍÕ¡ à¹×èͧ¨Ò¡ËÁÙàËŋҹÑé¹¶Ù¡ºÃèØà»š¹ËÁ١ŋͧ᪋á¢ç§ ÁÕµŒ¹·Ò§ ÁÒ¨Ò¡»ÃÐà·Èá¶ºÂØâû«Öè§¡íÒÅѧÁÕ ASF ÃкҴ ¢³Ð·Õèàª×é͹ÕéÁÕ¤ÇÒÁ·¹·Ò¹ÊÙ§·Ñé§ã¹ÍسËÀÙÁԵԴźÍ‹ҧã¹ËŒÍ§áª‹á¢ç§ ËÃ×Í áÁŒáµ‹ã¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁµ‹Ò§æ “ËÁÙà¶×è͹” ¨Ö§¹Ñºà»š¹ÍØ»ÊÃäµÑÇ໇§·Õè¨Ð¢Ñ´¢Çҧ໇ÒËÁÒ ZERO ASF ¢Í§¡ÃÁ»ÈØÊÑµÇ ·Õè¨íÒ໚¹µŒÍ§à˧¡íҨѴàÊÕÂãËŒÊÔé¹ «Ö觹͡¨Ò¡ ¨ÐÅ´¤ÇÒÁàÊÕè§ËÃ×ÍàÃ×èͧâä ASF áÅŒÇ Âѧ໚¹»˜¨¨ÑÂÊÌҧ¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨ãËŒà¡ÉµÃ¡Ã NjҨÐäÁ‹ÁÕËÁÙµ‹Ò§¶Ôè¹à¢ŒÒÁÒàºÕ´àºÕ¹ µÅÒ´´ŒÇ “¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁãËŒà¡ÉµÃ¡Ã¡ÅѺÁÒàÅÕé§ÊѵÇä´Œµ‹Íà¹×èͧ µŒÍ§»ÃФѺ»ÃФͧ´ÙáÅäÁ‹ãËŒâäÃкҴ¡ÅѺÁÒ«éíÒä´Œ ᵋËÒ¡ÂѧÁÕ ªÔé¹Ê‹Ç¹ÊØ¡ÃËÃ×͵ÑÇÊѵǷÕèÁÕâäࢌÒÁÒ à»‡ÒËÁÒ·Õè ASF ໚¹Èٹ¨Ð໚¹ä»ä´ŒÂÒ¡ ÃÇÁ¶Ö§à¡ÉµÃ¡Ã¼ÙŒàÅÕéÂ§ÊØ¡ÃÂѧºÍºªéíÒáÅÐÍÂÙ‹ ÃÐËNjҧ¿„œ¹¿Ù ËÒ¡ÁÕ¡ÒÃÅÑ¡Åͺ¹íÒࢌÒÁÒÍÕ¡¡ç¨ÐÂÔè§·íÒÃŒÒÂà¡ÉµÃ¡Ã à¾ÃÒСÒùíÒËÁÙࢌÒàÅÕé§ãËÁ‹µŒÍ§Å§·Ø¹ÊÙ§ à¡ÉµÃ¡ÃÁÕ¤ÇÒÁàÊÕè§·Õè ¨Ð¢Ò´·Ø¹ áÅÐËÅÒÂÃÒÂÍÒ¨·ŒÍá·Œ¨¹äÁ‹ÍÂÒ¡¡ÅѺࢌÒÁÒàÅÕé§ãËÁ‹ à¾ÃÒÐÁÕ¡ÒÃÅÑ¡Åͺ¹íÒࢌҪÔé¹Ê‹Ç¹ÊØ¡ÃÃÒ¤Ò¶Ù¡ÁÒá‹§µÅÒ´ «Ö觨зíÒãËŒà¡ÉµÃ¡ÃÅŒÁàÅÔ¡ÍÒªÕ¾ËÒÂä» áÅÐÂÒ¡·Õè¨Ð¡ÅѺࢌÒÁÒàÅÕé§ãËÁ‹´Ñ§·Õèà¡Ô´¢Öé¹áÅŒÇã¹µ‹Ò§»ÃÐà·È” ÊзŒÍ¹ÁØÁÁͧ¢Í§ ͸Ժ´Õ¡ÃÁ»ÈØÊѵǷÕèáÊ´§ÍÍ¡¶Ö§¤ÇÒÁࢌÒ㨻˜ÞËÒáÅоÌÍÁª‹ÇÂàËÅ×Íà¡ÉµÃ¡ÃÍ‹ҧàµçÁ·Õè «Öè§¶×Í໚¹¡íÒÅѧ㨪Ñ鹴բͧà¡ÉµÃ¡Ã ¤¹àÅÕé§ËÁٷء¤¹ àÁ×èÍ͸Ժ´Õ¡ÃÁ»ÈØÊѵǻÃСÒÈʧ¤ÃÒÁ¡Ñº ”¢ºÇ¹¡ÒÃËÁÙà¶×è͹” à¾×èÍÁØ‹§ÊÙ‹ Zero ASF áÅŒÇ ¡çµŒÍ§¢Íàµ×͹¼ÙŒà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹ ¢ºÇ¹¡ÒùÕéãËŒàµÃÕÂÁµÑÇàµÃÕÂÁ㨠áÅÐÂéíҪѴæ ÍÕ¡·ÕÇ‹Ò ¡ÒÃÅÑ¡Åͺ¹íÒࢌÒÊѵÇËÃ×ͪÔé¹Ê‹Ç¹à¹×éÍÊÑµÇ à»š¹àÃ×èͧ¼Ô´¡®ËÁÒµÒÁ ¾.Ã.º.âäÃкҴÊÑµÇ ¾.È.2558 ¤Ò´Ç‹ÒÍÕ¡äÁ‹¹Ò¹¨Ò¡¹Õ餧䴌àËç¹ “µÑǺ§¡ÒÔ à´Ô¹¤Íµ¡à¢ŒÒ«Ñ§àµ. LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE Zero ASF อาจเปนเพ�ยงฝน… ถา “หมูเถื่อน” ยังอยู
Manufacturer: Name: Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Address: Lushang square,Jingshi road, Jinan,Shandong province,China Tel/What’s app/Line:0086-18369909316 Email: rachel@sdlachance.com Thailand distributor : Name: Feed Techno Focus Co., Ltd. Address: 554/3 Asok-Dindaeng Rd., Dindaeng, Bangkok 10400 Thailand Tel. : 0066- (0)2 641 8862-4
Bile acid Contact information: Manufacturer:Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Web: www.sdlachance.net Email: rachel@sdlachance.com การทํางานของกรดนํ +าดี (Bile Acids) มีผลต่อตับอย่างไรบ้าง กรดนํ +าดี (Bile Acids) จะทําหน้าที=ช่วยให้ไขมันถูกย่อย และดูดซึมเข้าที=สําไส้เล็กส่วนปลาย (Terminal Ileum) กรดนํ +าดี (Bile Acids) ถูกนํากลับมาที=ตับ เพื=อกระตุ้นให้ตับสังเคราะห์ และหลั=งนํ +าดีขึ +นมาใหม่ นอกจากนี +การหลั=งนํ +าดีทําให้มีการขับสารพิษ และสารตกค้างต่างๆจากตับ อย่างเช่น ยา โลหะหนัก และสาร อันตรายอื=นๆ กรดนํ +าดี (Bile Acids) ป้องกันความเสียหายของตับจากเอนโดทอกซิน (Endotoxin : LPS) โดยการ จบัและรวมตวัเพ ื= อยบัยงั+การออกฤทธิU ของเอนโดทอกซนิลดความเครียดจากปฏิกิริยาออกซเิดชนัและการ ตอบสนองต่อการอักเสบ ซึ=งช่วยป้องกันความเสียหายของตับที=จะเกิดจากเอนโดทอกซิน ในการป้องกันตับ กรดนํ +าดี (Bile Acids) เป็นปัจจัยควบคุมและกระตุ้นการสังเคราะห์กรดนํ +าดีผ่าน Bile Acids Sensitive Nuclear Receptor (FXR : Fanosyl X Receptor) ซึ=งมีคุณสมบัติ ป้องกันภาวะท่อนํ +าดีตีบ และอุดตัน (Anti-cholestasis) ต้านการเกิดภาวะผังผืดเกาะตับ (Antiliver fibrosis) และต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory) สารในกรดนํ +าดี (Deoxycholic Acid and Ursodeoxycholic Acid) จะช่วยส่งเสริมให้มีการ หลั=งนํ +าดีออกมาเป็นจํานวนมากจากเซลล์ตับ เพิ=มการละลายของคอเลสเตอรอล ทําให้ท่อทางเดินนํ +าดี ราบเรียบ ซึ=งมีบทบาทในการปกป้องตับ และถุงนํ +าดีจากภาวะท่อนํ +าดีอุดตัน กรดนํ +าดี (Bile Acids) สามารถส่งเสริมและเพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ (เพิ=มประสิทธิภาพการ ทํางานของ SOD, GSH-Px และ GR) ขจัดออกซิเจนส่วนเกินที=เป็นอนุมูลอิสระจากกระบวนการ ออกซิเดชันของไขมัน (Fat Oxidation) ขจัดเอนโดทอกซิน (Endotoxin) และสารพิษจากเชื +อรา (Mycotoxin) เพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ ความสามารถในการป้องกันความเครียดและ ผลกระทบจากความเครียด การแนะนําการใช้ Runeon (Bile Acids) ในไก่เนื +อ ไก่ไข่ และเป็ด เพื=อการปรับปรุงประสิทธิภาพ แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ในอัตรา 200 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน กรณี การแก้ปัญหาการผลกระทบของสารพิษจากเชื +อรา แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ใน อัตรา 500~1,000 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน ร่วมกับผลิตภัณฑ์จับสารพิษจากเชื +อรา Bile acid Contact information: Manufacturer:Shandong Longchang Animal Health Product co.,ltd Web: www.sdlachance.net Email: rachel@sdlachance.com การทํางานของกรดนํ +าดี (Bile Acids) มีผลต่อตับอย่างไรบ้าง กรดนํ +าดี (Bile Acids) จะทําหน้าที=ช่วยให้ไขมันถูกย่อย และดูดซึมเข้าที=สําไส้เล็กส่วนปลาย (Terminal Ileum) กรดนํ +าดี (Bile Acids) ถูกนํากลับมาที=ตับ เพื=อกระตุ้นให้ตับสังเคราะห์ และหลั=งนํ +าดีขึ +นมาใหม่ นอกจากนี +การหลั=งนํ +าดีทําให้มีการขับสารพิษ และสารตกค้างต่างๆจากตับ อย่างเช่น ยา โลหะหนัก และสาร อันตรายอื=นๆ กรดนํ +าดี (Bile Acids) ป้องกันความเสียหายของตับจากเอนโดทอกซิน (Endotoxin : LPS) โดยการ จบัและรวมตวัเพ ื= อยบัยงั+การออกฤทธิU ของเอนโดทอกซนิลดความเครียดจากปฏิกิริยาออกซเิดชนัและการ ตอบสนองต่อการอักเสบ ซึ=งช่วยป้องกันความเสียหายของตับที=จะเกิดจากเอนโดทอกซิน ในการป้องกันตับ กรดนํ +าดี (Bile Acids) เป็นปัจจัยควบคุมและกระตุ้นการสังเคราะห์กรดนํ +าดีผ่าน Bile Acids Sensitive Nuclear Receptor (FXR : Fanosyl X Receptor) ซึ=งมีคุณสมบัติ ป้องกันภาวะท่อนํ +าดีตีบ และอุดตัน (Anti-cholestasis) ต้านการเกิดภาวะผังผืดเกาะตับ (Antiliver fibrosis) และต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory) สารในกรดนํ +าดี (Deoxycholic Acid and Ursodeoxycholic Acid) จะช่วยส่งเสริมให้มีการ หลั=งนํ +าดีออกมาเป็นจํานวนมากจากเซลล์ตับ เพิ=มการละลายของคอเลสเตอรอล ทําให้ท่อทางเดินนํ +าดี ราบเรียบ ซึ=งมีบทบาทในการปกป้องตับ และถุงนํ +าดีจากภาวะท่อนํ +าดีอุดตัน กรดนํ +าดี (Bile Acids) สามารถส่งเสริมและเพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ (เพิ=มประสิทธิภาพการ ทํางานของ SOD, GSH-Px และ GR) ขจัดออกซิเจนส่วนเกินที=เป็นอนุมูลอิสระจากกระบวนการ ออกซิเดชันของไขมัน (Fat Oxidation) ขจัดเอนโดทอกซิน (Endotoxin) และสารพิษจากเชื +อรา (Mycotoxin) เพิ=มประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ ความสามารถในการป้องกันความเครียดและ ผลกระทบจากความเครียด การแนะนําการใช้ Runeon (Bile Acids) ในไก่เนื +อ ไก่ไข่ และเป็ด เพื=อการปรับปรุงประสิทธิภาพ แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ในอัตรา 200 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน กรณี การแก้ปัญหาการผลกระทบของสารพิษจากเชื +อรา แนะนําให้เติม Runeon (Bile Acids) ใน อัตรา 500~1,000 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน ร่วมกับผลิตภัณฑ์จับสารพิษจากเชื +อรา
6 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ฟังเสียงคนไทยพร่ำ�บ่นตั้งแต่ต้นปีที่ผ่�นม�จนถึงปัจจุบัน คือ “ของแพง” โดยเฉพ�ะอ�ห�รที่มีก�รปรับร�ค�ต่อเนื่องจ�ก เหตุผลหลักคือต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนพลังง�น และต้นทุนปัจจัยก�รผลิตและก�รป้องกันโรคเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งวัตถุดิบอ�ห�ร สัตว์เพิ่มแรงม�กถึง 30% สินค้�สำ�คัญ คือ ข้�วโพดเลี้ยงสัตว์ ส่งผลกระทบโดยตรงกับภ�คปศุสัตว์ที่พึ่งวัตถุดิบชนิดนี้เฉลี่ย 50 - 70% ทั้ง ไก่ ไข่ไก่ และสุกร ต�มลำ�ดับ จึงไม่อ�จหลีกเลี่ยงได้ที่เกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่ก�รผลิตต้องปรับ ร�ค�เพิ่มขึ้นต�มกลไกตล�ด ให้ส�ม�รถเดินหน้�ธุรกิจได้โดยไม่หยุดชะงัก สำ�หรับอ�ห�รที่เข้�ถึงง่�ยที่สุดสำ�หรับคนทุกเพศทุกวัยทั่วโลกอย่�ง “ไข่ไก่” ในประเทศไทยเมื่อไหร่ก็ต�มที่มีก�รปรับร�ค� เสียงบ่นอื้ออึงก็จะต�มม� ขณะที่ภ�คเกษตรกรก็สุดอั้นกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ร�ค�ไข่ไก่ขอปรับบ้�ง ส่วนภ�คผู้บริโภคล่�สุดจ�ก ก�รปรับร�ค�ไข่คละหน้�ฟ�ร์มอีก 20 สต�งค์ต่อฟอง ก็ร้องว่�...ขึ้นอีกแล้ว หรือไข่ร�ค�พุ่งบ้�ง ลำ�บ�กแน่...ทั้งที่คว�มจริง 2 เดือนก่อนหน้�ร�คลงไป 20 สต�งค์ต่อฟอง ต�มกลไกตล�ด ซึ่งกรมก�รค้�ภ�ยในออกม�ยืนยัน ว่� ร�ค�ไข่ไก่เพิ่มขึ้น 20 สต�งค์จ�ก 3.40 บ�ทต่อฟอง เป็น 3.60 บ�ทต่อฟอง ภ�ครัฐมีก�รติดต�มใกล้ชิดและได้ตรวจสอบแล้วว่� ก�รปรับร�ค� ไข่ไก่ดังกล่�วเป็นไปต�มอุปสงค์- อุปท�น สอดคล้องกับต้นทุนก�รผลิตโดยเฉพ�ะอ�ห�รสัตว์และยังไม่เกินร�ค�ที่กรมฯ กำ�กับ ดูแลอยู่ ให้ทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตอยู่ได้อย่�งสมดุล ไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภ�คที่ร�ค�ไข่ไก่เข้�ถึงได้ง่�ยม�ก ห�กเปรียบเทียบกับประเทศท�งตะวันตกร�ค�ไข่ไก่ (ปกติ) เฉลี่ยต่อฟองสูงกว่� 5 บ�ท ขณะที่ร�ค�ไข่ไก่คุณภ�พพิเศษร�ค�เกิน 10 บ�ทต่อฟอง สะท้อนให้เห็นร�ค�ต�มคุณภ�พและ กลไกตล�ด ของคุณภ�พดีร�ค�สูงต�มต้นทุน ได้ถ�มผู้สูงวัยอ�ยุ 60 ปีท่�นหนึ่ง ว่� ไข่ไก่ในสมัยก่อนร�ค�ฟองละเท่�ไร คำ�ตอบที่ได้รับคือไม่เกิน 1 บ�ทต่อฟอง แล้วขยับขึ้นม�เรื่อยจนวันนี้ผู้สูงวัยท่�นเดิมซื้อไข่ที่ร�ค� 4 - 5 บ�ทต่อฟอง (ร�ค�ที่ตล�ดสด) เมื่อเทียบกับร�ค�น้ำ�มัน ร�ค� ทองคำ� ปรับขึ้นม�กกว่�เท่�ตัว หรือร�ค�สินค้�อ�ห�รประเภทอื่น ๆ เช่น น้ำ�มันพืช ร�ค�ปรับสูงขึ้นม�กกว่�ไข่ไก่หล�ยสิบ เท่�ตัว แต่ผู้บริโภครับร�ค�ได้ไม่ปริป�กบ่นกลับมองว่�เป็นสินค้�จำ�เป็น ทั้งที่ร�ค�ไข่ไก่ในแต่ละช่วงของปีร�ค�ปรับขึ้น - ลง ต�มวัฏจักรคว�มต้องก�ร เช่น ช่วงปิดเทอม ซึ่งคว�มต้องก�รไข่ลดลง ร�ค�ตกต่ำ�เหลือฟองละ 2.50 บ�ท ช่วง 2 - 3 ปีที่ ผ่�นม� ช่วงเศรษฐกิจไม่ดีกำ�ลังซื้อหดห�ย แทนที่จะซื้อยกแผง 30 ฟอง ก็ซื้อเพียง 10 ฟอง แค่พอกิน คนปรับพฤติกรรม ต�มกำ�ลังซื้อ โอก�สในก�รข�ยก็ลดลงไปอีก...เกษตรกรต้องแบกรับภ�ระสต๊อกและคว�มเสี่ยงไว้ ด้�นผู้เลี้ยงไก่ไข่ หนักที่สุดคือปี2565 แบกภ�ระต้นทุนวัตุดิบอ�ห�รสัตว์จนหลังแอ่นเพร�ะร�ค�เพิ่มขึ้นสูงสุด 30% จ�ก พิษของสงคร�มรัสเซีย - ยูเครน อย่�งที่เร�ท่�นทร�บว่�ทั้ง 2 ประเทศ เป็นผู้ส่งออกธัญพืชและวัตถุดิบอ�ห�รสัตว์ร�ยใหญ่ติด อันดับ 1 ใน 5 ของโลก นอกจ�กนี้ผู้เลี้ยงยังต้องเสริมเกร�ะป้องกันโรคระบ�ดสัตว์เพิ่มเติมอีก 20 - 30% เพื่อคว�มปลอดภัย และสุขอน�มัยที่ดีของผู้บริโภค ร�ค�ไข่คละหน้�ฟ�ร์มปัจจุบันอยู่ที่ 3.60 บ�ท/ฟอง ขณะที่ต้นทุนผลิตอยู่ใกล้เคียงร�ค�หน้� ฟ�ร์ม รัฐบ�ล ควรถอดบทเรียนครั้งนี้นำ�ปัจจัยต่�ง ๆ ไปปรับปรุงและพัฒน�ภ�คก�รเกษตรและภ�คปศุสัตว์ของไทย ให้ก�ร ผลิตมีเพียงพอกับคว�มต้องก�ร สำ�คัญคือ ร�ค�ควรต�มกลไกตล�ด เพร�ะเสถียรภ�พร�ค�เป็นแรงจูงใจสำ�คัญของเกษตรกร เป็นคว�มหวัง โอก�ส และอน�คตของพวกเข� แทนที่จะนำ�ม�ตรก�รควบคุมและตรึงร�ค�จนเกษตรกรหน้�หมองม�ใช้ปกป้อง คนกลุ่มหนึ่ง แล้วทำ�ให้คนอีกหล�ยกลุ่มในห่วงโซ่ก�รผลิตเดือดร้อน “กลไกตล�ด” ใช้อย่�งถูกต้องก็จะสร้�งคว�มมั่นคง มั่นคั่ง และยั่งยืน ด้�นอ�ห�รของประเทศที่ไม่ควรถูกละเลย ห�กรัฐบ�ล พิจ�รณ�วิกฤตครั้งนี้สร้�งเป็นโอก�ส ปรับโครงสร้�งว�งร�กฐ�นภ�คปศุสัตว์ของไทยใหม่ กำ�หนดเป้�หม�ย สำ�คัญคือ “เสถียรภ�พร�ค�” เป็นสำ�คัญ ให้เกษตรกรเห็นโอก�สสดใสที่ปล�ยอุโมงค์ เมื่อนั้นไทยจะบรรลุเป้�หม�ย “ครัวของ โลก” อย่�งแท้จริง. LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เสถียรภาพราคาไข่ไก่ : ความหวัง โอกาสและอนาคตของเกษตรกร
6 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ฟังเสียงคนไทยพร่ำ�บ่นตั้งแต่ต้นปีที่ผ่�นม�จนถึงปัจจุบัน คือ “ของแพง” โดยเฉพ�ะอ�ห�รที่มีก�รปรับร�ค�ต่อเนื่องจ�ก เหตุผลหลักคือต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนพลังง�น และต้นทุนปัจจัยก�รผลิตและก�รป้องกันโรคเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ซึ่งวัตถุดิบอ�ห�ร สัตว์เพิ่มแรงม�กถึง 30% สินค้�สำ�คัญ คือ ข้�วโพดเลี้ยงสัตว์ ส่งผลกระทบโดยตรงกับภ�คปศุสัตว์ที่พึ่งวัตถุดิบชนิดนี้เฉลี่ย 50 - 70% ทั้ง ไก่ ไข่ไก่ และสุกร ต�มลำ�ดับ จึงไม่อ�จหลีกเลี่ยงได้ที่เกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่ก�รผลิตต้องปรับ ร�ค�เพิ่มขึ้นต�มกลไกตล�ด ให้ส�ม�รถเดินหน้�ธุรกิจได้โดยไม่หยุดชะงัก สำ�หรับอ�ห�รที่เข้�ถึงง่�ยที่สุดสำ�หรับคนทุกเพศทุกวัยทั่วโลกอย่�ง “ไข่ไก่” ในประเทศไทยเมื่อไหร่ก็ต�มที่มีก�รปรับร�ค� เสียงบ่นอื้ออึงก็จะต�มม� ขณะที่ภ�คเกษตรกรก็สุดอั้นกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ร�ค�ไข่ไก่ขอปรับบ้�ง ส่วนภ�คผู้บริโภคล่�สุดจ�ก ก�รปรับร�ค�ไข่คละหน้�ฟ�ร์มอีก 20 สต�งค์ต่อฟอง ก็ร้องว่�...ขึ้นอีกแล้ว หรือไข่ร�ค�พุ่งบ้�ง ลำ�บ�กแน่...ทั้งที่คว�มจริง 2 เดือนก่อนหน้�ร�คลงไป 20 สต�งค์ต่อฟอง ต�มกลไกตล�ด ซึ่งกรมก�รค้�ภ�ยในออกม�ยืนยัน ว่� ร�ค�ไข่ไก่เพิ่มขึ้น 20 สต�งค์จ�ก 3.40 บ�ทต่อฟอง เป็น 3.60 บ�ทต่อฟอง ภ�ครัฐมีก�รติดต�มใกล้ชิดและได้ตรวจสอบแล้วว่� ก�รปรับร�ค� ไข่ไก่ดังกล่�วเป็นไปต�มอุปสงค์- อุปท�น สอดคล้องกับต้นทุนก�รผลิตโดยเฉพ�ะอ�ห�รสัตว์และยังไม่เกินร�ค�ที่กรมฯ กำ�กับ ดูแลอยู่ ให้ทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตอยู่ได้อย่�งสมดุล ไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภ�คที่ร�ค�ไข่ไก่เข้�ถึงได้ง่�ยม�ก ห�กเปรียบเทียบกับประเทศท�งตะวันตกร�ค�ไข่ไก่ (ปกติ) เฉลี่ยต่อฟองสูงกว่� 5 บ�ท ขณะที่ร�ค�ไข่ไก่คุณภ�พพิเศษร�ค�เกิน 10 บ�ทต่อฟอง สะท้อนให้เห็นร�ค�ต�มคุณภ�พและ กลไกตล�ด ของคุณภ�พดีร�ค�สูงต�มต้นทุน ได้ถ�มผู้สูงวัยอ�ยุ 60 ปีท่�นหนึ่ง ว่� ไข่ไก่ในสมัยก่อนร�ค�ฟองละเท่�ไร คำ�ตอบที่ได้รับคือไม่เกิน 1 บ�ทต่อฟอง แล้วขยับขึ้นม�เรื่อยจนวันนี้ผู้สูงวัยท่�นเดิมซื้อไข่ที่ร�ค� 4 - 5 บ�ทต่อฟอง (ร�ค�ที่ตล�ดสด) เมื่อเทียบกับร�ค�น้ำ�มัน ร�ค� ทองคำ� ปรับขึ้นม�กกว่�เท่�ตัว หรือร�ค�สินค้�อ�ห�รประเภทอื่น ๆ เช่น น้ำ�มันพืช ร�ค�ปรับสูงขึ้นม�กกว่�ไข่ไก่หล�ยสิบ เท่�ตัว แต่ผู้บริโภครับร�ค�ได้ไม่ปริป�กบ่นกลับมองว่�เป็นสินค้�จำ�เป็น ทั้งที่ร�ค�ไข่ไก่ในแต่ละช่วงของปีร�ค�ปรับขึ้น - ลง ต�มวัฏจักรคว�มต้องก�ร เช่น ช่วงปิดเทอม ซึ่งคว�มต้องก�รไข่ลดลง ร�ค�ตกต่ำ�เหลือฟองละ 2.50 บ�ท ช่วง 2 - 3 ปีที่ ผ่�นม� ช่วงเศรษฐกิจไม่ดีกำ�ลังซื้อหดห�ย แทนที่จะซื้อยกแผง 30 ฟอง ก็ซื้อเพียง 10 ฟอง แค่พอกิน คนปรับพฤติกรรม ต�มกำ�ลังซื้อ โอก�สในก�รข�ยก็ลดลงไปอีก...เกษตรกรต้องแบกรับภ�ระสต๊อกและคว�มเสี่ยงไว้ ด้�นผู้เลี้ยงไก่ไข่ หนักที่สุดคือปี2565 แบกภ�ระต้นทุนวัตุดิบอ�ห�รสัตว์จนหลังแอ่นเพร�ะร�ค�เพิ่มขึ้นสูงสุด 30% จ�ก พิษของสงคร�มรัสเซีย - ยูเครน อย่�งที่เร�ท่�นทร�บว่�ทั้ง 2 ประเทศ เป็นผู้ส่งออกธัญพืชและวัตถุดิบอ�ห�รสัตว์ร�ยใหญ่ติด อันดับ 1 ใน 5 ของโลก นอกจ�กนี้ผู้เลี้ยงยังต้องเสริมเกร�ะป้องกันโรคระบ�ดสัตว์เพิ่มเติมอีก 20 - 30% เพื่อคว�มปลอดภัย และสุขอน�มัยที่ดีของผู้บริโภค ร�ค�ไข่คละหน้�ฟ�ร์มปัจจุบันอยู่ที่ 3.60 บ�ท/ฟอง ขณะที่ต้นทุนผลิตอยู่ใกล้เคียงร�ค�หน้� ฟ�ร์ม รัฐบ�ล ควรถอดบทเรียนครั้งนี้นำ�ปัจจัยต่�ง ๆ ไปปรับปรุงและพัฒน�ภ�คก�รเกษตรและภ�คปศุสัตว์ของไทย ให้ก�ร ผลิตมีเพียงพอกับคว�มต้องก�ร สำ�คัญคือ ร�ค�ควรต�มกลไกตล�ด เพร�ะเสถียรภ�พร�ค�เป็นแรงจูงใจสำ�คัญของเกษตรกร เป็นคว�มหวัง โอก�ส และอน�คตของพวกเข� แทนที่จะนำ�ม�ตรก�รควบคุมและตรึงร�ค�จนเกษตรกรหน้�หมองม�ใช้ปกป้อง คนกลุ่มหนึ่ง แล้วทำ�ให้คนอีกหล�ยกลุ่มในห่วงโซ่ก�รผลิตเดือดร้อน “กลไกตล�ด” ใช้อย่�งถูกต้องก็จะสร้�งคว�มมั่นคง มั่นคั่ง และยั่งยืน ด้�นอ�ห�รของประเทศที่ไม่ควรถูกละเลย ห�กรัฐบ�ล พิจ�รณ�วิกฤตครั้งนี้สร้�งเป็นโอก�ส ปรับโครงสร้�งว�งร�กฐ�นภ�คปศุสัตว์ของไทยใหม่ กำ�หนดเป้�หม�ย สำ�คัญคือ “เสถียรภ�พร�ค�” เป็นสำ�คัญ ให้เกษตรกรเห็นโอก�สสดใสที่ปล�ยอุโมงค์ เมื่อนั้นไทยจะบรรลุเป้�หม�ย “ครัวของ โลก” อย่�งแท้จริง. LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เสถียรภาพราคาไข่ไก่ : ความหวัง โอกาสและอนาคตของเกษตรกร
สัตว์เศรษฐกิจ สารบัญ 39 ฉบับที่ 900 มกราคม 2566 บรรณาธิการ ผู้พิมพ์, ผู้โฆษณา : มุกดา วนิชกุล ที่ปรึกษา : รศ.ดร.เยาวมาลย์ ค้าเจริญ ผศ.นาม ศิริเสถียร รศ.อุทัย คันโธ ศ.น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร อาจารย์ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ บรรณาธิการบริหาร : ทิพารัตน์ อธิภัทรพงศ์ กองบรรณาธิการ : วิษณุ เจริญพงศ์พูล กองจัดการ : เอกบุรุษ อุมากูล ออกแบบรูปเล่ม : Chin พิสูจน์อักษร : รัชดา กูใหญ่ สำานักงาน : 74/423-424 ซ.รามคำาแหง 180 ถ.รามคำาแหง มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทร. 0-2916-3786-7 แฟกซ์ : 0-2916-8005 E-mail : livestockmag@gmail.com โรงพิมพ์ : ก.พลพิมพ์ เพลท : กรกนก กราฟฟิก โทร. 082-458-4318 จัดจำาหน่าย : นานาสาส์น 900 คอลัมน์พิเศษ 11 เสถียรภาพไก่ไข่ ปี 66...เริ่มด้วย “วินัยของผู้เลี้ยง” 18 โรค และความผิดปกติ จากการขาดวิตามิน แร่ธาตุ (1) 22 ราคาวัตถุดิบ ปี 66 ยังพุง...ผู้เลี้ยงครวญแบกรับต้นทุนสูง 25 ผู้เลี้ยงหมูยิ้มรับ...หลัง ก.เกษตรฯ เดินหน้าปราบ “หมูเถื่อน” ต่อเนื่อง 28 ซีพีเอฟ หนุน Zero ASF ชู “ระบบไบโอซีเคียวริตี้” ป้องกันโรคสุกร 29 โจทย์ใหญ่...ที่ผู้เลี้ยงหมูไทยต้องเผชิญ ในปี 66 32 เทคโนโลยีแม่นยำา : ทางรอดของผู้เลี้ยงโคนมไทย 34 ปศุสัตว์ไทย ปี 66 รุ่ง...คาดยอดส่งออกถึง 3 แสนล้าน 38 กมธ.กิจการศาลฯ ติดตามปัญหาเอกชนใช้แบรนด์ “ไทย-เดนมาร์ค” 40 เดินหน้าตั้งทีมพัฒนาโคขุน-โคนม-โคพื้นเมือง-วัวลานครบวงจร 42 VIV ASIA 2023 เปิดให้ลงทะเบียนเข้าชมงานแล้ววันนี้! 44 ส.กุ้งไทย แจงโรครุมเร้า ทำาผลผลิตไม่ได้ตามเป้า 2.8 แสนตัน 46 ส.สัตวแพทย์คุมฟาร์มสุกรไทย มอบ “สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกร เกียรติยศ” 48 งานสัตว์นำ้าไทย 2022 “สัตว์นำ้าไทย ผลิตอย่างไร กำาไรยั่งยืน” 50 ‘พันธุโพธิ์ฟาร์ม’ ฟาร์มกุ้ง Zero waste สร้างกำาไรเดือนละ 4 แสนบาท คอลัมน์ประจำ� 50 บอกกล่าว 52 กิจกรรมเด่น 54 แนวโน้มราคาปศุสัตว์ ่
โรคไขหวัดนก (Avian Influenza)
โรคไขหวัดนก (Avian Influenza) 11 สัตว์เศรษฐกิจ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถ.วิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์ ร่วมกับกลุ่มองค์กร ผู้เลี้ยงไก่ไข่และผู้ประกอบการไก่ไข่พันธุ์ 16 บริษัท จัดขึ้นเพื่อให้ เกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงไก่ไข่ได้ใช้เวทีการหารือนี้ เพื่อ แสดงความคิดเห็น ให้คำาแนะนำา ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่จะเป็นเสียง สะท้อนต่อไปยังหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งวงการอุตสาหกรรม ไก่ไข่ในประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การเลี้ยงไก่ไข่ใน ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิต ขยายตัวจากฟาร์ม รายเล็ก รายกลาง เป็นฟาร์มรายใหญ่เลี้ยงไก่ไข่ระดับอุตสาหกรรม จำานวนไก่ไข่ต่อฟาร์มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีเทคโนโลยีการผลิตที่ ทันสมัย ใช้เครื่องจักรทดแทนแรงงานคนในการเลี้ยงและเก็บผลผลิต ไก่ไข่ ทำาให้การผลิตไก่ไข่ในประเทศมีประสิทธิภาพและปริมาณ ผลผลิตเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันมีความเสี่ยงที่จะเสียหายจากปัญหาโรคระบาด สัตว์ปีก หรือสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง รวดเร็ว ส่งผลกระทบทำาให้ปริมาณผลผลิตไข่ไก่ลดลงได้อย่างรวดเร็ว เช่นกัน ประกอบกับพฤติกรรมผู้บริโภคนิยมบริโภคไข่ไก่สดเป็นหลัก และตลาดไข่ไก่ค่อนข้างจำากัดภายในประเทศ อาจเป็นสาเหตุให้ ผลผลิตไข่ไก่ล้นหรือขาดตลาดรุนแรงได้ และส่งผลให้ตลาดเกิดการ ผันผวน ราคาไข่ไก่ตกต่ำาและปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในบางช่วง เวลา และปัจจุบันผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป จากเดิม โดยจะมุ่งเน้นสินค้าที่มีราคายุติธรรม คุ้มค่า และเป็น ถึงแม้ ปี 2565 ผู้เลี้ยงไก่ไข่ต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนการผลิต สูงตามราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ปรับเพิ่มขึ้นเป็นประวัติการณ์ แต่ ภาพรวมราคาไข่ไก่ก็อยู่ในเกณฑ์ดีเมื่อเทียบกับปี 2564 ขณะที่ราคา ไข่คละหน้าฟาร์มยังผันผวนอยู่เป็นระยะ ซึ่งเป็นผลมาจากบางรายที่ ไม่ปฏิบัติตามกติกา ยืดอายุการปลดไก่ออกไปในช่วงราคาดี ส่งผล ให้ปริมาณไข่ไก่ในระบบเพิ่มขึ้น ฉุดให้ราคาไข่คละหน้าฟาร์มลดลง เกิดผลกระทบทั้งระบบ ตัวแทนเกษตรกรจึงร้องขอให้ทุกคนมีวินัย ปฏิบัติตามกติกาที่วางไว้ ภายใต้การกำากับดูแลของภาครัฐ เพื่อสร้าง เสถียรภาพราคาไข่ไก่ รับโอกาสในปี 2566 ที่ความต้องการบริโภค มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามปริมาณนักท่องเที่ยว เสถียรภาพไก่ไข่ ปี 66... เริ่มด้วย “วินัยของผู้เลี้ยง” ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ พบปะเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ ในงานเสวนาหารือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น สถานการณ์ไข่ไก่ปัจจุบัน และทิศทางในปี 2566 ณ
12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “แนวโน้มสถานการณ์และภาวะในปี 2566 ที่ประเทศไทยกำาลัง จะเปิดตลาดโลก ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามามากกว่าปีนี้ โดยปี 2565 นี้มีนักท่องเที่ยวประมาณ 10 ล้านคน คาดว่าปีหน้า จะมีนักท่องเที่ยวสูงถึงประมาณ 20 - 30 ล้านคน จึงต้องมีการ เตรียมแผนในการรองรับนักท่องเที่ยว ที่สำาคัญคือในด้านการบริโภค และไข่ไก่ก็เป็นผลผลิตที่สำาคัญเพราะมีอัตราการบริโภคที่เพิ่มขึ้น กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมปศุสัตว์ จึงได้หารือกับสมาคมและสหกรณ์ ต่าง ๆ เพื่อไม่ให้ไข่ไก่ขาดตลาด ต้องบริหารจัดการให้ Demand กับ Supply ไปด้วยกันได้ และที่สำาคัญในเรื่องของราคาที่จะให้พี่น้อง เกษตรกรอยู่ได้ และพี่น้องประชาชนผู้บริโภคไม่เดือดร้อน โดยกรม ปศุสัตว์จะเข้ามาดูแลอย่างใกล้ชิด ผ่านคณะกรรมการนโยบายพัฒนา ไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) เพื่อให้เกิดความสมดุลและรักษา เสถียรภาพของราคา” ดร.เฉลิมชัย กล่าว ด้าน คุณมงคล พิพัฒน์สัตยานุวงค์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้า และส่งออกไข่ไก่ เปิดเผยว่า สถานการณ์ไก่ไข่ในปี 2565 ถือเป็น ปีที่ดีกว่า ปี 2564 และ 2563 เพราะตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงและ กรมปศุสัตว์ได้ร่วมมือจัดทำาแผนการผลิตที่เหมาะสม ช่วยให้ในปีที่ ผ่านมา ผู้เลี้ยงไก่ไข่พออยู่ได้ แต่สิ่งที่เป็นปัญหา คือ วินัยของ เกษตรกร เนื่องจากวัฎจักรไข่ไก่ เมื่อราคาหน้าฟาร์มดีต่อเนื่องเกิน 2 เดือน เข้าเดือนที่ 3 ราคาก็ผันผวนตกต่ำาเป็นประจำา เพราะไข่ไก่ ราคาดี ขายได้ บางรายก็ไม่อยากปลดตามกำาหนด เมื่อหลายรายคิด เหมือนกัน ไม่นานปริมาณไข่ไก่ในระบบก็เพิ่มขึ้น โดยทั่วไปมีไก่ไข่ เข้าใหม่สัปดาห์ละ 900,000 - 1,000,000 ตัว ถ้าไม่ปลดเพียง 2 สัปดาห์ ไก่ไข่ก็เพิ่มขึ้น 1.8 - 2 ล้านตัว มีอัตราการให้ไข่ 80 เปอร์เซ็นต์ ก็ทำาให้ไข่ไก่ในระบบเพิ่มวันละไม่ต่ำากว่า 1.5 ล้าน ฟอง ส่งผลให้เกินความต้องการ ฉุดราคาหน้าฟาร์มให้ตกต่ำา ได้รับ ผลกระทบกันทั้งระบบ ที่ผ่านมา เกษตรกรอ้างว่า ปลดไม่ได้เพราะราคาไก่ปลดต่ำามาก จากเดิมขายได้ถึงกิโลกรัมละ 50 บาท ก็เหลือเพียงกิโลกรัมละ 25 บาท ปลดก็สูญเสียรายได้ แต่ผลเสียการยืดอายุการปลดออกไปนั้น มีมากกว่า ดังนั้น ผู้เลี้ยงไม่ควรฟังคำาจากพ่อค้าที่รับซื้อไข่ไก่เกินไป เพราะในวันที่ไข่น้อย มักบอกว่า อย่าเพิ่งปลดตอนนี้ ไม่พอขาย แต่ ในวันที่ไข่ล้น ก็ปฏิเสธการรับซื้อ เพราะขายไม่ได้ ส่งผลให้ผู้เลี้ยง ต้องแบกรับภาระเพียงผู้เดียว ซึ่งสิ่งนี้แก้ได้ไม่ยาก เพียงต้องเข้าใจ และปฏิบัติตามกติกาอย่างเคร่งครัด ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐาน ดังนั้นผู้เลี้ยงจึงต้องปรับต้นทุนการผลิต และ พัฒนาสินค้าไข่ไก่ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานและถูกสุขอนามัย ด้วย ความตระหนักรับผิดชอบต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค เริ่มจาก ฟาร์มมาตรฐาน สู่โรงคัดไข่มาตรฐาน จุดจำาหน่ายสินค้ามาตรฐาน และมีตรารับรองคุณภาพไข่ไก่ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจคุณภาพ ไข่ไก่ที่ต้องปรากฏอย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม การจัดการปัญหาไก่ไข่ที่ประสบความสำาเร็จ ต้อง ตอบสนองโครงสร้างการผลิตและการตลาดที่เปลี่ยนแปลง โดย ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ตั้งแต่ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ครบวงจร ผู้ผลิตลูกไก่ไข่ สหกรณ์ไก่ไข่ เกษตรกรขนาดกลาง และเล็ก ผู้จัดจำาหน่าย และกลุ่มผู้บริโภค ซึ่งจำาเป็นต้องมีกลไกมา รองรับ ซึ่งที่ผ่านมาด้วยการวางนโยบายพัฒนาการผลิตการตลาด ไก่ไข่และการบริหารจัดการไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ระดับต้นทาง ถึงปลายทาง ทั้งในเรื่องการบริหารจัดการ ระบบการผลิตที่มีการ ติดตาม กำากับ ดูแลปริมาณการเลี้ยงและอายุการเลี้ยงของฟาร์ม ไก่ไข่ และระบบการตลาดที่มีตลาดรองรับทั้งภายในประเทศและ การส่งออก เป็นต้น สำาหรับการดำาเนินการในปี 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลัก ที่ทำางานใกล้ชิดกับผู้ผลิตด้านการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับชาวไก่ไข่ ทราบดีว่าพี่น้องเกษตรกรผู้เลี้ยง ไก่ไข่ของไทยต้องเผชิญปัญหาการปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากของต้นทุน การผลิตซึ่งได้รับผลกระทบจากสถานการณ์สงครามรัสเซีย - ยูเครน ส่งผลให้ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ปรับตัวสูงขึ้น ร่วมถึงปัญหาราคา พลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นเช่นเดียวกัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์ จึงพร้อมกำากับดูแลให้เกิดสมดุลการผลิต - การ บริโภค เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ให้อยู่ในระดับที่เกษตรกร ผู้เลี้ยงไก่ไข่พึงพอใจอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ จะต้องสร้างความ เข้มแข็งในด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคระบาดสัตว์ที่สำาคัญ เช่น โรคไข้หวัดนก เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมสัตว์ปีกของไทยที่มีมูลค่า นับแสนล้านบาท และพัฒนาระบบมาตรฐานการผลิตไข่ไก่ ที่วันนี้ กว่า 90% ของไข่ไก่ในท้องตลาดมาจากฟาร์ม GAP ที่กรมปศุสัตว์ รับรองแล้ว โดยจะต้องพัฒนามาตรฐานต่อยอด อาทิ การออกตรา สัญลักษณ์การรับรองร่วมกับการมีระบบตรวจสอบย้อนกลับบนฟอง ไข่ เพื่อเพิ่มความมั่นใจในด้านคุณภาพมาตรฐานให้กับผู้บริโภคทั้ง ภายในและต่างประเทศอีกด้วย
13 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ คุณสุเทพ สุวรรณรัตน์ นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ภาคใต้ เผย ว่า การเลี้ยงไก่ไข่ในภาคใต้ มีต้นทุนการผลิตสูงกว่าภาคอื่น ๆ แม้ ราคาไข่ไก่สูงกว่าเล็กน้อย แต่ราคาไก่ปลดต่ำากว่าค่อนข้างมาก เนื่องจากไม่เป็นที่นิยมบริโภคในพื้นที่ ซึ่งจากแนวทางรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ ด้วยการปลดไก่ที่อายุ 78 - 80 สัปดาห์นั้น อยากให้ทุกคนปฏิบัติตาม และถ้าเป็นไปได้เมื่อถึงกำาหนดแล้วต้อง ปลดไก่ที่อายุครบทั้งหมด เพราะหากยังปล่อยให้ยืนอยู่ในกรง ไข่ก็ ออกมาทุกวัน ทำาให้ปริมาณไข่ไก่ไม่สมดุลกับความต้องการตลาด เสียที หากทุกรายสามารถปลดไก่ตามกำาหนดได้ ก็จะช่วยให้ราคา ไข่ไก่หน้าฟาร์มไม่ผันผวน เหมือนกับที่ผ่านมาที่บางรายมีไก่ถึง กำาหนดปลด 50,000 ตัว แต่ปลดจริงเพียง 5,000 ตัว โดยให้เหตุผล ว่า ไม่มีพ่อค้ารับซื้อ จนต้องเลี้ยงยืดไปถึง 85 สัปดาห์ก็มี ถือเป็น ปัญหาที่กระทบกับวงการไก่ไข่ทั้งระบบ ดังนั้น ทุกฟาร์มควรมีแผน เข้าไก่และปลดที่ชัดเจน พร้อมปฏิบัติตามแผนอย่างเคร่งครัด ไม่ว่า ราคาไก่ปลดเป็นอย่างไรก็ต้องขาย โดยอาจทยอยปลดเป็นระยะก่อน ถึงกำาหนด เพื่อระบายไก่ให้ได้ตามแผนที่วางไว้ รักษาเสถียรภาพ ราคาไข่ให้อยู่ในเกณฑ์ที่ผู้เลี้ยงพอใจ ด้าน คุณมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ เปิดเผย ว่า รอบหลายปีนับตั้งแต่วิกฤตโควิดเป็นต้นมา สถานการณ์ไก่ไข่ก็ “เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย” แต่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ต้องอยู่กับความเปลี่ยนแปลง ให้ได้ทุกสภาวะไม่ว่าจะเป็นการผลิตหรือการตลาด การผลิตไข่ไก่และ เลี้ยงไก่ไข่นับตั้งแต่โรคไข้หวัดนกเข้ามาเมื่อปี 2547 ถือว่า เปลี่ยนแปลง ค่อนข้างมาก และมีมาตรการเป็นมาตรฐานต่าง ๆ ที่กรมปศุสัตว์ เข้ามาควบคุมให้ปฏิบัติตาม ดังนั้น ก็เป็นแนวทางทำาให้การผลิต ดีขึ้น ขณะที่การตลาดก็ยกระดับขึ้นเช่นกัน ในประเทศเปลี่ยนแปลง จากการขายตามตลาดสดมาเป็นห้างสรรพสินค้า มีกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ วงจรการค้าไข่ไก่ ลดการเอาเปรียบผู้เลี้ยง มีองค์กร ทั้ง สมาคม สหกรณ์ หรือชมรมต่าง ๆ ที่ดูแลช่วยเหลือเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร ซึ่งกันและกัน ลดการถูกเอาเปรียบลดลง แต่ความเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยภายนอก เช่น อาหารสัตว์ หรือราคาไข่ไก่ที่ตลาดเป็นผู้กำาหนด ต่างจากปัจจัยภายในที่เกษตรกร ผู้เลี้ยงจัดการได้ คือ “วินัย” ในการเลี้ยงจากกติกาที่ให้ปลดไก่ที่ 78 - 80 สัปดาห์ บางคนก็ยืดออกไปคนละนิดละหน่อย เมื่อรวมกัน ก็กลายเป็นปริมาณมาก ส่งผลกระทบรุนแรง ดังนั้น การเปลี่ยนแปลง เป็นสิ่งที่กำาหนดกฎเกณฑ์ได้เป็นปัจจัยภายในที่เรากำาหนดเองได้ ส่วน ปัจจัยภายนอกที่กำาหนดไม่ได้ เช่น ราคาอาหารสัตว์ หรือราคาไข่ที่ กำาหนดไม่ได้ แต่ยังพอเชื่อมโยงกันได้ ที่สำาคัญการเลี้ยงไก่มาก อยากได้ไข่มาก กับภาวะอาหารสัตว์ ที่มากน้อยในตลาด ทำาให้เกิด “ทฤษฎี 2 แย่ง” คือ ถ้าเลี้ยงมาก ก็แย่งกันซื้อ เมื่อแย่งกันซื้อราคาแพงก็ขึ้น คนขายก็ขึ้นราคาได้ และเมื่อเลี้ยงมากไข่ออกมามาก ก็เข้าแย่งที่ 2 คือ แย่งกันขาย หมายถึง โอกาสที่พ่อค้าเข้ามากำาหนดต่อรองราคา ดังนั้น ผู้เลี้ยง “สำาหรับทิศทางในปี 2566 คาดว่า จะยังคงเป็นปีทองของ เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ต่อไป เพราะประเทศไทยมีความได้เปรียบไม่มี ปัญหาภัยธรรมชาติ ภัยสงคราม นักท่องเที่ยวอยากมาประเทศไทย แต่ความต้องการไข่ไก่ไม่ได้คงที่ แต่ปรับขึ้นลงตลอดเวลา ดังนั้น หากเกษตรกรอยู่ในวินัยด้วยกัน ก็จะเป็นปีที่ชาวไก่ไข่ทำากำาไรกันได้ แน่นอน” คุณมงคลกล่าว น.สพ.รักไทย งามภักดิ์ ผู้อำานวยการสำานักพัฒนาระบบ และ รับรองมาตรฐานปศุสัตว์ เผยว่า นับตั้งแต่เกิดวิกฤตไข้หวัดนกระบาด ในปี 2547 ส่งผลให้การเลี้ยงไก่ไข่พัฒนาแบบก้าวกระโดด เกษตรกร ผู้เลี้ยงที่ให้ความสำาคัญในการพัฒนาระบบการป้องกันโรคระบาด จนกระทั่งปัจจุบันที่มีมาตรฐานอื่น ๆ เพิ่มตามมาทั้งสวัสดิภาพสัตว์ และการดูแลสิ่งแวดล้อม ถือเป็นส่งที่ผู้เลี้ยงต้องปรับตัวตลอดเวลา ซึ่งกฎระเบียบหรือกติกาต่าง ๆ จำาเป็นต้องได้ความร่วมมือจาก ผู้ประกอบการ เกษตรกร และหน่วยงานภาครัฐ ในการวางแนวทาง ปฏิบัติร่วมกัน เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไว้ แม้ในบางช่วงเวลาอาจ มีปัญหาผันผวนบ้าง แต่ก็ไม่รุนแรงเหมือนกับ 3 - 4 ปีก่อน ที่ยัง กำาหนดโควตาพ่อแม่พันธุ์ (PS) และปู่ย่าพันธุ์ (GP) ที่นำาเข้าไม่ได้ ซึ่งล่าสุด คณะกรรมการเอกบอร์ดก็กำาหนดโควตาที่พ่อแม่พันธุ์ 440,000 ตัว ปู่ย่าพันธุ์ 3,800 ตัว เพื่อให้มีปริมาณไก่ยืนกรงประมาณ 50 ล้านตัว ไข่ไก่ประมาณ 40 ล้านฟองต่อวัน นอกจากนี้ ยังเตรียมยกระดับมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่เป็น มาตรฐานบังคับโดยเริ่มจากฟาร์มขนาด 100,000 ตัวขึ้นไป และในปี 2568 จะบังคับใช้ในฟาร์มตั้งแต่ 10,000 ตัวขึ้นไป ต่อจากนั้น ต้อง ทำามาตรฐานโรงคัดไข่ หรือ ล้ง ซึ่งที่ผ่านมา ภาครัฐได้เข้าไปช่วย วางระบบพัฒนามาตรฐาน GMP ขณะที่ตลาดภายใน ได้แก่ ตลาดสด ตลาดนัด ห้างสรรพสินค้า ที่ต้องวางระบบตรวจสอบย้อนกลับให้ได้ ว่า ไข่ไก่ที่วางขายมาจากที่ใด กระบวนการผลิตเป็นอย่างไร สำาหรับการควบคุมการปลดไก่ยืนกรง ตามมติที่ขอให้ฟาร์ม 100,000 ตัวขึ้นไปปลดที่อายุ 78 สัปดาห์ และฟาร์มที่เลี้ยงต่ำากว่า 100,000 ตัว ปลดที่ 80 สัปดาห์ ที่บางรายอาจมีปัญหาด้านวินัย ทำาให้ปลดช้ากว่ามติ กรมปศุสัตว์จึงมีหน้าที่อำานวยความสะดวกใน การปลด ด้วยการจัดหาคนรับซื้อไก่ปลด หรือจัดการปัญหาเอกสาร การเคลื่อนย้ายต่าง ๆ เพื่อให้การปลดไก่ทำาได้ง่ายและสะดวกมาก ยิ่งขึ้น เพื่อควบคุมปริมาณไข่ไก่ รักษาเสถียรภาพราคาให้กับ เกษตรกร 12 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE “แนวโน้มสถานการณ์และภาวะในปี 2566 ที่ประเทศไทยกำาลัง จะเปิดตลาดโลก ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามามากกว่าปีนี้ โดยปี 2565 นี้มีนักท่องเที่ยวประมาณ 10 ล้านคน คาดว่าปีหน้า จะมีนักท่องเที่ยวสูงถึงประมาณ 20 - 30 ล้านคน จึงต้องมีการ เตรียมแผนในการรองรับนักท่องเที่ยว ที่สำาคัญคือในด้านการบริโภค และไข่ไก่ก็เป็นผลผลิตที่สำาคัญเพราะมีอัตราการบริโภคที่เพิ่มขึ้น กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมปศุสัตว์ จึงได้หารือกับสมาคมและสหกรณ์ ต่าง ๆ เพื่อไม่ให้ไข่ไก่ขาดตลาด ต้องบริหารจัดการให้ Demand กับ Supply ไปด้วยกันได้ และที่สำาคัญในเรื่องของราคาที่จะให้พี่น้อง เกษตรกรอยู่ได้ และพี่น้องประชาชนผู้บริโภคไม่เดือดร้อน โดยกรม ปศุสัตว์จะเข้ามาดูแลอย่างใกล้ชิด ผ่านคณะกรรมการนโยบายพัฒนา ไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) เพื่อให้เกิดความสมดุลและรักษา เสถียรภาพของราคา” ดร.เฉลิมชัย กล่าว ด้าน คุณมงคล พิพัฒน์สัตยานุวงค์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้า และส่งออกไข่ไก่ เปิดเผยว่า สถานการณ์ไก่ไข่ในปี 2565 ถือเป็น ปีที่ดีกว่า ปี 2564 และ 2563 เพราะตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงและ กรมปศุสัตว์ได้ร่วมมือจัดทำาแผนการผลิตที่เหมาะสม ช่วยให้ในปีที่ ผ่านมา ผู้เลี้ยงไก่ไข่พออยู่ได้ แต่สิ่งที่เป็นปัญหา คือ วินัยของ เกษตรกร เนื่องจากวัฎจักรไข่ไก่ เมื่อราคาหน้าฟาร์มดีต่อเนื่องเกิน 2 เดือน เข้าเดือนที่ 3 ราคาก็ผันผวนตกต่ำาเป็นประจำา เพราะไข่ไก่ ราคาดี ขายได้ บางรายก็ไม่อยากปลดตามกำาหนด เมื่อหลายรายคิด เหมือนกัน ไม่นานปริมาณไข่ไก่ในระบบก็เพิ่มขึ้น โดยทั่วไปมีไก่ไข่ เข้าใหม่สัปดาห์ละ 900,000 - 1,000,000 ตัว ถ้าไม่ปลดเพียง 2 สัปดาห์ ไก่ไข่ก็เพิ่มขึ้น 1.8 - 2 ล้านตัว มีอัตราการให้ไข่ 80 เปอร์เซ็นต์ ก็ทำาให้ไข่ไก่ในระบบเพิ่มวันละไม่ต่ำากว่า 1.5 ล้าน ฟอง ส่งผลให้เกินความต้องการ ฉุดราคาหน้าฟาร์มให้ตกต่ำา ได้รับ ผลกระทบกันทั้งระบบ ที่ผ่านมา เกษตรกรอ้างว่า ปลดไม่ได้เพราะราคาไก่ปลดต่ำามาก จากเดิมขายได้ถึงกิโลกรัมละ 50 บาท ก็เหลือเพียงกิโลกรัมละ 25 บาท ปลดก็สูญเสียรายได้ แต่ผลเสียการยืดอายุการปลดออกไปนั้น มีมากกว่า ดังนั้น ผู้เลี้ยงไม่ควรฟังคำาจากพ่อค้าที่รับซื้อไข่ไก่เกินไป เพราะในวันที่ไข่น้อย มักบอกว่า อย่าเพิ่งปลดตอนนี้ ไม่พอขาย แต่ ในวันที่ไข่ล้น ก็ปฏิเสธการรับซื้อ เพราะขายไม่ได้ ส่งผลให้ผู้เลี้ยง ต้องแบกรับภาระเพียงผู้เดียว ซึ่งสิ่งนี้แก้ได้ไม่ยาก เพียงต้องเข้าใจ และปฏิบัติตามกติกาอย่างเคร่งครัด ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐาน ดังนั้นผู้เลี้ยงจึงต้องปรับต้นทุนการผลิต และ พัฒนาสินค้าไข่ไก่ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานและถูกสุขอนามัย ด้วย ความตระหนักรับผิดชอบต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค เริ่มจาก ฟาร์มมาตรฐาน สู่โรงคัดไข่มาตรฐาน จุดจำาหน่ายสินค้ามาตรฐาน และมีตรารับรองคุณภาพไข่ไก่ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจคุณภาพ ไข่ไก่ที่ต้องปรากฏอย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม การจัดการปัญหาไก่ไข่ที่ประสบความสำาเร็จ ต้อง ตอบสนองโครงสร้างการผลิตและการตลาดที่เปลี่ยนแปลง โดย ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ตั้งแต่ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ครบวงจร ผู้ผลิตลูกไก่ไข่ สหกรณ์ไก่ไข่ เกษตรกรขนาดกลาง และเล็ก ผู้จัดจำาหน่าย และกลุ่มผู้บริโภค ซึ่งจำาเป็นต้องมีกลไกมา รองรับ ซึ่งที่ผ่านมาด้วยการวางนโยบายพัฒนาการผลิตการตลาด ไก่ไข่และการบริหารจัดการไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ระดับต้นทาง ถึงปลายทาง ทั้งในเรื่องการบริหารจัดการ ระบบการผลิตที่มีการ ติดตาม กำากับ ดูแลปริมาณการเลี้ยงและอายุการเลี้ยงของฟาร์ม ไก่ไข่ และระบบการตลาดที่มีตลาดรองรับทั้งภายในประเทศและ การส่งออก เป็นต้น สำาหรับการดำาเนินการในปี 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลัก ที่ทำางานใกล้ชิดกับผู้ผลิตด้านการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับชาวไก่ไข่ ทราบดีว่าพี่น้องเกษตรกรผู้เลี้ยง ไก่ไข่ของไทยต้องเผชิญปัญหาการปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากของต้นทุน การผลิตซึ่งได้รับผลกระทบจากสถานการณ์สงครามรัสเซีย - ยูเครน ส่งผลให้ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ปรับตัวสูงขึ้น ร่วมถึงปัญหาราคา พลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นเช่นเดียวกัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์ จึงพร้อมกำากับดูแลให้เกิดสมดุลการผลิต - การ บริโภค เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ให้อยู่ในระดับที่เกษตรกร ผู้เลี้ยงไก่ไข่พึงพอใจอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ จะต้องสร้างความ เข้มแข็งในด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคระบาดสัตว์ที่สำาคัญ เช่น โรคไข้หวัดนก เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมสัตว์ปีกของไทยที่มีมูลค่า นับแสนล้านบาท และพัฒนาระบบมาตรฐานการผลิตไข่ไก่ ที่วันนี้ กว่า 90% ของไข่ไก่ในท้องตลาดมาจากฟาร์ม GAP ที่กรมปศุสัตว์ รับรองแล้ว โดยจะต้องพัฒนามาตรฐานต่อยอด อาทิ การออกตรา สัญลักษณ์การรับรองร่วมกับการมีระบบตรวจสอบย้อนกลับบนฟอง ไข่ เพื่อเพิ่มความมั่นใจในด้านคุณภาพมาตรฐานให้กับผู้บริโภคทั้ง ภายในและต่างประเทศอีกด้วย
14 สัตว์เศรษฐกิจ ไก่ไข่ต้องไม่ให้เกิดทั้ง 2 แย่งนี้พร้อมกัน เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้ววงการ ไก่ไข่ก็จะเกิดปัญหาแน่นอน ด้านมาตรการแก้ปัญหา ที่ผ่านมาก็มีองค์กร คือ เอกบอร์ด ที่ รัฐมนตรีว่าการเป็นประธาน อธิบดีกรมปศุสัตว์เป็นเลขา และมี ตัวแทนจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งเกษตรกรที่ร่วมอยู่ด้วย ซึ่งจากปัญหา ที่เกิดกรมปศุสัตว์ก็ใช้ทั้งกฎหมายและข้อร้องและสมาคมฯ ก็ให้ความ ร่วมมือด้วยดี แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นถือเป็นเรื่องธรรมดามาก ไข่ไก่จะ ขึ้นเมื่อใด หรือจะขึ้นไปถึงไหน เป็นคำาถามที่ตอบไม่ได้ เพราะไข่ไก่ มีขึ้นมีลง ไม่ได้ขึ้นกับความต้องการของคนเลี้ยง แต่เป็นไปตามกลไก ตลาด จึงต้องขอบคุณกระทรวงเกษตรฯ และผู้ประกอบการ 16 ราย ที่นำาเข้าไก่ไข่ ผลประโยชน์มากน้อยแล้วแต่โอกาส แต่ไม่ควรคิดว่า “ทำาน้อย แล้วอยากได้มาก และไม่ใช่มีมากแล้วอยากได้ทั้งหมด” ถ้าเกิดแบบ นี้จะมีแต่ความวุ่นวายเกิดขึ้นในวงการ คนทำาน้อยก็ได้ตามสัดส่วนที่ เหมาะสม คนทำามากก็ได้มาก แต่คนทำาน้อยและมากก็อยู่ภายใต้กฎ กติกาเดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ดังนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็มีไว้ให้แก้ไขและวงการไข่ไก่ก็ไม่เคยอยู่นิ่ง ๆ ได้ แต่ผู้นำาเกษตรกร ก็มีการประชุมติดตามตลอดเวลา พร้อมขอความร่วมมือรายใหญ่ที่มี ศักยภาพในการช่วยเหลือรักษาเสถียรภาพราคาไว้ โดยเฉพาะการ ช่วยเหลือด้านการส่งออก ซึ่งเป็นมาตรการที่มองข้ามไม่ได้ เพราะ เป็นมาตรการที่ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการส่งออกเป็นการ นำาส่วนเกินออกไป แม้ราคาอาจต่ำา แต่ก็เป็นการรักษาเสถียรภาพ ราคาภายใน ถือเป็นมาตรการที่มีความจำาเป็นต้องใช้ต่อไป สำาหรับการปรับตัวในด้านต้นทุนการผลิตและการป้องกันโรค มาตรการที่กรมปศุสัตว์ดำาเนินการถือว่า ดีอยู่แล้วในการดูแลของกรม ปศุสัตว์ในทุกพื้นที่ แต่เกษตรกรต้องดูแลตัวเองให้ดีไม่ควรปล่อยปะ ละเลย เพราะเกษตรกรอยู่ในพื้นที่ย่อมทราบดีว่า ในพื้นที่เกิดอะไร ขึ้น การเฝ้าระวังที่ดีพอจะเป็นประโยชน์กับตัวเราเอง ส่วนต้นทุนการ ผลิตสูง ทำาให้ขาดทุน เกษตรกรก็ต้องปรับตัว มิฉะนั้น ก็อยู่ไม่ได้ เพราะมีปัจจัยทั้งภายในภายนอก เริ่มตั้งแต่ข้าวโพดที่ปรับราคา เพิ่มขึ้นแทบเป็นรายวัน ราคาแพงขึ้น และลดปริมาณที่จะส่งให้ ถือเป็นสิ่งที่เกษตรกรหลีกเลี่ยงได้ยาก จึงต้องควบคุมต้นทุนการผลิต เพราะผู้ประกอบการที่มีไซโล ที่เก็บและเงินทุนก็มีการแย่งกันซื้อ เพราะราคาแทบจะไม่ลดลงเลย อีกทั้งข้อมูลข่าวสารที่ทันกันหมด แต่ รายใหญ่ก็ดูแลต้นทุนตัวเองอยู่ได้ ต่างจากรายกลางและเล็กที่เน้นการ ซื้อมาขายไปต้องติดตามข่าวสารจากองค์กรต่าง ๆ ตลอดเวลา เพื่อ ปรับตัวรับมือให้ทันกับเหตุการณ์และอยู่รอดได้ สถานการณ์ไก่ไข่ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566 ภาพรวมการผลิตไก่ไข่และไข่ไก่ ปี 2561 - 2565 ภาพรวม การผลิตไข่ไก่ของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อย ละ 0.08 ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,043.47 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,324.42 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.83 ซึ่งเป็นผลจากการดำาเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคา ไข่ไก่โดยการปรับสมดุลผลผลิตให้เหมาะสมกับความต้องการบริโภค ภายในประเทศ ของคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) การตลาด เริ่มจาก ความต้องการบริโภคปี 2561 - 2565 การบริโภคไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.17 ต่อปี เนื่องจากเมื่อเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่นแล้ว ไข่ไก่มีราคาถูกและ สามารถปรุงอาหารได้ง่าย โดยในปี 2565 มีปริมาณการบริโภค ไข่ไก่ 14,802.80 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,063.82 ล้านฟอง ของ ปี 2564 ร้อยละ 1.73 ซึ่งเป็นผลมาจากราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวตาม ภาวะต้นทุนที่สูงขึ้น ด้านการส่งออกแบ่งออกเป็น การส่งออกไข่ไก่สด และ ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ 1. การส่งออกไข่ไก่สด ปี 2561 - 2565 ปริมาณ การส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.76 ต่อปี โดย ในปี 2565 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 240.67 ล้านฟอง ลดลง จากปริมาณ 260.60 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 7.65 ใน ขณะที่มีมูลค่าการส่งออก 914.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 800.55 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.19 โดยตลาดส่งออกที่สำาคัญของ ไทย คือ สิงคโปร์ ฮ่องกง และกัมพูชา มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 43.31 ร้อยละ 38.61 และร้อยละ 14.44 ของปริมาณการส่งออก ไข่ไก่สด ตามลำาดับ 2. การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ปี 2561 - 2565 ปริมาณ การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.51 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE
14 สัตว์เศรษฐกิจ ไก่ไข่ต้องไม่ให้เกิดทั้ง 2 แย่งนี้พร้อมกัน เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้ววงการ ไก่ไข่ก็จะเกิดปัญหาแน่นอน ด้านมาตรการแก้ปัญหา ที่ผ่านมาก็มีองค์กร คือ เอกบอร์ด ที่ รัฐมนตรีว่าการเป็นประธาน อธิบดีกรมปศุสัตว์เป็นเลขา และมี ตัวแทนจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งเกษตรกรที่ร่วมอยู่ด้วย ซึ่งจากปัญหา ที่เกิดกรมปศุสัตว์ก็ใช้ทั้งกฎหมายและข้อร้องและสมาคมฯ ก็ให้ความ ร่วมมือด้วยดี แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นถือเป็นเรื่องธรรมดามาก ไข่ไก่จะ ขึ้นเมื่อใด หรือจะขึ้นไปถึงไหน เป็นคำาถามที่ตอบไม่ได้ เพราะไข่ไก่ มีขึ้นมีลง ไม่ได้ขึ้นกับความต้องการของคนเลี้ยง แต่เป็นไปตามกลไก ตลาด จึงต้องขอบคุณกระทรวงเกษตรฯ และผู้ประกอบการ 16 ราย ที่นำาเข้าไก่ไข่ ผลประโยชน์มากน้อยแล้วแต่โอกาส แต่ไม่ควรคิดว่า “ทำาน้อย แล้วอยากได้มาก และไม่ใช่มีมากแล้วอยากได้ทั้งหมด” ถ้าเกิดแบบ นี้จะมีแต่ความวุ่นวายเกิดขึ้นในวงการ คนทำาน้อยก็ได้ตามสัดส่วนที่ เหมาะสม คนทำามากก็ได้มาก แต่คนทำาน้อยและมากก็อยู่ภายใต้กฎ กติกาเดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ดังนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็มีไว้ให้แก้ไขและวงการไข่ไก่ก็ไม่เคยอยู่นิ่ง ๆ ได้ แต่ผู้นำาเกษตรกร ก็มีการประชุมติดตามตลอดเวลา พร้อมขอความร่วมมือรายใหญ่ที่มี ศักยภาพในการช่วยเหลือรักษาเสถียรภาพราคาไว้ โดยเฉพาะการ ช่วยเหลือด้านการส่งออก ซึ่งเป็นมาตรการที่มองข้ามไม่ได้ เพราะ เป็นมาตรการที่ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการส่งออกเป็นการ นำาส่วนเกินออกไป แม้ราคาอาจต่ำา แต่ก็เป็นการรักษาเสถียรภาพ ราคาภายใน ถือเป็นมาตรการที่มีความจำาเป็นต้องใช้ต่อไป สำาหรับการปรับตัวในด้านต้นทุนการผลิตและการป้องกันโรค มาตรการที่กรมปศุสัตว์ดำาเนินการถือว่า ดีอยู่แล้วในการดูแลของกรม ปศุสัตว์ในทุกพื้นที่ แต่เกษตรกรต้องดูแลตัวเองให้ดีไม่ควรปล่อยปะ ละเลย เพราะเกษตรกรอยู่ในพื้นที่ย่อมทราบดีว่า ในพื้นที่เกิดอะไร ขึ้น การเฝ้าระวังที่ดีพอจะเป็นประโยชน์กับตัวเราเอง ส่วนต้นทุนการ ผลิตสูง ทำาให้ขาดทุน เกษตรกรก็ต้องปรับตัว มิฉะนั้น ก็อยู่ไม่ได้ เพราะมีปัจจัยทั้งภายในภายนอก เริ่มตั้งแต่ข้าวโพดที่ปรับราคา เพิ่มขึ้นแทบเป็นรายวัน ราคาแพงขึ้น และลดปริมาณที่จะส่งให้ ถือเป็นสิ่งที่เกษตรกรหลีกเลี่ยงได้ยาก จึงต้องควบคุมต้นทุนการผลิต เพราะผู้ประกอบการที่มีไซโล ที่เก็บและเงินทุนก็มีการแย่งกันซื้อ เพราะราคาแทบจะไม่ลดลงเลย อีกทั้งข้อมูลข่าวสารที่ทันกันหมด แต่ รายใหญ่ก็ดูแลต้นทุนตัวเองอยู่ได้ ต่างจากรายกลางและเล็กที่เน้นการ ซื้อมาขายไปต้องติดตามข่าวสารจากองค์กรต่าง ๆ ตลอดเวลา เพื่อ ปรับตัวรับมือให้ทันกับเหตุการณ์และอยู่รอดได้ สถานการณ์ไก่ไข่ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566 ภาพรวมการผลิตไก่ไข่และไข่ไก่ ปี 2561 - 2565 ภาพรวม การผลิตไข่ไก่ของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อย ละ 0.08 ต่อปี โดยในปี 2565 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,043.47 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,324.42 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 1.83 ซึ่งเป็นผลจากการดำาเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคา ไข่ไก่โดยการปรับสมดุลผลผลิตให้เหมาะสมกับความต้องการบริโภค ภายในประเทศ ของคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) การตลาด เริ่มจาก ความต้องการบริโภคปี 2561 - 2565 การบริโภคไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.17 ต่อปี เนื่องจากเมื่อเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่นแล้ว ไข่ไก่มีราคาถูกและ สามารถปรุงอาหารได้ง่าย โดยในปี 2565 มีปริมาณการบริโภค ไข่ไก่ 14,802.80 ล้านฟอง ลดลงจาก 15,063.82 ล้านฟอง ของ ปี 2564 ร้อยละ 1.73 ซึ่งเป็นผลมาจากราคาไข่ไก่ที่ปรับตัวตาม ภาวะต้นทุนที่สูงขึ้น ด้านการส่งออกแบ่งออกเป็น การส่งออกไข่ไก่สด และ ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ 1. การส่งออกไข่ไก่สด ปี 2561 - 2565 ปริมาณ การส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.76 ต่อปี โดย ในปี 2565 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 240.67 ล้านฟอง ลดลง จากปริมาณ 260.60 ล้านฟอง ของปี 2564 ร้อยละ 7.65 ใน ขณะที่มีมูลค่าการส่งออก 914.12 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 800.55 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.19 โดยตลาดส่งออกที่สำาคัญของ ไทย คือ สิงคโปร์ ฮ่องกง และกัมพูชา มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 43.31 ร้อยละ 38.61 และร้อยละ 14.44 ของปริมาณการส่งออก ไข่ไก่สด ตามลำาดับ 2. การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ปี 2561 - 2565 ปริมาณ การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 4.51 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE 15 สัตว์เศรษฐกิจ บาท ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจาก 800.55 ลา้นบาท ของปี2564 รอ้ยละ 14.19 โดยตลาดส่งออกท่ี ่ สา คญัของไทย คือ สิงคโปร์ฮ่องกง และกัมพูชา มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 43.31ร้อยละ 38.61 และร้อยละ 14.44 ของปริมาณการส่งออกไข่ไก่สด ตามล าดับ 2. การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ปี 2561 - 2565 ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงใน อัตราร้อยละ 4.51ต่อปี โดยในปี 2565 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 4,196.69 ตัน มูลค่า 347.88 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 4,233.13 ตัน มูลค่า 404.19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 0.86 และร้อยละ 13.93 ตามล าดับ ผลิตภั ณฑท์่ี ่ ส่่งออกมากท่ี ่ สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกท่ี ่ สา คั ั ญ คือ ญ่ี ่ ปุ่น สหรฐัอเมริกา และกัมพูชา โดยมีสัดส่วนการ ส่งออกร้อยละ 54.51 ร้อยละ 16.72 และร้อยละ 15.98 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวม ตามล าดับ ตารางการส่งออกไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเพมิ่ (%) ไข่ไก่สด ปริมาณ (ล้านฟอง) มูลค่า (ล้านบาท) 301.25 997.04 270.80 750.73 222.43 655.84 260.60 800.55 240.67 914.12 -4.76 -1.06 ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 5,139.84 537.53 4,477.43 489.73 3,581.71 361.03 4,233.13 404.19 4,196.69 347.88 -4.51 -10.08 ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2561 - 2565 ปรมิาณการนา เขา้ผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่มีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ 10.00 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการน าเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,253.61 ตัน ลดลงจากปริมาณ 5,879.61 ตัน ของปี 2564 ร้อย ละ 10.65 ในขณะท่ี ่ มีมลูค่าการนา เขา้1,130.41 ลา้นบาท เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจาก 753.40 ล้านบาทของปี2564 ร้อยละ 50.04 โดย ผลิตภัณฑท์่ี ่ นา เขา้จะใชเ้ป็นส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑต์ ่าง ๆ เพ่ื ่ อใชใ้นประเทศและส่งออก ซ่ึ ่ งผลิตภัณฑท์่ี ่ มีการ นา เขา้มากท่ี ่ สดุคือ ไข่่ขาวผง โดยแหล่งนา เขา้ท่ี ่ สา คญัคือ จีน เนเธอรแ์ลนด์และอิตาลี โดยมีสัดส่วนการน าเข้าร้อยละ 23.23 รอ้ยละ 19.09และรอ้ยละ 15.93ของปรมิาณนา เขา้ไข่ขาวผงทั้ ้ งหมด ตารางการน าเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเพมิ่ (%) ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ(ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 3,944.06 647.38 4,021.36 547.53 4,818.11 513.91 5,879.61 753.40 5,253.61 1,130.41 10.00 15.42 ที่มา : กรมศุลกากร ราคาท่ี ่ เกษตรกรขายได้ปี 2561 -2565 ราคาไข่ไก่ท่ีเกษตรกรขายไดม้ีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ 4.02 ตอ่ ปี โดยในปี 2565 ราคาไข่ไก่ท่ี ่ เกษตรกรขายไดเ้ฉล่ี ่ ยฟองละ 3.24 บาท สูงขึ้ ้ นจากฟองละ 2.83 บาท ของปี2564 ร้อยละ 14.49 ซึ่งเป็นผลจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นโดยเฉพาะค่าอาหารสัตว์และค่าพันธุ์สัตว์ ประกอบกับมาตรการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ภายในประเทศ ราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ 3.85 ต่อปีในขณะท่ี ่ ราคา ส่งออกผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่มีแนวโนม้ลดลงในอตัรารอ้ยละ 5.83 ต่อปีโดยในปี2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดเฉล่ี ่ ยฟองละ บาท เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจาก 800.55 ลา้นบาท ของปี2564 รอ้ยละ 14.19 โดยตลาดส่งออกท่ี ่ สา คญัของไทย คือ สิงคโปร์ฮ่องกง และกัมพูชา มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 43.31ร้อยละ 38.61 และร้อยละ 14.44 ของปริมาณการส่งออกไข่ไก่สด ตามล าดับ 2. การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ ปี 2561 - 2565 ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงใน อัตราร้อยละ 4.51ต่อปี โดยในปี 2565 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 4,196.69 ตัน มูลค่า 347.88 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 4,233.13 ตัน มูลค่า 404.19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 0.86 และร้อยละ 13.93 ตามล าดับ ผลิตภั ณฑท์่ี ่ ส่่งออกมากท่ี ่ สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกท่ี ่ สา คั ั ญ คือ ญ่ี ่ ปุ่น สหรฐัอเมริกา และกัมพูชา โดยมีสัดส่วนการ ส่งออกร้อยละ 54.51 ร้อยละ 16.72 และร้อยละ 15.98 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวม ตามล าดับ ตารางการส่งออกไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเพมิ่ (%) ไข่ไก่สด ปริมาณ (ล้านฟอง) มูลค่า (ล้านบาท) 301.25 997.04 270.80 750.73 222.43 655.84 260.60 800.55 240.67 914.12 -4.76 -1.06 ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 5,139.84 537.53 4,477.43 489.73 3,581.71 361.03 4,233.13 404.19 4,196.69 347.88 -4.51 -10.08 ที่มา : กรมศุลกากร การน าเข้า ปี 2561 - 2565 ปรมิาณการนา เขา้ผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่มีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ 10.00 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการน าเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,253.61 ตัน ลดลงจากปริมาณ 5,879.61 ตัน ของปี 2564 ร้อย ละ 10.65 ในขณะท่ี ่ มีมลูค่าการนา เขา้1,130.41 ลา้นบาท เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจาก 753.40 ล้านบาทของปี2564 ร้อยละ 50.04 โดย ผลิตภัณฑท์่ี ่ นา เขา้จะใชเ้ป็นส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑต์ ่าง ๆ เพ่ื ่ อใชใ้นประเทศและส่งออก ซ่ึ ่ งผลิตภัณฑท์่ี ่ มีการ นา เขา้มากท่ี ่ สดุคือ ไข่่ขาวผง โดยแหล่งนา เขา้ท่ี ่ สา คญัคือ จีน เนเธอรแ์ลนด์และอิตาลี โดยมีสัดส่วนการน าเข้าร้อยละ 23.23 รอ้ยละ 19.09 และรอ้ยละ 15.93ของปรมิาณนา เขา้ไข่ขาวผงทั้ ้ งหมด ตารางการน าเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเพมิ่ (%) ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ(ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 3,944.06 647.38 4,021.36 547.53 4,818.11 513.91 5,879.61 753.40 5,253.61 1,130.41 10.00 15.42 ที่มา : กรมศุลกากร ราคาท่ี ่ เกษตรกรขายได้ปี 2561 -2565 ราคาไข่ไก่ท่ีเกษตรกรขายไดม้ีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ 4.02 ตอ่ ปี โดยในปี 2565 ราคาไข่ไก่ท่ี ่ เกษตรกรขายไดเ้ฉล่ี ่ ยฟองละ 3.24 บาท สูงขึ้ ้ นจากฟองละ 2.83 บาท ของปี2564 ร้อยละ 14.49 ซึ่งเป็นผลจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นโดยเฉพาะค่าอาหารสัตว์และค่าพันธุ์สัตว์ ประกอบกับมาตรการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ภายในประเทศ ราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ 3.85 ต่อปีในขณะท่ี ่ ราคา ส่งออกผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่มีแนวโนม้ลดลงในอตัรารอ้ยละ 5.83 ต่อปีโดยในปี2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดเฉล่ี ่ ยฟองละ 4,196.69 ตัน มูลค่า 347.88 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 4,233.13 ตัน มูลค่า 404.19 ล้านบาท ของปี 2564 ร้อยละ 0.86 และร้อย ละ 13.93 ตามลำาดับ ผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกที่สำาคัญ คือ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และกัมพูชา โดยมี สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 54.51 ร้อยละ 16.72 และร้อยละ 15.98 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวม ตามลำาดับ ราคาส่งออก ปี 2561 - 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.85 ต่อปี ในขณะที่ราคาส่งออก ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 5.83 ต่อปี โดย ในปี 2565 ราคาส่งออกไข่ไก่สดเฉลี่ยฟองละ 3.80 บาท สูงขึ้นจาก ฟองละ 3.07 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 2.36 สำาหรับราคาส่งออก ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 82,894 บาท ลดลงจากตันละ 95,483 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 13.18 ราคานำาเข้า ปี 2561 - 2565 ราคานำาเข้าผลิตภัณฑ์จาก ไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.92 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคานำาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลี่ยตันละ 215,168 บาท เพิ่มขึ้น จากตันละ 128,137 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 67.92 การนำาเข้า ปี 2561 - 2565 ปริมาณการนำาเข้าผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 10.00 ต่อปี โดยในปี 2565 มีการนำาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,253.61 ตัน ลดลง จากปริมาณ 5,879.61 ตัน ของปี 2564 ร้อยละ 10.65 ในขณะที่ มีมูลค่าการนำาเข้า 1,130.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 753.40 ล้าน บาทของปี 2564 ร้อยละ 50.04 โดยผลิตภัณฑ์ที่นำาเข้าจะใช้เป็น ส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในประเทศและส่งออก ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีการนำาเข้ามากที่สุด คือ ไข่ขาวผง โดยแหล่งนำาเข้า ที่สำาคัญ คือ จีน เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี โดยมีสัดส่วนการนำาเข้า ร้อยละ 23.23 ร้อยละ 19.09 และร้อยละ 15.93 ของปริมาณ นำาเข้าไข่ขาวผงทั้งหมด ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2561 - 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกร ขายได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.02 ต่อปี โดยในปี 2565 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยฟองละ 3.24 บาท สูงขึ้นจากฟอง ละ 2.83 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 14.49 ซึ่งเป็นผลจากต้นทุน การผลิตที่สูงขึ้นโดยเฉพาะค่าอาหารสัตว์และค่าพันธุ์สัตว์ ประกอบ กับมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ภายในประเทศ
16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สำาหรับการผลิต ปี 2566 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,197.64 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 15,043.47 ล้านฟอง ของปี 2565 ร้อยละ 1.02 ตามความต้องการบริโภคที่คาดว่า จะเพิ่มขึ้น รวมทั้ง เกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทำาให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น ด้านการตลาด เริ่มจากความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่า ปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นจากปี 2565 จากการฟื้นตัวของ ภาคการท่องเที่ยวและบริการ ประกอบกับไข่ไก่สามารถทำาเมนูอาหาร ได้ง่าย และหลากหลายประเภท รวมทั้งเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก นอกจากนี้ภาครัฐและภาคเอกชน มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภค ไข่ไก่ โดยการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของไข่ไก่และ ปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง 3.80 บาท สูงขึ้ ้ นจากฟองละ 3.07 บาท ของปี2564 รอ้ยละ 2.36 สา หรบัราคาส่งออกผลิตภัณฑจ์ากไข่ไก่เฉล่ี ่ ยตนัละ 82,894 บาท ลดลงจากตันละ 95,483 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 13.18 ราคาน าเข้า ปี 2561 - 2565 ราคานา เขา้ผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่มีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ4.92 ต่อปีโดยใน ปี2565 ราคานา เขา้ผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่เฉล่ี ่ ยตนัละ 215,168 บาท เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจากตนัละ 128,137 บาท ของปี2564 รอ้ยละ 67.92 ส าหรับการผลิต ปี2566 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่15,197.64 ลา้นฟอง เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจาก 15,043.47 ลา้น ฟอง ของปี2565 รอ้ยละ 1.02 ตามความตอ้งการบรโิภคท่ี ่ คาดว่า จะเพ่ิ ่ มขึ้ ้ น รวมทั้ ้ งเกษตรกรมีการจดัการฟารม์ ไก่ไข่ท่ี ่ มี ประสิทธิภาพมากขึ้ ้ น ทา ใหผ้ลผลิตเพ่ิมขนึ้ ด้านการตลาด เริ่มจากความต้องการบริโภค ปี2566 คาดว่าปรมิาณการบรโิภคไข่ไก่จะเพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจากปี2565จาก การฟื้ ้ นตวัของภาคการท่องเท่ียวและบรกิาร ประกอบกบัไข่ไก่สามารถทา เมนอูาหารไดง้่าย และหลากหลายประเภท รวม ทั้ ้ งเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก นอกจากนี้ ้ ภาครัฐและภาคเอกชน มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ โดยการ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของไข่ไก่และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง การส่งออก ปี 2566 คาดว่า การส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากต้องรักษาระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาดส่งออก รวมทั้งประเทศคู่ค้าที่ส าคัญ อาทิ สิงคโปร์และ ฮ่องกง มีความต้องการน าเข้าไข่ไก่จากไทยเพิ่มขึ้น การน าเข้าปี 2566 คาดว่า การน าเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูป ไข่ไก่ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร เพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศที่สหภาพยุโรปให้การรับรองให้ใช้เป็น ส่วนประกอบได้ ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคไข่ไก่ของไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเพมิ่ (ร้อยละ) 2566* ปริมาณการผลิต1/ (ล้านฟอง) 15,135.03 15,018.74 14,841.64 15,324.42 15,043.47 0.08 15,197.64 ปริมาณการส่งออก2/ (ล้านฟอง) 301.25 270.80 221.43 260.60 240.67 -4.76 N/A ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านฟอง) 14,833.78 14,747.94 14,620.21 15,063.82 14,802.80 0.17 N/A หมายเหตุ : *ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : 1/, 3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2/ กรมศุลกากร ราคาปี 2566 คาดว่าราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้ ้ งประเทศจะสงูขึน้เล็กนอ้ยจากปี2565 เนื่องจากมีการ จัดท าแผนการน าเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ รวมทั้ง ต้นทุนการผลิตที่ ปรับตัวสูงขึ้น ตลอดจนการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและบริการท าให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้น การส่งออก ปี 2566 คาดว่า การส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากต้องรักษา ระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาดส่งออก รวมทั้งประเทศ คู่ค้าที่สำาคัญ อาทิ สิงคโปร์และฮ่องกง มีความต้องการนำาเข้าไข่ไก่ จากไทยเพิ่มขึ้น การนำาเข้าปี 2566 คาดว่า การนำาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะ ทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูปไข่ไก่ภายใน ประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่าง ๆ ได้ อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อการส่งออกบาง ประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศที่สหภาพยุโรป ให้การรับรองให้ใช้เป็นส่วนประกอบได้
17 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ตารางราคาไขไ่ก่ทเี่กษตรกรขายได้ราคาส่งออก และราคานา เข้า รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเพมิ่ (%) ราคาที่เกษตรกรขายได้1/ (บาท/ฟอง) 2.68 2.79 2.82 2.83 3.24 4.02 ราคาส่งออก2/ (เอฟ.โอ.บี) ไข่ไก่สด (บาท/ฟอง) 3.31 2.77 2.96 3.07 3.80 3.85 ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ (บาท/ตัน) 104,582 109,378 100,797 95,483 82,894 -5.83 ราคาน าเข้า2/(ซี.ไอ.เอฟ.) ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ (บาท/ตัน) 164,140 136,155 106,662 128,137 215,168 4.92 หมายเหตุ : * ประมาณการ ที่มา : 1/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2/ กรมศุลกากร ปัจจัยทมี่ีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด 1. สภาพอากาศที่แปรปรวน มีผลต่อสุขภาพของไก่ไข่อาจท าให้มีภูมิคุ้มกันลดลง และเป็นโรคได้ง่ายขึ้ ้ น ส่งผล ให้อัตราการให้ไข่ลดลงได้ 2. หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่อย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัด กิจกรรมท่ี ่ สา คญั ไดแ้ก่การจดังานวนัไข่โลก เพ่ือประชาสมัพนัธค์ณุประโยชนข์องไข่ไก่และรณรงคส์ ่งเสรมิ การบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคไข่ไก่มากขึ้น 3. ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น จากภาวะสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน โดยเฉพาะราคาวัตถุดิบอาหาร สตัวแ์ละราคาน ้ ้ ามนัเชือ้เพลิง ราคาปี 2566 คาดว่าราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้ง ประเทศจะสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2565 เนื่องจากมีการจัดทำาแผนการ นำาเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ ในประเทศ รวมทั้ง ต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น ตลอดจนการ ฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและบริการทำาให้ความต้องการบริโภค ขยายตัวเพิ่มขึ้น ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด 1. สภาพอากาศที่แปรปรวน มีผลต่อสุขภาพของไก่ไข่อาจ ทำาให้มีภูมิคุ้มกันลดลง และเป็นโรคได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้อัตราการให้ ไข่ลดลงได้ 2. หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการรณรงค์ส่งเสริม การบริโภคไข่ไก่อย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดกิจกรรมที่สำาคัญ ได้แก่ การจัดงานวันไข่โลก เพื่อประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ของไข่ไก่ และ รณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภคหัน มาบริโภคไข่ไก่มากขึ้น 3. ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น จากภาวะสงครามระหว่าง รัสเซียและยูเครน โดยเฉพาะราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์และราคานำ้ามัน เชื้อเพลิง 16 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สำาหรับการผลิต ปี 2566 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,197.64 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 15,043.47 ล้านฟอง ของปี 2565 ร้อยละ 1.02 ตามความต้องการบริโภคที่คาดว่า จะเพิ่มขึ้น รวมทั้ง เกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทำาให้ ผลผลิตเพิ่มขึ้น ด้านการตลาด เริ่มจากความต้องการบริโภค ปี 2566 คาดว่า ปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นจากปี 2565 จากการฟื้นตัวของ ภาคการท่องเที่ยวและบริการ ประกอบกับไข่ไก่สามารถทำาเมนูอาหาร ได้ง่าย และหลากหลายประเภท รวมทั้งเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก นอกจากนี้ภาครัฐและภาคเอกชน มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภค ไข่ไก่ โดยการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของไข่ไก่และ ปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง 3.80 บาท สูงขึ้ ้ นจากฟองละ 3.07 บาท ของปี2564 รอ้ยละ 2.36 สา หรบัราคาส่งออกผลิตภัณฑจ์ากไข่ไก่เฉล่ี ่ ยตนัละ 82,894 บาท ลดลงจากตันละ 95,483 บาท ของปี 2564 ร้อยละ 13.18 ราคาน าเข้า ปี 2561 - 2565 ราคานา เขา้ผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่มีแนวโนม้เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นในอตัรารอ้ยละ4.92 ต่อปีโดยใน ปี2565 ราคานา เขา้ผลิตภณัฑจ์ากไข่ไก่เฉล่ี ่ ยตนัละ 215,168 บาท เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจากตนัละ 128,137 บาท ของปี2564 รอ้ยละ 67.92 ส าหรับการผลิต ปี2566 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่15,197.64 ลา้นฟอง เพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจาก 15,043.47 ลา้น ฟอง ของปี2565 รอ้ยละ 1.02 ตามความตอ้งการบรโิภคท่ี ่ คาดว่า จะเพ่ิ ่ มขึ้ ้ น รวมทั้ ้ งเกษตรกรมีการจดัการฟารม์ ไก่ไข่ท่ี ่ มี ประสิทธิภาพมากขึ้ ้ น ทา ใหผ้ลผลิตเพ่ิมขนึ้ ด้านการตลาด เริ่มจากความต้องการบริโภค ปี2566 คาดว่าปรมิาณการบรโิภคไข่ไก่จะเพ่ิ ่ มขึ้ ้ นจากปี2565จาก การฟื้ ้ นตวัของภาคการท่องเท่ียวและบรกิาร ประกอบกบัไข่ไก่สามารถทา เมนอูาหารไดง้่าย และหลากหลายประเภท รวม ทั้ ้ งเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก นอกจากนี้ ้ ภาครัฐและภาคเอกชน มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ โดยการ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของไข่ไก่และปริมาณการบริโภคไข่ไก่ที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง การส่งออก ปี 2566 คาดว่า การส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากต้องรักษาระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาดส่งออก รวมทั้งประเทศคู่ค้าที่ส าคัญ อาทิ สิงคโปร์และ ฮ่องกง มีความต้องการน าเข้าไข่ไก่จากไทยเพิ่มขึ้น การน าเข้าปี 2566 คาดว่า การน าเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูป ไข่ไก่ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร เพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศที่สหภาพยุโรปให้การรับรองให้ใช้เป็น ส่วนประกอบได้ ตารางปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคไข่ไก่ของไทย รายการ 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเพมิ่ (ร้อยละ) 2566* ปริมาณการผลิต1/ (ล้านฟอง) 15,135.03 15,018.74 14,841.64 15,324.42 15,043.47 0.08 15,197.64 ปริมาณการส่งออก2/ (ล้านฟอง) 301.25 270.80 221.43 260.60 240.67 -4.76 N/A ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านฟอง) 14,833.78 14,747.94 14,620.21 15,063.82 14,802.80 0.17 N/A หมายเหตุ : *ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : 1/, 3/ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2/ กรมศุลกากร ราคาปี 2566 คาดว่าราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้ ้ งประเทศจะสงูขึน้เล็กนอ้ยจากปี2565 เนื่องจากมีการ จัดท าแผนการน าเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ รวมทั้ง ต้นทุนการผลิตที่ ปรับตัวสูงขึ้น ตลอดจนการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและบริการท าให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้น การส่งออก ปี 2566 คาดว่า การส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์ จากไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2565 เนื่องจากต้องรักษา ระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาดส่งออก รวมทั้งประเทศ คู่ค้าที่สำาคัญ อาทิ สิงคโปร์และฮ่องกง มีความต้องการนำาเข้าไข่ไก่ จากไทยเพิ่มขึ้น การนำาเข้าปี 2566 คาดว่า การนำาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะ ทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูปไข่ไก่ภายใน ประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่าง ๆ ได้ อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อการส่งออกบาง ประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศที่สหภาพยุโรป ให้การรับรองให้ใช้เป็นส่วนประกอบได้
18 สัตว์เศรษฐกิจ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส ในลูกสุกร และนิวคาสเซิลในไก่ การเจริญเติบโตและโครงสร้าง ร่างกายผิดปกติ ต่อมหมวกไตพิการ สร้างฮอร์โมนลดน้อยลง อาการ ทางประสาท ความดันในไขสันหลังสูง เดินไม่ได้ เป็นอัมพาต กระดูก เจริญเติบโตช้า รูปร่างเซลล์เม็ดเลือดแดงผิดปกติ เม็ดเลือดแดงถูก ทำาลายมากกว่าปกติ ความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์ เช่น อัตราการ ผสมติดต่ำา แท้ง ดูดซึมกลับ เป็นหมัน ลูกมีโครงสร้างและการพัฒนา ที่ผิดปกติ พิการ น้ำาหนักแรกคลอดต่ำา ลูกสุกรที่เกิดมาอาจเดินผิด ปกติ ขาอ่อนแรง อัมพาต เจริญเติบโตช้า มักเป็นโรคผิวหนัง ตาบอด วิตามิน D เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้ เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ กระบวนการเมตาบอลิสม ของแคลเซียม และฟอสฟอรัสผิดปกติ เกิดโรคกระดูกอ่อนผิดปกติ ในสัตว์ที่กำาลังเติบโต (Rickets) และกระดูกเปราะบางหรือกระดูก พรุนในสัตว์โตเต็มวัย (Osteomalacia) กระดูกแตกหักง่าย โครงสร้าง กระดูกผิดรูป ความผิดปกติของกระดูก ข้อต่อ ฟัน กล้ามเนื้ออ่อน แรงและกระตุก เบื่ออาหาร น้ำาหนักลด เจริญเติบโตช้า ขาดความ กระฉับกระเฉง เซื่องซึม ชักจากแคลเซียมในเลือดต่ำา แม่สุกรอาจ มีผลต่อระบบสืบพันธุ์ ลูกสุกรตายแรกคลอดสูง ภูมิต้านทานต่อ โรคต่าง ๆ ลดน้อยลง เช่น หวัด ปอดบวม วัณโรค ในสัตว์ปีก จะแสดงออกค่อนข้างชัดเจน ผิวไข่บางเปราะ แตกง่าย ขรุขระ ไม่เรียบ สวัสดีปีใหม่ 2566 ครับ ขออวยพรให้ทุกท่านพบเจอแต่สิ่ง ใหม่ ๆ อันดีงามผันผ่านเข้ามา ให้การเริ่มต้นชีวิต ตลอดจนธุรกิจ ของปีนี้เป็นไปด้วยความสุข สดชื่น ราบรื่น สมหวังดังใจปรารถนา แม้เรายังต้องเผชิญโรคภัยอย่าง COVID-19 กันอยู่ ทั้งโรคในหมูก็ ยังไม่สร่างซา (ASF) รวมทั้งภาวะต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ก็มีราคา สูงต่อเนื่อง บางชนิดยังคงหายาก แต่เชื่อว่าทุกท่านคงมีกำาลังทั้งกาย และจิตใจที่เข้มแข็ง เอาชนะปัญหาที่มีอยู่ หรือจะเข้ามาอีกได้ไม่ยาก ฉบับแรกของปีนี้เป็นเนื้อหาพื้นฐานเบา ๆ เพื่อทบทวนความรู้ในแง่ โภชนะ ด้วยเหตุที่ว่าในเมื่อเราต้องจ่ายต้นทุนค่าอาหารในส่วนโภชนะ หลักเช่น พลังงาน โปรตีนที่สูงแล้ว หรืออาจต้องปรับลดสูตรให้ต้นทุน เหมาะสมแทนนั้น โภชนะรองที่สำาคัญไม่แพ้กัน เช่น วิตามิน แร่ธาตุ ก็จะกลายเป็นมีความสำาคัญมิใช่น้อย หากขาดร่วมด้วยก็อาจส่งผลให้ สัตว์มีประสิทธิภาพด้านต่าง ๆ ลดลงไปอีก ทั้งบางชนิดที่เสริมเพิ่ม เข้าไป ก็อาจช่วยให้กลับมามีประสิทธิภาพดีใกล้เคียงเดิม ทั้งต้นทุน ก็ถูกลดลงมาถึงระดับที่เหมาะสมก็เป็นได้ วิตามิน A เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้ เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ตาบอดกลางคืน ตาฝ้าฟาง เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาขุ่นเป็นแผล โรคผิวหนัง ผิวหนังหยาบกร้าน แห้งแตก สิว และความผิดปกติของขน ภูมิต้านทานต่ำาทำาให้ติดเชื้อ ในระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารได้ง่ายขึ้น เช่น Rotavirus โรค และความผิดปกติ จากการขาดวิตามิน แร่ธาตุ (1) LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส สวัสดีปีใหม่ 2566 ครับ ขออวยพรให้ทุกท่านพบเจอแต่สิ่งใหม่ๆ อันดีงามผันผ่านเข้ามา ให้การเริ่มต้นชีวิต ตลอดจน ธุรกิจของปีนี้เป็นไปด้วยความสุข สดชื่น ราบรื่น สมหวังดังใจปรารถนา แม้เรายังต้องเผชิญโรคภัยอย่าง COVID-19 กันอยู่ ทั้ง โรคในหมูก็ยังไม่สร่างซา (ASF) รวมทั้งภาวะต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ก็มีราคาสูงต่อเนื่อง บางชนิดยังคงหายาก แต่เชื่อว่าทุก ท่านคงมีก าลังทั้งกายและจิตใจที่เข้มแข็ง เอาชนะปัญหาที่มีอยู่ หรือจะเข้ามาอีกได้ไม่ยาก ฉบับแรกของปีนี้เป็นเนื้อหาพื้นฐาน เบาๆ เพื่อทบทวนความรู้ในแง่โภชนะ ด้วยเหตุที่ว่าในเมื่อเราต้องจ่ายต้นทุนค่าอาหารในส่วนโภชนะหลักเช่น พลังงาน โปรตีน ที่สูงแล้ว หรืออาจต้องปรับลดสูตรให้ต้นทุนเหมาะสมแทนนั้น โภชนะรองที่ส าคัญไม่แพ้กัน เช่น วิตามิน แร่ธาตุ ก็จะกลายเป็น มีความส าคัญมิใช่น้อย หากขาดร่วมด้วยก็อาจส่งผลให้สัตว์มีประสิทธิภาพด้านต่างๆ ลดลงไปอีก ทั้งบางชนิดที่เสริมเพิ่มเข้าไป ก็อาจช่วยให้กลับมามีประสิทธิภาพดีใกล้เคียงเดิม ทั้งต้นทุนก็ถูกลดลงมาถึงระดับที่เหมาะสมก็เป็นได้ วิตามิน A เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ตาบอดกลางคืน ตาฝ้าฟาง เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาขุ่นเป็นแผล โรคผิวหนัง ผิวหนังหยาบกร้าน แห้งแตก สิว และความผิดปกติของขน ภูมิ ต้านทานต ่าท าให้ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารได้ง่ายขึ้น เช่น Rotavirus ในลูกสุกร และนิวคาสเซิลในไก่ การเจริญเติบโตและโครงสร้างร่างกายผิดปกติต่อมหมวกไตพิการ สร้างฮอร์โมนลดน้อยลง อาการทางประสาท ความดันในไข สันหลังสูง เดินไม่ได้ เป็นอัมพาต กระดูกเจริญเติบโตช้า รูปร่างเซลล์เม็ดเลือดแดงผิดปกติ เม็ดเลือดแดงถูกท าลายมากกว่า ปกติความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์เช่น อัตราการผสมติดต ่า แท้ง ดูดซึมกลับ เป็นหมัน ลูกมีโครงสร้างและการพัฒนาที่ ผิดปกติ พิการ น ้าหนักแรกคลอดต ่า ลูกสุกรที่เกิดมาอาจเดินผิดปกติ ขาอ่อนแรง อัมพาต เจริญเติบโตช้า มักเป็นโรคผิวหนัง ตาบอด วิตามิน D เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ กระบวนการเมตา บอลิสมของแคลเซียม และฟอสฟอรัสผิดปกติ เกิดโรคกระดูกอ่อนผิดปกติในสัตว์ที่ก าลังเติบโต (Rickets) และกระดูก เปราะบางหรือกระดูกพรุนในสัตว์โตเต็มวัย (Osteomalacia) กระดูกแตกหักง่าย โครงสร้างกระดูกผิดรูป ความผิดปกติของ กระดูก ข้อต่อ ฟัน กล้ามเนื้ออ่อนแรงและกระตุก เบื่ออาหาร น ้าหนักลด เจริญเติบโตช้า ขาดความกระฉับกระเฉง เซื่องซึม ชัก จากแคลเซียมในเลือดต ่า แม่สุกรอาจมีผลต่อระบบสืบพันธุ์ ลูกสุกรตายแรกคลอดสูง ภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ ลดน้อยลง เช่น หวัด ปอดบวม วัณโรค ในสัตว์ปีกจะแสดงออกค่อนข้างชัดเจน ผิวไข่บางเปราะ แตกง่าย ขรุขระ ไม่เรียบ
18 สัตว์เศรษฐกิจ น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผู้จัดการฝ่ายวิชาการ บจก. เซ็นทรัลลิส ในลูกสุกร และนิวคาสเซิลในไก่ การเจริญเติบโตและโครงสร้าง ร่างกายผิดปกติ ต่อมหมวกไตพิการ สร้างฮอร์โมนลดน้อยลง อาการ ทางประสาท ความดันในไขสันหลังสูง เดินไม่ได้ เป็นอัมพาต กระดูก เจริญเติบโตช้า รูปร่างเซลล์เม็ดเลือดแดงผิดปกติ เม็ดเลือดแดงถูก ทำาลายมากกว่าปกติ ความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์ เช่น อัตราการ ผสมติดต่ำา แท้ง ดูดซึมกลับ เป็นหมัน ลูกมีโครงสร้างและการพัฒนา ที่ผิดปกติ พิการ น้ำาหนักแรกคลอดต่ำา ลูกสุกรที่เกิดมาอาจเดินผิด ปกติ ขาอ่อนแรง อัมพาต เจริญเติบโตช้า มักเป็นโรคผิวหนัง ตาบอด วิตามิน D เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้ เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ กระบวนการเมตาบอลิสม ของแคลเซียม และฟอสฟอรัสผิดปกติ เกิดโรคกระดูกอ่อนผิดปกติ ในสัตว์ที่กำาลังเติบโต (Rickets) และกระดูกเปราะบางหรือกระดูก พรุนในสัตว์โตเต็มวัย (Osteomalacia) กระดูกแตกหักง่าย โครงสร้าง กระดูกผิดรูป ความผิดปกติของกระดูก ข้อต่อ ฟัน กล้ามเนื้ออ่อน แรงและกระตุก เบื่ออาหาร น้ำาหนักลด เจริญเติบโตช้า ขาดความ กระฉับกระเฉง เซื่องซึม ชักจากแคลเซียมในเลือดต่ำา แม่สุกรอาจ มีผลต่อระบบสืบพันธุ์ ลูกสุกรตายแรกคลอดสูง ภูมิต้านทานต่อ โรคต่าง ๆ ลดน้อยลง เช่น หวัด ปอดบวม วัณโรค ในสัตว์ปีก จะแสดงออกค่อนข้างชัดเจน ผิวไข่บางเปราะ แตกง่าย ขรุขระ ไม่เรียบ สวัสดีปีใหม่ 2566 ครับ ขออวยพรให้ทุกท่านพบเจอแต่สิ่ง ใหม่ ๆ อันดีงามผันผ่านเข้ามา ให้การเริ่มต้นชีวิต ตลอดจนธุรกิจ ของปีนี้เป็นไปด้วยความสุข สดชื่น ราบรื่น สมหวังดังใจปรารถนา แม้เรายังต้องเผชิญโรคภัยอย่าง COVID-19 กันอยู่ ทั้งโรคในหมูก็ ยังไม่สร่างซา (ASF) รวมทั้งภาวะต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ก็มีราคา สูงต่อเนื่อง บางชนิดยังคงหายาก แต่เชื่อว่าทุกท่านคงมีกำาลังทั้งกาย และจิตใจที่เข้มแข็ง เอาชนะปัญหาที่มีอยู่ หรือจะเข้ามาอีกได้ไม่ยาก ฉบับแรกของปีนี้เป็นเนื้อหาพื้นฐานเบา ๆ เพื่อทบทวนความรู้ในแง่ โภชนะ ด้วยเหตุที่ว่าในเมื่อเราต้องจ่ายต้นทุนค่าอาหารในส่วนโภชนะ หลักเช่น พลังงาน โปรตีนที่สูงแล้ว หรืออาจต้องปรับลดสูตรให้ต้นทุน เหมาะสมแทนนั้น โภชนะรองที่สำาคัญไม่แพ้กัน เช่น วิตามิน แร่ธาตุ ก็จะกลายเป็นมีความสำาคัญมิใช่น้อย หากขาดร่วมด้วยก็อาจส่งผลให้ สัตว์มีประสิทธิภาพด้านต่าง ๆ ลดลงไปอีก ทั้งบางชนิดที่เสริมเพิ่ม เข้าไป ก็อาจช่วยให้กลับมามีประสิทธิภาพดีใกล้เคียงเดิม ทั้งต้นทุน ก็ถูกลดลงมาถึงระดับที่เหมาะสมก็เป็นได้ วิตามิน A เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้ เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ตาบอดกลางคืน ตาฝ้าฟาง เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาขุ่นเป็นแผล โรคผิวหนัง ผิวหนังหยาบกร้าน แห้งแตก สิว และความผิดปกติของขน ภูมิต้านทานต่ำาทำาให้ติดเชื้อ ในระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารได้ง่ายขึ้น เช่น Rotavirus โรค และความผิดปกติ จากการขาดวิตามิน แร่ธาตุ (1) LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE น.สพ. ยุทธ เทียมสุวรรณ ผจู้ดัการฝ่ายวิชาการ บจก. เซน็ทรลัลิส สวัสดีปีใหม่ 2566 ครับ ขออวยพรให้ทุกท่านพบเจอแต่สิ่งใหม่ๆ อันดีงามผันผ่านเข้ามา ให้การเริ่มต้นชีวิต ตลอดจน ธุรกิจของปีนี้เป็นไปด้วยความสุข สดชื่น ราบรื่น สมหวังดังใจปรารถนา แม้เรายังต้องเผชิญโรคภัยอย่าง COVID-19 กันอยู่ ทั้ง โรคในหมูก็ยังไม่สร่างซา (ASF) รวมทั้งภาวะต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ก็มีราคาสูงต่อเนื่อง บางชนิดยังคงหายาก แต่เชื่อว่าทุก ท่านคงมีก าลังทั้งกายและจิตใจที่เข้มแข็ง เอาชนะปัญหาที่มีอยู่ หรือจะเข้ามาอีกได้ไม่ยาก ฉบับแรกของปีนี้เป็นเนื้อหาพื้นฐาน เบาๆ เพื่อทบทวนความรู้ในแง่โภชนะ ด้วยเหตุที่ว่าในเมื่อเราต้องจ่ายต้นทุนค่าอาหารในส่วนโภชนะหลักเช่น พลังงาน โปรตีน ที่สูงแล้ว หรืออาจต้องปรับลดสูตรให้ต้นทุนเหมาะสมแทนนั้น โภชนะรองที่ส าคัญไม่แพ้กัน เช่น วิตามิน แร่ธาตุ ก็จะกลายเป็น มีความส าคัญมิใช่น้อย หากขาดร่วมด้วยก็อาจส่งผลให้สัตว์มีประสิทธิภาพด้านต่างๆ ลดลงไปอีก ทั้งบางชนิดที่เสริมเพิ่มเข้าไป ก็อาจช่วยให้กลับมามีประสิทธิภาพดีใกล้เคียงเดิม ทั้งต้นทุนก็ถูกลดลงมาถึงระดับที่เหมาะสมก็เป็นได้ วิตามิน A เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ตาบอดกลางคืน ตาฝ้าฟาง เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาขุ่นเป็นแผล โรคผิวหนัง ผิวหนังหยาบกร้าน แห้งแตก สิว และความผิดปกติของขน ภูมิ ต้านทานต ่าท าให้ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารได้ง่ายขึ้น เช่น Rotavirus ในลูกสุกร และนิวคาสเซิลในไก่ การเจริญเติบโตและโครงสร้างร่างกายผิดปกติต่อมหมวกไตพิการ สร้างฮอร์โมนลดน้อยลง อาการทางประสาท ความดันในไข สันหลังสูง เดินไม่ได้ เป็นอัมพาต กระดูกเจริญเติบโตช้า รูปร่างเซลล์เม็ดเลือดแดงผิดปกติ เม็ดเลือดแดงถูกท าลายมากกว่า ปกติความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์เช่น อัตราการผสมติดต ่า แท้ง ดูดซึมกลับ เป็นหมัน ลูกมีโครงสร้างและการพัฒนาที่ ผิดปกติ พิการ น ้าหนักแรกคลอดต ่า ลูกสุกรที่เกิดมาอาจเดินผิดปกติ ขาอ่อนแรง อัมพาต เจริญเติบโตช้า มักเป็นโรคผิวหนัง ตาบอด วิตามิน D เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ กระบวนการเมตา บอลิสมของแคลเซียม และฟอสฟอรัสผิดปกติ เกิดโรคกระดูกอ่อนผิดปกติในสัตว์ที่ก าลังเติบโต (Rickets) และกระดูก เปราะบางหรือกระดูกพรุนในสัตว์โตเต็มวัย (Osteomalacia) กระดูกแตกหักง่าย โครงสร้างกระดูกผิดรูป ความผิดปกติของ กระดูก ข้อต่อ ฟัน กล้ามเนื้ออ่อนแรงและกระตุก เบื่ออาหาร น ้าหนักลด เจริญเติบโตช้า ขาดความกระฉับกระเฉง เซื่องซึม ชัก จากแคลเซียมในเลือดต ่า แม่สุกรอาจมีผลต่อระบบสืบพันธุ์ ลูกสุกรตายแรกคลอดสูง ภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ ลดน้อยลง เช่น หวัด ปอดบวม วัณโรค ในสัตว์ปีกจะแสดงออกค่อนข้างชัดเจน ผิวไข่บางเปราะ แตกง่าย ขรุขระ ไม่เรียบ 19 สัตว์เศรษฐกิจ เดินผิดปกติ โดยจะพบมากในช่วงอายุ 1 สัปดาห์แรก เนื่องจากลำาไส้ ยังปราศจากเชื้อแบคทีเรียที่สังเคราะห์วิตามิน ประกอบกับวิตามินที่ ผ่านมาทางรก และน้ำานมมีปริมาณน้อย การขาดวิตามิน K มักเกิด ร่วมกับสาเหตุอื่นเช่น โรคเรื้อรังของระบบทางเดินอาหาร โรคทาง เดินน้ำาดีอุดตัน หรือหลังจากการผ่าตัดลำาไส้เล็ก หรือได้รับยา ปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบบกว้าง หรือยาป้องกันบิดบางชนิด ในสัตว์ปีก วิตามิน C เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิด โรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวด ตามข้อต่อร่างกาย เจ็บกระดูก โลหิตจาง เลือดออกตามที่ต่าง ๆ ในร่างกาย ที่ไรฟัน หรือ โรคลักปิดลักเปิด บาดแผลตามส่วน ต่าง ๆ ของร่างกายหายช้ากว่าปกติ ภูมิคุ้มกันร่างกายลดต่ำาลง ติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้ง่ายขึ้น ความไม่สมบูรณ์พันธุ์ มีลูกยาก กว่าปกติ รวมถึงอาจเกิดความผิดปกติทางจิต เครียดได้ง่ายขึ้น วิตามิน B1 หรือไทอามีน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาด อาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ สุกรพบอาการเบื่อ อาหาร ซูบผอม หอบเหนื่อยง่าย ท้องผูก อาเจียน น้ำาหนักลด อุณหภูมิร่างกายต่ำา หัวใจโตเต้นเร็ว ใจสั่น กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม หัวใจวาย ตาย อาการเริ่มแรกที่มักพบได้บ่อยคือ โรคเหน็บชา (Beriberi) อาการที่รุนแรงมากขึ้นได้แก่ ชาตามปลายมือปลายเท้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อลีบ เดินไม่ถนัดอาจ จนถึงเป็นอัมพาต โรค Korsakoff’s syndrome ทำาให้ระบบประสาท เสื่อม นอนหลับยาก มึนงง อารมณ์แปรปรวนสับสน ไม่รู้ทิศทาง สั่นกระตุก อัมพาต โคม่า ในไก่พบกล้ามเนื้อขา ปีก คอเป็นอัมพาต สั่นกระตุก คอเหยียดเกร็งแบบแหงนดูดาว เรียกว่า Star gazing วิตามิน B2 หรือไรโบฟลาวิน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หาก ขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ความล้มเหลว ทางระบบสืบพันธุ์ สุกรสาวไม่เป็นสัด ดูดซึมกลับตัวอ่อน ตายแรก คลอด เบื่ออาหาร เจริญเติบโตช้า แคระแกร็น ต้อกระจก ขาเจ็บ ท่าทางการเดินผิดปกติ ผิวหนังอักเสบเยิ้มพุพอง ขนหยาบกร้าน วิตามิน E เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้ เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ความไม่สมบูรณ์พันธุ์ เป็น หมัน แท้งลูก ผสมติดยาก ภาวะมดลูกอักเสบ เต้านมอักเสบ ไม่มี น้ำานม (MMA) ตัวผู้เป็นหมันถาวรจากการเสื่อมของ Germinal epithelium ในอัณฑะ เกิดแผลหลุมที่กระเพาะอาหาร โลหิตจาง ในลูกสัตว์จากภาวะเม็ดเลือดแดงแตกง่าย โรค Mulberry heart disease หรือภาวะเสื่อมสภาพของกล้ามเนื้อหัวใจ นอกจากนี้ วิตามิน E มีส่วนช่วยยับยั้งกระบวนการออกซิเดชั่นของสารที่ไม่พึง ประสงค์กับไขมันในเลือดและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ดังนั้นถ้าขาดอาจก่อ ความเสื่อมสภาพเร็วขึ้น หลอดเลือดแดงแข็งตัว เกิดก้อนเลือด อุดตันง่าย เกิดเซลล์ตายในเนื้อเยื่อตับ เกิดสมองอักเสบ (Encep halomalacia) มีเลือดคั่งในสมองส่วนซีรีเบลลัม เนื่องจากไขมันใน เส้นเลือดถูกออกซิไดซ์ ทำาให้เยื่อหุ้มเซลล์เสื่อมสภาพ เกิดภาวะการ อักเสบโดยเพิ่มการสร้าง Inflammatory mediator เช่น PGE2 Leukotriene มักพบในลูกสุกรน้ำาหนักประมาณ 20 - 50 กก. แสดง อาการซืม เบื่ออาหาร กล้ามเนื้ออ่อนแรง อุณหภูมิร่างกายต่ำา ขาด ออกซิเจน ทำาให้ร่างกายมีสีเขียวคล้ำาออกม่วง จากภาวะ Cyanosis และตายเฉียบพลัน ทั้งยังก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบประสาท และกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อลีบอ่อนแรง (Muscular dystrophy) หรือ กล้ามเนื้อตาย กลายเป็นอัมพาต กล้ามเนื้อโครงร่างมีสีซีดจากการ ขาดไมโอโกลบินในสุกร และสุกรที่ส่งโรงฆ่าอาจมีคุณภาพซากไม่ดี เนื้อสัตว์เกิดการสูญเสียน้ำาหรือ Drip loss ในไก่เกิดอาการบวมน้ำา หรือโรคที่เรียกว่า Exudative diathesis มีน้ำาใส ๆ สะสมอยู่ใต้ ผิวหนัง ทำาให้กล้ามเนื้อซีด ยืนขาถ่าง ผิวหนังมีสีฟ้าเขียว มักพบ ในลูกไก่ไม่เกิน 5 สัปดาห์ วิตามิน E มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ ซีลีเนียม ซึ่งจะได้กล่าวในฉบับเดือนหน้า วิตามิน K เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้ เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ เลือดหยุดช้าเมื่อมีบาดแผล มีเลือดออกในอวัยวะต่าง ๆ เช่น ใต้ผิวหนัง ช่องกะโหลกศีรษะ ลำาไส้ ข้อกระดูก หัวใจ รวมถึงในปัสสาวะ อาจแสดงอาการหายใจผิดปกติ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ วิตามิน E เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ความไม่สมบูรณ์ พันธุ์ เป็นหมัน แท้งลูก ผสมติดยาก ภาวะมดลูกอักเสบ เต้านมอักเสบ ไม่มีน ้านม (MMA) ตัวผู้เป็นหมันถาวรจากการเสื่อมของ Germinal epithelium ในอัณฑะ เกิดแผลหลุมที่กระเพาะอาหาร โลหิตจางในลูกสัตว์จากภาวะเม็ดเลือดแดงแตกง่าย โรค Mulberry heart disease หรือภาวะเสื่อมสภาพของกล้ามเนื้อหัวใจ นอกจากนี้วิตามิน E มีส่วนช่วยยับยั้งกระบวนการออกซิ เดชั่นของสารที่ไม่พึงประสงค์กับไขมันในเลือดและเนื้อเยื่อต่างๆ ดังนั้นถ้าขาดอาจก่อความเสื่อมสภาพเร็วขึ้น หลอดเลือดแดง แข็งตัว เกิดก้อนเลือดอุดตันง่าย เกิดเซลล์ตายในเนื้อเยื่อตับ เกิดสมองอักเสบ (Encephalomalacia) มีเลือดคั่งในสมองส่วนซีรี เบลลัม เนื่องจากไขมันในเส้นเลือดถูกออกซิไดซ์ ท าให้เยื่อหุ้มเซลล์เสื่อมสภาพ เกิดภาวะการอักเสบโดยเพิ่มการสร้าง Inflammatory mediator เช่น PGE2 Leukotriene มักพบในลูกสุกรน ้าหนักประมาณ 20-50 กก. แสดงอาการซืม เบื่ออาหาร กล้ามเนื้ออ่อนแรง อุณหภูมิร่างกายต ่า ขาดออกซิเจน ท าให้ร่างกายมีสีเขียวคล ้าออกม่วง จากภาวะ Cyanosis และตาย เฉียบพลัน ทั้งยังก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อลีบอ่อนแรง (Muscular dystrophy) หรือ กล้ามเนื้อตาย กลายเป็นอัมพาต กล้ามเนื้อโครงร่างมีสีซีดจากการขาดไมโอโกลบินในสุกร และสุกรที่ส่งโรงฆ่าอาจมีคุณภาพ ซากไม่ดี เนื้อสัตว์เกิดการสูญเสียน ้าหรือ Drip loss ในไก่เกิดอาการบวมน ้า หรือโรคที่เรียกว่า Exudative diathesis มีน ้าใสๆ สะสมอยู่ใต้ผิวหนัง ท าให้กล้ามเนื้อซีด ยืนขาถ่าง ผิวหนังมีสีฟ้าเขียว มักพบในลูกไก่ไม่เกิน 5 สัปดาห์วิตามิน E มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับซีลีเนียม ซึ่งจะได้กล่าวในฉบับเดือนหน้า วิตามิน K เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ เลือดหยุดช้าเมื่อ มีบาดแผล มีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ เช่น ใต้ผิวหนัง ช่องกะโหลกศีรษะ ล าไส้ข้อกระดูก หัวใจ รวมถึงในปัสสาวะ อาจแสดง อาการหายใจผิดปกติ เดินผิดปกติ โดยจะพบมากในช่วงอายุ 1 สัปดาห์แรก เนื่องจากล าไส้ยังปราศจากเชื้อแบคทีเรียที่ สังเคราะห์วิตามิน ประกอบกับวิตามินที่ผ่านมาทางรก และน ้านมมีปริมาณน้อย การขาดวิตามิน K มักเกิดร่วมกับสาเหตุอื่น เช่น โรคเรื้อรังของระบบทางเดินอาหาร โรคทางเดินน ้าดีอุดตัน หรือหลงัจากการผา่ตดัลา ไสเ้ลก็หรอืไดร้บัยาปฏชิวีนะทม่ีฤีทธิ์ ครอบคลุมเชื้อแบบกว้าง หรือยาป้องกันบิดบางชนิดในสัตว์ปีก วิตามิน C เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ อ่อนเพลีย เบื่อ อาหาร ปวดตามข้อต่อร่างกาย เจ็บกระดูก โลหิตจาง เลือดออกตามที่ต่างๆ ในร่างกาย ที่ไรฟัน หรือ โรคลักปิดลักเปิด บาดแผล ตามส่วนต่างๆ ของร่างกายหายช้ากว่าปกติภูมิคุ้มกันร่างกายลดต ่าลง ติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้ง่ายขึ้น ความไม่สมบูรณ์ พันธุ์ มีลูกยากกว่าปกติรวมถึงอาจเกิดความผิดปกติทางจิต เครียดได้ง่ายขึ้น วิตามิน B1 หรือไทอามีน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ สุกร พบอาการเบื่ออาหาร ซูบผอม หอบเหนื่อยง่าย ท้องผูก อาเจียน น ้าหนักลด อุณหภูมิร่างกายต ่า หัวใจโตเต้นเร็ว ใจสั่น กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม หัวใจวาย ตาย อาการเริ่มแรกที่มักพบได้บ่อยคือ โรคเหน็บชา (Beriberi)อาการที่รุนแรงมากขึ้นได้แก่ ชา ตามปลายมือปลายเท้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อลีบ เดินไม่ถนัดอาจจนถึงเป็นอัมพาต โรค Korsakoff’s syndrome ท าให้ระบบประสาทเสื่อม นอนหลับยาก มึนงง อารมณ์แปรปรวนสับสน ไม่รู้ทิศทาง สั่นกระตุก อัมพาต โคม่า ใน ไก่พบกล้ามเนื้อขา ปีก คอเป็นอัมพาต สั่นกระตุก คอเหยียดเกร็งแบบแหงนดูดาว เรียกว่า Star gazing วิตามิน B2 หรือไรโบฟลาวิน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ความล้มเหลวทางระบบสืบพันธุ์สุกรสาวไม่เป็นสัด ดูดซึมกลับตัวอ่อน ตายแรกคลอด เบื่ออาหาร เจริญเติบโตช้า แคระแกร็น
20 สัตว์เศรษฐกิจ ขนงอกช้า หนังตาปิด ในไก่จะเกิดอาการ Early-chick-mortality ลูกไก่ที่เกิดจากแม่ไก่ที่ขาดวิตามิน B5 จะตายภายใน 2 - 3 วัน หลังฟัก ส่วนไก่โตจะแสดงอาการทางประสาท และผิวหนัง ขนหัก ผิวหนังตกสะเก็ด เอ็นยึด เคลื่อนที่ไม่ได้ ตายในที่สุด ในสุกรอาจพบ ความไม่สมบูรณ์พันธุ์ เจริญเติบโตช้าลง อ่อนเพลีย ท้องเสีย ผิวหนัง แห้ง ขนร่วงหยาบกร้าน ผิวหนังตกสะเก็ด การตอบสนองทาง ภูมิคุ้มกันลดลง การเดินขาหลังคล้ายห่าน เรียกว่า Goose stepping gate เดินยกขา ในรายที่รุนแรงจะเดินไม่ได้ วิตามิน B6 หรือไพริดอกซีน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หาก ขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ไม่อยากอาหาร การเจริญเติบโตลดลง ซึม ผิวหนังอักเสบ มีแผลที่ปาก ภาวะโลหิต จางแบบเซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กกว่าปกติและติดสีซีดที่เรียกว่า Microcytic-hypochromic anemia ซีด ความดันโลหิตสูง นอน ไม่หลับ ผมขนร่วง ระบบประสาทผิดปกติ ชัก คล้ายลมชัก ไม่รู้ ทิศทาง โคม่า ตาย ในไก่จะมีอัตราการไข่ และฟักเป็นตัวลดลง วิตามิน B12 หรือไซยาโนโคบาลามิน เป็นวิตามินที่ละลาย ในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ภาวะโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงโต (Macrocytic anemia) ซีด คล้าย อาการขาดโฟลาซิน และไขกระดูกเกิดภาวะ Hyperplasia เจริญ เติบโตช้า เหนื่อยล้า ชาตามแขนขา มือสั่น อารมณ์แปรปรวน หดหู่ ความจำาเสื่อม มีปัญหาด้านการมองเห็น หรืออาการทางระบบ ประสาทอื่น ๆ เช่น อัมพาต อาจพบความผิดปกติของหัวใจ และ ความไม่สมบูรณ์พันธุ์โดยในน้ำาเชื้อพบจำานวนตัวอสุจิน้อยลง แม่พันธุ์ ขนาดครอกเล็กลง อัตราการตายของลูกสูงขึ้น เป็นสัดช้า เอ็มบริโอ มีจำานวนน้อยลง ไม่อยากอาหาร ในสุกรน้ำาหนักลดน้อยลง โตช้า โลหิตจาง ผิวหนังหยาบกร้าน ขนแข็ง มีอาการแพ้ง่าย การก้าวเดิน ไม่สัมพันธ์กัน ในไก่พบอัตราการฟักเป็นตัวลดลง ลูกไก่มีความ ผิดปกติ พิการเพิ่มมากขึ้น ขนร่วง ท้องเสีย อาเจียน การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันลดลง ไขมัน สะสมในตับ รังไข่ฝ่อ เส้นประสาทเสื่อมสภาพ เยื่อบุต่าง ๆ เกิดการ อักเสบ ในคนเกิดแผลมุมปาก ที่เรียกว่าปากนกกระจอก รวมถึงเกิด แผลเปื่อยที่ลิ้นและช่องปาก ผิวหนังรอบตา รูจมูก รูหู หน้าผาก แห้งเป็นสะเก็ด อักเสบ ระคายเคือง แสบตา สู้แสงไม่ได้ ตาแดง น้ำาตาไหล ไก่จะเจริญเติบโตช้า ขาผิดปกติ ประสาท peripheral nerve เสื่อม ไก่จะเดินด้วยเข่าและข้อขา เรียกว่า Curled toe paralysis ในแม่พันธุ์จะทำาให้อัตราการฟักไข่ลดลง และตัวอ่อนผิด ปกติมากขึ้น วิตามิน B3 หรือไนอาซิน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาด อาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ผิวหนังอักเสบ บริเวณที่ถูกแสงแดด ผิวหนังเป็นจ้ำาสีม่วงหรือผื่นแดง เกิดการ ตกสะเก็ดเรียกว่า Pellagra เบื่ออาหาร กินน้ำาน้อย ไม่รู้รส ลิ้นแห้ง อ่อนเพลีย ท้องอืด โรคคระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย ตับทำางาน ผิดปกติ ระบบประสาทเสื่อม ความจำาหลงลืม อารมณ์แปรปรวน ตกใจง่าย ประสาทหลอน หดหู่ ทรงตัวไม่ได้ อาจพบภาวะโลหิตจาง ร่วมด้วย ในสุกรพบอัตราการเจริญเติบโตลดลง น้ำาหนักน้อย เบื่ออาหาร อาเจียน ผิวหนังแห้ง อักเสบ ขนหยาบกร้านหลุดร่วง เกิดการอักเสบบวมแดง และเนื้อเยื่อในปากตาย เรียกว่า Black tongue มีแผลหลุมตามเยื่อเมือก และกระเพาะอาหาร เกิดการ อักเสบและเนื้อตายที่ลำาไส้ส่วนโคลอน เกิดการอักเสบของระบบทาง เดินอาหาร ท้องเสีย ในคนได้นำาไนอะซินาไมด์มารักษาโรคสมาธิสั้น โรคทางจิตใจประเภทต่าง ๆ วิตามิน B5 หรือกรดแพนโทเทนิก เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ อาการ อ่อนเพลีย วิตกกังวล ซึมเศร้า หงุดหงิดง่าย เหน็บตามปลาย แขนขา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ปวดศีรษะ ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดแสบร้อนตามเท้า (Burning Feet syndrome) ในสัตว์ปีกพบการเจริญเติบโตลดลง กินอาหารน้อย ผิวหนังอักเสบ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ต้อกระจก ขาเจ็บ ท่าทางการเดินผิดปกติ ผิวหนังอักเสบเยิ้มพุพอง ขนหยาบกร้าน ขนร่วง ท้องเสีย อาเจียน การตอบสนอง ทางภูมิคุ้มกันลดลง ไขมันสะสมในตับ รังไข่ฝ่อ เส้นประสาทเสื่อมสภาพ เยื่อบุต่างๆ เกิดการอักเสบ ในคนเกิดแผลมุมปาก ที่ เรียกว่าปากนกกระจอก รวมถึงเกิดแผลเปื่อยที่ลิ้นและช่องปาก ผิวหนังรอบตา รูจมูก รูหู หน้าผากแห้งเป็นสะเก็ด อักเสบ ระคายเคือง แสบตา สู้แสงไม่ได้ ตาแดง น ้าตาไหล ไก่จะเจริญเติบโตช้า ขาผิดปกติ ประสาท peripheral nerve เสื่อม ไก่จะเดิน ด้วยเข่าและข้อขา เรียกว่า Curled toe paralysis ในแม่พันธุ์จะท าให้อัตราการฟักไข่ลดลง และตัวอ่อนผิดปกติมากขึ้น วิตามิน B3 หรือไนอาซิน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ผิวหนังอักเสบบริเวณที่ถูกแสงแดด ผิวหนังเป็นจ ้าสีม่วงหรือผื่นแดง เกิดการตกสะเก็ดเรียกว่า Pellagra เบื่ออาหาร กินน ้า น้อย ไม่รู้รส ลิ้นแห้ง อ่อนเพลีย ท้องอืด โรคคระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย ตับท างานผิดปกติ ระบบประสาทเสื่อม ความจ า หลงลืม อารมณ์แปรปรวน ตกใจง่าย ประสาทหลอน หดหู่ ทรงตัวไม่ได้ อาจพบภาวะโลหิตจางร่วมด้วย ในสุกรพบอัตราการ เจริญเติบโตลดลง น ้าหนักน้อย เบื่ออาหาร อาเจียน ผิวหนังแห้ง อักเสบ ขนหยาบกร้านหลุดร่วง เกิดการอักเสบบวมแดง และ เนื้อเยื่อในปากตาย เรียกว่า Black tongue มีแผลหลุมตามเยื่อเมือก และกระเพาะอาหาร เกิดการอักเสบและเนื้อตายที่ล าไส้ ส่วนโคลอน เกิดการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย ในคนได้น าไนอะซินาไมด์มารักษาโรคสมาธิสั้น โรคทางจิตใจ ประเภทต่างๆ วิตามิน B5 หรือกรดแพนโทเทนิก เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ ดังต่อไปนี้ อาการอ่อนเพลีย วิตกกังวล ซึมเศร้า หงุดหงิดง่าย เหน็บตามปลายแขนขา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ปวดศีรษะ ไม่ อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดแสบร้อนตามเท้า (Burning Feet syndrome) ในสัตว์ปีกพบการเจริญเติบโตลดลง กินอาหารน้อย ผิวหนังอักเสบ ขนงอกช้า หนังตาปิด ในไก่จะเกิดอาการ Early-chick-mortality ลูกไก่ที่เกิดจากแม่ไก่ที่ขาด วิตามิน B5 จะตายภายใน 2-3 วันหลังฟัก ส่วนไก่โตจะแสดงอาการทางประสาท และผิวหนัง ขนหัก ผิวหนังตกสะเก็ด เอ็นยึด เคลื่อนที่ไม่ได้ ตายในที่สุด ในสุกรอาจพบความไม่สมบูรณ์พันธุ์ เจริญเติบโตช้าลง อ่อนเพลีย ท้องเสีย ผิวหนังแห้ง ขนร่วง หยาบกร้าน ผิวหนังตกสะเก็ด การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันลดลง การเดินขาหลังคล้ายห่าน เรียกว่า Goose stepping gate เดินยกขา ในรายที่รุนแรงจะเดินไม่ได้ วิตามิน B6 หรือไพริดอกซีน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ไม่อยากอาหาร การเจริญเติบโตลดลง ซึม ผิวหนังอักเสบ มีแผลที่ปาก ภาวะโลหิตจางแบบเซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กกว่า ปกติและติดสีซีดที่เรียกว่า Microcytic-hypochromic anemia ซีด ความดันโลหิตสูง นอนไม่หลับ ผมขนร่วง ระบบประสาท ผิดปกติ ชัก คล้ายลมชัก ไม่รู้ทิศทาง โคม่า ตาย ในไก่จะมีอัตราการไข่ และฟักเป็นตัวลดลง วิตามิน B12 หรือไซยาโนโคบาลามิน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ ดังต่อไปนี้ ภาวะโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงโต (Macrocytic anemia) ซีด คล้ายอาการขาดโฟลาซิน และไขกระดูกเกิดภาวะ Hyperplasia เจริญเติบโตช้า เหนื่อยล้า ชาตามแขนขา มือสั่น อารมณ์แปรปรวน หดหู่ ความจ าเสื่อม มีปัญหาด้านการมองเห็น หรืออาการทางระบบประสาทอื่นๆ เช่น อัมพาต อาจพบความผิดปกติของหัวใจ และความไม่สมบูรณ์พันธุ์โดยในน ้าเชื้อพบ จ านวนตัวอสุจิน้อยลง แม่พันธุ์ขนาดครอกเล็กลง อัตราการตายของลูกสูงขึ้น เป็นสัดช้า เอ็มบริโอมีจ านวนน้อยลง ไม่อยาก อาหาร ในสุกรน ้าหนักลดน้อยลง โตช้า โลหิตจาง ผิวหนังหยาบกร้าน ขนแข็ง มีอาการแพ้ง่าย การก้าวเดินไม่สัมพันธ์กัน ใน ไก่พบอัตราการฟักเป็นตัวลดลง ลูกไก่มีความผิดปกติ พิการเพิ่มมากขึ้น
20 สัตว์เศรษฐกิจ ขนงอกช้า หนังตาปิด ในไก่จะเกิดอาการ Early-chick-mortality ลูกไก่ที่เกิดจากแม่ไก่ที่ขาดวิตามิน B5 จะตายภายใน 2 - 3 วัน หลังฟัก ส่วนไก่โตจะแสดงอาการทางประสาท และผิวหนัง ขนหัก ผิวหนังตกสะเก็ด เอ็นยึด เคลื่อนที่ไม่ได้ ตายในที่สุด ในสุกรอาจพบ ความไม่สมบูรณ์พันธุ์ เจริญเติบโตช้าลง อ่อนเพลีย ท้องเสีย ผิวหนัง แห้ง ขนร่วงหยาบกร้าน ผิวหนังตกสะเก็ด การตอบสนองทาง ภูมิคุ้มกันลดลง การเดินขาหลังคล้ายห่าน เรียกว่า Goose stepping gate เดินยกขา ในรายที่รุนแรงจะเดินไม่ได้ วิตามิน B6 หรือไพริดอกซีน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หาก ขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ไม่อยากอาหาร การเจริญเติบโตลดลง ซึม ผิวหนังอักเสบ มีแผลที่ปาก ภาวะโลหิต จางแบบเซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กกว่าปกติและติดสีซีดที่เรียกว่า Microcytic-hypochromic anemia ซีด ความดันโลหิตสูง นอน ไม่หลับ ผมขนร่วง ระบบประสาทผิดปกติ ชัก คล้ายลมชัก ไม่รู้ ทิศทาง โคม่า ตาย ในไก่จะมีอัตราการไข่ และฟักเป็นตัวลดลง วิตามิน B12 หรือไซยาโนโคบาลามิน เป็นวิตามินที่ละลาย ในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ภาวะโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงโต (Macrocytic anemia) ซีด คล้าย อาการขาดโฟลาซิน และไขกระดูกเกิดภาวะ Hyperplasia เจริญ เติบโตช้า เหนื่อยล้า ชาตามแขนขา มือสั่น อารมณ์แปรปรวน หดหู่ ความจำาเสื่อม มีปัญหาด้านการมองเห็น หรืออาการทางระบบ ประสาทอื่น ๆ เช่น อัมพาต อาจพบความผิดปกติของหัวใจ และ ความไม่สมบูรณ์พันธุ์โดยในน้ำาเชื้อพบจำานวนตัวอสุจิน้อยลง แม่พันธุ์ ขนาดครอกเล็กลง อัตราการตายของลูกสูงขึ้น เป็นสัดช้า เอ็มบริโอ มีจำานวนน้อยลง ไม่อยากอาหาร ในสุกรน้ำาหนักลดน้อยลง โตช้า โลหิตจาง ผิวหนังหยาบกร้าน ขนแข็ง มีอาการแพ้ง่าย การก้าวเดิน ไม่สัมพันธ์กัน ในไก่พบอัตราการฟักเป็นตัวลดลง ลูกไก่มีความ ผิดปกติ พิการเพิ่มมากขึ้น ขนร่วง ท้องเสีย อาเจียน การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันลดลง ไขมัน สะสมในตับ รังไข่ฝ่อ เส้นประสาทเสื่อมสภาพ เยื่อบุต่าง ๆ เกิดการ อักเสบ ในคนเกิดแผลมุมปาก ที่เรียกว่าปากนกกระจอก รวมถึงเกิด แผลเปื่อยที่ลิ้นและช่องปาก ผิวหนังรอบตา รูจมูก รูหู หน้าผาก แห้งเป็นสะเก็ด อักเสบ ระคายเคือง แสบตา สู้แสงไม่ได้ ตาแดง น้ำาตาไหล ไก่จะเจริญเติบโตช้า ขาผิดปกติ ประสาท peripheral nerve เสื่อม ไก่จะเดินด้วยเข่าและข้อขา เรียกว่า Curled toe paralysis ในแม่พันธุ์จะทำาให้อัตราการฟักไข่ลดลง และตัวอ่อนผิด ปกติมากขึ้น วิตามิน B3 หรือไนอาซิน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาด อาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ผิวหนังอักเสบ บริเวณที่ถูกแสงแดด ผิวหนังเป็นจ้ำาสีม่วงหรือผื่นแดง เกิดการ ตกสะเก็ดเรียกว่า Pellagra เบื่ออาหาร กินน้ำาน้อย ไม่รู้รส ลิ้นแห้ง อ่อนเพลีย ท้องอืด โรคคระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย ตับทำางาน ผิดปกติ ระบบประสาทเสื่อม ความจำาหลงลืม อารมณ์แปรปรวน ตกใจง่าย ประสาทหลอน หดหู่ ทรงตัวไม่ได้ อาจพบภาวะโลหิตจาง ร่วมด้วย ในสุกรพบอัตราการเจริญเติบโตลดลง น้ำาหนักน้อย เบื่ออาหาร อาเจียน ผิวหนังแห้ง อักเสบ ขนหยาบกร้านหลุดร่วง เกิดการอักเสบบวมแดง และเนื้อเยื่อในปากตาย เรียกว่า Black tongue มีแผลหลุมตามเยื่อเมือก และกระเพาะอาหาร เกิดการ อักเสบและเนื้อตายที่ลำาไส้ส่วนโคลอน เกิดการอักเสบของระบบทาง เดินอาหาร ท้องเสีย ในคนได้นำาไนอะซินาไมด์มารักษาโรคสมาธิสั้น โรคทางจิตใจประเภทต่าง ๆ วิตามิน B5 หรือกรดแพนโทเทนิก เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ อาการ อ่อนเพลีย วิตกกังวล ซึมเศร้า หงุดหงิดง่าย เหน็บตามปลาย แขนขา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ปวดศีรษะ ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดแสบร้อนตามเท้า (Burning Feet syndrome) ในสัตว์ปีกพบการเจริญเติบโตลดลง กินอาหารน้อย ผิวหนังอักเสบ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ต้อกระจก ขาเจ็บ ท่าทางการเดินผิดปกติ ผิวหนังอักเสบเยิ้มพุพอง ขนหยาบกร้าน ขนร่วง ท้องเสีย อาเจียน การตอบสนอง ทางภูมิคุ้มกันลดลง ไขมันสะสมในตับ รังไข่ฝ่อ เส้นประสาทเสื่อมสภาพ เยื่อบุต่างๆ เกิดการอักเสบ ในคนเกิดแผลมุมปาก ที่ เรียกว่าปากนกกระจอก รวมถึงเกิดแผลเปื่อยที่ลิ้นและช่องปาก ผิวหนังรอบตา รูจมูก รูหู หน้าผากแห้งเป็นสะเก็ด อักเสบ ระคายเคือง แสบตา สู้แสงไม่ได้ ตาแดง น ้าตาไหล ไก่จะเจริญเติบโตช้า ขาผิดปกติ ประสาท peripheral nerve เสื่อม ไก่จะเดิน ด้วยเข่าและข้อขา เรียกว่า Curled toe paralysis ในแม่พันธุ์จะท าให้อัตราการฟักไข่ลดลง และตัวอ่อนผิดปกติมากขึ้น วิตามิน B3 หรือไนอาซิน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ผิวหนังอักเสบบริเวณที่ถูกแสงแดด ผิวหนังเป็นจ ้าสีม่วงหรือผื่นแดง เกิดการตกสะเก็ดเรียกว่า Pellagra เบื่ออาหาร กินน ้า น้อย ไม่รู้รส ลิ้นแห้ง อ่อนเพลีย ท้องอืด โรคคระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย ตับท างานผิดปกติ ระบบประสาทเสื่อม ความจ า หลงลืม อารมณ์แปรปรวน ตกใจง่าย ประสาทหลอน หดหู่ ทรงตัวไม่ได้ อาจพบภาวะโลหิตจางร่วมด้วย ในสุกรพบอัตราการ เจริญเติบโตลดลง น ้าหนักน้อย เบื่ออาหาร อาเจียน ผิวหนังแห้ง อักเสบ ขนหยาบกร้านหลุดร่วง เกิดการอักเสบบวมแดง และ เนื้อเยื่อในปากตาย เรียกว่า Black tongue มีแผลหลุมตามเยื่อเมือก และกระเพาะอาหาร เกิดการอักเสบและเนื้อตายที่ล าไส้ ส่วนโคลอน เกิดการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย ในคนได้น าไนอะซินาไมด์มารักษาโรคสมาธิสั้น โรคทางจิตใจ ประเภทต่างๆ วิตามิน B5 หรือกรดแพนโทเทนิก เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ ดังต่อไปนี้ อาการอ่อนเพลีย วิตกกังวล ซึมเศร้า หงุดหงิดง่าย เหน็บตามปลายแขนขา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ปวดศีรษะ ไม่ อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดแสบร้อนตามเท้า (Burning Feet syndrome) ในสัตว์ปีกพบการเจริญเติบโตลดลง กินอาหารน้อย ผิวหนังอักเสบ ขนงอกช้า หนังตาปิด ในไก่จะเกิดอาการ Early-chick-mortality ลูกไก่ที่เกิดจากแม่ไก่ที่ขาด วิตามิน B5 จะตายภายใน 2-3 วันหลังฟัก ส่วนไก่โตจะแสดงอาการทางประสาท และผิวหนัง ขนหัก ผิวหนังตกสะเก็ด เอ็นยึด เคลื่อนที่ไม่ได้ ตายในที่สุด ในสุกรอาจพบความไม่สมบูรณ์พันธุ์ เจริญเติบโตช้าลง อ่อนเพลีย ท้องเสีย ผิวหนังแห้ง ขนร่วง หยาบกร้าน ผิวหนังตกสะเก็ด การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันลดลง การเดินขาหลังคล้ายห่าน เรียกว่า Goose stepping gate เดินยกขา ในรายที่รุนแรงจะเดินไม่ได้ วิตามิน B6 หรือไพริดอกซีน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ไม่อยากอาหาร การเจริญเติบโตลดลง ซึม ผิวหนังอักเสบ มีแผลที่ปาก ภาวะโลหิตจางแบบเซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กกว่า ปกติและติดสีซีดที่เรียกว่า Microcytic-hypochromic anemia ซีด ความดันโลหิตสูง นอนไม่หลับ ผมขนร่วง ระบบประสาท ผิดปกติ ชัก คล้ายลมชัก ไม่รู้ทิศทาง โคม่า ตาย ในไก่จะมีอัตราการไข่ และฟักเป็นตัวลดลง วิตามิน B12 หรือไซยาโนโคบาลามิน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ ดังต่อไปนี้ ภาวะโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงโต (Macrocytic anemia) ซีด คล้ายอาการขาดโฟลาซิน และไขกระดูกเกิดภาวะ Hyperplasia เจริญเติบโตช้า เหนื่อยล้า ชาตามแขนขา มือสั่น อารมณ์แปรปรวน หดหู่ ความจ าเสื่อม มีปัญหาด้านการมองเห็น หรืออาการทางระบบประสาทอื่นๆ เช่น อัมพาต อาจพบความผิดปกติของหัวใจ และความไม่สมบูรณ์พันธุ์โดยในน ้าเชื้อพบ จ านวนตัวอสุจิน้อยลง แม่พันธุ์ขนาดครอกเล็กลง อัตราการตายของลูกสูงขึ้น เป็นสัดช้า เอ็มบริโอมีจ านวนน้อยลง ไม่อยาก อาหาร ในสุกรน ้าหนักลดน้อยลง โตช้า โลหิตจาง ผิวหนังหยาบกร้าน ขนแข็ง มีอาการแพ้ง่าย การก้าวเดินไม่สัมพันธ์กัน ใน ไก่พบอัตราการฟักเป็นตัวลดลง ลูกไก่มีความผิดปกติ พิการเพิ่มมากขึ้น 21 สัตว์เศรษฐกิจ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ เอกสาร และรูปภาพอ้างอิง https://www.poultrytrends.in/lameness-in-poultry-contributing-factors/ https://ebook.lib.ku.ac.th/ebook27/ebook/20200049/files/basic-html/page123.html (page123-141) https://partnersah.vet.cornell.edu/content/vit-e-selenium-008ajpg https://www.kela.health/impact-of-vitamins-on-pigs-health/ https://www.thepoultrysite.com/publications/diseases-of-poultry/217/vitamin-b2-deficiency https://www.researchgate.net/figure/Pantothenic-acid-responsive-degenerative-myelopathyPig-16-Animal-with-tetraparesis_fig1_364362169 http://www.medical-labs.net/hypochromic-microcytic-anemia-on-peripheral-smear-105/ https://www.pig333.com/pathology-atlas/hoof-lesions_102 https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fvets.2021.609883/full กรดโฟลิก เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิด โรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ร่างกายเจริญเติบโตช้า น้ำาหนัก น้อย เฉื่อยชา หลงลืม อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ไม่ตอบสนองทาง ภูมิคุ้มกัน ท้องร่วง ลำาไส้ผิดปกติ ขนและผมหงอก อาการทาง ประสาท ความคิดสับสน ภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงมีขนาด ใหญ่กว่าปกติ Macrocytic หรือเป็นแบบ Normocytic anemia ก็ได้ ไขกระดูกเกิดภาวะ Hyperplasia สุขภาพของแม่และลูกไม่สมบูรณ์ ตัวอ่อนตาย ลูกในท้องพิการ ปากแหว่ง เพดานโหว่ สมองเสื่อม ปัญญาอ่อน ตายแรกคลอด ขนาดครอกเล็กลง การขาดร่วมกับ B6 B12 ทำาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ในสัตว์ปีกพบการเจริญ ช้าของขน และกระบวนการสร้างเม็ดสีของขนผิดปกติไป ไบโอติน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ความผิดปกติของผิวหนัง แห้ง อักเสบ เป็นขุย สะเก็ดรังแค ที่สำาคัญพบว่า กีบ เขา หรือจงอยปาก ถลอกแตกหัก ผมและขนหลุดร่วง หยาบกร้าน การสร้างเซลล์ใหม่ บกพร่อง ในกรณีเฉียบพลันจะพบภาวะน้ำาตาลในเลือดต่ำา (Hypoglycemia) ตายทันที ลูกในท้องมีพัฒนาการที่ผิดปกติ อาจแท้ง หรือ พิการ อัปลักษณ์ แม่เป็นสัดช้า สุกรพบภาวะปัญหาผิวหนังอักเสบ (Greasy conflake) กีบมีจุดเลือดออก อ่อน และแตกหักง่าย แผล ที่ฝ่าเท้า แสดงอาการเป็นสัดช้า อัตราการตั้งท้องลดลง ไก่มีปัญหา ขาอ่อนและผิดรูป แผลใต้ฝ่าเท้า ขนผิดปกติและหลุดร่วง ADG และ FCR ลดต่ำาลง อัตราการฟักไข่ลดลง โคลีน เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำา หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ สัตว์ที่ขาดโคลีนจะมีไขมันพอกที่ตับ มากขึ้น เรียกว่า Fatty liver haemorrhagic syndrome และอาการ ขาอ่อนแรงที่เรียกว่า Perosis หรือ Slipped tendon ในลูกไก่ คือ เส้นเอ็นที่ขาหย่อน และหลุดออกจากร่องเอ็น ทำาให้ข้อขาบวม และ บิด เดินไม่ได้ รวมถึงอาจพบเลือดออกที่ไต ไตวาย เลือดออกที่ลำาไส้ อัตราการฟักไข่ลดลง ในสุกรอาจเกิดความผิดปกติคือ ขากาง (Spraddled hindlegs) มีการสะสมไขมันที่ตับลูกสุกร ทำาให้โตช้า แม่สุกรขนาดครอกเล็กลง จำานวนลูกมีชีวิตต่ำาลง ที่กล่าวมาทั้งหมดคือ โรคและความผิดปกติจากการขาดวิตามิน ที่สำาคัญในสุกรและสัตว์ปีก ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับแร่ธาตุ อย่างใกล้ชิด ติดตามได้ในฉบับเดือนหน้า ห้ามพลาด ในสถานการณ์ ที่ยากลำาบาก ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์มีราคาสูง และหายาก นอกจากปรับสูตรอาหาร โดยการปรับโภชนะ เปลี่ยนชนิดวัตถุดิบ แล้ว ที่ขาดไม่ได้ และห้ามลืมคือ วิตามินแร่ธาตุ ในรูปพรีมิกซ์ ที่ควรต้องมีชนิดของวิตามินครบถ้วน มีคุณภาพดี และมีปริมาณสูง มากพอตามมาตรฐาน ไม่ว่าจะเป็น NRC หรือเกณฑ์อื่นที่สูงมากกว่า นั้น เข้าทำานองว่าเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่อย่าให้เป็นเส้นผมบังภูเขา จนสุดท้ายเสียหายมากกว่าเดิม สุดท้ายนี้สวัสดีปีใหม่ 2566 - Happy New Year 2023 : D กรดโฟลิก เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ร่างกายเจริญเติบโต ช้า น ้าหนักน้อย เฉื่อยชา หลงลืม อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ไม่ตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ท้องร่วง ล าไส้ผิดปกติ ขนและผมหงอก อาการทางประสาท ความคิดสับสน ภาวะโลหิตจางแบบเม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่กว่าปกติ Macrocytic หรือเป็นแบบ Normocytic anemia ก็ได้ไขกระดูกเกิดภาวะ Hyperplasia สุขภาพของแม่และลูกไม่สมบูรณ์ ตัวอ่อนตาย ลูกในท้องพิการ ปากแหว่ง เพดานโหว่ สมองเสื่อม ปัญญาอ่อน ตายแรกคลอด ขนาดครอกเล็กลง การขาดร่วมกับ B6 B12 ท าให้เพิ่มความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ในสัตว์ปีกพบการเจริญช้าของขน และกระบวนการสร้างเม็ดสีของขนผิดปกติไป ไบโอติน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ ความผิดปกติของ ผิวหนัง แห้ง อักเสบ เป็นขุย สะเก็ดรังแค ที่ส าคัญพบว่า กีบ เขา หรือจงอยปากถลอกแตกหัก ผมและขนหลุดร่วง หยาบกร้าน การสร้างเซลล์ใหม่บกพร่อง ในกรณีเฉียบพลันจะพบภาวะน ้าตาลในเลือดต ่า (Hypoglycemia) ตายทันที ลูกในท้องมี พัฒนาการที่ผิดปกติ อาจแท้ง หรือพิการ อัปลักษณ์ แม่เป็นสัดช้า สุกรพบภาวะปัญหาผิวหนังอักเสบ (Greasy conflake) กีบมี จุดเลือดออก อ่อน และแตกหักง่าย แผลที่ฝ่าเท้า แสดงอาการเป็นสัดช้า อัตราการตั้งท้องลดลง ไก่มีปัญหาขาอ่อนและผิดรูป แผลใต้ฝ่าเท้า ขนผิดปกติและหลุดร่วง ADG และ FCR ลดต ่าลง อัตราการฟักไข่ลดลง โคลีน เป็นวิตามินที่ละลายในน ้า หากขาดอาจก่อให้เกิดโรค หรือความผิดปกติได้ดังต่อไปนี้ สัตว์ที่ขาดโคลีนจะมี ไขมันพอกที่ตับมากขึ้น เรียกว่า Fatty liver haemorrhagic syndrome และอาการขาอ่อนแรงที่เรียกว่า Perosis หรือ Slipped tendon ในลูกไก่ คือเส้นเอ็นที่ขาหย่อน และหลุดออกจากร่องเอ็น ท าให้ข้อขาบวม และบิด เดินไม่ได้ รวมถึงอาจพบเลือดออก ที่ไต ไตวาย เลือดออกที่ล าไส้ อัตราการฟักไข่ลดลง ในสุกรอาจเกิดความผิดปกติคือ ขากาง (Spraddled hindlegs) มีการสะสม ไขมันที่ตับลูกสุกร ท าให้โตช้า แม่สุกรขนาดครอกเล็กลง จ านวนลูกมีชีวิตต ่าลง ที่กล่าวมาทั้งหมดคือ โรคและความผิดปกติจากการขาดวิตามินที่ส าคัญในสุกรและสัตว์ปีก ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับแร่ธาตุอย่างใกล้ชิด ติดตามได้ในฉบับเดือนหน้า ห้ามพลาด ในสถานการณ์ที่ยากล าบาก ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ มีราคาสูง และหายาก นอกจากปรับสูตรอาหาร โดยการปรับโภชนะ เปลี่ยนชนิดวัตถุดิบแล้ว ที่ขาดไม่ได้ และห้ามลืมคือ วิตามินแร่ธาตุ ในรูปพรีมิกซ์ที่ควรต้องมีชนิดของวิตามินครบถ้วน มีคุณภาพดี และมีปริมาณสูงมากพอตามมาตรฐาน ไม่ว่าจะ เป็น NRC หรือเกณฑ์อื่นที่สูงมากกว่านั้น เข้าท านองว่าเรื่องเล็กๆ น้อยๆ แต่อย่าให้เป็นเส้นผมบังภูเขาจนสุดท้ายเสียหายมาก กว่าเดิม สุดท้ายนี้สวัสดีปีใหม่ 2566-Happy New Year 2023 :D เอกสารอ้างอิง และที่มารูปภาพ https://www.poultrytrends.in/lameness-in-poultry-contributing-factors/ https://ebook.lib.ku.ac.th/ebook27/ebook/20200049/files/basic-html/page123.html (page123-141) https://partnersah.vet.cornell.edu/content/vit-e-selenium-008ajpg https://www.kela.health/impact-of-vitamins-on-pigs-health/ https://www.thepoultrysite.com/publications/diseases-of-poultry/217/vitamin-b2-deficiency https://www.researchgate.net/figure/Pantothenic-acid-responsive-degenerative-myelopathy-Pig-16-Animal-with-tetraparesis_fig1_364362169 http://www.medical-labs.net/hypochromic-microcytic-anemia-on-peripheral-smear-105/ https://www.pig333.com/pathology-atlas/hoof-lesions_102 https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fvets.2021.609883/full
22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE คาร์โบไฮเดรตที่ให้พลังงาน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลี หรือ กลุ่มโปรตีน เช่น กากถั่วเหลือง เมล็ดถั่วเหลือง และ DDGS เป็นต้น ระดับราคาขึ้นลงของวัตถุดิบเหล่านี้ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยทั้งภายใน และภายนอกประเทศ ในปี 2565 “ปัจจัยภายนอก” ที่มีผลต่อราคา วัตถุดิบ มีหลายปัจจัยสำาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ในประเทศจีน ซึ่ง เป็นผู้ผลิตอาหารสัตว์รายใหญ่ของโลกที่เพิ่งฟื้นตัวจากโควิด-19 กลับมารับซื้อธัญพืชจากทั่วโลกในปริมาณมหาศาลอีกครั้ง ขณะที่ ปัญหาภัยแล้งและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กำาลังทำาให้ ผลผลิตธัญพืชในประเทศผู้ปลูกพืชวัตถุดิบรายใหญ่มีปริมาณลดลง ทั้งข้าวโพดและถั่วเหลือง นอกจากนี้สงครามระหว่างรัสเซียและ ยูเครน ก็ยังคงเป็นอุปสรรคในการส่งออกธัญพืชสำาคัญ โดยทั้งสอง ประเทศเป็นผู้ส่งออกข้าวสาลีรายใหญ่ของโลก มีการส่งออกรวมกัน มากถึง 1 ใน 3 ของโลก และส่งออกข้าวโพดได้รวมกันถึง 1 ใน 6 ของโลก สงครามครั้งนี้จึงกระทบทั้งปริมาณผลผลิตและการส่งออก ขณะที่ปัจจัยสุดท้ายก็สำาคัญไม่แพ้กัน นั่นคือการอ่อนค่าของเงินบาท ซึ่งทำาให้ต้นทุนการนำาเข้าวัตถุดิบสูงขึ้นมาก ปัจจัยภายนอกดังกล่าวคงเป็นการยากที่รัฐบาลไทยจะควบคุม ได้ คงเหลือเพียง “ปัจจัยภายใน” ที่รัฐจะสามารถบริหารจัดการได้ ตลอดห่วงโซ่การผลิต ซึ่งจะช่วยทั้งเกษตรกรผู้ปลูกพืชไร่ ผู้ผลิต อาหารสัตว์ เชื่อมโยงไปถึงต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรภาค ปศุสัตว์ และราคาเนื้อสัตว์ที่ผู้บริโภคต้องจ่ายก็จะไม่แพงจนเกินไป ในปี 2565 ผู้ผลิตอาหารสัตว์และผู้เลี้ยงต้องเผชิญกับภาวะ วัตถุดิบราคาแพงเป็นประวัติการณ์ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตอาหาร สัตว์และปศุสัตว์สูงขึ้น สวนทางกับราคาปศุสัตว์ที่ผันผวน เกษตรกร แทบจะแบกรับต้นทุนไม่ไหว จำาต้องปรับราคาปศุสัตว์ตาม เกิดผล กระทบกับผู้บริโภค ซึ่งปี 2566 นี้ราคาวัตถุดิบยังมีแนวโน้มปรับขึ้น อีกอย่างน้อย 10% สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เตรียมยืนหนังสือ ขอปรับราคาอาหารสัตว์อีกครั้ง ในขณะที่ผู้เลี้ยงครวญที่ยังต้องรับมือ กับต้นทุนการผลิตสูงต่อไป จากการประเมินของสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยระบุว่า แนวโน้มวัตถุดิบอาหารสัตว์ในปี 66 นี้ ถือเป็นอีกปีที่ไม่ง่ายเลย สำาหรับห่วงโซ่การผลิตอาหารของประเทศไทย เพราะวัตถุดิบอาหาร สัตว์เป็นต้นทุนเกือบทั้งหมด หรือราว 80 - 90% ของการผลิต อาหารสัตว์ และอาหารสัตว์เป็นต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ถึง 60 - 70% หมายความว่า เมื่อวัตถุดิบมีราคาแพง ย่อมส่งผลให้ อาหารสัตว์มี ราคาสูงขึ้น และต่อเนื่องไปถึง ราคาหมู - ไก่ - ไข่ ที่ต้องแพงขึ้น เป็นเงาตามตัวด้วย แต่ก็พอจะมีทางออกถ้า “รัฐ” สามารถบริหาร จัดการตลอดห่วงโซ่อุปทานได้ดี ไม่ละเลยเพิกเฉยหรือใส่ใจเพียง บางข้อต่อของห่วงโซ่ ก็จะทำาให้ปัญหาลดลงและเกิดเป็นความมั่นคง ทางอาหารให้แก่ประเทศด้วย ประเทศไทยใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ภายในประเทศเพียง 40% และนำาเข้าจากต่างประเทศอีก 60% โดยมีวัตถุดิบสำาคัญกลุ่ม ราคาวัตถุดิบ ปี 66 ยังพุง... ผู้เลี้ยงครวญแบกรับต้นทุนสูง ่
22 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE คาร์โบไฮเดรตที่ให้พลังงาน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลี หรือ กลุ่มโปรตีน เช่น กากถั่วเหลือง เมล็ดถั่วเหลือง และ DDGS เป็นต้น ระดับราคาขึ้นลงของวัตถุดิบเหล่านี้ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยทั้งภายใน และภายนอกประเทศ ในปี 2565 “ปัจจัยภายนอก” ที่มีผลต่อราคา วัตถุดิบ มีหลายปัจจัยสำาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ในประเทศจีน ซึ่ง เป็นผู้ผลิตอาหารสัตว์รายใหญ่ของโลกที่เพิ่งฟื้นตัวจากโควิด-19 กลับมารับซื้อธัญพืชจากทั่วโลกในปริมาณมหาศาลอีกครั้ง ขณะที่ ปัญหาภัยแล้งและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กำาลังทำาให้ ผลผลิตธัญพืชในประเทศผู้ปลูกพืชวัตถุดิบรายใหญ่มีปริมาณลดลง ทั้งข้าวโพดและถั่วเหลือง นอกจากนี้สงครามระหว่างรัสเซียและ ยูเครน ก็ยังคงเป็นอุปสรรคในการส่งออกธัญพืชสำาคัญ โดยทั้งสอง ประเทศเป็นผู้ส่งออกข้าวสาลีรายใหญ่ของโลก มีการส่งออกรวมกัน มากถึง 1 ใน 3 ของโลก และส่งออกข้าวโพดได้รวมกันถึง 1 ใน 6 ของโลก สงครามครั้งนี้จึงกระทบทั้งปริมาณผลผลิตและการส่งออก ขณะที่ปัจจัยสุดท้ายก็สำาคัญไม่แพ้กัน นั่นคือการอ่อนค่าของเงินบาท ซึ่งทำาให้ต้นทุนการนำาเข้าวัตถุดิบสูงขึ้นมาก ปัจจัยภายนอกดังกล่าวคงเป็นการยากที่รัฐบาลไทยจะควบคุม ได้ คงเหลือเพียง “ปัจจัยภายใน” ที่รัฐจะสามารถบริหารจัดการได้ ตลอดห่วงโซ่การผลิต ซึ่งจะช่วยทั้งเกษตรกรผู้ปลูกพืชไร่ ผู้ผลิต อาหารสัตว์ เชื่อมโยงไปถึงต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรภาค ปศุสัตว์ และราคาเนื้อสัตว์ที่ผู้บริโภคต้องจ่ายก็จะไม่แพงจนเกินไป ในปี 2565 ผู้ผลิตอาหารสัตว์และผู้เลี้ยงต้องเผชิญกับภาวะ วัตถุดิบราคาแพงเป็นประวัติการณ์ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตอาหาร สัตว์และปศุสัตว์สูงขึ้น สวนทางกับราคาปศุสัตว์ที่ผันผวน เกษตรกร แทบจะแบกรับต้นทุนไม่ไหว จำาต้องปรับราคาปศุสัตว์ตาม เกิดผล กระทบกับผู้บริโภค ซึ่งปี 2566 นี้ราคาวัตถุดิบยังมีแนวโน้มปรับขึ้น อีกอย่างน้อย 10% สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เตรียมยืนหนังสือ ขอปรับราคาอาหารสัตว์อีกครั้ง ในขณะที่ผู้เลี้ยงครวญที่ยังต้องรับมือ กับต้นทุนการผลิตสูงต่อไป จากการประเมินของสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยระบุว่า แนวโน้มวัตถุดิบอาหารสัตว์ในปี 66 นี้ ถือเป็นอีกปีที่ไม่ง่ายเลย สำาหรับห่วงโซ่การผลิตอาหารของประเทศไทย เพราะวัตถุดิบอาหาร สัตว์เป็นต้นทุนเกือบทั้งหมด หรือราว 80 - 90% ของการผลิต อาหารสัตว์ และอาหารสัตว์เป็นต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ถึง 60 - 70% หมายความว่า เมื่อวัตถุดิบมีราคาแพง ย่อมส่งผลให้ อาหารสัตว์มี ราคาสูงขึ้น และต่อเนื่องไปถึง ราคาหมู - ไก่ - ไข่ ที่ต้องแพงขึ้น เป็นเงาตามตัวด้วย แต่ก็พอจะมีทางออกถ้า “รัฐ” สามารถบริหาร จัดการตลอดห่วงโซ่อุปทานได้ดี ไม่ละเลยเพิกเฉยหรือใส่ใจเพียง บางข้อต่อของห่วงโซ่ ก็จะทำาให้ปัญหาลดลงและเกิดเป็นความมั่นคง ทางอาหารให้แก่ประเทศด้วย ประเทศไทยใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ภายในประเทศเพียง 40% และนำาเข้าจากต่างประเทศอีก 60% โดยมีวัตถุดิบสำาคัญกลุ่ม ราคาวัตถุดิบ ปี 66 ยังพุง... ผู้เลี้ยงครวญแบกรับต้นทุนสูง ่ 23 สัตว์เศรษฐกิจ เรื่องการปรับราคาอาหารสัตว์อย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ สมาคมฯได้ส่ง หนังสือถึงนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ด้วย แล้ว แต่ไม่ได้รับการตอบรับ สมาคมจึงอยู่เฉยไม่ได้ โรงงานผลิต อาหารสัตว์ซึ่งเป็นสมาชิกร้องเรียนว่า ได้ยื่นเสนอโครงสร้างต้นทุน ราคาวัตถุดิบเพื่อขอปรับราคาจำาหน่ายอาหารสัตว์ตามต้นทุนที่ปรับ สูงขึ้นไปยัง ที่ผ่านมาได้ยื่นหนังสือขอปรับขึ้นต่อคณะกรรมการกลาง ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ หรือ กกร. ไม่ต่ำากว่า 3 ครั้ง แต่ ถูกปฏิเสธมาโดยตลอด โดยการขอปรับราคาจำาหน่ายอาหารสัตว์ (Price list) ครั้งสุดท้ายต้องย้อนไปถึงปี 2555 ซึ่งตอนนั้นราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และกากถั่วเหลือง ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักสัดส่วนกว่า 70% ในการผลิตอาหารสัตว์มีราคาต่ำากว่าทุกวันนี้อย่างมาก ที่ผ่านมามีการเสนอทางออกเพื่อคลี่คลายปัญหาดังกล่าวแล้ว หลายครั้ง เช่น การปลดล็อคนโยบายที่บิดเบือนกลไกตลาดแบบถาวร เพื่อเปิดทางออกให้ห่วงโซ่การผลิตอาหารเดินหน้าต่อได้อย่างไม่สะดุด รวมถึง ช่วยลดภาระการผลิตโดยลดภาษีนำาเข้าวัตถุดิบทุกรายการ และเร่งส่งเสริมปรับปรุงประสิทธิภาพการปลูกพืชวัตถุดิบให้มีอัตรา ผลผลิตที่ดีขึ้น แต่สิ่งที่รัฐบาลต้องทำาอย่างเร่งด่วนที่สุด คือ การ อนุมัติปรับราคาจำาหน่ายอาหารสัตว์ให้สอดคล้องกับต้นทุนที่สูงขึ้น โดยเร็ว ไม่เช่นนั้นผู้ผลิตอาจต้องกำาลังการผลิต หรือ ปิดสาย การผลิตบางส่วน “แนวโน้มราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ยังทรงตัวสูงต่อเนื่องในปี 2566 การปรับลดภาษีนำาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ทุกชนิด จึงยังเป็น สิ่งที่จำาเป็น รวมถึงการปรับเพิ่มราคาอาหารสัตว์ที่สอดคล้องกับ ต้นทุนจริงที่เกิดขึ้น ซีงในภาวะที่ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ปรับ เพิ่มขึ้น ผู้ประกอบการอาหารสัตว์ได้ช่วยเหลือตัวเองทั้งการปรับ ประสิทธิภาพการผลิต และสรรหาวัตถุดิบทดแทนใหม่ เพื่อช่วยลด ต้นทุน แต่ส่วนใหญ่ยังประสบปัญหาในมาตรการนำาเข้า เช่น โควตา และภาษี จึงต้องการให้ภาครัฐปรับนโยบายช่วยเหลือผู้ประกอบการ อาหารสัตว์ และผู้ประกอบการในภาคปศุสัตว์ เพื่อให้พอจะดำาเนิน การต่อไปได้” นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยกล่าว ข้าวโพด-กากถั่วแพงจัด ดันต้นทุนไข่ไก่พุ่ง คุณพเยาว์ อริกุล นายกสมาคมการค้าผู้เลี้ยงไก่ไข่รายย่อย ภาคกลาง เปิดเผยว่า ปัจจุบันไข่ไก่มีต้นทุนการผลิตสูงถึง 3.45 - 3.50 บาท/ฟอง สูงกว่าช่วงปกติถึง 30% เกิดจากราคาธัญพืชวัตถุดิบ อาหารสัตว์พุ่งสูงขึ้นอย่างมากและยืนแข็งในเกณฑ์สูงมาต่อเนื่อง โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และกากถั่วเหลือง ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำาคัญ ของอาหารเลี้ยงไก่ไข่ เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่แทบจะไม่สามารถ แบกรับภาระต้นทุนสูงต่อไปได้อีก เครือข่ายสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ ซึ่งประกอบด้วย สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่แปดริ้ว จำากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยง ไก่ไข่ชลบุรี จำากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่เชียงใหม่-ลำาพูน จำากัด และ สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่มแม่น้ำาน้อย จำากัด จึงประกาศขยับราคาขาย ขึ้นเป็น 3.60 บาท/ฟองเมื่อสองสัปดาห์ก่อน และคาดว่าอาจต้อง ขยับอีกหากต้นทุนยังพุ่งไม่หยุด วอนภาครัฐเร่งแก้ปัญหาวัตถุดิบ และ ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ โดยปัจจัยภายในที่มีผลอย่างมากต่อราคาวัตถุดิบก็คือ นโยบายรัฐ อาทิ มาตรการควบคุมการนำาเข้าข้าวสาลี 3:1 ส่วน, การจำากัดเวลา นำาเข้าข้าวโพดจากประเทศเพื่อนบ้าน และการจัดเก็บภาษีนำาเข้า เช่น ภาษีนำาเข้ากากถั่วเหลือง 2% ปลาป่น 15% DDGS 9% รวมถึง ข้าวโพดภายใต้กรอบ WTO ในโควต้า 20% นอกโควต้า 73% เป็นต้น สิ่งเหล่านี้หากได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างทันการณ์ ก็จะ ลดผลกระทบต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภค นอกจากนี้ประเด็น ของประสิทธิภาพการผลิตพืชวัตถุดิบ ก็จำาเป็นต้องเร่งพัฒนา เพื่อ ลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มปริมาณในประเทศให้มากขึ้นอย่าง เพียงพอ แต่ก็น่าแปลกใจที่รัฐมีมาตรการดูแลข้าวโพดมากเป็นพิเศษ หากเทียบกับพืชที่มีการประกันรายได้เหมือนกัน เช่น มันสำาปะหลัง จนเรียกได้ว่ามีการปฏิบัติแบบสองมาตรฐาน เพราะมันสำาปะหลังซึ่ง ผลิตในประเทศได้จำานวนมาก ใช้ภายในแล้วยังเหลือส่งออก กลับมี การนำาเข้าได้เสรี ส่วนข้าวโพดที่ผลิตไม่พอใช้ กลับถูกจำากัดจำานวน และเวลาในการนำาเข้า ครั้นจะนำาเข้าข้าวสาลีมาทดแทนก็ยังถูก กำาหนดว่าจะต้องซื้อข้าวโพด 3 ส่วนก่อน จึงไม่แปลกที่ราคาข้าวโพด มีแต่จะสูงขึ้นเกินตลาดโลกมาก เป็นแรงจูงใจให้มีการลักลอบนำาเข้า จากประเทศเพื่อนบ้านในระหว่างเดือนที่ห้ามนำาเข้า ทั้งหมดที่กล่าวมา ส่งผลให้ระดับราคาวัตถุดิบทุกประเภทในปี 2565 ปรับตัวสูงขึ้นกว่าปี 2564 เฉลี่ย 25-30% และสมาคมผู้ผลิต อาหารสัตว์ไทยมองว่าปัจจัยทั้งหมด จะยังมีอิทธิพลต่อเนื่องไปถึงปี 2566 โดยคาดว่าจะส่งผลให้ราคาวัตถุดิบจะขยับสูงขึ้นไปอีก 10% ขณะที่ค่าบริหารจัดการ ค่าแรง ค่าเชื้อเพลิงในการผลิตอาหารสัตว์ จะปรับขึ้น 15 - 20% ซึ่งจะกระทบต่อผู้ผลิตอาหารสัตว์ ต้องปรับ สูตรอาหาร ใช้พืชวัตถุดิบชนิดอื่นซึ่งมีประสิทธิภาพด้อยกว่า เพื่อลด ต้นทุน หรือ ปรับลดกำาลังการผลิตลง เพื่อลดภาวะขาดทุน เนื่องจาก ไม่สามารถปรับราคาขายได้ หรืออาจเลวร้ายที่สุดถึงขั้นเลิกกิจการ ส่งผลให้เกิดปัญหาคุณภาพอาหารสัตว์ที่มีสารอาหารไม่ดีเท่าเดิม ส่งผลสัตว์ที่เลี้ยงมีอัตราเติบโตที่ลดลง หรืออาจรุนแรงถึงขั้น ขาดแคลนอาหารสัตว์ ซึ่งจะกดดันให้ราคาสินค้าปศุสัตว์ต้องปรับตัว สูงขึ้นอีก ล่าสุด คุณพรศิลป์พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหาร สัตว์ไทยกล่าวว่า เตรียมทำาหนังสือถึงกรมการค้าภายใน กระทรวง พาณิชย์ เพื่อย้ำาให้พิจารณาเห็นชอบการปรับขึ้นราคาอาหารสัตว์ โดย สมาคมได้พยายามนำาเสนอปัญหาราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ปรับตัวสูง มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่กลางปี 2564 แต่ก็ยังไม่ได้รับการอนุมัติให้ ขยับราคา รอบนี้จะยื่นหนังสืออีก เนื่องจากคาดว่า ราคาวัตถุดิบ จะสูงต่อเนื่องอีกไม่น้อยกว่า 6 เดือน โดย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เห็นว่า การพิจารณาดำาเนิน การของรัฐโดยใช้ข้อสมมุติฐานที่สวนทางกับข้อเท็จจริง แสดงให้เห็น ถึงความเพิกเฉยต่อความเดือดร้อนของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และ ปศุสัตว์ จึงจะทำาหนังสือถึงกรมการค้าภายในอีกครั้ง เพื่อให้พิจารณา
24 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ขอพี่น้องประชาชนโปรดเข้าใจสถานการณ์ เพราะไม่มีใครอยู่รอดได้ หากต้องขายของในราคาขาดทุน “รัฐปล่อยให้ราคาวัตถุดิบสูงอยู่เช่นนี้มานาน ควรเร่งหาทาง แก้ไขและเปิดทางราคาขายผลผลิตให้สอดคล้องกับต้นทุน เพื่อให้ เกษตรกรพอมีกำาไรและทำาธุรกิจฟาร์มต่อไปได้อย่าลืมว่ายังมีต้นทุน อื่น ๆ อีกที่ล้วนขยับสูงขึ้นทุกตัว ไม่ว่าจะเป็นค่าพลังงาน น้ำามัน แก๊ส หรือแม้แต่ค่าไฟฟ้า รวมถึงค่าแรงงานต่าง ๆ ภายในฟาร์ม ทำาให้ส่วนต่างจากการขายไข่ทุกวันนี้ แทบไม่พอจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ ธนาคารแล้ว” นางพเยาว์กล่าว ทั้งนี้ พืชวัตถุดิบเป็นต้นทุนถึง 90% ของการผลิตอาหารสัตว์ และอาหารสัตว์ก็เป็นต้นทุนการผลิตไข่ไก่ถึง 60 - 70% แม้ตนจะ รับทราบมาตลอดว่าราคาธัญพืชสูงขึ้นจากสงครามรัสเซีย - ยูเครน ปัญหาภัยแล้งหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ รวมถึงการที่จีน กว้านซื้อธัญพืชวัตถุดิบจากทั่วโลก ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยระดับโลกที่แก้ ได้ยาก แต่ยังมีปัจจัยภายในประเทศที่สามารถช่วยแบ่งเบาภาระ ต้นทุนให้เกษตรผู้เลี้ยงสัตว์และบรรเทาภาวะค่าครองชีพให้ผู้บริโภค ได้ นั่นก็คือ “นโยบายรัฐ” ในด้านการจัดการวัตถุดิบอาหารสัตว์ อาทิ การกำาหนดเพดานราคาข้าวโพดไม่ให้เกินกว่าข้าวโพดนำาเข้า หรือ การลดภาษีนำาเข้ากากถั่วเหลืองให้เป็นศูนย์ การยกเลิกมาตรการ 3:1 ฯลฯ ซึ่งน่าจะช่วยลดภาระให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ให้พออยู่ได้ท่าม กลางราคาต้นทุนการผลิตที่ถีบตัวสูงขึ้นทุกด้าน รวมถึงดอกเบี้ยขา ขึ้นที่สถาบันการเงินต่างทยอยประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยออกมา “ปัจจุบัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีราคาสูงถึง 13.40 บาท/กก. และ กากถั่วเหลืองมีราคาถึง 23.70 บาท/กก. โดยมีการคาดการณ์กันว่า ราคาวัตถุดิบในปี2566 นี้มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอีก 10% เป็นภาระ ต้นทุนที่รออยู่ของเกษตรกรคนเลี้ยงสัตว์ทุกคนที่ภาครัฐจำาเป็นต้อง ช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน” นางพเยาว์กล่าว ชาวหมูครวญ….ราคาเนื้อหมูโดนคุม ต้นทุนวัตถุดิบสูง หลังจากไทยประกาศพบโรค ASF ผลผลิตหายไปมากกว่า 50% ก่อนรัสเซียประกาศสงครามถล่มยูเครน และยืดเยื้อมาถึงทุก วันนี้ จุดชนวนวิกฤตอาหารและพลังงาน ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพิ่มขึ้น 30% พลังงานเพิ่มมากกว่า 20% ถือเป็น 2 เหตุการณ์ ที่ทำา “งานเข้า” เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูไทย นอกจากต้องทำาลายแม่หมู และหมูขุนในฟาร์มแล้ว ซ้ำายังต้องแบกต้นทุนการผลิตสูงขึ้นทั้งจาก วัตถุดิบอาหารสัตว์และปัจจัยการป้องกันโรค ตลอดจนพลังงาน ราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงเป็นประวัติการณ์แตะ 13.50 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ข้าวสาลีที่เคยใช้ทดแทนข้าวโพดเพื่อลดต้นทุน ราคากลับ แซงหน้าไปอยู่ที่ 15 บาทต่อกิโลกรัม กลายเป็น “กงกรรม” ในห่วงโซ่การผลิตหมู คือ เนื้อหมูและ อาหารสัตว์ เป็นสินค้าควบคุมภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวง พาณิชย์ ยิ่งในช่วงที่รัฐบาลต้องแก้ปัญหาภาวะเงินเฟ้อของประเทศ การคุมราคาจะถูกรัดเข็มขัดแน่นเอี้ยด การขอขึ้นราคาขายจึงเป็น เรื่องที่ “เป็นไปไม่ได้” แม้จะมีการผ่อนปรนมาตรการนำาเข้าข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ระยะสั้น 3 เดือน (พฤษภาคม-กรกฎาคม 2565) ภาษีเป็น ศูนย์ แต่ก็คุมปริมาณนำาเข้าไม่ให้เกิน 6 แสนตัน ซึ่งเป็นการนำาเข้า มาแก้ขัด มากกว่าแก้ปัญหาระยะยาว เพราะช่วงเวลาดังกล่าว การหา “ของ” ในราคาที่เหมาะสม ไม่ใช่เรื่องง่าย มีแต่หายากและ “แพงมาก” ที่สำาคัญ ผู้เลี้ยงหมูได้รับผลกระทบจากหมูเถื่อนหลั่งไหลเข้ามา ในประเทศ ช่วงที่ผลผลิตไทยขาดแคลน และการใช้กลยุทธ์ “ดั๊มพ์ราคา” ของเหล่ามิจฉาชีพ จูงใจผู้บริโภค เขียงหมู ร้านอาหาร ต่าง ๆ เป็นอย่างดี เพราะคนไทยยังพอใจกับของถูก แต่ไม่สนใจ คุณภาพ หมูไทยหมดทางสู้ ทั้งที่หมูไทยปลอดโรค ปลอดภัย จนกระทั่งพบ “เนื้อแช่ฟอร์มาลิน” ในถังจำานวนมากที่จังหวัดระยอง เพื่อรอส่งต่อร้านหมูกระทะและร้านอาหารอีสาน รวมถึงผู้บริโภคหมู กระทะแล้วเกิดต้องหามส่งห้องผู้ป่วยวิกฤต (ICU) และอีกรายที่แพ้ สารเคมีแช่เนื้อ ทำาให้ความต้องการลดลง ผลผลิตไม่มีที่ขาย ราคา อ่อนตามกลไก สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติคาดการณ์แนวโน้มราคายืนแข็ง และมีทิศทางเป็นบวกในช่วงของเทศกาลปีใหม่ เนื่องปริมาณสุกร สะสมที่มีขนาดใหญ่ลดลงอย่างมีนัยยะสำาคัญ ขณะที่ความต้องการ เพิ่มขึ้นจากการเปิดประเทศ โดยต้นทุนเฉลี่ยของเกษตรกรในไตรมาส 4 อยู่ที่ 101.10 บาทต่อกิโลกรัม สวนทางกับราคาประกาศของกรม การค้าภายใน ที่แจ้งว่า ราคาเนื้อหมูปรับลดมาตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2565 จนถึงปัจจุบัน และราคาหมูเป็นหน้าฟาร์มอยู่ที่ 96 บาทต่อ กิโลกรัม (เกษตรกรขายขาดทุน) เมื่อเห็นต้นทุนการผลิตของเกษตรกรชัด ๆ แบบนี้แล้ว ถึง เวลาที่ภาครัฐควรทบทวนนโยบายควบคุมราคาสินค้าทั้งหมดหรือยัง? ไม่เพียงเฉพาะราคาเนื้อสัตว์และอาหารสัตว์เท่านั้น เพราะช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา ผู้ผลิตสินค้าต้องเผชิญปัญหาเหมือนกันคือต้นทุนสูง แต่ ปรับราคาไม่ได้ นโยบายควบคุมราคาสินค้าต้องทำาอย่างเป็นธรรม ถ่วงดุลอย่างเหมาะสมไม่ให้เกิดผลกระทบกับผลผลิตและราคาใน ประเทศ หากคุมเข้มจนตึงเกินไปสินค้าหายไปจากตลาด โดยเฉพาะ สินค้าจำาเป็นต่อการอุปโภค-บริโภค เกิดตลาดมืดราคาอาจพุ่งสูงสุด ๆ และควบคุมไม่ได้ ภาระตกหนักกับผู้บริโภค เกษตรกร และผู้ผลิต จึงควรแก้ไขด้วยการค้าเสรี มีกลไกตลาดเป็นตัวขับเคลื่อนราคาและ การผลิต ให้ฟันเฟืองในห่วงโซ่ทำางานได้อย่างต่อเนื่อง...
24 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ขอพี่น้องประชาชนโปรดเข้าใจสถานการณ์ เพราะไม่มีใครอยู่รอดได้ หากต้องขายของในราคาขาดทุน “รัฐปล่อยให้ราคาวัตถุดิบสูงอยู่เช่นนี้มานาน ควรเร่งหาทาง แก้ไขและเปิดทางราคาขายผลผลิตให้สอดคล้องกับต้นทุน เพื่อให้ เกษตรกรพอมีกำาไรและทำาธุรกิจฟาร์มต่อไปได้อย่าลืมว่ายังมีต้นทุน อื่น ๆ อีกที่ล้วนขยับสูงขึ้นทุกตัว ไม่ว่าจะเป็นค่าพลังงาน น้ำามัน แก๊ส หรือแม้แต่ค่าไฟฟ้า รวมถึงค่าแรงงานต่าง ๆ ภายในฟาร์ม ทำาให้ส่วนต่างจากการขายไข่ทุกวันนี้ แทบไม่พอจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ ธนาคารแล้ว” นางพเยาว์กล่าว ทั้งนี้ พืชวัตถุดิบเป็นต้นทุนถึง 90% ของการผลิตอาหารสัตว์ และอาหารสัตว์ก็เป็นต้นทุนการผลิตไข่ไก่ถึง 60 - 70% แม้ตนจะ รับทราบมาตลอดว่าราคาธัญพืชสูงขึ้นจากสงครามรัสเซีย - ยูเครน ปัญหาภัยแล้งหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ รวมถึงการที่จีน กว้านซื้อธัญพืชวัตถุดิบจากทั่วโลก ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยระดับโลกที่แก้ ได้ยาก แต่ยังมีปัจจัยภายในประเทศที่สามารถช่วยแบ่งเบาภาระ ต้นทุนให้เกษตรผู้เลี้ยงสัตว์และบรรเทาภาวะค่าครองชีพให้ผู้บริโภค ได้ นั่นก็คือ “นโยบายรัฐ” ในด้านการจัดการวัตถุดิบอาหารสัตว์ อาทิ การกำาหนดเพดานราคาข้าวโพดไม่ให้เกินกว่าข้าวโพดนำาเข้า หรือ การลดภาษีนำาเข้ากากถั่วเหลืองให้เป็นศูนย์ การยกเลิกมาตรการ 3:1 ฯลฯ ซึ่งน่าจะช่วยลดภาระให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ให้พออยู่ได้ท่าม กลางราคาต้นทุนการผลิตที่ถีบตัวสูงขึ้นทุกด้าน รวมถึงดอกเบี้ยขา ขึ้นที่สถาบันการเงินต่างทยอยประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยออกมา “ปัจจุบัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีราคาสูงถึง 13.40 บาท/กก. และ กากถั่วเหลืองมีราคาถึง 23.70 บาท/กก. โดยมีการคาดการณ์กันว่า ราคาวัตถุดิบในปี2566 นี้มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอีก 10% เป็นภาระ ต้นทุนที่รออยู่ของเกษตรกรคนเลี้ยงสัตว์ทุกคนที่ภาครัฐจำาเป็นต้อง ช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน” นางพเยาว์กล่าว ชาวหมูครวญ….ราคาเนื้อหมูโดนคุม ต้นทุนวัตถุดิบสูง หลังจากไทยประกาศพบโรค ASF ผลผลิตหายไปมากกว่า 50% ก่อนรัสเซียประกาศสงครามถล่มยูเครน และยืดเยื้อมาถึงทุก วันนี้ จุดชนวนวิกฤตอาหารและพลังงาน ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพิ่มขึ้น 30% พลังงานเพิ่มมากกว่า 20% ถือเป็น 2 เหตุการณ์ ที่ทำา “งานเข้า” เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูไทย นอกจากต้องทำาลายแม่หมู และหมูขุนในฟาร์มแล้ว ซ้ำายังต้องแบกต้นทุนการผลิตสูงขึ้นทั้งจาก วัตถุดิบอาหารสัตว์และปัจจัยการป้องกันโรค ตลอดจนพลังงาน ราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงเป็นประวัติการณ์แตะ 13.50 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ข้าวสาลีที่เคยใช้ทดแทนข้าวโพดเพื่อลดต้นทุน ราคากลับ แซงหน้าไปอยู่ที่ 15 บาทต่อกิโลกรัม กลายเป็น “กงกรรม” ในห่วงโซ่การผลิตหมู คือ เนื้อหมูและ อาหารสัตว์ เป็นสินค้าควบคุมภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวง พาณิชย์ ยิ่งในช่วงที่รัฐบาลต้องแก้ปัญหาภาวะเงินเฟ้อของประเทศ การคุมราคาจะถูกรัดเข็มขัดแน่นเอี้ยด การขอขึ้นราคาขายจึงเป็น เรื่องที่ “เป็นไปไม่ได้” แม้จะมีการผ่อนปรนมาตรการนำาเข้าข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ระยะสั้น 3 เดือน (พฤษภาคม-กรกฎาคม 2565) ภาษีเป็น ศูนย์ แต่ก็คุมปริมาณนำาเข้าไม่ให้เกิน 6 แสนตัน ซึ่งเป็นการนำาเข้า มาแก้ขัด มากกว่าแก้ปัญหาระยะยาว เพราะช่วงเวลาดังกล่าว การหา “ของ” ในราคาที่เหมาะสม ไม่ใช่เรื่องง่าย มีแต่หายากและ “แพงมาก” ที่สำาคัญ ผู้เลี้ยงหมูได้รับผลกระทบจากหมูเถื่อนหลั่งไหลเข้ามา ในประเทศ ช่วงที่ผลผลิตไทยขาดแคลน และการใช้กลยุทธ์ “ดั๊มพ์ราคา” ของเหล่ามิจฉาชีพ จูงใจผู้บริโภค เขียงหมู ร้านอาหาร ต่าง ๆ เป็นอย่างดี เพราะคนไทยยังพอใจกับของถูก แต่ไม่สนใจ คุณภาพ หมูไทยหมดทางสู้ ทั้งที่หมูไทยปลอดโรค ปลอดภัย จนกระทั่งพบ “เนื้อแช่ฟอร์มาลิน” ในถังจำานวนมากที่จังหวัดระยอง เพื่อรอส่งต่อร้านหมูกระทะและร้านอาหารอีสาน รวมถึงผู้บริโภคหมู กระทะแล้วเกิดต้องหามส่งห้องผู้ป่วยวิกฤต (ICU) และอีกรายที่แพ้ สารเคมีแช่เนื้อ ทำาให้ความต้องการลดลง ผลผลิตไม่มีที่ขาย ราคา อ่อนตามกลไก สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติคาดการณ์แนวโน้มราคายืนแข็ง และมีทิศทางเป็นบวกในช่วงของเทศกาลปีใหม่ เนื่องปริมาณสุกร สะสมที่มีขนาดใหญ่ลดลงอย่างมีนัยยะสำาคัญ ขณะที่ความต้องการ เพิ่มขึ้นจากการเปิดประเทศ โดยต้นทุนเฉลี่ยของเกษตรกรในไตรมาส 4 อยู่ที่ 101.10 บาทต่อกิโลกรัม สวนทางกับราคาประกาศของกรม การค้าภายใน ที่แจ้งว่า ราคาเนื้อหมูปรับลดมาตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2565 จนถึงปัจจุบัน และราคาหมูเป็นหน้าฟาร์มอยู่ที่ 96 บาทต่อ กิโลกรัม (เกษตรกรขายขาดทุน) เมื่อเห็นต้นทุนการผลิตของเกษตรกรชัด ๆ แบบนี้แล้ว ถึง เวลาที่ภาครัฐควรทบทวนนโยบายควบคุมราคาสินค้าทั้งหมดหรือยัง? ไม่เพียงเฉพาะราคาเนื้อสัตว์และอาหารสัตว์เท่านั้น เพราะช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา ผู้ผลิตสินค้าต้องเผชิญปัญหาเหมือนกันคือต้นทุนสูง แต่ ปรับราคาไม่ได้ นโยบายควบคุมราคาสินค้าต้องทำาอย่างเป็นธรรม ถ่วงดุลอย่างเหมาะสมไม่ให้เกิดผลกระทบกับผลผลิตและราคาใน ประเทศ หากคุมเข้มจนตึงเกินไปสินค้าหายไปจากตลาด โดยเฉพาะ สินค้าจำาเป็นต่อการอุปโภค-บริโภค เกิดตลาดมืดราคาอาจพุ่งสูงสุด ๆ และควบคุมไม่ได้ ภาระตกหนักกับผู้บริโภค เกษตรกร และผู้ผลิต จึงควรแก้ไขด้วยการค้าเสรี มีกลไกตลาดเป็นตัวขับเคลื่อนราคาและ การผลิต ให้ฟันเฟืองในห่วงโซ่ทำางานได้อย่างต่อเนื่อง... สัตว์เศรษฐกิจ 25 ส่งผลให้ราคาเนื้อแดงปรับขึ้นไปมากกว่า 200 บาท/กิโลกรัม ราคา ชิ้นส่วนอื่นขยับตามกันหมด เปิดช่องให้พ่อค้าสมองใสฉวยโอกาส เปิดตัว “หมูเถี่อน” จากประเทศที่มีต้นทุนต่ำากว่าไทยมากแต่ไม่รับรอง คุณภาพความปลอดภัยจาก สารเร่งเนื้อแดง เชื้อรา สารปนเปื้อน และสารฟอร์มาลิน นำามาหากำาไรส่วนต่างของราคาในประเทศ โดย ไม่สนใจคุณภาพชีวิตของคนไทยจะตกต่ำาลง 1 ปี ที่ผ่านมา หมูเถื่อนรุกไล่หมูไทย ก่อให้เกิดความเสียหาย ทั้งภาคเศรษฐกิจและสังคม ด้านเศรษฐกิจ “หมูเถื่อน” กดราคา “หมูไทย” จากการขายในราคาต่ำาเพียง 135 - 145 บาท/กิโลกรัม เกษตรกรขายหมูที่เหลืออยู่หรือผลผลิตที่ลงเลี้ยงใหม่ไม่ได้ตามปกติ ต้องชะลอการจับออกไปกลายเป็นต้นทุนเพิ่มแต่ขายหมูไม่ได้ราคา ด้านสังคม ผู้บริโภคแยกไม่ออกว่าหมูเถื่อนกับหมูไทย ต่างกันตรง ไหน? เพราะขายผสมปนเปกันบนเขียงหมูและตามร้านขายเนื้อ รวม ถึงประกาศขายผ่านออนไลน์ เอาใจคนไทยที่นิยมทั้งของถูกแต่ไม่ สนใจความเสี่ยงจากสารก่อมะเร็งและสารปนเปื้อนอื่น ๆ ในช่วงต้นเห็นชัดว่า “ภาครัฐ” ปราบหมูเถื่อนแบบขอไปที สถิติ มันฟ้องให้เห็นว่าตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม 2565 กรมศุลกากร และกรมปศุสัตว์ สนธิกำาลังกันจับกุมหมูเถื่อนแบบสุด ๆ 5 ครั้ง ได้ ของกลาง 146 ตัน แต่หลังการโยกย้ายข้าราชการประจำาปีผ่านไป ชุดใหม่เข้าปฏิบัติการการจับกุมขบวนการหมูผิดกฎหมายเดือน กันยายน-ธันวาคม 2565 นับได้ 28 ครั้ง ได้ของกลาง 1,348 ตัน (ทำาให้เห็นปัญหาชัดเจน) เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูทั่วประเทศยิ้มรับ พร้อมประสานเสียง ขอบคุณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมปศุสัตว์ หลังเดินหน้า ปราบปราม “หมูเถื่อน” ต่อเนื่องและจริงจัง ล่าสุด ฝังทำาลาย หมูเถื่อนของกลางจำานวนถึง 723,786 กิโลกรัม มากที่สุดเป็น ประวัติการณ์ ตัดตอนวงจรหมูเถื่อนที่เกาะกินทำาร้ายทำาลายเกษตรกร ไทยมานานนับปี ส่งผลเกษตรกรมั่นใจลงหมูเข้าเลี้ยงเร่งเพิ่มผลผลิต หมูปลอดภัยเพื่อคนไทย พร้อมฝากความหวังเดินหน้าจับ “ผู้บงการ” ล้างบางขบวนการนำาเข้าหมูผิดกฏหมายให้สิ้นซาก นับจากวันที่ 11 มกราคม 2565 ที่กรมปศุสัตวออกมารับ ความจริงอย่างเป็นทางการว่าพบการระบาดของโรค ASF ใน ประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยและในรอบ 100 ปี ที่โรคนี้อุบัติขึ้นในโลก ขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านไทย อาทิ เมียนมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม รวมถึง จีน ล่วงหน้าเจอปัญหานี้ไปก่อน หน้าไทยตั้งแต่ปี 2562 ถึงวันนี้โรคระบาดยังคงอยู่ประปราย แต่ก็ ควบคุมได้รวดเร็วจากประสบการณ์การป้องกันโรคที่ได้เรียนรู้ตลอด เวลา ช่วยลดความเสี่ยงและการสูญเสียให้กับเกษตรกร โรค ASF ทำาให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรไทยลดลงจาก 189,152 ราย ในปี 2564 เหลือ 149,575 ราย ในปี 2565 ในจำานวนนี้เป็น รายย่อยและรายเล็กได้รับผลกระทบมากที่สุด และในช่วงเวลา เดียวกันทำาให้แม่หมูและหมูขุนหายไปจากระบบจาก 19 ล้านตัว เหลือ 13 ล้านตัว ผลผลิตในประเทศขาดแคลน ราคาสูงขึ้นเป็น ประวัติการณ์ เช่น ราคาหมูเป็นหน้าฟาร์มสูงกว่า 100 บาท/กิโลกรัม ผู้เลี้ยงหมูยิ้มรับ...หลัง ก.เกษตรฯ เดินหน้าปราบ“หมูเถื่อน”ต่อเนื่อง ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์
26 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สามรวบรวมเพื่อทำาลายในวันนี้ จำานวน 723,786 กิโลกรัม คิดเป็น มูลค่า 123 ล้านบาท ชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลาง ส่วนใหญ่ มีแหล่งผลิตมาจากต่างประเทศ เช่น ประเทศบราซิล ประเทศ เยอรมนี ประเทศอิตาลี เป็นต้น ส่วนวิธีการฝังทำาลายชิ้นส่วนเครื่อง ในและเนื้อสุกรของกลางเป็นไปตามมาตรฐานขององค์การสุขภาพ สัตว์โลก (World Organization for Animal Health หรือ WOAH) ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมในการทำาลายซากและของเสียจากสัตว์ปริมาณ มากที่สามารถทำาได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย มีประสิทธิภาพในการ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกันนี้ กรมปศุสัตว์ได้ประกาศนโยบายที่จะขับเคลื่อน อุตสาหกรรมการเลี้ยงหมูไทยอย่างยั่งยืน คือ 1.นโยบาย Zero ASF 2.นโยบายยกระดับมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร นำาระบบไบโอซีเคียวริตี้ (Biosecurity System) มาใช้ป้องกันโรคเข้มงวด ซึ่งเป็นภาคบังคับ กับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมู 1.6 แสนราย ทั่วประเทศ ผู้เลี้ยงที่ไม่มี ใบอนุญาตโทษปรับสูงสุด 3 แสนบาท และผู้เลี้ยงที่ไม่มีใบรับรอง มาตรฐานปรับสูงสุด 5 แสนบาท และ 3.นโยบาย “จับให้เจ๊ง” แปล ว่าจับหนักให้ย่อยยับหมดตัว เหล่านี้ ก็เพื่อพัฒนามาตรฐานการผลิต สุกรตั้งแต่ระดับฟาร์ม สร้างความมั่นใจความปลอดภัยต่อผู้บริโภค สามารถป้องกันและควบคุมโรคระบาดสำาคัญในสุกรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ลดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มศักยภาพ ในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์สุกรของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การทำางานแบบ “ม้าตีนปลาย” ของภาครัฐ เป็นการพักยกให้ “น้ำา” หมูไทย เพราะทำาให้หมูเถื่อนที่เคยเกลื่อน กลาด ต้องหลบ ๆ ซ่อน ๆ เปลี่ยนทางหนีทีไล่ใหม่ จากท่าเรือไทย ไปท่าเรือประเทศเพื่อนบ้าน แล้ววกเข้าไทยตามตะเข็บชายแดนเป็น กองทัพมดแทน ห้องเย็นที่เคยรับฝากหมูผิดกฎหมาย ไม่กล้ารับฝาก “ของร้อน” ที่ไม่มีเอกสารรับรองอีกต่อไป ส่วนข้าราชการก็โดน “ล้างบาง” ส่งข้าราชการมือปราบ “ตงฉิน” ไปกวาดล้าง โดยเฉพาะ กรมปศุสัตว์ ที่ต้องรับบทหนักป้องกันทั้งหมูเถื่อนและโรค ASF ไม่ให้กลับมาซ้ำารอยเดิม ล่าสุด ในวันที่ 12 มกราคม 2566 ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานในพิธีฝัง ทำาลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลางลักลอบนำาเข้าผิด กฎหมายมากที่สุดครั้งแรกในประวัติการณ์ จำานวนทั้งสิ้น 723,786 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 123 ล้านบาท ซึ่งภายหลังการเป็นประธาน ในพิธีฝังทำาลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลางลักลอบนำาเข้า ผิดกฎหมายว่า กรมปศุสัตว์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันปฏิบัติ งานบังคับใช้กฎหมาย ในกรณีของการตรวจสอบและดำาเนินคดีกับ ผู้ลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรอย่างเคร่งครัดเสมอมา การปราบปรามการลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรอย่าง ผิดกฎหมาย เป็นการปกป้องเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยเฉพาะรายย่อย และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรที่ลักลอบนำาเข้าโดย ไม่ผ่านการตรวจสอบอาจมีเชื้อโรคระบาดต่อสัตว์และไม่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภค รวมถึงทำาลายกลไกราคาสุกรภายในประเทศ สร้างความ เสียหายต่อระบบการเลี้ยงสุกรของประเทศไทยอย่างมหาศาล การฝัง ทำาลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลางในวันนี้มีจำานวนมากถึง จำานวน 723,786 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 123 ล้านบาท ซึ่งจำาเป็น ต้องใช้รถบรรทุกสิบล้อพ่วง จำานวน 35 เที่ยว รถบรรทุกสิบล้อ จำานวน 3 เที่ยว รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ จำานวน 1 เที่ยว ถือเป็นจำานวนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ที่เคยดำาเนินการมา “ขอให้ พี่น้องเกษตรกรและผู้บริโภคมั่นใจว่ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ ปกป้องอาชีพของเกษตรกรและได้คุ้มครองสุขภาพของผู้บริโภคอย่าง เต็มที่ และยังคงดำาเนินการอย่างเข้มข้นต่อไป ด้าน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรม ปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ในปี พ.ศ. 2565 ที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ ได้สนธิกำาลังกับเจ้าหน้าที่ตำารวจ ทหาร และกรมศุลกากร ดำาเนิน การบังคับใช้กฎหมายกรณีการลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนเครื่องในและ เนื้อสุกรจำานวนทั้งสิ้น 42 คดี, ปริมาณน้ำาหนักรวม 1,089,514 กิโลกรัม, คิดเป็นมูลค่ากว่า 219 ล้านบาท การดำาเนินการกับซาก สุกรของกลาง แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่หนึ่งทำาลายไปแล้ว จำานวน 179,612 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 71 ล้านบาท ส่วนที่สอง อยู่ในระหว่างดำาเนินคดี จำานวน 186,116 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 25 ล้านบาท เมื่อคดีสิ้นสุดจะได้ดำาเนินการทำาลายต่อไป และส่วนที่ นายสุรชัย สุทธิธรรม ขณะที่ นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า การติดตามการปราบ ปรามหมูเถื่อนอย่างใกล้ชิดของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งผลให้กรมปศุสัตว์และเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติหน้าที่ ตรวจสอบ จับกุม และดำาเนินคดีกับ ผู้กระทำาได้อย่างคล่องตัว ผลงานการปราบปรามชัดเจนเป็นที่ ประจักษ์ถึงกว่า 1 ล้านกิโลกรัม ซึ่งช่วยป้องกันไม่ให้หมูอันตราย เหล่านี้ปะปนเข้าสู่ตลาดทำาลายกลไกราคาสุกรในประเทศ และลด ความเสี่ยงของการเกิดโรคระบาด ASF ลงได้อย่างมาก รวมถึง เป็นการปกป้องผู้บริโภคให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนอันตรายใน หมูเถื่อนด้วย ในนามของเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูขอชื่นชมและขอบคุณ ท่านรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรฯ ท่านอธิบดีกรมปศุสัตว์ ตลอดจน เจ้าหน้าที่ตำารวจกองบังคับการปราบปรามการกระทำาความผิดเกี่ยว กับการคุ้มครองผู้บริโภค ที่ได้ประสานความร่วมมือกันจนนำาไปสู่ ความสำาเร็จ และฝังทำาลายหมูเถื่อนได้มากที่สุดเป็นประวัติการณ์ใน ครั้งนี้ ฝากความหวังให้ทุกภาคส่วนยังคงเดินหน้าปราบปรามต่อเนื่อง เชื่อว่าอีกไม่นานจะสามารถจับกุมผู้บงการและทำาลายล้างขบวนการ นี้ได้อย่างถอนรากถอนโคน
26 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สามรวบรวมเพื่อทำาลายในวันนี้ จำานวน 723,786 กิโลกรัม คิดเป็น มูลค่า 123 ล้านบาท ชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลาง ส่วนใหญ่ มีแหล่งผลิตมาจากต่างประเทศ เช่น ประเทศบราซิล ประเทศ เยอรมนี ประเทศอิตาลี เป็นต้น ส่วนวิธีการฝังทำาลายชิ้นส่วนเครื่อง ในและเนื้อสุกรของกลางเป็นไปตามมาตรฐานขององค์การสุขภาพ สัตว์โลก (World Organization for Animal Health หรือ WOAH) ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมในการทำาลายซากและของเสียจากสัตว์ปริมาณ มากที่สามารถทำาได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย มีประสิทธิภาพในการ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกันนี้ กรมปศุสัตว์ได้ประกาศนโยบายที่จะขับเคลื่อน อุตสาหกรรมการเลี้ยงหมูไทยอย่างยั่งยืน คือ 1.นโยบาย Zero ASF 2.นโยบายยกระดับมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร นำาระบบไบโอซีเคียวริตี้ (Biosecurity System) มาใช้ป้องกันโรคเข้มงวด ซึ่งเป็นภาคบังคับ กับเกษตรกรผู้เลี้ยงหมู 1.6 แสนราย ทั่วประเทศ ผู้เลี้ยงที่ไม่มี ใบอนุญาตโทษปรับสูงสุด 3 แสนบาท และผู้เลี้ยงที่ไม่มีใบรับรอง มาตรฐานปรับสูงสุด 5 แสนบาท และ 3.นโยบาย “จับให้เจ๊ง” แปล ว่าจับหนักให้ย่อยยับหมดตัว เหล่านี้ ก็เพื่อพัฒนามาตรฐานการผลิต สุกรตั้งแต่ระดับฟาร์ม สร้างความมั่นใจความปลอดภัยต่อผู้บริโภค สามารถป้องกันและควบคุมโรคระบาดสำาคัญในสุกรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ลดปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มศักยภาพ ในการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์สุกรของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การทำางานแบบ “ม้าตีนปลาย” ของภาครัฐ เป็นการพักยกให้ “น้ำา” หมูไทย เพราะทำาให้หมูเถื่อนที่เคยเกลื่อน กลาด ต้องหลบ ๆ ซ่อน ๆ เปลี่ยนทางหนีทีไล่ใหม่ จากท่าเรือไทย ไปท่าเรือประเทศเพื่อนบ้าน แล้ววกเข้าไทยตามตะเข็บชายแดนเป็น กองทัพมดแทน ห้องเย็นที่เคยรับฝากหมูผิดกฎหมาย ไม่กล้ารับฝาก “ของร้อน” ที่ไม่มีเอกสารรับรองอีกต่อไป ส่วนข้าราชการก็โดน “ล้างบาง” ส่งข้าราชการมือปราบ “ตงฉิน” ไปกวาดล้าง โดยเฉพาะ กรมปศุสัตว์ ที่ต้องรับบทหนักป้องกันทั้งหมูเถื่อนและโรค ASF ไม่ให้กลับมาซ้ำารอยเดิม ล่าสุด ในวันที่ 12 มกราคม 2566 ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานในพิธีฝัง ทำาลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลางลักลอบนำาเข้าผิด กฎหมายมากที่สุดครั้งแรกในประวัติการณ์ จำานวนทั้งสิ้น 723,786 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 123 ล้านบาท ซึ่งภายหลังการเป็นประธาน ในพิธีฝังทำาลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลางลักลอบนำาเข้า ผิดกฎหมายว่า กรมปศุสัตว์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันปฏิบัติ งานบังคับใช้กฎหมาย ในกรณีของการตรวจสอบและดำาเนินคดีกับ ผู้ลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรอย่างเคร่งครัดเสมอมา การปราบปรามการลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรอย่าง ผิดกฎหมาย เป็นการปกป้องเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยเฉพาะรายย่อย และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรที่ลักลอบนำาเข้าโดย ไม่ผ่านการตรวจสอบอาจมีเชื้อโรคระบาดต่อสัตว์และไม่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภค รวมถึงทำาลายกลไกราคาสุกรภายในประเทศ สร้างความ เสียหายต่อระบบการเลี้ยงสุกรของประเทศไทยอย่างมหาศาล การฝัง ทำาลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลางในวันนี้มีจำานวนมากถึง จำานวน 723,786 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 123 ล้านบาท ซึ่งจำาเป็น ต้องใช้รถบรรทุกสิบล้อพ่วง จำานวน 35 เที่ยว รถบรรทุกสิบล้อ จำานวน 3 เที่ยว รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ จำานวน 1 เที่ยว ถือเป็นจำานวนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ที่เคยดำาเนินการมา “ขอให้ พี่น้องเกษตรกรและผู้บริโภคมั่นใจว่ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ ปกป้องอาชีพของเกษตรกรและได้คุ้มครองสุขภาพของผู้บริโภคอย่าง เต็มที่ และยังคงดำาเนินการอย่างเข้มข้นต่อไป ด้าน นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรม ปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ในปี พ.ศ. 2565 ที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ ได้สนธิกำาลังกับเจ้าหน้าที่ตำารวจ ทหาร และกรมศุลกากร ดำาเนิน การบังคับใช้กฎหมายกรณีการลักลอบนำาเข้าชิ้นส่วนเครื่องในและ เนื้อสุกรจำานวนทั้งสิ้น 42 คดี, ปริมาณน้ำาหนักรวม 1,089,514 กิโลกรัม, คิดเป็นมูลค่ากว่า 219 ล้านบาท การดำาเนินการกับซาก สุกรของกลาง แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่หนึ่งทำาลายไปแล้ว จำานวน 179,612 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 71 ล้านบาท ส่วนที่สอง อยู่ในระหว่างดำาเนินคดี จำานวน 186,116 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 25 ล้านบาท เมื่อคดีสิ้นสุดจะได้ดำาเนินการทำาลายต่อไป และส่วนที่ นายสุรชัย สุทธิธรรม ขณะที่ นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า การติดตามการปราบ ปรามหมูเถื่อนอย่างใกล้ชิดของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งผลให้กรมปศุสัตว์และเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติหน้าที่ ตรวจสอบ จับกุม และดำาเนินคดีกับ ผู้กระทำาได้อย่างคล่องตัว ผลงานการปราบปรามชัดเจนเป็นที่ ประจักษ์ถึงกว่า 1 ล้านกิโลกรัม ซึ่งช่วยป้องกันไม่ให้หมูอันตราย เหล่านี้ปะปนเข้าสู่ตลาดทำาลายกลไกราคาสุกรในประเทศ และลด ความเสี่ยงของการเกิดโรคระบาด ASF ลงได้อย่างมาก รวมถึง เป็นการปกป้องผู้บริโภคให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนอันตรายใน หมูเถื่อนด้วย ในนามของเกษตรกรผู้เลี้ยงหมูขอชื่นชมและขอบคุณ ท่านรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรฯ ท่านอธิบดีกรมปศุสัตว์ ตลอดจน เจ้าหน้าที่ตำารวจกองบังคับการปราบปรามการกระทำาความผิดเกี่ยว กับการคุ้มครองผู้บริโภค ที่ได้ประสานความร่วมมือกันจนนำาไปสู่ ความสำาเร็จ และฝังทำาลายหมูเถื่อนได้มากที่สุดเป็นประวัติการณ์ใน ครั้งนี้ ฝากความหวังให้ทุกภาคส่วนยังคงเดินหน้าปราบปรามต่อเนื่อง เชื่อว่าอีกไม่นานจะสามารถจับกุมผู้บงการและทำาลายล้างขบวนการ นี้ได้อย่างถอนรากถอนโคน สัตว์เศรษฐกิจ 27 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ระดับ 70% แล้ว เมื่อมีแนวโน้มการจัดการที่ดีเช่นนี้คาดว่าปริมาณ แม่พันธุ์จะเพิ่มเป็น 90% ได้ภายในสิ้นปีนี้ การกำาจัดอุปสรรคด้าน หมูเถื่อนที่เข้ามาเบียดเบียนตลาดหมูของเกษตรกรไทย นับว่าช่วย ให้เกษตรกรเกิดกำาลังใจในการเลี้ยงหมู แม้จะมีต้นทุนการผลิตที่สูง ขึ้นจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่แพงขึ้นก็ตาม ด้าน นายนิพัฒน์ เนื้อนิ่ม อุปนายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ และ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรจังหวัด ราชบุรี กล่าวว่า “หมูเถื่อน” เป็น ปัจจัยลบต่อปริมาณการเข้าสู่ตลาด ของหมูรุ่นใหม่ จึงเรียกร้องให้ภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องเร่งปราบปรามอย่าง จริงจัง หยุดการลักลอบนำาเข้าให้ได้ สร้างความมั่นใจของผู้เลี้ยงและ นายสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายสุนทราภรณ์ สิงห์เสรีวงศ์ นายนิพัฒน์ เนื้อนิ่ม นายปรีชา กิจถาวร เสถียรภาพราคาในประเทศให้เป็นไปตามกลไกตลาด เพราะหมูเถื่อน เป็นปัจจัยสำาคัญที่ทำาให้ราคาในประเทศบิดเบือน จากต้นทุนต่ำากว่า มาก และอาจเป็นเนื้อหมูที่เชื้อโรคปนเปื้อนเพราะไม่ผ่านการตรวจ สอบตามมาตรฐานจากกรมปศุสัตว์ อาจเป็นหมูติดโรค ASF ซึ่งมี โอกาสเป็นพาหะนำาโรคกลับเข้ามาระบาดในประเทศซ้ำาได้ อย่างไรก็ตาม สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ขอความร่วมมือ สมาชิกและผู้เลี้ยงสุกรทั่วประเทศ ให้ความเข้มงวดกับระบบความ ปลอดภัยทางชีวภาพหลังมีข่าวการระบาดของโรค ASF ในสุกร ทาง ตอนเหนือของประเทศ โดยปัจจุบันราคาซื้อขายสุกรขุนหน้าฟาร์ม เริ่มย่อตัวต่ำากว่าต้นทุนการผลิต ที่ประเมินโดย คณะอนุกรรมการ ต้นทุนการผลิต อยู่ที่ 101.01 บาทต่อกิโลกรัม ในขณะที่ต้นทุน วัตถุดิบอาหารสัตว์หลายตัว เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยังคงมีราคาสูง ต่อเนื่อง โดยในส่วนของผลผลิตสุกรปีหน้า คาดว่าจะมีปริมาณ เพิ่มขึ้น จากการเข้าเลี้ยงใหม่ของผู้เลี้ยงสุกรรายย่อย ซึ่งสมาคมฯ จะกำากับดูแลผลผลิตอย่างใกล้ชิด เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบด้านราคา ในทุกระดับ ปริมาณผลผลิตสุกรในภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคตะวัน ออก ยังไม่เพียงพอกับการบริโภคในพื้นที่ โดยเฉพาะภาคเหนือยัง ต้องพึ่งพาสุกรจากพื้นที่อื่น แต่ราคากลับลดลง ขณะที่เกษตรกรยัง ทยอยนำาหมูเข้าเลี้ยงต่อเนื่องเพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอต่อความ ต้องการ คาดว่าในปี 2566 ผลผลิตจะดีขึ้น นายสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ กล่าวว่า การกำาจัด ขบวนการหมูเถื่อนที่กรมปศุสัตว์ ดำาเนินการอย่างเข้มข้น ส่งผลให้ราคา สุกรในประเทศเริ่มคงที่ นับเป็น ภารกิจที่กระทรวงเกษตรฯ ให้การ ดูแลปกป้องเกษตรกรได้สำาเร็จ ซึ่ง ต้องขอขอบคุณเป็นอย่างสูง สิ่งนี้ช่วย สร้างความมั่นใจให้เกษตรกรในภาคอีสาน กล้าที่จะลงหมูเข้าเลี้ยง ลดความกังวลเกี่ยวกับราคาที่ตกต่ำาลงในช่วงที่มีหมูเถื่อนระบาดอย่าง หนัก รวมถึงความกังวลด้านโรคระบาดที่อาจติดมากับหมูเถื่อน โดย ขณะนี้ สถานการณ์การเลี้ยงหมูในภาคอีสานมีผลผลิตแมพันธุ์อยู่ใน นายสุนทราภรณ์ สิงห์เสรีวงศ์ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรภาคเหนือ กล่าวว่า หมูเถื่อนที่จับกุมได้ตลอดปี 2565 มีมากถึงกว่า 1 ล้านกิโลกรัม ไม่รู้ว่าเข้ามายังราชอาณาจักรไทย มากมายขนาดนี้ได้อย่างไร และส่วน ใหญ่ขนส่งกันมาเป็นตู้คอนเทนเนอร์ จากแดนไกล แถบอเมริกาใต้และ ยุโรป เช่น บราซิล เยอรมนี อิตาลี สามารถผ่านด่านศุลกากรเข้ามาได้ แสดงว่าผู้บงการที่อยู่เบื้องหลัง น่าจะมีอิทธิพลพอควรทีเดียว ต้องชื่นชมการทำางานของกรมปศุสัตว์ และเจ้าหน้าที่ทุกท่านอย่างมากที่กล้ากวาดล้าง และรักษาไว้ซึ่ง กฏหมายบ้านเมือง ปกป้องทั้งเกษตรกรและผู้บริโภคให้ปลอดภัยจาก ผลกระทบมากมายของหมูเถื่อน ด้าน นายปรีชา กิจถาวร นายกสมาคมการค้าผู้เลี้ยงสุกรภาคใต้ ระบุว่า ปัจจุบันสถานการณ์หมูเถื่อน ในพื้นที่ลดลงพอสมควร ซึ่งต้อง ขอบคุณกรมปศุสัตว์และเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขณะนี้ ชายแดนปีนังมาเลเซีย กำาลังเกิดการ ระบาดของโรค ASF การจับกุมหมู เถื่อนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยป้องกันเชื้อ ดังกล่าว ควบคู่ไปกับมาตรฐานการเลี้ยงหมูในพื้นที่ที่เน้นการป้องกัน โรคอย่างรัดกุมมาโดยตลอด ขณะที่เกษตรกรมีความมั่นใจในการเลี้ยง หมูมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณสุกรในพื้นที่เพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ดี ที่ระดับ 80,000 - 90,000 แม่พันธุ์แล้ว สำาหรับ ผลงานในปี 2565 ที่กรมปศุสัตว์ได้สนธิกำาลังกับ เจ้าหน้าที่ตำารวจ ทหาร และกรมศุลกากร ดำาเนินการบังคับใช้ กฎหมาย กรณีหมูเถื่อน มีจำานวนรวม 42 คดี ปริมาณน้ำาหนักรวม 1,089,514 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ากว่า 219 ล้านบาท โดยได้ดำาเนิน การกับซากสุกรของกลางเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1.) เป็นส่วนที่ทำาลาย ไปแล้ว จำานวน 179,612 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 71 ล้านบาท 2.) อยู่ในระหว่างดำาเนินคดี จำานวน 186,116 กิโลกรัม คิดเป็น มูลค่า 25 ล้านบาท เมื่อคดีสิ้นสุดจะได้ดำาเนินการทำาลายต่อไป และ 3.) เป็นหมูเถื่อนที่เพิ่งทำาลายไปเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2566 จำานวน 723,786 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 123 ล้านบาท...
28 สัตว์เศรษฐกิจ ในงานประชุมวิชาการนานาชาติทางสัตวแพทย์และการเลี้ยง สัตว์ครั้งที่ 45 (The International Conference On Veterinary Science 2022 : The ICVS 2022) คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ชำานาญการ ที่มีความเชี่ยวชาญระดับประเทศ เข้าร่วมเป็นวิทยากร บรรยาย ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม โดยหนึ่งใน ประเด็นที่น่าสนใจ คือ การป้องกันโรค ASF ในสุกร ด้วย “ระบบ ไบโอซีเคียวริตี้” ซึ่งนอกจากจะช่วยป้องกันโรคต่าง ๆ ในสัตว์ได้แล้ว ยังช่วยให้ประเทศไทย ปลอดจากโรค ASF ด้วย สำาหรับตัวอย่างภาคเอกชนที่ดำาเนินการด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ASF ในสุกร ด้วย “ระบบไบโอซีเคียวริตี้” (Biosecurity System) ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพในการเลี้ยง สุกร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ซึ่งถือเป็นการสนับสนุน นโยบาย Zero ASF หรือ ASF เป็นศูนย์ ของกรมปศุสัตว์ ด้วยระบบ ดังกล่าวทำาให้การป้องกันโรคระบาดในสัตว์มีประสิทธิภาพสูงสุด ได้ผลผลิตสุกรปลอดโรค เติบโตเป็นอาหารโปรตีนป้อนคนไทยได้อย่าง เพียงพอ หนุนความมั่นคงทางอาหาร (Food Security) ให้ ประเทศไทยคงสถานะครัวของโลกได้อย่างยั่งยืน น.สพ.ดำ�เนิน จตุรวิธวงศ์รองกรรมก�รผู้จัดก�รอ�วุโส ด้�น บริก�รวิช�ก�รสุกร ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ปัจจุบันฟาร์มสุกรของ ซีพีเอฟ ดำาเนินมาตรฐานฟาร์มตามแนวทางของกรมปศุสัตว์ และ ยกระดับมาตรฐานฟาร์มสุกรของบริษัทสู่ “ระบบไบโอซีเคียวริตี้” 100% รวมถึงผลักดันเกษตรกรในโครงการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยง สุกรกับซีพีเอฟ หรือคอนแทรคฟาร์มมิ่ง ดำาเนินการให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ระบบการป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ฟาร์มดังกล่าวได้รับการ ยอมรับในระดับสากล ช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิด โรคระบาดอื่น ๆ ในฟาร์มสุกร และทุกฟาร์มต้องดำาเนินการอย่าง เคร่งครัด จึงมั่นใจได้ว่าสุกรในระบบจะปลอดโรค สู่เนื้อหมูอนามัย ปลอดภัย ส่งถึงมือผู้บริโภค “ซีพีเอฟ ให้คว�มสำ�คัญสูงสุดกับก�รผลิตอ�ห�รปลอดภัย ตลอดห่วงโซ่ก�รผลิต ขั้นตอนของก�รเลี้ยงสุกร เป็นอีกส่วนสำ�คัญ ของคว�มปลอดภัยท�งอ�ห�ร โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งด้�นก�รป้องกัน โรคระบ�ดในสัตว์ โดยซีพีเอฟได้ยกระดับม�ตรฐ�นฟ�ร์มสุกร ของบริษัทและของเกษตรกรคอนแทรคฟ�ร์มมิ่ง เข้�สู่ระบบ ไบโอซีเคียวริตี้ทั้งหมดแล้ว 100% โดยซีพีเอฟ ยืนหยัดร่วมเป็นส่วน หนึ่งในก�รต่อสู้ป้องกันโรค ASF อย่�งแข็งแกร่งให้ประเทศไทยเดิน หน้�สู่สถ�นะปลอดโรค ASF โดยเร็ว” น.สพ.ดำาเนิน กล่าว มาตรฐานฟาร์มสุกรของซีพีเอฟ ในระบบไบโอซีเคียวริตี้ ประกอบด้วย การเลี้ยงสุกรในโรงเรือนระบบปิด ป้องกันสัตว์ที่เป็น พาหะนำาโรค อาทิหนู นก หรือแมลงต่าง ๆ ในส่วนวัตถุดิบที่ นำามาใช้ภายในฟาร์ม ทั้งอาหาร น้ำา ฯลฯ ต้องมีการตรวจสอบย้อน กลับไปถึงแหล่งที่มาได้ ซึ่งฟาร์มจะรับจากแหล่งที่ปลอดภัยเท่านั้น ตลอดจนควบคุมยานพาหนะขนส่งเข้า-ออกฟาร์มอย่างเข้มงวด โดย รถทุกคันและพนักงานทุกคน ต้องผ่านระบบฆ่าเชื้อ เพื่อไม่ให้คนหรือ ยานพาหนะ เป็นพาหะนำาเชื้อโรคเข้าสู่ฟาร์ม รวมถึงกำาหนดจุด ส่งมอบสุกรที่แยกจากออกฟาร์ม ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพดังกล่าว ทำาให้มั่นใจได้ในความ ปลอดภัยของกระบวนการผลิตสุกรตลอดห่วงโซ่การผลิต เพื่อเป็น หลักประกันความปลอดภัยของเนื้อสุกรสู่ผู้บริโภคอย่างแท้จริง ซีพีเอฟ หนุน Zero ASF ชู “ระบบไบโอซีเคียวริตี้” ป้องกันโรคสุกร LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE
28 สัตว์เศรษฐกิจ ในงานประชุมวิชาการนานาชาติทางสัตวแพทย์และการเลี้ยง สัตว์ครั้งที่ 45 (The International Conference On Veterinary Science 2022 : The ICVS 2022) คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ชำานาญการ ที่มีความเชี่ยวชาญระดับประเทศ เข้าร่วมเป็นวิทยากร บรรยาย ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม โดยหนึ่งใน ประเด็นที่น่าสนใจ คือ การป้องกันโรค ASF ในสุกร ด้วย “ระบบ ไบโอซีเคียวริตี้” ซึ่งนอกจากจะช่วยป้องกันโรคต่าง ๆ ในสัตว์ได้แล้ว ยังช่วยให้ประเทศไทย ปลอดจากโรค ASF ด้วย สำาหรับตัวอย่างภาคเอกชนที่ดำาเนินการด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ASF ในสุกร ด้วย “ระบบไบโอซีเคียวริตี้” (Biosecurity System) ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพในการเลี้ยง สุกร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ซึ่งถือเป็นการสนับสนุน นโยบาย Zero ASF หรือ ASF เป็นศูนย์ ของกรมปศุสัตว์ ด้วยระบบ ดังกล่าวทำาให้การป้องกันโรคระบาดในสัตว์มีประสิทธิภาพสูงสุด ได้ผลผลิตสุกรปลอดโรค เติบโตเป็นอาหารโปรตีนป้อนคนไทยได้อย่าง เพียงพอ หนุนความมั่นคงทางอาหาร (Food Security) ให้ ประเทศไทยคงสถานะครัวของโลกได้อย่างยั่งยืน น.สพ.ดำ�เนิน จตุรวิธวงศ์รองกรรมก�รผู้จัดก�รอ�วุโส ด้�น บริก�รวิช�ก�รสุกร ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ปัจจุบันฟาร์มสุกรของ ซีพีเอฟ ดำาเนินมาตรฐานฟาร์มตามแนวทางของกรมปศุสัตว์ และ ยกระดับมาตรฐานฟาร์มสุกรของบริษัทสู่ “ระบบไบโอซีเคียวริตี้” 100% รวมถึงผลักดันเกษตรกรในโครงการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยง สุกรกับซีพีเอฟ หรือคอนแทรคฟาร์มมิ่ง ดำาเนินการให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ระบบการป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ฟาร์มดังกล่าวได้รับการ ยอมรับในระดับสากล ช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิด โรคระบาดอื่น ๆ ในฟาร์มสุกร และทุกฟาร์มต้องดำาเนินการอย่าง เคร่งครัด จึงมั่นใจได้ว่าสุกรในระบบจะปลอดโรค สู่เนื้อหมูอนามัย ปลอดภัย ส่งถึงมือผู้บริโภค “ซีพีเอฟ ให้คว�มสำ�คัญสูงสุดกับก�รผลิตอ�ห�รปลอดภัย ตลอดห่วงโซ่ก�รผลิต ขั้นตอนของก�รเลี้ยงสุกร เป็นอีกส่วนสำ�คัญ ของคว�มปลอดภัยท�งอ�ห�ร โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งด้�นก�รป้องกัน โรคระบ�ดในสัตว์ โดยซีพีเอฟได้ยกระดับม�ตรฐ�นฟ�ร์มสุกร ของบริษัทและของเกษตรกรคอนแทรคฟ�ร์มมิ่ง เข้�สู่ระบบ ไบโอซีเคียวริตี้ทั้งหมดแล้ว 100% โดยซีพีเอฟ ยืนหยัดร่วมเป็นส่วน หนึ่งในก�รต่อสู้ป้องกันโรค ASF อย่�งแข็งแกร่งให้ประเทศไทยเดิน หน้�สู่สถ�นะปลอดโรค ASF โดยเร็ว” น.สพ.ดำาเนิน กล่าว มาตรฐานฟาร์มสุกรของซีพีเอฟ ในระบบไบโอซีเคียวริตี้ ประกอบด้วย การเลี้ยงสุกรในโรงเรือนระบบปิด ป้องกันสัตว์ที่เป็น พาหะนำาโรค อาทิหนู นก หรือแมลงต่าง ๆ ในส่วนวัตถุดิบที่ นำามาใช้ภายในฟาร์ม ทั้งอาหาร น้ำา ฯลฯ ต้องมีการตรวจสอบย้อน กลับไปถึงแหล่งที่มาได้ ซึ่งฟาร์มจะรับจากแหล่งที่ปลอดภัยเท่านั้น ตลอดจนควบคุมยานพาหนะขนส่งเข้า-ออกฟาร์มอย่างเข้มงวด โดย รถทุกคันและพนักงานทุกคน ต้องผ่านระบบฆ่าเชื้อ เพื่อไม่ให้คนหรือ ยานพาหนะ เป็นพาหะนำาเชื้อโรคเข้าสู่ฟาร์ม รวมถึงกำาหนดจุด ส่งมอบสุกรที่แยกจากออกฟาร์ม ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพดังกล่าว ทำาให้มั่นใจได้ในความ ปลอดภัยของกระบวนการผลิตสุกรตลอดห่วงโซ่การผลิต เพื่อเป็น หลักประกันความปลอดภัยของเนื้อสุกรสู่ผู้บริโภคอย่างแท้จริง ซีพีเอฟ หนุน Zero ASF ชู “ระบบไบโอซีเคียวริตี้” ป้องกันโรคสุกร LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สัตว์เศรษฐกิจ 29 เริ่มจาก “ต้นทุนการผลิตสูง” ซึ่ง สมา คม ผู้ ผ ลิ ต อาหาร สัตว์ไทย คาดการณ์ว่า ใน ปี 2566 นี้ ราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์ยังมีแนวโน้ม ทรงตัวอยู่ในระดับสูง ต่อไป ในขณะที่ไทยผลิต วัตถุดิบอาหารสัตว์ได้เพียง 40 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลืออีก 60 เปอร์เซ็นต์ ต้องพึ่งพา การนำาเข้า ทั้ง กลุ่มคาร์โบไฮเดรต เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลี และข้าวบาร์เลย์ และกลุ่มโปรตีน เช่น ถั่วเหลือง กากถั่วเหลือง และ DDGS ที่ราคาปรับขึ้นลงตาม ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ภาวะสงครามรัสเซีย - ยูเครน ที่ยังไม่เห็น สัญญาณว่า จะสิ้นสุดได้ในเร็ววัน ซึ่งทั้ง 2 ประเทศต่างเป็นผู้ส่งออก ข้าวสาลีและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รายสำาคัญของโลก นอกจากนั้น ยังมีประเทศจีนผู้ผลิตอาหารสัตว์รายใหญ่ของโลก ที่เร่งกวาดซื้อวัตถุดิบจำานวนมหาศาล หลังเศรษฐกิจกำาลังฟื้นฟูหลัง วิกฤตโรคโควิด-19 สวนทางกับ ประเทศผู้ผลิตวัตถุดิบที่สำาคัญของ โลกต้องประสบปัญหาภัยแล้ง ผลผลิตไม่ได้ตามเป้า ราคาปรับขึ้น ประกอบกับภาวะเงินบาทอ่อน ส่งผลให้การนำาเข้าวัตถุดิบมีต้นทุน เพิ่มขึ้น ในขณะที่ นโยบายภาครัฐ ที่ต้องการดูแลเกษตรกรผู้ปลูก พืชไร่ ทั้งมาตรการประกันรายได้ การจำากัดเวลานำาเข้าข้าวโพด ปี 2565 ที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงสุกรไทย ต้องฝ่าฟันวิกฤตที่ถาโถม เข้ามาตลอดทั้งปี เริ่มตั้งแต่การระบาดของ “โรคอหิวาต์แอฟริกาใน สุกร” หรือ “โรค ASF” ที่สร้างความสูญเสียอย่างรุนแรง ปริมาณ สุกรลดลงกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณเนื้อหมูไม่เพียงพอต่อการ บริโภค เปิดโอกาสให้มิจฉาชีพฉกฉวยโอกาสลักลอบนำาเข้า “หมูเถื่อน” เข้ามาเทขายในราคาถูก ทำาให้ราคาสุกรหน้าฟาร์มตกต่ำา ซ้ำาเติม เกษตรกรที่ต้องแบกรับภาระ “ต้นทุนการผลิตสูง” ทั้งราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์ที่ปรับเพิ่มขึ้นจากปัญหาสงครามรัสเซียยูเครน การอ่อน ตัวของค่าเงินบาท และนโยบายรัฐที่ทำาให้ข้าวโพดไทยมีราคาสูงกว่า ตลาดโลก นอกจากนั้นยังมีต้นทุนจัดการระบบป้องกันโรคที่เพิ่มขึ้น แต่เกษตรกรหลายรายก็ยังยืนหยัดประคับประคองธุรกิจจนผ่านเข้าสู่ ปี 2566 มาได้ แต่ในปี 2566 ผู้เลี้ยงหมูไทยยังต้องเผชิญกับโจทย์ใหญ่โจทย์ เดิม ทั้ง “ต้นทุนการผลิตสูง” เพราะราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ยังมีแนว โน้มปรับเพิ่มขึ้น เมื่อรวมกับต้นทุนอื่นๆ ทั้งค่าแรงงาน ค่าพลังงาน ค่าขนส่ง และการป้องกันโรค ขณะที่ “โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร” หรือ “โรค ASF” ที่ยังมีรายงานการเกิดโรคอยู่เป็นระยะ หากประมาท เชื้อโรคก็พร้อมฉวยโอกาสสร้างความเสียหายได้ตลอดเวลา สุดท้าย คือ “หมูเถื่อน” ที่ยังมีความพยายามลักลอบนำาเข้ามาสร้างผลกระทบ กับสุกรไทยในทุกด้าน ถือเป็นโจทย์ใหญ่ที่เกษตรกรต้องฝ่าฟัน รวม ถึงทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องให้ความร่วมมือแก้ปัญหาอย่างจริงจัง เพื่อให้ผู้เลี้ยงมีอาชีพ สร้างรายได้ และผลิตเนื้อหมูคุณภาพดีให้กับ คนไทยต่อไป โจทย์ใหญ่... ที่ผู้เลี้ยงหมูไทยต้องเผชิญ ในปี 66 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์
30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ตลอดเวลา ขอคำาแนะนำาปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ นักวิชาการ รวมถึงการเข้าร่วมอบรมสัมมนาพัฒนาทักษะการจัดการ วางแผน การผลิต การจัดการเฝ้าระวังป้องกันโรค เนื่องจากโรค ASF ในสุกร แม้ดูเหมือนสงบลง แต่ก็ยังมีรายงานการพบโรคประปรายเป็นระยะ ดังนั้น เกษตรกรที่ฟื้นฟูกลับมาลงเลี้ยงใหม่ จำาเป็นต้องล้างทำาความ สะอาดฆ่าเชื้อโรค จนมั่นใจว่า ปลอดเชื้อก่อนลงเลี้ยง พร้อมปรับปรุง ยกระดับระบบไบโอซีเคียวริตี้ในฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ และปฏิบัติ ตามอย่างเคร่งครัดเป็นประจำา ไม่ว่า สถานการณ์โรค ASF จะเป็น อย่างไรก็ตาม ต้องห้ามประมาทเด็ดขาด เปรียบเหมือนการใส่ หน้ากากอนามัยก่อนออกจากบ้าน การล้างมือฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล เป็นประจำา เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 ที่หากพลาดก็อาจพลาดติด เชื้อและป่วยได้ เช่นเดียวกับ ASF ที่เชื้อยังวนเวียนอยู่ในสิ่งแวดล้อม หรืออาจมากับเนื้อหมูเถื่อนลักลอบนำาเข้า ถ้าผู้เลี้ยงละเลยการจัดการ บางอย่าง เพราะเข้าใจว่า โรคสงบแล้วก็มีความเสี่ยงที่เสียหายจาก โรค ASF ได้ทันที ซึ่งหากเป็นเช่นนั้น อาจทำาให้เกษตรกรบางราย สูญเสียเงินทุนก้อนสุดท้ายไปจนกลับมาเลี้ยงใหม่ไม่ได้ เมื่อจัดการเฝ้าระวังป้องกันโรคอย่างเคร่งครัดเป็นประจำา ย่อม ลดความเสียหายที่เกิดในระหว่างการเลี้ยง ช่วยให้ต้นทุนการผลิตต่อ หน่วยต่ำาลง ถือเป็นการแบ่งเบาภาระต้นทุนสูงจากภาวะวัตถุดิบ อาหารสัตว์ราคาแพงได้อีกทางหนึ่ง เพราะปี 2566 นี้ ก็คาดการณ์ ว่า ราคาวัตถุดิบยังมีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้น ซึ่งอาหารสัตว์มีสัดส่วน ประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ ของต้นทุนทั้งหมด หากเกษตรกรดูแล จัดการให้หมูไม่ป่วย สุขภาพแข็งแรง กินอาหารแล้วย่อยดูดซึมได้ดี มาตรการควบคุมการนำาเข้าข้าวสาลี 3:1 รวมถึงการจัดเก็บภาษีนำา เข้า เช่น ภาษีนำาเข้ากากถั่วเหลือง 2% ปลาป่น 15% DDGS 9% รวมถึง ข้าวโพดภายใต้กรอบ WTO ในโควต้า 20% นอกโควต้า 73% เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ ทำาให้ต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น โดยคาดว่า ในปี 2566 ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์จะปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อรวมกับต้นทุนค่าแรง ค่าพลังงาน ที่ใช้ในการผลิต อาหารสัตว์ที่น่าจะปรับขึ้นประมาณ 15 - 20 เปอร์เซ็นต์ ย่อม กระทบต่อต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์แน่นอน ผู้เลี้ยงสุกรจึงหลีกเลี่ยง ภาระต้นทุนสูงได้ยาก เมื่อรวมกับต้นทุนค่าระบบไบโอซีเคียวริตี้เพื่อ ป้องกันความเสียหายจากโรคระบาด โดยเฉพาะ โรค ASF เข้าไป ด้วย ถือเป็นความท้าทายของเกษตรกรในการบริหารจัดการ เพื่อให้ ผ่านโจทย์ที่สำาคัญข้อนี้ไปได้ ขณะที่ “โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร” หรือ “โรค ASF” ถือเป็น อีก โจทย์สำาคัญ ของการเลี้ยงสุกรในปี 2566 แม้ไม่มีรายงานการ พบไปทุกพื้นที่เหมือนกับช่วงแรกของการระบาด แต่ เชื้อ ASF ก็ ยังวนเวียนพร้อมสร้างปัญหาได้ทันทีที่เกิดความบกพร่องในการ ป้องกันโรค ยิ่งในภาวะที่ดูเหมือนว่า โรคสงบลงไปแล้ว ยิ่งต้องระวัง ไม่ประมาทคิดว่า โรคสงบลงไปแล้ว เกษตรกรต้องไม่ละเลยการ ปฏิบัติตามระบบไบโอซีเคียวริตี้อย่างเคร่งครัด เพราะหากพลาดโรค เข้าไปความเสียหายซ้ำาอีก ก็อาจฟื้นฟูการเลี้ยงกลับมาใหม่ได้ยาก ดังนั้น ผู้เลี้ยงต้องเฝ้าระวังป้องกันโรคอย่างเข้มงวดตลอดเวลา เพื่อ ไม่ให้เชื้อ ASF หลุดเล็ดลอดเข้าไปสร้างปัญหาในฟาร์ม สำาหรับ “หมูเถื่อน” โจทย์ใหญ่ ที่ยังคงส่งผลกระทบต่อผู้เลี้ยง สุกรในทุกมิติ เนื่องจาก “หมูเถื่อน” ที่ลักลอบนำาเข้าจากต่างประเทศ ทั้ง สหรัฐอเมริกา บราซิล เยอรมนี สเปน อาร์เจนตินา เนเธอร์แลนด์ เวียดนาม และกัมพูชา โดยไม่ผ่านขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพและ โรคติดต่อ จึงมีความเสี่ยงสูงที่จะนำาเชื้อ ASF หรือโรคระบาดอื่น ๆ เข้ามาสร้างความเสียหายต่อการเลี้ยงสุกรไทยได้ซ้ำาอีก และหมูเถื่อน ยังเทขายในราคาถูกมาก ส่งผลให้ราคาเนื้อหมูและสุกรมีชีวิตใน ประเทศตกต่ำา เพราะความต้องการตลาดลดลง ทำาให้ผู้เลี้ยงสุกรยิ่ง ขาดทุนอย่างหนัก หมดกำาลังใจฟื้นฟูการผลิต แม้ตลอดปี 2565 ที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ร่วมกับกรมศุลกากร ได้ร่วมปฏิบัติการตรวจจับและทำาลายหมูเถื่อนไปกว่า 1 ล้านกิโลกรัม แต่ก็ไม่เคยสืบสวนไปจับตัวการใหญ่ได้เลยสักครั้ง ทั้ง ๆ ที่ หมูเถื่อน เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เพราะส่วนใหญ่เป็นเนื้อหมูเก่าเก็บข้ามปี หมดอายุ บางล็อตมีสารอันตรายตกค้าง และเมื่อปลายปี 65 กับ ข่าวใหญ่ ที่พบ เนื้อสัตว์ที่คาดว่า ลักลอบนำาเข้ามาแช่ฟอร์มาลิน เตรียมส่งขายไปยังร้านหมูกระทะและอาหารอีสานต่าง ๆ หลังจาก ข่าวออกไปก็กระทบกำาลังการบริโภคช่วงหนึ่ง ถือเป็นปัญหาที่ต้องเร่ง จัดการ จากโจทย์ใหญ่ที่ถือเป็นความท้าทาย ผู้เลี้ยงหมูไทยต้องปรับตัว เริ่มจากมีความคิด หรือ Mindset ที่พร้อมเรียนรู้พัฒนาตนเอง
สัตว์เศรษฐกิจ 31 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ในทุกมิติ ซึ่งสิ่งที่เกษตรกรพอทำาได้ คือ การช่วยกันให้ข้อมูล เบาะแส ผู้กระทำาผิดกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจับกุมดำาเนินคดีทันที ใน ขณะที่ภาครัฐต้องจัดการอย่างเด็ดขาด เหมือนกับที่ทำามาในช่วง ไตรมาส 3 - 4 ของปีที่แล้ว จนห้องเย็นไม่กล้ารับฝากเนื้อหมูหรือ ซากสัตว์ที่ไม่มีเอกสารรับรอง การโยกย้ายข้าราชการมาติดตาม แก้ปัญหาอย่างใกล้ชิด มิจฉาชีพต้องปรับเปลี่ยนวิธีการลักลอบ นำาเข้าไปที่ท่าเรือเพื่อนบ้านแล้วลักลอบขนแบบกองทัพมดเข้ามาตาม แนวชายแดน ส่งผลให้ปัญหาหมูเถื่อนดูเหมือนจะเบาบางลง แต่ก็ ประมาทไม่ได้ ควรต้องติดตามตรวจจับหมูเถื่อนลักลอบนำาเข้า อย่าง เข้มงวดต่อไป เพราะที่ผ่านมา จับกุมดำาเนินคดี ส่วนใหญ่จบลงที่ การทำาลายหมูเถื่อนเท่านั้น ไม่มีรายงานการจับ “ตัวการใหญ่” เลย ภาครัฐจำาเป็นต้องปราบปรามขบวนการหมูเถื่อนนำาเข้าอย่าง จริงจัง เพราะเนื้อหมูลักลอบนำาเข้าไม่เพียงฉุดราคาเนื้อหมูและหมู หน้าฟาร์มในประเทศให้ตกต่ำา เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูขาดทุนเท่านั้น แต่ ยังมีความเสี่ยงต่อคนไทยทุกคนที่อาจได้รับอันตรายจากทานเนื้อหมู เถื่อนหมดอายุ ไม่ผ่านการตรวจโรค สารปนเปื้อน และเชื้อโรคเข้าไป โดยไม่รู้ตัว ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต้องเร่งจัดการด้วยการทำางานเชิงรุกแบบบูรณาการร่วมกัน เมื่อพบเบาะแสความผิดปกติ ก็ตรวจสอบเมื่อพบการกระทำาความผิด ก็จับกุมดำาเนินคดี พร้อมขยายผลสืบสวนสาวไปให้ถึงตัวการใหญ่ เพื่อ จัดการลงโทษตามกฎหมาย เป็นการกำาจัดขบวนการหมูเถื่อนให้สิ้น ซาก เหมือนกับการปราบปรามยาเสพติด เพื่อให้ผู้เลี้ยงหมูไทยผ่าน อุปสรรคและอยู่ได้อย่างมีกำาไรในปีเถาะนี้ได้... เจริญเติบโตเร็ว ลดระยะเวลาเลี้ยงให้สั้นลงก็เป็นที่ช่วยวิธีลดต้นทุน ได้ นอกจากนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงควรเก็บข้อมูล เพื่อใช้ประเมิน ประสิทธิภาพการเลี้ยง ซึ่งที่ผ่านมามักถูกละเลย โดยคิดว่า เลี้ยงหมู ไม่กี่ตัว ไม่ใช่ฟาร์มใหญ่ ไม่จำาเป็นต้องทำาก็ได้ ทั้ง ๆ ที่ ความจริง ข้อมูลมีความสำาคัญต่อการเลี้ยงหมูในทุกระดับ เพราะช่วยให้ทราบ สถานะของฟาร์มว่าเป็นอย่างไร ประสิทธิภาพการผลิตยังอยู่ในเกณฑ์ ที่เหมาะสมหรือไม่ มีจุดบกพร่องในส่วนใด ที่ต้องแก้ไขหรือพัฒนา เพื่อลดต้นทุนการผลิตได้อีก สิ่งเหล่านี้ เกษตรกรทำาเองได้ทันที เพื่อ ยกระดับการเลี้ยงสุกรให้มีกำาไรได้อย่างยั่งยืน อย่างไรก็ดี ยังมีสิ่งที่ผู้เลี้ยงควบคุมไม่ได้และส่งผลกระทบต่อ ต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะนโยบายภาครัฐที่มีผลต่อราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์ ทั้งมาตรการควบคุมการนำาเข้าข้าวสาลี 3:1 ส่วน การ จำากัดเวลานำาเข้าข้าวโพดจากประเทศเพื่อนบ้าน และการจัดเก็บภาษี นำาเข้า ที่รัฐควรพิจารณาแก้ไข ยกเลิก หรือปรับเปลี่ยนให้มีความ เหมาะสม และเกิดประโยชน์กับทุกฝ่ายทั้ง เกษตรกรผู้ปลูกพืชไร่ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ ผู้เลี้ยงสัตว์ ไม่ต้องแบกรับภาระต้นทุนการผลิตสูง ผู้บริโภคได้ซื้อเนื้อสัตว์ในราคาที่เหมาะสม รวมถึงการส่งเสริมและ พัฒนาให้เกษตรกรผู้ปลูกพืชไร่ลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ดีขึ้น เพิ่มปริมาณผลผลิตให้เพียงพอกับความต้องการ ลดการพึ่งพา วัตถุดิบนำาเข้าจากต่างประเทศที่ราคาผันแปรตามภาวะตลาดโลก สำาหรับ “หมูเถื่อน” โจทย์ใหญ่ที่หลอกหลอนผู้เลี้ยงสุกรมากว่า 1 ปี ปั่นทอนกำาลังใจในการฟื้นฟูการเลี้ยง และสร้างความเสียหาย 30 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ตลอดเวลา ขอคำาแนะนำาปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ นักวิชาการ รวมถึงการเข้าร่วมอบรมสัมมนาพัฒนาทักษะการจัดการ วางแผน การผลิต การจัดการเฝ้าระวังป้องกันโรค เนื่องจากโรค ASF ในสุกร แม้ดูเหมือนสงบลง แต่ก็ยังมีรายงานการพบโรคประปรายเป็นระยะ ดังนั้น เกษตรกรที่ฟื้นฟูกลับมาลงเลี้ยงใหม่ จำาเป็นต้องล้างทำาความ สะอาดฆ่าเชื้อโรค จนมั่นใจว่า ปลอดเชื้อก่อนลงเลี้ยง พร้อมปรับปรุง ยกระดับระบบไบโอซีเคียวริตี้ในฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ และปฏิบัติ ตามอย่างเคร่งครัดเป็นประจำา ไม่ว่า สถานการณ์โรค ASF จะเป็น อย่างไรก็ตาม ต้องห้ามประมาทเด็ดขาด เปรียบเหมือนการใส่ หน้ากากอนามัยก่อนออกจากบ้าน การล้างมือฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล เป็นประจำา เพื่อการป้องกันโรคโควิด-19 ที่หากพลาดก็อาจพลาดติด เชื้อและป่วยได้ เช่นเดียวกับ ASF ที่เชื้อยังวนเวียนอยู่ในสิ่งแวดล้อม หรืออาจมากับเนื้อหมูเถื่อนลักลอบนำาเข้า ถ้าผู้เลี้ยงละเลยการจัดการ บางอย่าง เพราะเข้าใจว่า โรคสงบแล้วก็มีความเสี่ยงที่เสียหายจาก โรค ASF ได้ทันที ซึ่งหากเป็นเช่นนั้น อาจทำาให้เกษตรกรบางราย สูญเสียเงินทุนก้อนสุดท้ายไปจนกลับมาเลี้ยงใหม่ไม่ได้ เมื่อจัดการเฝ้าระวังป้องกันโรคอย่างเคร่งครัดเป็นประจำา ย่อม ลดความเสียหายที่เกิดในระหว่างการเลี้ยง ช่วยให้ต้นทุนการผลิตต่อ หน่วยต่ำาลง ถือเป็นการแบ่งเบาภาระต้นทุนสูงจากภาวะวัตถุดิบ อาหารสัตว์ราคาแพงได้อีกทางหนึ่ง เพราะปี 2566 นี้ ก็คาดการณ์ ว่า ราคาวัตถุดิบยังมีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้น ซึ่งอาหารสัตว์มีสัดส่วน ประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ ของต้นทุนทั้งหมด หากเกษตรกรดูแล จัดการให้หมูไม่ป่วย สุขภาพแข็งแรง กินอาหารแล้วย่อยดูดซึมได้ดี มาตรการควบคุมการนำาเข้าข้าวสาลี 3:1 รวมถึงการจัดเก็บภาษีนำา เข้า เช่น ภาษีนำาเข้ากากถั่วเหลือง 2% ปลาป่น 15% DDGS 9% รวมถึง ข้าวโพดภายใต้กรอบ WTO ในโควต้า 20% นอกโควต้า 73% เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ ทำาให้ต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น โดยคาดว่า ในปี 2566 ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์จะปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อรวมกับต้นทุนค่าแรง ค่าพลังงาน ที่ใช้ในการผลิต อาหารสัตว์ที่น่าจะปรับขึ้นประมาณ 15 - 20 เปอร์เซ็นต์ ย่อม กระทบต่อต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์แน่นอน ผู้เลี้ยงสุกรจึงหลีกเลี่ยง ภาระต้นทุนสูงได้ยาก เมื่อรวมกับต้นทุนค่าระบบไบโอซีเคียวริตี้เพื่อ ป้องกันความเสียหายจากโรคระบาด โดยเฉพาะ โรค ASF เข้าไป ด้วย ถือเป็นความท้าทายของเกษตรกรในการบริหารจัดการ เพื่อให้ ผ่านโจทย์ที่สำาคัญข้อนี้ไปได้ ขณะที่ “โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร” หรือ “โรค ASF” ถือเป็น อีก โจทย์สำาคัญ ของการเลี้ยงสุกรในปี 2566 แม้ไม่มีรายงานการ พบไปทุกพื้นที่เหมือนกับช่วงแรกของการระบาด แต่ เชื้อ ASF ก็ ยังวนเวียนพร้อมสร้างปัญหาได้ทันทีที่เกิดความบกพร่องในการ ป้องกันโรค ยิ่งในภาวะที่ดูเหมือนว่า โรคสงบลงไปแล้ว ยิ่งต้องระวัง ไม่ประมาทคิดว่า โรคสงบลงไปแล้ว เกษตรกรต้องไม่ละเลยการ ปฏิบัติตามระบบไบโอซีเคียวริตี้อย่างเคร่งครัด เพราะหากพลาดโรค เข้าไปความเสียหายซ้ำาอีก ก็อาจฟื้นฟูการเลี้ยงกลับมาใหม่ได้ยาก ดังนั้น ผู้เลี้ยงต้องเฝ้าระวังป้องกันโรคอย่างเข้มงวดตลอดเวลา เพื่อ ไม่ให้เชื้อ ASF หลุดเล็ดลอดเข้าไปสร้างปัญหาในฟาร์ม สำาหรับ “หมูเถื่อน” โจทย์ใหญ่ ที่ยังคงส่งผลกระทบต่อผู้เลี้ยง สุกรในทุกมิติ เนื่องจาก “หมูเถื่อน” ที่ลักลอบนำาเข้าจากต่างประเทศ ทั้ง สหรัฐอเมริกา บราซิล เยอรมนี สเปน อาร์เจนตินา เนเธอร์แลนด์ เวียดนาม และกัมพูชา โดยไม่ผ่านขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพและ โรคติดต่อ จึงมีความเสี่ยงสูงที่จะนำาเชื้อ ASF หรือโรคระบาดอื่น ๆ เข้ามาสร้างความเสียหายต่อการเลี้ยงสุกรไทยได้ซ้ำาอีก และหมูเถื่อน ยังเทขายในราคาถูกมาก ส่งผลให้ราคาเนื้อหมูและสุกรมีชีวิตใน ประเทศตกต่ำา เพราะความต้องการตลาดลดลง ทำาให้ผู้เลี้ยงสุกรยิ่ง ขาดทุนอย่างหนัก หมดกำาลังใจฟื้นฟูการผลิต แม้ตลอดปี 2565 ที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ร่วมกับกรมศุลกากร ได้ร่วมปฏิบัติการตรวจจับและทำาลายหมูเถื่อนไปกว่า 1 ล้านกิโลกรัม แต่ก็ไม่เคยสืบสวนไปจับตัวการใหญ่ได้เลยสักครั้ง ทั้ง ๆ ที่ หมูเถื่อน เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เพราะส่วนใหญ่เป็นเนื้อหมูเก่าเก็บข้ามปี หมดอายุ บางล็อตมีสารอันตรายตกค้าง และเมื่อปลายปี 65 กับ ข่าวใหญ่ ที่พบ เนื้อสัตว์ที่คาดว่า ลักลอบนำาเข้ามาแช่ฟอร์มาลิน เตรียมส่งขายไปยังร้านหมูกระทะและอาหารอีสานต่าง ๆ หลังจาก ข่าวออกไปก็กระทบกำาลังการบริโภคช่วงหนึ่ง ถือเป็นปัญหาที่ต้องเร่ง จัดการ จากโจทย์ใหญ่ที่ถือเป็นความท้าทาย ผู้เลี้ยงหมูไทยต้องปรับตัว เริ่มจากมีความคิด หรือ Mindset ที่พร้อมเรียนรู้พัฒนาตนเอง
32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เมื่อเปรียบเทียบจำ�นวนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมกับปศุสัตว์ชนิด อื่นถือเป็นจำ�นวนน้อย แต่คว�มสำ�คัญของเกษตรกรกลุ่มนี้คือ กลุ่ม เกษตรกรที่ยังคงรักษ�คว�มมั่นคงท�งอ�ห�รให้กับคนไทย ซึ่งจำ�เป็น ต้องช่วยเกษตรกรกลุ่มนี้ให้ผ่�นวิกฤติครั้งนี้ไปให้ได้ ในมุมของเกษตรกรอ�ชีพเลี้ยงโคนมมีคว�มได้เปรียบปศุสัตว์ อื่น 3 ประก�ร ได้แก่ 1) ก�รเลี้ยงโคนมทำ�ให้มีร�ยได้ทุกวันเฉลี่ย 307.50 บ�ทต่อ แม่วัวนมหนึ่งตัว (อัตร�ก�รให้นมเฉลี่ย 15 กก./ตัว/วัน ร�ค�ข�ย น้ำ�นมดิบ 20.50 บ�ท/กก.) ห�กแม่วัวที่สมบูรณ์ผสมติดง่�ยจะ ส�ม�รถรีดนมได้สูงสุด 10 เดือน/ปีแถมมีอ�ยุย�ว 8-10 ปี 2) มีศูนย์รวบรวมน้ำ�นมดิบที่ได้รับรอง GMP เพื่อแปรรูป กระจ�ยอยู่ทุกภูมิภ�คของประเทศ ทั้งในรูปแบบสหกรณ์และเอกชน บ�งสหกรณ์มีแบรนด์นมพร้อมดื่มรวมถึงผลิตภัณฑ์นมอื่น ๆ เป็นที่ ยอมรับ นอกจ�กนี้ยังมีโครงก�รนมโรงเรียนรองรับน้ำ�นมดิบที่ เกษตรกรผลิตได้ประม�ณ 30% ของผลผลิตทั้งหมด 3) มีประก�ศร�ค�กล�งรับซื้อน้ำ�นมดิบ แม้จะมีข้อดีในเรื่องก�รตล�ด และมีคณะกรรมก�รโคนมและ ผลิตภัณฑ์โคนมร่วมกันแก้ไขปัญห�และกำ�หนดนโยบ�ยภ�พรวมของ ผลพวงจ�กสงคร�มและเงินเฟ้อทำ�ให้ต้นทุนก�รผลิตน้ำ�นมดิบ เพิ่มสูงขึ้นจนทำ�ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมหล�ยร�ยแบกรับต้นทุน ไม่ไหวตัดสินใจเลือกอ�ชีพเลี้ยงโคในที่สุด เห็นได้จ�กปริม�ณก�รผลิต น้ำ�นมโคเฉลี่ยต่อวันในปี2565 ลดลง 127 ตัน/วัน เมื่อเปรียบเทียบ กับปี25641 ต้นทุนวัตถุดิบสำ�หรับอ�ห�รข้นและอ�ห�รหย�บเพิ่มสูงขึ้น อย่�งต่อเนื่องตลอดปี2565 ได้กล�ยเป็นวิกฤติของอ�ชีพเลี้ยงโคนม ในที่สุด ด้วยเหตุที่ก�รเลี้ยงโคนมมีสัดส่วนต้นทุนอ�ห�รไม่น้อยกว่� ร้อยละ 65 ของต้นทุนก�รผลิตทั้งหมด โดยเกษตรกรหล�ยร�ยมี พื้นที่จำ�กัดในก�รผลิตอ�ห�รหย�บใช้ภ�ยในฟ�ร์ม จำ�เป็นต้องซื้อ อ�ห�รหย�บจ�กนอกฟ�ร์มเพิ่มเติม และยังมีปัญห�เรื่องโรคป�กเท้� เปื่อย โรคลัมปีสกิน โรคเต้�นมอักเสบ ทำ�ให้คุณภ�พน้ำ�นมดิบใน ภ�พรวมยังต่ำ� ส่งผลต่อร�ยได้ลดลงไม่คุ้มค่�ในก�รทำ�ฟ�ร์ม ข้อมูลในปี2564 พบว่� ประเทศไทยมีจำ�นวนเกษตรกรผู้เลี้ยง โคนมที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์จำ�นวน 24,255 ร�ย รวมจำ�นวน ประช�กรโคนมทั้งสั้น 806,441 ตัว 2 เฉลี่ย 33.25 ตัว/ฟ�ร์ม กระจุกตัวในจังหวัดสระบุรีนครร�ชสีม� ลพบุรีร�ชบุรีก�ญจนบุรี เชียงใหม่ ประจวบคีรีขันธ์และขอนแก่น โดย : ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีแม่นยำา: ทางรอดของผู้เลี้ยงโคนมไทย
32 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เมื่อเปรียบเทียบจำ�นวนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมกับปศุสัตว์ชนิด อื่นถือเป็นจำ�นวนน้อย แต่คว�มสำ�คัญของเกษตรกรกลุ่มนี้คือ กลุ่ม เกษตรกรที่ยังคงรักษ�คว�มมั่นคงท�งอ�ห�รให้กับคนไทย ซึ่งจำ�เป็น ต้องช่วยเกษตรกรกลุ่มนี้ให้ผ่�นวิกฤติครั้งนี้ไปให้ได้ ในมุมของเกษตรกรอ�ชีพเลี้ยงโคนมมีคว�มได้เปรียบปศุสัตว์ อื่น 3 ประก�ร ได้แก่ 1) ก�รเลี้ยงโคนมทำ�ให้มีร�ยได้ทุกวันเฉลี่ย 307.50 บ�ทต่อ แม่วัวนมหนึ่งตัว (อัตร�ก�รให้นมเฉลี่ย 15 กก./ตัว/วัน ร�ค�ข�ย น้ำ�นมดิบ 20.50 บ�ท/กก.) ห�กแม่วัวที่สมบูรณ์ผสมติดง่�ยจะ ส�ม�รถรีดนมได้สูงสุด 10 เดือน/ปีแถมมีอ�ยุย�ว 8-10 ปี 2) มีศูนย์รวบรวมน้ำ�นมดิบที่ได้รับรอง GMP เพื่อแปรรูป กระจ�ยอยู่ทุกภูมิภ�คของประเทศ ทั้งในรูปแบบสหกรณ์และเอกชน บ�งสหกรณ์มีแบรนด์นมพร้อมดื่มรวมถึงผลิตภัณฑ์นมอื่น ๆ เป็นที่ ยอมรับ นอกจ�กนี้ยังมีโครงก�รนมโรงเรียนรองรับน้ำ�นมดิบที่ เกษตรกรผลิตได้ประม�ณ 30% ของผลผลิตทั้งหมด 3) มีประก�ศร�ค�กล�งรับซื้อน้ำ�นมดิบ แม้จะมีข้อดีในเรื่องก�รตล�ด และมีคณะกรรมก�รโคนมและ ผลิตภัณฑ์โคนมร่วมกันแก้ไขปัญห�และกำ�หนดนโยบ�ยภ�พรวมของ ผลพวงจ�กสงคร�มและเงินเฟ้อทำ�ให้ต้นทุนก�รผลิตน้ำ�นมดิบ เพิ่มสูงขึ้นจนทำ�ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมหล�ยร�ยแบกรับต้นทุน ไม่ไหวตัดสินใจเลือกอ�ชีพเลี้ยงโคในที่สุด เห็นได้จ�กปริม�ณก�รผลิต น้ำ�นมโคเฉลี่ยต่อวันในปี2565 ลดลง 127 ตัน/วัน เมื่อเปรียบเทียบ กับปี25641 ต้นทุนวัตถุดิบสำ�หรับอ�ห�รข้นและอ�ห�รหย�บเพิ่มสูงขึ้น อย่�งต่อเนื่องตลอดปี2565 ได้กล�ยเป็นวิกฤติของอ�ชีพเลี้ยงโคนม ในที่สุด ด้วยเหตุที่ก�รเลี้ยงโคนมมีสัดส่วนต้นทุนอ�ห�รไม่น้อยกว่� ร้อยละ 65 ของต้นทุนก�รผลิตทั้งหมด โดยเกษตรกรหล�ยร�ยมี พื้นที่จำ�กัดในก�รผลิตอ�ห�รหย�บใช้ภ�ยในฟ�ร์ม จำ�เป็นต้องซื้อ อ�ห�รหย�บจ�กนอกฟ�ร์มเพิ่มเติม และยังมีปัญห�เรื่องโรคป�กเท้� เปื่อย โรคลัมปีสกิน โรคเต้�นมอักเสบ ทำ�ให้คุณภ�พน้ำ�นมดิบใน ภ�พรวมยังต่ำ� ส่งผลต่อร�ยได้ลดลงไม่คุ้มค่�ในก�รทำ�ฟ�ร์ม ข้อมูลในปี2564 พบว่� ประเทศไทยมีจำ�นวนเกษตรกรผู้เลี้ยง โคนมที่ขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตว์จำ�นวน 24,255 ร�ย รวมจำ�นวน ประช�กรโคนมทั้งสั้น 806,441 ตัว 2 เฉลี่ย 33.25 ตัว/ฟ�ร์ม กระจุกตัวในจังหวัดสระบุรีนครร�ชสีม� ลพบุรีร�ชบุรีก�ญจนบุรี เชียงใหม่ ประจวบคีรีขันธ์และขอนแก่น โดย : ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยีแม่นยำา: ทางรอดของผู้เลี้ยงโคนมไทย สัตว์เศรษฐกิจ 33 ก�รันตีเพศเมีย แต่น้ำ�เชื้อที่คัดเพศนี้มีร�ค�แพงกว่�น้ำ�เชื้อแบบไม่ ระบุเพศประม�ณ 3 เท่� จำ�เป็นอย่�งยิ่งที่จะต้องดูแลแม่โคให้สมบูรณ์ และจับอ�ก�รเป็นสัดของแม่โคให้แม่นยำ� เพื่อลดต้นทุนค่�น้ำ�เชื้อและ เพิ่มโอก�สคว�มสำ�เร็จให้กับก�รผสมเทียม นั่นหม�ยคว�มว่� ห�กจะเดินต่อไปในอ�ชีพนี้เกษตรกรผู้เลี้ยง โคนมคงไม่อ�จเลี่ยงก�รทำ�ฟ�ร์มโคนมแม่นยำ� (precision dairy farm) ได้อีกต่อไป เนื่องจ�กแม่โคมีคว�มอ่อนไหวต่อเปลี่ยนแปลง ของสภ�พแวดล้อม เช่น สภ�พอ�ก�ศ คว�มชื้น ที่ม�กหรือน้อย เกินไปจนทำ�ให้แม่โคเครียดซึ่งส่งผลต่อปริม�ณและคุณภ�พน้ำ�นมดิบ ได้ก�รติดต�มแม่โคอย่�งใกล้ชิดจึงเป็นสิ่งจำ�เป็นและต้องทำ�ซึ่งต้อง ใช้เทคโนโลยีช่วย เทคโนโลยีแม่นยำ�ส�ม�รถทำ�อะไรได้บ้�ง? ผู้เขียนขอตัวอย่�งเทคโนโลยีแม่นยำ�ที่มีก�รใช้ในปัจจุบัน เช่น ทรูดิจิทัล ค�ว (True Digital Cow)3 ระบบติดต�มพฤติกรรมวัว ก�รกิน ก�รเดิน ก�รนอน อัตร�ก�รเคี้ยวเอื้อง หรือแม้แต่อุณหภูมิ ของแม่โค แล้วแสดงผลผ่�นแอพพลิเคชัน ทั้งในคอมพิวเตอร์และ โทรศัพท์มือถือ ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรได้ข้อมูลคว�มผิดปกติของ แม่โค อ�ก�รป่วย รวมถึงแจ้งเตือน ช่วยให้ก�รผสมเทียมมี ประสิทธิภ�พม�กขึ้น ห�กแต่ปัญห�สำ�คัญคือเกษตรกรผู้เลี้ยงโคให้ก�รยอมรับน้อย เนื่องจ�ก ทรูดิจิทัล ค�ว ให้บริก�รลักษณะ Subscription มีค่�ใช้ จ่�ยร�ยเดือนต่อตัวหนึ่งตัว (ช่วงร�ค� 249 - 369 บ�ท/ตัว/เดือน ขึ้นกับจำ�นวนเซ็นเซอร์ติดต�มแม่โค) แม้จะมีคว�มคุ้มค่�ท�ง เศรษฐศ�สตร์แต่ในมุมของเกษตรกรเป็นต้นทุนที่สูงม�ก เป็นภ�ระ ผูกพัน ถือเป็นอุปสรรคสำ�คัญในก�รส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ใช้เทคโนโลยีนี้ในวงกว้�ง ห�กมองในมุมธุรกิจเองก็มีต้นทุนในก�ร พัฒน�และบริห�รจัดก�รเทคโนโลยีนี้ ปัจจุบันกรมปศุสัตว์เองก็พย�ย�มร่วมมือกับนักวิจัยพัฒน� เทคโนโลยีแม่นยำ�เช่นกัน แต่ก็ยังไม่มีก�รถ่�ยทอดไปสู่เกษตรกร เป็น ไปได้หรือไม่ที่กรมปศุสัตว์ทำ�คว�มร่วมมือกับ ทรูดิจิทัล ค�ว จัด ทำ�แผนส่งเสริมก�รใช้เทคโนโลยีเกษตรกรม�กขึ้นเพียงพอที่จะทำ�ให้ เกิดก�รประหยัดต้นทุนต่อขน�ด (economy of scale) และลดร�ค� ก�รใช้เซนเซอร์ลงกว่�นี้ได้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่�งยิ่งที่จะได้เห็นเกษตรกรใช้เทคโนโลยีแม่ยำ� ได้ในร�ค�ที่ไม่แพงเกินไป ส�ม�รถจูงใจให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ร�ยย่อยใช้เทคโนโลยีแม่ยำ�ม�กขึ้นเพื่อสร้�งคว�มมั่นคงในอ�ชีพ เกษตรกรให้คงอยู่ท่�มกล�งคว�มรุนแรงของก�รแข่งขันได้ในอน�คต. ที่มา 1. https://www.thansettakij.com/economy/trade/541539 2. ข้อมูลจำ�นวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และปศุสัตว์ปี2564 สืบค้นจ�ก https:// opendata.nesdc.go.th 3. https://truebusiness.truecorp.co.th/.../true-digital-cow ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ อุตส�หกรรมโคนมไทยทั้งระบบ แต่ในปี2565 ฟ�ร์มโคนมจำ�นวน ไม่น้อยตัดสินใจเลิกกิจก�ร ส่งผลให้สหกรณ์หล�ยแห่งรับซื้อน้ำ�นม ดิบได้น้อยจึงไม่ส�ม�รถผลิตนมพร้อมดื่มได้ต�มที่ว�งแผนไว้ แม้จะมีวิกฤติที่ต้องเผชิญ เกษตรกรหล�ยร�ยยังคงตัดสินใจสู้ กับอ�ชีพนี้ต่อด้วยเหตุผล “เพร�ะมันเป็นอ�ชีพพระร�ชท�น” วลีนี้ สะท้อนคว�มภ�คภูมิใจในอ�ชีพเลี้ยงวัวนมที่หล่อเลี้ยงหัวใจของ เกษตรกร นอกจ�กนี้ยังมีคว�มผูกพันระหว่�งผู้เลี้ยงและวัวนม เนื่องจ�กวัวนมมีคว�มอ่อนไหว ต้องก�รก�รดูแลใกล้ชิด เช่น ก่อน รีดนมต้องล้�งทำ�คว�มสะอ�ดเต้�นม ลดก�รติดเชื้อในน้ำ�นมดิบ และ สังเกตอ�ห�รเต้�นมอักเสบ สัมผัสนี้ก�รดูแลนี้ได้กล�ยเป็นส�ย สัมพันธ์และคว�มผูกพัน จะเรียกว่� เลี้ยงแล้วรัก ก็คงไม่เกินไปนัก ทำ�อย่�งไรจึงจะช่วยให้เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมให้ฝ่�วิกฤติครั้งนี้ไปได้ คำ�ตอบคงไม่พ้นเรื่อง ก�รเพิ่มประสิทธิภ�พก�รผลิตเพื่อลด ต้นทุนก�รผลิตต่อน้ำ�นมดิบให้ม�กที่สุดเท่�ที่จะทำ�ได้ สิ่งที่ทำ�ได้ง่�ยที่สุดคือ 1) ก�รเลือกใช้อ�ห�รขึ้นและอ�ห�รหย�บที่มีคุณภ�พสูงม�ก ขึ้น แม้อ�ห�รจะมีร�ค�ต่อกก.ที่สูงขึ้น แต่เปรียบเทียบกับปริม�ณ น้ำ�นมที่เท่�กัน จะใช้ปริม�ณอ�ห�รจำ�นวนน้อยกว่� ทำ�ให้ค่�อ�ห�ร ข้นต่อน้ำ�นมดิบ 1 กก. จะต่ำ�กว่�ทันทีและควรเลือกสูตรอ�ห�รให้ เหม�ะสมกับกลุ่มโค เช่น โครุ่น โคให้นม และโคดร�ย เป็นต้น 2) ให้คว�มสำ�คัญกับก�รจดข้อมูลและนำ�ข้อมูลม�ใช้เพื่อ ปรับปรุงก�รจัดก�รฟ�ร์ม ก�รจดและบันทึกข้อมูลเป็นไม้เบื่อไม้เม� กับเกษตรกรไม่เพียงเพียงแค่โคนม เกษตรกรส่วนใหญ่มักอ�ศัยคว�ม ชำ�น�ญในก�รทำ�ฟ�ร์มแทนข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ง่�ยแก่ก�รเปรียบ เทียบและตัดสินใจ 3) เลือกใช้เทคโนโลยีให้เหม�ะกับฟ�ร์ม แม้ปัจจุบันหล�ยฟ�ร์ม จะนำ�เทคโนโลยีเข้�ม�ช่วยในก�รจัดก�ร แต่จุดอ่อนก�รใช้เทคโนโลยี ก็มีต้องระวังคือ ขน�ดที่ใหญ่เกินไปสำ�หรับฟ�ร์มขน�ดเล็ก และมี ร�ค�แพง คว�มละเมียดในก�รเลือกใช้เทคโนโลยีก็มีส่วนสำ�คัญที่ช่วย ลดค่�ใช้จ่�ยของฟ�ร์มได้ ด้วยคว�มก้�วหน้�ของเทคโนโลยีก�รผสมเทียม ปัจจุบัน เกษตรกรส�ม�รถเพิ่มโอก�สที่จะได้ลูกโคเพศเมียด้วยก�รซื้อน้ำ�เชื้อ
34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE 2. สินค้าที่มาจากสัตว์หรือไม่ได้มาจากสัตว์ (Non-frozen) เพิ่มขึ้นจาก 23,135 ล้านบาท เป็น 25,650 ล้านบาท หรือ 11% 3. อาหารสัตว์เลี้ยง (Pet Food) เพิ่มขึ้นจาก 70,991 ล้าน บาท เป็น 90,228 ล้านบาท หรือ 27% 4. อาหารปศุสัตว์เพิ่มขึ้นจาก 10,471 ล้านบาท เป็น 11,641 ล้านบาท หรือ 11% 5. สัตว์มีชีวิต (ไก่,หมู) ลดลงเหลือ 5,147 ล้านบาท จากปี ก่อนที่ส่งออกมูลค่า 13,345 ล้านบาท ลดลง 62% 6. ซากสัตว์(Non-edible) เพิ่มขึ้นจาก 3,638 ล้านบาท เป็น 5,504 ล้านบาท หรือ 51% โดยถือว่าในปี2565 กรมปศุสัตว์คาดการณ์ว่า ในปี2566 การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ อาจสูงถึง 300,000 ล้านบาท โดยมีสินค้าหลักคือ เนื้อไก่ที่มีปริมาณ ความต้องการบริโภคของตลาดญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร จีน และ สหภาพยุโรป ทำาให้การผลิตและการส่งออกจะเพิ่มขึ้นประมาณ 3% นอกจากนี้ ยังส่งผลดีต่ออาหารสัตว์เลี้ยงของไทย มีโอกาส ส่งออกเพิ่ม ทั้งในประเทศ และ ตลาดโลก เนื่องจากอาหารสัตว์เลี้ยง ของไทยมีคุณภาพ มาตรฐาน ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคฐาน แม้ภาคปศุสัตว์ไทย ในปี2565 จะหดตัวลงเล็กน้อย เนื่องจาก โรคระบาดร้ายแรงที่กระทบกับการผลิต และภาวะวัตถุดิบอาหารสัตว์ ราคาแพง ส่งผลให้ต้นทุนสูงขึ้น จึงต้องชะลอการผลิตลดภาวะขาดทุน แต่ยอดการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ยังเติบโตได้โดยในปี2565 มีมูลค่า การส่งออกสูงถึง 280,000 ล้านบาท ทำาสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ และคาดการณ์ว่าในปี2566 ยอดการส่งออกอาจทะลุ300,000 ล้าน บาท กรมปศุสัตว์รายงานยอดส่งออกสินค้าปศุสัตว์ที่ใช้เป็นอาหาร ของไทยในปี2565 มูลค่าส่งออกสูงถึง 2.8 แสนล้านบาท สูงสุด เป็นประวัติการณ์และ คาดการณ์ว่าในปี2566 ยอดส่งออกอาจสูง ถึง 3 แสนล้านบาท โดยการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ของไทย ช่วง 11 เดือนของปี2565 มีมูลค่ารวม 274,822 ล้านบาท คาดการณ์ว่า ทั้งปีจะส่งออกได้มูลค่า 280,326 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก ปีก่อน 19.60% มีปริมาณส่งออกกว่า 2.42 ล้านตัน และ สัตว์มี ชีวิตอีก 24 ล้านตัวต่อฟอง ทั้งนี้แบ่งการส่งออกเป็น 1. เนื้อสัตว์แช่แข็ง มูลค่า 142,156 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีก่อนที่ส่งออกมูลค่า 1.12 แสนล้านบาท หรือ 26% ปศุสัตว์ไทย ปี 66 รุ่ง...คาดยอดส่งออกถึง 3 แสนล้าน
34 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE 2. สินค้าที่มาจากสัตว์หรือไม่ได้มาจากสัตว์ (Non-frozen) เพิ่มขึ้นจาก 23,135 ล้านบาท เป็น 25,650 ล้านบาท หรือ 11% 3. อาหารสัตว์เลี้ยง (Pet Food) เพิ่มขึ้นจาก 70,991 ล้าน บาท เป็น 90,228 ล้านบาท หรือ 27% 4. อาหารปศุสัตว์เพิ่มขึ้นจาก 10,471 ล้านบาท เป็น 11,641 ล้านบาท หรือ 11% 5. สัตว์มีชีวิต (ไก่,หมู) ลดลงเหลือ 5,147 ล้านบาท จากปี ก่อนที่ส่งออกมูลค่า 13,345 ล้านบาท ลดลง 62% 6. ซากสัตว์(Non-edible) เพิ่มขึ้นจาก 3,638 ล้านบาท เป็น 5,504 ล้านบาท หรือ 51% โดยถือว่าในปี2565 กรมปศุสัตว์คาดการณ์ว่า ในปี2566 การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ อาจสูงถึง 300,000 ล้านบาท โดยมีสินค้าหลักคือ เนื้อไก่ที่มีปริมาณ ความต้องการบริโภคของตลาดญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร จีน และ สหภาพยุโรป ทำาให้การผลิตและการส่งออกจะเพิ่มขึ้นประมาณ 3% นอกจากนี้ ยังส่งผลดีต่ออาหารสัตว์เลี้ยงของไทย มีโอกาส ส่งออกเพิ่ม ทั้งในประเทศ และ ตลาดโลก เนื่องจากอาหารสัตว์เลี้ยง ของไทยมีคุณภาพ มาตรฐาน ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคฐาน แม้ภาคปศุสัตว์ไทย ในปี2565 จะหดตัวลงเล็กน้อย เนื่องจาก โรคระบาดร้ายแรงที่กระทบกับการผลิต และภาวะวัตถุดิบอาหารสัตว์ ราคาแพง ส่งผลให้ต้นทุนสูงขึ้น จึงต้องชะลอการผลิตลดภาวะขาดทุน แต่ยอดการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ยังเติบโตได้โดยในปี2565 มีมูลค่า การส่งออกสูงถึง 280,000 ล้านบาท ทำาสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ และคาดการณ์ว่าในปี2566 ยอดการส่งออกอาจทะลุ300,000 ล้าน บาท กรมปศุสัตว์รายงานยอดส่งออกสินค้าปศุสัตว์ที่ใช้เป็นอาหาร ของไทยในปี2565 มูลค่าส่งออกสูงถึง 2.8 แสนล้านบาท สูงสุด เป็นประวัติการณ์และ คาดการณ์ว่าในปี2566 ยอดส่งออกอาจสูง ถึง 3 แสนล้านบาท โดยการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ของไทย ช่วง 11 เดือนของปี2565 มีมูลค่ารวม 274,822 ล้านบาท คาดการณ์ว่า ทั้งปีจะส่งออกได้มูลค่า 280,326 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก ปีก่อน 19.60% มีปริมาณส่งออกกว่า 2.42 ล้านตัน และ สัตว์มี ชีวิตอีก 24 ล้านตัวต่อฟอง ทั้งนี้แบ่งการส่งออกเป็น 1. เนื้อสัตว์แช่แข็ง มูลค่า 142,156 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีก่อนที่ส่งออกมูลค่า 1.12 แสนล้านบาท หรือ 26% ปศุสัตว์ไทย ปี 66 รุ่ง...คาดยอดส่งออกถึง 3 แสนล้าน สัตว์เศรษฐกิจ 35 บริโภคภายในประเทศจะต้องทำาในรูปแบบและวิธีการที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน เพื่อให้เกิดความสม่ำาเสมอของคุณภาพผลผลิต อันจะสร้าง ความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภค สำาหรับการผลิตไก่เนื้อของประเทศไทย ณ วันนี้ สามารถกล่าวได้ว่าเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ ดังนั้น ถ้าไทยต้องการเป็นครัวของโลกอย่างแท้จริง ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง กับการผลิตต้องมีเป้าหมายเดียวกันและมีความร่วมมือกันอย่างจริงจัง ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงต้องมีการพัฒนาเกษตรกรและทุกภาค ส่วนที่อยู่ในกระบวนการผลิตให้มีความตื่นตัวและผลักดันไปในทิศทาง เดียวเช่นกัน ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี2565 ขยายตัวร้อยละ 0.8 โดย สาขาพืช สาขาบริการทางการเกษตร และสาขาป่าไม้ ขยายตัว ขณะที่สาขาปศุสัตว์และสาขาประมงหดตัว มีปัจจัยสนับสนุน คือ ปริมาณน้ำาฝนในช่วงครึ่งแรกปี2565 มีมากกว่าปีที่ผ่านมาเพียงพอ สำาหรับการเพาะปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และทำาประมง รวมถึงสภาพ อากาศโดยทั่วไปที่เอื้ออำานวย ทำาให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกมากขึ้น ประกอบกับราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้ เกษตรกรเพิ่มการผลิตและบำารุงดูแลรักษา การดำาเนินนโยบายและ มาตรการของภาครัฐ และความร่วมมือของทุกภาคส่วนในด้าน ต่าง ๆ อาทิการส่งเสริมอาชีพเกษตรทั้งด้านการใช้เทคโนโลยีใน การผลิตและใช้ปัจจัยการผลิตอย่างเหมาะสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต การเฝ้าระวังโรคพืชและสัตว์ การยกระดับสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และบริหารจัดการสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด รวมถึงการขยายช่องทางการตลาดทั้งออนไลน์และออฟไลน์ ทำาให้เกษตรกรสามารถทำาการผลิตได้ต่อเนื่องและมีช่องทางในการ จำาหน่ายสินค้าเกษตรมากขึ้น มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ทำาให้คนไทยมีการเดินทางท่องเที่ยวและใช้จ่ายในการบริโภคสินค้า เกษตรและอาหารเพิ่มขึ้น การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด ของโควิด-19 การเปิดประเทศ และเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัว นอกจากนี้ เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าปรับตัวดีขึ้น และความ เชื่อมั่นในคุณภาพสินค้าเกษตรของไทย ส่งผลให้การส่งออกสินค้า เกษตรและผลิตภัณฑ์ขยายตัวได้มากขึ้น ประกอบกับราคาปัจจัย การผลิตที่สูงขึ้นทั้งราคาน้ำามัน ปุ๋ย สารกำาจัดศัตรูพืช และวัตถุดิบ อาหารสัตว์ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรสูงขึ้น ความกังวล เกี่ยวกับการระบาดของโรคสัตว์ทำาให้มีการชะลอการเลี้ยง ควบคุม ปริมาณการผลิต นอกจากนี้ ปัจจัยภายนอกประเทศ อาทิความ ขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยืดเยื้อ มาตรการ Zero-COVID ของจีน และเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ส่งผลกระทบต่อการส่งออก สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทย สาขาปศุสัตว์ ในปี2565 หดตัวร้อยละ 3.0 เมื่อเทียบกับปี 2564 เป็นผลจากสถานการณ์โรคระบาดสัตว์ในช่วงที่ผ่านมาและ ต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยสินค้าปศุสัตว์ที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ สุกร ไข่ไก่ และนำ้านมดิบ โดยสุกรมีผลผลิตลดลง เนื่องจาก ปริมาณแม่พันธุ์สุกรในระบบลดลงจากความกังวลเกี่ยวกับการระบาด ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ตลาดผู้เลี้ยงสัตว์ และมีกระบวนการการผลิตที่ถูกสุขลักษณะ ได้ ควบคุมคุณภาพมาตรฐานระบบ GMP และระบบ HACCP ในสถาน ประกอบการอย่างต่อเนื่อง ทำาให้ปัจจุบันไทยเป็นผู้ส่งออกอาหารสัตว์ เลี้ยงเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจาก เยอรมนีและ สหรัฐฯ เป็นผลจากการที่ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง ที่ใส่ใจดูแล ควบคุม คุณภาพ และปัจจัยการผลิตสินค้า จนถึงมาตรการส่งออกสู่ท้องตลาด ให้ได้มาตรฐาน ทำาให้สินค้าปศุสัตว์ เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค ทั้ง ในและต่างประเทศ ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีได้กำาชับทุกหน่วยงาน ให้ ช่วยกันพัฒนาศักยภาพ ดูแลทุกกระบวนการ เพื่อคุณภาพที่ดีของ สินค้า และ เป็นภาพลักษณ์ความน่าเชื่อถือที่สำาคัญของสินค้าไทย สำาหรับการที่ประเทศไทยเคยตั้งเป้าเป็นครัวของโลกด้าน เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ณ ปัจจุบัน สามารถกล่าวได้ว่า ประเทศไทยค่อนข้างมีความพร้อม เพราะทั้งภาครัฐและเอกชนมี นโยบายและความร่วมมือไปในทิศทางเดียวกัน โดยภาครัฐทำาหน้าที่ วางมาตรฐานการผลิตอาหารคุณภาพ ขณะที่ภาคเอกชนทำาหน้าที่ พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตเพื่อแข่งขันในตลาดโลกไม่ใช่แข่งแต่ ประเทศในภูมิภาคนี้เท่านั้น ตัวอย่างการส่งออกเนื้อไก่ของไทยซึ่งปัจจุบันส่งออกเป็นอันดับ ต้น ๆ ของโลก โดยตลาดใหญ่ คือ ญี่ปุ่นและสหภาพยุโรป (EU) ก็ได้เข้ามาตรวจสอบระบบการผลิตของไทย ตลอดห่วงโซ่การผลิต ไม่ได้ตรวจสอบเฉพาะสินค้าผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกเท่านั้นแต่ตรวจ มาตรฐานการผลิตทั้งประเทศเพราะสินค้าที่ผลิตเพื่อการส่งออกกับ
36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ของโรคอหิวาต์แอฟริกันในสุกร หรือ โรค ASF ประกอบกับเกษตรกร ชะลอการนำาสุกรเข้าเลี้ยงจากต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งราคา พันธุ์สุกรและอาหารสัตว์ ไข่ไก่มีผลผลิตลดลง เนื่องจากการดำาเนิน มาตรการรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ โดยมีการปรับลดปริมาณ แม่ไก่ยืนกรง และนำ้านมดิบมีผลผลิตลดลง เนื่องจากการระบาดของ โรคลัมปีสกินในโคนม ทำาให้แม่โคผสมพันธุ์ติดยากและรีดนมได้ลดลง ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ส่งผลให้เกษตรกรบางส่วนเลิก เลี้ยงโคนม สำาหรับสินค้าปศุสัตว์ที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ไก่เนื้อ และ โคเนื้อ โดยไก่เนื้อมีผลผลิตเพิ่มขึ้นจากการขยายการผลิตเพื่อรองรับ ความต้องการของตลาดที่มีอย่างต่อเนื่อง ทั้งการบริโภคภายใน ประเทศและการส่งออกที่เพิ่มขึ้น และโคเนื้อมีผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรมีการควบคุมและป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด รวมทั้งภาครัฐมีการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคลัมปีสกินในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มขึ้น ด้านราคา สินค้าปศุสัตว์ที่มีราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นในช่วงเดือน มกราคม - พฤศจิกายน 2565 ได้แก่ สุกร ไก่เนื้อ ไข่ไก่ โคเนื้อ และนำ้านมดิบ โดยสุกรมีราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่ออก สู่ตลาดลดลง ในขณะที่ความต้องการของผู้บริโภคมีอย่างต่อเนื่อง ไก่เนื้อ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการของตลาดทั้งในประเทศ และต่างประเทศยังคงมีอยู่ต่อเนื่อง ประกอบกับเกษตรกรมีการปรับ ราคาตามต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ไข่ไก่ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เกษตรกรมีการปรับราคาไข่ไก่ให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ โคเนื้อ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากความ ต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นของตลาดในประเทศ นำ้านมดิบ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรสามารถผลิตนำ้านมดิบได้คุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานการรับซื้อนำ้านมดิบมากขึ้น การส่งออก สินค้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณและมูลค่า ส่งออกเพิ่มขึ้น ในช่วงเดือนมกราคม - ตุลาคม 2565 ได้แก่ เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์และนมและผลิตภัณฑ์โดยเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ มีปริมาณและมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศคู่ค้าสำาคัญของ ไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และจีนมีความต้องการบริโภค เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น นมและผลิตภัณฑ์มีปริมาณและมูลค่า ส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากผลิตภัณฑ์นมของไทยมีคุณภาพและ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของประเทศคู่ค้าที่สำาคัญ ได้แก่ กัมพูชา ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ส่งผลให้มีความต้องการบริโภคอย่างต่อเนื่อง สินค้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลงในช่วง เดือนมกราคม - ตุลาคม 2565 ได้แก่ เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์และ โคมีชีวิต โดยเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์มีปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลง เนื่องจากปริมาณผลผลิตสุกรในประเทศลดลงจากโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร และโคมีชีวิตมีปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลง เนื่องจาก ภาครัฐมีการควบคุมและห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ตามช่องทางชายแดน เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคลัมปีสกิน สินค้าปศุสัตว์และ ผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณส่งออกลดลง แต่มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้นในช่วง เดือนมกราคม - ตุลาคม 2565 คือ ไข่ไก่สด ซึ่งเป็นผลจากการ ชะลอมาตรการผลักดันการส่งออกไข่ไก่ไปยังต่างประเทศเพื่อรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ สำาหรับแนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรปี 2566 คาดว่าจะ ขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 2.0 - 3.0 โดยสาขาปศุสัตว์สาขาประมง ขยายตัวได้จากปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ ปริมาณนำ้าในอ่างเก็บนำ้าและ แหล่งนำ้าตามธรรมชาติที่มีเพียงพอสำาหรับการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และทำาประมง การดำาเนินนโยบายและมาตรการของภาครัฐ ด้าน การเกษตร อาทิส่งเสริมการใช้ปัจจัย การผลิตที่เหมาะสม ส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีในการผลิตและยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตร สร้าง มาตรฐานสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ ส่งเสริมการ รวมกลุ่มในการผลิตและแปรรูปเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและตอบโจทย์ ผู้บริโภคโดยใช้หลักการตลาดนำาการผลิต เพิ่มช่องทางให้เกษตรกร เข้าถึงและใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพื่อการวางแผน การผลิต การแปรรูป และการตลาด บริหารจัดการทรัพยากรนำ้าทั้ง ระบบ และพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อการบริหารจัดการสินค้าเกษตร แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวได้มากขึ้น รวมทั้งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่ต่อเนื่อง ช่วยสนับสนุน ให้มีกิจกรรมการผลิต การเดินทางท่องเที่ยว และการบริโภคสินค้า
36 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ของโรคอหิวาต์แอฟริกันในสุกร หรือ โรค ASF ประกอบกับเกษตรกร ชะลอการนำาสุกรเข้าเลี้ยงจากต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งราคา พันธุ์สุกรและอาหารสัตว์ ไข่ไก่มีผลผลิตลดลง เนื่องจากการดำาเนิน มาตรการรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ โดยมีการปรับลดปริมาณ แม่ไก่ยืนกรง และนำ้านมดิบมีผลผลิตลดลง เนื่องจากการระบาดของ โรคลัมปีสกินในโคนม ทำาให้แม่โคผสมพันธุ์ติดยากและรีดนมได้ลดลง ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ส่งผลให้เกษตรกรบางส่วนเลิก เลี้ยงโคนม สำาหรับสินค้าปศุสัตว์ที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ไก่เนื้อ และ โคเนื้อ โดยไก่เนื้อมีผลผลิตเพิ่มขึ้นจากการขยายการผลิตเพื่อรองรับ ความต้องการของตลาดที่มีอย่างต่อเนื่อง ทั้งการบริโภคภายใน ประเทศและการส่งออกที่เพิ่มขึ้น และโคเนื้อมีผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรมีการควบคุมและป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด รวมทั้งภาครัฐมีการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคลัมปีสกินในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มขึ้น ด้านราคา สินค้าปศุสัตว์ที่มีราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นในช่วงเดือน มกราคม - พฤศจิกายน 2565 ได้แก่ สุกร ไก่เนื้อ ไข่ไก่ โคเนื้อ และนำ้านมดิบ โดยสุกรมีราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่ออก สู่ตลาดลดลง ในขณะที่ความต้องการของผู้บริโภคมีอย่างต่อเนื่อง ไก่เนื้อ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการของตลาดทั้งในประเทศ และต่างประเทศยังคงมีอยู่ต่อเนื่อง ประกอบกับเกษตรกรมีการปรับ ราคาตามต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ไข่ไก่ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เกษตรกรมีการปรับราคาไข่ไก่ให้สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น จากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ โคเนื้อ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากความ ต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นของตลาดในประเทศ นำ้านมดิบ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรสามารถผลิตนำ้านมดิบได้คุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานการรับซื้อนำ้านมดิบมากขึ้น การส่งออก สินค้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณและมูลค่า ส่งออกเพิ่มขึ้น ในช่วงเดือนมกราคม - ตุลาคม 2565 ได้แก่ เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์และนมและผลิตภัณฑ์โดยเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ มีปริมาณและมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศคู่ค้าสำาคัญของ ไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และจีนมีความต้องการบริโภค เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น นมและผลิตภัณฑ์มีปริมาณและมูลค่า ส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากผลิตภัณฑ์นมของไทยมีคุณภาพและ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของประเทศคู่ค้าที่สำาคัญ ได้แก่ กัมพูชา ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ส่งผลให้มีความต้องการบริโภคอย่างต่อเนื่อง สินค้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลงในช่วง เดือนมกราคม - ตุลาคม 2565 ได้แก่ เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์และ โคมีชีวิต โดยเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์มีปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลง เนื่องจากปริมาณผลผลิตสุกรในประเทศลดลงจากโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร และโคมีชีวิตมีปริมาณและมูลค่าส่งออกลดลง เนื่องจาก ภาครัฐมีการควบคุมและห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ตามช่องทางชายแดน เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคลัมปีสกิน สินค้าปศุสัตว์และ ผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณส่งออกลดลง แต่มูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้นในช่วง เดือนมกราคม - ตุลาคม 2565 คือ ไข่ไก่สด ซึ่งเป็นผลจากการ ชะลอมาตรการผลักดันการส่งออกไข่ไก่ไปยังต่างประเทศเพื่อรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ สำาหรับแนวโน้มเศรษฐกิจการเกษตรปี 2566 คาดว่าจะ ขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 2.0 - 3.0 โดยสาขาปศุสัตว์สาขาประมง ขยายตัวได้จากปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ ปริมาณนำ้าในอ่างเก็บนำ้าและ แหล่งนำ้าตามธรรมชาติที่มีเพียงพอสำาหรับการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และทำาประมง การดำาเนินนโยบายและมาตรการของภาครัฐ ด้าน การเกษตร อาทิส่งเสริมการใช้ปัจจัย การผลิตที่เหมาะสม ส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีในการผลิตและยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตร สร้าง มาตรฐานสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ ส่งเสริมการ รวมกลุ่มในการผลิตและแปรรูปเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและตอบโจทย์ ผู้บริโภคโดยใช้หลักการตลาดนำาการผลิต เพิ่มช่องทางให้เกษตรกร เข้าถึงและใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพื่อการวางแผน การผลิต การแปรรูป และการตลาด บริหารจัดการทรัพยากรนำ้าทั้ง ระบบ และพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อการบริหารจัดการสินค้าเกษตร แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี2566 ที่คาดว่าจะขยายตัวได้มากขึ้น รวมทั้งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่ต่อเนื่อง ช่วยสนับสนุน ให้มีกิจกรรมการผลิต การเดินทางท่องเที่ยว และการบริโภคสินค้า สัตว์เศรษฐกิจ 37 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ มากขึ้น ทำาให้ความต้องการสินค้าเกษตรและอาหาร เพิ่มขึ้น ความเชื่อมั่นในคุณภาพมาตรฐานสินค้า เกษตรของไทย ทำาให้ประเทศต่าง ๆ มีความ ต้องการนำาเข้าสินค้าเกษตรและอาหารจากไทย เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี2566 ยัง มีปัจจัย เสี่ยงและสถานการณ์สำาคัญที่ต้องติดตามอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ความแปรปรวนของสภาพอากาศที่มีมากขึ้น และภัยธรรมชาติที่อาจ ส่งผลกระทบต่อพื้นที่และผลผลิตทางการเกษตร ราคาปัจจัยการผลิต ที่ยังคงอยู่ในระดับสูง ทั้งราคานำ้ามันเชื้อเพลิง ปุ๋ยเคมีสารเคมีกำาจัด โรคและแมลง และวัตถุดิบอาหารสัตว์ ซึ่งจะทำาให้ต้นทุนการผลิต สินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อราคาสินค้าเกษตรและความสามารถใน การแข่งขันในตลาดส่งออก การระบาดของโรคพืชและสัตว์ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศที่อาจส่งผลต่อการผลิตและการค้าสินค้า เกษตรของไทย ภาวะเงินเฟ้อที่ยังมีแนวโน้มอยู่ในระดับสูง ส่งผลต่อ กำาลังซื้อของผู้บริโภค เศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มชะลอตัว ส่งผลต่อ การค้าและความต้องการสินค้าเกษตรของไทย ความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ยน ที่อาจส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันทางการ ค้าของสินค้าเกษตรไทย ความขัดแย้งทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ โดย เฉพาะความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยืดเยื้อ ส่งผลต่อราคา พลังงานและราคาธัญพืชของโลก ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ การระบาดของโควิด-19 ที่อาจกลับมาระบาดเป็นวงกว้างอีกครั้ง รวม ถึงการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสที่อาจรุนแรงและระบาดเร็วมากขึ้น ซึ่ง ส่งผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก แนวโน้มปศุสัตว์ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อย ละ 3.0 - 4.0 โดยสินค้าปศุสัตว์ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ได้แก่ สุกร ไก่เนื้อ ไข่ไก่ โคเนื้อ และนำ้านมดิบ สำาหรับ สุกร คาดว่าจะมีผลผลิต เพิ่มขึ้น เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาใน สุกรในประเทศไทยที่คลี่คลาย ประกอบกับภาครัฐมีมาตรการส่งเสริม และฟื้นฟูการเลี้ยงสุกรสำาหรับเกษตรกรที่ กลับมาเลี้ยงใหม่ ไก่เนื้อ คาดว่าจะมี ผลผลิตเพิ่มขึ้นตามความต้องการบริโภค ที่มีแนวโน้มขยายตัว ประกอบกับภาครัฐ มีการดำาเนินมาตรการป้องกันและ เฝ้าระวังโรคระบาดที่เข้มงวดอย่าง ต่อเนื่อง ไข่ไก่ คาดว่าจะมีผลผลิตเพิ่มขึ้น จากความต้องการบริโภคที่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น และเกษตรกรมีการจัดการฟาร์ม ที่มีประสิทธิภาพ โคเนื้อ คาดว่าจะมี ผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากความร่วมมือ ของเกษตรกรและภาครัฐในการดำาเนิน มาตรการป้องกันและเฝ้าระวังโรคลัมปี สกินอย่างเข้มงวด และการดำาเนิน มาตรการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้ออย่าง ต่อเนื่อง นํ้านมดิบ คาดว่าจะมีผลผลิต เพิ่มขึ้น เนื่องจากสถานการณ์การระบาด ของโรคลัมปีสกินที่คลี่คลาย และเกษตรกร มีการบำารุงดูแลแม่โคให้กลับมาสมบูรณ์ แข็งแรง ส่งผลให้จำานวนแม่โคเพิ่มขึ้น รวมทั้งฟาร์มโคนมขนาดกลาง และขนาดใหญ่มีระบบบริหารจัดการฟาร์มที่ดีใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ส่งผลให้แม่โคมีอัตราการให้นำ้านมเพิ่มขึ้น ด้านราคาสินค้าปศุสัตว์ส่วนใหญ่คาดว่า จะมีราคาอยู่ในเกณฑ์ ดีได้แก่ ไก่เนื้อ สุกร ไข่ไก่ และโคเนื้อ โดยไก่เนื้อ เนื่องจากความ ต้องการไก่เนื้อของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศจะยังมีอย่าง ต่อเนื่อง ประกอบกับต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้น สุกรเนื่องจาก ความต้องการบริโภคสุกรที่มีอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ปริมาณการผลิตยัง คงเพิ่มขึ้นอย่างจำากัด ไข่ไก่ เนื่องจากมีการวางแผนการผลิตให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด โคเนื้อ เนื่องจากผลผลิตยัง เป็นที่ต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะความต้องการ ของตลาดต่างประเทศที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ส่วนราคานำ้านมดิบ คาดว่าจะอยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากราคาที่ เกษตรกรขายได้ขึ้นอยู่กับคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการ รับซื้อนำ้านมดิบ...
38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน ที่ผ่านมา ก็ได้มีการประชุมคณะกรรมาธิการ ถึง 2 ครั้ง พร้อมทั้งได้มีการลงพื้นที่เก็บข้อมูล ศึกษาข้อเท็จจริง และได้ตั้งข้อสังเกตว่า การที่ อ.ส.ค.อนุญาตให้เอกชนใช้เครื่องหมาย การค้า “ไทย-เดนมาร์ค” จะเข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ และหาก มีการดำาเนินการ อ.ส.ค.ได้มีแผนการพัฒนาธุรกิจในอนาคตอย่างไร อีกทั้งการที่ อ.ส.ค.เปิดรับเอกชนเพียงรายเดียวเข้ามาดำาเนินกิจการ โดยไม่มีการเปิดประมูล ทำาให้ไม่เกิดความยุติธรรมโปร่งใสในเรื่องการ จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบราชการ และยังพบว่ามีความไม่ชัดเจนของ โครงการดังกล่าวนี้ในอีกหลาย ๆ ด้าน คณะกรรมาธิการฯ จึงอยาก ให้มีการชะลอการดำาเนินการโครงการนี้ไว้ก่อน และส่งเรื่องให้ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะกำากับดูแล อ.ส.ค. รวมถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี เพื่อพิจารณาให้รอบคอบก่อนตัดสินใจดำาเนินการใด ๆ ออกไป “หาก อ.ส.ค.จะดำาเนินการโครงการดังกล่าว จะต้องคำานึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศ และผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นสำาคัญ โดยเฉพาะ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ซึ่งเป็นอาชีพพระราชทาน เป็นจำานวนมาก กรรมาธิการกิจการศาลฯ สภาผู้แทนราษฎร ลงพื้นที่ติดตาม ปัญหาการอนุญาตให้บริษัทเอกชนใช้เครื่องหมายการค้าตรานมไทยเดนมาร์ค นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ ประธานคณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน สภาผู้แทนราษฎร พร้อมคณะ ลงพื้นที่เพื่อร่วมประชุมติดตามปัญหา การอนุญาตให้บริษัทเอกชนใช้เครื่องหมายการค้าตรานมไทยเดนมาร์ค ตามที่มีสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกิจการ โคนมแห่งประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) ร้องเรียน โดยมีผู้แทน อ.ส.ค. คณะกรรมการสหภาพแรงงานวิสาหกิจ อ.ส.ค.และผู้แทนเกษตรกร ผู้เลี้ยงโคม เข้าร่วมประชุมหารือ ณ องค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ เปิดเผยภายหลังการประชุมหารือว่า ภายหลังจากคณะกรรมการธิการฯ ได้รับหนังสือ ขอคัดค้านการ อนุญาตนำาเครื่องหมายการค้า “ไทย-เดนมาร์ค” ให้เอกชนใช้ในการ จำาหน่ายผลิตภัณฑ์นมผงสำาหรับทารก จากสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) กมธ.กิจการศาลฯ ติดตามปัญหาเอกชนใช้แบรนด์ “ไทย-เดนมาร์ค”
38 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน ที่ผ่านมา ก็ได้มีการประชุมคณะกรรมาธิการ ถึง 2 ครั้ง พร้อมทั้งได้มีการลงพื้นที่เก็บข้อมูล ศึกษาข้อเท็จจริง และได้ตั้งข้อสังเกตว่า การที่ อ.ส.ค.อนุญาตให้เอกชนใช้เครื่องหมาย การค้า “ไทย-เดนมาร์ค” จะเข้าข่าย พ.ร.บ.ร่วมทุนหรือไม่ และหาก มีการดำาเนินการ อ.ส.ค.ได้มีแผนการพัฒนาธุรกิจในอนาคตอย่างไร อีกทั้งการที่ อ.ส.ค.เปิดรับเอกชนเพียงรายเดียวเข้ามาดำาเนินกิจการ โดยไม่มีการเปิดประมูล ทำาให้ไม่เกิดความยุติธรรมโปร่งใสในเรื่องการ จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบราชการ และยังพบว่ามีความไม่ชัดเจนของ โครงการดังกล่าวนี้ในอีกหลาย ๆ ด้าน คณะกรรมาธิการฯ จึงอยาก ให้มีการชะลอการดำาเนินการโครงการนี้ไว้ก่อน และส่งเรื่องให้ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะกำากับดูแล อ.ส.ค. รวมถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี เพื่อพิจารณาให้รอบคอบก่อนตัดสินใจดำาเนินการใด ๆ ออกไป “หาก อ.ส.ค.จะดำาเนินการโครงการดังกล่าว จะต้องคำานึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศ และผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นสำาคัญ โดยเฉพาะ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ซึ่งเป็นอาชีพพระราชทาน เป็นจำานวนมาก กรรมาธิการกิจการศาลฯ สภาผู้แทนราษฎร ลงพื้นที่ติดตาม ปัญหาการอนุญาตให้บริษัทเอกชนใช้เครื่องหมายการค้าตรานมไทยเดนมาร์ค นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ ประธานคณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน สภาผู้แทนราษฎร พร้อมคณะ ลงพื้นที่เพื่อร่วมประชุมติดตามปัญหา การอนุญาตให้บริษัทเอกชนใช้เครื่องหมายการค้าตรานมไทยเดนมาร์ค ตามที่มีสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกิจการ โคนมแห่งประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) ร้องเรียน โดยมีผู้แทน อ.ส.ค. คณะกรรมการสหภาพแรงงานวิสาหกิจ อ.ส.ค.และผู้แทนเกษตรกร ผู้เลี้ยงโคม เข้าร่วมประชุมหารือ ณ องค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ เปิดเผยภายหลังการประชุมหารือว่า ภายหลังจากคณะกรรมการธิการฯ ได้รับหนังสือ ขอคัดค้านการ อนุญาตนำาเครื่องหมายการค้า “ไทย-เดนมาร์ค” ให้เอกชนใช้ในการ จำาหน่ายผลิตภัณฑ์นมผงสำาหรับทารก จากสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) กมธ.กิจการศาลฯ ติดตามปัญหาเอกชนใช้แบรนด์ “ไทย-เดนมาร์ค” สัตว์เศรษฐกิจ 39 อีกทั้งมองว่า การดำาเนินการเพื่ออนุญาตให้บริษัทเอกชนต่างชาติ ใช้แบรนด์ “ไทย-เดนมาร์ค” ไม่อยู่ในอำานาจ ของ อ.ส.ค. ตาม พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง อ.ส.ค. ซึ่ง อ.ส.ค. ควรทำาหน้าที่ในฐานะที่ เป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นกลไกสำาคัญในการดูแลปกป้องผลประโยชน์ ของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมไทยเป็นหลัก พัฒนาศักยภาพและยกระดับ การเลี้ยงโคนมของเกษตรกรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขัน เสริมสร้างความมั่นคงในอาชีพให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม “ภายหลังจากที่สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริม กิจการโคนมแห่งประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) ได้ยื่นข้อเรียกร้องเพื่อ คัดค้านการดำาเนินโครงการดังกล่าวต่อ คณะกรรมาธิการ กิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน สภาผู้แทนราษฎร จนกระทั่งมีผลให้ชะลอการดำาเนินโครงการนี้ออก ไปก่อน ทางสหภาพฯ มีความพอใจในระดับหนึ่ง แต่หากจะให้พอใจ สูงสุดคือควรยุติโครงการนี้ และเรียกร้องให้ฝ่ายบริหารหันไปให้ความ สำาคัญการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรเป็นหลัก เพราะ มองว่าการดำาเนินโครงการดังกล่าวไม่ได้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกร หลังจากนี้ ทางสหภาพฯ จะติดตามเรื่องนี้ให้ถึงที่สุด เพื่อปกป้องผล ประโยชน์ของ อ.ส.ค.และเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม ผู้สืบสานอาชีพ พระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จนทำาให้เกษตรกรชาวไทยใน วันนี้ได้มีอาชีพ มีรายได้ที่มั่นคงเลี้ยงครอบครัวได้ ช่วยสร้างรายได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน ได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าอย่างนมโคอีกด้วย” ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่ง ประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) กล่าว นายสุกิจ สิงห์กลาง เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม กล่าวว่า ต้องขอ ขอบคุณคณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน สภาผู้แทนราษฎรและ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่ง ประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) ที่ช่วยออกมาปกป้องอาชีพการเลี้ยงโคนม และเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม เพราะหาก อ.ส.ค.มีการดำาเนินโครงการ ดังกล่าว ย่อมได้รับผลกระทบโดยตรงอย่างแน่นอน อาจจะต้องลด ขนาดฟาร์มและถึงขั้นอาจจะต้องเลิกเลี้ยงโคนมได้ ดังนั้น อ.ส.ค.ควร เข้ามาพัฒนาอาชีพเลี้ยงโคนมให้เกษตรกร และดำาเนินการรับซื้อ น้ำานมดิบจากเกษตรกร ซึ่งเป็นนมโคสดแท้ 100% ไปผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำานมดิบมีราคาเพิ่มขึ้น เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ผู้บริโภคก็จะได้ดื่มนมโคแท้ 100% ซึ่งมีประโยชน์กว่านมผงมากมาย โดยเฉพาะนมผงที่ต้องนำาเข้าจาก ต่างประเทศ เพราะไม่ได้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมใน ประเทศเลย... ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ที่จำาเป็นต้องพึ่งพา อ.ส.ค.ในการประกอบอาชีพเป็นหลัก หากมี ข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ย่อมส่งผลกระทบทั้งระบบ จึงจำาเป็นต้อง พิจารณาให้รอบคอบ เพื่อไม่ให้เกษตรกรได้รับผลกระทบในภายหลัง” นายจิรายุ กล่าว นางสาวณัฐภร แก้วประทุม ประธานสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (สร.อ.ส.ค.) กล่าวเพิ่มเติมว่า การที่ อ.ส.ค.จะอนุญาตให้บริษัทชั้นนำาในประเทศ ออสเตรเลียใช้แบรนด์ “ไทย-เดนมาร์ค” เพื่อจำาหน่ายนมผงสูตร 2 ที่จะนำาเข้ามานี้ จะมีการเสริมสารอาหารต่าง ๆ (Fortified) เช่น โปรตีน แคลเซียมและฟอสฟอรัส สำาหรับเด็กเล็กอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี ประเด็นดังกล่าวนี้ กำาลังเป็นที่ถกเถียงกันในวงการโคนมว่า ทาง อ.ส.ค.คิดได้อย่างไรกับแนวทางนี้ เพราะใคร ๆ ต่างก็รู้ดีว่า บทบาท หน้าที่และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง อ.ส.ค.นั้นคืออะไร การดำาเนิน การเพื่ออนุญาตให้บริษัทเอกชนต่างชาติใช้แบรนด์ “ไทย-เดนมาร์ค” จึงไม่สอดรับกับวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง อ.ส.ค. อีกทั้ง เครื่องหมายการค้าตรา “ไทย-เดนมาร์ค” เป็นสินทรัพย์ของ อ.ส ค. ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจของไทย การดำาเนินการเพื่ออนุญาตให้บริษัทเอกชนต่างชาติใช้แบรนด์ “ไทย-เดนมาร์ค” จึงอาจเข้าข่ายการเอื้อประโยชน์ให้กับบริษัทนมผง เอกชนข้ามชาติ จนส่งผลกระทบต่อตลาดนมในภาพรวมของ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมและสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมของไทย และอ.ส.ค.
40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ทั้งนี้จังหวัดเพชรบุรีเป็นจังหวัดที่มีการเลี้ยงโคขุน โคนม และ โคพื้นเมืองมากที่สุดจังหวัดหนึ่งของประเทศ รวมทั้งวัวลานกีฬา ประเพณีวิถีไทยถือเป็นฐานอาชีพสร้างรายได้สำาคัญของเกษตรกร จึงมีความพร้อมที่จะเดินหน้าต่อยอดยกระดับการพัฒนาแบบครบ วงจร ตั้งแต่ พันธุ์โค อาหารสัตว์มาตรฐานฟาร์มการปฏิบัติทางการ เกษตรที่ดี(GAP) มาตรฐานฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการ เลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (GFM) มาตรฐานฟาร์มปลอดโรคปากและ เท้าเปื่อย (FMD) คอกกักมาตรฐานเอกชนสำาหรับการนำาเข้า การ ส่งออก และปลอดโรค FMD การแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม การสร้าง แบรนด์การตลาดแบบออฟไลน์และออนไลน์และการเจรจาการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ เช่น กรณีของวิสาหกิจชุมชนเกษตรกร ผู้เลี้ยงโคและพรีเมี่ยมบี๊ฟ (Premium Beef) สามารถแปรรูป ผลิตภัณฑ์จำาหน่ายได้มากกว่า 30 ผลิตภัณฑ์ เช่น สันนอก สเต็ก แช่แข็ง ลิ้นแองกัสสไลด์แช่แข็ง เนื้อหมักกระเทียมพริกไทยเสียบไม้ เนื้อแดดเดียวท่าแร้ง เนื้อตุ๋นสมุนไพร ลูกชิ้นเนื้อ เป็นต้น ตลอดจนการส่งออกโคไปต่างประเทศสู่ตลาดมาเลเซีย เวียดนาม และจีนซึ่งจะได้เจรจากับประเทศลูกค้ารวมทั้งการส่งเสริม การค้าการลงทุนกับซาอุดีอาระเบียและดูไบในโครงการเพชรบุรี ฟู้ดวัลเลย์ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยที่มีมติเห็นชอบสนับสนุนเมื่อเร็ว ๆ นี้ รวมพลคนปศุสัตว์ตั้งทีมพัฒนาโคขุน โคนม โคพื้นเมืองและ วัวลานแบบครบวงจรสู่มาตรฐานใหม่ พร้อมดึงโครงการเพชรบุรี ฟู้ดวัลเลย์ศูนย์AIC และคณะทำางานฮาลาลเสริมทัพเพิ่มการแปรรูป และส่งออกเพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรอย่างยั่งยืนภายใต้ “5 ยุทธศาสตร์ เฉลิมชัย” นายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมการ พัฒนาโคขุน โคนม โคพื้นเมือง และวัวลานกีฬาประเพณีวิถีไทย ครั้งที่ 1/2565 ว่า การจัดระดมพลคนปศุสัตว์กลุ่มโคโดยผนึกความ ร่วมมือทุกภาคส่วนมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการปศุสัตว์อย่างเป็น ระบบครบวงจรและยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้นอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาอาชีพปศุสัตว์สู่เกษตรมูลค่าสูงตามหมุดหมายใหม่ ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ภายใต้ “5 ยุทธศาสตร์ของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์” และแนวทาง”เพชรบุรีโมเดล” นับเป็นก้าวใหม่ที่จะสร้างอนาคตที่ดีกว่าให้กับเกษตรกรและ ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อุปสงค์และอุปทาน หากมีการ ยกระดับการพัฒนาจะเพิ่มศักยภาพเพิ่มโอกาสให้เกษตรกรมากขึ้น และเพิ่มช่องทางใหม่ๆ ให้กับเพชรบุรีซึ่งเลี้ยงและจำาหน่ายโคกว่า 140,000 - 150,000 ตัวต่อปีโดยจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจาก ทุกภาคส่วนเป็นกลไกการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นระบบต่อไป เดินหน้าตั้งทีมพัฒนา โคขุน-โคนม-โคพื้นเมือง-วัวลานครบวงจร
40 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ทั้งนี้จังหวัดเพชรบุรีเป็นจังหวัดที่มีการเลี้ยงโคขุน โคนม และ โคพื้นเมืองมากที่สุดจังหวัดหนึ่งของประเทศ รวมทั้งวัวลานกีฬา ประเพณีวิถีไทยถือเป็นฐานอาชีพสร้างรายได้สำาคัญของเกษตรกร จึงมีความพร้อมที่จะเดินหน้าต่อยอดยกระดับการพัฒนาแบบครบ วงจร ตั้งแต่ พันธุ์โค อาหารสัตว์มาตรฐานฟาร์มการปฏิบัติทางการ เกษตรที่ดี(GAP) มาตรฐานฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการ เลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (GFM) มาตรฐานฟาร์มปลอดโรคปากและ เท้าเปื่อย (FMD) คอกกักมาตรฐานเอกชนสำาหรับการนำาเข้า การ ส่งออก และปลอดโรค FMD การแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม การสร้าง แบรนด์การตลาดแบบออฟไลน์และออนไลน์และการเจรจาการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ เช่น กรณีของวิสาหกิจชุมชนเกษตรกร ผู้เลี้ยงโคและพรีเมี่ยมบี๊ฟ (Premium Beef) สามารถแปรรูป ผลิตภัณฑ์จำาหน่ายได้มากกว่า 30 ผลิตภัณฑ์ เช่น สันนอก สเต็ก แช่แข็ง ลิ้นแองกัสสไลด์แช่แข็ง เนื้อหมักกระเทียมพริกไทยเสียบไม้ เนื้อแดดเดียวท่าแร้ง เนื้อตุ๋นสมุนไพร ลูกชิ้นเนื้อ เป็นต้น ตลอดจนการส่งออกโคไปต่างประเทศสู่ตลาดมาเลเซีย เวียดนาม และจีนซึ่งจะได้เจรจากับประเทศลูกค้ารวมทั้งการส่งเสริม การค้าการลงทุนกับซาอุดีอาระเบียและดูไบในโครงการเพชรบุรี ฟู้ดวัลเลย์ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยที่มีมติเห็นชอบสนับสนุนเมื่อเร็ว ๆ นี้ รวมพลคนปศุสัตว์ตั้งทีมพัฒนาโคขุน โคนม โคพื้นเมืองและ วัวลานแบบครบวงจรสู่มาตรฐานใหม่ พร้อมดึงโครงการเพชรบุรี ฟู้ดวัลเลย์ศูนย์AIC และคณะทำางานฮาลาลเสริมทัพเพิ่มการแปรรูป และส่งออกเพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรอย่างยั่งยืนภายใต้ “5 ยุทธศาสตร์ เฉลิมชัย” นายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมการ พัฒนาโคขุน โคนม โคพื้นเมือง และวัวลานกีฬาประเพณีวิถีไทย ครั้งที่ 1/2565 ว่า การจัดระดมพลคนปศุสัตว์กลุ่มโคโดยผนึกความ ร่วมมือทุกภาคส่วนมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการปศุสัตว์อย่างเป็น ระบบครบวงจรและยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้นอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาอาชีพปศุสัตว์สู่เกษตรมูลค่าสูงตามหมุดหมายใหม่ ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ภายใต้ “5 ยุทธศาสตร์ของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์” และแนวทาง”เพชรบุรีโมเดล” นับเป็นก้าวใหม่ที่จะสร้างอนาคตที่ดีกว่าให้กับเกษตรกรและ ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อุปสงค์และอุปทาน หากมีการ ยกระดับการพัฒนาจะเพิ่มศักยภาพเพิ่มโอกาสให้เกษตรกรมากขึ้น และเพิ่มช่องทางใหม่ๆ ให้กับเพชรบุรีซึ่งเลี้ยงและจำาหน่ายโคกว่า 140,000 - 150,000 ตัวต่อปีโดยจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจาก ทุกภาคส่วนเป็นกลไกการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นระบบต่อไป เดินหน้าตั้งทีมพัฒนา โคขุน-โคนม-โคพื้นเมือง-วัวลานครบวงจร สัตว์เศรษฐกิจ 41 ซึ่งเป็นอัตตลักษณ์ของเพชรบุรีการส่งเสริมประเพณีการประกวดและ การแข่งขันวัวลาน โดยจะสนับสนุนให้จดทะเบียนเป็นสมาคมกีฬา และการพัฒนาสนามกีฬาแข่งวัวลานที่เป็นมาตรฐาน 1 อำาเภอ 1 สนามแข่งโดยศึกษาแนวทางของสนามแข่งม้าที่มีระเบียบและ กฎหมายรองรับและจะเปิดให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ เข้าชมวัวลานกีฬาประเพณีวิถีไทยในรูปแบบเกษตรท่องเที่ยวเข่น เดียวกับสนามกีฬาวัวกระทิงของประเทศสเปนและสนามม้าแข่งใน ไทยและในประเทศอังกฤษ รวมทั้งการส่งเสริมวัวเทียมเกวียน การ ประกวดพันธ์ุวัวและวัวสวยงาม โดยมีศูนย์AICจังหวัดเพชรบุรีและ หน่วยงานเกี่ยวข้องให้การสนับสนุนส่งเสริมด้านการวิจัยพัฒนาและ ต่อยอด ปัจจุบันมีจำานวนเกษตรกร 10,472 ราย โค 169,865 ตัว “จะมีการประชุมครั้งที่2ในเดือนหน้าเพื่อเร่งเดินหน้สโครงการ นี้ให้เป็นรูปธรรมโดยเร็วที่สุดโดยนำาร่องจังหวัดแรกก่อนขยายไปยัง ภูมิภาคอื่น ๆ โดยเร็วต่อไปโดยเฉพาะในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันตก และวันที่ 24 พ.ย.นี้สภาอุตสาหกรรมภาคกลาง 17 จังหวัดได้เชิญ ตนไปประชุมหารือความร่วมมือในโครงการเพชรบุรีฟู้ดวัลเลย์และ จะนำาเสนอโครงการพัฒนาปศุสัตว์แบบครบวงจรต่อที่ประชุมด้วย เพื่อพิ่มโอกาสของการลงทุนและการค้าให้กับจังหวัดเพชรบุรีและ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคโดยนำาร่องจังหวัดแรกก่อนขยายไปยังภูมิภาค อื่น ๆ โดยเร็วต่อไปโดยเฉพาะในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันตก” นาย อลงกรณ์กล่าว ในการประชุมครั้ง มีนายสมชัย เลิศประสิทธิพันธ์ รองผู้ว่า ราชการจังหวัดเพชรบุรีนายสัตวแพทย์อนันต์ฤกษ์ดีคณะที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายยุษฐิระ บัณฑกุล ปศุสัตว์เขต 7 ผู้แทนกรมปศุสัตว์ นายกรรัตน์ คุ้มกระ ปศุสัตว์ จังหวัดเพชรบุรีนางสาวจินตะณา ปิ่นสุภา พาณิชย์จังหวัดเพชรบุรี ว่าที่ ร.ต. อาณัติหุ่นหลา เกษตรจังหวัดเพชรบุรีนายเจษฎา สาระ ผู้อำานวยการสถานีพัฒนาที่ดินเพชรบุรี นายยุทธนา แก้วน้อย สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีนางอาทิตา กลิ่นสุวรรณ อุตสาหกรรม จังหวัดเพชรบุรีนายธีระ จันทร์แก้ว ผู้อำานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนา อาหารสัตว์เพชรบุรีนางสาวสุกัญญา มีนา ประธานสมาพันธ์SME ไทย จังหวัดเพชรบุรีนายลำาภู เสือสอาด ประธานสหกรณ์ผู้เลี้ยง โคนมชะอำา-ห้วยทราย นายวิชิต จาดศรีประธานสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม ไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ นายทินกร ศิริสมบัติเกษตรกรดีเด่น แห่งชาติด้านโคนม นายทาบ พึ่งโพธิ์ทอง กลุ่มแปลงใหญ่โคเนื้อ หนองขนาน นายคำารณ ศรีแจ้กลุ่มแปลงใหญ่วิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยง โคเนื้อพุสวรรค์ ผู้แทนเครือข่ายวัวลาน ผู้แทนวิสาหกิจชุมชน เกษตรกรผู้เลี้ยงโค นายมานพ โตการค้า ผู้บริหารโครงการเพชรบุรี ฟู้ดวัลเลย์ ผู้แทนศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (ศูนย์ AIC เพชรบุรี) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผู้แทนสภาเกษตรกร แห่งชาติผู้แทนหอการค้า ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุมสำานักงานเกษตรและ สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี... ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ สำาหรับแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ โคขุน มุ่งการพัฒนาระบบมาตรฐานฟาร์ม โดยพัฒนากลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงโคเนื้อโคขุน เข้าสู่ระบบมาตรฐาน ฟาร์ม (GAP) ฟาร์มที่มีระบบป้องกันโรค (GFM) และเป็นแหล่ง ศึกษาเรียนรู้ เป็นฟาร์มตัวอย่างให้เกษตรกรและประชาชนที่สนใจ ส่งเสริมรูปแบบการเลี้ยงที่ทันสมัย ประหยัด ลดต้นทุนการผลิต และ การขยายตลาด สนับสนุนและยกระดับฟาร์มให้มีรูปแบบการผลิตเนื้อ โคขุนที่มีคุณภาพ เพื่อส่งตลาดทั่วไปและตลาดพรีเมี่ยม เป็นการเพิ่ม มูลค่าสินค้า ส่งเสริมให้มีตลาดกลางปศุสัตว์โค เพื่อเพิ่มช่องทางการ ซื้อขายให้เกษตรกร ทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์ ส่งเสริมการ แปรรูปเนื้อโค สร้างแบรนด์ผลิตภัณฑ์เนื้อของเพชรบุรี รวมทั้ง สนับสนุนให้มีการเลี้ยงโคไทยวากิวโดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารีศูนย์ AIC จังหวัดนครราชสีมาสนับสนุน ทั้งนี้สำานักงาน ปศุสัตว์จังหวัดเพชรบุรีรายงานว่า ปัจจุบันมีจำานวนเกษตรกร 5,571 ราย โค 80,717 ตัว ส่วนแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม มี การพัฒนาระบบมาตรฐานฟาร์ม พัฒนากลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม เข้าสู่ระบบมาตรฐานฟาร์ม GAP ฟาร์มปลอดโรค ส่งเสริมเกษตรกร โคนมรุ่นใหม่ เพื่อปรับปรุงรูปแบบ เทคนิคการเลี้ยงที่ทันสมัย เช่น การปรับปรุงพันธุ์การขุนโคนมเพศผู้ ในด้านการส่งเสริมการตลาด มีการส่งเสริมการแปรรูป เพิ่มชนิดผลิตภัณฑ์เช่น เนย โยเกิร์ต ชีส และการจำาหน่ายผลิตภัณฑ์นมของเกษตรกรและผลักดันเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว เชิงเกษตร ส่งเสริมให้มีการเพิ่มแนวทางการเลี้ยงโคนม นอกจากผลิตน้ำานมโคแล้วจะมีการผลิตโคขุนจากโคนมด้วย ทั้งนี้จะ ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยศูนย์ความเป็นเลิศโคนมและเป็นศูนย์AIC จังหวัดสระบุรีมาสนับสนุนด้วย ปัจจุบันมีจำานวนเกษตรกร 370 ราย โค 13,840 ตัว ทางด้านแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรผู้เลี้ยงโคพื้น เมือง มุ่งการจัดตั้งกลุ่มเครือข่าย ทั้งกลุ่มผู้เลี้ยงโคพื้นเมือง และกลุ่ม โคลานเพชรบุรีปศุสัตว์แปลงใหญ่ การพัฒนาการเลี้ยง และการ อนุรักษ์พันธุ์โคพื้นเมือง การขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
42 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เตรียมตัวให้พร้อมสำ�หรับก�รเข้�ร่วมง�นแสดงสินค้�และ ง�นประชุมสัมมน�ระดับโลก สำ�หรับอุตส�หกรรมปศุสัตว์และสัตว์น้ำ� ครบวงจร ยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภ�คเอเชีย กำ�หนดจัดง�นระหว่�งวันที่ 8-10 มีน�คม 2566 ณ อิมแพค เมืองทองธ�นีลงทะเบียนล่วง หน้�ได้แล้ววันนี้! VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ง�นแสดงสินค้�เพื่อก�รเจรจ�ธุรกิจ สำ�หรับอุตส�หกรรมปศุสัตว์ สัตว์น้ำ� และก�รผลิตโปรตีนจ�กสัตว์ ครบวงจรยิ่งใหญ่ที่สุดในเอเชีย ครอบคลุมตั้งแต่ก�รเลี้ยงและดูแล สุขภ�พสัตว์อ�ห�รสัตว์ก�รเพ�ะพันธุ์สัตวแพทย์ก�รแก้ปัญห� สุขภ�พสัตว์ก�รเชือดและก�รแปรรูปสัตว์เนื้อแดง สัตว์ปีก สัตว์น้ำ� ไข่ ผลิตภัณฑ์จ�กนม ฯลฯ ภ�ยในง�นจะมีก�รนำ�เสนอสินค้� เทคโนโลยีและนวัตกรรมจ�กผู้ประกอบก�รม�กกว่� 1,200 ร�ย จ�ก 120 ประเทศทั่วโลก ผู้ที่สนใจเข้�ร่วมง�นส�ม�รถลงทะเบียน ล่วงหน้�เพื่อเข้�ร่วมง�นได้แล้ววันนี้! สถานที่จัดงานที่ใหญ่ขึ้นมาพร้อมกับโอกาสทางธุรกิจที่มากขึ้น ในปี 2566/2023 ท�งผู้จัดง�นได้ตัดสินใจย้�ยสถ�นที่จัดง�น ไปยังสถ�นที่ที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งแสดงถึงก�รขย�ยตัวอย่�งต่อเนื่องของง�น VIV ASIA 2023 เปิดให้ลงทะเบียนเข้าชมงานแล้ววันนี้! แสดงสินค้� โดยเลือกจัดง�นที่ อิมแพค ช�เลนเจอร์เมืองทองธ�นี ด้วยพื้นที่ที่มีขน�ดใหญ่ ซึ่งส�ม�รถต้อนรับบริษัทและโปรไฟล์ธุรกิจ ระดับโลกได้ม�กขึ้น อันจะช่วยยกระดับประสบก�รณ์ของผู้ร่วมง�น แสดงสินค้�และผู้เข้�ชมง�นแสดงสินค้�ในรูปลักษณ์ใหม่ พร้อมสิ่ง อำ�นวยคว�มสะดวกที่ทันสมัยที่ช่วยส่งเสริมก�รพัฒน�เชิงกลยุทธ์ เพื่อยกระดับง�นแสดงสินค้�ไปอีกขั้น ง�น VIV Asia 2023 จัดขึ้นพร้อมกับง�น Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ซึ่งเป็นง�นแสดงสินค้�เพื่อก�รเจรจ�ธุรกิจสำ�หรับ ธุรกิจกระบวนก�รก�รแปรรูปเนื้อสัตว์ก�รแปรรูปอ�ห�ร บรรจุภัณฑ์ ระบบจัดก�รคว�มเย็น และก�รขนส่งอย่�งครบวงจร นับเป็นก�รจัด ครั้งแรกในเอเชีย โดยมีต้นฉบับม�จ�กง�น IFFA ซึ่งเป็นง�นแสดง สินค้�สำ�หรับอุตส�หกรรมดังกล่�วที่ใหญ่ที่สุดระดับโลก จัดโดยบริษัท Messe Frankfurt New Era Business Media Ltd. และง�น VIV Asia ที่จัดโดยบริษัท วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค และ วีเอ็นยูยุโรป ซึ่งก�รรวมตัวของสองผู้นำ�ในอุตส�หกรรมก�รจัดง�นแสดงสินค้� ส่งผลให้ง�น VIV Asia ครั้งนี้เป็นอีกง�นแสดงสินค้�ที่คนใน อุตส�หกรรมห้�มพล�ด
42 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE เตรียมตัวให้พร้อมสำ�หรับก�รเข้�ร่วมง�นแสดงสินค้�และ ง�นประชุมสัมมน�ระดับโลก สำ�หรับอุตส�หกรรมปศุสัตว์และสัตว์น้ำ� ครบวงจร ยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภ�คเอเชีย กำ�หนดจัดง�นระหว่�งวันที่ 8-10 มีน�คม 2566 ณ อิมแพค เมืองทองธ�นีลงทะเบียนล่วง หน้�ได้แล้ววันนี้! VIV Asia (วิฟ เอเชีย) ง�นแสดงสินค้�เพื่อก�รเจรจ�ธุรกิจ สำ�หรับอุตส�หกรรมปศุสัตว์ สัตว์น้ำ� และก�รผลิตโปรตีนจ�กสัตว์ ครบวงจรยิ่งใหญ่ที่สุดในเอเชีย ครอบคลุมตั้งแต่ก�รเลี้ยงและดูแล สุขภ�พสัตว์อ�ห�รสัตว์ก�รเพ�ะพันธุ์สัตวแพทย์ก�รแก้ปัญห� สุขภ�พสัตว์ก�รเชือดและก�รแปรรูปสัตว์เนื้อแดง สัตว์ปีก สัตว์น้ำ� ไข่ ผลิตภัณฑ์จ�กนม ฯลฯ ภ�ยในง�นจะมีก�รนำ�เสนอสินค้� เทคโนโลยีและนวัตกรรมจ�กผู้ประกอบก�รม�กกว่� 1,200 ร�ย จ�ก 120 ประเทศทั่วโลก ผู้ที่สนใจเข้�ร่วมง�นส�ม�รถลงทะเบียน ล่วงหน้�เพื่อเข้�ร่วมง�นได้แล้ววันนี้! สถานที่จัดงานที่ใหญ่ขึ้นมาพร้อมกับโอกาสทางธุรกิจที่มากขึ้น ในปี 2566/2023 ท�งผู้จัดง�นได้ตัดสินใจย้�ยสถ�นที่จัดง�น ไปยังสถ�นที่ที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งแสดงถึงก�รขย�ยตัวอย่�งต่อเนื่องของง�น VIV ASIA 2023 เปิดให้ลงทะเบียนเข้าชมงานแล้ววันนี้! แสดงสินค้� โดยเลือกจัดง�นที่ อิมแพค ช�เลนเจอร์เมืองทองธ�นี ด้วยพื้นที่ที่มีขน�ดใหญ่ ซึ่งส�ม�รถต้อนรับบริษัทและโปรไฟล์ธุรกิจ ระดับโลกได้ม�กขึ้น อันจะช่วยยกระดับประสบก�รณ์ของผู้ร่วมง�น แสดงสินค้�และผู้เข้�ชมง�นแสดงสินค้�ในรูปลักษณ์ใหม่ พร้อมสิ่ง อำ�นวยคว�มสะดวกที่ทันสมัยที่ช่วยส่งเสริมก�รพัฒน�เชิงกลยุทธ์ เพื่อยกระดับง�นแสดงสินค้�ไปอีกขั้น ง�น VIV Asia 2023 จัดขึ้นพร้อมกับง�น Meat Pro Asia (มีท โปร เอเชีย) ซึ่งเป็นง�นแสดงสินค้�เพื่อก�รเจรจ�ธุรกิจสำ�หรับ ธุรกิจกระบวนก�รก�รแปรรูปเนื้อสัตว์ก�รแปรรูปอ�ห�ร บรรจุภัณฑ์ ระบบจัดก�รคว�มเย็น และก�รขนส่งอย่�งครบวงจร นับเป็นก�รจัด ครั้งแรกในเอเชีย โดยมีต้นฉบับม�จ�กง�น IFFA ซึ่งเป็นง�นแสดง สินค้�สำ�หรับอุตส�หกรรมดังกล่�วที่ใหญ่ที่สุดระดับโลก จัดโดยบริษัท Messe Frankfurt New Era Business Media Ltd. และง�น VIV Asia ที่จัดโดยบริษัท วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค และ วีเอ็นยูยุโรป ซึ่งก�รรวมตัวของสองผู้นำ�ในอุตส�หกรรมก�รจัดง�นแสดงสินค้� ส่งผลให้ง�น VIV Asia ครั้งนี้เป็นอีกง�นแสดงสินค้�ที่คนใน อุตส�หกรรมห้�มพล�ด สัตว์เศรษฐกิจ 43 งานประชุมและสัมมนาในหัวข้อที่น่าสนใจ VIV Asia 2023 ทำ�หน้�ที่เป็นศูนย์กล�งในก�รนำ�เสนอและ อัพเดทข่�วส�รคว�มรู้ใหม่ผ่�นโปรแกรมสัมมน�ที่ครอบคลุมกว่� 100 หัวข้อ นำ�เสนอโดยพันธมิตรวิทย�กรรับเชิญ ผู้แสดงสินค้� และ ผู้จัดง�น โดยผู้เข้�ร่วมง�นจะได้รับฟังวิทย�กรระดับผู้เชี่ยวช�ญ ม�กกว่� 200 คนจ�กน�น�ประเทศทั่วโลก ซึ่งทำ�ให้ก�รเยี่ยมชมง�น VIV Asia 2023 สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น โดยหัวข้อง�นสัมมน�ต่�ง ๆ จะมีก�รประช�สัมพันธ์อย่�งต่อเนื่องจนถึงวันจัดง�น VIV Asia 2023 พร้อมแล้วที่จะกลับม�นำ�เสนอง�นแสดง สินค้�ที่ยิ่งใหญ่ ครบครัน สมบูรณ์และอลังก�รม�กกว่�ที่ผ่�นม� ผู้คน ในอุตส�หกรรมจะไม่ผิดหวังกับก�รรอคอยครั้งนี้ เชิญร่วมเป็น ส่วนหนึ่งของง�นเพื่อส�นต่อโอก�สท�งธุรกิจอย่�งไม่รู้จบและพบปะ กับผู้คนในอุตส�หกรรมผ่�นกิจกรรมต่�ง ๆ ของง�น ลงทะเบียน ล่วงหน้�วันนี้ลุ้นรับร�งวัลม�กม�ย เพิ่มเวล�ธุรกิจโดยไม่ต้องรอคิว หน้างาน แล้วพบกันที่ง�น VIV Asia 2023 จัดร่วมกันกับง�น Meat Pro Asia 2023 ระหว่�งวันที่ 8-10 มีน�คม 2566 ณ อิมแพ็ค ช�เลนเจอร์ 1-3 เมืองทองธ�นีสอบถ�มร�ยละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.vivasia.nl หรือโทร. 02-1116611 ต่อ 330-331 (ฝ่�ยสื่อส�ร ก�รตล�ด วีเอ็นยูฯ) เกี่ยวกับ VIV worldwide VIV (วิฟ) เป็นง�นแสดงสินค้�และง�นสัมมน�สำ�หรับ อุตส�หกรรมปศุสัตว์และสัตว์น้ำ�ระดับโลก ครอบคลุมธุรกิจตั้งแต่ ต้นน้ำ�จนถึงปล�ยน้ำ�ของห่วงโซ่อ�ห�ร เปรียบได้กับเครือข่�ยธุรกิจ ในวงก�รปศุสัตว์ที่ยิ่งใหญ่และสำ�คัญที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโลก ง�น VIV นับเวทีที่เชื่อมโยงเครือข่�ยธุรกิจ ผู้เชี่ยวช�ญ และ นักลงทุนตั้งแต่ก�รเลี้ยงปศุสัตว์จนกระทั่งก�รแปรรูปเนื้อสัตว์สำ�หรับ ก�รผลิตอ�ห�รเพื่อก�รบริโภคอย่�งครบวงจร ร�ยละเอียดเพิ่มเติม เยี่ยมชม WWW.VIV.NET ติดต่อฝ่ายสื่อสารและประชาสัมพันธ์ คุณแสงทิพ เตชะปฏิภ�ณดีผู้จัดก�รฝ่�ยสื่อส�รก�รตล�ด วีเอ็นยูฯ โทร. 02-1116611 ต่อ 330 อีเมล saengtip@vnuasiapacific.com คุณพิชช�ภ� พันธุ์มณีเจ้�หน้�ที่ฝ่�ยสื่อส�รก�รตล�ด วีเอ็นยูฯ โทร. 02-1116611 ต่อ 331 อีเมล phitchapha@vnuasiapacific.com ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ประเทศไทย พร้อมต้อนรับนักเดินทางจากนานาชาติอย่างเต็ม รูปแบบ สำ�หรับกฏระเบียบด้�นก�รเดินท�งระหว่�งประเทศในปัจจุบัน ผู้เดินท�งส�ม�รถเข้�ประเทศไทยได้โดยไม่จำ�เป็นต้องแสดงหลักฐ�น ก�รฉีดวัคซีนหรือผลก�รตรวจห�เชื้อโควิด-19 อีกต่อไป และไม่มี ม�ตรก�รกักตัวใดใด ซึ่งส่งผลในนักเดินท�งส�ม�รถเข้�ประเทศได้ อย่�งเสรี อำ�นวยคว�มสะดวกอย่�งยิ่งสำ�หรับผู้เดินท�งในก�ร ว�งแผนก�รเยี่ยมชมง�นแสดงสินค้�และเตรียมพร้อมในก�รกลับม� ส�นต่อธุรกิจอีกครั้ง การบริการพิเศษและสิทธิประโยชน์เพื่อผู้เข้าร่วมงาน สำ�หรับง�น VIV Asia 2023 ท�งผู้จัดง�นได้เตรียมก�รบริก�ร ต่�ง ๆ เพื่ออำ�นวยคว�มสะดวกและเพิ่มพูนประสบก�รณ์ในก�ร เดินท�งที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้�ร่วมง�นของเร� 1.) บริก�รรถรับส่งฟรีจ�กจุดรับส่งใจกล�งเมืองจนถึงสถ�นที่ จัดง�น ร�ยละเอียดเพิ่มเติมของเส้นท�งก�รเดินท�ง ตลอดจนก�ร จองล่วงหน้�จะประก�ศใน www.vivasia.nl 2.) ส�ยก�รบินพันธมิตร ท�งผู้จัดฯ ได้รับคว�มร่วมมือจ�ก ส�ยก�รบินน�น�ช�ติเพื่อนำ�เสนอสิทธิประโยชน์ให้กับนักเดินท�ง ผู้ที่สนใจส�ม�รถเลือกใช้ส�ยก�รบินพันธมิตรของเร�เพื่อได้รับร�ค� ที่ดีที่สุดและส่วนลดพิเศษ ข้อมูลเพิ่มเติมติดต�มได้ท�งเว็บไซต์ www.vivasia.nl
44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สมาคมกุ้งไทย ชี้ผลผลิตกุ้งปี65 ไม่ตามเป้า ได้2.8 แสน ตัน เหตุยังแก้ปัญหาโรคกุ้งไม่ได้เสนอทุกพรรคการเมืองต้องกำาหนด นโยบายพลิกฟื้นอุตฯกุ้งของประเทศ สู้ศึกเลือกตั้งทวงคืนโอกาส รายได้ส่งออก 5 แสนล้านบาท นายเอกพจน์ ยอดพินิจ นายกสมาคมกุ้งไทย นำาทีมคณะ กรรมการบริหารสมาคมฯ ประกอบด้วย นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคมฯ และประธานที่ปรึกษาชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่ นางสาวพัชรินทร์จินดาพรรณ นายกสมาคมกุ้งตะวันออกไทย และ เลขาธิการสมาคมกุ้งไทย นายพิชญพันธุ์ สลิลปราโมทย์กรรมการ บริหารสมาคมกุ้งไทย และประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานีและ นายปรีชา สุขเกษม กรรมการบริหารสมาคม เปิดเผยถึงสถานการณ์ กุ้งของไทย ปี 2565 ว่า ผลผลิตกุ้งเลี้ยงปี 2565 โดยรวมอยู่ที่ 280,000 ตัน เท่ากับปีที่ผ่านมา เนื่องจากยังคงเผชิญปัญหาเรื่องโรค และสภาพอากาศไม่อำานวย เตรียมยื่นหนังสือเรียกร้องทุกพรรค การเมืองที่อาสามาเป็นรัฐบาลในการเลือกตั้งที่จะมาถึง กำาหนด นโยบายเรื่องกุ้งให้ชัดเจน เน้นแก้ปัญหาโรค เพิ่มผลผลิต สร้าง รายได้จากการส่งออก นำาเงินเข้าประเทศ สถานการณ์การผลิตกุ้งของไทยปีนี้(ปี2565) คาดจะผลิตกุ้ง ได้ประมาณ 280,000 ตัน เท่ากับปีที่แล้ว เป็นผลผลิตกุ้งจาก ส.กุ้งไทย แจงโรครุมเร้า ทำ�ผลผลิตไม่ได้ต�มเป้� 2.8 แสนตัน ภาคใต้ตอนบน ร้อยละ 32 จากภาคตะวันออก ร้อยละ 25 ภาคใต้ ตอนล่างฝั่งอันดามัน ร้อยละ 21 และ จากภาคกลาง ร้อยละ 12 ภาคใต้ตอนล่างฝั่งอ่าวไทย ร้อยละ 10 ส่วนผลผลิตกุ้งทั่วโลกคาดว่า จะอยู่ที่ประมาณ 4.8 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11 โดยประเทศใน กลุ่มอเมริกากลาง - อเมริกาใต้ผลิตกุ้งได้เพิ่มขึ้นมาก เมื่อเทียบกับ ปีที่แล้วและปีที่ผ่าน ๆ มา โดยเฉพาะ เอกวาดอร์ขณะที่ประเทศ ทางเอเชีย ได้แก่ เวียดนาม ผลิตกุ้งได้ลดลง อินเดียเพิ่มขึ้นเล็กน้อย อินโดนีเซียเพิ่มขึ้น ส่วนจีนผลิตกุ้งได้เพิ่มขึ้นหลังมีการเลี้ยงกุ้งกุลาดำา มากขึ้น เป็นต้น ส่วนการส่งออกกุ้งเดือน ม.ค. - ต.ค. ปีนี้ปริมาณ 122,208 ตัน มูลค่า 42,812 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2564 ที่ส่งออกปริมาณ 128,758 ตัน มูลค่า 39,251 ล้านบาท ปริมาณลดลง ร้อยละ 5 แต่มูลค่า เพิ่มขึ้น ร้อยละ 9 นายกสมาคม กุ้งไทย กล่าว และคาดการณ์ว่า ไทยจะผลิตกุ้งได้ 300,000 ตัน ในปี2566 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 7) นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคมกุ้งไทย และประธานที่ ปรึกษาชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่ กล่าวถึงสถานการณ์การเลี้ยงกุ้ง ภาคใต้ตอนล่างฝั่งอันดามันว่า ผลผลิตปี2565 คาดการณ์ว่ามีผลผลิต ประมาณ 58,200 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 2 พบ
44 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สมาคมกุ้งไทย ชี้ผลผลิตกุ้งปี65 ไม่ตามเป้า ได้2.8 แสน ตัน เหตุยังแก้ปัญหาโรคกุ้งไม่ได้เสนอทุกพรรคการเมืองต้องกำาหนด นโยบายพลิกฟื้นอุตฯกุ้งของประเทศ สู้ศึกเลือกตั้งทวงคืนโอกาส รายได้ส่งออก 5 แสนล้านบาท นายเอกพจน์ ยอดพินิจ นายกสมาคมกุ้งไทย นำาทีมคณะ กรรมการบริหารสมาคมฯ ประกอบด้วย นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคมฯ และประธานที่ปรึกษาชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่ นางสาวพัชรินทร์จินดาพรรณ นายกสมาคมกุ้งตะวันออกไทย และ เลขาธิการสมาคมกุ้งไทย นายพิชญพันธุ์ สลิลปราโมทย์กรรมการ บริหารสมาคมกุ้งไทย และประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานีและ นายปรีชา สุขเกษม กรรมการบริหารสมาคม เปิดเผยถึงสถานการณ์ กุ้งของไทย ปี 2565 ว่า ผลผลิตกุ้งเลี้ยงปี 2565 โดยรวมอยู่ที่ 280,000 ตัน เท่ากับปีที่ผ่านมา เนื่องจากยังคงเผชิญปัญหาเรื่องโรค และสภาพอากาศไม่อำานวย เตรียมยื่นหนังสือเรียกร้องทุกพรรค การเมืองที่อาสามาเป็นรัฐบาลในการเลือกตั้งที่จะมาถึง กำาหนด นโยบายเรื่องกุ้งให้ชัดเจน เน้นแก้ปัญหาโรค เพิ่มผลผลิต สร้าง รายได้จากการส่งออก นำาเงินเข้าประเทศ สถานการณ์การผลิตกุ้งของไทยปีนี้(ปี2565) คาดจะผลิตกุ้ง ได้ประมาณ 280,000 ตัน เท่ากับปีที่แล้ว เป็นผลผลิตกุ้งจาก ส.กุ้งไทย แจงโรครุมเร้า ทำ�ผลผลิตไม่ได้ต�มเป้� 2.8 แสนตัน ภาคใต้ตอนบน ร้อยละ 32 จากภาคตะวันออก ร้อยละ 25 ภาคใต้ ตอนล่างฝั่งอันดามัน ร้อยละ 21 และ จากภาคกลาง ร้อยละ 12 ภาคใต้ตอนล่างฝั่งอ่าวไทย ร้อยละ 10 ส่วนผลผลิตกุ้งทั่วโลกคาดว่า จะอยู่ที่ประมาณ 4.8 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11 โดยประเทศใน กลุ่มอเมริกากลาง - อเมริกาใต้ผลิตกุ้งได้เพิ่มขึ้นมาก เมื่อเทียบกับ ปีที่แล้วและปีที่ผ่าน ๆ มา โดยเฉพาะ เอกวาดอร์ขณะที่ประเทศ ทางเอเชีย ได้แก่ เวียดนาม ผลิตกุ้งได้ลดลง อินเดียเพิ่มขึ้นเล็กน้อย อินโดนีเซียเพิ่มขึ้น ส่วนจีนผลิตกุ้งได้เพิ่มขึ้นหลังมีการเลี้ยงกุ้งกุลาดำา มากขึ้น เป็นต้น ส่วนการส่งออกกุ้งเดือน ม.ค. - ต.ค. ปีนี้ปริมาณ 122,208 ตัน มูลค่า 42,812 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2564 ที่ส่งออกปริมาณ 128,758 ตัน มูลค่า 39,251 ล้านบาท ปริมาณลดลง ร้อยละ 5 แต่มูลค่า เพิ่มขึ้น ร้อยละ 9 นายกสมาคม กุ้งไทย กล่าว และคาดการณ์ว่า ไทยจะผลิตกุ้งได้ 300,000 ตัน ในปี2566 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 7) นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคมกุ้งไทย และประธานที่ ปรึกษาชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่ กล่าวถึงสถานการณ์การเลี้ยงกุ้ง ภาคใต้ตอนล่างฝั่งอันดามันว่า ผลผลิตปี2565 คาดการณ์ว่ามีผลผลิต ประมาณ 58,200 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 2 พบ สัตว์เศรษฐกิจ 45 นายพิชญพันธุ์สลิลปราโมทย์กรรมการบริหารสมาคม และ ประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานีกล่าวว่า ผลผลิตกุ้งปี 2565 ในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนประมาณ 89,402 ตัน ไม่เปลี่ยนแปลงจาก ปีที่ผ่านมา โดยช่วงต้นปีเกษตรกรลงกุ้งอย่างต่อเนื่องเนื่องจากราคา กุ้งดี อย่างไรก็ตาม ช่วงต้นปีพบความเสียหายจากโรคตัวแดง ดวงขาว สภาพอากาศที่แปรปรวนและปริมาณฝนที่เพิ่มขึ้น ส่งผล ให้มีความเสียหายจากโรคขี้ขาว ทำาให้เกษตรกรบางส่วนหันไปเลี้ยง กุ้งกุลาดำา นายปรีชา สุขเกษม กรรมการสมาคมกุ้งไทย กล่าวว่า ผลผลิต กุ้งภาคใต้ตอนล่างฝั่งอ่าวไทย 28,400 ตัน ลดลงร้อยละ 21 อีเอชพี และขี้ขาว เป็นปัญหาสำาคัญที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงของเกษตรกร ตลอดปีทำาให้ผลผลิตลดลงมาก และเกษตรกรต้องจับกุ้งก่อนกำาหนด ตัวแดงดวงขาวระบาดรุนแรงในช่วงต้นปีฝนที่ตกหนักส่งผลให้น้ำาใน แหล่งน้ำาธรรมชาติ มีความเค็มต่ำา ทำาให้การเลี้ยงประสบปัญหา มากกว่าทุกปีเกษตรกรต้องปรับตัวโดยการพักบ่อนานขึ้น ทยอยการ ปล่อยกุ้ง และลดความหนาแน่นในการเลี้ยง เพื่อลดความเสี่ยง ในช่วงต้นปีที่สมาคมกุ้งไทย และตัวแทนอุตสาหกรรมการเพาะ เลี้ยงสัตว์น้ำาและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องตลอดสายห่วงโซ่การผลิต ได้ เข้าพบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และต่อมาได้ยื่น หนังสือ ถึง พล.อ.ประยุทธ์จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเพื่อขอให้ สินค้ากุ้งเป็นวาระแห่งชาติและออกมาตรการแก้ปัญหาการเลี้ยงเรื่อง โรคให้พี่น้องเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งเร่งด่วน เพื่อพลิกฟื้น สร้างความ เข้มแข็ง ให้อุตสาหกรรมกุ้งไทยทั้งระบบอย่างเป็นรูปธรรม โดยมี เป้าหมายคือ วัตถุดิบกุ้ง 400,000 ตัน เพื่อการส่งออก ให้ได้ในปี 2566 โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเรื่องโรคซึ่งเป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้พี่ น้องเกษตรกรฯ เลี้ยงกุ้งไม่ได้ แต่จากตัวเลขผลผลิตกุ้งในปี 2565 ก็ชี้ให้เห็นว่า ถึงแม้จะรัฐบาลโดยกรมประมงมีความพยายามดำาเนิน การในหลายด้าน แต่อาจด้วยข้อจำากัด ทำาให้การแก้ปัญหาที่ผ่านมา ไม่ตอบโจทย์ โรคกุ้งยังคงเป็นปัญหาใหญ่ที่สร้างความเสียหายให้กับ เกษตรกร “สมาคมกุ้งไทยจึงขอเสนอไปยังพรรคการเมืองทุกพรรคในการ เลือกตั้งที่กำาลังจะมาถึงในปีหน้า ให้เห็นความสำาคัญของอุตสาหกรรม กุ้งไทยที่เคยเป็นอุตสาหกรรมอันดับหนึ่งทำารายได้เข้าประเทศปีละ เกือบแสนล้าน มีผู้ประกอบการและผู้เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อุปทาน ทั้งทางตรงทางอ้อมและครอบครัวกว่า 1 ล้านคน แต่ 10 กว่าปี หลังเกิดโรคระบาดในกุ้ง อุตฯกุ้งไทย สูญเสียโอกาส - รายได้จาก การส่งออกถึง 500,000 ล้านบาท ดังนั้น พรรคการเมืองที่จะมาเป็น รัฐบาลหน้า จะต้องกำาหนดเป็นนโยบายด้านเศรษฐกิจที่สำาคัญ เพื่อ แก้ปัญหาโดยเฉพาะโรคกุ้ง พลิกฟื้น พัฒนาสร้างความเข้มแข็งอย่าง ยั่งยืน ให้กับอุตสาหกรรมกุ้งไทย เพื่อให้เป็นอุตสาหกรรมที่สร้าง รายได้เข้าประเทศปีละเกือบแสนล้าน/กว่าแสนล้านบาทให้ได้ เพื่อ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่ขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของ ประเทศไทย เหมือนที่เป็นมาก่อนเผชิญปัญหาโรคระบาดให้ได้” นายก สมาคมกุ้งไทย กล่าวทิ้งท้าย. ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ การเสียหายโรคตัวแดงดวงขาวจำานวนมากในช่วงต้นปี และเชื้อ อีเอชพีและโรคขี้ขาว ยังเป็นปัญหาสำาคัญ ทำาให้เกษตรกรจับกุ้งก่อน กำาหนด เกษตรกรบางส่วนที่เลี้ยงกุ้งขาวไม่ประสบความสำาเร็จ โดย เฉพาะในพื้นที่ จ.ตรัง กระบี่ พังงา และภูเก็ต เปลี่ยนไปเลี้ยงกุ้ง กุลาดำามากขึ้น นางสาวพัชรินทร์จินดาพรรณ นายกสมาคมกุ้งตะวันออกไทย และเลขาธิการสมาคมกุ้งไทย กล่าวว่า ผลผลิตกุ้งปี2565 ในพื้นที่ ภาคตะวันออกประมาณ 69,900 ตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 12 โดยสภาวะอากาศแปรปรวนในช่วงต้นปี ส่งผลให้เกิดความ เสียหายจากโรคตัวแดงดวงขาว และฝนที่มาเร็วกว่าปกติและตกหนัก ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยง บางพื้นที่เกิดน้ำาท่วม และหลังน้ำาลดเกิด ปัญหาโรคระบาดหัวเหลืองและตัวแดงดวงขาวตามมา เกษตรกร บางส่วนชะลอการลงกุ้งเนื่องจากแหล่งน้ำาธรรมชาติมีความเต็มต่ำา คุณภาพน้ำาไม่เหมาะสม นอกจากนี้พบอาการขี้ขาวในบ่อกุ้งระหว่าง เลี้ยง ทำาให้ต้องจับกุ้งก่อนกำาหนด ผลผลิตต่อไร่ต่ำา ส่วนผลผลิตภาคกลาง ประมาณ 34,100 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา เกษตรกรมีการลงกุ้งอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากราคากุ้งดีสภาพอการแปรปรวนช่วงต้นปีส่งผลให้เกิดโรค หัวเหลืองและตัวแดงดวงขาว รวมถึงปัญหาขี้ขาวทำาให้เกษตรกรจับ กุ้งก่อนกำาหนด นอกจากนี้ปัจจัยการผลิตราคาปรับตัวสูงขึ้น ทำาให้ ต้นทุนการผลิตของเกษตรกรสูงขึ้น
46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทยขอมอบรางวัล “สัตวแพทย์ ควบคุมฟาร์มสุกรเกียรติยศ” Life - Time Achievement Award เนื่องใน วาระครบรอบ 20 ปีการก่อตั้งสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย แด่ ส.สัตวแพทย์คุมฟาร์มสุกรไทย มอบ “สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรเกียรติยศ” รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ กิจจา อุไรรงค์ สำ�เร็จก�รศึกษ� - วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2517 - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2519 สัตวแพทย์รุ่น 34 - หลักสูตรพิเศษ Zeugnis in Schweinekrankheiten มหาวิทยาลัยสัตวแพทยศาสตร์ฮันโนเวอร์สาธารณรัฐเยอรมัน พ.ศ. 2525 - อว. สพ. (สาขาอายุรศาสตร์) ก�รทำ�ง�น - อาจารย์เกษียณราชการในตาแหน่งรองศาสตราจารย์จากคณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ปัจจุบันดำารงตำาแหน่ง กรรมการอิสระ บริษัท น้ำามันพืชไทย จำากัด (มหาชน) - ยังคงเป็นที่ปรึกษาฟาร์มสุกร และบริษัทเวชภัณฑ์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ - เป็นคณะกรรมการ Pig Board - และเป็นที่ปรึกษาสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - รางวัลประดิษฐ์คิดค้น (รางวัลชมเชย) ประเภททั่วไป: โปรแกรม “หมอหมู” เกษตรศาสตร์จากสภาวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2538 - รางวัล 10 ปีบัวหลวงเกษตรก้าวหน้า ธนาคารกรุงเทพ จำากัด (มหาชน) ในนามทีมวิชาการ “หมอหมู” เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2553 - รางวัลเกียรติคุณเพื่อเชดิชูเกียรติ“ผู้ทำาคุณประโยชน์ในการป้องกันโรค ASF ในสุกร” จากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติธันวาคม 2563
46 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทยขอมอบรางวัล “สัตวแพทย์ ควบคุมฟาร์มสุกรเกียรติยศ” Life - Time Achievement Award เนื่องใน วาระครบรอบ 20 ปีการก่อตั้งสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย แด่ ส.สัตวแพทย์คุมฟาร์มสุกรไทย มอบ “สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรเกียรติยศ” รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ กิจจา อุไรรงค์ สำ�เร็จก�รศึกษ� - วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2517 - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2519 สัตวแพทย์รุ่น 34 - หลักสูตรพิเศษ Zeugnis in Schweinekrankheiten มหาวิทยาลัยสัตวแพทยศาสตร์ฮันโนเวอร์สาธารณรัฐเยอรมัน พ.ศ. 2525 - อว. สพ. (สาขาอายุรศาสตร์) ก�รทำ�ง�น - อาจารย์เกษียณราชการในตาแหน่งรองศาสตราจารย์จากคณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ปัจจุบันดำารงตำาแหน่ง กรรมการอิสระ บริษัท น้ำามันพืชไทย จำากัด (มหาชน) - ยังคงเป็นที่ปรึกษาฟาร์มสุกร และบริษัทเวชภัณฑ์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ - เป็นคณะกรรมการ Pig Board - และเป็นที่ปรึกษาสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - รางวัลประดิษฐ์คิดค้น (รางวัลชมเชย) ประเภททั่วไป: โปรแกรม “หมอหมู” เกษตรศาสตร์จากสภาวิจัยแห่งชาติพ.ศ. 2538 - รางวัล 10 ปีบัวหลวงเกษตรก้าวหน้า ธนาคารกรุงเทพ จำากัด (มหาชน) ในนามทีมวิชาการ “หมอหมู” เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2553 - รางวัลเกียรติคุณเพื่อเชดิชูเกียรติ“ผู้ทำาคุณประโยชน์ในการป้องกันโรค ASF ในสุกร” จากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติธันวาคม 2563 สัตว์เศรษฐกิจ 47 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - ออกแบบและพัฒนาโปรแกรม “หมอหมู” เกษตรศาสตร์โปรแกรมคำานวณสูตรอาหาร FeedLIVE และโปรแกรม “พ่อหมู” เกษตรศาสตร์ - รางวัลสิ่งประดิษฐ์จากผลงานโปรแกรม “หมอหมู” เกษตรศาสตร์ ในงานประกวดสิ่งประดิษฐ์แห่งชาติพ.ศ. 2538 - รางวัล Pig Focus Asia พ.ศ. 2549 - รางวัล The VIV Asia Pig Person Award of 2007 พ.ศ. 2550 - รางวัล 10 ปีบัวหลวงเกษตรก้าวหน้า ธนาคารกรุงเทพ จำากัด (มหาชน) ในนามทีมวิชาการ “หมอหมู” เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2553 รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.ปรียพันธุ์ อุดมประเสริฐ สำ�เร็จก�รศึกษ� - วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พ.ศ. 2523 - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2525 สัตวแพทย์รุ่น 40 - Master of Science (Theriogenology) University of Minnesota ประเทศ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2529 - Ph.D. (Theriogenology) University of Minnesota ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2532 ก�รทำ�ง�น - อาจารย์เกษียณราชการในตำาแหน่งรองศาสตราจารย์จากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาฟาร์มสุกร และบริษัทเวชภัณฑ์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สัตวแพทย์หญิงบุญญิตา รุจทิฆัมพร สำ�เร็จก�รศึกษ� - วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พ.ศ. 2520 - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2522 สัตวแพทย์รุ่น 37 ก�รทำ�ง�น - เกษียณอายุงานด้วยตำาแหน่งรองกรรมการผู้จัดการอาวุโส สำานักวิชาการอาหารสัตว์ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) - เคยดำารงตำาแหน่ง นายกสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย พ.ศ. 2553 - 2556 - ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษา สมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย ที่ปรึกษาสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - President of Scientific Committee งาน APVS พ.ศ. 2554 - รางวัลสัตวแพทย์ตัวอย่างจาก สัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2554 - รางวัลนารีศรีสตรีวิทยา (ศิษย์เก่าดีเด่นสตรีวทิยาสมาคม) พ.ศ. 2556
48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายสัตวแพทย์ ดำาเนิน จตุรวิธวงศ์ สำ�เร็จก�รศึกษ� - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2535 สัตวแพทย์รุ่น 50 ก�รทำ�ง�น - ปัจจุบัน ดำารงตำาแหน่งรองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) - ที่ปรึกษาสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - รางวัลเกียรติคุณเพื่อเชดิชูเกียรติ“ผู้ทำาคุณประโยชน์ในการป้องกันโรค ASF ในสุกร” จากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติธันวาคม 2563 - โครงการการตรวจหายีนดื้อยาที่สำาคัญของคนในฟาร์มสุกร รวมทั้งในโปรไบโอติกส์ที่ให้ ในฟาร์มสุกร โดยร่วมวิจัยกับ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - โครงการนำาฟาร์มสุกรสู่รางวัล TQC แห่งแรกของประเทศไทย - โครงการผลิตเนื้อสุกรปลอดยาปฏิชีวนะตลอดการเลี้ยง ของบริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) สัตวแพทย์หญิง ดร.เมตตา เมฆานนท์ สำ�เร็จก�รศึกษ� - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2531 สัตวแพทย์รุ่น 46 - M.B.A. จากมหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2540 - ปริญญาเอกวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555 ก�รทำ�ง�น - ดำารงตำาแหน่ง Senior Professional Technical Service-Swine, บริษัท Elanco Animal Health Thailand - และเคยเป็น Regional Swine Veterinary Services Manager-Asia, บริษัท Ceva Animal Health - ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพสัตว์ และนักวิชาการอิสระ ให้คำาปรึกษาแก่ฟาร์ม และบริษัทเวชภัณฑ์ทางสัตวแพทย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ - และเป็นกรรมการสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - จัดทำา CD เรี่อง Basic Veterinary Immunology, and Hand Book. (บริษัท Novartis) - Winner of the Best Short Communication in the Farm Animal Business category, NAH International Technical Service Conference in Toronto, Canada, April 2006. - งานวิจัยตีพิมพ์ในหัวข้อ Comparative detection of Mycoplasma hyopneumoniae, Mycoplasma hyosynoviae and Mycoplasma hyorhinis in lungs, tonsils, and synovial fluid of slaughtered pigs and their distribution in Thailand. - และ Genetic characteristic and antimicrobial resistance of porcine mycoplasma isolated in Thailand
48 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE นายสัตวแพทย์ ดำาเนิน จตุรวิธวงศ์ สำ�เร็จก�รศึกษ� - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2535 สัตวแพทย์รุ่น 50 ก�รทำ�ง�น - ปัจจุบัน ดำารงตำาแหน่งรองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) - ที่ปรึกษาสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - รางวัลเกียรติคุณเพื่อเชดิชูเกียรติ“ผู้ทำาคุณประโยชน์ในการป้องกันโรค ASF ในสุกร” จากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติธันวาคม 2563 - โครงการการตรวจหายีนดื้อยาที่สำาคัญของคนในฟาร์มสุกร รวมทั้งในโปรไบโอติกส์ที่ให้ ในฟาร์มสุกร โดยร่วมวิจัยกับ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - โครงการนำาฟาร์มสุกรสู่รางวัล TQC แห่งแรกของประเทศไทย - โครงการผลิตเนื้อสุกรปลอดยาปฏิชีวนะตลอดการเลี้ยง ของบริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) สัตวแพทย์หญิง ดร.เมตตา เมฆานนท์ สำ�เร็จก�รศึกษ� - สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2531 สัตวแพทย์รุ่น 46 - M.B.A. จากมหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2540 - ปริญญาเอกวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555 ก�รทำ�ง�น - ดำารงตำาแหน่ง Senior Professional Technical Service-Swine, บริษัท Elanco Animal Health Thailand - และเคยเป็น Regional Swine Veterinary Services Manager-Asia, บริษัท Ceva Animal Health - ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพสัตว์ และนักวิชาการอิสระ ให้คำาปรึกษาแก่ฟาร์ม และบริษัทเวชภัณฑ์ทางสัตวแพทย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ - และเป็นกรรมการสมาคมสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มสุกรไทย ผลง�นด้�นวิช�ก�ร และร�งวัลที่ได้รับ - จัดทำา CD เรี่อง Basic Veterinary Immunology, and Hand Book. (บริษัท Novartis) - Winner of the Best Short Communication in the Farm Animal Business category, NAH International Technical Service Conference in Toronto, Canada, April 2006. - งานวิจัยตีพิมพ์ในหัวข้อ Comparative detection of Mycoplasma hyopneumoniae, Mycoplasma hyosynoviae and Mycoplasma hyorhinis in lungs, tonsils, and synovial fluid of slaughtered pigs and their distribution in Thailand. - และ Genetic characteristic and antimicrobial resistance of porcine mycoplasma isolated in Thailand สัตว์เศรษฐกิจ 23 ข่าวสารและสาระสำาหรับวงการเลี้ยงสัตว์ หนังสือขอโทษต่อบริษัท โนวา เมดิซีน จำากัด ข้อความต่อไปนี้ เป็นข้อความที่จะนำาไปเผยแพร่ในเพจเฟซบุ๊คและลงโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อ บริษัท โนวา เมดิซีน จำากัด ที่ได้มีการโพสต์บทความลงในเฟซบุ๊ค ดังภาพที่แสดง รวม 2 ภาพ (ท้ายหนังสือขอโทษ) ตามที่ได้มีภาพ ข้อความ ชื่อทางการค้าและรูปผลิตภัณฑ์ยา CIB Phos ของบริษัทฯไปปรากฏในเพจเฟซบุ๊ค “เสียงบ่น จากฟาร์มโคนม-โคเนื้อ : Murmur On Cattle Farm เรื่อง “การให้ยาเกินขนาด จนทำาให้เสียชีวิตในลูกโค” เมื่อวันที่ 17 ก.ย. 2565 และได้มีการแชร์บทความนี้ออกไปในวงกว้าง จนทำาให้บริษัทได้รับความเสียหายทั้งด้านชื่อเสียงของบริษัท ผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ยาและผลเสียหายทางธุรกิจ ตลอดจนสร้างความเข้าใจผิดในกลุ่มร้านจำาหน่ายยาสัตว์ ฟาร์มปศุสัตว์ และเกษตรกรที่เป็นผู้ใช้ยาตัวดังกล่าว ข้าพเจ้า นายสมศักดิ์ เพ็ชรศิริ วท.บ.(สัตวศาสตร์), สพ.บ. ในฐานะผู้ดูแลเพจเสียงบ่นจากฟาร์มฯ ขอแสดงความเสียใจ และน้อมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้นอันเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ขาดความตระหนักถึงผลเสียหายที่จะตามมา และไม่มีความ กระตือรือร้นที่จะเข้าไปแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างฉับไว บัดนี้ข้าพเจ้าสำานึกผิดแล้ว นอกจากกล่าวคำาขอโทษกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มายังบริษัทแล้ว ข้าพเจ้าขอโอกาสแก้ไขผลเสียหายที่เกิดขึ้นด้วยการเขียนบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ยาของ บริษัทลงในเพจเฟซบุ๊ค และลงโฆษณาในวารสารปศุสัตว์หรือสื่งสิ่งพิมพ์อื่นที่เกี่ยวข้อง เป็นเวลา 5 เดือน ตั้งแต่ ต.ค. 2565- ก.พ.2566 จึงเรียนมาเพื่อทราบ และขอกราบขอบพระคุณที่ให้อภัยต่อความผิดพลาดและไม่ติดใจเอาความมา ณ ที่นี้
50 สัตว์เศรษฐกิจ LIVESTOCK PRODUCTION MAGAZINE ใช้กฎหมายเพื่อปกป้องสุขภาพผู้บริโภคและสร้างความเชื่อมั่นแก่ ประเทศคู่ค้าในการส่งออกโค นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ได้กำาหนดมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการ ลักลอบใช้สารเร่งเนื้อแดงในโคขุน เพื่อปกป้องสุขภาพของผู้บริโภค ในประเทศ รวมถึงสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประเทศคู่ค้าการส่งออก ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ทั้งนี้ กรมปศุสัตว์ได้หารือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สมาคมโคเนื้อแห่งประเทศไทย สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงโค พันธุ์บราห์มัน สมาคมผู้บำารุงพันธุ์โคพันธุ์บราห์มันแห่งประเทศไทย สมาคมโคเนื้อพันธุ์กำาแพงแสน สหกรณ์โคเนื้อมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์วิทยาเขตกำาแพงแสน จำากัด สมาคมบีฟมาสเตอร์แห่ง ประเทศไทย สหกรณ์เครือข่ายโคเนื้อ จำากัด สหกรณ์การเลี้ยงปศุสัตว์ กรป.กลาง โพนยางคำา จำากัด สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทยฯ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาเกษตรกรแห่งชาติ บริษัท อิบรอฮีม แอนด์ บีฟ จำากัด บริษัท นิดา ฟู้ด จำากัด รวมถึง ผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจการเลี้ยงโคเนื้อ เพื่อร่วมกันพิจารณามาตรการ ป้องกันและปราบปรามการลักลอบใช้สารเร่งเนื้อแดง โดยได้กำาหนด มาตรการ ดังนี้ สอดส่องและจับกุมการขายสารเร่งเนื้อแดงผ่านช่อง ทางออนไลน์ โดยตั้งทีมเฉพาะกิจทางไซเบอร์ขึ้นมาดำาเนินการ สุ่มเก็บตัวอย่างเนื้อโคเพื่อตรวจหาการตกค้างของสารเร่งเนื้อแดง หากพบจะตรวจสอบย้อนไปยังฟาร์มเลี้ยงโคและแหล่งผลิต สุ่มเก็บ ตัวอย่างปัสสาวะในโคขุนที่จะส่งออกไปยังต่างประเทศ โดยใช้ชุด ทดสอบภาคสนาม (strip test) เพื่อตรวจสอบการใช้สารเร่งเนื้อแดง เนื่องจากสถานการณ์ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่แพงขึ้น ส่งผล ต่อต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะโคขุนที่ใช้ทั้งอาหารข้นและ อาหารหยาบในการเลี้ยงเพื่อให้แลกเปลี่ยนเป็นเนื้อ เพื่อเป็นการลด ต้นทุนเกษตรกรบางราย อาจนำาสารเร่งเนื้อแดงไปผสมในอาหารสัตว์ เพื่อวัตถุประสงค์เร่งการเจริญเติบโต ลดปริมาณไขมันในเนื้อสัตว์ ตลอดจนเพิ่มปริมาณกล้ามเนื้อ และทำาให้เนื้อสัตว์สีแดงน่าบริโภค ซึ่งจะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค ส่งผลทำาให้กล้ามเนื้อสั่น กระตุ้น การเต้นของหัวใจ หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ กระวนกระวาย วิงเวียนปวด ศีรษะ ซึ่งในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจ โรคลมชัก โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ตลอดจนหญิงมีครรภ์ จะเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับอันตราย จากสารเร่งเนื้อแดงที่ตกค้างในเนื้อสัตว์ ทั้งนี้ กรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ทางอาหาร (food safety) กำากับ ดูแลความปลอดภัย ในการผลิต สินค้าปศุสัตว์ตลอดห่วงโซ่ ตั้งแต่วัตถุดิบอาหารสัตว์ โรงงานผลิต อาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ โรงฆ่าสัตว์ โรงแปรรูป ตลอดจนสถาน ที่จำาหน่าย และการส่งออก ซึ่งทุกขั้นตอนการผลิตต้องมีคุณภาพ มาตรฐาน ตามที่กำาหนดไว้ในกฎหมาย มาตรฐานสากล หรือเงื่อนไข ของประเทศคู่ค้า เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค สร้างความเชื่อ มั่นให้แก่ผู้บริโภคภายในประเทศ รวมถึงสร้างความเชื่อมั่นแก่ประเทศ คู่ค้าการส่งออกผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ที่ผ่านมาได้ดำาเนินการป้องกันและ บอกกล่าวเล่าสิบ บอกกล่าวเล่าสิบ ประจำาฉบับที่ 900 เดือนมกราคม...เริ่มจาก มาตรการกรมปศุสัตว์เข้มปลดไก่ตามรอบต่อเนื่อง ประกอบกับ มาเลเซียไข่ขาดทำาให้ทางภาคใต้ เรียกไข่ไก่ลงไปขายกันต่อเนื่อง ลด ปริมาณไข่ไก่ในตลาดไปได้มาก ทำาให้สถานการณ์ไข่ไก่จากล้น กลาย เป็นคลี่คลายมากขึ้น ดังนั้น การปรับขึ้นในครั้งนี้ถือว่า เป็นเรื่องดี คือ ถ้าราคาขึ้น ก็ควรปรับขึ้น ราคาลง ก็ควรปรับลง ด้าน นายอุดม ศรีสมทรง รองอธิบดีกรมการค้าภายใน เผย ว่าตามที่ นางพเยาว์ อริกุล นายกสมาคมการค้าผู้เลี้ยงไก่ไข่รายย่อย ภาคกลางแจ้งว่า จะมีการปรับราคาไข่ไก่ 3.60 บาท/ฟอง หรือ เพิ่มขึ้น 20 สตางค์นั้น กรมฯ ได้ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และได้ตรวจสอบแล้วว่า การปรับราคาไข่ไก่ดังกล่าวเป็นไปตามกลไก ตลาด สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตโดยเฉพาะอาหารสัตว์ และยังไม่ เกินราคาที่กรมการค้าภายในกำากับดูแลอยู่ จึงขอให้ประชาชนไม่ต้อง เป็นกังวลว่าราคาไข่ไก่จะสูงจนเป็นภาระผู้บริโภค นอกจากนี้ ผลจากกรมปศุสัตว์ดำาเนินมาตรการลดปริมาณ ไข่ไก่สะสม โดยขอความร่วมมือผลักดันส่งออก และปลดแม่ไก่ยืน กรงก่อนกำาหนด ส่งผลให้ปริมาณไข่ไก่ในระบบลดลง เสถียรภาพ การผลิตและราคาจึงเริ่มปรับเข้าสู่ระดับสมดุลในปัจจุบัน ทั้งนี้ ราคา ไข่ไก่ 3.40 บาท/ฟอง เพิ่งมีการปรับลดลงเมื่อพฤศจิกายน 2565 ผลจากที่มีผลผลิตเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสมกับ การเลี้ยงไก่ไข่ โดยปรับลดจากเมื่อสิงหาคม 2565 ที่ไข่ไก่มีราคา 3.50 - 3.60 บาท/ฟอง ซึ่งเท่ากับปัจจุบัน อย่างไรก็ดี กรมฯ จะ ติดตามราคาไข่ไก่อย่างใกล้ชิดต่อไป เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้กับ ทุกฝ่ายทั้งเกษตรกรและผู้บริโภค สำาหรับประชาชนที่พบเห็นการฉวย โอกาสจำาหน่ายเกินสมควร ฉวยโอกาสปรับขึ้นราคา หรือพฤติกรรม ที่เอาเปรียบผู้บริโภคสามารถแจ้งได้ที่ สายด่วนกรมการค้าภายใน 1569 หรือแจ้งต่อสำานักงานพาณิชย์จังหวัดทั่วประเทศ โดยหากมี การจำาหน่ายสินค้าเกินสมควร มีโทษจำาคุก 7 ปี ปรับสูงสุด 140,000 บาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ กรมปศุสัตว์เตือนผู้เลี้ยงโคขุนห้ามใช้สารเร่งเนื้อแดง ย้ำามีโทษ ตามกฎหมาย อันตรายต่อผู้บริโภค พร้อมหารือภาคส่วนต่าง ๆ ออก มาตรการคุมเข้มห้ามใช้สารเร่งเนื้อแดง ตรวจสอบการขายสารเร่ง เนื้อแดงผ่านออนไลน์ ตรวจหาการตกค้างในเนื้อโคและโคขุนส่งออก แล้วตรวจสอบย้อนกลับไปยังฟาร์มจนถึงแหล่งผลิต ตลอดจนจะบังคับ